Summary Report: Assessing CSR of 10 Largest Energy Companies

Page 1

เอกสารสรุปสาระสาคัญ ผลการศึกษา โครงการวิจัย “การประเมินระดับความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทพลังงานทีใ่ หญ่ที่สุด 10 อันดับ” ฉบับเผยแพร่ต่อสาธารณะ มีนาคม 2560

คณะวิจัย บริษัท ป่าสาละ จากัด สฤณี อาชวานันทกุล กรณิศ ตันอังสนากุล ศศิวิมล คล่องอักขระ ภาคภูมิ โกเมศโสภา อายุวัต เจียรวัฒนกนก สนับสนุนโดยสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (ความเห็นในรายงานนีเ้ ป็นของผู้วจิ ัย สกว. ไม่จาเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป)

ผู้สนใจรายงานฉบับสมบูรณ์ กรุณาติดต่อฝ่ายนโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ (ฝ่าย 1) สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั ชั้น 14 อาคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร์ 979/17-21 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์: 02 278 8200 โทรสาร: 02 298 0476


เกริ่นนำ ปัจจุบันกระแส “ความรับผิดชอบต่อสังคม” (Corporate Social Responsibility นิยมย่อว่า “ซีเอสอาร์”) ได้รับความนิยม มากขึ้นอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นส่วนสาคัญของการดาเนินธุรกิจทั่วโลก รวมทั้งภาคธุรกิจไทยด้วย อย่างไรก็ตาม ลักษณะการ ดาเนินงานด้านซีเอสอาร์ในไทยของบริษัทหลายแห่งยังจากัดอยู่เพียง “กิจกรรมคืนกาไรแก่สังคม” (CSR activities) หรือที่ เรียกว่า CSR after-process ซึ่งมิได้มีความยึดโยงใดๆ กับการดาเนินธุรกิจหลัก มิได้เป็นการประกอบธุรกิจอย่างมีความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม หรือที่เรียกว่า CSR in-process ในบริบทของการพัฒนาอย่างยั่งยืน การเปลี่ยนผ่านของอุตสาหกรรมพลังงานไปสู่การผลิตพลังงานหมุนเวียนเป็นหลัก เป็นก้าว ที่ขาดไม่ได้ในการเปลี่ยนสังคมเป็น “สังคมคาร์บอนต่า” ในทุกประเทศ เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศอย่างมีประสิทธิผล รวมถึงประเทศไทยด้วย ด้วยเหตุนี้ การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมของบริษทั พลังงาน จึงต้องประเมินจากบริบทของการเปลี่ยนผ่านที่จาเป็นดังกล่าว และความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียฝ่ายต่างๆ ใน สังคม ยกตัวอย่างเช่น หากบริษัทพลังงานแห่งใดยังลงทุนในมาตรการลดก๊าซเรือนกระจกและเพิ่มสัดส่วนของพลั ง งาน หมุนเวียนน้อยมากเมื่อคิดเป็นสัดส่วนของเงินลงทุนทั้งหมดของบริษัท ก็ยากที่จะสรุปว่าบริษัทนั้นๆ ได้แสดงความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่าง “เพียงพอ” ต่อความคาดหวังของสังคมแล้ว ถึงแม้บริษัทอาจทา “กิจกรรมซีเอสอาร์” (CSR after-process) มากมายในแต่ละปีก็ตาม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทาตัวชี้วัดระดับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทพลังงานขนาดใหญ่ ที่ เหมาะสมกับบริบทการพัฒนาในประเทศไทย และสามารถสะท้อนผลกระทบของอุตสาหกรรมพลังงานต่อผู้มีส่วนได้เสียที่ สาคัญ โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมและชุมชนโดยรอบสถานประกอบการ บริษัทพลังงานขนาดใหญ่ 10 แห่ง ที่คณะวิจัยทาการศึกษา รายงานและมาตรฐานที่ใช้เป็นฐานในการศึกษา มี รายนาม ดังต่อไปนี้ โดยอ้างอิงจากมูลค่าตลาดของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และรวมการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ในฐานะรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่ที่รับผิดชอบการผลิตไฟฟ้าในประเทศ ชื่อบริษัท บริษัท ไออำร์พีซี จำกัด (มหำชน) (IRPC) บริษัท ปตท. จำกัด (มหำชน) (PTT) บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด (มหำชน) (ESSO) บริษัท ผลิตไฟฟ้ำ จำกัด (มหำชน) (EGCO)

รำยงำนกำรเปิดเผยข้อมูล ของบริษัท รายงานความยั่งยืน ปี พ.ศ. 2557 รายงานความยั่งยืน ปี พ.ศ. 2557

มำตรฐำนอ้ำงอิงที่ใช้ในกำร ประเมิน มาตรฐาน GRI 4.0 อุตสาหกรรม น้ามันและก๊าซธรรมชาติ มาตรฐาน GRI 4.0 อุตสาหกรรม น้ามันและก๊าซธรรมชาติ มาตรฐาน GRI 3.1 อุตสาหกรรม รายงานประจาปี แบบ 56-1 น้ามันและก๊าซธรรมชาติ รายงานความยั่งยืน ปี พ.ศ. มาตรฐาน GRI 3.1 อุตสาหกรรม 2556 ไฟฟ้า

ระดับกำรเปิดเผยข้อมูลตำม GRI1 Core Core -

1

มาตรฐาน GRI 4.0 แบ่งระดับการเปิดเผยข้อมูลออกเป็นสองระดับ คือ Core และ Comprehensive โดยทั้งสองระดับจะต้องเปิดเผยข้อมูลตาม เกณฑ์มาตรฐานทั่วไป (General Standard Disclosures) แต่สาหรับข้อมูลที่เปิดเผยตามมาตรฐานเฉพาะ (Specific Standard Disclosures) จะ มีความแตกต่างกัน นั่นคือ ถ้าบริษัทเลือกเปิดเผยระดับ Core มาตรฐาน GRI ระบุว่าบริษัทควรเปิดเผยวิธจี ัดการของบริษัท (Discussion of Management Approach - DMA) และข้อมูลตามดัชนีชี้วัดอย่างน้อยหนึ่งตัว สาหรับแต่ละประเด็นที่เป็นสาระสาคัญ (material aspect) แต่ถ้า บริษัทเลือกเปิดเผยระดับ Comprehensive บริษัทก็ควรเปิดเผย DMA และตัวชี้วัดทุกตัวที่เกีย่ วข้อง สาหรับแต่ละประเด็นที่เป็นสาระสาคัญ

1


ชื่อบริษัท กำรไฟฟ้ำฝ่ำยผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ. หรือ EGAT) บริษัท ผลิตไฟฟ้ำรำชบุรีโฮ ลดิ้ง จำกัด (มหำชน) (RATCH) บริษัท โกลว์ พลังงำน จำกัด (มหำชน) (GLOW) บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหำชน) (TOP) บริษัท บำงจำกปิโตรเลียม จำกัด (มหำชน) (BCP) บริษัท บ้ำนปู จำกัด (มหำชน) (BANPU)

รำยงำนกำรเปิดเผยข้อมูล ของบริษัท

มำตรฐำนอ้ำงอิงที่ใช้ในกำร ประเมิน

ระดับกำรเปิดเผยข้อมูลตำม GRI1

รายงานความยั่งยืน ปี พ.ศ. 2557

มาตรฐาน GRI 4.0 อุตสาหกรรม ไฟฟ้า

Core

รายงานความยั่งยืน ปี พ.ศ. 2557

มาตรฐาน GRI 4.0 อุตสาหกรรม ไฟฟ้า

Core

รายงานความยั่งยืน ปี พ.ศ. 2557 รายงานความยั่งยืน ปี พ.ศ. 2557 รายงานความยั่งยืน ปี พ.ศ. 2557 รายงานความยั่งยืน ปี พ.ศ. 2557

มาตรฐาน GRI 4.0 อุตสาหกรรม ไฟฟ้า มาตรฐาน GRI 4.0 อุตสาหกรรม น้ามันและก๊าซธรรมชาติ มาตรฐาน GRI 4.0 อุตสาหกรรม น้ามันและก๊าซธรรมชาติ มาตรฐาน GRI 4.0 อุตสาหกรรม เหมืองแร่และโลหะ

Core Comprehensive Core Core

โครงการวิจัยนี้แบ่งออกเป็นสามช่วงดังต่อไปนี้ 1. ช่วงแรก คณะวิจัยดาเนินการประเมินระดับความครบถ้วนของข้อมูลในรายงานความยั่งยืน (sustainability report) ซึ่งเป็นเครืองมือหลักที่บริษัทพลังงานส่วนใหญ่ในงานวิจัยชิ้นนี้ใช้ในการเปิดเผยระดับความรับผิดชอบ 2. ช่วงที่สอง คณะวิจัยดาเนินการสอบถามความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้เสียที่ เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะประเด็นที่กังวลและ คาดหวังในแง่การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 3. ช่วงที่สาม คณะวิจัยนาผลการสอบถามความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้เสีย ประกอบกับผลการสัมภาษณ์บริษัทและผล การประเมินรายงานความยั่งยืนในช่วงแรก มาสร้างชุดตัวชี้วัดระดับความรั บผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้ อมที่ สะท้อนมุมมองของบริษัทและผู้มีส่วนได้เสีย และนาชุดตัวชี้วัดดังกล่าวมาทดสอบประเมินระดับความรับผิดชอบของ แต่ละบริษัท โดยใช้ข้อมูลสาหรับปี 2557 เป็นปีฐาน

2


ผลกำรประเมินระดับควำมครบถ้วนของรำยงำนควำมยั่งยืน ในช่วงแรกของโครงการ คณะวิจัยประเมิน ระดับการเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบ ของทั้ง 10 องค์กร โดยได้เลือกมาตรฐาน การรายงานของ Global Reporting Initiative (GRI) มาเป็นเกณฑ์อ้างอิงในการพิจารณา ทั้งนี้เนื่องจากมาตรฐานดังกล่าว เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับและนาไปใช้อย่างแพร่หลายในระดับสากล โดยปัจจุบันมีองค์กรกว่า 5,900 แห่งทั่วโลกจัดทา รายงานแสดงข้อมูลความรับผิดชอบการดาเนินกิจกรรมขององค์กรตามมาตรฐานนี้ จึงกล่าวได้ว่ามาตรฐาน GRI เป็นมาตรฐาน การจัดทารายงานความยั่งยืนที่ได้รับความนิยมสูงสุดในโลก นอกจากนี้ บริษัทพลังงานที่อยู่ในการศึกษาครั้งนี้ 9 จาก 10 แห่ง ได้ใช้มาตรฐาน GRI เป็นเกณฑ์ในการจัดทารายงานความยั่งยืนประจาปี คณะวิจัยทาการศึกษาและประเมินระดับความครบถ้วนของการเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบของบริ ษัทพลั งงาน โดย พิจารณารายงานความยั่งยืนของบริษัทประจาปี พ.ศ. 2557 เป็นหลัก เนื่องจากเป็นปีหลักที่ดาเนินโครงการวิจัยครัง้ นี้ และเป็น ปีฐานที่ใช้ในการสอบถามผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับผลกระทบจากการดาเนินธุรกิจ โดยพิจารณาแหล่งข้อมูลอื่นเสริมในกรณีที่มี การอ้างอิงระบุในรายงาน เหตุผลที่คณะวิจัยเลือกใช้รายงานความยั่งยืนของบริ ษัทนั้น เนื่องจากรายงานความยั่งยืนเป็นรายงานที่แสดงข้อมูลความ รับผิดชอบและการดาเนินงานของบริษัทที่ครอบคลุมด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยคณะวิจัย ใช้หลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ในการประเมิน ระดับการเปิดเผยข้อมูล ครบถ้วน

ไม่ครบถ้วน ไม่เปิดเผย

แจ้งว่าไม่เกี่ยวข้อง

ไม่ปรากฏ

นิยามของแต่ละเกณฑ์ประเมินสถานะของการเปิดเผยข้อมูล

เปิดเผยข้อมูลได้ครบถ้วน หมายถึงสามารถแสดงข้อมูลได้ตามข้อกาหนดที่ระบุในเกณฑ์การเปิดเผย (requirements หรือ compilations) การรายงานตรงตามสาระสาคัญของตัวชี้วัด GRI และครอบคลุมประเด็น สาคัญได้ทั้งหมด เปิดเผยข้อมูลไม่ครบถ้วน หมายถึงสามารถแสดงข้อมูลได้บางส่วน เปิดเผยข้อมูลตามข้อกาหนดได้เป็นส่วนใหญ่ แต่ไม่ครอบคลุมสาระสาคัญของตัวชี้วัดนั้นๆ ไม่เปิดเผยข้อมูล หมายถึงดัชนีเนื้อหา GRI ท้ายเล่มของรายงานบริษัทระบุว่าเปิดเผยข้อมูล แต่ในความจริงกลับไม่ แสดงข้อมูล หรือแสดงข้อมูลเพียงส่วนน้อยตามข้อกาหนดในตัวชี้วัดนั้นๆ ไม่เปิดเผยข้อมูลที่ควรจะเปิดเผยหรือไม่ ตรงกับข้อกาหนดของตัวชี้วัด โดยการรายงานไม่ครอบคลุมสาระสาคัญในหลายประเด็น บริษัทไม่ทาการเปิดเผยข้อมูลที่เกีย่ วกับตัวชี้วัด โดยให้เหตุผลว่าตัวชี้วัดดังกล่าวไม่มีนัยสาคัญต่อลักษณะธุรกิจของ บริษัท ซึ่งตามเกณฑ์ GRI กรณีนี้บริษัทจะต้องเขียนคาชี้แจง (omission หรือ commentary) ลงในดัชนีเนื้อหา GRI (GRI content index) ในรายงานความยั่งยืนของบริษัท ตัวชี้วัดนั้นๆ ไม่ปรากฏในดัชนีเนื้อหา GRI ท้ายเล่มรายงานความยั่งยืนบริษัท ซึ่งอาจมีความเป็นไปได้สองประการ ด้วยกัน ได้แก่ 1) ตัวชี้วัดดังกล่าวไม่ใช่ประเด็นที่บริษัทประเมินว่ามีสาระสาคัญ (material aspect) ต่อบริษัทหรือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง หรือ 2) บริษัทเลือกที่จะไม่เปิดเผยข้อมูลใดๆเกี่ยวกับตัวชี้วัดนั้นๆ2

