ยุทธภัณฑพรอมใชดวย Life Cycle Management ตอนที่ 3 Rhythm of LCC สวัสดีทานผูอานครับ เราพบกันเปนตอนที่ 3 แลวครับ ขอยอนกลับไปรื้อฟ"#นความทรงจํากันนิดครับ วา 2 ตอน ที่ผานมา เราไดคุยอะไรกันไปบาง ตอนที่ 1 เราวากันเรื่องหลักๆ คือ Life Cycle Management-LCM ถูก นํามาศึกษาและประยุกต4ใชเพื่อที่สรางความมั่นใจใหกับผูบริหาร เพื่อใชเปนเครื่องมือหนึ่งในการคาดการณ4 บริหารและควบคุมการจัดซื้อจัดจางและการบํารุงรักษายุทธภัณฑ4เหลานั้นใหเปนไปตามแผนการงบประมาณ ในระยะยาวครับ และตอนที่ 2 ผมพยายามพิสูจน4ใหเห็นวา Availability Performance มีความสําคัญตอ Operational Performance ไมยิ่งหยอนไปกวา Technical Performance เลย รวมทั้งมีปRจจัยใดบางที่ สงผลตอ Availability Performance แลวเราจะวักผล หาคาตางๆ ของปRจจัยเหลานั้นไดอยางไร ซึ่งตอนทาย บทความ ผมพยายามชี้ความจริงใหเห็นวา การปรนนิบัติบํารุง (Maintainability) และการสงกําลังบํารุง (Supportability) นั้นเปนปRจจัยสําคัญยิ่งตอ Availability ครับ มาถึงตอนที่ 3 นี้ ผมอยากขยายความใหเห็น แบบเปนรูปธรรมใหมากขั้นครับ วา คือ Life Cycle Cost-LCC จะถูกนํามาใชใหเปนประโยชน4กับ กองทัพอากาศเราตรงไหน เมื่อไร และอยางไรบาง ในเบื้องตน ผมขอสรุปทําความเขาใจกับ LCC นิดนึงครับ LCC ถือเปนขบวนการ (หรือเครื่องมือ) เพื่อใชในการ คาดการณ4 ประมาณการ พยากรณ4 คาใชจายที่จะเกิดขึ้นตลอดอายุการใชงานในการเปนเจาของครุภัณฑ4 (ยุทธภัณฑ4) โดยเริ่มนับ ตั้งแต ที่คิดวาอยากจะมี การคนควา ศึกษา (Conceptual Phase) – การจัดหา (ดวย วิธีใดก็ตาม) (Conceptual Phase) – การผลิตและสงมอบ (Development Production and Delivery Phase) - การนําไปใชงาน การซอมและปรนนิบัติบํารุง (Operation Phase) – การจําหนาย (Dispsal Phase) ครับ
และเมื่อมันเปนการ “ประมาณการ” นั่นหมายถึงเรื่องจริง ผลลัพธ4มันยังไมเกิดขึ้นครับ เพราะฉะนั้น เมื่อถึง เวลาที่ขั้นตอนการใชงบประมาณกับเมื่อกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นจริงตลอดชวงชีวิตของครุภัณฑ4 (ยุทธภัณฑ4)
นั้นๆแลว LCC อาจจะไมเทากับ “คาใชจายจริ คาใชจายจริง” ก็ได ซึ่งนั่นเองทําใหเกิดความทาทายของนักคิดทั้งหลายที่จะ สรางสมการคณิตศาสตร4 พัฒนาโมเดล โปรแกรม เพื่อชวยใหการคาดการณ4 ชวยให LCC มีความแมนยํามากขึ้นเรื่อยๆ และเขาใกลความเปนจริ เขาใกลความเปนจริงมากที่สุด ในการปฏิบัติเมื่อนําไปใชงาน (Implementation) mplementation) LCC จึงเกิดขึ้นไดใน หลากหลายรู หลายรูปแบบ ตั้งแตตารางการคํานวณงายๆ จนไปถึงการใชโปรแกรมที โปรแกรมที่สุดแสนจะซับซอน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ ผูวิเคราะห4และเครื่องมือที่มี รวมไปถึงความสําคัญและมูลคาของครุภัณฑ4 (ยุยุทธภัณฑ4) นั้นๆ ยกตัวอยาง กรณีงายๆ เชน ถาเราตองการการจั ถาเราตองการ ดหาเครื่องถายเอกสารเพื่อใชงานในราชการ ในราชการ โดยพิจารณาจาก 3 แนวทาง คือ • การจัดซื้อเครื่อง หรือ • เชาเครือ่ ง (มีรายจายเพียงคากระดาษและพั คากระดาษและพัสดุสิ้นเปลืองอื่นๆ) ๆ หรือ • จัดจางถายเอกสาร (โดยผู โดยผูรับจางจัดเครื่องถายมาให พรอมคาบํารุงรักษา รวมถึงคากระดาษและพัสดุ สิ้นเปลืองอื่นๆ) จะเห็นไดวา การประมาณการอาจทํา ออกมาในรูปแบบตารางคํานวณแบบ งายๆ สะดวก ตอบคําถามผู ถาม บังคับบัญชา และเพื่อในงายตอการตัดสินตกลงใจ วา วิธีการใดมีคาใชจายอยางไร โดยคิดมา จากปRจจัยใดบางอยางไรก็ างไรก็ตามหากเปน การจัดหารถยนต4หรือยุทธภัณฑ4เพื่อใชใน ราชการระยะยาว 15 หรือ 20 ปg ดวย ความซับซอนของระบบที่มากขึ้น และระยะเวลาการใชงานที่ยาวนานมี าวนาน กิจกรรมที่เกี่ยวของมากมายขึ้น ตารางดังกลาวก็คงไมสามารถใชคํ คงไมสามารถใชคํานวณ แสดงคาหรือรายละเอียดไดหมด แลวอยางนั แลว ้นเราจะทําอยางไรกันครับ ในเมื่อ มีความซับซอนของระบบที่มาก ขึ้น ระยะเวลาการใชงานที่ยาวนาน มี กิจกรรมที่เกี่ยวของมากมาย มันจึง นําไปสูคาใชจายที่จะเกิดขึ้นจริง ที่มี ความซับซอน มากมาย หลากหลาย นักคิดทั้งหลายจึงพยายามหาทาง บริหารขอมูล โดยจัดแบงคาใชจายใน คาใชจายใน LCC เปนกลุมหลักๆ ดังนี้ครับ
• LAC = Life Acquisition Cost (System) • LOC = Life Operating Cost • LSC = Life Support Cost • LTC = Life Termination Cost • LCC = LAC+LOC+LSC+LTC
และนอกจากนั้น ก็ยังสามารถจัดแบง LSC ยอยลงไปไดอีก ดังนี้ • • • • • • • •
CII = Spares Investment CIV = Investment in Tools and Test Equipment CIT = Initial Training Costs CID = Maintenance Documentation Costs CNC = Corrective Maintenance Costs CNP = Preventive Maintenance Costs CNR = Spares Consumption Costs LSC = CII+CIV+CIT+CID+CNC+CNP+CNR
โดย CII ยังแบงยอยไดอีก • • • • • •
CIIR = investment in repairables (LRU/SRU) CIID = investment in discardable (DU/DP) CII = CIIR + CIID CNCA = CM on systems (at operational level) CNCC = CM on items (at depot level) CNC = CNCA + CNCC
