FinTech Startups and Financial Inclusion in Thailand: Opportunities and Challenges

Page 1

(
“ผู้ประกอบการฟินเทคหน้าใหม่กับ การขยายการเข้าถึงบริการทางการเงิน ในไทย: โอกาสและความท้าทาย
โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย 22 สิงหาคม 2566
ร่าง) ผลการศึกษาโครงการวิจัย
เกี่ยวกับโครงการวิจัย ผลการสัมภาษณ์เชิงลึก: • โอกาสของผู้ประกอบการฟินเทค • ความท้าทายของผู้ประกอบการฟิน ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย Q
หัวข้อการน
2
& A
าเสนอ
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย • แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย หรือ Fair Finance Thailand ริเริ่มในปี พ.ศ. 2561 • ประกอบด้วย บจก. ป่าสาละ และองค์กรภาคประชาสังคมอีก 4 องค์กร 3
4
เกี่ยวกับโครงการวิจัย

ที่มาและความสาคัญ

เสนอข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

ต่อ ธปท. เพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการฟินเทคหน้าใหม่

5 • ผู้ประกอบการฟินเทคหน้าใหม่ในไทย ที่เน้นการขยายการเข้าถึงบริการทาง การเงินสาหรับผู้ที่เข้าไม่ถึงการเงินใน ระบบ ยังมีจานวนไม่มากนัก • งานวิจัยนี้มุ่งตอบคาถามว่า แรงจูงใจ โอกาส และความท้าทายของ ผู้ประกอบการฟินเทคหน้าใหม่ในการ ขยายบริการทางการเงินมีอะไรบ้าง 1. ทบทวนวรรณกรรม เกี่ยวกับโอกาสและความท้าทายของฟินเทค ในการขยายบริการทางการเงิน 2. สารวจโอกาสและความท้าทาย ของผู้ประกอบการฟินเทคหน้าใหม่ในไทยที่มุ่งขยาย บริการทางการเงิน 3.
ในการขยายบริการทางการเงิน วัตถุประสงค์โครงการ
5
6 ฟินเทค (FinTech) หมายถึง... ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่มีศักยภาพในการ ยกระดับบริการทางการเงิน กระตุ้นให้เกิดการพัฒนา โมเดลธุรกิจ กระบวนการทางาน และผลิตภัณฑ์ใหม่ และหมายรวมถึงบริษัทเทคโนโลยีดิจิทัลที่มุ่ง ให้บริการสถาบันการเงินด้วย - ธนาคารโลก (World Bank Group)นวัตกรรม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี หรือการพัฒนา โมเดลธุรกิจ ที่มีศักยภาพในการยกระดับบริการและ ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ตลอดจนความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีและการพัฒนาโมเดลธุรกิจที่มีศักยภาพในการ เปลี่ยนแปลงการให้บริการทางการเงิน - ที่ประชุมเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum: WEF) - การนาเทคโนโลยีมาใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ บริการ และ นวัตกรรมทางการเงิน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความ สะดวกรวดเร็ว ความปลอดภัย ลดต้นทุน และ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ ได้ดียิ่งขึ้น - ธนาคารแห่งประเทศไทย -
7 การเข้าถึงบริการทางการเงิน (financial
หมายถึง... คุณภาพ (Quality) • การให้บริการอย่างมี ความรับผิดชอบ เป็นธรรม เท่าเทียม โปร่งใส ปลอดภัย และคุ้มครองสิทธิของ ผู้ใช้บริการ • เป็นความรับผิดชอบของทั้ง ผู้ให้บริการ และหน่วยงาน กากับดูแล การเข้าถึง (Access) • ความสามารถในการเข้าถึง บริการทางการเงินของผู้ที่ ต้องการใช้บริการ • พิจารณาจากช่องทางของ ผู้ให้บริการ (เช่น สาขาของ สถาบันการเงิน) และ ข้อกาหนดหรือเงื่อนไขต่าง ๆ ของสถาบันการเงิน (เช่น ค่าธรรมเนียม) การใช้บริการ (Usage) • ผลิตภัณฑ์และบริการทาง การเงินตอบโจทย์ ความต้องการขั้นพื้นฐาน ของผู้ใช้บริการทุกกลุ่ม • ตัวอย่างผลิตภัณฑ์และ บริการขั้นพื้นฐาน เช่น บัญชีธนาคาร สินเชื่อ ประกันสุขภาพ ประกันชีวิต ฯลฯ สามเสาหลักของการเข้าถึงบริการทางการเงิน ที่มา: GPFI, 2016; Cámara & Tuesta, 2017; Appaya, 2021
