B Talk 7: ทำธุรกิจ ทำไมต้องใส่ใจ 'สิทธิ' ?

Page 1


B Talk #7 ทาธุรกิจ ทาไมต้องใส่ใจ ‘สิทธิ’ ? โดย สฤณี อาชวานันทกุล และ ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์ 22 กันยายน 2559


“ในสถานที่เล็กๆ ใกล้บ้าน เล็กและใกล้มากจนไม่สามารถมองเห็นได้ในแผนที่โลก สถานที่เล็กๆ แห่งนั้น เป็นโลกของปัจเจกบุคคล เป็นละแวกบ้านที่ บุคคลอยู่อาศัย เป็นโรงเรียนหรือวิทยาลัยที่บุคคลได้เข้าเรียน เป็นโรงงาน ไร่นา หรือสานักงานที่ บุคคลทางาน สถานที่เหล่านี้เป็นที่ซึ่งบุรุษ สตรี และเด็กทุกคน ต่างมองหาความ ยุติธรรมที่เท่าเทียมกัน โอกาสที่เท่าเทียมกัน ศักดิ์ศรีที่เท่าเทียมกัน โดยปราศจาก การแบ่งแยก ถ้าสิทธิเหล่านี้ไม่มีความหมายอยู่ ณ สถานที่นั้นๆ สิทธิเหล่านี้ก็จะมี ความหมายเพียงน้อยนิดในทุกแห่ง ถ้าพลเมืองไม่ช่วยกันยืน หยัดปกป้องสิทธิเหล่านี้ ให้อยู่ใกล้บ้าน ก็เปล่าประโยชน์ที่จะให้เกิดความก้าวหน้าในโลกที่กว้างใหญ่ขึ้น”

เอลีนอร์ รูสเวลท์ ภริยาอดีตประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี รูสเวลท์ สหรัฐอเมริกา ประธานคณะกรรมาธิการสหประชาชาติ ในการยกร่างปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน

3


4


กรณีละเมิดสิทธิแรงงานฟาร์มไก่ในห่วงโซ่อุปทาน

https://pbs.twimg.com/media/CrUi6oqUAAAmYjO.jpg

http://transbordernews.in.th/home/?p=13300

● 7 ก.ค. 2559 เครือข่ายเพื่อสิทธิแรงงานข้ามชาติ (MWRN) นาแรงงานข้ามชาติชาวพม่าจานวน 14 คน ร้องเรียนสานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ● เป็นแรงงานในฟาร์มเลี้ยงไก่แห่งหนึ่ง ในอาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ที่ส่งไก่จาหน่ายให้แก่ บริษัทเอกชนรายหนึ่ง 5


กรณีละเมิดสิทธิแรงงานฟาร์มไก่ในห่วงโซ่อุปทาน ● ต้องทางานวันละ 20 ชั่วโมงโดยไม่มีวันหยุดประจาสัปดาห์ และวันหยุดประจาปี ● ได้รับค่าจ้างวันละ 230 บาท มีการหักค่าเช่าห้องพักอีกคนละ 1,600 บาท หักค่าน้า-ค่าไฟ ไม่มี ประกันสังคม และไม่มีค่าล่วงเวลา ● ถูกจากัดสิทธิเสรีภาพในการเดินทาง ออกจากฟาร์มได้เพียงสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง ซึ่งต้องอยู่ในการ ควบคุมของผู้แทนนายจ้างตลอดเวลา โดยนายจ้างได้ยึดเอกสารประจาตัวของแรงงานทั้ง 14 คน โดยไม่อนุญาตให้ถือเอกสารประจาตัวด้วยตนเอง ● 28 พ.ค. 2559 นายจ้างแจ้งข้อหา ‘ลักทรัพย์นายจ้าง’ และ “รับของโจรและเอาไปซึ่งเอกสารของ ผู้อื่นในประการที่อาจจะทาให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย’ จากการนาบัตรลงเวลาออกมาแสดงเป็น หลักฐานต่อพนักงานตรวจแรงงาน

6


กรณีละเมิดสิทธิแรงงานฟาร์มไก่ใน ห่วงโซ่อุปทาน

7


"Betagro Labor Standard" จะเป็น มาตรฐานที่ให้ความสาคัญด้านแรงงาน โดยยึดมาตรฐานสากลเป็นหลัก และถือ เป็นมาตรฐานแรงงานที่สูงกว่ากระทรวง แรงงานของไทย และมีความพยายามจะ ทาให้ดีกว่ามาตรฐานที่สากลกาหนด แต่ ต้องทาในลักษณะค่อยเป็นค่อยไปตลอด ห่วงโซ่อุปทานของธุรกิจประมาณ 25,000 คนที่เข้ามาเกี่ยวข้อง รวมถึงผู้ เลี้ยงไก่ในคอนแทร็กต์ฟาร์มมิ่งกับ เครือเบทาโกรทั้งหมด” (กรรมการผู้จัดการใหญ่เครือเบทาโกร, ประชาชาติธุรกิจ19 พ.ย. 2558) http://www.posttoday.com/local/central/447727

10 ส.ค. รองผู้ว่าฯ ลพบุรี จับมือเบทาโกร ตรวจแรงงานในฟาร์มไก่ มุ่งยกระดับการ จัดการด้านแรงงานในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่ และป้องกันปัญหาค้ามนุษย์.

8


กรณีละเมิดสิทธิแรงงานฟาร์มไก่ในห่วงโซ่อุปทาน 19 ส.ค. 2559 ● กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน - กรมปศุ สัตว์ และสมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย ได้มี การลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ หรือเอ็มโอยู (MOU) เพื่อเสริมสร้างความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมด้ า นแรงงานในสถาน ประกอบกิ จ การอุ ต สาหกรรมสั ต ว์ ปี ก ด้ ว ย แนวทางปฏิ บั ติ ก ารใช้ แ รงงานที่ ดี เพื่ อ เ ดิ น ห น้ า พั ฒ น า ด้ า น แ ร ง ง า น ต า ม มาตรฐานสากล ● หลักการที่สาคัญ คือ ไม่มีการใช้แรงงานเด็ก แรงงานบังคับ การเลือกปฏิบัติ และค้ามนุษย์ เพื่ อ น าไปใช้ เ ป็ น แนวทางบริ ห ารจั ด การ แรงงานในทุกขั้นตอนการผลิต 9


กรณีละเมิดสิทธิแรงงานฟาร์มไก่ในห่วงโซ่อุปทาน รายงานผลการตรวจสอบของกสม. 31 สิงหาคม 2559 ● ค่าจ้าง: นายจ้างนาเอาค่าจ้างรายวันของลูกจ้างไปหักเป็นค่าเช่าบ้าน ค่าไฟ ค่าน้า ค่าน้าดื่ม ค่าประกันสุขภาพ และ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ไม่ระบุรายละเอียด ทาให้น้อยกว่า 300 บาท ตามอัตราค่าจ้างขั้นต่าและยังไม่เป็นการหักตามกฎหมาย แรงงาน ● วันหยุด: การเลี้ยงไก่มีการพักเล้า 1 เดือน ลูกจ้างพักได้ ซึ่งนายจ้างได้เอาวันหยุดประจาสัปดาห์ วันพักผ่อนประจาปี วันหยุดตามประเพณีมารวมไว้ด้วย โดยไม่ได้ตกลงกับลูกจ้างไว้ก่อน ● การทางานล่วงเวลา: ทางานเกินกว่าเวลาปกติจริง ● กักขังหน่วงเหนี่ยว: มีการเก็บหนังสือเดินทางไว้ที่นายจ้างไว้จริง แต่ไม่มีเจตนากักขังหน่วงเหนี่ยว เพราะมีหลักฐานการ เดินทางกลับไปพม่าได้ และมีสมุดเงินเชื่อร้านค้า เพราะฉะนั้นมิได้จากัดเสรีภาพในการเดินทางของผู้ถูกร้อง ผลการพิจารณา ● การกระทาของของผู้ถูกร้องเรื่องค่าจ้างและการทางานโดยไม่หยุดพักถือเป็นการละเมิดสิทธิแรงงานแต่ขณะนี้ขอ้ ร้องเรียนเกี่ยวกับแรงงานดังกล่าว พนักงานตรวจแรงงานมีคาสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา และดอกเบี้ยแล้ว ● ส่วนการจากัดเสรีภาพในการเดินทาง ไม่พบว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือเป็นการใช้แรงงานบังคับ มาตรการแก้ไขปัญหา ให้กระทรวงแรงงานทาแนวปฏิบัติ กาหนดมาตรการไม่ให้ผู้ประกอบการยึดหรือเก็บบัตรประจาตัวของแรงงานไว้ ข้อเสนอเชิงนโยบายแก่คณะรัฐมนตรีให้เร่งนาหลักการ UNGP มาใช้และจัดทาแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจและ สิทธิมนุษยชน

10


“กสม.มีการตรวจสอบข้อเท็จจริงและมีมติยืนยัน ฟาร์มไก่ บริษัท ธรรมเกษตร จากัด ไม่ได้ละเมิดสิทธิมนุษยชน และไม่ได้เข้าข่ายกักขังหน่วงเหนี่ยว หรือ ค้ามนุษย์แต่อย่างใด” “กรณีค่าจ้างไม่ถึงวันละ 300 บาท ไม่มีค่าทางานล่วงเวลาและวันหยุดประจาสัปดาห์ ตลอดจนวันหยุดประจาปี หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบแล้วยอมรับเกิดความผิดบางส่วน แต่ไม่ใช่ ตามที่ถูกร้องเรียนทั้งหมด โดยแสดงเจตจานงจะดาเนินการให้ถูกต้องแล้วทั้งหมดแล้ว” 11


แรงงานทาสในห่วงโซ่อุปทานอาหารทะเล • ระหว่างปี พ.ศ. 2557-2558 สื่อต่างชาติหลายสานักได้นาเสนอสถานการณ์แรงงานทาสและ การค้ามนุษย์บนเรือประมงไทย ซึ่งเกิดในห่วงโซ่อุปทานของบริษัทไทย • รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ (Tip Report 2015) ของกระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา ได้จัดให้ประเทศไทยอยู่ในบัญชีกลุ่มที่ 3 (Tier 3)

• เมษายน 2558 สหภาพยุโรปได้ออกใบเหลืองเพื่อตักเตือนไทยอย่างเป็นทางการ เนื่องจากไทย ไม่มีการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรมในเรื่องการทาประมงผิดกฎหมาย ไม่รายงาน และไร้การ ควบคุม หรือไร้กฎระเบียบ IUU (Illegal, Unreported and Unregulated Finishing) • บริษัทไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จากัด (มหาชน) ตกเป็นข่าวว่าเป็นบริษัทที่รับซื้อสินค้าจาก เรือประมงที่ใช้แรงงานทาส 12


แรงงานทาส ในห่วงโซ่อุปทานอาหารทะเล

13


แรงงานทาสในห่วงโซ่อุปทานอาหารทะเล • พ.ศ. 2556 บริษัทได้เข้าร่วมเป็นภาคีกับ UN Global Compact และเริ่มจัดทารายงานความยั่งยืน ตามแนวปฏิบัติมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูล GRI • การรายงานของบริษัทไม่สอดคล้องกับมาตรฐานของ GRI ที่กาหนดไว้ • รายงานความยั่งยืนประจาปี พ.ศ. 2556 บริษัทรายงานสถานการณ์แรงงานในประเทศ ไทย พร้อมกับอธิบายว่าบริษัทได้ออกหลักปฎิบัติด้านแรงงาน รวมถึงการทางานร่วมกับ หน่วยงานต่างๆ • มาตรฐานของการเปิดเผยข้อมูล GRI: บริษัทควรรายงานเกี่ยวกับกรณีละเมิดหรือกรณีที่มี ความเสี่ยงสูง พื้นที่ที่เกิดการละเมิดสิทธิทั้งของบริษัทและคู่ค้า สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเป็น อย่างไร

14


สิทธิมนุษยชน = จริยธรรมสากล ?

https://www.theguardian.com/sustainable-business/2016/may/07/climatechange-shell-exxon-philippines-fossil-fuel-companies-liability-extreme-weather

• ก.ค. 2559: คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฟิลิปปินส์ ดาเนินการส่งหนังสือร้องเรียนเรื่อง ผลกระทบด้าน สิทธิมนุษยชนให้แก่บรรษัทผู้ผลิตและปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนยักษ์ใหญ่ (Carbon Majors) 47 บรรษัท ซึ่ง ประกอบด้วยบรรษัทยักษ์ใหญ่อย่าง เชลล์ (Shell), บีพี (BP), เชฟรอน (Chevron), บีเอชพี บิลิตัน (BHP Billiton) • หนังสือร้องเรียนระบุว่า ธุรกิจของบรรษัททั้ง 47 บรรษัทละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานอันได้แก่ “สิทธิในชีวิต อาหาร น้าดื่มสะอาด สุขอนามัย ที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม และสิทธิในการกาหนดเจตจานงของตนเอง” • กรณีแรกในโลกที่มีการตรวจสอบผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยหน่วยงานรัฐ • หนังสือร้องเรียนชี้ว่า บรรษัททั้ง 47 บรรษัทต้องรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นในประเทศฟิลิปปินส์จากการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกของธุรกิจ อีกทั้งเรียกร้องให้บรรษัททั้งหมดชี้แจงว่าบรรษัทจะดาเนินการ “กาจัด เยียวยา และป้องกัน” การละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างไร

15


ตัวอย่างความซับซ้อน: ห่วงโซ่อุปทานปลาป่น

บริ โภคภายในประเทศ

ส่งออก

16


ปริมาณปลาลดลง

อัตราจับปลาต่ อการลงแรงลดลง

ลงแรงเพิ่ม

ความต้ องการปลาต่ างแดนเพิ่ม

ศาสตร์ ท่ เี กี่ยวข้ อง

พลวัตระดับโลก

สิ่งแวดล้อม-สังคม-ธุรกิจ แยกจากกันไม่ได้ สิทธิมนุษยชน นิเวศการเมือง นิเวศวิทยา, ชีววิทยาอนุรักษ์ อาชญวิทยา สาธารณสุข เศรษฐศาสตร์