ผลการประเมินความครบถ้วนของการเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบของบริษัทพลังงานทั้ง 10 แห่ง สาหรับปี พ.ศ. 2557 สรุป ได้ดังแผนผังด้านล่าง โดยคณะวิจัยพบว่า มีสองในสิบบริษัทที่เปิดเผยข้อมูลในระดับ “ครบถ้วน” เกินร้อยละ 40 โดยบริษัทที่ เปิดเผยข้อมูลในระดับ “ครบถ้วน” น้อยที่สุด ได้แก่ ESSO โดยมีข้อมูลที่เปิดเผยครบถ้วนคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 8 ทั้งนี้ 2

ในกรณี ESSO หากคณะวิจยั ไม่พบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อกาหนดในตัวชีว้ ัดใดๆ จะถือว่าไม่มีการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับตัวชี้วัดนั้นๆ

3


เนื่องจากบริษัทแม่ของบริษัท คือ ExxonMobil บริษัทพลังงานระดับโลก ได้ตัดสินใจเชิงนโยบายที่จะจัดทารายงานความ ยั่งยืนระดับกลุ่มบริษัท ซึ่งรวมกิจการ ESSO ในประเทศไทยด้วย ข้อมูลที่บริษัทยังมิได้รายงานประกอบด้วยตัวชี้วัดที่บริษัทแจ้งว่า “ไม่เกี่ยวข้อง” กับลักษณะการประกอบธุรกิจ และตัวชี้วัดที่ “ไม่ปรากฏ” ในรายงานโดยที่บริษัทมิได้ระบุเหตุของการไม่แสดงรายการไว้ เมื่อพิจารณาข้อมูลที่ “ไม่ปรากฏ” ในรายงานจะ พบว่ามีสัดส่วนที่แตกต่างกันมากในแต่ละบริษัท โดย ESSO มีสัดส่วนตัวชี้วัดที่ “ไม่ปรากฏ” มากที่สุด (ร้อยละ 76) ซึ่งไม่อยู่ เหนือความคาดหมาย เมื่อเป็นบริษัทที่บริษัทแม่เลือกที่จะไม่จัดทารายงานระดับประเทศไทยตามมาตรฐาน GRI แยกออกมา ต่างหาก ดังอธิบายแล้วข้างต้น ในขณะเดียวกัน เมื่อพิจารณาตัวชี้วัดที่บริษัทตระหนักในความสาคัญ แต่ยังไม่สามารถรายงาน ได้ครบถ้วน นั่นคือรายงานในระดับ “ไม่ครบถ้วน” และ “ไม่เปิดเผย” พบว่ามีสัดส่วนที่สูง รวมกันประมาณร้อยละ 30 โดย เฉลี่ย เปรียบเทียบผลกำรประเมินโดยรวมของทุกหมวด 100% 90% 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%

ไม่ปรากฏ แจ้งว่าไม่เกี่ยว ไม่เปิดเผย ไม่ครบถ้วน ครบถ้วน

ผลการประเมินความครบถ้วนของการเปิดเผยข้อมูลจาแนกตามหมวดตัวชี้วัดดังแสดงในแผนภาพข้างต้นชี้ว่า ไม่มีตัวชี้วัดใน หมวดใดที่บริษัทสามารถเปิดเผยข้อมูลในระดับ “ครบถ้วน” ได้ถึงกึ่งหนึ่งหรือร้อยละ 50 โดยหมวดองค์กรและนโยบายเป็น หมวดที่ 10 บริษัทเปิดเผยข้อมูลได้ดีที่สุด (ร้อยละ 45) รองลงมาได้แก่หมวดสังคม (ร้อยละ 19) และหมวดความรับผิดชอบต่อ ผลิตภัณฑ์ (ร้อยละ 18) จากการประเมินระดับความครบถ้วนของการเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบของบริษัทพลังงานทั้ง 10 แห่ง สามารถแบ่ง ประเภทตัวชี้วัดตามระดับการเปิดเผยได้เป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกเป็นกลุ่มตัวชี้วัดที่บริษัทเปิดเผยข้อมูล ถึงแม้ว่าความ ครบถ้วนของข้อมูลอาจแตกต่างไปตามตัวชี้วัดและระดับการเปิดเผยข้อมูลของแต่ละบริษัท แต่ตัวชี้วัดในกลุ่มนี้จะปรากฏใน การรายงาน ซึ่งตัวชี้วัดกลุ่มนี้จะมีการเปิดเผยข้อมูลอยู่ในระดับ “ครบถ้วน” “ไม่ครบถ้วน” และ “ไม่เปิดเผย” กลุ่มทีส่ องเป็น 4


กลุ่มตัวชี้วัดที่บริษัทไม่แสดงข้อมูล โดยบริษัทอาจให้เหตุผลว่า “ไม่เกี่ยวข้อง” กับการดาเนินกิจการขององค์กร หรืออาจ “ไม่ ปรากฏ” ในรายงาน (โดยปราศจากการให้เหตุผลใดๆ) ซึ่งในกรณีหลังอาจสะท้อนมุมมองของบริษัทว่าตัวชี้วัดนั้นๆ ไม่มี สาระสาคัญ (materiality aspect) ต่อประเด็นความยั่งยืนหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จึงเลือกที่จะไม่เปิดเผยข้อมูลในการรายงาน หลักการสาคัญของมาตรฐาน GRI คือ “หลักสาระสาคัญ” (Materiality Principle) ซึ่งถูกนิยามอย่างชัดเจนเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 2006 ในมาตรฐาน GRI เวอร์ชั่น 3 (G3) และไม่ได้เปลี่ยนไปสาหรับ GRI เวอร์ชั่น 4 (G4) ซึ่งเป็นเวอร์ชั่นที่บริษัทส่วนใหญ่ ในโครงการวิจัยครั้งนี้เลือกใช้ในการจัดทารายงานความยั่งยืน หลักสาระสาคัญของ GRI กาหนดว่า รายงานความยั่งยืนควร ครอบคลุมทุกประเด็นที่สะท้อนผลกระทบของบริษัทในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ที่มีสาระสาคัญ หรือส่งผลอย่างมี นัยสาคัญต่อการประเมินและการตัดสินใจของผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท อย่างไรก็ดี การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ ระหว่าง G3 กับ G4 คือ แนวคิดว่าด้วย ‘ขอบเขตผลกระทบ’ (Boundary) โดยใน G4 บริษัทผู้จัดทารายงานจะต้องระบุและอธิบายว่าผลกระทบในด้านต่างๆ จากกิจการของบริษัทเกิดขึ้น ณ จุดใดบ้าง สาหรับ ประเด็นที่เป็นสาระสาคัญแต่ละประเด็น รวมถึงควรพิจารณาผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกองค์กร (เช่น ในห่วงโซ่ อุปทาน) ด้วย หากพิจารณาเพียงตัวชี้วัดกลุ่มแรกที่บริษัท เลือกที่จะเปิดเผยข้อมูลแล้ว พบว่ามีตัวชี้วัดเพียงตัวเดียวเท่านั้นที่ทั้ง 10 บริษัท สามารถรายงานได้อย่างครบถ้วน ได้แก่ การระบุชื่อองค์กร หมวดที่ทั้ง 10 บริษัทไม่เปิดเผยข้อมูล (ระดับ “ไม่ปรากฎ”) สูงสุด คือ หมวดสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีตัวชี้วัดสาคัญ อาทิ สัดส่วนสัญญาการลงทุนและสัดส่วนปฏิบัติการของบริษัทที่ผ่านการทบทวน ด้านสิทธิมนุษยชน (human rights review) สัดส่วนการประเมินความเสี่ยง/ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน (human rights risk/impact assessment) จานวนชั่วโมงที่บริษัทฝึกอบรมพนักงานเรื่องนโยบายสิทธิมนุษยชน หรือขั้นตอนเกี่ยวกับสิทธิ มนุษยชนที่สาคัญต่อปฏิบัติการของบริษัท จานวนกรณีเลือกปฏิบัติและกรณีที่บริษัทจัดการแก้ไข และปฏิบัติการและจานวนคู่ ค้าที่เสรีภาพในการรวมกลุ่มและเสรีภาพในการต่อรองของแรงงานอาจถูกละเมิด หรือสุ่มเสี่ยงที่จะถูกละเมิด และมาตรการ สนับสนุนสิทธิเหล่านี้ เป็นต้น

ผลกำรสร้ำงชุดตัวชี้วัดระดับควำมรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ในระยะที่สองของโครงการวิจัย คณะวิจัยได้ดาเนินการสอบถามความคิดเห็นของตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มหลักของบริษัท พลังงาน ในประเด็นความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทพลังงาน โดยแบ่งเป็น 6 กลุ่ม ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้าน ธรรมาภิบาลพลังงานและผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์พลังงาน, ตัวแทนผู้บริโภค, ชุมชนที่อาศัยอยู่รอบสถานประกอบการ (โดยเลือกพื้นที่ที่แต่ละบริษัทมีกาลังการผลิต สูงสุด), ผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม และตัวแทนสหภาพแรงงานและผู้เชี่ยวชาญ ด้านสิทธิแรงงาน โดยใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึกและสัมภาษณ์กลุ่ม เหตุผลที่คณะวิจัยดาเนินการสอบถามความคิดเห็นของผู้มีส่วน ได้เสียในโครงการนี้ เนื่องจากเป็นไปได้ที่ผู้มีส่วนได้เสียอาจให้ความสาคัญกับประเด็นที่อยู่นอกเหนือมาตรฐานสากลในการ เปิดเผยข้อมูลอย่าง GRI และการสารวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียนับว่าขาดไม่ได้ในการประเมินระดับความรับผิดชอบ ของอุตสาหกรรมใดก็ตาม เมื่อนาทัศนะของผู้มีส่วนได้เสีย มาเปรียบเทียบกับระดับการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทพลังงาน คณะวิจัยพบว่า ประเด็นส่วน ใหญ่ที่ผู้มีส่วนได้เสียให้ความสาคัญเป็นประเด็นเดียวกันกับที่บริษัทพลังงานส่วนใหญ่ยังมิได้ให้ความสาคัญกับการเปิดเผย

5


ข้อมูลอย่างครบถ้วน นอกจากนี้ ยังมีบางประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียให้ความสาคัญในแง่การแสดงระดับ “ความรับผิดชอบ” ของ บริษัทพลังงาน แต่ไม่อยู่ในชุดตัวชี้วัดตามมาตรฐาน GRI

ประเด็นสาคัญในทัศนะของผู้มสี ่วนได้เสียไทย เทียบกับรายงานความยั่งยืน เมื่อนาทัศนะของผู้มีส่วนได้เสีย มาเปรียบเทียบกับระดับการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทพลังงานประจาปี พ.ศ. 2557 ซึ่งประเมิน ในช่วงแรกของโครงการ คณะวิจัยพบว่า ประเด็นส่วนใหญ่ที่ผู้มีส่วนได้เสียให้ความสาคัญเป็นประเด็นเดียวกันกับที่บริษัท พลังงานส่วนใหญ่ยังมิได้ให้ความสาคัญกับการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน นอกจากนี้ ยังมีบางประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียให้ ความสาคัญในแง่การแสดงระดับ “ความรับผิดชอบ” ของบริษทั พลังงาน แต่ไม่อยู่ในชุดตัวชี้วัดตามมาตรฐาน GRI ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียอย่างน้อย 3 กลุ่ม ให้ความสาคัญ ได้แก่ประเด็นต่อไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

มลพิษทางอากาศ มลพิษทางน้า การใช้น้า อุบัติภัย การให้ข้อมูลชุมชนเกี่ยวกับผลกระทบ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดาเนินกิจการ กระบวนการเยียวยาที่เป็นธรรม การลงทุนในพลังงานหมุนเวียน

สาเหตุบางประการที่เป็นไปได้ต่อการที่บางบริษัทยังมิได้เปิดเผยข้อมูลในประเด็นข้างต้นอย่างครบถ้วนในรายงานความยั่งยืน อาจมาจากการที่บริษัท นั้นๆ ยังมิได้ให้ความสาคัญกับประเด็นดังกล่าวในการดาเนินกิจการ มองเห็นความสาคัญแต่ยังไม่มี ระบบบันทึกข้อมูลหรือยังไม่สามารถรวบรวมข้อมูลได้ไม่ครบถ้วน มองว่าไม่สาคัญเพียงพอที่จะเปิดเผย หรือเปิดเผยในระดับที่ องค์กรคิดว่าเพียงพอแล้ว แต่เป็นระดับที่น้อยเกินไปในทัศนะของผู้มีส่วนได้เสีย ตารางต่อไปนีแ้ สดงรายการประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ให้ความสาคัญ เปรียบเทียบกับเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูล GRI เปรียบเทียบประเด็นที่ผมู้ ีส่วนได้เสียให้ความสาคัญ กับตัวชี้วัด GRI ไฮไลต์สีเหลือง แสดงประเด็นที่ผู้มสี ่วนได้เสียมากกว่า 3 กลุ่มให้ความสาคัญ