inclusion)
8 ตลาดฟินเทคในประเทศไทย 33% 7% 33% 11% 16% ประเภทการชาระเงิน ประเภทการเก็บออม ประเภทการกู้ยืม ประเภทการบริการ จัดการความเสี่ยง ประเภทการให้ คาปรึกษาทางการเงิน จานวนฟินเทคในประเทศไทย จาแนกตามประเภท การให้บริการ รวม 61 บริษัท 1 15 ประเภทการ ชาระเงิน* ประเภท การกู้ยืม จานวนฟินเทคในประเทศไทยที่ส่งเสริมการขยายการ เข้าถึงบริการทางการเงิน รวม 16 บริษัท เกณฑ์ในการจาแนก 1. บริษัทประกาศเจตจานงว่ามีเป้าหมายในการขยาย การเข้าถึงบริการทางการเงิน หรือ 2. มีผลิตภัณฑ์หรือบริการทางการเงินที่มีสามเสาหลัก (Access – Usage - Quality) ครบถ้วน *ยกเลิกการให้บริการตั้งแต่ 14 มิถุนายน 2566 เป็นต้นมา
ผลการสัมภาษณ์เชิงลึก
9
: โอกาสของผู้ประกอบการฟินเทคในไทย
10 ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ให้สัมภาษณ์ จานวนผู้ให้สัมภาษณ์ รวม 21 ราย • ธุรกิจสินเชื่อ • ธุรกิจคราวด์ฟันดิง แนวร่วมฯ ได้คัดเลือก ผู้ประกอบการฟินเทคใน ประเทศไทย และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องจานวนทั้งสิ้น 21 ราย เพื่อสัมภาษณ์เชิงลึกในประเด็น โอกาสและความท้าทายของ ผู้ประกอบการฟินเทคในไทย 10 3 3 4 1 0 2 4 6 8 10 12
11 การเติมเต็มความ ต้องการบริการทาง การเงินของกลุ่ม unserved / underserved เช่น MSMEs ผู้หญิง คนรุ่นใหม่ คนใน ชนบท ชนชั้นแรงงาน • คนไทยมีอัตราการเข้าถึงบริการทางการเงินขั้นพื้นฐานค่อนข้างสูง แต่อีกจานวนมากยังเข้าไม่ถึงบริการทางการเงินขั้นสูงอย่างสินเชื่อ การลงทุน และการประกันภัย • ขาดหลักฐานทางการเงิน (เช่น สลิปเงินเดือน) และขาดหลักประกัน • กลุ่มที่ยังเข้าไม่ถึงบริการทางการเงินในระบบ (unserved) หรือเข้าถึงเพียง บางส่วน (underserved) เป็นตลาดที่ฟินเทคในไทยให้บริการเพิ่มเติมได้อีกมาก • จุดแข็งของฟินเทค คือ ความเข้าใจในความต้องการและข้อจากัดที่แตกต่างกันของ ลูกค้า → พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่ตอบโจทย์ลูกค้าแต่ละกลุ่มได้ เช่น พัฒนาผลิตภัณฑ์ e- Wallet ให้รองรับ บริการที่หลากหลาย สร้างประวัติ ทางการเงิน ของ SMEs ได้ข้อมูลประกอบการปล่อย สินเชื่อแบบไม่มีหลักทรัพย์ค้า ประกัน (unsecured loan)
12 การนาเสนอ ผลิตภัณฑ์หรือ บริการทางการเงินที่ สร้างมูลค่าเพิ่ม และ แตกต่างจากของเดิม ที่มีอยู่ในตลาด ด้านสินเชื่อ • Credit scoring และการ วิเคราะห์ข้อมูลที่ช่วยให้ ธนาคารปล่อยสินเชื่อให้กับ โครงการใหม่ ๆ เช่น สินเชื่อสีเขียว • สินเชื่อที่มุ่งแก้ไขปัญหาที่ เฉพาะเจาะจง เช่น สินเชื่อที่ แก้ปัญหาหนี้พนักงาน ด้านการลงทุน • ที่ปรึกษาด้านการเลือกรูปแบบ การลงทุนที่เหมาะสม (good default plan) เช่น บริการให้ คาปรึกษาในการเลือกกองทุน สารองเลี้ยงชีพ • การพัฒนาระบบที่ธนาคารยัง ไม่มีความเชี่ยวชาญมากนัก เช่น robo-advisor
13 การส่งเสริม ความรู้ทางการ เงินแก่ผู้ใช้บริการ • ผู้ประกอบการฟินเทคอาจบูรณาการองค์ความรู้ด้านการเงินเข้าไปใน การให้บริการผ่านช่องทางดิจิทัล • ลูกค้าเข้าใจผลิตภัณฑ์มากขึ้น บริหารจัดการเงินของตนเองได้ดีขึ้น → ลดความเสี่ยงทางการเงินตั้งแต่ต้นทาง การคานวณดอกเบี้ย ที่แท้จริง การระดมทุนแบบ คราวด์ฟันดิง การยกตัวอย่างหรือใช้ ภาพประกอบ (visualizing) การระวังภัยจาก มิจฉาชีพ 27% ของคนไทยมองว่าตนขาดความรู้ด้านการลงทุน โดยเฉพาะคนชนบทที่มักขาดความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สินเชื่อ และการลงทุนเมื่อเปรียบเทียบกับคนเมือง (Sea insights, 2564)

