บริษัท ป่าสาละ จากัด
โครงการวิจัย “สู่ระบบการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่มีธรรมาภิบาล” (Towards an Environmental Impact Assessment (EIA) System with Good Governance)
เสนอต่อ สถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม (GSEI)
หัวหน้าโครงการวิจัย : สฤณี อาชวานันทกุล นักวิจัย : อายุวัต เจียรวัฒนกนก, ภาคภูมิ โกเมศโสภา, รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์, กรณิศ ตันอังสนากุล และ ศศิวิมล คล่องอักขระ
รายงานฉบับสมบูรณ์ เผยแพร่ กุมภาพันธ์ 2560
สารบัญ บทสรุปสาหรับผู้บริหาร ..............................................................................................................................................................6 1. ความสาคัญและทีม่ าของการศึกษาวิจัย .............................................................................................................................. 16 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ .................................... 19 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย........................................................................................................................................... 33 3.1 ความเป็นมา................................................................................................................................................................. 33 3.2 กระบวนการทา EIA ..................................................................................................................................................... 37 3.3 การมีส่วนร่วมของประชาชน........................................................................................................................................ 42 3.4 ความรับผิดชอบหลังจากที่ได้รับอนุญาต ...................................................................................................................... 43 3.5 บทลงโทษ .................................................................................................................................................................... 44 3.6 มาตรฐานทางวิชาชีพ ................................................................................................................................................... 44 4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี ............................................................................................................................................... 47 4.1 ความเป็นมา................................................................................................................................................................. 47 4.2 กระบวนการทา EIA ..................................................................................................................................................... 48 4.3 การมีส่วนร่วมของประชาชน........................................................................................................................................ 54 4.4 ความรับผิดชอบหลังจากที่ได้รับอนุญาต ...................................................................................................................... 55 4.5 บทลงโทษ .................................................................................................................................................................... 55 4.6 มาตรฐานทางวิชาชีพ ................................................................................................................................................... 56 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม ............................................................................................................................................. 58 5.1 ความเป็นมา................................................................................................................................................................. 58 5.2 กระบวนการทา EIA ..................................................................................................................................................... 60 5.3 การมีส่วนร่วมของประชาชน........................................................................................................................................ 63 5.4 ความรับผิดชอบหลังจากที่ได้รับอนุญาต ...................................................................................................................... 67 5.5 บทลงโทษ .................................................................................................................................................................... 68 5.6. ข้อบกพร่องของกฎหมายและการทา EIA ปัจจุบัน...................................................................................................... 68 5.7 มาตรฐานทางวิชาชีพ ................................................................................................................................................... 70 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น ................................................................................................................................................... 71 6.1 ความเป็นมา................................................................................................................................................................. 71