6


หัวข้อ

ประเด็น

รัฐวิสาหกิจ

การสือ่ สารความจาเป็นของการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ แสดงทางเลือกต่างๆ

เกณฑ์ GRI

(EGAT, PTT)

การทบทวนระดับพลังงานสารอง

ผู้นำทำงควำมคิด

ผู้บริโภค

Y

Y

Y

มลพิษทางอากาศ

Y

Y

มลพิษทางนา

Y

เสียงรบกวน

Y

Y

Y Y

การใช้นา

Y

ขยะ

Y

Y

Y

Y Y

ปัญหาสังคม

Y Y

Y

Y

การแทรกแซงองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ งบประมาณซีเอสอาร์

Y

Y

รายงานผลกระทบสิง่ แวดล้อม (EIA)

อุบัติภยั สารเคมี

Y

Y

Y Y

งบประมาณล็อบบีภาครัฐ

Y

ค่าใช้จา่ ยในการเยียวยา

Y

การซ้อมรับมืออุบัติภยั

Y

Y

การให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับผลกระทบ

Y

Y

Y

Y

Y

Y

เครื่องมือที่ชาวบ้านใช้ติดตามได้ ชุมชนมีสว่ นร่วมในการดาเนินกิจการ

ตัวชีวัดอืน่ ๆ

Y

Y Y

Y Y

Y

Y

Y

Y

Y

คุณภาพนามัน

Y

ราคาที่เป็นธรรม

Y

ความเป็นมิตร (ไม่ฟอ้ งผูบ้ ริโภค) แรงงาน

Y

Y

กระบวนการเยียวยาเป็นธรรม ผูบ้ ริโภค

Y Y

ไม่ฟอ้ งร้องชาวบ้าน โครงการพัฒนาชุมชน (ซีเอสอาร์ )

Y

Y

งบประมาณประชาสัมพันธ์

ชุมชน

แรงงำน

Y Y

ก๊าซเรือนกระจก

สิ่งแวดล้อม

Y

การผลักดันนวัตกรรม อาทิ net metering, smart grid ข้อมูล/ผลกระทบ กาลังผลิต

ชุมชน

Y

การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อลูกจ้างโดยตรง

Y

Y

การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อลูกจ้าง sub contract

Y

Y

ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของแรงงาน

Y

Y

ความปลอดภัยในการทางาน

Y

Y

การพัฒนาบุคลากร

Y

การลงทุนในพลังงานหมุนเวียน

Y

การยึดมาตรฐานที่ดีที่สดุ เวลาลงทุน

Y Y

Y

Y

Y

Y

เปิดเผยมลพิษตาม Pollutant Release and Transfer Register (PRTR)

Y

การร่วมมือกันจัดการหากอยูใ่ นพืนที่ใกล้กนั

Y

7


คาอธิบายรายประเด็นเรียงตามกลุม่ ผู้มสี ่วนได้เสียสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ 1. รัฐวิสาหกิจ ผู้เชี่ยวชาญด้านธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม ตัวแทนองค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม และตัวแทนผู้บริโภคมองว่า บริษัทพลังงานที่มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ เนื่องจากรัฐบาลถือหุ้นมากกว่ากึ่งหนึ่ง ซึ่งในรายงานฉบับนี้ได้แก่ EGAT และ PTT ควรมี “ความรับผิดชอบต่อสังคม” ในระดับที่สูงกว่าบริษัทเอกชนในอุตสาหกรรมพลังงาน เนื่องจาก รัฐวิสาหกิจทั้งสองแห่งต่างมีบทบาทสาคัญในการกาหนดนโยบายพลังงานของประเทศ รวมถึงคาดหวังให้วาง แนวทางและดาเนินกิจการตาม “วิถีปฏิบัติที่เป็นเลิศ” (best practices) ที่สอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อเป็น แบบอย่างที่ดีสาหรับบริษัทเอกชนในอุตสาหกรรมพลังงาน ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียมองว่ารัฐวิสาหกิจควรแสดงความรับผิดชอบสูงกว่าบริษัทเอกชน ได้แก่ประเด็นต่อไปนี้ 1.1 การสื่อสารทางเลือกต่างๆ และความจาเป็นของการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ เกณฑ์ GRI: ไม่มี คาอธิบาย: เนื่องจากความยั่งยืนของอุตสาหกรรมพลังงานโดยรวมในอนาคตจะต้องอาศัยการเปลี่ยนแปลง ทิศทางของธุรกิจ โดยลดการผลิตและใช้พลัง งานเชื้อเพลิงฟอสซิล เพิ่มการผลิตและใช้พลังงานหมุนเวียนอย่าง ต่อเนื่อง โดยเฉพาะเมื่อคานึงถึงพันธกรณีระหว่างประเทศ อาทิ ข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) ในปี พ.ศ. 2558 ผู้มีส่วนได้เสียจึงมองว่าการอธิบายทั้ง “ความจาเป็น” ของการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ๆ และ “ทางเลือก” ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าอย่างชัดเจน เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมที่ EGAT และ PTT พึงกระทา ใน ฐานะรัฐวิสาหกิจที่มีบทบาทสาคัญในนโยบายพลังงานระดับชาติ 1.2 การทบทวนระดับพลังงานสารอง เกณฑ์ GRI: ไม่มี คาอธิบาย: เนื่องจากปัจจุบันรัฐมักจะตัดสินใจอนุมัติการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ๆ โดยอ้างเหตุผลเกี่ยวกับ ความมั่นคงทางพลังงานเป็นหลัก และความจาเป็นของการรักษาพลังงานสารอง โดยเฉพาะกาลังการผลิต ไฟฟ้าสารอง (reserve margin) ในระดับที่สูงกว่าสถิติการใช้จริงต่อเนื่องนานหลายปี ผู้มีส่วนได้เสียมองว่า EGAT และ PTT จึงสมควรเพิ่มบทบาทในการเสนอให้รัฐทบทวนระดับพลังงานสารองของชาติ 1.3 การผลักดันนวัตกรรมพลังงาน เกณฑ์ GRI: ไม่มี ค าอธิ บ าย: เนื่ อ งจากปั จ จุ บั น นวั ต กรรมต่ า งๆ ในภาคพลั งงานมี พั ฒ นาการและการคิด ค้ น ที่ รวดเร็ว โดยเฉพาะด้านประสิทธิภาพการจัดการพลังงาน พลังงานหมุนเวียน และเทคโนโลยีสะอาด ผู้มีส่วนได้เสียมอง ว่ า EGAT และ PTT จึ งสมควรแสดงความรั บ ผิ ด ชอบด้ ว ยการเป็ น ผู้ น าการผลั ก ดั น นวั ต กรรมพลั ง งานที่ สอดคล้องกับหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน

2. สิ่งแวดล้อม ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมที่ผู้เชี่ยวชาญด้านธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม ชุมชนรอบสถานประกอบการ และตัวแทนองค์กร พัฒนาเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมให้ความสาคัญ มีตั้งแต่ประเด็นพื้นฐานซึ่งมีบทบัญญัติทางกฎหมายและกฎเกณฑ์กากับ ดูแล เช่น มลพิษทางอากาศ มลพิษทางน้า และขยะ ไปจนถึงประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียมองว่าบริษัทจะต้องแสดงความ มุ่งมั่นที่จะพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนผ่านไปสู่อุตสาหกรรมพลังงานที่ยั่งยืน ได้แก่ การลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก และการลงทุนในพลังงานหมุนเวียน 8


รายละเอียดรายประเด็นสามารถสรุปได้ดังนี้ 2.1 มลพิษทางอากาศ เกณฑ์ GRI: ข้อ EN21 (NOx, SOx และการปลดปล่อยทางอากาศอื่นๆ ที่สาคัญ) คาอธิบาย: การควบคุมมลพิษทางอากาศให้อยู่ในระดับที่กฎหมายกาหนด และไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อน ต่อชุมชน ถือเป็นประเด็นพื้นฐานของการแสดงความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม 2.2 มลพิษทางน้า เกณฑ์ GRI: ข้อ EN22 (น้าทิ้ง คุณภาพน้าทิ้ง และการจัดการ) คาอธิบาย: การควบคุมมลพิษทางอากาศให้อยู่ในระดับที่กฎหมายกาหนด และไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อน ต่อชุมชน ถือเป็นประเด็นพื้นฐานของการแสดงความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม 2.3 ก๊าซเรือนกระจก เกณฑ์ GRI: ข้อ EC2 (ความเสี่ยงและโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศซึ่งมีแนวโน้มจะส่งผล อย่างมีนัยสาคัญต่อกิจการ รายได้ หรือค่าใช้จ่ายของบริษัท รวมถึงวิธีรับมือกับความเสี่ยงดังกล่าว) EN15-EN 17 (ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรงและทางอ้อม – Scope 1 ถึง Scope 3) และ EN18 (ค่าความ เข้มข้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก) คาอธิบาย: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) เป็นปัญหาใหญ่ด้านสิ่งแวดล้อมที่มี แนวโน้มจะคุกคามชีวิตและความเป็นอยู่ของมวลมนุษยชาติและก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจาก การผลิตพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลนับเป็นสาเหตุสาคัญประการหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเปิดเผยข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และการกาหนดเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จึง ขาดไม่ได้ในการแสดงความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทพลังงาน 2.4 ขยะและของเสีย เกณฑ์ GRI: ข้อ EN23 (ปริมาณของเสีย และวิธีจัดการของเสียจาแนกตามประเภท) คาอธิบาย: การจัดการขยะ ทั้งขยะอันตรายและไม่อันตราย ให้อยู่ในระดับที่กฎหมายกาหนด ไม่ก่อให้เกิด ความเดือดร้อนต่อชุมชน รวมถึงการพยายามลดปริมาณขยะทุกประเภท ถือเป็นประเด็นพื้นฐานของการแสดง ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม 2.5 การลงทุนในพลังงานหมุนเวียน เกณฑ์ GRI: ข้อ OG2 (เม็ดเงินลงทุนในโครงการพลังงานหมุนเวียน) และ OG3 (ปริมาณพลังงานหมุนเวียน ที่ผลิตได้) คาอธิบาย: เนื่องจากการเพิ่มขีดการลงทุนในพลังงานหมุนเวียน เป็นกลยุทธ์ที่ผู้มีส่วนได้เสียมองว่าเป็นการ แสดงออกซึ่งความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมที่จาเป็นในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การลงทุนและ การประกาศเป้าหมายการลงทุนในพลังงานหมุนเวียนจึงนับเป็นประเด็นที่ขาดไม่ได้ 3. ชุมชน-ผลกระทบ จากการสัมภาษณ์กลุ่มสมาชิกในชุมชนรอบสถานประกอบการหลักของบริษัทพลังงานทั้ง 10 แห่ง และการสัมภาษณ์ เชิงลึกกับผู้เชี่ยวชาญด้านธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม คณะวิจัยสามารถสรุปข้อคิดเห็นและความกังวลได้เป็นสองหัวข้อ ใหญ่ ได้แก่ 1) “ผลกระทบ” ที่เกิดหรืออาจเกิดจากการประกอบกิ จการของบริษัทพลังงาน รวมถึงโครงการพัฒนา ชุมชนต่างๆ และ 2) กลไกที่เกี่ยวกับ “การป้องกัน” การเกิดผลกระทบ เช่น รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม กลไก การมีส่วนร่วมของชุมชน เป็นต้น 9


