วิจัยในชั้นเรียน 2 58

Page 1

ชื่อผลงานวิจัย

การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้ วธิ ีการเดาความหมายคาศัพท์จาก บริบทของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชี พชั้ นสู ง ปี ที่ 1 สาขาการบัญชี วิทยาลัยอาชี วศึกษาบริ หารธุรกิจวิทยาสงขลา ศักดิ์ณริ นทร์ ชมบุญ ครู ผ้ สู อนภาษาอังกฤษ ปริญญาตรี สาขาศิลปศาสตร์ บัณฑิต (ศศ.บ) วิทยาลัยอาชี วศึกษาบริ หารธุรกิจวิทยาสงขลา (SBAC) โทร. 061- 1908747 2558 ประเภทการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)

ชื่ อผู้วจิ ัย ตาแหน่ ง วุฒิการศึกษา สถานทีต่ ิดต่ อ ปี ทีท่ าวิจัยเสร็จ ประเภทงานวิจัย บทคัดย่อ (Abstract) การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้วธิ ี การเดาความหมายคาศัพท์จากบริ บทของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชี พชั้นสู ง ปี ที่ 1 สาขาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริ หารธุ รกิจวิทยาสงขลา มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้วธิ ีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท ประชากรที่ใช้ใน การศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง ปี ที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี จานวน 12 คน ที่ลงทะเบียนเรี ยนในรายวิชา กลยุทธ์การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ ปี การศึกษา 2558โดยวิธีการเลือก ตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ จานวน 20 คาบ แบบทดสอบการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท จานวน 40 ข้อ แบบบันทึก หลังการเรี ยนรู้ของนักศึกษา และบันทึกผลการสอนของครู สถิติที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่า ร้อยละ แลสถิติ t-test แบบ Dependent ผลการวิจยั พบว่า 1. ผลการเปรี ยบเทียบความก้าวหน้าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน คะแนน เฉลี่ยก่อนเรี ยนเท่ากับ 9.08 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรี ยนเท่ากับ 27.92 คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 18.84 เมื่อพิจารณา เป็ นรายบุคคล พบว่า นักศึกษาได้คะแนนเพิ่มขึ้นทุกคน มีคะแนนความก้าวหน้าตั้งแต่ 25 ถึง 32 แสดงว่า นักศึกษาที่ได้รับการเรี ยนจากวิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บทมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น และ เมื่อเปรี ยบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรี ยน พบว่า คะแนนสอบหลังเรี ยนของนักเรี ยนสู งกว่าก่อน เรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากบันทึกหลังการเรี ยนรู ้ของนักศึกษา พบว่า นักศึกษาให้ความคิดเห็นที่ดี ต่อกิจกรรมการเรี ยนรู ้วธิ ี การเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท ทั้งนี้ เพราะค่าคะแนนของแต่ละ คาถามอยูใ่ นเกณฑ์เฉลี่ยคิดได้ร้อยละ 84.44, 84.29 และ 87.27 ตามลาดับ 3. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากบันทึกผลการสอนของครู พบว่า นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ได้วา่ ตัว ชี้แนะแต่ละชนิดใช้กบั บริ บทชนิดใดบ้าง นักศึกษาสามารถเข้าใจความหมายของคาศัพท์ที่ไม่คุน้ เคยได้ และ ร่ วมกันอภิปรายคาตอบพร้อมกับครู ผสู ้ อนทั้งชั้น เพื่อหาคาตอบที่ถูกต้อง


ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา (บทที่ 1) การอ่านมีความสาคัญต่อการดาเนิ นชีวติ ในปัจจุบนั เป็ นทักษะที่นกั ศึกษานามาใช้แสวงหาความรู้ เพื่อความเข้าใจ ความบันเทิง การเตรี ยมตัวในการศึกษาต่อและพัฒนาตนเองให้พร้อมกับการรับส่ งข้อมูล ข่าวสารและสามารถก้าวทันโลกในยุคปั จจุบนั การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง มีการจัดการเรี ยนการสอนรายวิชากลยุทธ์การอ่านและ การเขียนภาษาอังกฤษ ที่มุ่งพัฒนาให้นกั ศึกษาสามารถอ่านและเขียนภาษาอังกฤษได้ ซึ่ งการเดาความหมาย คาศัพท์จากบริ บท เป็ นเนื้ อหาส่ วนหนึ่งในการเรี ยนในรายวิชานี้ ซึ่งเป็ นวิธีที่นกั ศึกษาสามารถนามาปรับใช้ ในการอ่านภาษาอังกฤษในชั้นที่สูงขึ้น ช่วยให้นกั ศึกษาเกิดความคิดวิเคราะห์ ตีความในด้านความหมายของ คาศัพท์ การหาความหมายของคาศัพท์จากบริ บทจะช่วยให้ผอู ้ ่านสามารถอ่านได้เข้าใจและอ่านได้เร็ วขึ้น ไม่ กังวลกับการเปิ ดพจนานุกรม เป็ นการประหยัดเวลา เหมาะสมกับการเรี ยนในยุคปั จจุบนั เพราะทุกคนต้อง แข่งขันกับเวลา เป็ นการอ่านอย่างมีเหตุผลและถูกวิธี และวิธีน้ ีใช้ได้กบั นักศึกษาในทุกระดับชั้นตลอดจนผู ้ ที่สนใจและรักการอ่านภาษาอังกฤษ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลการใช้วธิ ีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บทของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง ปี ที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี ที่ลงทะเบียนเรี ยนในรายวิชา กลยุทธ์การอ่านและ การเขียนภาษาอังกฤษ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2558 2. เพื่อศึกษาข้อมูลจากบันทึกหลังการเรี ยนรู้ของนักศึกษาที่ให้ความคิดเห็นต่อกิจกรรมการเรี ยนรู ้ วิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท 3. ศึกษาข้อมูลจากบันทึกผลการสอนของครู ต่อกิจกรรมการเรี ยนรู ้วธิ ี การเดาความหมายคาศัพท์ ภาษาอังกฤษจากบริ บท กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้ น ตัวแปรตาม วิธีการเดาความหมายคาศัพท์ ภาษาอังกฤษจากบริ บท

ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ

สมมติฐานของการวิจัย 1. การใช้วธิ ีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บทจาทาให้ประสิ ทธิภาพการเดา ความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาเพิ่มสู งขึ้น


นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท หมายถึง การเดาความหมายคาศัพท์ ภาษาอังกฤษ เพื่อให้ทราบความหมายของคาศัพท์น้ นั ได้อย่างถูกต้องได้แก่ บริ บทความหมาย (Semantic context) บริ บทด้านเครื่ องหมายวรรคตอน (Punctuation markers) และบริ บทด้านตัวนาอนุประโยค (Clause markers) 2. บริ บท (Context) หมายถึง คา กลุ่มคา ประโยค หรื อเครื่ องหมายวรรคตอนที่แวดล้อมอยูข่ า้ งเคียง คาศัพท์ที่ไม่ทราบเครื่ องหมาย ได้แก่ บริ บทด้านความหมาย บริ บทด้านเครื่ องหมายวรรคตอน และบริ บท ตัวนาอนุประโยค 3. ตัวชี้ แนะ (Clue) หมายถึง คา กลุ่มคา และเครื่ องหมายวรรคตอน ที่ตาหน้าที่เป็ นตัวช่วยให้ทราบ ความหมายที่ชดั เจน แน่นอน ของคาศัพท์ยาก หรื อคาศัพท์ที่ไม่รู้ความหมาย ได้แก่ ตัวชี้ แนะบริ บทชนิ ดคา จากัดความ ตัวชี้แนะบริ บทการกล่าวซ้ า ตัวชี้แนะบริ บทการยกตัวอย่าง ตัวชี้แนะคาที่มีความหมายครอบคลุม คาอื่นเฉพาะกลุ่ม ตัวชี้แนะเครื่ องหมายวรรคตอน และตัวชี้แนะตัวนาอนุประโยค เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง (บทที่ 2) ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ สมุทร เซ็นเชาวนิช (2540) ได้กล่าวถึงความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจว่า ความสามารถใน การอ่าน หมายถึง ความสามารถในการที่จะอนุมานข้อสนเทศหรื อความสามารถอันพึงประสงค์จากสิ่ งที่อ่าน ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุดเท่าที่จะทาได้ ตติ ย า เมฆประยูร (2544) ได้ส รุ ป ว่ า ความสามารถในการอ่ า นเพื่ อ ความเข้า ใจ หมายถึ ง ความสามารถในการทาความเข้าใจกับภาษาที่ปรากฏในข้อความที่อ่านโดยใช้ความสามารถทางภาษากับ ความรู้เดิม เชื่อมโยงความรู้ในการค้นหาความหมาย จับใจความสาคัญ สรุ ปความ ตีความ เข้าใจความหมาย แฝง และประเมินสิ่ งที่อ่านได้ตรงตามความตั้งใจของผูเ้ รี ยน คาศัพท์ภาษาอังกฤษ คาศัพท์เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญอย่างมากของการเรี ยนภาษาอังกฤษ นักการศึกษาหลายท่านได้ กล่าวถึงความหมายและความสาคัญของคาศัพท์ไว้ดงั นี้ รู บิน (Rubin. 1979) ได้ให้คาจากัดความของคาศัพท์ไว้ว่า คาศัพท์ หมายถึ ง คาทุกคาในภาษาที่ นามาใช้และเป็ นที่เข้าใจในเฉพาะบุคคล วงสังคม วงการอาชี พหรื อโดยทัว่ ไป คาศัพท์อาจได้แก่ รายการคา หรื อวลี ที่ ถู ก จัดเรี ย งตามระบบการเรี ย งอัก ษร พร้ อมกับ มี ก ารอธิ บ ายความหมาย แปลหรื อ ยกตัวอย่า ง ประกอบ ศิธร แสงธนูและคิด พงศทัต (2521) กล่าวถึงคาศัพท์วา่ คาศัพท์ คือ กลุ่มเสี ยง ซึ่ งมีความหมายให้รู้วา่ เป็ นคน สิ่ งของ อาการ หรื อลักษณะอาการอย่างใดอย่างหนึ่ ง และได้แบ่งความหมายคาศัพท์ออกเป็ น 4 นัย คือ 1. ความหมายตามพจนานุกรม (Lexical meaning)


2. ความหมายทางไวยากรณ์ (Morphological meaning) 3. ความหมายที่เกิดขึ้นหรื อเปลี่ยนแปลงจากการเรี ยงลาดับคา (Syntactical meaning) 4. ความหมายที่เปลี่ยนแปลงไปตามเสี ยงขึ้นหรื อลงที่ผพู ้ ดู เปล่งออกมา (Intonation meaning) วิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษ เพ็ญศรี รังสิ ยากูล (2542) ให้ความคิดเห็นว่า การที่ผอู ้ ่านจะอ่านข้อความให้เข้าใจได้อย่างถูกต้องนั้น เป็ นเรื่ องสาคัญ เพราะจะทาให้เข้าใจความคิดของผูเ้ ขียนได้อย่างชัดเจน การศึกษาการเดาความหมายของ คาศัพท์อย่างถูกวิธี จะเกิดประโยชน์ต่อการอ่านงานเขียนต่างๆ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านภาษาได้เสนอแนะประเภทของยุทธวิธีในการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษ ซึ่ง สามารถสรุ ปได้เป็ นประเภทใหญ่ๆ 2 ประเภท ดังนี้ 1. วิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บทจากการวิเคราะห์บริ บท (Contextual analysis) ผูเ้ ชี่ยวชาญทางภาษาได้แบ่งการวิเคราะห์บริ บท (Contextual analysis) ดังนี้ 1. คาจากัดความ (Definition) นักเขียนหลายท่านได้ให้ความหมายคล้ายกันว่า เป็ นการบอก ความหมายหรื อให้คาจากัดความโดยตรงกับคาศัพท์ ซึ่ งผูเ้ ขียนอาจใช้วธิ ี การอธิ บายคา ซึ่ งปรากฏในรู ปแบบ ต่างๆ กัน มีตวั ชี้แนะช่วยในการสังเกต ไดแก่ mean, be defined as, verb to be เป็ นต้น 2. การกล่าวซ้ า (Restatement) การกล่าวซ้ าความหมายโดยใช้คาคาที่มีความหมายคล้ายคลึงกันกับ ข้อความเดิม หรื อมีตวั ชี้แนะเพื่อช่วยในการสังเกต เช่น that is, that mean, this is to say, or เป็ นต้น 3. การยกตัวอย่าง (Example) การยกตัวอย่าง หมายถึง คาที่แทนทั้งหมด หรื อกลุ่ม 1 กลุ่ม เป็ นการให้ ตัวอย่างที่ช้ ีเฉพาะ หรื อเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับคาศัพท์คานั้น ซึ่ งมีตวั ชี้แนะ เช่น such as, like, for example, example of เป็ นต้น 4. การเปรี ยบต่าง (Contrast) เป็ นการใช้คาหรื วลีที่บอกความหมายตรงกันข้าม มีคาชี้แนะ เช่น but, although, while, however เป็ นต้น 5. คาเหมือน (Synonym context clues) ผูเ้ ขียนอาจใช้คาศัพท์ยาก แต่อาจให้ความหมายคาศัพท์ตวั เหมือนไว้ในข้อความถัดมา ซึ่งจะต้องอยูใ่ น Parts of speech เดียวกันกับคาศัพท์ยากคานั้นๆ ด้วย 6. คาตรงข้าม (Antonym context clues) เป็ นการแสดงความขัดแย้งกันกับสิ่ งที่กล่าวในตอนแรกเสมอ มีคาชี้แนะ เช่น on the other hand, as oppose to, but และ while เป็ นต้น 7. คาที่มีความหมายครอบคลุมคาอื่นเฉพาะกลุ่ม (Superordination) เป็ นการใช้คาศัพท์หมวดหรื อคาที่ มีความหมายครอบคลุมคาอื่นมาช่วยในการเดาความหมายคาศัพท์ 8. สาเหตุ-ผล (Cause-effect) ผูอ้ ่านสามารถเดาความหมายคาศัพท์ได้จากสิ่ งที่เกิดขึ้นโดยเป็ นผลของ อีกส่ วนหนึ่ง มักมีตวั ชี้แนะ เช่น because, why และ reason 2. วิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บทด้านความหมาย (Semantic analysis) สมุทร เซ็นเชาวนิช (2540) ได้กล่าวถึงการวิเคราะห์บริ บทประเภทเครื่ องหมายวรรคตอนว่า บางครั้ง ผูเ้ ขียนอาจใช้เครื่ องหมายวรรคตอนบางอย่างอธิ บายความหมายของคาศัพท์บางคา ดังนี้