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
2
6.2 กระบวนการทา EIA ..................................................................................................................................................... 73 6.3 การมีส่วนร่วมของประชาชน........................................................................................................................................ 83 6.4 บทลงโทษ .................................................................................................................................................................... 84 6.5 มาตรฐานทางวิชาชีพ ................................................................................................................................................... 84 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน ................................................................................................................ 85 7.1. ความเป็นมา................................................................................................................................................................ 85 7.2 กระบวนการทา EIA ..................................................................................................................................................... 85 7.3 การมีส่วนร่วมของประชาชน........................................................................................................................................ 99 7.4 ความรับผิดชอบหลังจากที่ได้รับอนุญาต .................................................................................................................... 100 7.5 มาตรฐานทางวิชาชีพ ................................................................................................................................................. 101 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย...................................................................................................................... 102 8.1 ความเป็นมา............................................................................................................................................................... 102 8.2 กระบวนการทา EIA ................................................................................................................................................... 103 8.3 ระบบใบอนุญาตผู้มีสิทธิทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม .......................................................................... 108 8.4 วรรณกรรมปริทัศน์ ปัญหาของระบบวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมประเทศไทย .................................................... 112 8.4.1 ปัญหาในกระบวนการการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม................................................................................. 112 8.4.2. ปัญหาเกี่ยวกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม .............................................................................. 118 8.4.3 ปัญหาสภาพบังคับทางกฎหมาย ........................................................................................................................ 120 8.4.4. ปัญหาเกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องในกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม............................................. 120 8.5 ทัศนะเพิ่มเติมจากผู้เชี่ยวชาญ.................................................................................................................................... 134 8.6 กรณีศึกษา : โรงไฟฟ้าหนองแซง จ.สระบุรี ................................................................................................................ 138 8.7 กรณีศึกษา : ท่าเรือบ้านโพธิ์ จ.ฉะเชิงเทรา ................................................................................................................ 149 9. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย .................................................................................................................................................. 157 บรรณานุกรม......................................................................................................................................................................... 165 ภาคผนวก.............................................................................................................................................................................. 173
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
3