ประเด็น “ผลกระทบ” ที่ชุมชนเป็นกังวลและให้ความสาคัญมี 6 ประเด็น ดังต่อไปนี้ 3.1 เสียงรบกวน เกณฑ์ GRI: ไม่มี คาอธิบาย: จากการวิจัยเชิงคุณภาพ คณะวิจัยพบว่าเสียงรบกวนจากเครื่องจักรในโรงไฟฟ้าหรือโรงกลั่น เป็นประเด็นผลกระทบที่สมาชิกในชุมชนรอบสถานประกอบการประสบเป็นอันดับต้นๆ โดยก่อให้เกิดความ ราคาญ สร้างความตกใจกลัว บางครั้งเกิดขึ้นในเวลากลางคืน รบกวนการนอนหลับของชาวบ้าน 3.2 การแย่งใช้น้า เกณฑ์ GRI: ข้อ EN8 (ปริมาณน้าที่ใช้ จาแนกตามแหล่งที่มา เช่น น้าบาดาล น้าฝน ฯลฯ) คาอธิบาย: ตัวแทนองค์กรพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมบางรายกังวลว่าโรงไฟฟ้าหรือโรงกลั่นจะแย่งใช้น้ากับ ชุมชน ถึงแม้ทั้ง 10 ชุมชนจะระบุว่าไม่เคยประสบเหตุดังกล่าวในอดีต ผู้เชี่ยวชาญด้านธรรมาภิบาลยกประเด็น นี้ว่าเป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อชุมชนที่สาคัญสาหรับบริษัทพลังงานเช่นกัน 3.3 ปัญหาสังคม เกณฑ์ GRI: ไม่มี คาอธิบาย: สมาชิกในชุมชนบางส่วนมองว่าการเข้ามาประกอบกิจการหรือขยายกิจการของบริษัทพลังงาน มีส่วนสร้างปัญหาสังคมในชุมชน เช่น การจราจรติดขัด ปัญหาความปลอดภัย และความขัดแย้งระหว่างผู้ที่อยู่ อาศัยดั้งเดิมกับผู้ที่ย้ายเข้ามาใหม่ เป็นต้น 3.4 อุบัติภัย เกณฑ์ GRI: ข้อ EN24 (จานวนและปริมาณการรั่วไหลที่มีนัยสาคัญ) ค าอธิ บ าย: การป้ อ งกั น อุ บั ติ ภั ยและการเปิ ดเผยจ านวนอุ บั ติภัย รุน แรงและผลกระทบ นั บ เป็ น ความ รับผิดชอบขั้นพื้นฐานของบริษัทพลังงานตามเกณฑ์ GRI 3.5 โครงการซีเอสอาร์ เกณฑ์ GRI: ข้อ EC1 (มูลค่าทางเศรษฐกิจที่สร้างและกระจายให้กับภาคส่วนต่างๆ รวมถึงชุมชน) คาอธิบาย: โครงการพัฒนาชุมชนต่างๆ (ซีเอสอาร์) นับเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงความรับผิดชอบต่อ ชุมชนของบริษัท และสมาชิกในชุมชนก็มีความคาดหวังว่าบริษัทจะมีส่วนร่วมพัฒนาท้องถิ่นในแนวทางที่ตรง ต่อความต้องการของชุมชน 3.6 การรับเรื่องร้องเรียนและเยียวยา เกณฑ์ GRI: ข้อ EN34 (เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับผลกระทบสิ่งแวดล้อม), SO1 (กระบวนการรับเรื่องร้องเรียน จากชุมชน) และ SO11 (เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับผลกระทบต่อสังคม) คาอธิบาย: การมีกลไกรับเรื่องร้องเรียนและกลไกเยียวยา ตลอดจนการเปิดเผยสถิติเรื่องร้องเรียนและ คาอธิบายผลลัพธ์ของการเยียวยา (ถ้ามี) นับเป็นการแสดงความรับผิ ดชอบขั้นพื้นฐานของบริษัทพลังงานตาม เกณฑ์ GRI 4. ชุมชน-การป้องกันผลกระทบ จากการสัมภาษณ์กลุ่มสมาชิกในชุมชนรอบสถานประกอบการหลักของบริษัทพลังงานทั้ง 10 แห่ง และการสัมภาษณ์ เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญด้านธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม คณะวิจัยสามารถสรุปประเด็นเกี่ยวกับ “การป้องกัน” ผลกระทบต่อ ชุมชนที่อาจเกิดจากการดาเนินงานของบริษัทพลังงาน ที่ผู้มีส่วนได้เสียมองว่าสาคัญ จานวน 4 ประเด็นดังต่อไปนี้ 4.1 รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) 10


เกณฑ์ GRI: ไม่มี คาอธิบาย: ผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อมและธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมเห็นตรงกันว่าบริษัทควรส่งเสริมให้ ชุมชนได้เข้าถึงร่างรายงานอีไอเอตั้งแต่เนิ่นๆ บางรายมองว่าควรเปิดเผยรายงานนี้ต่อสาธารณะด้วย สาหรับ โครงการที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบให้ เ ริ่ ม ด าเนิ น การ (อนึ่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ก ารส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพ สิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 (มาตรา 6) ระบุว่าประชาชนมี สิทธิ ที่จะได้รับ ข้อ มูลข่า วสารเรื่ องสิ่ งแวดล้อ มจาก หน่วยงานของรัฐ) 4.2 การซ้อมรับมืออุบัติภัย เกณฑ์ GRI: ข้อ Further Commentary Oil & Gas (อธิบายระดับความพร้อมรับมือกับเหตุฉุกเฉิน) คาอธิบาย: สมาชิกในชุมชนใกล้กับสถานประกอบการบางรายมองว่าการซ้อมรับมืออุบัติภัยสามารถช่วย สร้างความมั่นใจให้กับชุมชน และบรรเทาความกังวลเกี่ยวกับอุบัติภัยและผลกระทบได้ 4.3 การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบ เกณฑ์ GRI: ข้อ SO1 (สัดส่วนปฏิบัติการของบริษัทที่กระทาตามแนวปฏิบัติด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน การประเมินผลกระทบ และโครงการพัฒนาชุมชน) คาอธิบาย: การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการดาเนินกิจการ ในภาษาที่ชาวบ้านเข้าใจได้ และเข้าถึงได้ง่าย ไม่ใช่ภาษาทางเทคนิค เป็นประเด็นที่ทั้งสมาชิกในชุมชนและผู้เชี่ยวชาญเห็นตรงกันว่ามี ความสาคัญอย่างยิ่ง ตั้งแต่ขั้นตอนที่ต้องทาในกระบวนการจัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) ก่อน เริ่มการก่อสร้าง ไปจนถึงการให้ข้อมูลกับชุมชนอย่างสม่าเสมอหลังจากที่การก่อสร้างแล้วเสร็จ 4.4 การมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจการ เกณฑ์ GRI: ข้อ SO1 (สัดส่วนปฏิบัติการของบริษัทที่กระทาตามแนวปฏิบัติด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน การประเมินผลกระทบ และโครงการพัฒนาชุมชน) คาอธิบาย: ชุมชนคาดหวังว่าจะได้มีส่วนร่วมในการดาเนินกิจการของบริษัท ดังนั้นกลไกการมีส่วนร่วมจึง นับเป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อชุมชนขั้นพื้นฐาน 5. ผู้บริโภค 5.1 คุณภาพดี ราคาเป็นธรรม ไม่เอาเปรียบผู้บริโภค เกณฑ์ GRI: ข้อ PR1 – PR9 (หมวดความรับผิดต่อผลิตภัณฑ์ทั้งหมวด) คาอธิบาย: ตัวแทนผู้บริโภคคาดหวังว่า ผลิตภัณฑ์หลักของบริษัทพลังงานที่ทาการศึกษาในครั้งนี้ อันได้แก่ ไฟฟ้ า และน้ ามั น จะท าตามกฎหมายคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคเป็ น พื้ น ฐานการแสดงความรั บ ผิ ด ชอบ และขาย ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดี ราคาเป็นธรรม ไม่หลอกลวงหรือเอาเปรียบผู้บริโภค 6. แรงงาน ตัวแทนสหภาพแรงงานและองค์กรพัฒนาเอกชนด้านแรงงานมองว่า การแสดงความรับผิดชอบต่อแรงงานของบริษัท พลังงานไม่ต่างจากบริษัทในอุตสาหกรรมอื่นๆ โดยควรคานึงถึงประเด็นต่อไปนี้ 6.1 การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อลูกจ้าง เกณฑ์ GRI: ข้อ HR3 (กรณีการเลือกปฏิบัติและการจัดการกับกรณีดังกล่าว) คาอธิบาย: การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อลูกจ้าง (ไม่เลือกปฏิบัติ) เป็นความรับผิดชอบขั้นพื้นฐานของบริษัท 6.2 การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อลูกจ้างเหมาช่วง (sub-contract) 11


เกณฑ์ GRI: ข้อ HR10 (การคัดเลือกคู่ค้าโดยวิธีคัดกรองด้วยเกณฑ์สิทธิมนุษยชน) และ HR11 (ผลกระทบ เชิงลบด้านสิทธิมนุษยชนที่เกิดในห่วงโซ่อุปทาน) คาอธิบาย: ผู้มีส่วนได้เสียมองว่า บริษัทควรแสดงความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติต่อลูกจ้างเหมาช่วง (subcontract) ในห่วงโซ่อุปทาน ถึงแม้จะมิได้เป็นลูกจ้างโดยตรงของบริษัท 6.3 การมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจการ เกณฑ์ GRI: ข้อ HR4 (การคุ้มครองเสรีภาพในการรวมกลุ่มแรงงาน และมาตรการสนับสนุน) คาอธิบาย: ผู้มีส่วนได้เสียมองว่า การส่งเสริมให้พนักงานและแรงงานมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจการ นับเป็นความรับผิดชอบขั้นพื้นฐานของบริษัท อีกทั้งยังเป็นการปฏิบัติตามเกณฑ์ขั้นต่าของกฎหมายแรงงานอีก ด้วย 7. สิทธิมนุษยชน 7.1 การมีกลไกคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตลอดห่วงโซ่อุปทาน เกณฑ์ GRI: ข้อ HR1-HR12 (การมีกลไกกลั่นกรองด้านสิทธิมนุษยชนในสัญญาการลงทุน ห่วงโซ่อุปทาน การอบรมพนักงานเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ผลกระทบเชิงลบต่อสิทธิมนุษยชนที่เกิดในห่วงโซ่ อุปทาน และการจัดการของบริษัท) คาอธิบาย: ถึงแม้จะมิได้เป็นประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียรายใดหยิบยกขึ้น มา คณะวิจัยเห็นว่าหมวด “สิทธิ มนุษยชน” โดยรวมนับว่ามีความสาคัญอย่างยิ่งสาหรับบริษัทพลังงานขนาดใหญ่ในไทย เนื่องจากการคุ้มครอง สิทธิมนุษยชนเป็นพันธะกรณีระหว่างประเทศ ปรากฎในมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคมทุกมาตรฐาน รวมถึงเป็นหมวดที่บริษัทพลังงานขนาดใหญ่ยังให้ความสาคัญกับการเปิดเผยข้อมูลน้อยที่สุด ถึงแม้ว่าหลาย บริษัทจะกาลังขยายกิจการเข้าไปในประเทศเพื่อนบ้าน ส่งผลให้ห่วงโซ่อุปทานมีความยาวและสลับซับซ้อนยิ่ง กว่าเดิม เพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนในห่วงโซ่อุปทาน 8. ประเด็นอื่นๆ นอกเหนือจากประเด็นข้างต้น ผู้มีส่วนได้เสียหลายรายยังให้ทัศนะถึงประเด็นอื่นๆ ที่มองว่าช่วยสะท้อนระดับความ รับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทพลังงานได้ ถึงแม้จะเป็นประเด็นรอง และบางประเด็นก็เป็นการแสดงความรับผิดชอบ ในระดับ “ก้าวหน้า” โดยมีรายละเอียดดังนี้ 8.1 งบประชาสัมพันธ์ เกณฑ์ GRI: ไม่มี คาอธิบาย: การเปิดเผยงบประชาสัมพันธ์ของบริษัท สามารถนาไปเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายในด้านอื่นๆ เพื่อเป็นเครื่องบ่งชี้ว่าบริษัทนั้นๆ ให้ความสาคัญกับการประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ของตนเอง มากกว่าการดาเนิน กิจการอย่างรับผิดชอบหรือไม่ เพียงใด 8.2 งบประมาณล็อบบี้ภาครัฐ เกณฑ์ GRI: ข้อ EC1 (เงินที่จ่ายให้กับรัฐ) คาอธิบาย: การเปิดเผยงบประมาณหรือค่าใช้จ่ายในการล็อบบี้ภาครัฐ เมื่อนามาเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่าย ในด้านอื่นๆ ของบริษัท รวมถึงการลงทุนในโครงการพัฒนาชุมชน โครงการลงทุนในพลังงานหมุนเวียน ฯลฯ อาจเป็นเครื่องบ่งชี้ว่าบริษัททุ่มเทความสนใจให้กับการล็อบบี้เพื่อรักษาสถานภาพเดิม (status quo) ของตน มากกว่าการแสดงความจริงใจที่จะเปลี่ยนผ่านไปสู่การพัฒนาพลังงานที่ยั่งยืนหรือไม่ เพียงใด 12