1. เครื่ องหมายจุดคู่ (Colon) คือเครื่ องหมาย : ใช้เพื่อเน้นให้ทราบข้อความที่ตามมานั้นเป็ นคาอธิ บาย เพิ่มเติม 2. เครื่ องหมายขีดยาว (Dash) คือเส้นขีดยาว (-) ใช้คนั่ หน้าและหลังข้อความหรื อประโยค เพื่อ แบ่งแยกรายละเอียดออกจากใจความสาคัญ และในขณะเดียวกันจะทาให้ผอู ้ ่านได้มุ่งกลับไปสู่ สิ่งที่อ่าน มาแล้วอีก 3. เครื่ องหมายวงเล็บหรื อนขลิขิต (Parentheses) คือ เครื่ องหมาย ( ) ใช้แยกกั้นข้อความบางส่ วนที่ไม่ จาเป็ นในประโยคออกไป 4. เครื่ องหมายคาพูดหรื ออัญประกาศ (Ouotation) คือ เครื่ องหมาย “….” ใช้เขียนคร่ อมบนคาพูด ความคิด หรื อข้อความที่ตอ้ งการให้สังเกต เน้น หรื อ ยกมาอ้างอิง 5. เครื่ องหมายละ (Ellisis) คือ เครื่ องหมายสามจุดเรี ยงกัน (...) ผูอ้ ่านจะต้องเข้าใจว่าข้อความที่ได้ คัดลอกออกมาโดยตรงจากแหล่งเดิมนั้น มีบางส่ วนที่ได้ละไว้ตามปกติแล้ว 6. เครื่ องหมายจุลภาค (Comma) คือ เครื่ องหมาย , ใช้แบ่งคัน่ ข้อความบางตอนในประโยคที่ค่อนข้าง ยาว เพื่อช่วยให้ผอู ้ ่านเข้าใจผิด ในบางช่วงบางตอนนั้นๆ ได้ถูกต้องข้อความเหล่านั้นอาจจะเป็ นอธิ บาย ข้อความเสริ มต่อ วลี หรื อประโยค ที่ทาหน้าที่ขยายใจความส่ วนใดส่ วนหนึ่งของประโยค หรื อทั้งหมด การวิเคราะห์บริ บทด้านการใช้ตวั นาอนุประโยค (Clause marker analysis) วิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากการวิเคราะห์โครงสร้างของคา (Word Analysis) เอลลีสและทอมลินสัน (Ellis & Tomlison.1980) ได้กล่าวถึงอุปสรรคว่า เป็ นส่ วนที่เติมข้างหน้า คาหลัก หรื อรากศัพท์เพื่อทาให้ความหมายของคาหลักเปลี่ยนแปลงไป อุปสรรคที่สาคัญ เช่น อุปสรรคที่มี ความหมายในเชิงปฎิเสธ “No” หรื อ “Not” อุปสรรคบอกสถานที่ ตาแหน่ง (Placement) เช่น international, exclude อุปสรรที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับเวลา (Time) อุปสรรคที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับจานวนเลข (Numbers) คีน (Keen. 1985) ได้อธิ บายปั จจัยว่า เป็ นส่ วนหนึ่งของคาที่อยูข่ า้ งหลังคาหลัก (Base word) หรื อราก ศัพท์ (Roots) โดยทัว่ ไป ปั จจัย (Suffixes) ช่วยชี้แนะชนิดของคา (Part of speech) เช่น การเติมปั จจัย –er, est, -or ทาให้คาหลัก (Base word) เปลี่ยนชนิดของคาเป็ นคานาม คีน (Keen. 1985) ได้กล่าวถึงความสาคัญของรากศัพท์วา่ การรู ้ความหมายของรากศัพท์ ทาให้ผเู ้ รี ยน ทราบถึงตัวชี้แนะที่สาคัญ ที่จะบอกความหมายของคาศัพท์ได้อย่างชัดเจน และยังเสริ มอีกว่า รากศัพท์อาจ เกี่ยวข้องกับจานวนเลข (Numbers) การวัด (Measurement) การเคลื่อนไหว (Motion) การกระทา (Action) ความรู้สึก (Senses) คุณภาพ (Quality) กฎหมาย (Law) และสังคม (Society) เทคนิคการสอนการเดาความหมายคาศัพท์จากบริบท อาเธอร์ (Arthur. 1987) ได้เสนอขั้นตอนในการสอนการเดาความหมายคาศัพท์โดยใช้บริ บท มี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นแนะนาสาหรับนักเรี ยนที่ไม่รู้จกั วิธีการเดาความหมายจากบริ บท


