แถลงสรุปผลการศึกษา กรณีศึกษาเรื่อง สถานการณ์และความต้องการ ของลูกหนี้รายย่อย ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 14 กันยายน 2564
แนวร่วมการเงินทีเ่ ป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
หัวข้อการนาเสนอ 1. ที่มาและวัตถุประสงค์ของกรณีศึกษา 2. ระเบียบวิธีการศึกษา 3. ผลการศึกษา • • •
ผลกระทบด้านรายได้ ผลกระทบด้านภาระหนี้ การจัดการหนี้ในช่วงโควิด-19 และการเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือลูกหนี้
4. ข้อเสนอแนะจากแนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
2
ที่มาและวัตถุประสงค์ของกรณีศึกษา •
•
•
โควิด-19 เป็น “ทวิวิกฤติ” ทั้งวิกฤติสาธารณสุข และวิกฤติเศรษฐกิจ มาตรการต่าง ๆ ของภาครัฐ ที่มุ่งจากัดการระบาดของโรค ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจชะงักงัน ประชาชนทั่วประเทศขาด รายได้ สถานการณ์นี้ซ้าเติมภาวะหนี้สินล้นพ้นตัวของครัวเรือนไทย ให้ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2563 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ร่วมกับสมาคมธนาคารไทยและสถาบัน การเงินอื่นๆ ต่างออกมาตรการช่วยเหลือลูกหนี้ในช่วงโควิด-19 อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของมาตรการเหล่านี้ รวมถึงคาถามที่ว่าลูกหนี้รายย่อย เข้าถึงมาตรการเหล่านี้ได้มากน้อยเพียงใด รัฐบาลและ ธปท. ควรทาอะไรบ้าง เป็นคาถามสาคัญที่ ยังไม่มีการหาคาตอบอย่างเป็นระบบ
แนวร่วมการเงินทีเ่ ป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand) จึงจัดทากรณีศกึ ษานี้ เพื่อสารวจ สถานการณ์หนี้สนิ ความเห็น และความต้องการของลูกหนีร้ ายย่อย ต่อมาตรการช่วยเหลือของทางการ 3
ระเบียบวิธีการศึกษา • การจัดเก็บข้อมูล แนวร่วมฯ เก็บข้อมูล
• การวิเคราะห์สถิตเิ ชิงพรรณนา เพื่ออธิบายสถานการณ์
สถานการณ์และความต้องการของลูกหนี้รายย่อย ผ่านแบบสอบถามออนไลน์ ตั้งแต่วันที่ 23 เมษายน – 21 พฤษภาคม 2564 สถานะหนีข้ องผูต้ อบแบบสารวจ (คน, ร้อยละ) 18 18 6.5% 6.5% 124 45.1%
ของลูกหนี้ที่ได้รับผลกระทบ (รายได้ ภาระหนี้) และการเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือ (อุปสรรคในการเข้า ร่วม ความเพียงพอของมาตรการ ฯลฯ)
• การวิเคราะห์ Logistic Regression เพื่อตอบคาถาม
115 41.8%
ไม่มีภาระหนี้ ลูกหนี้ที่เดิมไม่มีหนี้ แต่เริ่มมีหนี้สินภายหลังการระบาด ลูกหนี้ที่มีหนี้อยู่แล้วก่อนหน้านี้ แต่หนี้สินไม่เพิ่มขึ้นภายหลังการระบาด ลูกหนี้ที่มีหนี้อยู่แล้วก่อนหน้านี้ และมีหนี้สินเพิ่มขึ้นภายหลังการระบาด
1. ปัจจัยด้านกายภาพและประชากรศาสตร์ ส่งผลต่อการ เข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือลูกหนีห้ รือไม่? • อาชีพ ระดับการศึกษา อายุ จานวนเจ้าหนี้ จานวนภาระหนี้ และการเปลี่ยนแปลงของรายได้
2. มาตรการช่วยเหลือลูกหนีป้ ระเภทใดทีแ่ บ่งเบาภาระ หนี้สินของลูกหนี้ หรือทาให้ลกู หนีพ้ งึ พอใจ? • 6 มาตรการช่วยเหลือ ได้แก่ พักชาระหนี้ พักเงินต้น ลดเงินผ่อน ขยายเวลาชาระหนี้ ลดดอกเบี้ย และ รวมหนี้หรือเปลี่ยนประเภทหนี้
4