8.3 การมีเครื่องมือที่ชาวบ้านใช้ติดตามผลกระทบเองได้ เกณฑ์ GRI: ไม่มี คาอธิบาย: ผู้มีส่วนได้เสียบางรายมองว่า ลาพังการให้ข้อมูลตามกระบวนการจัดทารายงานผลกระทบ สิ่งแวดล้อม และการติดตั้งป้ายแสดงค่าการปล่อยมลพิษต่างๆ หน้าโรงไฟฟ้าหรือโรงกลั่นนั้น ไม่เพียงพอต่อการ สร้างความมั่นใจให้กับชาวบ้าน และส่งเสริมสร้างศักยภาพของชาวบ้านในการดูแลตนเอง บริษัทควรยกระดับ การแสดงความรับผิดชอบด้วยการติดตั้งหรือแจกจ่ายเครื่องมือแบบพกพา เช่น เครื่องวัดมลพิษทางอากาศ ที่ ชาวบ้านสามารถใช้ติดตามผลกระทบได้ด้วยตนเอง 8.4 การไม่ฟ้องร้องชาวบ้านหรือผู้มีส่วนได้เสียรายอื่น เกณฑ์ GRI: ไม่มี คาอธิบาย: ผู้มีส่วนได้เสียบางรายมองว่า บริษัทพลังงานบางแห่งในอดีตใช้วิธีข่มขู่คุกคามหรือ ฟ้องร้ อง ชาวบ้าน หรือสมาชิกองค์กรพัฒนาเอกชน ในข้อหาหมิ่นประมาททาให้บริษัทเสียชื่อเสียง แทนที่จะใช้วิ ธี แลกเปลี่ยนข้อมูลและอภิปรายถกเถียงกันอย่างเปิดเผย 8.5 การยึดมาตรฐานที่ดีที่สุดเวลาไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน เกณฑ์ GRI: ไม่มี คาอธิบาย: ผู้มีส่วนได้เสียบางรายเป็นกังวลว่า การออกไปลงทุนข้ามพรมแดน โดยเฉพาะในประเทศเพื่อน บ้านที่มีกลไกคุ้มครองประชาชนและสิ่งแวดล้อมด้อยกว่าไทย อาทิ ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา อาจเป็นช่องว่าง ให้บริษัทพลังงานฉวยโอกาสจากมาตรฐานที่ต่ากว่า ก่อผลกระทบเชิงลบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมในการ ดาเนินธุรกิจ ในทางกลับกัน เมื่อบริษัทไทยออกไปลงทุนในประเทศที่มีมาตรฐานสูงกว่าไทย เช่น ออสเตรเลีย บริษัทไทยย่อมต้องปฏิบัติตามมาตรฐานของประเทศนั้นๆ ด้วยเหตุนี้ การประกาศนโยบายว่าบริษัทจะยึดตาม มาตรฐานที่ดีที่สุดเวลาไปลงทุนต่างแดน จึงเป็นวิธีแสดงความรับผิดชอบซึ่งจะทวีความสาคัญมากขึ้นเรื่อยๆ 8.6 การเปิดเผยมลพิษตามหลัก Pollutant Release and Transfer Register (PRTR) เกณฑ์ GRI: ไม่มี คาอธิบาย: ผู้มีส่วนได้เสียบางรายคาดหวังว่า บริษัทพลังงานควรแสดงความ “ก้าวหน้า” ของการแสดง ความรับผิดชอบต่อสังคม ด้วยการสมัครใจเปิดเผยข้อมูลมลพิ ษและสารอั นตรายต่ อสาธารณะ ตามหลัก Pollutant Release and Transfer Register (PRTR) 8.7 การร่วมมือกันจัดการกับผลกระทบหากอยู่ในพื้นที่ใกล้กัน เกณฑ์ GRI: ไม่มี ค าอธิ บ าย: ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย บางรายชี้ ว่ า บริ ษั ท พลั ง งานที่ ป ระกอบกิ จ การในพื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น ควร ประสานงานกันอย่างใกล้ชิดในกรณีที่เกิดผลกระทบ รวมถึงการจัดกิจกรรมอย่างเช่นการซ้อมรับมืออุบัติภัย เพื่อเสริมพลังการรับรู้และวิธีปฏิบัติตนให้กับชาวบ้าน และวางระบบการจัดการกับผลกระทบที่มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น การสร้างชุดดัชนีชี้วัดความรับผิดชอบ และช่วงคะแนน คณะวิจัยไม่นาประเด็นเฉพาะของรัฐวิสาหกิจ (หัวข้อ 1. ข้างต้น) และประเด็นอื่นๆ (หัวข้อ 8. ข้างต้น) มาสร้างชุดดัชนีชี้วัด ความรับผิดชอบ เนื่องจากประเด็นที่เกี่ยวกับรัฐวิสาหกิจครอบคลุมเพียง 2 องค์กร ส่วนประเด็นอื่นๆ นับเป็นประเด็นรองหรือ

13


ประเด็นการแสดงความรับผิดชอบขั้น “ก้าวหน้า” ในทัศนะของผู้มีส่วนได้เสีย ซึ่งคณะวิจัยจะนาประเด็นเหล่านี้มาวิเคราะห์ ประกอบการจัดทาบทวิเคราะห์และข้อสังเกตส่งท้าย ในส่วนสุดท้ายของรายงานฉบับย่อนี้ สาหรับประเด็นความรับผิดชอบที่เหลือ ในหัว ข้อ 2. ถึง 7. ข้างต้น คณะวิจัยได้สร้างชุดตัวชี้วัดสาหรับแต่ละประเด็น โดยใช้ หลักเกณฑ์ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. แบ่งระดับความรับผิดชอบในแต่ละประเด็นออกเป็นสามระดับ ได้แก่ “สูงกว่าปานกลาง” “ปานกลาง” และ “ต่า กว่าปานกลาง” 2. ประเด็นใดก็ตามทีเ่ กณฑ์ GRI กาหนดให้เปิดเผยข้อมูล แต่บริษัทไม่เปิดเผย จะถือว่าระดับความรับผิดชอบใน ประเด็นนั้นๆ “ต่ากว่าปานกลาง” โดยอัตโนมัติ 3. สาหรับประเด็นที่มีกฎหมายรองรับอย่างชัดเจน และไม่มีบริษัทใดละเมิดกฎหมาย เช่น รายงานอีไอเอ บริษัทที่ เปิดเผยข้อมูลตามกฎหมายจัดเป็น “ปานกลาง” ส่วนระดับ “ดีกว่าปานกลาง” กาหนดจากระดับการจัดการหรือ การเปิดเผยข้อมูลที่ดีกว่าที่กฎหมายกาหนด 4. สาหรับประเด็นที่มีกฎหมายรองรับอย่างชัดเจน และระบุอยู่ในเกณฑ์ตัวชี้วัด GRI แต่บริษัทเปิดเผยไม่ครบถ้วน เช่น มลพิษทางอากาศ บริษัทที่เปิดเผยข้อมูล แต่ไม่ครบตามข้อกาหนดที่กฏหมายและตัวชี้วัด GRI มีร่วมกัน จัดเป็น “ปานกลาง” ส่วนระดับ “ดีกว่าปานกลาง” กาหนดจากระดับการจัดการหรือการเปิดเผยข้อมูลที่ครบตาม ข้อกาหนดที่กฎหมายและเกณฑ์ GRI มีร่วมกัน 5. สาหรับประเด็นที่ถูกหยิบยกโดยผูม้ ีส่วนได้เสียที่มีประสบการณ์ตรง เช่น เสียงรบกวน การซ้อมอุบัติภยั แบ่งช่วง คะแนนโดยใช้สดั ส่วนของผูม้ ีส่วนได้เสียทีร่ ะบุว่าได้รับผลกระทบ 6. สาหรับประเด็นที่ถูกหยิบยกโดยตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียว่าเป็นความคาดหวังสาหรับบริษัทพลังงาน เช่น การลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก การลงทุนในพลังงานหมุนเวียน แบ่งช่วงคะแนนโดยใช้การเปิดเผยข้อมูลของบริษัทเป็น “ค่า ปานกลาง” และการประกาศเป้าหมายที่ชัดเจนเป็น “สูงกว่าปานกลาง” 7. สาหรับประเด็นที่ไม่มีกฎหมายกาหนดอย่างชัดเจน เช่น งบประมาณซีเอสอาร์ การลงทุนในพลังงานหมุนเวียน และ การจัดการขยะด้วยวิธี Recycle, Reuse, Recover ใช้วิธีเปรียบเทียบแต่ละบริษัท กับบริษัทอื่นอีก 9 บริษัทใน งานวิจัยชิ้นนี้ (relative ranking) โดยใช้ค่ามัธยฐาน (median) บวกลบค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (standard deviation) เพื่อกาหนดระดับ “ปานกลาง” หรือกาหนดให้บริษัทที่ดีที่สุด 3 อันดับ “ดีกว่าปานกลาง” สามอันดับ รองลงมา “ปานกลาง” และสี่อันดับสุดท้าย “ต่ากว่าปานกลาง” 8. สาหรับประเด็นการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ทั้งในบริษัทและตลอดสายห่วงโซ่อุปทาน คณะวิจยั เห็นว่าประเด็นนีจ้ ะ ทวีความสาคัญยิ่งขึ้นในไทยตามกระแสการพัฒนาโลก โดยเฉพาะเมือ่ บริษัทพลังงานหลายแห่งได้ขยายกิจการเข้าไป ในประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้นเรื่อยๆ ส่งผลให้ห่วงโซ่อุปทานมีความยาวและสลับซับซ้อนยิ่งกว่าเดิม เพิ่มความเสี่ยงที่ จะเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนในห่วงโซ่อุปทาน ยังไม่นับว่าการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนเป็น ส่วนหนึ่งของมาตรฐาน GRI และมาตรฐานความรับผิดชอบอื่นๆ ด้วยเหตุนี้ คณะวิจัยจึงกาหนดการให้คะแนน “ปาน กลาง” เท่ากับ “การจัดทาการประเมินความเสีย่ งด้านสิทธิมนุษยชนในองค์กรและห่วงโซ่อุปทาน หรือ Human Rights Risk Assessment เนื่องจากกระบวนการดังกล่าว หรือเรียกอีกชื่อว่า Human Rights Due Diligence นับเป็นจุดเริ่มต้นที่ขาดไม่ได้ในการแสดงความรับผิดชอบด้านนี้ของบริษัท (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก หลักการ ชี้แนะเรื่องสิทธิมนุษยชนสาหรับธุรกิจ (Guiding Principles on Business and Human Rights) องค์การ สหประชาชาติ) จากเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น คณะวิจัยสามารถสรุปชุดดัชนีชี้วัด แบ่งตามช่วงคะแนนได้ตามตารางด้านล่าง 14


ดัชนีชี้วัดความรับผิดชอบของบริษัทพลังงานขนาดใหญ่ ช่วงคะแนนและคาอธิบาย คะแนน เกณฑ์

ผู้มีส่วนได้ เสีย สิ่งแวดล้อม มลพิษทาง อากาศ

มลพิษทางน้า

ก๊าซเรือน กระจก

ขยะอันตราย

2 สูงกว่ำปำนกลำง

1 ปำนกลำง

เปิดเผยครบถ้วน ตามข้อกาหนดที่ กฏหมายและ ตัวชี้วัด GRI มี ร่วมกัน

0 ต่ำกว่ำปำนกลำง แหล่งข้อมูล

เปิดเผย แต่ไม่ ไม่เปิดเผย ครบถ้วนตาม ข้อกาหนดที่ กฏหมายและ ตัวชี้วัด GRI มี ร่วมกัน เปิดเผยตัวเลขและ เปิดเผยตัวเลข ไม่ ไม่เปิดเผย อธิบาย เปิดเผย กระบวนการ กระบวนการจัดการ จัดการ เปิดเผยปริมาณ เปิดเผยปริมาณก๊าซ ไม่เปิดเผย ก๊าซเรือนกระจกที่ เรือนกระจกที่ปล่อย ปล่อย อย่างน้อย อย่างน้อย scope 1 scope 1 และ ประกาศเป้าหมาย การลดเป็นตัวเลข มีปริมาณจัดการ มีปริมาณจัดการ ไม่เปิดเผย หรือ มี ด้วยการ Recycle ด้วยการ Recycle ปริมาณจัดการ + Recover + + Recover + ด้วยการ Reuse > 79% Reuse อยู่ระหว่าง Recycle + 64% < x < 79% Recover + Reuse < 64%

ขยะไม่อันตราย มีปริมาณจัดการ ด้วยการ Recycle + Recover + Reuse > 86%

มีปริมาณจัดการ ด้วยการ Recycle + Recover + Reuse อยู่ระหว่าง 54% < x < 86%

วิธีแบ่งช่วง คะแนน รายงานความ ระดับการ ยั่งยืน เปิดเผยข้อมูล

รายงานความ ระดับการ ยั่งยืน เปิดเผยข้อมูล

รายงานความ ระดับการ ยั่งยืน เปิดเผยข้อมูล

รายงานความ จัดอันดับโดย ยั่งยืน เปรียบเทียบ (relative ranking)

ไม่เปิดเผย หรือ มี รายงานความ จัดอันดับโดย ปริมาณจัดการ ยั่งยืน เปรียบเทียบ ด้วยการ (relative Recycle + ranking) Recover + Reuse < 54%

15


ผู้มีส่วนได้ เสีย

คะแนน เกณฑ์

2 สูงกว่ำปำนกลำง

1 ปำนกลำง

0 ต่ำกว่ำปำนกลำง แหล่งข้อมูล

การลงทุนใน พลังงาน หมุนเวียน

เปิดเผยการลงทุน ในพลังงาน หมุนเวียน และ ประกาศเป้าการ ลงทุนเป็นตัวเลข

เปิดเผยการลงทุน ในพลังงาน หมุนเวียน

ไม่เปิดเผย

คะแนนรวมใน หมวดนี้ ชุมชนผลกระทบ

12

6

วิธีแบ่งช่วง คะแนน รายงานความ ระดับการ ยั่งยืน เปิดเผยข้อมูล

0

เสียงรบกวน

ปัญหา < 5% (จากสัมภาษณ์ กลุ่มชุมชน)

ปัญหา < 10%

ปัญหา > 10%

สัมภาษณ์ผู้มี ส่วนได้เสีย

สะท้อนจากผูม้ ี ส่วนได้เสีย

การแย่งใช้น้า

ปัญหา < 5% (จากสัมภาษณ์ กลุ่มชุมชน)

ปัญหา < 10%

ปัญหา > 10%

สัมภาษณ์ผู้มี ส่วนได้เสีย

สะท้อนจากผูม้ ี ส่วนได้เสีย

ปัญหาสังคม

ปัญหา < 5% (จากสัมภาษณ์ กลุ่มชุมชน) ไม่มเี หตุฉุกเฉิน

ปัญหา < 10%

ปัญหา > 10%

สัมภาษณ์ผู้มี ส่วนได้เสีย

สะท้อนจากผูม้ ี ส่วนได้เสีย

(ไม่มีระดับนี้)

เกิดเหตุฉุกเฉิน อย่างน้อย 1 ครั้ง

รายงานความ ระดับการ ยั่งยืน เปิดเผยข้อมูล

ซีเอสอาร์

บริษัทที่ % งบต่อ รายได้สูงสุดอันดับ ที่ 1-3 ในบรรดา 10 บริษัท

บริษัทที่ % งบต่อ รายได้สูงสุดอันดับที่ 4-6 ในบรรดา 10 บริษัท

การรับเรื่อง ร้องเรียนและ กระบวนการ เยียวยา

รายงาน 1) ช่องทางรับเรื่อง ร้องเรียน และ 2) กระบวนการรับ เรื่องและการ จัดการ และ 3) สถิติข้อร้องเรียน