1. หลังจากที่ผสู ้ อนได้วเิ คราะห์เนื้ อหาบทเรี ยนแล้ว จึงคัดเลือกคาที่ตอ้ งการจะนามาสอนโดยใช้ บริ บทประกอบการสอนที่กาหนดไว้ 2. แต่งประโยคสาหรับคาที่คดั เลือกไว้แต่ละคา ประโยคเหล่านี้จะมีตวั ชี้แนะต่อความหมายของแต่ ละคา 3. แสดงรายการคาเหล่ านั้นโดยไม่มีตวั ชี้ แนะบนกระดาน แผ่นใส หรื อกระดาษถ่ ายเอกสาร ให้ นักเรี ยนเขี ยนความหมายของคาแต่ละคา ถ้าผูเ้ รี ยนไม่รู้ความหมายของคา ให้นักเรี ยน “เดา” และเขียน “ความหมาย” คากับคาทุกคาไว้ดว้ ย 4. ขออาสาสมัครจากผูเ้ รี ยนเพื่อมาให้ความหมาย และอย่าลืมบอกนักเรี ยนว่า นี่เป็ นการเดาเท่านั้น 5. ผูส้ อนแสดงคาในประโยคที่มีตวั ชี้ แนะอีกรอบ และให้ผูเ้ รี ยนเขียนความหมายอีกครั้ง ซึ่ งครั้งนี้ อาศัยตัวชี้แนะบริ บท ย้านักเรี ยนว่านี่เป็ นแค่การเดาเท่านั้น 6. ให้ผเู้ รี ยนปรึ กษาคาตอบด้วยกันว่า ได้ความหมายมาอย่างไร ส่ วนที่เหลือในประโยคมีส่วนช่วยใน การเดาหรื อได้ความหมายอย่างไร 7. ผูเ้ รี ยนตรวจความหมายจากพจนานุกรม อ่านความหมาย และเลือกความหมายที่เหมาะสมโดย อาศัยตัวชี้แนะบริ บท 8. บอกผูเ้ รี ยนว่าคาเหล่านี้น่าจะพบในหนังสื อเรี ยนเล่มใดหรื อแบบใด หลังจากนั้นให้นกั เรี ยนอ่าน เรื่ องที่มีคาเหล่านั้น และปรึ กษากันถึงเรื่ องความหมายของคา ขั้นตอนที่ 2 สาหรับผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถในการเดาความหมายคาศัพท์บา้ งแต่ยงั จาเป็ นต้องได้รับการ แนะนา 9. เมื่อผูเ้ รี ยนเรี ยนรู ้วิธีการเดาความหมายของคาในประโยคที่ผสู ้ อนสร้างขึ้นแล้ว ในขั้นตอนที่ 2 นี้ อาจจะต้องใช้เวลา 1 อาทิตย์ 1 เดือน หรื อหลายเดือน หลังจากได้เริ่ มต้นขั้นตอนที่ 1 ผูส้ อนให้รายการคาแก่ นักเรี ยน 1 ชุ ด และให้เดาความหมายของคาเหล่านั้น โดยแนะให้วา่ สามารถจะหาคาเหล่านั้นได้ที่ไหนใน หนัง สื อเรี ย น ให้ ผูเ้ รี ย นเดาความหมายของค าโดยใช้บริ บทในหนังสื อเรี ยน ปรึ กษาความหมายร่ วมกัน จากนั้นให้ผเู้ รี ยนค้นหาความหมายของคาในพจนานุกรมเพื่อความหมายที่ถูกต้อง ขั้นตอนที่ 3 สาหรับผูเ้ รี ยนที่รู้วธิ ี ในการใช้ตวั ชี้แนะบริ บท 10. เพื่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองได้ ผูส้ อนเขียนรายการคาบนกระดาน และบอกให้ผเู้ รี ยนเดา ความหมายของคาขณะที่อ่านบทอ่านที่เลือกให้ งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง สลินดา โพธิ์ พยัคฒ์ (2557) ได้ทาการวิจยั เรื่ อง การพัฒนาแบบฝึ กเสริ มการเข้าใจความหมายคาศัพท์ ภาษาอังกฤษโดยใช้กลวิธีการเดาความหมายจากบริ บทของนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ช้ นั ปี ที่ 1 มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลสุ วรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี เครื่ องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบฝึ กเสริ มความเข้าใจความหมาย คาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยการใช้กลวิธีการเดาความหมายจากบริ บท แบบทดสอบความสามารถในการเข้าใจ


ความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยการใช้กลวิธีการเดาความหมายจากบริ บทก่อนและหลังการทดลองและ สอบถามความคิดเห็น วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละและทดสอบค่า t-test ผลการวิจยั พบว่า ประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กเสริ มความเข้าใจความหมายคาศัพท์โดยใช้กลวิธีการเดา ความหมายจากบริ บท มีค่า 75.75/76.78 ความสามารถในการเข้าใจความหมายคาศัพท์โดยใช้กลวิธีการเดา ความหมายคาศัพท์จากบริ บทสู งกว่าก่อนทาแบบฝึ กอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เสาวณี ย ์ ณั ฏ ฐาไกร (2549) ได้ท าการวิ จ ัย เรื่ อ ง การใช้ก ลยุ ท ธวิ ธี ก ารเดาความหมายค าศัพ ท์ ภาษาอังกฤษจากบริ บทของนักเรี ยนช่วงชั้นที่ 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนนวมินทราชินูทิศเตรี ยม อุ ดมศึ ก ษาน้อมเกล้า ผลการศึ ก ษาพบว่า นักเรี ย นกลุ่ มตัวอย่า งที่ รับ การสอน โดยการใช้ยุทธวิธี ก ารเดา ความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท สามารถใช้ยุทธวิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจาก บริ บทได้อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วิธีการดาเนินการวิจัย (บทที่ 3) ประชากร นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง ปี ที่ 1 สาขาการบัญชี จานวน 12 คน ที่ลงทะเบียนเรี ยน ในรายวิชา กลยุทธ์การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2558 วิทยาลัยอาชีวศึกษา บริ หารธุ รกิจวิทยาสงขลา อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่ าง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง ปี ที่ 1 สาขาการบัญชี จานวน 12 คน ที่ลงเรี ยนรายวิชากลยุทธ์การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2558 ซึ่ งได้มา โดยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) ขอบเขตเนือ้ หาสาระ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริ หารธุ รกิจวิทยาสงขลา ได้จดั ให้มีการเรี ยนการสอนในรู ปแบบของชุดวิชา (Block-course) ดังนั้น ในการดาเนินการวิจยั ในชั้นเรี ยนครั้งนี้ ใช้เวลา 2 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 10 คาบ คาบละ 50 นาที รวมเป็ น 20 คาบ ไม่รวมการทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน ในภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2558 เครื่องมือทีใ่ ช้ เก็บข้ อมูล 1. แผนจัดการการเรี ยนรู้ จานวน 20 คาบ 2. แบบทดสอบการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท จานวน 40 ข้อ ใช้ทดสอบก่อน และหลังการทดลอง 3. แบบบันทึกหลังการเรี ยนรู้ของนักศึกษา 4. บันทึกผลการสอนของครู /ผูว้ จิ ยั การสร้ างเครื่องมือ 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้