ข้อมูลทางประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม N = 257
เพศ อื่น ๆ 2%
ไม่ระบุ 1.9% หญิง 41%
ชาย 55%
ระดับการศึกษา ไม่ระบุ 12.1%
ปริญญาเอก 1.6%
ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตอนต้น 1.6% 2.3%
N = 257
กาลังศึกษาระดับ ปริญญาตรี 3.5%
ปริญญาโท 30.4% ปริญญาตรี 48.6%
5
ข้อมูลทางประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม N = 257
อายุ 57-74 Boomers, 12
ไม่ระบุ, 18
นักเรียน เกษตรกร นักศึกษา 2.7% 1.2%
<25 GenZ, 4
ฟรีแลนซ์ 5.1% ลูกจ้างรายวัน 1.9%
41-56 GenX, 84
26-40 GenY, 139
N = 257
อาชีพ ว่างงาน 6.2%
ไม่ระบุ 1.9% ข้าราชการ/ พนักงาน รัฐวิสาหกิจ 19.8%
ธุรกิจส่วนตัว 22.6% พนักงานบริษทั 38.5%
6
การเปลี่ยนแปลงรายได้ตามระดับรายได้ • • •
ก่อนการระบาด: รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 116,049.5 บาท หลังเกิดการระบาด: รายได้เฉลี่ยลดลงเหลือ 44,889.1 บาท (ค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงของรายได้ลดลง 29.7%) ผลกระทบแตกต่างไปตามระดับรายได้ของลูกหนี:้ กลุ่มลูกหนี้ที่รายได้สูงมากหรือน้อยมาก มีแนวโน้มที่รายได้จะ ลดลงมากกว่าลูกหนี้ที่มีรายได้ปานกลาง ระดับรายได้ ก่อนการระบาด (บาทต่อเดือน) น้อยกว่า 15,000 15,001-30,000 30,001-45,000 45,001-60,000 60,001-75,000 75,001-90,000 90,001-100,000 มากกว่า 100,000
รายได้เฉลีย่ ก่อนโควิด-19 ระบาด (บาทต่อเดือน) 11,277.3 25,300.0 37,702.8 53,277.8 70,295.4 82,350.0 100,000.0 609,774.2
รายได้เฉลีย่ หลังโควิด-19 ระบาด (บาทต่อเดือน) 7,119.3 18,863.6 30,380.0 36,625.0 46,601.2 62,535.7 61,333.3 142,096.8
ค่าเฉลีย่ การเปลีย่ นแปลงของรายได้ (ร้อยละ) -31.4 -25.7 -18.8 -31.0 -33.3 -24.6 -38.7 -46.4
จานวน ลูกหนี้ (คน) 30 55 46 36 13 14 15 31 7
การเปลี่ยนแปลงรายได้ตามอาชีพของลูกหนี้ • ผลกระทบแตกต่างไปตามอาชีพลูกหนี้: • กลุ่มว่างงาน ได้รับผลกระทบมากที่สุดโดยเปรียบเทียบ • ธุรกิจส่วนตัว รับจ้างอิสระหรือฟรีแลนซ์ เกษตรกร ลูกจ้างรายวัน ได้รับผลกระทบปานกลางโดยเปรียบเทียบ • ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ นักเรียนนักศึกษา พนักงานบริษทั ได้รับผลกระทบน้อยที่สุดโดยเปรียบเทียบ • สอดคล้องกับระดับรายได้ กลุ่มอาชีพที่มีระดับรายได้ปานกลางและมั่นคงจะได้รับผลกระทบน้อยกว่า อาชีพ
รายได้เฉลี่ยก่อน โควิด-19 ระบาด (บาทต่อเดือน)
รายได้เฉลี่ยหลัง โควิด-19 ระบาด (บาทต่อเดือน)
ค่าเฉลีย่ การเปลี่ยนแปลง ของรายได้ (ร้อยละ)
จานวนลูกหนี้ (คน)
ว่างงาน ธุรกิจส่วนตัว รับจ้างอิสระหรือฟรีแลนซ์ เกษตรกร ลูกจ้างรายวัน พนักงานบริษทั นักเรียน นักศึกษา ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
34,687.5 336,072.7 37,090.9 16,666.7 11,375.0 62,672.8 19,000.0 45,369.0
5,475.0 62,454.5 11,909.1 10,416.7 6,625.0 51,555.9 12,666.7 42,825.1
-76.0 -57.8 -55.8 -40.3 -38.3 -15.6 -3.8 -3.7
15 58 13 7 5 98 3 51 8
ประเภทเจ้าหนี้และประเภทสินเชื่อ •
• •