(alternative data)

14 นโยบายการเปิด กว้างให้มีการใช้ ประโยชน์จากข้อมูล
และ ข้อมูลทางเลือก
• เชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ให้บริการ → ประชาชนและภาคธุรกิจใช้ประโยชน์จากข้อมูลได้โดยที่มีต้นทุนต่า • ผู้ให้บริการอื่น ๆ ที่ไม่ใช่สถาบันการเงินเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้บริการได้มากขึ้น → พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินที่เข้าถึงลูกค้าได้มีประสิทธิภาพขึ้น • ใช้ข้อมูลทางเลือกในการสร้าง credit scoring เพื่อวิเคราะห์ความสามารถใน การชาระหนี้ของลูกหนี้ได้แม่นยามากขึ้น • เสนอวงเงินสินเชื่อขนาดเล็ก เพื่อขยายการระดมทุนไปยังธุรกิจรายย่อย • ตัวอย่างข้อมูลทางเลือก เช่น ข้อมูลการใช้งาน แพลตฟอร์มออนไลน์ Open Data Alternative Data ข้อมูลพฤติกรรม ของลูกค้า คะแนนของ ร้านค้า ข้อมูลจากบริษัท โทรคมนาคม
(Open Data)
15 โครงสร้าง พื้นฐานที่ช่วย ขยายการเข้าถึง บริการทาง การเงิน การพัฒนาของสกุลเงิน การปรับกฎเกณฑ์เพื่อ เทค • เพิ่มประสิทธิภาพของ ระบบการชาระเงิน เพิ่มการเข้าถึงบริการ ทางการเงินดิจิทัล • เช่น การระดมทุนด้วย การเสนอขายโทเคน ดิจิทัล ต่อสาธารณชน Coin Offering (ICO) Regulatory Sandbox estate