พลวัตระดับท้ องถิ่น

คนต่ างแดนมาจับปลาท้ องถิ่นมากขึน้ คนท้ องถิ่นจับปลาขายส่ งออกมากขึน้ รุ กรานน่ านนา้ ประเทศอื่นมากขึน้ ปริมาณปลาลดลง

อัตราจับปลาต่ อการลงแรงลดลง

ลงแรงเพิ่ม

อุปสงค์ แรงงานราคาถูกเพิ่ม

ปลาเป็ ด

ลงแรงเพิ่ม ความไม่ ม่ นั คงทางอาหารเพิ่ม ความไม่ ม่ นั คงทางรายได้ เพิ่ม ต้ นทุนต่ อหน่ วยลงแรงลดลง ความยากจนเพิ่ม

แรงงาน เด็ก

แรงงาน ต่างด ้าว

ละเมิดสิทธิแรงงานมากขึน้

ทีม่ า: ปรับจาก Brasheres et. al, “Wildlife Decline and Social Conflict,” 2014

17


สหราชอาณาจักร: UK Modern Slavery Act 2015 • กฎหมายป้องกันการค้ามนุษย์ของอังกฤษ มีบทลงโทษรุนแรง เช่น ยึดกิจการ จาคุกเจ้าของกิจการ • กฎหมายนี้เกิดขึ้นจากข้อกล่าวหาต่างๆ ที่มีต่อบริษัทข้ามชาติขนาดใหญ่ว่าซื้อขายสินค้าหรือวัตถุดิบทีใ่ ช้ แรงงานทาส • วัตถุประสงค์เพื่อให้บริษัทแจกแจงรายละเอียดเกี่ยวกับห่วงโซ่อุปทานต่อสาธารณะ หวังว่าข้อมูลต่างๆ จะ ช่วยให้ผู้ซื้อตัดสินใจได้โดยมีข้อมูล • มาตรา 54 ความโปร่งใสในห่วงโซ่อุปทาน (Transparency in Supply Chains): บริษัทที่ดาเนินธุรกิจ ในสหราชอาณาจักรที่มีรายได้มากกว่า 36 ล้านปอนด์ต่อปีต้องรายงาน (statement) ในรายงานประจาปี และประกาศบนเว็บไซต์ว่า บริษัทได้ทาอะไรไปบ้างอย่างละเอียดเพื่อยืนยันว่าได้ดาเนินการเพื่อไม่ให้มี การใช้แรงงานทาสและการค้ามนุษย์ในห่วงโซ่อุปทานและในองค์กร หรือบริษัทไม่ได้ทาอะไรเลย • ในรายงานอย่างน้อยต้องมีข้อมูลต่อไปนี้: โครงสร้างห่วงโซ่อุปทานของธุรกิจ นโยบายต่อต้านการค้า มนุษย์ กระบวนการตรวจสอบรอบด้าน (due diligence) ของบริษัท การระบุพื้นที่เสี่ยงในห่วงโซ่อุปทาน ประสิทธิภาพในการป้องกันการค้ามนุษย์ตลอดห่วงโซ่อุปทาน การฝึกอบรมแก่พนักงาน • การจัดทารายงานประจาปีจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการและลงนามโดยประธานบริษัท ซึ่งภายใต้กฎหมายบริษัท (Companies Act 2006) ประธานบริษัทมีความผิดทางอาญาได้ในกรณีที่ลง 18 นามในข้อมูลที่ไม่ถูกต้องในรายงานประจาปีของบริษัท


สหรัฐอเมริกา: Business Supply Chain Transparency on Trafficking and Slavery Act of 2015 • เสนอโดยรัฐบาล ปธน. โอบามา กาลังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของสภาคองเกรส ณ กันยายน 2559 • มีเป้าหมายเพือ่ ให้ผู้บริโภคมีข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าว่าปลอดจากการใช้แรงงานเด็ก แรงงานบังคับ และ การค้ามนุษย์ โดยเชื่อว่าการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะจะสามารถป้องกันอาชญากรรมจากการผลิตและ ซื้อวัตถุดิบ สินค้า และผลิตภัณฑ์ตลอดห่วงโซ่อุปทานได้ • บริษัทที่มีรายได้ 100 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาต้องเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะเกี่ยวกับมาตรการป้องกัน การค้ามนุษย์ แรงงานทาส และแรงงานเด็กในห่วงโซ่อุปทานของบริษัท และรายงานต่อคณะกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์ • ตัวอย่างข้อบังคับ: บริษัทต้องมีรายงานตรวจสอบผู้จัดหาวัตถุดิบ (audits of supplier) ว่าในกระบวนการ ผลิตสินค้าเป็นไปตามกฎหมายการใช้แรงงานบังคับ แรงงานเด็ก และการค้ามนุษย์ในประเทศนั้นๆ • กฎหมายอื่นๆ อาทิ The California Transparency in Supply Chains Act 2012 บังคับให้ธุรกิจต้อง เปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะทางเว็บไซต์ถึงความพยายามในการกาจัดการค้ามนุษย์ แรงงานทาส และ แรงงานบังคับ ใช้กับธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ที่เป็นผู้ขายหรือมีธุรกิจในแคลิฟอร์เนีย เช่น คดีผู้บริโภคฟ้อง เนสท์เล่, The Federal Acquisition Regulations (FAR) Anti-Trafficking Provisions 2015: คู่สัญญาของรัฐต้องไม่เกี่ยวกับกระบวนการค้ามนุษย์ทุกรูปแบบ หากมีส่วนรู้เห็นจะต้องได้รับโทษอาญา 19


ความเป็นมาของ “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน” •

ความวิตกต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนจากภาคธุรกิจ: องค์กรภาคประชา สังคมกดดันอย่างหนักให้บริษัทเคารพมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการ คุ้มครองสิทธิมนุษยชน เพื่อตอบโต้กับการละเมิดสิทธิมนุษยชนจากการ ดาเนินธุรกิจ

ก่อนทศวรรษ 2530: ตื่นตัว • พ.ศ. 2515 องค์การสหประชาชาติพยายามสร้างบรรทัดฐานสากลเพื่อกากับ ดูแลการประกอบธุรกิจ • พ.ศ. 2519 OECD Guidelines for Multinational Enterprises 20


ความเป็นมาของ “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน” (ต่อ) ทศวรรษ 2540 จัดทาและเผยแพร่หลักการพื้นฐาน • พ.ศ. 2541 OECD Principle of Corporate Governance • พ.ศ. 2542 ข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (UN Global Compact) • พ.ศ. 2548 สานักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (OHCHR) แต่งตั้ง John Ruggie เป็นผู้แทนพิเศษด้านธุรกิจและสิทธิ มนุษยชนขึ้นเป็นการเฉพาะ • พ.ศ. 2549 มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ยั่งยืน (Standards on Environmental and Social Sustainability) บรรษัทเงินทุนระหว่าง ประเทศ (International Finance Corporation - IFC) 21