1.1 ผูว้ จิ ยั กาหนดวิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท เป็ น 3 หัวข้อหลัก ได้แก่ บริ บทด้านความหมาย (Semantic context) บริ บทด้านเครื่ องหมายวรรคตอน (Punctuation markers) และ บริ บทด้านการใช้นาอนุประโยค (Clause markers) 1.2 ผูว้ จิ ยั คัดเลือกบทอ่านที่ใช้สอนอ่าน โดยมีเนื้อหาที่มีคาศัพท์และโครงสร้างทางภาษาที่เหมาะสม กับระดับความรู ้และความสนใจของนักศึกษา 1.3 ผูว้ จิ ยั ออกแบบแผนจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้ แผนที่ คาบสอน เนื้อหา 1 1-4 วิธีการเดาความหมายคาศัพท์จากการวิเคราะห์บริ บทด้านความหมาย: การใช้คาจากัดความ (Definition) คาที่แสดงความเหมือน (Synonym) คาที่แสดงความแตกต่าง (Antonym) 2 5-8 วิธีการเดาความหมายคาศัพท์จากการวิเคราะห์บริ บทด้านความหมาย: การยกตัวอย่าง (Example) การกล่าวซ้ า (Restatement) การใช้คาที่มีความหมายครอบคลุมคาอื่น (Superordination) 3 9-12 วิธีการเดาความหมายคาศัพท์จากการวิเคราะห์บริ บทด้านเครื่ องหมายวรรค ตอน: การใช้เครื่ องหมาย, (Comma) การใช้เครื่ องหมาย : (Colon) การใช้เครื่ องหมาย ; (Semi-colon) การใช้เครื่ องหมาย ( ) (Parenthesis) 4 13-16 วิธีการเดาความหมายคาศัพท์จากการวิเคราะห์บริ บทด้านการใช้นาอนุ ประโยค: การใช้ขอ้ ความที่ขยายหรื อเพิ่มเติมรายละเอียดคานามที่อยูข่ า้ งหน้าตัวนา อนุประโยค 5 17-20 วิธีการเดาความหมายคาศัพท์จากการวิเคราะห์บริ บทด้านการใช้นาอนุ ประโยค: การใช้ตวั นาอนุประโยคที่มีขอ้ ความที่บอกเกี่ยวกับเวลาและสิ่ งของ การใช้ตวั นาอนุประโยคที่มีขอ้ ความเกี่ยวกับสถานที่ ทั้งนี้ มีข้ นั ตอนการสอนดังต่อไปนี้ ขั้นสอน 1. เสนอแนวคิด (Concept) เกี่ยวกับการใช้วธิ ี การเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยการวิเคราะห์ จากบริ บท ดังต่อไปนี้ 1.1 บริ บทด้านความหมาย (Semantic context) 1.2 บริ บทด้านเครื่ องหมายวรรคตอน (Punctuation markers) 1.3 บริ บทด้านการใช้นาอนุประโยค (Clause markers)


2. ตรวจสอบความเข้าใจของผูเ้ รี ยนเรื่ องการใช้วิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยการ วิเคราะห์จากบริ บท 3. สรุ ปหลักการใช้ร่วมกับนักศึกษา ขั้นฝึ ก/นาไปใช้ 1. ผูเ้ รี ยนเป็ นคู่/กลุ่มร่ วมกันทาแบบฝึ กหัดเพื่อฝึ กวิธีการที่เรี ยนและตรวจสอบ/อภิปรายร่ วมกันทั้งชั้น เรี ยน 2. ผูเ้ รี ยนทาแบบฝึ กหัดเพิ่มเติมเป็ นรายบุคคล ครู ตรวจสอบและให้ขอ้ มูลย้อนกลับเป็ นรายบุคคล หรื อ นามาอภิปรายในชั้นเรี ยน หากพบปั ญหาที่ผเู้ รี ยนส่ วนใหญ่ไม่เข้าใจ 3. ผูบ้ นั ทึกผลการใช้ยทุ ธวิธีการเดาความหมายคาศัพท์ 4. นาแผนจัดการการเรี ยนรู้ไปให้ผเู้ ชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์การสอนวิชาภาษาอังกฤษและหัวหน้า ฝ่ ายวิชาการตรวจสอบ และนามาพิจารณา ปรับปรุ ง 2. แบบทดสอบการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท 2.1 สร้างแบบทดสอบ โดยมีเนื้ อหาที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง ใน เรื่ องการการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท เป็ นข้อสอบปรนัยแบบตอบคาถาม มี 4 ตัวเลือก จานวน 60 ข้อ 2.2 นาแบบทดสอบที่ผวู ้ จิ ยั สร้างขึ้นจานวน 60 ข้อ ไปให้ผเู้ ชี่ยวชาญในสาขาการสอนภาษาอังกฤษ ตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสม แล้วนามาแก้ไขปรับปรุ ง 2.3 นาแบบทดสอบที่แก้ไขแล้ว ไปใช้กบั นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง ที่ไม่ใช่ กลุ่มตัวอย่าง จานวน 1 ห้อง 2.4 นาผลคะแนนการตรวจแบบทดสอบไปหาค่า คุ ณภาพเครื่ องมื อ โดยหาค่ า ความเชื่ อมัน่ ของ แบบทดสอบทั้งฉบับ โดยใช้สูตร Kuder Richarson (KR-20) ที่มีค่าความเชื่ อมัน่ มากกว่า 0.7 แล้วนา แบบทดสอบมาวิเคราะห์รายข้อ เพื่อหาค่าความยากง่าย และค่าอานาจจาแนก โดยเลือกข้อสอบที่มีค่าความ ยากง่าย (p) ระหว่าง 0.2-0.8 และค่าอานาจจาแนก (r) มากกว่า 0.2 คัดเลือกข้อสอบที่มีคุณภาพ 40 ข้อ ใช้ สอบก่อนและหลังเรี ยน 3. บันทึกผลหลังการเรี ยนรู้ เป็ นบันทึกที่ผเู้ รี ยนเขียนแสดงความคิดเห็นและข้อเสนะแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเรี ยนการสอน หลังจากเรี ยนจบแล้ว โดยมีขอ้ คาถามเป็ นแนวทางให้นกั ศึกษาดังนี้ 3.1 ผูเ้ รี ยนสามารถใช้กลยุทธ์การเดาความหมายคาศัพท์จากบริ บทช่วยในการอ่านได้หรื อไม่ เพราะ เหตุใด 3.2 ผูเ้ รี ยนรู ้จกั ความหมายของคาศัพท์มากขึ้นหรื อไม่ เพราะเหตุใด