จานวนเจ้าหนี้ • 68.9% ของลูกหนี้ทั้งหมด มีเจ้าหนีเ้ พียง 1 – 3 ราย • 25.4 % ของลูกหนี้ทั้งหมด มีเจ้าหนี้ 4 - 6 ราย • 5.7 % ของลูกหนี้ทั้งหมด มีเจ้าหนี้มากกว่า 6 ราย (สูงสุด 10 ราย) ประเภทของเจ้าหนี้ ส่วนใหญ่เป็นธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ บริษัทบัตรเครดิต ยืมเงินคนรู้จัก บริษัทเช่าซื้อ • สาหรับลูกหนี้ธนาคารพาณิชย์ประมาณ 70% ของสัญญาสินเชื่อทัง้ หมด มีหลักประกันสินเชื่อ • 8.2% ของลูกหนี้ทั้งหมดมีหนี้นอกระบบ ประเภทของสัญญาสินเชือ่ ส่วนใหญ่ คือ สินเชื่อบัตรเครดิต (29.6%) สินเชื่อส่วนบุคคล (23.4%) สินเชื่อบ้าน (21.1%) บัตรกดเงิน สด (11.3%) สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ (4.4%) สินเชื่อธุรกิจ (3.4%) และสินเชื่ออื่น ๆ เช่น สินเชื่อเช่าซื้อ สินเชื่อ จานาทะเบียนรถ (6.9%) ระยะเวลา ภาระหนี้เฉลีย่ ต่อ อัตราดอกเบีย้ จานวนลูกหนี้ ชาระหนี้เฉลีย่ ประเภทสินเชือ่ เดือน เฉลี่ย (คน) (บาทต่อเดือน) (ร้อยละต่อปี) ปี เดือน 144 รวมทุกสินเชื่อ 36,439 9.6 11 2 66 สินเชื่อบัตรเครดิต 15,264 16.0 3 8 61 สินเชื่อส่วนบุคคล 11,903 10.9 6 3 80 สินเชื่อบ้าน 23,953 5.1 20 1 29 สินเชื่อบัตรกดเงินสด 9,379 23.8 3 3 15 สินเชื่อเช่าซื้อรถ/มอเตอร์ไซค์ 11,617 2.0 5 4 9 11 สินเชื่อธุรกิจ 83,184 3.8 5 10
การเปลี่ยนแปลงของภาระหนี้สินตามอาชีพของลูกหนี้ • รายได้ที่ลดลงในช่วงโควิด-19 ระบาด ส่งผลให้ “ภาระหนีต้ อ่ รายได้” (Debt Service Ratio: DSR) ของลูกหนี้โดยรวม เพิ่มขึน้ อีกประมาณ 2 เท่า • ภาระหนี้ต่อรายได้แตกต่างไปตามอาชีพของลูกหนี้ โดยกลุ่มว่างงาน เกษตรกร ธุรกิจส่วนตัว ได้รับผลกระทบมากที่สุด อาชีพ
ภาระหนีต้ อ่ เดือน (บาทต่อเดือน)
สัดส่วนหนีต้ อ่ รายได้ เฉลี่ยก่อนการระบาด
สัดส่วนหนีต้ อ่ รายได้ เฉลี่ยหลังการระบาด
ลูกหนี้ทั้งหมด ว่างงาน* เกษตรกร** ธุรกิจส่วนตัว นักศึกษา* รับข้างอิสระ/ฟรีแลนซ์* พนักงานบริษทั ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ลูกจ้างรายวัน**
36,439.1 10,569.0 30,002.0 75,547.3 24,500.0 12,877.6 30,959.4 23,843.7 1,000.0
56.9% 48.6% 200.0% 62.6% 112.9% 40.8% 58.9% 56.8% 12.5%
147.8% 591.8% 600.0% 218.4% 222.5% 87.8% 97.7% 67.3% 12.5%
การเปลี่ยนแปลงสัดส่วน หนี้ต่อรายได้เฉลีย่ ก่อน และหลังการระบาด +90.9% +543.2% +400.0% +155.8% +109.6% +47.0% +38.8% +10.5% 0.0%
* มีจานวนลูกหนี้ที่ให้ข้อมูลรายได้และภาระหนี้ครบถ้วนน้อยกว่า 10 คน ** มีจานวนลูกหนี้ที่ให้ข้อมูลรายได้และภาระหนี้ครบถ้วนเพียง 1 คน
10
วิธีจัดการหนี้สินของลูกหนี้ 1. พยายามจัดการหนีโ้ ดยไม่กยู้ มื เงินเพิม่ ผ่านการบริหารการเงินก่อน เช่น ลดรายจ่าย หารายได้ ขายทรัพย์สิน ฯลฯ 2. การกู้ยมื เงินเพิม่ เติม จากช่องทางที่เป็นทางการ เช่น กู้เงินจากสถาบันการเงิน สหกรณ์ กองทุนหมู่บ้าน ฯลฯ 3. การกู้ยมื เงินนอกระบบ จากช่องทางที่ไม่เป็นทางการ เช่น นายทุนนอกระบบ ยืมเงินคนรู้จัก นายจ้าง ฯลฯ ลดรายจ่าย เข้าร่วมมาตรการแบ่งเบาภาระหนี้สินกับสถาบันการเงิน หารายได้เพิ่ม กู้เพิ่มจากสถาบันการเงิน ขายทรัพย์สิน ยืมเงินจากคนรู้จักโดยไม่มีดอกเบี้ย นาทรัพย์สินไปจานา กู้เพิ่มจากหนี้นอกระบบ กู้เพิ่มจากสหกรณ์ กองทุนหมู่บ้าน หรือกลุ่มออมทรัพย์ อื่นๆ ยืมเงินจากนายจ้างโดยไม่มีดอกเบี้ย รับสินค้าจากร้านค้าก่อน แล้วจ่ายคืนทีหลัง