ความเป็นมาของ “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน” (ต่อ) ทศวรรษ 2550 ความหลากหลายของมาตรฐานต่างๆ และบทบาทของสถาบันสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ • พ.ศ. 2551 การประเมินการส่งเสริมสถานประกอบการสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม อย่างยั่งยืน กรมโรงงานอุตสาหกรรม • พ.ศ. 2553 การประชุมของคณะกรรมการประสานงานระหว่างประเทศว่าด้วยสถาบัน สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จัดทา “ปฏิญญาเอดินเบอระ” (Edinburgh Declaration) • พ.ศ. 2553 สถาบันสิทธิมนุษยชนเดนมาร์ก เผยแพร่ตัวชี้วัดสิทธิด้านสิทธิมนุษยชน สาหรับภาคธุรกิจ (Human Rights Indicators for Business) โดย • พ.ศ. 2554 OHCHR ออกหลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (Guiding Principles on Business and Human Rights) - UNGP • พ.ศ. 2554 มาตรฐาน Global Reporting Initiative (GRI) เพิ่มตัวชี้วัดด้านสิทธิ มนุษยชน 22


23


การเคลื่อนไหวของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติบางประเทศ ● พ.ศ. 2555 เดนมาร์กเผยแพร่แผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (Nation Action Plan: NAP) มาเลเซียเริ่มศึกษาและเตรียมความพร้อมในด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ● พ.ศ. 2556 เนเธอร์แลนด์เผยแพร่แผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน เกาหลีใต้เผยแพร่รายงานว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2558 เยอรมนี จัดทารายงานการประเมินข้อมูลฐาน (baseline assessment) สาหรับกระบวนการ NAP ● พ.ศ. 2558 รัฐบาลนอร์เวย์จัดทาและเผยแพร่ NAP สวีเดนจัดทาและเผยแพร่แผน NAP 24


ตัวอย่างมาตรฐานด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน 1. 2. 3. 4.

5. 6.

7. 8.

ข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (UN Global Compact) หลักปฏิบัติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (Guiding Principles on Business and Human Rights) หลักการกากับกิจการที่ดี (OECD Principles of Corporate Governance) แนวปฏิบัติสาหรับบรรษัทข้ามชาติขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD Guidelines for Multinational Enterprises) มาตรฐาน Global Reporting Initiative (GRI) โกลบอล รีพอร์ติ้ง อินนิชิเอทีฟ (Global Reporting Initiative - GRI) การประเมินการส่งเสริมสถานประกอบการสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างยั่งยืน (Corporate Social Responsibility, Department of Industrial Works : CSR-DIW) กรมโรงงานอุตสาหกรรม มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ยงั่ ยืน (Standards on Environmental and Social Sustainability) บรรษัทเงินทุนระหว่างประเทศ (International Finance Corporation - IFC) ตัวชี้วัดสิทธิด้านสิทธิมนุษยชนสาหรับภาคธุรกิจ (Human Rights Indicators for Business) สถาบัน สิทธิมนุษยชนเดนมาร์ก 25


สรุป: รูปแบบและกลไกการทางาน 1. หลักการ (principles) ได้แก่ ข้อตกลง 10 ประการขององค์การสหประชาชาติ, หลักการกากับกิจการที่ดีของ OECD, หลักปฏิบัติของสหประชาชาติว่าด้วยการ ดาเนินธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของสานักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชน 2. แนวปฏิบัติ (guidelines) ได้แก่ แนวปฏิบัติสาหรับบรรษัทข้ามชาติของ OECD 3. มาตรฐาน (standards) ได้แก่ มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ยั่งยืนของ IFC, มาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลของ GRI, มาตรฐาน CSR-DIW ของกรมโรงงาน อุตสาหกรรม 4. ชุดตัวชี้วัด (indicators) ได้แก่ ชุดตัวชี้วัดด้านสิทธิมนุษยชนสาหรับภาคธุรกิจของ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเดนมาร์ก 26


สรุป: มาตรฐานสมัครใจกับการตรวจสอบและติดตาม 1. การจัดทารายงานประจาปี ■ ข้อตกลงแห่งสหประชาชาติ: ต้องส่งรายงานผลการปฏิบัติงานประจาปีเพื่อสื่อสารต่อ สาธารณะ หากไม่ดาเนินการก็จะถูกตัดออก ■ หลักเกณฑ์ของ IFC: ลูกหนี้ต้องจัดทารายงานประเมินผลกระทบทางสังคมและ สิ่งแวดล้อมประจาปี ■ มาตรฐาน GRI: บริษัทเปิดเผยข้อมูลตามตัวชี้วัดของ GRI ในรายงานความยั่งยืนประจาปี 2. กลไกการตรวจสอบและติดตามผล ■ หลักเกณฑ์ของ IFC มีการประเมินจากที่ปรึกษาอิสระ เจ้าหนี้แต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญด้าน สังคมและ/หรือสิ่งแวดล้อมอิสระ ■ แนวปฏิบัติสาหรับบรรษัทข้ามชาติของ OECD จุดติดต่อระดับชาติ (National Contact Point) แต่ไม่ได้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับการดาเนินงาน 3. กลไกรับเรื่องร้องเรียน ■ มีเพียงหลักเกณฑ์ของ IFC และแนวปฏิบัติสาหรับบรรษัทข้ามชาติของ OECD เท่านั้นที่ ระบุกลไกการร้องเรียน 27


สรุป:กระบวนการ due diligence ด้านสิทธิมนุษยชน - การประกาศนโยบายของบริษัทที่ว่าด้วยการเคารพสิทธิมนุษยชน การประเมินผล กระทบที่เกิดขึ้นจริงหรือมีแนวโน้มที่อาจเกิดขึ้นจากกิจกรรมของบริษัท การบูรณา การข้อผูกมัดเชิงนโยบายเข้ากับการปฏิบัติ การติดตามและรายงานผลการ ดาเนินงาน - ข้อตกลงแห่งสหประชาชาติ และหลักการกากับกิจการที่ดีของ OECD ไม่ได้ กล่าวถึง - หลักเกณฑ์ของ IFC ระบุถึงการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้วย - ชุดตัวชี้วัดด้านสิทธิมนุษยชนสาหรับภาคธุรกิจของสถาบันสิทธิมนุษยชน แห่งชาติเดนมาร์กระบุว่า บริษัทควรมีกลไกการเยียวยาที่ชัดเจน และต้อง สื่อสารเกี่ยวกับการจัดการผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสาธารณะ - แนวปฏิบัติสาหรับบรรษัทข้ามชาติของ OECD กล่าวถึงกระบวนการนี้อย่างกว้างๆ แต่มิได้ระบุแนวทางในการปฏิบัติ 28