ความซับซอนไมไดจบแคนั้นครับ ดวยความที่เราเขาใจอยูแลววา คาใชจายในแตละกอน บางกอนจะแตกตาง กันไปในแตละชวงเวลา เพราะฉะนั้น การจะหาคาใชจายในบางกอนนั้นๆ ตลอดอายุการใชงาน จะเปนฟRงก4ชั่น ทางคณิตศาสตร4ที่ยืดยาวและซับซอนที่สัมพันธ4กับเวลา ขอยกตัวอยาง เชน คาใชจาย CNCC ในแตละ ITEMS ที่ระดับ DEPOT LEVEL
จะเห็นไดวา เมื่อเปนครุภัณฑ4 (ยุทธภัณฑ4) ที่ทันสมัย มีเทคโนโลยีซับซอน ตองการระบบพัสดุและการสงกําลัง บํารุงที่ใหญโต รวมถึงมีอายุการใชงานที่ยาวนาน การประมาณการก็จะยากขึ้นมากเปนเงาตามตัว จึงมีความ จําเปนจะตองใชโปรแกรมคอมพิวเตอร4เขามาชวยในการประมาณการครับ ซึ่งปRจจุบันมีโปรแกรมเกี่ยวกับ LCC ขายในทองตลาดมากมายหลากหลายคายครับ (ไมตองพัฒนาเองครับ ไปเลือกซื้อไดเลย) แตถึงแมกระนั้นก็ ตองพึงตระหนักอยูเสมอวา ไมวาโปรแกรมจะดีเพียงใด การที่จะไดผลลัพธ4 LCC ที่ใกลเคียงความจริงและ เชื่อถือได นั้นตองประกอบดวยขอมูลจาก 2 สวนหลักๆ คือ ขอมูลจากฝrายผูผลิต/คูสัญญา (Outside data sources) เชน Technical data, RAMS data (ที่ไดพูดถึงไปเมื่อบทที่ 2) และ ขอมูลจากฝrายผูจะบริหาร ผูใช รวมถึง ชางที่ซอมแซมครุภัณฑ4 (ยุทธภัณฑ4) นั้นๆ เชน หลักการจัดระดับการซอม การบริหารการซอมบํารุง ปริมาณการสะสมและระยะเวลาในการจัดหาอะไหล โดยรวมๆก็คือ ขอมูลการสงกําลังบํารุงนั่นเอง
หากเราบริหารจัดการจนสามารถไดขอมูลที่มีปริมาณเพียงพอและมีโปรแกรมประมาณการ LCC ที่เหมาะสม จะทําใหเราจะสามารถพยากรณ4 LCC ไดโดยไมลําบากแตอยางใด
มาถึงตรงนี้ทุกทานคงอยากจะรู จะรูแลววา หากเราสามารถพยากรณ4 LCC ไดจริง แลวมันจะถูกนําไปใชอยางไร ไปใช และเมื่อไร ผมขอย้ําใหเห็นถึงวงจรชีวิตของครุ ของ ภัณฑ4 (ยุทธภัณฑ4) อีกครั้งครับ “Conceptual Conceptual Phase Acquisition Phase - Development Production and Delivery Phase - Operation Phase Disposal Phase” มาดูกันวาในแตละชวงเวลาเราควรทําอะไร และ LCC จะมีสวนชวยอะไรเราไดบาง
เริ่มตั้งแต Conceptual Phase ซึ่งเปนชวงเวลาที่จํจาํ เปนในการศึกษา คนควาหาขอมูล และตัดสินใจใน เบื้องตนวา ครุภัณฑ4 (ยุทธภัณฑ4) ที่เราตองการควรจะมี จํานวนเทาไร ใชงานอยางไร มี Operational Performance, Technical Performance และ Availability Performance ประมาณใด และที่สําคัญ คือ
ความตองการดังกลาวจะสงผลใหเราตองปรั เราตองปรับเปลี่ยนหรือปรับปรุง โครงสรางหนวยงานหรือระบบบริหาร จัดการใดใดหรือไม
พอถึง Acquisition Phase นี่ LCC เปนพระเอกเลยครับ ซึ่งนั่นก็ คือ ใชในการประเมินและเปรียบเทียบ ตัวเลือกตางๆ ไมวาจะเปน การเปรียบเทียบครุ บ ภัณฑ4 (ยุทธภัณฑ4) แบบเดียวกันแตตางผูเสนอราคา/ตาง เสนอราคา แนวทางการสงกําลังบํารุง หรือ ครุภัณฑ4 (ยุทธภัณฑ4) คนละแบบ คนละคายก็ยังไดครับ