สารบัญแผนภาพ แผนภาพ 1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ EIA ในประเทศโคลอมเบีย.............................................................................................. 34 แผนภาพ 2 กระบวนการยื่นขอใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม ประเทศโคลอมเบีย...................................................................... 37 แผนภาพ 3 กระบวนการกลั่นกรองโครงการของประเทศเยอรมนี .......................................................................................... 50 แผนภาพ 4 กระบวนการยื่นขอใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม ประเทศเยอรมนี .......................................................................... 53 แผนภาพ 5 กระบวนการยื่นขอใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม ประเทศเวียดนาม ........................................................................ 61 แผนภาพ 6 กระบวนการจัดทา EIA ในประเทศญีป่ ุ่น.............................................................................................................. 74 แผนภาพ 7 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น.......................................................................................................... 75 แผนภาพ 8 กระบวนการกลั่นกรองโครงการประเภท 2 .......................................................................................................... 76 แผนภาพ 9 กระบวนการกาหนดวิธีประเมินผลกระทบและกาหนดขอบเขต ........................................................................... 77 แผนภาพ 10 กระบวนการจัดทาร่างรายงาน EIS .................................................................................................................... 79 แผนภาพ 11 กระบวนการจัดทารายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์ .................................................................................................... 80 แผนภาพ 12 กระบวนการดาเนินโครงการและกฎหมาย EIA.................................................................................................. 81 แผนภาพ 13 กระบวนการรายงานผลการป้องกันผลกระทบ .................................................................................................. 82 แผนภาพ 14 กระบวนการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมของกฎหมาย SEPA กรณีโครงการภาครัฐที่ถูกตัดสินว่าไม่มีผลกระทบ อย่างมีนัยสาคัญ (DNS) ........................................................................................................................................................... 91 แผนภาพ 15 กระบวนการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมของกฎหมาย SEPA กรณีโครงการภาคเอกชนถูกตัดสินว่าไม่มีผลกระทบ อย่างมีนัยสาคัญ (DNS) ........................................................................................................................................................... 92 แผนภาพ 16 กระบวนการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมของกฎหมาย SEPA กรณีโครงการภาครัฐถูกตัดสินว่ามีผลกระทบอย่างมี นัยสาคัญ (DS) ......................................................................................................................................................................... 93 แผนภาพ 17 กระบวนการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมของกฎหมาย SEPA กรณีโครงการภาคเอกชนถูกตัดสินว่ามีผลกระทบ อย่างมีนัยสาคัญ (DS) .............................................................................................................................................................. 94 แผนภาพ 18 กระบวนการจัดทารายงานสถานะผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม (EIS) ตาม SEPA................................................. 96 แผนภาพ 19 กระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม กรณีโครงการทีไ่ ม่ตอ้ งขอรับความเห็นชอบ จากคณะรัฐมนตรี .................................................................................................................................................................. 105 แผนภาพ 20 กระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม กรณีโครงการทีต่ ้องขอรับความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรี......................................................................................................................................................................... 106 แผนภาพ 21 กระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรณีโครงการที่ต้องขอรับความ เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี .................................................................................................................................................... 107 แผนภาพ 22 กระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรณีโครงการที่ไม่ต้องขอรับความ เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี .................................................................................................................................................... 108 แผนภาพ 23 กระบวนการ EIA ตามโมเดล "ผูต้ รวจสอบ+กองทุน" ....................................................................................... 160 แผนภาพ 24 กระบวนการ EIA ตามโมเดล "ผูต้ รวจสอบ" ..................................................................................................... 161 แผนภาพ 25 กระบวนการ EIA ตามโมเดล "องค์กรอิสระ".................................................................................................... 163
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
4