สรุป:ความรับผิดชอบตลอดสายห่วงโซ่อุปทาน • หลักปฏิบัติของสหประชาชาติว่าด้วยการดาเนินธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของสานักงานข้าหลวง ใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชน: ระบุกว้างๆ ให้มี “ความพยายามป้องกันหรือลดผลกระทบและความ เสียหายต่อสิทธิมนุษยชนที่มีความเกี่ยวเนื่องกับการประกอบกิจการของตนเอง” • หลักปฏิบัติสาหรับบรรษัทข้ามชาติของ OECD: ต้องมี “การส่งเสริมให้คู่ค้าทางธุรกิจ ผู้รับจ้าง และผู้รับช่วงต่อนาเอาหลักการนี้ไปใช้ด้วย” • หลักเกณฑ์ของ IFC: หลักเกณฑ์ที่ 2 แรงงานและสภาพการทางาน • มาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลของ GRI: G4-HR 11 กาหนดชัดเจนให้บริษัทต้องรายงานเกี่ยวกับ การปฏิบัติตามเงื่อนไขด้านสิทธิมนุษยชนตลอดห่วงโซ่อุปทาน • ชุดตัวชี้วัดด้านสิทธิมนุษยชนสาหรับภาคธุรกิจของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเดนมาร์ก: ประเด็นหลักที่ 8: ผู้รับเหมาและห่วงโซ่อุปทานมาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมต่อสังคม • มาตรฐาน CSR-DIW : บริษัทต้องไม่เป็นหุ้นส่วนหรือเป็นพันธมิตรทางการค้ากับองค์กรที่ละเมิด สิทธิมนุษยชน 29


สรุป: ผู้มีส่วนได้เสีย - แรงงาน • สถานะการจ้างงาน: นายจ้างต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับจ้างงานแก่ลูกจ้างอย่างเป็นธรรม และถูกต้อง • แนวปฏิบัติสาหรับบรรษัทข้ามชาติของ OECD • หลักเกณฑ์ของ IFC • ตัวชี้วัดด้านสิทธิมนุษยชนสาหรับภาคธุรกิจของสถาบันสิทธิมนุษยชน แห่งชาติเดนมาร์ก • สหภาพแรงงาน: • มาตรฐานการเปิดเผยข้อมูล GRI

30


สรุป: ผู้มีส่วนได้เสีย – แรงงาน (ต่อ) • แรงงานเด็กและแรงงานบังคับ: ทุกมาตรฐานมีข้อกาหนดเกี่ยวกับแรงงานเด็กและแรงงาน บังคับ แต่ละมาตรฐานมีการคานึงถึงรายละเอียดที่แตกต่างกัน เช่น หลักเกณฑ์ของ IFC กาหนดว่าในกรณีที่กฎหมายบางประเทศอนุญาตให้ใช้แรงงาน เด็กอายุต่ากว่า 18 ปี บริษัทลูกหนี้จะต้องไม่ขูดรีดทางเศรษฐกิจและไม่ให้ทางานที่ เสี่ยงต่ออันตราย รวมถึงห่วงโซ่อุปทาน หากลูกหนี้พบว่ามีการใช้แรงงานเด็กและ แรงงานบังคับต้องหาทางแก้ไข ติดตาม และหามาตรการป้องกัน • ความปลอดภัย: ทุกมาตรฐานระบุแนวปฏิบัติเพื่อให้ลูกจ้างปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย บริษัทต้องจัดหาสถานที่ทางานที่ปลอดภัย และป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุในการทางาน

31


สรุป:ผู้มีส่วนได้เสีย – ชุมชนและสิ่งแวดล้อม • ส่วนใหญ่มีประเด็น ผลกระทบต่อชุมชน: กระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชน ความ ปลอดภัยของชุมชน มาตรการป้องกัน รวมทั้งการสื่อสารกับชุมชน ตัวอย่าง หลักเกณฑ์ของ IFC: ต้องมีการประเมินความเสี่ยง จัดหามาตรการ ป้องกันและควบคุมให้เป็นไปตามมาตรฐานอุตสาหกรรม การจัดการวัตถุ อันตราย โครงการของบริษัทจะต้องพยายามหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดการย้ายถิ่นโดยไม่ สมัครใจ ต้องมีการชดเชยและเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ ให้ชุมชนมีส่วน ร่วมในการตัดสินใจฟื้นฟูและหาที่อยู่ใหม่ • ชนพื้นเมือง-ใช้หลักการยินยอมที่ได้รับการบอกแจ้งล่วงหน้าและเป็นอิสระ (Circumstances Requiring Free, Prior, and Informed Consent) ระบุใน หลักเกณฑ์ของ IFC, มาตรฐานการเปิดเผยข้อมูล GRI 32


สรุป:กลไกการร้องเรียนและเยียวยา • หลักปฏิบัติของสหประชาชาติว่าด้วยการดาเนินธุรกิจและสิทธิมนุษยชน: ภาคเอกชนควรมีส่วน ร่วมต่อการแก้ไขปัญหาของบุคคลและชุมชน โดยร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องฝ่ายต่างๆ • ตัวชี้วัดของสถาบันสิทธิมนุษยชนเดนมาร์ก: บริษัทมีกระบวนการรับเรื่องร้องเรียนทั้งจากภายใน และภายนอกที่น่าเชื่อถือหรือไม่ • มาตรฐาน CSR-DIW: ผู้ประกอบการดาเนินการแก้ไขปัญหาจากการเรียกร้องความเป็นธรรม ด้วย การกาหนดวิธีการร้องเรียน กาหนดกรอบเวลาในการดาเนินการแก้ไขปัญหา กาหนดโครงสร้างหรือ แต่งตั้งคณะกรรมการที่มีความเป็นกลาง สร้างกระบวนการที่ทาให้ผู้เสียหาเข้าถึงแหล่งข้อมูลและ ผู้เชี่ยวชาญได้ กาหนดช่องทางเปิดเผยกระบวนการและผลลัพธ์ในการแก้ไขปัญหาให้สาธารณชนได้ ตรวจสอบ • มาตรฐานการเปิดเผยข้อมูล GRI: บริษัทต้องรายงานจานวนครั้งของการร้องทุกข์ที่เกี่ยวข้องกับ สิทธิมนุษยชน ทั้งจานวนที่มีการร้องทุกข์และจานวนที่ได้รับการแก้ไข • หลักเกณฑ์ของ IFC และแนวปฏิบัติสาหรับบรรษัทข้ามชาติของ OECD: เปิดช่องร้องเรียนกับต้น สังกัดของมาตรฐาน บริษัทต้องจัดการปัญหาที่เกิดขึ้น หากมีกรณีที่บริษัทไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ให้ผู้ได้รับผลกระทบร้องเรียนกับเจ้าหน้าที่ของ IFC และ OECD

33


กรณีศึกษา: Sanford นิวซีแลนด์ กับ GRI • บริษัทแซนฟอร์ด (Sanford) เป็นบริษัทอาหารทะเลที่ใหญ่อันดับสองของประเทศ นิวซีแลนด์ • ปี 2555 นิตยสาร Bloomberg ตีพิมพ์รายงานการละเมิดสิทธิของเรืออวนลากต่างชาติ (Foreign Charter Vessels) ซึ่งจัดหาอาหารทะเลให้กับบริษัท ใน 2 ประเด็นคือ การ จ่ายค่าแรงที่ไม่เป็นธรรม และการปฏิบัติต่อลูกเรือเยี่ยงทาส • รายงานความยั่งยืนประจาปี 2557 ซึ่งใช้มาตรฐานการเปิดเผยข้อมูล GRI-G4 ไม่ รายงานในมาตรฐานเฉพาะด้านสิทธิมนุษยชน • แต่กล่าวถึงการจ้างเรือประมงต่างชาติว่า ได้มีการติดตามเพื่อให้บริษัทเหล่านี้ปฏิบัติตาม กฎหมายการจ้างงานอย่างถูกต้อง • มาตรฐานการเปิดเผยข้อมูล GRI ใช้เพื่อสื่อสารต่อสาธารณะ ทาให้ผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ สามารถใช้ข้อมูลโดยตรงจากบริษัทประกอบการติดตามและทวงถาม • ข้อจากัดของมาตรฐานแบบสมัครใจ คือ บริษัทเลือกเองได้ว่าจะรายงานประเด็นใด 34


กรณีศึกษา:เหมืองแร่ทองคา กับหลักปฏิบัติ IFC • แองโกลโกลด์ อชานติ (AngloGold Ashanti) จากัด เป็นบริษัทเหมืองแร่ทองคาแอฟริกาใต้ • ปี 2550 สานักงานข้าหลวงใหญ่ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งองค์การสหประชาชาติ ยกกรณี กระบวนการจัดหาที่อยู่ใหม่ของบริษัทแก่ชุมชนที่อยู่บริเวณเหมืองทองคา ในประเทศมาลี เป็น กรณีศึกษาที่สะท้อนให้เห็นการประยุกต์ใช้มาตรฐานสากล: ข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติและ หลักปฎิบัติของ IFC • ข้อดี: ตัวอย่างของกระบวนการสื่อสารและปรึกษาหารือร่วมกับชุมชน และสร้างบรรยากาศที่ดี มี การตั้งคณะกรรมการ ซึ่งเป็นช่องทางรับข้อมูลจากชาวบ้าน หาทางเยียวยา จ้างที่ปรึกษาจัดทา รายงานด้านผลต่อสังคมและเศรษฐกิจ • สหพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล (International Federation for Human Rights: FIDH) เห็นว่า กลไกของ IFC ใช้การไม่ได้ผล และยังมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นจากการดาเนินการของ บริษัท 35


บทบาทของหน่วยงานด้านสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ ประเทศ

กฎหมายและข้อตกลง อานาจตามกฎหมาย

เดนมาร์ก

- มุ่งเน้นไปที่การให้ความรู้

(สถาบัน)

- จัดทาบันทึกความเห็น ทางกฎหมายต่อศาล

มาเลเซีย

ศึกษาและพิสูจน์ข้อเท็จจริงใน (คณะกรรมการสิทธิฯ) กรณีที่มีการละเมิดสิทธิ มนุษยชน ตรวจสอบในพื้นที่ เกิดเหตุ เกาหลีใต้

ตรวจสอบการละเมิดสิทธิ (คณะกรรมการสิทธิฯ) มนุษยชนหรือการเลือกปฏิบัติ

ข้อตกลงกับภาคเอกชน โดยสมัครใจ

บทบาทที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ การประเมินผลกระทบ ด้านสิทธิมนุษยชน

การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

จัดทาแผนปฏิบัติการ จัดทาและเผยแพร่ตัวชี้วัด แห่งชาติว่าด้วยธุรกิจและ สิทธิด้านสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชน (NAP) แล้ว สาหรับภาคธุรกิจ เสร็จตั้งแต่พ.ศ. 2554

ให้คาปรึกษาแก่ศูนย์ไกล่ เกลี่ยและจัดการกับข้อ พิพาทว่าด้วยความ รับผิดชอบของธุรกิจ

ทางานร่วมกับตลาด หลักทรัพย์แห่งมาเลเซีย ด้วยการเพิ่มตัวชี้วัดด้าน สิทธิมนุษยชนไว้ใน รายงานของบริษัท

อยู่ในระหว่างการแก้ไข กฎหมายเพื่อให้มีอานาจ ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

Human Rights Management and Check List

การเฝ้าระวังและ ติดตาม

มีคณะกรรมการไกล่เกลี่ย ข้อพิพาท

36


บทบาทของหน่วยงานด้านสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ ประเทศ

กฎหมายและข้อตกลง อานาจตามกฎหมาย

เยอรมนี (สถาบัน)

อินโดนีเซีย (คณะกรรมการสิทธิฯ) อินเดีย (คณะกรรมการสิทธิฯ)

บทบาทที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ

ข้อตกลงกับภาคเอกชนโดย การประเมินผลกระทบ สมัครใจ ด้านสิทธิมนุษยชน

การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

การเฝ้าระวังและ ติดตาม

มุ่งเน้นไปที่การให้ความรู้ ติดตาม คาดว่า แผนปฏิบัติการแห่งชาติ การปฏิบัติของรัฐต่อพันธกรณี ว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ระหว่างประเทศต่างๆ จะแล้วเสร็จและประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2559 ศึกษาและพิสูจน์ข้อเท็จจริงใน กรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตรวจสอบในพื้นที่เกิดเหตุ ศึกษาและพิสูจน์ข้อเท็จจริงใน กรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตรวจสอบในพื้นที่เกิดเหตุ

มีอานาจ แต่เน้นประเด็นสิทธิ ทาตามคาสั่งศาล พลเมืองและสิทธิทางการเมือง ขั้นพื้นฐาน

เนเธอร์แลนด์

-บังคับใช้กฎหมายการปฏิบตั ิที่ จัดทาและเผยแพร่แผนปฏิบัติ เท่าเทียม การแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจและ (สถาบัน + ผู้ตรวจการ) สิทธิมนุษยชน (NAP) มี กระทรวงการต่างประเทศเป็น เจ้าภาพ 37


บทบาทของหน่วยงานด้านสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ ประเทศ

กฎหมายและข้อตกลง อานาจตามกฎหมาย

นอร์เวย์ (ผู้ตรวจการ)

สวีเดน (ผู้ตรวจการ)

นิวซีแลนด์ (คณะกรรมการสิทธิฯ)

บทบาทที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ

ข้อตกลงกับภาคเอกชน การประเมินผลกระทบ การไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท การเฝ้าระวังและ โดยสมัครใจ ด้านสิทธิมนุษยชน ติดตาม

ผู้ตรวจการ ในประเด็นสิทธิ จัดทาและเผยแพร่ เด็ก การปฏิบัติทเี่ ท่าเทียม แผนปฏิบัติการแห่งชาติ และการห้ามการเลือกปฏิบัติ ว่าด้วยธุรกิจและสิทธิ มนุษยชน (NAP) ในเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2558 ผู้ตรวจการ จัดทาและเผยแพร่ ตาแหน่ง Ombudsman แผนปฏิบัติการแห่งชาติ Against Ethnic ว่าด้วยธุรกิจและสิทธิ Discrimination มนุษยชน (NAP) ในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2558 มี กระทรวงธุรกิจและ นวัตกรรมเป็นเจ้าภาพ คณะกรรมการ (human rights commission)