หน่วย: ร้อยละของลูกหนี้ทั้งหมดที่ให้ข้อมูล* N = 257
64.2% 37.0% 35.8% 24.1% 20.6% 18.7% 17.9% 10.1% 8.6% 5.4% 2.7% 1.9% 0.0%
20.0%
40.0%
60.0%
80.0%
* ลูกหนี้แต่ละคนสามารถมีวิธีการจัดการหนี้สนิ ได้มากกว่า 1 วิธี
11
วิธีจัดการหนี้สินของลูกหนี้ (ต่อ) • •
การจัดการหนี้ของเกือบทุกอาชีพเน้นการลดรายจ่ายและหารายได้เพิม่ เป็นหลัก แต่ในรายละเอียดมีความแตกต่างกันไปตามช่องทางและโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินในแต่ละอาชีพ • ข้าราชการฯ กู้ยืมเงินจากสหกรณ์ฯ รองลงมาคือกู้เงินจากสถาบันการเงิน ขายทรัพย์สินมากกว่าจานา • พนักงานบริษทั /ธุรกิจส่วนตัว กู้เงินเพิ่มกับสถาบันการเงิน ยืมเงินจากคนรู้จัก นาทรัพย์สินไปจานาหรือขาย • ลูกจ้างรายวัน/ฟรีแลนซ์ ยืมเงินจากคนรู้จักหรือกู้เงินนอกระบบ ไม่ขายทรัพย์สินแต่จะจานาแทน
วิธีการจัดการหนี้ (หน่วย: ร้อยละของลูกหนีท้ งั้ หมดทีใ่ ห้ขอ้ มูล) การจัดการหนีแ้ บบไม่กเู้ งินเพิม่ ลดรายจ่าย หารายได้เพิ่ม เข้าร่วมมาตรการแบ่งเบาภาระหนี้สนิ กับสถาบันการเงิน ขายทรัพย์สิน นาทรัพย์สินไปจานา การจัดการหนีแ้ บบกูห้ รือยืมเงินเพิม่ กู้เพิ่มจากสถาบันการเงิน กู้เพิ่มจากสหกรณ์ กองทุนหมู่บ้าน หรือกลุ่มออมทรัพย์ ยืมเงินจากคนรู้จักโดยไม่มีดอกเบีย้ ยืมเงินจากนายจ้างโดยไม่มีดอกเบีย้ กู้เพิ่มจากหนี้นอกระบบ รับสินค้าจากร้านค้าก่อน แล้วจ่ายคืนทีหลัง
ข้าราชการ/พนักงาน รัฐวิสาหกิจ
พนักงาน บริษัท
ธุรกิจ ส่วนตัว
ลูกจ้าง รายวัน
ฟรีแลนซ์
นักศึกษา
เกษตรกร
ว่างงาน
64.7 19.6 37.3 17.6 9.8
69.7 40.4 35.4 17.2 16.2
58.6 37.9 44.8 34.5 20.7
40.0 40.0 20.0 0.0 20.0
61.5 38.5 30.8 7.7 7.7
66.7 33.3 0.0 0.0 33.3
57.1 28.6 0.0 28.6 14.3
68.8 43.8 43.8 12.5 50.0
19.6 23.5 5.9 2.0 3.9 0.0
23.2 3.0 17.2 2.0 8.1 2.0
34.5 3.4 19.0 3.4 12.1 1.7
20.0 0.0 40.0 0.0 40.0 20.0
15.4 0.0 46.2 0.0 7.7 0.0
0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 33.3
14.3 14.3 28.6 14.3 28.6 0.0
25.0 12.5 31.3 0.0 12.5 0.0
ช่องสีเขียว คือ วิธีการที่ลูกหนี้แต่ละอาชีพเลือกใช้จดั การภาระหนี้สงู สุด 3 อันดับแรก * ลูกหนี้แต่ละคนสามารถมีวิธีการจัดการหนี้สนิ ได้มากกว่า 1 วิธี 12 ช่องสีสม้ คือ วิธีการที่ลูกหนี้แต่ละอาชีพไม่เลือกใช้จัดการหนี้
การเข้าร่วมมาตรการของสถาบันการเงิน • •
มีจานวนลูกหนี้ที่ได้เข้าร่วมมาตรการ อย่างน้อย 1 แห่ง 73 คน มีจานวนลูกหนี้ที่ไม่ได้เข้าร่วมมาตรการ อย่างน้อย 1 แห่ง 121 คน สถานะของลูกหนี้
จานวนลูกหนี้ (คน)
สัดส่วนต่อลูกหนีท้ งั้ หมด (ร้อยละ)
ได้เข้าร่วมมาตรการกับสถาบันการเงิน ทุกแห่งที่ตนมีหนีอ้ ยู่
44
17.1
ได้เข้าร่วมมาตรการกับสถาบันการเงิน บางแห่งที่ตนมีหนี้อยู่
29
11.3
ไม่ได้เข้าร่วมมาตรการกับสถาบันการเงิน ที่ตนมีหนี้อยู่เลย
92
35.8
92
35.8
257
100.0
ไม่ระบุข้อมูล รวม
13