: ความท้าทายของผู้ประกอบการฟินเทคในไทย

ผลการสัมภาษณ์เชิงลึก
16
17 การสร้าง “ความสมดุล” ระหว่างการปรับเงื่อนไขเพื่อเพิ่มการเข้าถึง กับ การบริหารความเสี่ยงที่จะถูกผิดนัดชาระหนี้ เป็นความท้าทายสาคัญ กลุ่ม unserved / underserved และ SMEs อ่อนไหวต่อเศรษฐกิจสูง ความเสี่ยงที่จะผิดนัดชาระ หนี้สูง ต้นทุนการปล่อย สินเชื่อสูง ลูกค้า SMEs มีปัญหาสภาพคล่อง เมื่อเศรษฐกิจไม่ดี การระดมทุนชะงัก เมื่อเศรษฐกิจผัน ผวน การลดจานวนเอกสารและ ความซับซ้อนของกระบวนการ พิจารณาสินเชื่อ โอกาสที่อัตราการผิดนัด ชาระหนี้จะสูงขึ้น การระดมทุนคราวด์ฟันดิง ไม่อยู่ภายใต้โครงการค้า ประกันสินเชื่อของ บสย. ต้นทุนในการ จัดการความเสี่ยง สูง เนื่องจากมัก ต้องเผชิญกับ ตลาดหรือลูกค้าที่ มีความเสี่ยงสูง
18 ขาดความรู้ด้านการวางแผนทางการเงิน • เกิดปัญหาสภาพคล่อง บางคนพึ่งพาหนี้นอกระบบ เพราะ ขอเงินสดได้เร็วกว่าธนาคารหรือฟินเทค • สุ่มเสี่ยงที่จะโดนเอาเปรียบจากผู้ให้บริการ หรือต้อง “จ่าย แพง” มากกว่าที่ตนเข้าใจ ขาดความรู้ด้านการลงทุน • กังวลและไม่กล้าลงทุน (เช่น มองว่าคราวด์ฟันดิง = เล่นแชร์) • ไม่สามารถประเมินระดับความเสี่ยงที่ตนเองรับได้ มีข้อจากัดด้านเทคโนโลยี • ไม่มีโทรศัพท์มือถือหรือสัญญาณอินเทอร์เน็ตที่มีคุณภาพ • สังคมผู้สูงอายุ (aging society) → ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยัง ปรับตัวไม่ทันกับการใช้เทคโนโลยี ผู้บริโภคขาด ความเข้าใจทาง การเงิน และมี ข้อจากัดในการ เข้าถึงเทคโนโลยี
ความน่าเชื่อถือ และความ ปลอดภัยในการ ใช้บริการทาง การเงิน 19 • มาตรการรักษา ความปลอดภัยยังมี ช่องว่าง • มาตรการในการ คุ้มครองผู้บริโภค บางอย่างมีแนวโน้ม ผลักภาระให้ผู้บริโภค • ผู้บริโภคมีความรู้ ด้านเทคโนโลยีจากัด • ผู้บริโภคบางส่วนใช้ บริการธุรกิจสินเชื่อ ดิจิทัลที่ผิดกฎหมาย โดยไม่รู้ตัว • ผู้ให้บริการบางราย คิดอัตราดอกเบี้ย สูงเกินที่กฎหมาย กาหนด • การหลอกให้สร้าง “บัญชีม้า” โดย อ้างว่าจะปล่อย สินเชื่อให้

(National

Digital ID: NDID)

