สรุปผลการวิจัย “การเสริมพลังตัวแทนภาคประชาสังคม เพื่อการมีส่วนร่วมในโครงการ Extractive Industries Transparency Initiative (EITI) ประเทศไทย” สฤณี อาชวานันทกุล มิถุนายน 2562
วัตถุประสงค์โครงการ 1. ขยายจานวนองค์กรจากภาคประชาสังคม (อาทิ องค์กรพัฒนาเอกชน และชุมชนท้องถิ่น) ที่มีความตื่นตัวและแสดงเจตจานงที่จะร่วม กระบวนการคัดเลือกตัวแทน EITI ภาคประชาสังคมไม่น้อยกว่า 30 กลุ่ม บุคคลและองค์กรทั่วประเทศ
2. เพื่อดาเนินกระบวนการมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรในข้อ 1. ร่วมกันระดม สมองเพื่อกาหนดโครงสร้างและกระบวนการเลือกตั้งตัวแทน EITI ภาค ประชาสังคมที่เหมาะสม เพื่อเข้าร่วมกลไกคณะกรรมการสามฝ่าย (multi-stakeholder group: MSG) 2
มาตรฐาน EITI คืออะไร? • Extractive Industries Transparency Initiative (EITI) หรือ “เครือข่ายองค์กร เพื่อความโปร่งใสในอุตสาหกรรมสกัดทรัพยากรธรรมชาติ” เป็นแนวร่วมและ มาตรฐานสากลของการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะน้ามัน ก๊าซธรรมชาติ และแร่ธาตุ ให้สาธารณชนได้รับรู้ มีสานักงานใหญ่ ที่ประเทศนอร์เวย์ มีคณะกรรมการ EITI ระหว่างประเทศทาหน้าที่กาหนดและ ทบทวนมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลอย่างต่อเนื่อง • ปัจจุบันโครงการ EITI มีประเทศสมาชิกทั้งสิ้น 51 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ปรับปรุงระบบของรัฐและบริษัท ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการอภิปราย สาธารณะเกี่ยวกับอุตสาหกรรมสกัดทรัพยากรธรรมชาติ และส่งเสริมความรู้ความ เข้าใจสาหรับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง กล่าวโดยสรุป EITI เป็นกลไกที่ทุกฝ่ายมีส่วน ร่วมโดยสมัครใจ ไม่มีบทลงโทษ เน้นการสร้างความโปร่งใสและการกระตุ้นการมี ส่วนร่วมจากประชาชน 3
มาตรฐาน ทางานอย่าEITI งไร? การดาเนินEITI งานมาตรฐาน ผู้มสี ่วนได้เสียสามฝ่ าย (รัฐ เอกชน และภาคประชาชน) ร่วมกันกาหนดขอบเขตการรายงาน → รายงาน EITI → สื่อสาร → การอภิปรายสาธารณะทีม่ คี วามหมาย เชือ่ มโยงกับแหล่งข้อมูล สาธารณะอืน่ ๆ ข้อมูล สัมปทาน/ หุ้นของรัฐ ประทานบัตร ข้อมูลปริมาณ ความโปร่งใส การผลิต ของสัญญา (ส่งเสริม) ความเป็ นเจ้าของที่ แท้จริง (ส่งเสริม) การอนุญาต และทาสัญญา
การกากับการ ดาเนินงาน
รัฐบาล บริษัท เปิ ดเผยรายรับจาก เปิ ดเผยรายจ่าย ธุรกิจตักตวง ให้กบั รัฐ รัฐวิสาหกิจ ทรัพยากร การขนส่ง (ส่งเสริม)
การใช้จ่ายทาง สังคมของบริษัท & รายจ่ายกึ่ง งบประมาณของ รัฐวิสาหกิจ
รายงาน EITI ผู้เชีย่ วชาญอิสระภายนอกเข้ามาตรวจสอบ ข้อมูลรายได้ภาครัฐทัง้ หมด (ข้อมูลเผยแพร่โดยเอกชนและข้อมูลสาธารณะ)
การถ่ายโอน ในประเทศ หรือท้องถิน่
การเก็บภาษี / สัมปทาน
การจัดการ รายได้
การจัดการ รายจ่าย 4
4
กรณีศึกษาการดาเนินการตามมาตรฐาน EITI ตัวแทนภาคประชา สังคม
อินโดนีเซีย เลือกตั้ง
ฟิลิปปินส์
กรณีศึกษา 5 ประเทศ เมียนมา
เลือกตั้ง
เลือกตั้ง