ประเภทของมาตรการที่เข้าร่วม • 65.7% ของลูกหนี้ที่เข้าร่วมมาตรการ ได้เข้าร่วมเพียง 1 มาตรการต่อสถาบันการเงินเท่านั้น • ประเภทของมาตรการ* ที่ลูกหนี้ได้เข้าร่วมส่วนใหญ่คือ “พักหนี้” และ “พักชาระเงินต้น” รองลงมาคือ “ลดเงินผ่อน/ค่างวด” • มาตรการที่ได้เข้าร่วมแตกต่างไปตามแต่ละอาชีพอย่างชัดเจน • ข้าราชการฯ: เข้าร่วมมาตรการพักชาระเงินต้นเป็นหลัก • พนักงานบริษัท/ธุรกิจส่วนตัว: เข้าร่วมมาตรการพักหนี้เป็นหลัก รองลงมาคือพักชาระเงินต้นและลดเงินผ่อน/ค่างวด พักหนี้ (ทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย)
ลูกหนี้ทั้งหมด (N = 71)
พักชาระเงินต้น (จ่ายแต่ดอกเบีย้ ) ลดเงินผ่อน/ค่างวด
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ (N = 15)
ขยายเวลาการชาระหนี้/ค่างวด ลดอัตราดอกเบี้ย
พนักงานบริษัท (N = 25)
รีไฟแนนซ์ปิดสินเชื่อจากที่เดิม รวมหนี้/เปลี่ยนประเภทหนี้
ธุรกิจส่วนตัว (N = 18)
อื่น ๆ 0.0%
10.0%
20.0%
30.0%
40.0%
50.0%
60.0%
* ลูกหนี้แต่ละคนสามารถเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือได้มากกว่า 1 มาตรการ
14
ความเพียงพอของมาตรการที่เข้าร่วม • ลูกหนี้ส่วนใหญ่ระบุว่ามาตรการ “ช่วยเหลือได้เพียงบางส่วน” หรือ “ไม่สามารถช่วยเหลือได้” สาหรับการบริหารจัดการหนี้ ของตนเองและยังต้องการมาตรการช่วยเหลือเพิม่ เติม ความเพียงพอของมาตรการ มาตรการสามารถช่วยเหลือได้และ ไม่ต้องการมาตรการเพิ่มเติม มาตรการสามารถช่วยเหลือได้บางส่วนและ ต้องการมาตรการเพิ่มเติม มาตรการไม่สามารถช่วยเหลือได้และ ต้องการมาตรการเพิ่มเติม
จานวนลูกหนี้* (คน)
สัดส่วนจากลูกหนี้ทงั้ หมด
11
15.1%
64
87.7%
41
56.2%
• ข้อเสนอแนะจากลูกหนี้ • 21% ของลูกหนี้ทั้งหมด เสนอขยายเวลาพักชาระหนี้ จนกว่าสถานการณ์โควิดจะคลี่คลาย • 15.6% ของลูกหนี้ทั้งหมด เสนอลดอัตราดอกเบี้ยมากกว่าครึ่งหนึ่ง เพื่อเสริมสภาพคล่องและจูงใจให้เร่งชาระหนี้ • 9.7% ของลูกหนี้ทั้งหมด เสนอให้รัฐเพิ่มเงินเยียวยา เช่น มาตรการลดค่าน้าค่าไฟ ลดภาษี ประกันรายได้ลูกจ้าง • ขยายเวลาการขอเข้าร่วมมาตรการ เพื่อให้ลูกหนี้มีเวลาพิจารณาอย่างถี่ถ้วน * จานวนลูกหนี้รวมมากกว่า 73 คน เนื่องจากลูกหนี้มีเจ้าหนี้หลายแห่งและอาจได้เข้าร่วมมาตรการกับสถาบันการเงินหลายแห่งในคราวเดียว
15
เหตุผลของลูกหนี้ที่ไม่เข้าร่วมมาตรการ • ลูกหนิ้เกินครึง่ (52.9%) ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมมาตรการของสถาบันการเงิน เหตุผลหลักคือไม่อยากรับภาระหนี้ ที่เพิ่มขึ้นหลังจากจบมาตรการ (73.4% ของลูกหนี้ที่ปฏิเสธจะเข้าร่วมมาตรการ) รองลงมาคือเห็นว่า มาตรการจะบรรเทาภาระหนีไ้ ด้ชวั่ คราวเท่านัน้ (31.3%) และกระบวนการยุง่ ยากใช้เวลานาน (21.9%) • ลูกหนี้ 47% ระบุว่าสถาบันการเงินไม่มีมาตรการช่วยเหลือ และอีก 12.4% ระบุว่าถูกสถาบันการเงินปฏิเสธ สาเหตุทลี่ ูกหนี้ ไม่ได้เข้าร่วมมาตรการ
สถาบันการเงินไม่มี มาตรการช่วยเหลือ
จานวน ลูกหนี้* (คน)
สัดส่วนจาก ลูกหนี้ทั้งหมด
57
47.1%
เหตุผลของลูกหนีท้ ปี่ ฏิเสธจะเข้าร่วมมาตรการ** ไม่อยากรับภาระหนี้ที่เพิ่มขึ้นหลังจบมาตรการ
73.4%
เห็นว่าช่วยบรรเทาภาระหนี้ได้เพียงชั่วคราว