อุบัติภัย สารเคมี

บริษัทที่ % งบต่อ รายงานความ จัดอันดับโดย รายได้สูงสุด ยั่งยืน เปรียบเทียบ อันดับที่ 7-10 ใน (relative บรรดา 10 บริษัท ranking) / ไม่เปิดเผยข้อมูล รายงาน 1) ช่องทาง ไม่เปิดเผย รายงานความ ระดับการ รับเรื่องร้องเรียน ยั่งยืน เปิดเผยข้อมูล และ/หรือ 2) กระบวนการรับ เรื่องและการจัดการ และ/หรือ 3) สถิติ ข้อร้องเรียนและ 16


ผู้มีส่วนได้ เสีย

ชุมชน-การ ป้องกัน

คะแนน เกณฑ์

2 สูงกว่ำปำนกลำง

1 ปำนกลำง

และการจัดการ การจัดการ ภายใน ภายในปีนั้นๆ ครบ ปีนน้ั ๆ ได้เพียง 1-2 ทั้ง 3 ข้อ ข้อ จากสามข้อ ข้างต้น คะแนนรวมใน 12 5 หมวดนี้ รายงานอีไอเอ ดีกว่ากฎหมาย ทาตามกฎหมาย (เช่น เปิดเผยต่อ (ส่งรายงานอีไอเอ สาธารณะ เปิดร่าง ให้ สผ. ซึ่งเป็น รายงานอีไอเอต่อ หน่วยงานที่ ชุมชน) รับผิดชอบ) การซ้อมรับมือ ซ้อมกับชุมชน ซ้อมกับชุมชนอย่าง อุบัติภัย อย่างทั่วถึงและ ทั่วถึง สม่าเสมอ/ชุมชน พอใจ การให้ข้อมูล ชาวบ้านได้รับ ชาวบ้านได้รับข้อมูล เกี่ยวกับ ข้อมูล / บริษัท / บริษัท passive ผลกระทบ proactive ในการ ในการให้ข้อมูล ให้ข้อมูล (เช่น (เช่น แจกวารสาร ติดตั้งเครื่องมือ การเยี่ยมชมหรือ ตรวจวัด เยี่ยมชม เข้ามาพูดคุยเฉพาะ โรงงาน คุยกับ เวลาที่มีโครงการ) หัวหน้าชุมชน อย่างสม่าเสมอ) การมีส่วนร่วม ชาวบ้านได้เข้า ชาวบ้านได้เข้า ในการดาเนิน ประชุมรับฟังความ ประชุมรับฟังความ กิจการ คิดเห็นอย่าง คิดเห็นก่อนเริ่มทา สม่าเสมอ ได้แสดง โครงการ และได้ ความคิดเห็น แสดงความคิดเห็น บริษัทรับฟังความ คิดเห็นและนาไป ปรับปรุง คะแนนรวมใน 8 4 หมวดนี้

0 ต่ำกว่ำปำนกลำง แหล่งข้อมูล

วิธีแบ่งช่วง คะแนน

0 ต่ากว่ากฎหมาย

กฎหมายอีไอ เอ

การปฏิบัตติ าม กฎหมายอีไอเอ

ไม่ทั่วถึง/ ชุมชน ระบุให้ปรับปรุง

สัมภาษณ์ผู้มี ส่วนได้เสีย

สะท้อนจากผูม้ ี ส่วนได้เสีย

ชาวบ้านไม่รู้ ข้อมูล

สัมภาษณ์ผู้มี ส่วนได้เสีย

สะท้อนจากผูม้ ี ส่วนได้เสีย

ชาวบ้านไม่ได้เข้า สัมภาษณ์ผู้มี ประชุมกับบริษัท ส่วนได้เสีย หรือได้เข้าประชุม แต่ไม่มีโอกาสได้ แสดงความ คิดเห็น

สะท้อนจากผูม้ ี ส่วนได้เสีย

0

17


ผู้มีส่วนได้ เสีย ผู้บริโภค (เฉพาะ บริษัทที่มี ปั๊มน้ามัน)

แรงงาน

3

คะแนน เกณฑ์

2 สูงกว่ำปำนกลำง

1 ปำนกลำง

สถานีบริการ น้ามัน (ปัม๊ ) ระดับ "ทอง" และ "เงิน"3 คะแนนรวมใน หมวดนี้ การปฏิบัติที่ เป็นธรรมต่อ ลูกจ้าง

บริษัทที่ % ปั๊ม "ทอง" สูงสุด อันดับที่ 1-2

บริษัทที่ % ปั๊ม บริษัทที่ % ปั๊ม "ทอง" สูงสุด อันดับ "ทอง" อันดับ 3-4 สุดท้าย 2

บริษัท proactive ในการดูแลลูกจ้าง โดยตรง (ได้คาชม จาก FGD เกี่ยวกับ นโยบาย หรือ practice ของ บริษัทที่ต่อต้าน การเลือกปฏิบัติ อย่างชัดเจน) การปฏิบัติที่ บริษัท proactive เป็นธรรมต่อ ในการดูแล subsub contract contract (เช่น มี กลไกการคัดเลือก supplier โดยมี เกณฑ์การปฏิบตั ิ ต่อ subcontract, มี กระบวนการ audit คู่ค้าตลอด สาย) การมีส่วนร่วม บริษัท proactive ของแรงงาน ในการดูแลลูกจ้าง โดยตรง (ได้คาชม จากพนักงาน)

0 ต่ำกว่ำปำนกลำง แหล่งข้อมูล

1

กรมธุรกิจ พลังงาน

วิธีแบ่งช่วง คะแนน จัดอันดับโดย เปรียบเทียบ (relative ranking)

0

ไม่พบปัญหา / พบ ปัญหาการเลือก ปฏิบัติ (เพศ อายุ คนกลุ่มน้อย) แต่มี การจัดการแก้ไข

มีปัญหา / กรณี สัมภาษณ์ผู้มี ร้องเรียนการ ส่วนได้เสีย เลือกปฏิบตั ิ (เพศ อายุ คนกลุ่มน้อย) แต่ไม่มีการ อธิบายการจัดการ แก้ไข หรือ ไม่ได้ รับการแก้ไข

สะท้อนจากผูม้ ี ส่วนได้เสีย

มี initiative/innovati on ในการจัดการ การปฏิบัติทไี่ ม่เป็น ธรรมต่อพนักงาน ประเภท subcontract

ไม่มีกลไกการ สัมภาษณ์ผู้มี จัดการการปฏิบตั ิ ส่วนได้เสีย ที่ไม่เป็นธรรม โดยอ้างว่าไม่มีข้อ ผูกพันตาม กฏหมาย

สะท้อนจากผูม้ ี ส่วนได้เสีย

ไม่พบปัญหา (ปฏิบัติตาม กฏหมาย)

มีปัญหา / กรณี สัมภาษณ์ผู้มี ร้องเรียน (หรือ ส่วนได้เสีย กีดกัน/ไม่ สนับสนุนไม่ให้ตั้ง สหภาพ, ไม่รับ เรื่องร้องเรียน)

สะท้อนจากผูม้ ี ส่วนได้เสีย

มาตรฐานในโครงการ “ปั๊มคุณภาพ ปลอดภัย น่าใช้บริการ” ของกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน

18


ผู้มีส่วนได้ เสีย

สิทธิ มนุษยชน

คะแนน เกณฑ์

2 สูงกว่ำปำนกลำง

คะแนนรวมใน 6 หมวดนี้ การคุ้มครอง มีการประเมิน สิทธิมนุษยชน ความเสีย่ งด้าน สิทธิมนุษยชนใน องค์กรและห่วงโซ่ อุปทาน กลไกรับ เรื่องร้องเรียน และ กลไกตรวจสอบ และติดตามผล คะแนนรวมใน 2 หมวดนี้ คะแนนรวม (ก่อนถ่วง น้ำหนัก)

42

1 ปำนกลำง

0 ต่ำกว่ำปำนกลำง แหล่งข้อมูล 3

วิธีแบ่งช่วง คะแนน

0

มีการประเมินความ ไม่เปิดเผย เสี่ยงด้านสิทธิ มนุษยชนในองค์กร และห่วงโซ่อุปทาน

รายงานความ ระดับการ ยั่งยืน เปิดเผยข้อมูล

1

0

20

0

19


ผลกำรประเมินระดับควำมรับผิดชอบ จำแนกตำมหมวดดัชนีชี้วัด ในช่วงสุดท้ายของโครงการวิจัย คณะวิจัยได้นาชุดตัวชี้วัดระดับความรับผิดชอบดังอธิบายข้างต้น มาทดสอบประเมินความ รับผิดชอบของบริษัทพลังงานทั้ง 10 แห่ง ประจาปี พ.ศ. 2557 โดยสามารถสรุปผลการประเมินรายหมวดได้ดังนี้

ดัชนีชี้วัดสิ่งแวดล้อม แผนภาพด้านล่างแสดงผลการประเมินระดับความรับผิดชอบหมวดดัชนีชี้วัดสิ่งแวดล้อม ซึ่งประกอบด้วยตัวชี้วัด 6 ด้าน ได้แก่ มลพิษทางอากาศ มลพิษทางน้า ก๊าซเรือนกระจก ขยะไม่อันตราย ขยะอันตราย และการลงทุนในพลังงานหมุนเวียน บริษัทที่ ได้คะแนนด้านสิ่งแวดล้อมสูงที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ BCP และ RATCH (ร้อยละ 66.7 ของคะแนนเต็มเท่ากัน) TOP และ IRPC (ร้อยละ 58.33) บริษัทที่ได้คะแนนสูงสุด 3 อันดับ จากการประเมินระดับความรับผิดชอบหมวดดัชนีชี้วัดสิ่งแวดล้อม

ดัชนีชี้วัดสิ่งแวดล้อม - บริษัทที่ได้คะแนนสูงสุด 3 อันดับแรก 100% 80% 66.67%

66.67%

58.33%

60%

58.33% 45.83%

40% 20% 0% BCP

RATCH

TOP

IRPC

ค่าเฉลี่ย

มลพิษทางอากาศ

มลพิษทางน้า

ก๊าซเรือนกระจก

ขยะไม่อันตราย

ขยะอันตราย

การลงทุนในพลังงานหมุนเวียน

ดัชนีชี้วัดชุมชน-ผลกระทบ แผนภาพด้านล่างแสดงผลการประเมินระดับความรับผิดชอบหมวดดัชนีชี้วัดชุมชน-ผลกระทบ ซึ่งประกอบด้วยตัวชี้วัด 6 ด้าน ได้แก่ เสียงรบกวน การแย่งใช้น้า ปัญหาสังคม อุบัติภัยสารเคมี ซีเอสอาร์ และการรับเรื่องร้องเรียนและเยียวยาผลกระทบต่อ ชุมชน บริษัทที่ได้คะแนนด้านนี้สูงที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ RATCH (คิดเป็นร้อยละ 100) โดยได้คะแนนเต็มในทุกตัวชี้วัด, EGCO, BCP และ EGAT (ได้คะแนนเท่ากันคือร้อยละ 75 จากคะแนนเต็ม)

20


ผลการประเมินระดับความรับผิดชอบหมวดดัชนีชี้วัดชุมชน-ผลกระทบ

ดัชนีชี้วัดชุมชน-ผลกระทบ - บริษัทที่ได้คะแนนสูงสุด 3 อันดับแรก 100%

100.00%

90%

80%

75.00%

75.00%

75.00%

70% 64.17%

60% 50% 40% 30% 20% 10% 0% RATCH เสียงรบกวน

EGCO การแย่งใช้น้า

ปัญหาสังคม

BCP อุบัติภัยสารเคมี

EGAT ซีเอสอาร์

ค่าเฉลี่ย

การรับเรื่องร้องเรียนและการเยียวยา

ดัชนีชี้วัดชุมชน-การป้องกัน แผนภาพด้านล่าง แสดงผลการประเมินระดับความรับผิดชอบหมวดดัชนีชี้วัดชุมชน-การป้องกัน ซึ่งประประกอบด้วยตัวชี้วัด 4 ด้าน ได้แก่ รายงานอีไอเอ การซ้อมรับมืออุบัติภัย การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบ และการมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจการ บริษัทที่ได้คะแนนด้านชุมชน-การป้องกันสูงที่สุดคือ BCP (คิดเป็นร้อยละ 87.5) โดยได้คะแนนเต็ม 3 จาก 4 ด้าน TOP และ PTT ทาคะแนนได้เป็นอันดับสอง (ร้อยละ 75) ตัวชี้วัดที่บริษัทสามารถทาคะแนนได้ดีคือการให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบ ซึ่งมี บริษัททีไ่ ด้คะแนนเต็ม 4 บริษัท

21


ผลการประเมินระดับความรับผิดชอบหมวดดัชนีชี้วัดชุมชน-การป้องกัน

ดัชนีชี้วัดชุมชน-กำรป้องกัน บริษัทที่ได้คะแนนสูงสุด 3 อันดับแรก 100.00% 80.00%

87.50% 75.00%

75.00%

60.00%

43.75%

40.00% 20.00% 0.00%

BCP

TOP

PTT

ค่าเฉลี่ย

รายงานอีไอเอ

การซ้อมรับมืออุบัติภัย

การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบ

การมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจการ

ดัชนีชี้วัดผู้บริโภค แผนภาพด้านล่างแสดงผลการประเมินระดับความรับผิดชอบหมวดดัชนีชี้วัดผู้บริโภค ซึ่งประเมินจากการให้รางวัลสถานีบริการ น้ามันระดับ “ทอง” และ “เงิน” ในโครงการ “ปั๊มคุณภาพ ปลอดภัย น่าใช้บริการ” ของกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน ในหมวดนี้มีเพียง 4 บริษัททีไ่ ด้รับการประเมิน ได้แก่ BCP, IRPC, PTT และ ESSO เนื่องจากดาเนินกิจการสถานีบริการน้ามัน โดยบริษัทที่ทาคะแนนได้เต็มในหมวดนี้คือ IRPC และ PTT