1. รูปแบบ (เครือข่าย PWYP กระบวนการสรรหา โหวต แต่เปิดรับ (คณะกรรมการสรร (ภายในเครือข่าย หา) MATA) ผู้สมัครอิสระ) 2. เครือข่ายหรือ PWYP Bantay Kita MATA องค์กรกลาง 3. จานวน 3 5 9 คณะกรรมการ 5 4. ตัวแทนสารอง 3 (ไม่มีสิทธิโหวต) 5. ระยะเวลาและ วาระในการดารง ตาแหน่ง
โคลอมเบีย
คองโก
แต่งตั้ง (รัฐบาลเปิดรับการ (ภายในเครือข่าย เสนอชื่ออย่าง Mesa) อิสระ) เลือกตั้ง
Mesa
-
3
8
-
-
1 ปี 2 วาระ -
3 ปี 2 วาระ
-
(เฉพาะภาคประชา สังคม)
3 ปี 5
การจัด workshop + เวทีระดมความคิดเห็น 5 ภูมิภาค ภูมิภาค ภาคตะวันออก
ภาคใต้ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคตะวันตก
สถานที่ จ.ระยอง จ.ระยอง จ.นครศรีธรรมราช จ.ขอนแก่น จ.ขอนแก่น จ.ลาปาง จ.เชียงใหม่ จ.กาญจนบุรี
อุตสาหกรรม พลังงาน เหมืองแร่ พลังงาน เหมืองแร่ พลังงาน เหมืองแร่ พลังงาน เหมืองแร่
จานวนผู้เข้าร่วม (คน) 24 13 20 17 17 17 16 17
+ ประชุมและเสวนาปิดท้ายในกรุงเทพฯ วันที่ 5 มีนาคม 2562 มีผู้เข้าร่วม 65 ท่าน 6
ภาคประชาสังคมทีย่ ินดีเข้าร่วมการดาเนินงาน EITI ผลจากการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการและเวทีระดมความคิดเห็นทั่วประเทศ มี 53 องค์กร/กลุ่มบุคคล/บุคคล/เครือข่ายที่สนใจจะมีส่วนร่วมกับโครงการ EITI ภูมิภาค ภาคตะวันออก ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคตะวันตก
จานวน (องค์กร/กลุ่มบุคคล/บุคคล) 18 10 10 7 8
นอกจากนี้ มี 4 องค์กรหรือเครือข่ายที่ยินดีเข้าร่วมการดาเนินงานการใช้มาตรฐาน EITI หากมี การจัดเวทีวิชาการเพื่อทาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้มาตรฐานดังกล่าวให้กับเครือข่าย ในแต่ละภูมิภาคเพิ่มเติม 7
ข้อมูลที่มักมีอุปสรรคในการเข้าถึง - อุตสาหกรรมเหมือง • แผนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ (แนวเขต ผังเมือง โครงการในอนาคต) ชาวบ้านไม่ได้ตั้งตัว ไม่ทราบมาก่อนว่าจะมีการดาเนินโครงการอะไร • ข้อมูลอาชญาบัตร สัมปทาน ใบแนบท้าย รายละเอียดการดาเนินโครงการ ข้อมูลประทานบัตรเข้าใจยากสาหรับชาวบ้านในชุมชน ซึ่งเหมืองหนึ่งเหมืองจะมีหลาย ประทานบัตร การนาข้อมูลเกี่ยวกับแนวเขตของเหมืองมาสื่อสารกับชาวบ้านในพื้นที่ทาได้ยาก ข้อมูล ดังกล่าวถือเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ชาวบ้านต้องการ โดยข้อมูลอาชญาบัตร ประทานบัตร ใช้เพื่อตรวจสอบ รายละเอียดโครงการและป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น • ข้อมูลผลกระทบของโครงการมีผลต่อการตัดสินใจของชาวบ้านในการยอมรับหรือไม่ยอมรับ โครงการ โดยเฉพาะในกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ได้รับผลกระทบในการประเมิน EIA ปัญหาที่ ชาวบ้านพบ มีอาทิ 1. บริษัทไม่ให้ข้อมูลรอบด้าน ทั้งผลกระทบทางบวกและทางลบจากโครงการ 2. การประเมินผลกระทบน้อยกว่าความเป็นจริง เช่น ประเมินระยะเวลาที่อาจเกิด ผลกระทบสั้นกว่าความเป็นจริง • แผนเยียวยาผลกระทบและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ไม่เคยมีความชัดเจน 8