31.3%
เห็นว่ากระบวนการยุ่งยาก ใช้เวลานานในการอนุมัติ
ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมมาตรการ ด้วยตนเอง
64
21.9%
อื่นๆ
52.9%
14.1%
ไม่เชื่อถือสถาบันการเงินที่ออกมาตรการ
ถูกสถาบันการเงินปฏิเสธ
15
12.4%
N = 64
7.8% 0%
20%
40%
60%
* จานวนลูกหนี้รวมจากสาเหตุต่าง ๆ มากกว่า 121 คน เนื่องจากลูกหนี้มีเจ้าหนี้หลายแห่ง และอาจไม่ได้เข้าร่วมมาตรการกับแต่ละสถาบันการเงินด้วยสาเหตุที่แตกต่างกัน 16 ** ลูกหนี้แต่ละคนมีเหตุผลได้มากกว่า 1 เหตุผล
80%
ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติค (Logistic Regression) 1. 2.
อาชีพ ระดับการศึกษา อายุ จานวนเจ้าหนี้ จานวนภาระหนี้ และการเปลี่ยนแปลงของรายได้ ไม่มีผลต่อ การเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือฯ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ มาตรการพักชาระหนี,้ ขยายเวลาการชาระหนี้ และลดอัตราดอกเบี้ย สามารถช่วยเหลือลูกหนี้ได้ •
แต่ส่วนใหญ่ยงั ไม่ได้เข้าร่วมมาตรการที่สามารถช่วยเหลือลูกหนี้ได้ใน 2 มาตรการหลัง
สัดส่วนการเข้าร่วมมาตรการที่ชว่ ยเหลือลูกหนีไ้ ด้ Y 0.0%
20.0%
พักชาระหนี้ (ทั้งเงินต้นและดอกเบีย้ )*
40.0%
สัดส่วนการเข้าร่วมมาตรการที่ชว่ ยเหลือลูกหนีไ้ ม่ได้ Y 60.0% 46.5%
0.0%
14.1%
ลดเงินผ่อน/ค่างวด
ลดอัตราดอกเบีย้ **
12.7%
รวมหนี/้ เปลีย่ นประเภทหนี้
Y
ลูกหนี้แต่ละคนเข้าร่วมมาตรการได้มากกว่า 1 มาตรการ
40.0%
พักชาระเงินต้น (จ่ายแต่ดอกเบีย้ )
ขยายเวลาการชาระหนี*้
หน่วย: ร้อยละของลูกหนี้ที่ได้เข้าร่วมมาตรการ
20.0%
60.0% 43.7%
29.6%
5.6%
หน่วย: ร้อยละของลูกหนี้ที่ได้เข้าร่วมมาตรการ * มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับนัยสาคัญ 10% ** มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับนัยสาคัญ 5%
17
ลักษณะของหนี้นอกระบบ ภาระหนี้นอกระบบ** • •
วงเงินหนีเ้ ฉลีย่ : 171,714.29 บาทต่อคน ได้รับเงินจริงเฉลี่ย: 118,600 บาทต่อคน งวดชาระเงิน: ส่วนใหญ่รายเดือน • ภาระหนี้เฉลีย่ : 19,746.15 บาทต่อเดือน และ ภาระดอกเบีย้ เฉลีย่ : 5,691.67 บาทต่อเดือน
ช่องทางการกู้หนีน้ อกระบบ* ออนไลน์ (เว็บไซต์ ไลน์ เฟซบุ๊ก)
วัตถุประสงค์ของการกู้หนีน้ อกระบบ*
5.0%
นายทุน
นามาโอนให้กับคนอื่นในครอบครัว 25.0%
ร้านค้าหรือเพื่อนบ้านที่รู้จักกัน
นามาลงทุนเพื่อประกอบอาชีพ
25.0%
20.0%
5.0%
นามาชาระหนี้อื่นที่ครบกาหนดชาระ เพื่อนร่วมงาน เจ้านาย หรือคนรู้จักห่างๆ
55.0%
25.0%
ญาติ/เพื่อนสนิท
60.0% 0%
20% 40% 60% 80% 100%
นามาจ่ายค่าใช้จ่ายจาเป็นในครัวเรือน
65.0% 0% 20% 40% 60% 80% 100%
* ลูกหนี้เลือกคาตอบได้มากกว่า 1 คาตอบ ** มีลูกหนี้ 20 คนที่มีหนี้นอกระบบ
18
ลักษณะของหนี้นอกระบบ (ต่อ) รูปแบบสัญญาเงินกู้
ไม่ระบุ 20%
ทาสัญญาเงินกู้เป็นลาย ลักษณ์อักษร 25%
ไม่ได้ทาสัญญาเงินกู้เป็น ลายลักษณ์อักษร 55%
ระยะเวลาการชาระคืน
ไม่ระบุ 30%
ไม่กาหนด หรือ จนกว่าทาตามเงื่อนไข 70%
* ลูกหนี้เลือกคาตอบได้มากกว่า 1 คาตอบ ** มีลูกหนี้ 20 คนที่มีหนี้นอกระบบ
19
ข้อเสนอแนะจากแนวร่วมการเงินที่เป็นธรรม 1.