22


ผลการประเมินระดับความรับผิดชอบหมวดดัชนีชี้วัดผู้บริโภค

ดัชนีชี้วัดผู้บริโภค 100%

100.00%

100.00%

80%

75.00%

60% 40% 20% 0% IRPC

PTT ปั๊มน้ามันระดับ "ทอง" และ "เงิน"

ค่าเฉลี่ย

ดัชนีชี้วัดแรงงาน แผนภาพด้านล่างแสดงผลการประเมินระดับความรับผิดชอบหมวดดัชนีชี้วัดแรงงาน ซึ่งประกอบด้วยตัวชี้วัด 3 ด้าน ได้แก่ การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อลูกจ้าง การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อลูกจ้างรับเหมาช่วง (sub-contract) และการมีส่วนร่วมของแรงงาน มีเพียงสองบริษัทที่ได้คะแนนด้านแรงงานอย่างน้อยร้อยละ 50 ของคะแนนเต็มในหมวดนี้ ได้แก่ PTT และ EGAT ซึ่งได้ คะแนนร้อยละ 50 ทั้งสองบริษัท โดย PTT เป็นบริษัทเดียวที่ได้คะแนนด้านการปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อ sub-contract ขณะที่ บริษัทอื่นไม่มีคะแนนในด้านนี้ และ EGAT เป็นบริษัทเดียวที่ได้คะแนนเต็มด้านการมีส่วนร่วมของแรงงาน

23


ผลการประเมินระดับความรับผิดชอบหมวดดัชนีชี้วัดแรงงาน

ดัชนีชี้วัดแรงงำน บริษัทที่ได้คะแนนสูงสุด 3 อันดับแรก 100% 80% 60%

50.00%

50.00%

40%

20.83%

20% 0% PTT การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อลูกจ้าง

EGAT

ค่าเฉลี่ย

การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อ sub contract

การมีส่วนร่วมของแรงงาน *หมายเหตุ: คณะวิจยั ไม่สามารถสัมภาษณ์สหภาพแรงงานหรือฝ่ายทรัพยากรบุคคลของ EGCO และ BANPU

ดัชนีชี้วัดสิทธิมนุษยชน การประเมินระดับความรับผิดชอบหมวดดัชนีชี้วัดสิทธิมนุษยชนประเมินจากตัวชี้วัดการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ซึ่งหมวดนี้เป็น หมวดที่ไม่มีบริษัทใดได้คะแนนเลย โดยทั้ง 10 บริษัทไม่เปิดเผยข้อมูลว่ามีการจัดทาการทบทวนหรือประเมินความเสี่ยงด้าน สิทธิมนุษยชน (human rights review/ human rights risk assessment)

24


ข้อสังเกตจากผลการทดสอบชุดตัวชี้วัดระดับความรับผิดชอบ โดยใช้ข้อมูลปี 2557 เป็นฐาน จากผลการทดสอบชุดตัวชี้วัดระดับความรับผิดชอบโดยใช้ข้อมูลปี พ.ศ. 2557 เป็นฐาน คณะวิจัยมีข้อสังเกตบางประการ ดังต่อไปนี้ 1. ประเด็นที่บริษัทโดยรวมได้คะแนนสูงที่สุด โดยทั้ง 10 บริษัทได้คะแนน “สูงกว่าปานกลาง” คือ การใช้น้า เนื่องจาก สมาชิกในชุมชนรอบสถานประกอบการหลักของแต่ละบริษัทในพื้นที่วิจัยเชิงคุณภาพต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ไม่ ประสบปัญหาการแย่งใช้น้าจากโรงงาน ถึงแม้ประเด็นนี้จะเป็นข้อกังวลอันดับต้นๆ ก็ตาม 2. ประเด็นที่บริษัทโดยรวมได้คะแนนสูงเป็นอันดับสอง คือ อุบัติภัยสารเคมี โดยบริษัทแปดแห่งไม่มีการรั่วไหลในระดับ ที่มีนัยสาคัญ (significant spill หมายถึงมีการรั่วไหลมากกว่า 150 ลิตร หรือ 100 บาร์เรล) ในปี พ.ศ. 2557 มีสอง บริษัทที่มีการรั่วไหลระดับที่มีนัยสาคัญ คือ PTT และ BANPU 3. ประเด็นที่บริษัทโดยรวมได้คะแนนต่าที่สุด โดยไม่มีบริษัทใดได้คะแนน “ปานกลาง” คือ การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เนื่องจากเกณฑ์ “ปานกลาง” คือ การประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน (human rights risk assessment) ทั้ง ในบริษัทเองและในห่วงโซ่อุปทานของบริษัท ซึ่งไม่มีบริษัทใดระบุว่ามีการจัดทาในปี พ.ศ. 2557 ยกเว้น PTT ซึง่ ระบุ ว่าจะจัดทาในปี พ.ศ. 2558 และตั้งเป้าจะดาเนินการตามผลการประเมินในปี พ.ศ. 2559 โดยบริษัทอื่นเปิดเผย ข้อมูลในส่วนนี้ว่า การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการคัดกรองคู่ค้า (supplier screening) แต่ ไม่ระบุอย่างชัดเจนว่ากระบวนการนี้เพียงแต่กาหนดให้ คู่ค้าแจ้งคุณสมบัติของตนโดยสมัครใจ หรือว่าบริษัทมี กระบวนการตรวจสอบ (due diligence) อย่างจริงจัง บางบริษัทระบุแต่เพียงกว้างๆ ว่า บริษัทเคารพและปฏิบัติ ตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และ/หรือบริษัทกาหนดให้คู่ค้าต้องปฏิบัติตามกฎหมาย แต่มิได้เปิดเผย สัดส่วนสัญญาการลงทุนและสัดส่วนปฏิบัติการของบริษัทที่ผ่านการทบทวนด้านสิทธิมนุษยชน (human rights review) หรือการประเมินความเสี่ยง/ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน (human rights risk/impact assessment) ซึ่ง เป็นดัชนีความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชนพื้นฐานในเกณฑ์ GRI (ข้อ HR1, HR9) 4. ประเด็นที่บริษัทโดยรวมได้คะแนนต่าเป็นอันดับสอง คือ การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อลูกจ้างเหมาช่วง (sub-contract) ซึ่งเป็นประเด็นที่ตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียด้านแรงงานให้ความสาคัญ ประเด็นนี้บางบริษัทมองว่า เป็นความรับผิดชอบ ของผู้รับเหมาที่ว่าจ้างลูกจ้างเหมาช่วงโดยตรง มิใช่ความรับผิดชอบของบริษัท บางบริษัทเมื่อได้รับทราบเหตุละเมิด สิทธิลูกจ้างเหมาช่วงก็เข้าไปกดดันให้คู่ค้าปฏิบัติอย่างเป็นธรรม แต่ยังมิได้วางกลไกการจัดการอย่างเป็นระบบ สหภาพแรงงานบางบริษัทระบุว่า มีแผนที่จะนาลูกจ้างเหมาช่วงมาอยู่ในบริษัทในเครือ เพื่อให้บริษัทสามารถดูแล เรื่องสวัสดิการและการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมได้ดีขึ้น 5. คะแนนในหมวดผลกระทบต่อชุมชน (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 64.17 จากคะแนนเต็ม) สูงกว่าหมวดการป้องกันผลกระทบต่อ ชุมชน (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 43.75) อย่างมีนัยสาคัญ และบริษัทจานวนไม่ถึงครึ่งได้คะแนนในหมวดการป้องกัน ผลกระทบต่อชุมชนสูงกว่าหมวดผลกระทบต่อชุมชน (ได้แก่ BCP, TOP, PTT และ ESSO) ข้อมูลดังกล่าวสะท้อนว่า ในภาพรวม ทุกบริษัทสามารถควบคุมปฏิบัติการระดับโรงงาน (โรงกลั่นหรือโรงไฟฟ้า) ให้มีความปลอดภัยและไม่ ส่งผลกระทบในสาระสาคัญต่อชุมชนใกล้เคียง (ยกเว้นประเด็นที่ก่อให้เกิดความราคาญบางประเด็น เช่น เสียง กลิ่น และการจราจรพลุกพล่าน) แต่หลายบริษัทอาจยังไม่ให้ความสาคัญอย่างเพียงพอกับการเปิดให้ชุมชนมีส่วนร่วมกับ การดาเนินการเชิงรุก (proactive) เพื่อบรรเทาความกังวลและเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการสื่อสาร เช่น การเปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบจากโรงงานในภาษาที่ชาวบ้านเข้าใจง่าย เข้าถึงได้ เปิดโรงงานให้ชาวบ้านเยีย่ มชมและซ้อม การอพยพอย่างสม่าเสมอ เป็นต้น 25


6. ด้านการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นประเด็นที่เกณฑ์ GRI และผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม ผู้บริโภค และธรรมาภิ บาลสิ่งแวดล้อมให้ความสาคัญเป็นอันดับต้นๆ บริษัทส่วนใหญ่รายงานปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดอ็อกไซด์ เทียบเท่าของบริษัทในปี พ.ศ. 2557 (scope 1 และ scope 2) มีเพียง ESSO ที่ไม่รายงาน ส่วน EGAT เลือกรายงาน เพียงโรงไฟฟ้าหลัก มิได้รายงานปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของทั้งองค์กร อย่างไรก็ดี มีเพียง PTT และ BANPU เท่านั้นที่ประกาศเป้าการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นตัวเลข ซึ่งเป็นระดับที่เข้าข่าย “สูงกว่าปาน กลาง” ในชุดตัวชี้วัดของคณะวิจัย

“วิถีปฏิบัติอันเป็นเลิศ” ในทัศนะของผู้มีส่วนได้เสีย ตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียหลายรายคาดหวังว่าบริษัทพลังงานขนาดใหญ่ควรดาเนินการในลักษณะที่ “พ้น” ไปจากการแสดงความ รับผิดชอบขั้นพื้นฐาน เช่น ไม่มีอุบัติภัยร้ายแรง จัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) ตามกฎหมาย ไม่ปล่อยมลพิษ ทางอากาศเกินกว่าค่าที่กฎหมายกาหนด ฯลฯ แต่ควรดาเนินการในระดับ “วิถีปฏิบัติอันเป็นเลิศ ” (best practice) ซึ่งใน ทัศนะของผู้มีส่วนได้เสียประเมินได้จากบางประเด็นต่อไปนี้ 1. การสื่อสารทางเลือกต่างๆ และความจาเป็นของการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ (สาหรับ EGAT และ PTT ในฐานะ รัฐวิสาหกิจ): การอธิบายทั้ง “ความจาเป็น” ของการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ๆ และ “ทางเลือก” ในการก่อสร้าง โรงไฟฟ้าอย่างชัดเจน เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมที่ EGAT และ PTT พึงกระทา ในฐานะรัฐวิสาหกิจที่ มีบทบาทสาคัญในนโยบายพลังงานระดับชาติ 2. การทบทวนระดับพลังงานสารอง (EGAT และ PTT): เนื่องจากปัจจุบันรัฐ มักจะตัดสินใจอนุมัติก ารก่อ สร้ า ง โรงไฟฟ้าใหม่ๆ โดยอ้างเหตุผลเกี่ยวกับความมั่นคงทางพลังงานเป็นหลัก และความจาเป็นของการรักษาพลังงาน สารอง โดยเฉพาะกาลังการผลิตไฟฟ้าสารอง (reserve margin) ในระดับที่สูงกว่าสถิติการใช้จริงต่อเนื่อ งนาน หลายปี ผู้มีส่วนได้เสียมองว่า EGAT และ PTT จึงสมควรเพิ่มบทบาทในการเสนอให้รัฐทบทวนระดับพลังงาน สารองของชาติ 3. การผลักดันนวัตกรรมพลังงาน (EGAT และ PTT): EGAT และ PTT ควรเป็นผู้นาในการผลักดันนวัตกรรมพลังงาน ที่สอดคล้องกับหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน เช่น ประสิทธิภาพการจัดการพลังงาน พลังงานหมุนเวียน และเทคโนโลยี สะอาด 4. การมีเครื่องมือที่ชาวบ้านใช้ติดตามผลกระทบเองได้: ลาพังการให้ข้อมูลตามกระบวนการจัดทารายงานผลกระทบ สิ่งแวดล้อม และการติดตั้งป้ายแสดงค่าการปล่อยมลพิษต่างๆ หน้าโรงไฟฟ้าหรือโรงกลั่นนั้น ไม่เพียงพอต่อการ สร้างความมั่นใจให้กับชาวบ้าน และส่งเสริมสร้างศักยภาพของชาวบ้านในการดูแลตนเอง บริษัทควรยกระดับการ แสดงความรับผิดชอบด้วยการติดตั้งหรือแจกจ่ายเครื่องมือแบบพกพา เช่น เครื่องวัดมลพิษทางอากาศ ที่ชาวบ้าน สามารถใช้ติดตามผลกระทบได้ด้วยตนเอง 5. การยึดมาตรฐานที่ดีที่สุดเวลาไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน: การออกไปลงทุนข้ามพรมแดน โดยเฉพาะในประเทศ เพื่อนบ้านที่มีกลไกคุ้มครองประชาชนและสิ่ งแวดล้อมด้อยกว่าไทย อาทิ ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา อาจเป็น ช่องว่างให้บริษัทพลังงานใช้มาตรฐานที่ต่ากว่า ก่อผลกระทบเชิงลบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมในการดาเนินธุรกิจ ในทางกลับกัน เมื่อบริษัทไทยออกไปลงทุนในประเทศที่มีมาตรฐานสูงกว่าไทย เช่น ออสเตรเลีย บริษัทไทยย่อ ม ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานของประเทศนั้นๆ ด้วยเหตุนี้ การประกาศนโยบายว่าบริษัทจะยึดตามมาตรฐานที่ดีที่สุด เวลาไปลงทุนต่างแดน จึงเป็นวิธีแสดงความรับผิดชอบในระดับสูงซึ่งจะทวีความสาคัญมากขึ้นเรื่อยๆ 26