มี แต่เฉพาะในประเด็น การเลือกปฏิบัติดา้ นชาติ พันธุ์หรือศาสนาเท่านัน้

มี แต่เฉพาะประเด็นการ เลือกปฏิบัติเท่านั้น

38


สถาบันสิทธิฯ ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน: เดนมาร์ก ● สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ไม่รับเรื่องร้องเรียน แต่มุ่งเน้นไปที่การให้ความรู้ เผยแพร่ข้อมูล วิจัย ● มีฝ่ายสิทธิมนุษยชนและธุรกิจ (Human Rights and Business Department) ● การทางานด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนของ DIHR จาแนกออกเป็น 3 ด้านคือ การจัดทามาตรฐานด้าน สิทธิมนุษยชน การทางานร่วมกับสถาบันสิทธิมนุษยชนในประเทศต่างๆ และการทางานร่วมกับ บริษัทเอกชน ● แผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (NAP) พ.ศ. 2555: ความร่วมมือกันระหว่าง รัฐบาลเดนมาร์ก สภาธุรกิจเพื่อความรับผิดชอบต่อสังคมเดนมาร์ก (The Danish Council for CSR) สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สภาและองค์กรภาคประชาสังคม ● พัฒนาเครื่องมือต่างๆ: การประเมินผลกระทบรายภาคธุรกิจ (Sector Wide Impact Assessment) คู่มือการประเมินผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน (Human Rights Impact Assessment Toolbox) สิทธิ มนุษยชนและสัญญาการลงทุนภาครัฐ (Human Rights and State-Investor Contract) การประเมิน การปฏิบัติด้านสิทธิมนุษยชนของภาคธุรกิจ (Human Rights Compliance Assessment) ● จัดตั้ง ศูนย์ไกล่เกลี่ยและจัดการกับข้อพิพาทว่าด้วยความรับผิดชอบของธุรกิจ (The Mediation and Complaints-Handling Institution for Responsible Business Conduct) 39


สถาบันทสิธิทมธินุฯษธุยชนของ รกิจกับสิทกสม.: ธิมนุษยชน: มาเลเซี ธุรกิจและสิ มาเลเซี ย ย ● ก่อตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. 2542 ในรูปแบบของคณะกรรมการ (human rights commission) ● ระหว่างพ.ศ. 2550-2555 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งมาเลเซียได้รับเรื่องร้องเรียนที่เกิดจาก การละเมิดสิทธิของบริษัทเอกชน 39 เรื่อง ● พ.ศ. 2555 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งมาเลเซียเริ่มศึกษาและเตรียมความพร้อมในด้านธุรกิจ และสิทธิมนุษยชน ● พ.ศ. 2557 ทางานร่วมกับคณะทางานขององค์การสหประชาชาติ จัดทาโครงการ "ส่งเสริมธุรกิจ และสิทธิมนุษยชนในมาเลเซียเพื่อความสาเร็จและการเติบโตอย่างมีส่วนร่วมของบริษัท” ● พ.ศ. 2558 จัดทาและเผยแพร่กรอบยุทธศาสตร์ว่าด้วยแผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจและ สิทธิมนุษยชน (National Action Plan on Business and Human Rights) ● ทางานร่วมกับรัฐบาลในการนาหลักสิทธิมนุษยชนเข้าไปอยู่ในการส่งเสริมธรรมาภิบาลของบริษัท ต่างๆ

40


สถาบันสิทธิฯ ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน: เกาหลีใต้ ● คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสาธารณรัฐเกาหลีจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2544 ● พ.ศ. 2555-2558 ดาเนินการสารวจและวิจัยโดยจ้างบุคคลภายนอกเพื่อสารวจสถานการณ์สิทธิ มนุษยชนในภาคธุรกิจ เพื่อนามาปรับปรุงกฎหมาย ระบบ และนโยบาย ○ พัฒนาตัวชี้วัดเพื่อประเมินบริษัทที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการจัดการด้านสิทธิมนุษยชน ○ ดาเนินการสืบสวนสอบสวนกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบริษัทสัญชาติเกาหลีใต้ ที่ไปประกอบธุรกิจในต่างประเทศ ● เผยแพร่รายงานว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2556 ● มีการจัดทาแHuman Rights Management and Check List) ในปี 2557 ● แปลและเผยแพร่แนวปฏิบัติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ และแนวปฏิบัติของ OECD ไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆไม่ว่าจะเป็น ภาครัฐ ธุรกิจ รัฐสภาและเอ็นจีโอ ● จัดฝึกอบรมโดยใช้หลักปฏิบัติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาขาติเป็น แนวทางให้กับผู้บริหารต่างๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา 41


สถาบันสิทธิฯ ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน: อีก 7 ประเทศ ● เยอรมนี ○ ผลักดันกระบวนการจัดทาแผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (National Action Plan on Business and Human Rights หรือ NAP) ของเยอรมนี ○ จัดทารายงานการประเมินข้อมูลฐาน (baseline assessment) สาหรับกระบวนการ NAP ซึ่งตีพิมพ์เผยแพร่ใน เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 สถาบันฯ มีส่วนร่วมโดยตรงกับภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม ● อินโดนีเซีย ○ กรณีร้องเรียนเกี่ยวกับธุรกิจที่ต้องจัดการมากที่สุด คือ ข้อพิพาทเกี่ยวกับการใช้ที่ดิน ○ พ.ศ. 2557 ได้เริ่มกระบวนการไต่สวนระดับชาติว่าด้วยสิทธิในที่ดินของชนพื้นเมือง (National Inquiry on Indigeneous People’s Land Rights) โดยคณะกรรมการจะเดินทางไปยังเกาะต่างๆ ในอินโดนีเซีย เพื่อรับฟัง ความคิดเห็นจากผู้ถูกละเมิดสิทธิและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ก่อนจะประมวลผลการไต่สวนเป็นรายงานเสนอ ประธานาธิบดีในลาดับต่อไป ● อินเดีย ○ สถาบันตุลาการของอินเดียมีบทบาทนาในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนจากการละเมิดของภาคเอกชน เยียวยาผู้ถูก ละเมิดสิทธิ และผลักดันการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะผ่านกลไกการดาเนินคดีเพื่อประโยชน์สาธารณะ (Public Interest Litigation) และการบังคับติดตามคาพิพากษาในคดีเหล่านี้ ○ กสม.อินเดีย ได้เข้าแทรกแซงในประเด็นสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจหลายครั้ง 42