ควรมีการสารวจความคิดเห็นของลูกหนี้ เพื่อปรับปรุงมาตรการให้ตรงจุดมากขึ้น และแก้ไขอุป สรรคของ ลูกหนีท้ เี่ ข้าไม่ถึงมาตรการบรรเทาภาระหนี้ •
2.
เสนอรัฐบาลให้มีการเยียวยาผูไ้ ด้รบั ผลกระทบอย่างตรงจุด •
3.
จากผลสารวจชี้ว่า มาตรการในปัจจุบันยังไม่สามารถช่วยเหลือลูกหนี้ได้อย่างเพียงพอ ลูกหนี้จานวนมาก ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมมาตรการเพราะกังวลว่าจะต้องรับภาระหนี้เพิ่มขึน้ หลังจากจบมาตรการ หรือมาตรการไม่ ตรงกับความต้องการของลูกหนี้ตั้งแต่แรก
จากผลสารวจชี้ว่า ลูกหนี้ประสบปัญหารายได้ไม่พอจ่ายหนี้ ลาพังการปรับโครงสร้างหนี้และมาตรการ บรรเทาภาระหนี้อื่น ๆ ของ ธปท. เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ธปท. ควรเสนอรัฐบาลให้เยียวยาผู้ที่ได้รับ ผลกระทบจากมาตรการต่าง ๆ ของรัฐ อย่างเป็นธรรมและเพียงพอ เช่น ด้วยการชดเชยรายได้ที่ขาดหายไป
พิจารณายกเลิกเพดานอัตราดอกเบี้ยทุกชนิด เน้นการกากับดูแลการให้บริการทีเ่ ป็นธรรม (market conduct) แทน •
เพดานดอกเบี้ยส่งผลให้ผู้ให้บริการทางการเงินขาดแรงจูงใจที่จะคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ และออกแบบ ผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ตอบโจทย์ผู้บริโภค ลดต้นทุนการให้บริการ และขยายบริการทางการเงิน 20
ข้อเสนอแนะจากแนวร่วมการเงินที่เป็นธรรม 4.
จัดตั้งกลไกไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทนอกศาล (Alternative Dispute Resolution: ADRs) • จากผลสารวจชี้ว่าลูกหนี้ส่วนใหญ่ไม่เคยเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ อาจะเพราะลูกหนี้ส่วนใหญ่ขาด ประสบการณ์และมักเสียเปรียบในการเจรจา ในระยะสั้น ธปท. สามารถรับบทบาทเป็นผู้ไกล่เกลี่ย ชั่วคราว แต่กลไกเช่นนี้มิใช่กลไกที่ยั่งยืนในระยะยาว • แนวร่วมฯ เห็นว่า ธปท. ควรผลักดันกลไกไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางเลือก (Alternative Dispute Resolution: ADR) หลายรูปแบบ ซึ่งเป็นที่นิยมในหลายประเทศ เนื่องจากเป็นวิธีการที่ช่วย ยกระดับกระบวนการการให้การคุ้มครองผู้บริโภคทางการเงินในด้านการเยียวยาจากข้อพิพาทโดย การหาคนกลางที่มีความน่าเชื่อถือ (third party) มาไกล่เกลี่ยแทน • สาหรับโครงสร้างของกลไก ADR ในประเทศไทย ธปท. สามารถพิจารณาจากหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่ (1) หน่วยงานอิสระ (2) องค์กรอิสระภายใต้ภาครัฐ (3) องค์กรจัดตั้งโดยสมาพันธ์วิชาชีพ และ (4) หน่วยงานภายใต้องค์กรที่ดูแลคุ้มครองผู้บริโภคทางการเงิน
21
ข้อเสนอแนะจากแนวร่วมการเงินที่เป็นธรรม 5.