6. การเปิ ด เผยมลพิ ษ ตามหลัก Pollutant Release and Transfer Register (PRTR): บริ ษั ท พลั งงานควรแสดง ความ “ก้าวหน้า” ของการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ด้วยการสมัครใจเปิดเผยข้อมูลมลพิษและสารอันตราย ต่อสาธารณะ ตามหลัก Pollutant Release and Transfer Register (PRTR) เพื่อเปิดโอกาสให้สาธารณะมีส่วน ติดตามตรวจสอบและได้ข้อมูลเกี่ยวกับสารอันตรายที่เป็นปัจจุบัน 7. การร่วมมือกันจัดการกับผลกระทบหากอยู่ในพื้นที่ใกล้กัน : บริษัทพลังงานที่ประกอบกิจการในพื้นที่ใกล้เคียงกัน ควรประสานงานกันอย่างใกล้ชิดในกรณีที่เกิดผลกระทบ รวมถึงการจัดกิจกรรมอย่างเช่นการซ้อมรับมืออุบัติภัย เพื่อเสริมพลังการรับรู้และวิธีปฏิบั ติตนให้กับชาวบ้าน และวางระบบการจัดการกับผลกระทบที่มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น

ระดับความรับผิดชอบ กับความชัดเจนของนโยบายความยั่งยืน ประเด็นหนึ่งที่น่าสังเกต คือ ความเชื่อมโยงระหว่างระดับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม กับความชัดเจนของ นโยบายและกลยุทธ์ด้านความยั่งยืนของบริษัท จากการให้คะแนน การศึกษารายงานความยั่งยืน และการสัมภาษณ์ผู้บริหาร บริษัท คณะวิจัยพบว่าบริษัทที่ได้คะแนนความรับผิดชอบในเกณฑ์ของคณะวิจัยค่อนข้างสูง มักจะเป็นบริษัทที่ให้ความสาคัญ กับการกาหนดนโยบายด้านความยั่งยืน กลยุทธ์ด้านความยั่งยืน ลาดับความสาคัญของประเด็นความยั่งยืนต่างๆ อย่างชัดเจน และเนื้อหาเหล่านี้สะท้อนว่าเป็นผลลัพธ์จากการประเมินความเสี่ยงขององค์กร ประกอบกับการหารือกับผู้มีส่วนได้เสียแต่ละ กลุ่มอย่างรอบด้าน มิใช่การเขียนกว้างๆ ให้ครอบคลุมทุกประเด็น ดังสะท้อนในตารางด้านล่าง

ระดับการกาหนดนโยบาย กลยุทธ์ และเป้าหมายด้านความยั่งยืนของ 10 บริษัท ในรายงานความยั่งยืนประจาปี พ.ศ. 2557 และการสัมภาษณ์บริษัท BANPU a.

BCP

EGAT

EGCO b.

ESSO c.

GLOW

IRPC a.

PTT d.

RATCH

TOP

การกาหนดนโยบายด้านความยั่งยืนที่ชดั เจน การจัดอันดับความสาคัญของประเด็นความยั่งยืน ที่ชัดเจน

ไม่มี

มี

ไม่มี

มี

ไม่ปรากฏ

ไม่มี

ไม่มี

มีบ้าง

ไม่มี

มี

ไม่มี

มี

มี

ไม่มี

ไม่ปรากฏ

มี

มีบ้าง

มีบ้าง

มี

มี

การกาหนดกลยุทธ์ด้านความยั่งยืนที่ชัดเจน การระบุโอกาสและความท้าทายด้านความยั่งยืน ที่ชัดเจน

ไม่มี

มี

มี

มี

ไม่ปรากฏ

ไม่มี

ไม่มี

มี

ไม่มี

มี

มีบ้าง

มีบ้าง

มีบ้าง

มี

ไม่ปรากฏ

มีบ้าง

มีบ้าง

มี

มี*

มีบ้าง

ไม่มี

มี*

มีบ้าง

การกาหนดเป้าความยั่งยืนรายปีที่ชัดเจน มี* ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่ปรากฏ หมายเหตุ: * ระบุเพียงประเด็นเดียว คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ a. คณะวิจัยไม่สามารถสัมภาษณ์บริษัท b. คณะวิจัยไม่สามารถสัมภาษณ์บริษัทและใช้รายงานความยั่งยืนประจาปี พ.ศ.2556 ในการพิจารณา c. มิได้จัดทารายงานความยั่งยืน d. คณะวิจัยไม่สามารถสัมภาษณ์บริษัทโดยตรง โดยบริษัทตอบคาถามทางอีเมล

27


ข้อเสนอแนะจากคณะวิจยั ประการแรก บริษัทพลังงานขนาดใหญ่ควรให้ความสาคัญกับการปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสียที่รอบด้านและอย่างสม่าเสมอ มากขึ้น โดยเฉพาะตัวแทนองค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม แรงงาน และผู้บริโภค เพื่อทาความเข้าใจกับประเด็นกังวล ความต้องการ และความคาดหวังจากผู้มีส่วนได้เสีย เนื่องจากสภาพปัญหาและสถานการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิน กิจการของบริษัทพลังงานมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ระดับความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียเปลี่ยนแปลงตามไป ด้วย ยกตัวอย่างเช่น ย้อนไปทศวรรษ 1980 การลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกมิใช่ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียให้ความสาคัญ เนื่องจากความเชื่อมโยงระหว่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับการผลิตพลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลยังมิได้เข้าสูก่ ารรับรู้ ของคนในวงกว้าง และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศยังมิได้รุนแรงจนถึงขั้นทาให้อากาศแปรปรวนและภัยธรรมชาติทวี ความผันผวนอย่างในปัจจุบัน แต่วันนี้ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายต่างให้ความสาคัญ และคาดหวังให้บริษัทพลังงานมีบทบาทในการ เปลี่ยนวิถีธุรกิจเข้าสู่พลังงานที่ยั่งยืน ดังนั้น ถ้าหากบริษัทมิได้วางกระบวนการปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสียอย่างรอบด้าน และสม่าเสมอ ก็เป็นการยากที่บริษัทจะรับรู้ความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่มที่เป็นปัจจุบัน มิพัก ต้องพูดถึงการสร้างความไว้วางใจระหว่างกัน ประการที่สอง คณะวิจัยพบว่า การกาหนดและเปิดเผยนโยบาย กลยุทธ์ และเป้าหมายด้านความยั่งยืนที่ชัดเจน โดยตั้งต้นจาก การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย ประกอบกับการประเมินความเสี่ยงด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทนั้น มีความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสาคัญกับระดับความรับผิดชอบของบริษัท กล่าวคือ บริษัทที่เปิดเผยนโยบาย กลยุทธ์ และเป้าหมายความยั่งยืน อย่างชัดเจนเป็นเหตุเป็นผล สอดคล้องกับโอกาสและความเสี่ยงด้านความยั่งยืนที่บริษัทวิเคราะห์ และผลจากการปรึกษาหารือ กับผู้มีส่วนได้เสีย มีแนวโน้มที่จะมีระดับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมสูงกว่าบริษัทที่ไม่เคยกาหนดนโยบายหรือกล ยุทธ์ด้านความยั่งยืน หรือกาหนดแบบเป็นนามธรรมกว้างๆ โดยอ้างอิงหลักการสากล แต่มิได้ระบุรูปธรรมที่ชัดเจนและ เกี่ยวข้องกับบริบทการดาเนินธุรกิจของบริษัท ประการที่สาม ทุกบริษัทควรปรับปรุงนโยบายและกระบวนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน โดยอาจเริ่มต้นจากการประเมินความ เสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน (human rights risk assessment) ในระดับ องค์กรและตลอดสายห่วงโซ่อุปทาน เนื่องจากสิท ธิ มนุษยชนเป็นประเด็นพื้นฐานของมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคมทุกมาตรฐาน และเป็นประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียมีแนวโน้ม จะให้ความสาคัญมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในยุคที่บริษัทพลังงานขนาดใหญ่ของไทยข้ามพรมแดนไปลงทุนในต่างประเทศ ประเด็นการคุ้มครองสิทธิแรงงานและสิทธิชุมชนในห่วงโซ่อุปทานนอกประเทศ และการปฏิบัติต่อ sub-contract อย่างเป็น ธรรม (ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเช่นกัน) จะยิ่งมีความเสี่ยงและต้องอาศัยกระบวนการจัดการที่เป็นระบบ มากขึ้น มากกว่าลาพังการกาหนดให้คู่ค้ารายงานคุณสมบัติของตนเองโดยสมัครใจ ถึงแม้ว่า หลายบริษัทอาจแสดงความ รับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนอยู่บ้างแล้วในการดาเนินกิจการ โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงความรับผิดชอบหรือ ทาตามกฎหมาย เช่น การดูแลพนักงาน การวางกลไกป้องกันผลกระทบต่อชุมชน เป็นต้น แต่การมองผ่าน ‘เลนส์’ สิทธิ มนุษยชนที่เฉพาะเจาะจง จะช่วยให้บริษัทมองเห็นประเด็นความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนได้ดีขึ้น โดยเฉพาะกรณีที่บทบัญญัติ หรือการบังคับใช้กฎหมายยังมีช่องว่างเมื่อเทียบกับพันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ประการที่สี่ บริษัททั้ง 10 แห่งในการศึกษาครั้งนี้สร้างผลกระทบต่อชุมชนค่อนข้างน้อยในรอบปีรายงาน พ.ศ. 2557 โดย ผลกระทบที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการก่อความราคาญให้กับชาวบ้าน เช่น ปัญหาการจราจร เสียงรบกวน และกลิ่น มากกว่าผลกระทบขั้นรุ นแรงที่ส่งผลต่อสุขภาพหรือคุณภาพน้าและอากาศในชุมชน อย่างไรก็ดี โดยรวมบริษัทสามารถให้ 28


ความสาคัญมากขึ้นกับการป้องกันผลกระทบต่อชุมชน โดยเฉพาะกลไกการมีส่วนร่วมเชิงรุก เช่น การซ้อมอพยพอย่าง สม่าเสมอและสร้างความมั่นใจว่าชาวบ้านได้รับรู้อย่างทั่วถึง การสื่อสารผลกระทบในภาษาที่เข้าใจง่าย หรือแม้แต่การให้ ชาวบ้านได้เข้าถึงอุปกรณ์อย่างง่ายในการติดตามผลกระทบบางรายการ เพื่อบรรเทาความกังวลของชาวบ้านและเสริมสร้าง ความไว้วางใจระหว่างกัน ประการที่ห้า บริษัทบางแห่งอ้างอิงการได้ “รางวัล” ต่างๆ อาทิ CSR Award หรือการได้รับเลือกเข้าเป็นสมาชิกของ Dow Jones Sustainability Index (DJSI) ราวกับเป็น “ข้อพิสูจน์” ถึงความเป็นบริษัทที่ยั่งยืน บางบริษัทอ้างอิงการได้รับรางวัล เหล่านี้อย่างเดียว แทนที่จะนาเสนออรรถาธิบายผลกระทบของบริษัทต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โอกาสและความเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อม วิธีจัดการความเสี่ยง ตลอดจนกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน บริษัทส่วนน้อยเหล่านี้น่าจะสามารถปรับปรุงการเปิดเผย ข้อมูลและการดาเนินงานเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม ได้อย่างตรงต่อข้อกังวลและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียของ องค์กรมากขึ้น ถ้า หากเพิ่มความตระหนักว่ารางวัลเหล่านี้โดยมากมิใช่ “ข้อพิสูจน์” ถึงระดับความยั่งยืนหรือระดับความ รับผิดชอบของบริษัท หากแต่เป็นเครื่องมือสร้างแรงจูงใจให้บริษัทมีการพัฒนาไปสู่ธุรกิจที่ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง และสามารถใช้ เป็นแนวทางสาหรับการดาเนินกิจการของบริษัท ระดับความยั่งยืนหรือระดับความรับผิดชอบที่แท้จริงนั้นควรจะวัดจากผลการ ปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนผลกระบวนการติดตามข้อร้องเรียนและการเยียวยา การประเมินความเสี่ยง และการ กาหนดกลยุทธ์ด้านความยั่งยืนและติดตามผลอย่างต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี ประการที่หก ในฐานะบริษัทขนาดใหญ่ ทุกบริษัทในรายงานชิ้นนี้สามารถท้าทายองค์กรให้ก้าวเข้าสู่ระดับ “ก้าวหน้า” ใน ทัศนะของผู้มีส่วนได้เสีย ด้วยการริเริ่มโครงการอย่างเช่น การผลักดันนวัตกรรมพลังงาน การส่งมอบเครื่องมือให้ชาวบ้านใน ชุมชนใช้ติดตามผลกระทบด้วยตนเอง การเปิดเผยรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้ อม (อีไอเอ) ต่อสาธารณะ หรือการผลักดัน ภาครัฐในการทบทวนทางเลือกต่างๆ ในการสร้างโรงไฟฟ้าแห่งใหม่ เป็นต้น

29


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.