3.3 ผูเ้ รี ยนสามารถนาความรู ้ไปพัฒนาการอ่านให้ดีข้ ึนได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด 4. บันทึกผลการสอนของครู เป็ นบันทึกที่ครู เขียนแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอนหลังจบสอน จบในแต่ละครั้ง ซึ่ งมีแนวข้อคาถามให้ครู บนั ทึกเพิม่ เติมคือ 4.1 ผูเ้ รี ยนใช้วธิ ี การเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บทได้ถูกต้องหรื อไม่ 4.2 ผูเ้ รี ยนทาแบบฝึ กหัดหรื อใบงานได้ถูกต้องและมีประสิ ทธิ ภาพหรื อไม่ 4.3 ปัญหาหรื ออุปสรรคที่พบ การเก็บรวบรวมข้ อมูล 1. ทาการทดลองสอบกลุ่มตัวอย่างก่อนเรี ยน ด้วยแบบทดสอบการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษ จากบริ บท ที่ผวู ้ จิ ยั สร้างขึ้นและหาคุณภาพของข้อสอบเรี ยบร้อยแล้ว 2. จัดปฐมนิ เทศ พูดคุย เพื่อทาความเข้าใจกับนักศึกษาที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับวิธีการดาเนิ นการ ทดลอง วัตถุประสงค์ของการทดลอง และวิธีประเมินผลการเรี ยน 3. ดาเนินการสอนกลุ่มตัวอย่าง ตามเนื้ อหาและเวลาที่กาหนดไว้ โดยผูว้ จิ ยั เป็ นผูส้ อน จัดกระบวนการ เรี ยนการสอนตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่สร้างขึ้น จานวน 5 แผน จานวน 20 คาบ เป็ นเวลา 2 สัปดาห์ 4. ผูส้ อนจะบันทึกผลการสอนทุกหลังจากเสร็ จสิ้ นการสอนทุกคาบ 5. หลังจากที่ดาเนิ นการสอนครบตามจานวนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ท้ งั 5 แผนแล้ว นักศึกษากลุ่ม ตัวอย่างทาแบบทดสอบการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท โดยเป็ นข้อสอบชุดเดียวกันกับที่ ใช้สอบก่อนเรี ยน 6. ตรวจและให้คะแนนการทาแบบทดสอบ แล้วนาผลคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์ขอ้ มูลตามวิธีการทาง สถิติ โดยใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมประมวลผลสาเร็ จรู ป 7. รวบรวมประเด็นที่สาคัญจากบันทึกผลหลังการเรี ยนรู้ของนักศึกษา และบันทึกผลการสอนของ ครู ผสู้ อน 8. สรุ ปและอภิปรายผลการทดลอง สถิติทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล 1. ค่าเฉลี่ย (Mean) 2. ค่าร้อยละ 3. สถิติ t-test แบบ Dependent ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล (บทที่ 4) 1. ผลการเปรียบเทียบความก้ าวหน้ าของผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ตารางที่ 2 ผลการเปรี ยบเทียบความก้าวหน้าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน


เลขที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

ชื่อ-สกุล

ก่อนเรียน

หลังเรียน

คะแนน ความก้าวหน้ า

8 6 9 9 11 9 13 10 11 9 8 6

28 26 27 28 27 29 32 30 27 29 27 25

20 20 18 19 16 20 19 20 16 20 19 19

นางสาวชนาภา เหลาะและ นางสาวนรี กานต์ หมัดจะกิจ นางสาวศศินา ช่อดอก นางสาวจารุ วรรณ ช่างแก้ นางสาวศิวพร จิตมานะ นางสาวผกาทิพย์ บุญแก้วคง นางสาวณัฐมน หนูเส้ง นางสาวนภิศา เข็มทอง นางสาวสุภาวรรณ แก้วดา นางสาวยมลพร จิตนุราช นางสาวชนันดา ทองสองแก้ว นางสาวหัทยา นุ่นเหว่า

จากตารางที่ 2 โดยภาพรวมคะแนนเฉลี่ยก่อนเรี ยนเท่ากับ 9.08 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรี ยนเท่ากับ 27.92 คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 18.84 เมื่อพิจารณาเป็ นรายบุคคล พบว่า ผูเ้ รี ยนได้คะแนนเพิ่มขึ้นทุกคน มี คะแนนความก้าวหน้าตั้งแต่ 25 ถึง 32 แสดงว่านักศึกษาที่ได้รับการเรี ยนจากวิธีการเดาความหมายคาศัพท์ ภาษาอังกฤษจากบริ บทมีผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น 2. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลจากแบบทดสอบการเดาความหมายคาศัพท์ ภาษาอังกฤษจากบริบท ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t-test และระดับนัยสาคัญทางสถิติของการ ทดสอบเปรี ยบเทียบคะแนนสอบก่อนและหลังเรี ยนของนักศึกษาที่ได้รับการเรี ยนจากวิธีการเดาความหมาย คาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท (n = 12) การทดสอบ

S.D.