20 ข้อจากัดในการ เข้าถึงโครงสร้าง พื้นฐาน การพิสูจน์และยืนยันตัวตนยังคงมีต้นทุนสูง บริการยืนยัน ตัวตนรูปแบบ ดิจิทัล
มีต้นทุนสูง มีเพียงบริษัทเดียวที่ เป็นเจ้าของ แพลตฟอร์ม NDID หลายธุรกรรมใช้ การยืนยันตัวตน ด้วยใบหน้า ฟินเทคแบก รับต้นทุน แทน ผู้บริโภค ขาด แรงจูงใจที่ จะให้บริการ คนฐานราก เพราะไม่คุ้ม การทา e-KYC ทาผ่าน ออนไลน์ได้ไม่สมบูรณ์ การ Dip Chip เพื่อ สมัคร NDID ครั้งแรก ฟินเทคต้องพึ่งพิงธนาคาร / เคาน์เตอร์เซอร์วิส
21 ข้อจากัดในการ เข้าถึงข้อมูล • ปัญหา “low touchpoint and thin file” • ลูกค้าเปิดเผยข้อมูลไม่ตรงตามความจริงหรือไม่ครบถ้วน • องค์กรที่มีข้อมูลขาดแรงจูงใจที่จะแบ่งปันข้อมูล • การป้องกันการผูกขาดทางข้อมูล • รูปแบบการสร้าง Open Data (เชิงพาณิชย์? ข้อมูลสาธารณะ?) • สมาชิกต้องมีเงินทุนจดทะเบียนชาระแล้ว 50 ล้านบาทขึ้นไป • ธุรกิจข้อมูลเครดิตแข่งขันยาก โดยเฉพาะเมื่อในตลาดมีผู้เล่นรายใหญ่อยู่แล้ว การเข้าถึงข้อมูลเครดิตบูโร การเข้าถึงข้อมูลทางเลือก (alternative data) การดาเนินนโยบาย Open Data
22 การขาดแคลน เงินทุนและ บุคลากร ธุรกิจฟินเทคมีต้นทุนสูง โดยเฉพาะในช่วงเริ่มก่อตั้งธุรกิจ แหล่งเงินทุน ในประเทศมี จากัด • ขาดหลักทรัพย์ค้าประกัน → ขอสินเชื่อยาก • ช่วงแรกขาดทุน → จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไม่ได้ • ขาด “แหล่งเงินทุนทางเลือก” (alternative source of fund) เช่น สินเชื่อดอกเบี้ยต่าสาหรับฟินเทคสตาร์ตอัป ตลาดสตาร์ตอัปยังดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศได้น้อย ตลาดแรงงานขาดแคลนคนที่มี ทักษะด้านข้อมูล / เทคโนโลยี Red Ocean - แย่งตัวคนเก่ง แข่งกับธนาคาร เงินทุน บุคลากร
23 การแข่งขันกับ สถาบันการเงิน หรือองค์กร ขนาดใหญ่ ความสัมพันธ์แบบ “คู่แข่ง” มากกว่าการเป็น “พันธมิตร” ธนาคารมีข้อได้เปรียบในเชิง… บางกฎเกณฑ์อาจใช้ได้กับ ธนาคาร แต่ไม่เหมาะ กับฟินเทค ทรัพยากร (เงินทุนและการเข้าถึงข้อมูล) อานาจต่อรองจากการเป็นผู้เล่นในตลาดมาก่อน เช่น e-Wallet การแยกหน่วยงาน compliance / IT compliance / auditor กฎเกณฑ์ด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่ กากับระบบคราวด์ฟันดิง เทียบเท่ากับบริษัทใน ตลาดหลักทรัพย์
24 เงื่อนไขในการ ขอใบอนุญาตที่ เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจฟินเทค • เกณฑ์ช่วงแรกถูกกาหนดไว้สูงจนไม่มีใครขออนุญาตเป็นผู้ให้บริการได้ • ต่อมาเกณฑ์เปิดโอกาสให้ใช้บริการระบบการเก็บรักษาทรัพย์จากกระเป๋าเงิน อิเล็กทรอนิกส์ (e-money) แต่ ทาไม่ได้จริงในทางปฏิบัติ เพราะกระเป๋าเงิน อิเล็กทรอนิกส์จะใช้กับการซื้อสินค้า แต่จองซื้อหุ้นไม่ได้ • ต้องมีทุนจดทะเบียนชาระแล้วอย่างน้อย 5,000 ล้านบาท ณ วันเปิดดาเนินการ และทยอยเพิ่มทุนให้มีอย่างน้อย 10,000 ล้านบาท ก่อนออกจาก phasing • เสนอรายชื่อผู้ที่สมควรได้รับการพิจารณาต่อ รมว. คลัง จานวนไม่เกิน 3 ราย การจัดตั้งธนาคารพาณิชย์ไร้สาขา (virtual bank) การกาหนดคุณสมบัติของผู้เก็บรักษาเงินค่าจองซื้อ (custodian/escrow agent) ของธุรกิจคราวด์ฟันดิง
25 ข้อจากัดของ กฎเกณฑ์ที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจ คราวด์ฟันดิง • “ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ด้วยวิธีคราวด์ฟันดิง” ได้รับการยกเว้น การขออนุญาตและไม่ต้องยื่นหนังสือชี้ชวน (filing) ต่อ ก.ล.ต. • เสนอขายต่อสมาชิกในระบบของ “ผู้ให้บริการระบบคราวด์ฟันดิง” ในภาพรวมได้ (เพราะผ่านการพิสูจน์และยืนยันตัวตนแล้ว) • แต่ ห้ามเสนอขายต่อสาธารณะ สินเชื่อระหว่างบุคคลกับบุคคล (peer to peer lending: P2P) ต้องทดสอบภายใต้ regulatory sandbox ของ ธปท. และได้รับใบอนุญาตจากกระทรวงการคลัง การจาแนกลูกค้า SMEs ออกเป็น 2 ประเภท ข้อจากัดในการเสนอขายต่อสาธารณะ มีข้อจากัดการ ประชาสัมพันธ์บาง รูปแบบ เช่น ห้ามจัด เวทีนาเสนอโครงการ (pitching) เกิดความสับสนและ ยุ่งยาก คราวด์ฟันดิงต้องขอความเห็นชอบจาก ก.ล.ต. บุคคลธรรมดา นิติบุคคล
26 เพดานดอกเบี้ย ที่ไม่สะท้อน ต้นทุนที่แท้จริง บริษัทตัวกลาง ในการช่วยจับคู่ สินเชื่อของ ธนาคารกับ พนักงานบริษัท สินเชื่อเพื่อ สวัสดิการ พนักงาน ไม่จูงใจ หา สินเชื่อ ธนาคาร ได้ยาก สินเชื่อส่วนบุคคล (P-loan) ภายใต้การกากับของ ธปท. ดอกเบี้ย 24 – 25% ประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ที่กาหนดเพดาน ดอกเบี้ย <= 15% ถ้าเพดานดอกเบี้ย ต่าไป ฟินเทคสตาร์ตอัป ขาดแรงจูงใจ เพราะไม่คุ้ม ลูกค้าอาจหันไป พึ่งหนี้นอกระบบ ลูกค้ามักเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง เพดานดอกเบี้ยสินเชื่อแต่ละประเภทถูกกากับโดยกฎหมาย/หน่วยงานที่ต่างกัน =
27 อานาจในการ กากับดูแลธุรกิจ ฟินเทคกระจาย อยู่ในหลาย หน่วยงาน หน่วยงาน หลากหลายและ กระจัดกระจาย 11 ก.ล.ต. คปภ. ... • ไม่ได้รับฟังความเห็น / ให้การสนับสนุนอย่างทั่วถึง • ขาด “กระบอกเสียง” ที่เป็นตัวแทนของฟินเทค สตาร์ตอัป กฎเกณฑ์มี ความกระจัด กระจาย • เกิดความสับสนและต้นทุนในการปฏิบัติตาม • ความลักลั่นในการบังคับใช้ เช่น • ธุรกิจคราวด์ฟันดิงอยู่ภายใต้กฎหมายของ ปปง. แต่ธุรกิจโรงรับจานาไม่ต้อง ธปท.
28
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
นโยบายข้อมูลเปิด (Open Data) และข้อมูลทางเลือก (alternative data) การออกกฎหมายที่ กาหนดให้สถาบันการเงิน ต้องเปิดเผยข้อมูลแก่ ผู้ให้บริการที่เป็นบุคคลที่ สามเมื่อลูกค้าร้องขอ การออกกฎหมายและ สร้างกลไกที่ทาให้ผู้เล่นใน ตลาดเข้าถึงและใช้ ประโยชน์จากข้อมูลได้ อย่างเท่าเทียม การแก้ไขความเข้าใจผิด เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคล และ ยกระดับเป็น “ค่านิยม” และ “จุดขาย” 29