Development Production and Delivery Phase เปนชวงเวลาที่ดีที่ LCC จะถูกนํามาใชในการยืนยัน ความตองการตางๆ วามีความถูกตองและแมนยําเพียงใด (Verification erification of Requirments) นอกจากนั้น ยัง เปนชวงเวลาที่ดีในการการศึ การศึกษาในรายละเอียดของการปรนนิ ดของ บัติบํารุง (Maintainability) และการสงกําลัง บํารุง (Supportability) เชน การศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของอะไหลตองบประมาณที่มี (Spare Optimasation) การใหการศึ ใหการศึกษา อบรม พัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของ เปนตน
ชวงเวลาใชงาน กเปนชวงเวลาที่ยาวนาน และโดยธรรมชาติเมื เมื่อเราใชงานครุ เราใชงาน ภัณฑ4 Operation Phase ชวงเวลาใชงานมั (ยุทธภัณฑ4) ไปสักพัก มันมักจะหมดแรงดึงดูดความสนใจครั ความสนใจ บ จนกวาจะรูตัวอีกครั้งก็เมื่อมันแสดงปRญหาใหเรา ปวดหัวนั่นเอง อยาใหเปนแบบนั้นเลยครับ LCC ยังถูกใชเปนเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการควบคุ ในการควบคุมและ ประเมินผล เราควรจะตองมี ตองมีขบวนการตรวจสอบใหแนใจวา การบริหารครุ าร ภัณฑ4 (ยุยุทธภัณฑ4) นั้นเปนไปตาม กรอบที่ไดวางแผนและจะตองมี ตองมีขบวนการสรางความเชื่อมั่นไดวาจะไมมี ไดวาจะไมมีการตัดสินใจใดใดที่จะนําไปสู สถานการณ4ที่บานปลายของงบประมาณในการ ประมาณในการปฏิบัติการและซอมบํารุง และที่สําคัญที่สุด คือ ตองมั่นใจวา ใ ระบบตรวจสอบและควบคุมคุณภาพมีความตอเนื่องตลอดเวลา (Continuous Feedback eedback and Improvement) สุดทายครับ Disposal Phase หรือ Phase Out ภาษาราชการ คือ “การจําหนาย” ครับ “การจําหนาย” ไมใชประเด็นแควาเราจะมีวิธีกํกาํ จัด ทําลาย ล ขายทอดตลาด เทานั้นแตเปนเรื่องจะทําอยางไรดวยครับเพื่อให เกิดประโยชน4สูงสุด ในความเปนจริ ความเปนจริง “การจําหนาย” เปนเรื่องที่ซับซอนและนาสนใจ เริ่มตั้งแต กําหนดวิธีการ จําหนาย วาจะดําเนินการอยางไร ซึ่งวิธีการจําหนายจะเปนตัวกําหนดรายละเอี หนด ยด การบริหารสวนประกอบ ารสวน อื่นๆ ครับ เชน เมื่อไรเราควรจะหยุดสั่งซื้อและสะสมอะไหล เมื่อไหรเราควรจะเริ่มซอมแบบกินตัว (Cannibalisation) ถาจะใหเห็นชัด ดูตัวอยางจากกองทัพประเทศมหาอํ มหาอํานาจในการบริหารยุ าร ทธภัณฑ4ครับ เคา จะมีแผนกําหนดที่ชัชดั เจนมากวา จะปลดเมื่อไร ในสภาพอยางไรและจะขาย เปนมือสองไดในราคาสูงเทาไร หรือใหนําไปมอบใหมิตรประเทศอื่นอยางไรหรือทําลาย การบริหาร Disposal Phase ที่ไมประสิทธิภาพดูงาย ครับ ประเภทที่วา ครุภัณฑ4 (ยุยุทธภัณฑ4) ไมอยูแลว แตมีอะไหลเหลือเต็มคลัง มาถึงตรงนี้ ผมเชื่อวาผมคงสามารถโนมนาวใหทานผูอานเห็นความสําคัญของ LCC ในการนําไปประยุกต4ใชกับ ชวงเวลาตางๆ ของการบริหารครุ ครุภัณฑ4 (ยุทธภัณฑ4) และกอนจะจบบทนี กอนจะจบบทนี้ ผมมีขอมูลที่นาสนใจเพิ่มเติมมาฝาก ครับ ขออางอิง จากรายงาน Life-cycle cycle Costing in the Department of Defence,, Australian National Audit Office (ถาใหผมเดา ถาใหผมเดา นาจะประมาณ สตง. สตง ของไทยเราครับ) พบวา *** ขออนุญาต Copy มาใหอาน ครับ พยายามแปลหลายครั้ง ---แตไมสามารถหาคํ แตไมสามารถหาคําไทยที่กระชับและครอบคลุมความหมาย มาแทนคําวา “determine”และ “committed”” ไดครับ***
1. Decisions made before the end of the concept phase will determine 70% of the eventual life-cycle cycle costs. 2. After the design, 66% of costs are fixed, and after construction 95% % of total costs are fixed cycle costs may be committed at the time a decision to go 3. Some 90% of the life-cycle ahead with production is made.
ลองอานดีทําความใหเขาใจครับ พูดโดยรวม นั่นหมายถึง การตัดสินที่เกิดขึ้นตั้งแต"ช"วงแรกนับตั้งแต" แนวคิด การเลือกแบบ ชนิด ยี่หอ ของครุภัณฑ (ยุทธภัณฑ) และหากเป7นงานก"อสรางจะหมายถึงขั้นตอนการ ออกแบบ รวมถึงการเลือกคู"สัญญา จนถึงขั้นตอนการการส"งมอบ...จะเป7 จะเป7นการสรางภาระผูกพัน งบประมาณถึงประมาณรอยละ 70-90 70 ที่จะตองใชในการบริหารครุภัณฑ (ยุยุทธภัณฑ) นั้นๆ ตลอดชีวิต การใชงาน และนั่นก็อาจหมายความง" อาจหมายความ ายๆไดว"า ค"าใชจ"ายต"างๆภายหลังจากนั้น อาทิระบบการส"งกําลัง บํารุงและซ"อมบํารุง มันถูกกําหนดโชคชะตาไปแลว ถึงแมว"าเงินจริงๆ จะยังไม"ถูกใชไปก็ตาม การตัดสินใจ แกปRญหาใดใดหลังจากนั้นอาจเปนผลตองบประมาณโดยรวมเพียง รอยละ 10-30 แตที่กลาวไปก็เพื่อใหเห็นถึงความสําคัญ ของการนํา LCC ไปใชตั้งแตจุดเริ่มตนของขบวนการจัดซื้อจัดหาครับ อยางไรก็ตาม สถานการณ4 ณ ปRจจุบัน ที่เราไดจัดซื้อจัดหา และครุภัณฑ4 (ยุทธภัณฑ4) ไวในครอบครองมากมาย มหาศาล ผมก็ไมไดหมายความวาจะใหเราปลอยไปเลยตามเลย เพราะการนํา LCC ประยุกต4ใช เพื่อพัฒนาการ นา สงกําลังบํารุงและซอมบํารุงแลว มันก็เปนผลดีไมนอยไมใชหรือ ลองเอางบซอมบํารุงคลังใหญมารวมๆ กันแลว ลองคํานวณ 10-30% ดูครับ วาหากเราสามารถลดคาใชจายคลั วาหาก งใหญ ในสวน 10-30% ไดสักครึ่งหนึ่ง อาจจะ มีเงินเหลือเพื่อทําให FMC ของครุ ครุภัณฑ4 (ยุทธภัณฑ4) เพิ่มขึ้นอีกเปน 10% ก็ได