ผลักดันกฎหมายล้มละลายโดยสมัครใจสาหรับบุคคลธรรมดา •
•
•
•
แนวร่วมฯ เห็นว่า ธปท. ควรผลักดันให้รัฐออกกฎหมายล้มละลายโดยสมัครใจสาหรับบุคคลธรรมดา ในฐานะ ‘เครื่องมือพื้นฐาน’ ที่จาเป็นต่อการรับมือกับวิกฤติหนี้รายย่อย เพราะนอกจากจะเป็นการรับประกัน ‘สิทธิ พื้นฐาน’ ของลูกหนี้รายย่อยในการมี ‘ชีวิตใหม่’ แล้ว ยังเป็นวิธีรับมือกับวิกฤติที่มีประสิทธิภาพกว่าการ ปล่อยให้เจ้าหนี้ยื่นฟ้องล้มละลายฝ่ายเดียว สาหรับข้อกังวลที่ว่า กฎหมายล้มละลายโดยสมัครใจสาหรับบุคคลธรรมดาอาจส่งผลให้ดอกเบี้ยสินเชื่อแพง ขึ้น และมีความเสีย่ งที่จะเกิดปัญหาจริยวิบัติ แนวร่วมฯ เห็นว่า ประเทศไทยมีกฎหมายล้มละลายโดยสมัครใจ สาหรับนิติบุคคล (ยื่นขอฟื้นฟูกิจการ) มานานกว่าสองทศวรรษแล้ว ไม่ปรากฏว่ากฎหมายนี้ส่งผลให้ต้นทุน ทางการเงินสูงขึ้นแต่อย่างใด ในทางตรงกันข้าม การให้สิทธิลูกหนี้ที่มีหนี้สินล้นพ้นตัวได้มี ‘ชีวิตใหม่’ เป็นประโยชน์แก่เจ้าหนี้ด้วย เพราะ เมื่อลูกหนี้ฟื้นตัวได้แล้วก็จะกลับมาชาระหนี้ได้ แทนที่เจ้าหนี้จะต้องตัดหนี้สูญหรือยึดหลักประกันไปลุ้นราคา ตลาดว่าจะขายได้คุ้มทุนหรือไม่ ส่วนการป้องกันปัญหาจริยวิบัติ ทาได้ด้วยการกาหนดเกณฑ์ของลูกหนี้ที่จะเข้าข่ายขอยื่นล้มละลายโดยสมัคร ใจอย่างชัดเจน และกาหนดบทลงโทษในกรณีที่แจ้งหนี้สินและทรัพย์สนิ เป็นเท็จ ตามมาตรฐานสากล 22
ข้อเสนอแนะจากแนวร่วมการเงินที่เป็นธรรม 6.
สาหรับปัญหาการเข้าไม่ถึงสินเชือ่ ควรออกวงเงินเครดิตสาหรับผูม้ ีรายได้นอ้ ย เพื่อแก้ปั ญหาระยะสัน้ และจัดตัง้ ทะเบียนหลักประกันแห่งชาติ (National Collateral Registry) เพื่อแก้ปัญหาระยะยาว •
•
•
•
ในระยะสั้นสาหรับลูกหนี้รายย่อยที่มีรายได้น้อย กระทรวงการคลังอาจกาหนด “วงเงินเครดิต” สาหรับผู้มี รายได้น้อย วงเงินคนละ 5,000-10,000 บาท โดยคิดอัตราดอกเบี้ยต่า เพื่อช่วยผ่อนหนักเป็นเบาและหลีกเลี่ยง ความเสี่ยงที่จะเพิ่มภาระจากหนี้นอกระบบ ในระยะยาว แนวร่วมฯ เห็นว่า ธปท. ควรจัดตั้งทะเบียนหลักประกันแห่งชาติ (National Collateral Registry: NCR) โดยปกติเจ้าภาพจะเป็นธนาคารกลางของประเทศนั้น ๆ ใช้เพื่อบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย์ (อาทิ วัว ควาย คอมพิวเตอร์ รถไถ ฯลฯ) ที่ใช้เป็นหลักประกันเงินกู้ โดยไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สินให้กับเจ้าหนี้ ซอฟต์แวร์ของระบบทะเบียนจะกาหนดหมายเลขทะเบียน วันเวลาที่เจ้าหนี้ยื่นจดทะเบียนรายการทางการเงิน (financial statement) ที่ระบุสิทธิในทรัพย์สินนั้น ๆ โดยอัตโนมัติ ลาดับความสาคัญของเจ้าหนี้ที่อ้างสิทธิใน หลักประกันเดียวกันจะถูกจัดตามวันเวลาทีบ่ ันทึกไว้ เจ้าหนี้ที่ลงทะเบียนก่อนมีสิทธิเหนือกว่า ซึ่งในปัจจุบัน ระบบนี้หลายประเทศใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน (blockchain) รับรองความปลอดภัยและความ ‘แท้’ (authentic) ของข้อมูลและทาให้เข้าถึงได้จากออนไลน์ ทุกฝ่ายจึงประหยัดเวลาและทรัพยากรได้มาก ความที่สินทรัพย์แทบทุกชนิดสามารถนามาจดทะเบียนได้ ระบบนี้จึงจะช่วยขยายโอกาสได้อย่างมหาศาลในการ เข้าถึงสินเชื่อสาหรับ SMEs 23