ก่อนเรียน

9.08

2.02

หลังเรียน

27.92

1.88

D

S..D.D

t

Sig.(1-tailed)

18.83

1.47

44.48 *

0.0000

จากตารางที่ 3 พบว่า การทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักศึกษาที่ได้รับการเรี ยนจากวิธีการเดา ความหมายค าศัพ ท์ภ าษาอัง กฤษจากบริ บ ท มี ค ะแนนเฉลี่ ย เท่ า กับ 9.08 คะแนน และ 27.92 คะแนน ตามลาดับ และเมื่อเปรี ยบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรี ยน พบว่า คะแนนสอบหลังเรี ยนของนักเรี ยน สู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลจากแบบบันทึกผลหลังการเรี ยนรู้ ของนักศึกษา


บันทึกผลหลังการเรี ยนรู้ของนักศึกษา เป็ นคาถามปลายเปิ ด 3 ข้อ ซึ่ งให้นกั ศึกษาแสดงความคิดเห็น และข้อเสนะแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเรี ยนการสอนหลังจากเรี ยนจบแล้ว ผูว้ จิ ยั ได้นาข้อมูลจากบันทึกผลการ เรี ยนของนักศึกษาจานวน 12 คน มาวิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากบันทึกหลังการเรี ยนรู้ของนักศึกษา พบว่า นักศึกษาสามารถใช้กลยุทธ์การเดาความหมายคาศัพท์จากบริ บทช่วยในการอ่านได้ ร้อยละ 84.44 นักศึกษารู ้จกั ความหมายของคาศัพท์มากขึ้น ร้อยละ84.29 และ นักศึกษาสามารถนาความรู ้ไปพัฒนาการอ่าน ให้ดีข้ ึน ร้อยละ 87.27 4. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลจากบันทึกผลการสอนของครู ผูว้ จิ ยั พบว่า วิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท ทั้ง 3 รู ปแบบมีหลักการในการเดา ความหมายที่คล้ายคลึงกัน ต่างกันที่ประเภทของตัวชี้แนะ ซึ่ งทาให้นกั ศึกษาสามารถวิเคราะห์ได้วา่ ตัวชี้ แนะ แต่ละชนิ ดใช้กบั บริ บทชนิ ดใดบ้าง นักศึกษาสามารถเดาความหมายคาศัพท์จากคาที่อยู่ขา้ งหน้าตัวชี้ แนะ ชนิดนี้ได้ ซึ่ งมีความคล้ายกับบริ บทชนิดคาจากัดความ ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ความสามารถในการทาแบบฝึ กหัดของนักเรี ยนต่อวิธีการเดาความหมาย คาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท เลขที่ ชื่อ-สกุล 1 2 3 4 5 ค่ าเฉลีย่ ระดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

นางสาวชนาภา เหลาะและ นางสาวนรี กานต์ หมัดจะกิจ นางสาวศศินา ช่อดอก นางสาวจารุ วรรณ ช่างแก้ นางสาวศิวพร จิตมานะ นางสาวผกาทิพย์ บุญแก้วคง นางสาวณัฐมน หนูเส้ง นางสาวนภิศา เข็มทอง นางสาวสุภาวรรณ แก้วดา นางสาวยมลพร จิตนุราช นางสาวชนันดา ทองสองแก้ว นางสาวหัทยา นุ่นเหว่า

7 6 6 7 7 8 8 7 7 7 7 6

8 7 8 8 8 8 8 8 8 8 8 7

8 8 8 8 8 8 9 8 8 9 9 8

9 9 9 10 9 9 10 10 9 10 8 8

9 8 9 10 9 8 10 9 10 10 9 8

8 8 8 9 8 8 9 8 8 9 8 7

ดี ดี ดี ดีมาก ดี ดี ดีมาก ดี ดี ดีมาก ดี ดี

จากตารางจะพบว่า ความสามารถในการทาแบบฝึ กหัดจานวน 5 ครั้ง ของนักศึกษามีค่าเฉลี่ย 7-8 อยู่ ในเกณฑ์ดี จานวน 9 คนและดีมาก มีค่าเฉลี่ย 9 อยูใ่ นเกณฑ์ดีมาก จานวน 3 คน สรุ ป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ(บทที่ 5) สรุ ปผลการวิจัย 1. ผลการเปรี ยบเทียบความก้าวหน้าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน คะแนน เฉลี่ยก่อนเรี ยนเท่ากับ 9.08 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรี ยนเท่ากับ 27.92 คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 18.84 เมื่อพิจารณา


เป็ นรายบุคคล พบว่า นักศึกษาได้คะแนนเพิ่มขึ้นทุกคน มีคะแนนความก้าวหน้าตั้งแต่ 25 ถึง 32 แสดงว่า นักศึกษาที่ได้รับการเรี ยนจากวิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บทมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น 2. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากแบบทดสอบการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท ผูว้ จิ ยั ได้ สร้างแบบทดสอบการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท เพื่อวัดความสามารถของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชี พชั้นสู ง ชั้นปี ที่ 1 สาขาการบัญชี แบบปรนัย จานวน 40 ข้อ เพื่อหาค่าความ แตกต่างจากสถิติของคะแนนความสามารถในการเรี ยนรู ้ เรื่ องการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจาก บริ บท ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน โดยใช้ t-test แบบ Dependent พบว่า การทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน ของนักศึกษาที่ได้รับการเรี ยนจากวิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท มีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 9.08 คะแนน และ 27.92 คะแนน ตามลาดับ และเมื่อเปรี ยบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรี ยน พบว่า คะแนนสอบหลังเรี ยนของนักเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากบันทึกหลังการเรี ยนรู ้ของนักศึกษา พบว่า นักศึกษาให้ความคิดเห็นที่ดี ต่อกิจกรรมการเรี ยนรู ้วธิ ี การเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท ทั้งนี้ เพราะค่าคะแนนของแต่ละ คาถามอยูใ่ นเกณฑ์เฉลี่ยคิดได้ร้อยละ 84.44, 84.29 และ 87.27 ตามลาดับ 4. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากบันทึกผลการสอนของครู พบว่า นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ได้วา่ ตัว ชี้แนะแต่ละชนิดใช้กบั บริ บทชนิดใดบ้าง นักศึกษาสามารถเข้าใจความหมายของคาศัพท์ที่ไม่คุน้ เคยได้ และ ร่ วมกันอภิปรายคาตอบพร้อมกับครู ผสู ้ อนทั้งชั้น เพื่อหาคาตอบที่ถูกต้อง และนักศึกษาสามารถอธิ บายหรื อ ออกมาหน้าชั้นเรี ยนให้เพื่อนได้ฟัง เมื่อนักศึกษาพบกับปั ญหา จะช่วยกันเฉลยคาตอบ และร่ วมกันอภิปราย คาตอบอีกครั้ง อภิปรายผล ผลการเปรี ยบเทียบความก้าวหน้าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน คะแนน เฉลี่ยก่อนเรี ยนเท่ากับ 9.08 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรี ยนเท่ากับ 27.92 คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 18.84 เมื่อพิจารณา เป็ นรายบุคคล พบว่า นักศึกษาได้คะแนนเพิ่มขึ้นทุกคน มีคะแนนความก้าวหน้าตั้งแต่ 25 ถึง 32 แสดงว่า นักศึกษาที่ได้รับการเรี ยนจากวิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บทมีผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากแบบทดสอบการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท ผูว้ ิจ ัย ได้ส ร้ า งแบบทดสอบแบบปรนัย จานวน 40 ข้อ เพื่ อหาค่ า ความแตกต่ า งจากสถิ ติ ข องคะแนน ความสามารถในการเรี ยนรู ้ เรื่ องการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน โดยใช้ t-test แบบ Dependent พบว่า การทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักศึกษาที่ได้รับการเรี ยนจาก วิธี ก ารเดาความหมายค าศัพ ท์ภาษาอัง กฤษจากบริ บ ท มี ค ะแนนเฉลี่ ย เท่ า กับ 9.08 คะแนน และ 27.92 คะแนน ตามลาดับ และเมื่อเปรี ยบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรี ยน พบว่า คะแนนสอบหลังเรี ยนของ นักเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05


ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากบันทึกหลังการเรี ยนรู ้ของนักศึกษา พบว่า นักศึกษาให้ความคิดเห็นที่ดีต่อ กิ จกรรมการเรี ยนรู ้ วิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท ทั้งนี้ เพราะค่าคะแนนของแต่ละ คาถามอยูใ่ นเกณฑ์เฉลี่ยคิดได้ร้อยละ 84.44, 84.29 และ 87.27 ตามลาดับ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากบันทึกผลการสอนของครู พบว่า นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ได้วา่ ตัวชี้ แนะ แต่ ละชนิ ดใช้กบั บริ บทชนิ ดใดบ้า ง นัก ศึ กษาสามารถเข้าใจความหมายของค าศัพ ท์ที่ ไม่ คุน้ เคยได้ และ ร่ วมกันอภิปรายคาตอบพร้อมกับครู ผสู ้ อนทั้งชั้น เพื่อหาคาตอบที่ถูกต้อง และนักศึกษาสามารถอธิ บายหรื อ ออกมาหน้าชั้นเรี ยนให้เพื่อนได้ฟัง เมื่อนักศึกษาพบกับปั ญหา จะช่วยกันเฉลยคาตอบ ข้ อเสนอแนะในการนาไปใช้ และการทาวิจัยครั้งต่ อไป ข้ อเสนอแนะจากการวิจัย 1. จากผลการวิจยั พบว่า ควรทดสอบความรู ้ ดา้ นคาศัพท์ของนักศึกษาที่จะเป็ นกลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้ แน่ใจว่ากลุ่มตัวอย่างรู ้คาศัพท์เพียงพอที่จะใช้คาจากบริ บทเดาความหมายของคาที่ไม่รู้ 2. ควรเพิ่มเวลาที่ใช้ในการทดลองเพื่อให้นกั ศึกษาได้มีเวลาการฝึ กฝนและเรี ยนรู ้ที่มากขึ้น 3. ควรเพิม่ บทอ่านระดับอนุ เฉท (Paragraph) ให้มากขึ้น เพื่อให้ใกล้เคียงกับการอ่านจริ งมากที่สุด ข้ อเสนอแนะเพือ่ การทาวิจัยครั้งต่ อไป 1. ควรมี การนาเอาวิธีการเดาความหมายคาศัพท์ภาษาอังกฤษจากบริ บท ไปทาการวิจยั กับวิชาที่ เกี่ยวข้องกับการอ่าน เช่น ภาษาอังกฤษธุ รกิจ หรื อ การอ่านเอกสารทางธุ รกิจ เป็ นต้น ในเรื่ องอื่นๆ 2. ควรนาเอารู ปแบบและกระบวนการวิจยั ในครั้งนี้ไปทาการวิจยั กับเนื้ อหาวิชาของกลุ่มสาระอื่นๆ


บรรณานุกรม ตติยา เมฆประยูร. (2544). การเปรี ยบเทียบการใช้ กลวิธีการเรี ยนรู้ คาศัพท์ ภาษาอังกฤษของนักเรี ยนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 5ที่มีความสามารถในการอ่ านที่ แตกต่ างกันในโรงเรี ยนสาธิ ต สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ในกรุ งเทพมหานคร. ปริ ญญานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุ งเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. เพ็ญศรี รังสิ ยากูล. (2542). การอ่ านภาษาอังกฤษ1. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์รามคาแหง. ศิธร แสงธนู และคิด พงศทัต. (2521). คู่มือครู ภาษาอังกฤษภาคทฤษฎีและปฏิ บัติ. กรุ งเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช สลินดา โพธิพยัคฆ์. (2557). การพัฒนาแบบฝึ กเสริ มความเข้ าใจความหมายคาศัพท์ ภาษาอังกฤษโดย การใช้ กลวิธีการเดาความหมายจากบริ บทของนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ชั้นปี ที่ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์ สุพรรณบุรี. รายงานการวิจยั . นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. เสาวณี ย ์ ณัฎฐาไกร. (2549). การใช้ กลยุทธ์ การเดาความหมายคาศัพท์ ภาษาอังกฤษจากบริ บท ของนักเรี ยนช่ วงชั้นที่ 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนนวมินทราชิ นูทิศ เตรี ยมอุดมศึกษาน้ อมเกล้ า. สารนิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุ งเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. สมุทร เซ็นเชาวนิช. (2540). เทคนิคการอ่ านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้ าใจ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . Arthur, Heilman W. (1987). Middle and Secondary School Reading, 2d ed. Ohio: Charles E. Merrill Publishing. Ellis, Rod; &Tomlinson, Brain. (1980). Teaching Secondary English. London: Longman. Keen, Denis. (1985). Developing Vocabulary Skills. Massachusetts: Newberry House. Rubin, Joan. (1979). Sociolinguistic Aspect of Language Learning and Teaching. London: Oxford University Press.




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.