ดิจิทัล (Central Bank Digital

Currency: CBDC) และการ

Regulatory Sandbox

นโยบายด้านการลดต้นทุนการดาเนินงานของ ฟินเทคนอกเหนือจากต้นทุนที่เกี่ยวกับข้อมูล การเปิดให้โอกาสให้ผู้ประกอบการ ฟินเทคใช้ประโยชน์จากสกุลเงิน
ปรับปรุง
ให้เหมาะสมกับฟินเทค กลไกเชิงสถาบันเพื่อ ลดต้นทุนการ ดาเนินงานของฟินเทค จากความเสี่ยงในการ ให้บริการทางการเงิน มาตรการที่มุ่งลด ต้นทุนในการ พิสูจน์และยืนยัน ตัวตนออนไลน์ มาตรการลดต้นทุน การใช้โครงสร้าง พื้นฐาน เพื่อเพิ่ม โอกาสการแข่งขัน ของฟินเทค 30
มาตรการปลดล็อกกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรค 31 ยกเลิกเพดาน ดอกเบี้ยเพื่อ ส่งเสริมการ แข่งขันให้ผู้เล่น ฟินเทคในตลาด สินเชื่อ การทบทวน เงื่อนไขการ จัดตั้งธนาคาร พาณิชย์ไร้สาขา การปลดล็อก มาตรการกากับ ดูแลสินทรัพย์ ดิจิทัลที่จากัด โอกาสการลงทุน การปรับปรุง กฎเกณฑ์การ กากับดูแลเพื่อ ส่งเสริม ความสามารถใน การแข่งขันให้ ผู้ประกอบการ ฟินเทค การพิจารณา ปรับแนวทาง กากับดูแลที่เน้น “ผู้ให้บริการ ทางการเงิน” เป็น “บริการ ทางการเงิน”
นโยบายด้านการเสริมสร้างศักยภาพของ ผู้ประกอบการฟินเทค มาตรการสนับสนุน ด้านเงินทุน มาตรการสนับสนุนด้านศักยภาพการดาเนินธุรกิจ • การพัฒนานวัตกรรม • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 32
ติดตามความคืบหน้าของโครงการ Fair Finance Thailand ได้จาก Facebook Page “Fair Finance Thailand” สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม info@salforest.com +662 258 7383 บริษัท ป่าสาละ จากัด 2 ซอยสุขุมวิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.