ข้อมูลที่มักมีอุปสรรคในการเข้าถึง- อุตสาหกรรมพลังงาน • ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เป็นจริง รายงาน EIA และรายงาน ผลกระทบด้านต่างๆ เป็นข้อมูลที่ภาคประชาสังคมในภูมภิ าคภาคตะวันออก ภาคใต้ และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต้องการมากทีส่ ุดแต่ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ • แผนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ (แนวเขต ผังเมือง โครงการในอนาคต) - ผู้เข้าประชุม หลายท่านให้ความเห็นว่า การแจ้งแผนการจัดสรรทรัพยากรล่วงหน้าควรเป็นหน้าที่ของ รัฐ ไม่ใช่หน้าที่ของมูลนิธิใดมูลนิธิหนึ่ง ชาวบ้าน หรือภาคประชาสังคมอื่นๆ ที่ต้องค้นหา ข้อมูลดังกล่าวเอง และมักไม่พบ • บทบาทของหน่วยงานภาครัฐ ควรกาหนดหน้าทีข่ องกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติเกีย่ วกับ ข้อมูลที่ชัดเจน เพื่อให้ประชาชนเข้าใจบทบาทของกรมฯ มากขึ้น • มูลค่าของทรัพยากรธรรมชาติ ควรมีการประเมินมูลค่าของทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ภูเขา ซึ่งมีมูลค่าทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น ชุมชนได้รับประโยชน์จากภูเขาในด้านการ ดารงชีวิต 9
กระบวนการสรรหาและโครงสร้างคณะกรรมการ MSG ภาคประชาสังคมจานวน 38 ท่านที่เคยเข้าร่วมการระดมความคิดเห็นในระดับภูมิภาคได้ร่วมพิจารณา ออกแบบกระบวนการสรรหาและโครงสร้างคณะกรรมการ MSG โดยมีข้อสรุปดังนี้ 1. ที่มาของกรรมการ EITI ภาคประชาสังคม การแต่งตั้งโดยรัฐ การเลือกตั้งกันเองของภาคประชาชน
0 คะแนน 38 คะแนน
2. สัดส่วนคณะกรรมการ EITI ภาคประชาสังคม กรรมการ EITI ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ควรมีจานวน เท่าๆ กัน กรรมการ EITI ภาคประชาสังคม ควรมีจานวนเท่ากับกรรมการภาครัฐ และกรรมการภาคเอกชนรวมกัน
5 คะแนน 33 คะแนน
10
กระบวนการสรรหาและโครงสร้างคณะกรรมการ MSG (ต่อ) 3. โครงสร้างคณะกรรมการ EITI ภาคประชาสังคม กรรมการ EITI ภาคประชาสังคม ไม่ควรมีกรรมการที่มาจากภูมิภาค กรรมการ EITI ภาคประชาสังคมควรมีกรรมการที่มาจากภูมิภาค
0 คะแนน 38 คะแนน
4. วาระของกรรมการ EITI ภาคประชาสังคม 1 ปี 2 ปี 3 ปี อื่นๆ
2 คะแนน 19 คะแนน 13 คะแนน 4 คะแนน
5. องค์กรกลางเพื่อดาเนินกระบวนการสรรหา องค์กรเดิมที่มีอยู่แล้ว
5 คะแนน
ควรตั้งองค์กร/เครือข่ายใหม่ขึ้นมาทาหน้าที่นี้
21 คะแนน 11
กระบวนการสรรหาและโครงสร้างคณะกรรมการ MSG (ต่อ) 6. คุณสมบัติผู้สมัครเป็นกรรมการ EITI 1) ตัวแทนองค์กรพัฒนาเอกชน (เอ็นจีโอ) หรือชุมชนท้องถิ่น ที่ทางานเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมสกัดทรัพยากรธรรมชาติ และ/หรือธรรมาภิบาลภาครัฐและเอกชน 2) นักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสกัดทรัพยากรธรรมชาติ และ/หรือ ธรรมาภิบาลภาครัฐและเอกชน 3) อดีตเจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสกัดทรัพยากรธรรมชาติ ที่ พ้นจากตาแหน่งในภาครัฐมาแล้วมากกว่า 2 ปี 4) ผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมสกัดทรัพยากรธรรมชาติ ที่พ้นจากตาแหน่งใน ภาคเอกชนมาแล้วมากกว่า 2 ปี