สถาบันสิทธิฯ ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน: อีก 7 ประเทศ ● เนเธอร์แลนด์ ○ สถาบันสิทธิมนุษยชนเนเธอร์แลนด์มีอานาจตามกฏหมายที่จะรับเรื่องร้องเรียนต่อบริษัท แต่เฉพาะกรณีการเลือก ปฏิบัติด้านการจ้างงาน การให้บริการ หรือการขายสินค้า บนพื้นฐานของความพิการ โรคเรื้อรัง อายุ เชื้อชาติ เพศ ฯลฯ ○ สถาบันสามารถเรียกผู้เกี่ยวข้อง พยานหลักฐาน และพยานผู้เชี่ยวชาญเข้าให้ปากคา และเป็นเจ้าภาพในการ เจรจาไกล่เกลี่ย สามารถส่งข้อเสนอแนะไปยังบริษัท แต่ไม่มีอานาจสั่งให้บริษัทจ่ายค่าชดเชยแก่ผู้ร้อง ○ พ.ศ. 2556 เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่ 2 ในโลก รองจากสหราชอาณาจักร ที่จัดทาและเผยแพร่แผนปฏิบัติการ แห่งชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (National Action Plan on Business and Human Rights ย่อว่า NAP) โดยมีกระทรวงการต่างประเทศเป็นเจ้าภาพ ● นอร์เวย์ ○ ผู้ตรวจการนอร์เวย์ไม่มีอานาจรับเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวกับธุรกิจแต่อย่างใด บทบาทการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่ เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจกระจายตัวอยู่ตามหน่วยงานต่างๆ ของรัฐ ซึ่งมีหน้าที่กากับดูแลภาคธุรกิจ ○ รัฐบาลนอร์เวย์จัดทาและเผยแพร่แผนปฏิบตั ิการแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (NAP) ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558

43


สถาบันสิทธิฯ ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน: อีก 7 ประเทศ ● สวีเดน ○ ผู้ตรวจการสวีเดนมีอานาจรับเรื่องร้องเรียน ไต่สวนเรื่องร้องเรียน เจรจาไกล่เกลี่ย และฟ้อง ศาล กรณีที่ภาคธุรกิจถูกร้องว่าเป็นผู้ละเมิดได้ แต่เฉพาะในประเด็นการเลือกปฏิบัติด้านชาติ พันธุ์หรือศาสนาเท่านั้น ○ รัฐบาลสวีเดนจัดทาและเผยแพร่แผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (NAP) ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2558 โดยมีกระทรวงธุรกิจและนวัตกรรมเป็นเจ้าภาพ เนื้อหาเน้นการ ทางานร่วมกับภาคส่วนต่างๆ ในการปฏิบัติตาม UNGP และรัฐกาลังพิจารณาว่าอาจหยิบยก ภาคธุรกิจที่กาลังเผชิญความท้าทายด้านสิทธิมนุษยชนในต่างประเทศที่บริษัทสวีเดนเข้าไป ลงทุน มาตรวจสอบเป็นกรณีพิเศษ (special due diligence)

● นิวซีแลนด์ ○ กสม. นิวซีแลนด์ สามารถรับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับทุกบริษัทที่ประกอบกิจการในนิวซีแลนด์ และสามารถเจรจาไกล่เกลี่ยได้ แต่เฉพาะประเด็นการเลือกปฏิบัติบนฐานของ เพศ เพศสภาพ สถานภาพ ความเชื่อทางศาสนา ชาติพันธุ์ สีผิว อายุ ความพิการ หรือความเห็นทางการเมือง เท่านั้น

44


ข้อเสนอเชิงนโยบายจากคณะวิจัย

45


ข้อเสนอเชิงนโยบายจากคณะวิจัย (ต่อ) 1. ปัจจุบันมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภาคธุรกิจมีครอบคลุมและ เพียงพอ กสม. ไม่จาเป็นต้องพัฒนามาตรฐานใหม่ ประเด็นสาคัญอยู่ที่การ ติดตาม ว่าบริษัท ปฏิบัติตามมาตรฐานเหล่านั้นหรือไม่

2. กสม. ควรจัดทาคู่มือตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence) จัดการอบรม เผยแพร่องค์ความรู้ดังกล่าวต่อภาคธุรกิจ และติดตามตรวจสอบการ ดาเนินงานตามคู่มือเป็นระยะๆ 3. กสม. ควรร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจในประเทศไทย ในการเผยแพร่คู่มือ และ สร้างแรงจูงใจให้เอกชนนาคู่มือไปปฏิบัติและเชิญ กสม. มาติดตามหรือประเมินการปฏิบัติตาม

คู่มือ 46


ข้อเสนอเชิงนโยบายจากคณะวิจัย (ต่อ) 4. ควรเพิ่มการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ของสานักงานเกี่ยวกับ“มาตรฐาน และข้อตกลงโดยสมัครใจของ ภาคเอกชน” และปรับปรุงระเบียบที่เกี่ยวกับบันทึกสรุปสานวนให้รวมมาตรฐานและข้อตกลงโดย สมัครใจของภาคเอกชน

5. การจัดทาฐานข้อมูลการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยภาคเอกชน 6. การเผยแพร่บทสรุปผลการตรวจสอบ และจัดทาข้อเสนอแนะต่อบริษัท ในกรณีที่พิสูจน์จนชัดเจน แล้วว่าเกิดกรณีละเมิดสิทธิมนุษยชนจริง เพื่อเปิดให้ประชาชนได้เข้าถึงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการ ละเมิดสิทธิมนุษยชน อีกทั้งยังเป็นการสร้างแรงจูงใจให้ภาคเอกชนโดยรวมให้ความสาคัญกับ ประเด็นสิทธิมนุษยชนมากขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงด้านชื่อเสียง (reputation risk) ตลอดจนเพิ่มแรง

กดดันจากคู่แข่งในธุรกิจเดียวกัน (peer pressure) ทางอ้อม 47


ข้อเสนอเชิงนโยบายจากคณะวิจัย (ต่อ) 7. สร้างกลไกความร่วมมือกับหน่วยงานกากับดูแลเอกชนในไทย เช่น สานักงานคณะกรรมการ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 8. ความร่วมมือกับองค์กรภาคเอกชนระหว่างประเทศ 9. การจัดทาแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (NAP) เป็น “เครื่องมือ” สร้าง ความตระหนักและการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาคธุรกิจ รัฐ และประชา สังคม โดยเริ่มต้นจากการจัดทาการศึกษาข้อมูลฐานและการวิเคราะห์ช่องว่าง (national

baseline study and gap analysis) ระหว่างกลไกคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศที่มีอยู่ กับ ข้อกาหนดใน UNGP 48


แนวปฏิบัติสาหรับการจัดการด้านสิทธิมนุษยชนและรายการตรวจสอบ (Human Rights Management Checklist) ปี 2558 โดย กสม. เกาหลีใต้ มี 1

การวางระบบจัดการสิทธิมนุษยชน

2

การไม่เลือกปฏิบตั ิในการจ้ างงาน

3

การรับประกันเสรี ภาพสมาคมและการเจรจาต่อรอง

4

การห้ ามใช้ แรงงานบังคับ

5

การห้ ามใช้ แรงงานเด็ก

6

การรับประกันความปลอดภัยในสถานทางาน

7

การจัดการห่วงโซ่อปุ ทานอย่างรับผิดชอบ

8

การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของสมาชิกในชุมชนท้ องถิ่น

9

การรับประกันสิทธิด้านสิง่ แวดล้ อม

10

การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของผู้บริโภค

จาเป็ นต้ องจัดทา หรื อเพิ่มเติม

ไม่มี

ไม่มีข้อมูล

ไม่ เกี่ยวข้ อง

49


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.