30 คะแนน
23 คะแนน 10 คะแนน 13 คะแนน
12
กระบวนการสรรหาและโครงสร้างคณะกรรมการ MSG (ต่อ) 7. คุณสมบัติต้องห้ามที่มีผู้ออกเสียงเห็นชอบมากที่สุด 5 ข้อ 1) ติดยาเสพติดให้โทษ 2) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรอื่นเพราะทุจริตต่อหน้าที่ 3) เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจาข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเป็น เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ 4) เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น 5) ได้รับเงินหรือประโยชน์ หรือมีส่วนได้เสียกับอุตสาหกรรมสกัด ทรัพยากรธรรมชาติ
28 คะแนน 29 คะแนน 30 คะแนน
27 คะแนน 36 คะแนน
13
ข้อกังวลต่อการใช้มาตรฐาน EITI ในประเทศไทย • • • • • • • •
การนิยามคาว่า ‘ภาคประชาสังคม’ ความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้จากภาครัฐ การไม่ไว้วางใจในความจริงจังและจริงใจในการใช้มาตรฐาน EITI ของรัฐบาล การไม่ได้รับความไว้วางใจในการดาเนินงานของภาครัฐ เนื่องจากรัฐมักจะบิดเบือน วัตถุประสงค์เมื่อลงมือปฏิบัติจริง การมีอิทธิพลของหน่วยธุรกิจต่อหน่วยงานภาครัฐ รวมถึงความเป็นกลางของภาครัฐ ความกังวลว่ามาตรฐาน EITI จะเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่สร้างความชอบธรรมให้แก่ ภาคเอกชน EITI สากล จะมีบทบาทในการช่วยเหลือให้ภาคประชาชนเข้มแข็งได้อย่างไร หากมีการใช้มาตรฐาน EITI จริง จะมีกฎหมายมารองรับหรือมีอานาจทางกฎหมาย จริงหรือไม่ ในการตรวจสอบหรืออานาจในการเปิดเผยข้อมูล 14
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย จากผลการรับฟังความคิดเห็น คณะวิจัยเห็นว่ามี 2 แนวทางน่าจะเหมาะสมที่สุดในการขับเคลื่อนการมี ส่วนร่วมของภาคประชาสังคมไทยกับมาตรฐาน EITI ในระยะต่อไป โดยสามารถทาควบคู่กันไปได้ คือ 1. จัดตั้งองค์กรหรือเครือข่ายใหม่เพื่อทาหน้าที่ประสานการคัดเลือกตัวแทนภาคประชาสังคม และ เสริมพลังภาคประชาสังคมในการเข้าร่วม EITI และเปลี่ยน ‘เจ้าภาพ’ ฝั่งรัฐ ➢ จากผลการรับฟังความคิดเห็น ผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่เห็นว่าควรมีองค์กรหรือเครือข่ายใหม่ขึ้นมาทาหน้าที่ประสานงาน จัดการเลือกตั้งตัวแทนภาคประชาสังคม และดาเนินงานต่างๆ ในลักษณะคล้ายกับ MITI ในเมียนมา นอกจากนี้ ควรเปลี่ยน ‘เจ้าภาพ’ ฝั่งรัฐ จากกระทรวงพลังงาน เป็นกระทรวงการคลังหรือกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้ครอบคลุมขอบเขตอุตสาหกรรมสกัดทรัพยากรธรรมชาติภายใต้ EITI
2. ผลักดันให้รัฐและเอกชนเปิดเผยข้อมูลตามมาตรฐาน EITI โดยไม่ต้องรอให้มีคณะกรรมการ EITI ภาคประชาสังคมก่อน ➢ องค์กรประชาสังคมสามารถผลักดันให้เกิดความโปร่งใสได้โดยไม่ต้องรอให้มีคณะกรรมการ MSG อย่างเป็นทางการ ก่อน โดยกดดันหรือชี้ให้สังคมเห็นถึงการที่รัฐไทยและเอกชน ที่ผ่านมายัง ‘ไม่มีมาตรฐานในการเปิดเผยข้อมูลต่อ สาธารณะ’ และควรเปิดเผยข้อมูลตามมาตรฐาน EITI 15
ขอบคุณค่ะ 16