สารบัญตาราง ตาราง 1 สรุปลักษณะสาคัญของกระบวนการทา EIA ในประเทศกรณีศึกษา.......................................................................... 20 ตาราง 2 ความเป็นมาของการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมในประเทศญี่ปุ่น ........................................................................... 71 ตาราง 3 โครงการที่มีการจัดทา EIA ในประเทศญี่ปุ่น (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 2012) ............................................ 72 ตาราง 4 ข้อยกเว้นโดยกฎหมายของการดาเนินการบางประเภท จากการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมตามกฎหมาย SEPA...... 86 ตาราง 5 ประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ................... 123 ตาราง 6 ประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ................................. 128 ตาราง 7 ประเด็นที่ต้องแก้ไขในรายงาน EIA ครั้งที่ 1 และ 2 และมาตรการเพิ่มเติมจากคชก.และกรมโรงงาน .................... 140 ตาราง 8 ผลกระทบจากการก่อสร้างโรงไฟฟ้าและการเยียวยาจากโรงไฟฟ้า......................................................................... 145 ตาราง 9 ผลกระทบจากการดาเนินงานของโรงไฟฟ้าและการเยียวยาจากโรงไฟฟ้า .............................................................. 145 ตาราง 10 ปัญหาของกระบวนการจัดทารายงาน EIA ในทัศนะของชาวบ้าน ........................................................................ 147 ตาราง 11 ข้อมูลเรือที่ใช้บรรทุกสินค้าแต่ละท่า..................................................................................................................... 149 ตาราง 12 ผลกระทบที่ชุมชนคาดว่าอาจได้รับจากโครงการโกดังเก็บสินค้าและท่าเรือขนถ่ายสินค้า .................................... 151 ตาราง 13 ผลกระทบที่ผู้อยู่อาศัยบริเวณใกล้เคียงได้รับจากโครงการโกดังเก็บสินค้าและท่าเรือขนถ่ายสินค้า ...................... 153 ตาราง 14 ผลกระทบที่ผู้ประกอบอาชีพที่พึ่งพาแม่น้าบางปะกงได้รบั จากโครงการโกดังเก็บสินค้าและท่าเรือขนถ่ายสินค้า . 154 ตาราง 15 ข้อมูลส่วนท่าเทียบเรือ ......................................................................................................................................... 156 ตาราง 16 ข้อดี-ข้อด้อยโดยเปรียบเทียบของโมเดล “ผู้ตรวจสอบ+กองทุน” ........................................................................ 159 ตาราง 17 ข้อดี-ข้อด้อยโดยเปรียบเทียบของโมเดล “องค์กรอิสระ"...................................................................................... 162
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
5
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
โครงการวิจัยชิ้นนี้ศึกษาทบทวนวรรณกรรมปริทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับ ระบบการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment: EIA บางประเทศเรียกรายงานชั้นสุดท้ายที่เป็นผลผลิตของกระบวนการนี้ว่า Environmental Impact Statement: EIS) จากประเทศกาลังพัฒนาสองประเทศ ได้แก่ โคลอมเบีย และเวียดนาม และ ประเทศพัฒนาแล้วสามประเทศ ได้แก่ เยอรมนี ญี่ปุ่น และมลรัฐวอชิงตันในสหรัฐอเมริกา รวมถึงสรุปปัญหาที่พบบ่อยใน ระบบ EIA ในประเทศไทย ผ่านการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อ ง และกรณีศึกษาข้อขัดแย้งใน จ.สระบุรี และ จ.ราชบุรี ที่ เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทา EIA เพื่อนามาสังเคราะห์เป็นข้อเสนอเชิงนโยบายสาหรับการปรับปรุงธรรมาภิบาลของระบบ EIA ในประเทศไทย ผลการทบทวนวรรณกรรมปริทัศน์ต่างประเทศ สามารถสรุปประเด็นที่น่าสนใจได้ดังต่อไปนี้ กระบวนการทา EIA/EIS ของทุกประเทศที่ทาการศึกษา ล้วนแต่กาหนดให้หน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบ ดาเนินการ เปิดเผยข้อมูลในรายงาน EIA ต่อสาธารณะ ทุกประเทศที่ท าการศึ กษา ล้ วนกาหนดกระบวนการมี ส่ว นร่ว มของประชาชนอย่า งชัด เจน ถึงแม้ร ายละเอีย ด ปลีกย่อยจะแตกต่างกันไป โดยประเทศญี่ ปุ่นกาหนดการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างเข้มข้นที่สุด ตั้งแต่ขั้นตอน การกาหนดขอบเขตการทารายงาน (scoping) จนถึงกระบวนการอนุมัติชั้นสุดท้าย ทุกประเทศที่ทาการศึกษา ล้วนกาหนดให้ผู้เสนอโครงการเป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการจัดทารายงาน EIA/EIS และให้อิสระในการว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญหรือบริษัทที่ปรึกษาภายนอกมาจัดทารายงานได้โดยตรง ยกเว้นมลรัฐ วอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ซึ่งกาหนดให้หน่วยงานรัฐเป็นผู้จัดทารายงาน EIS ด้วยตนเอง ผู้เสนอโครงการมีหน้าที่เพียง นาส่งข้อมูลที่จาเป็นเท่านั้น ส่วนประเทศเยอรมนีใช้มาตรการก้ากึ่ง กล่าวคือ ให้หน่วยงานรัฐเป็นผู้จัดทาสรุปรายงาน ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมขั้นสุดท้าย โดยใช้ข้อมูลจาก EIA ที่ผู้เสนอโครงการส่งมาเป็นพื้นฐาน ประเด็ นที่ทุกประเทศให้ความสาคั ญมากขึ้ นอย่า งต่อเนื่ อง เมื่ อคานึ งถึงความเป็น มาและพัฒนาการของระบบ กฎหมาย EIA ในแต่ละประเทศ ได้แก่ o ความรับผิดชอบของผู้เสนอโครงการหลังจากที่รายงาน EIA ได้รับการอนุมัติ โดยเฉพาะการจัดทาและ ดาเนินการตาม “แผนปฏิบัติการ” (action plan) หรือ “แผนการบรรเทาผลกระทบ” (mitigation plan) หรือ “แผนการติดตามตรวจสอบ” (monitoring plan) o การกาหนดให้ระบุ “ทางเลือก” (alternatives) ในการดาเนินโครงการ ไว้เป็นส่วนหนึ่งในรายงาน EIA o ความรับผิดชอบของหน่วยงานรัฐในการติดตามความรับผิดชอบของผู้เสนอโครงการ o การประสานความร่วมมือและแบ่งหน้าที่ระหว่างหน่วยงานรัฐระดับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ o กลไกและช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชน เงื่อนไขการทาประชาพิจารณ์ o มาตรฐานวิชาชีพในการจัดทารายงาน EIA ไม่ว่าจะผ่านการจัดทาคู่มือแนวปฏิบัติในการประเมิน EIA (ทุก ประเทศยกเว้นเวียดนาม), การจัดตั้งเครือข่ายที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม (เยอรมนี) , การจัดทาระบบ ฐานข้ อ มู ล สิ่ งแวดล้ อ ม (โคลอมเบี ย ) หรื อ การก าหนดคุ ณ สมบั ติ ร ายบุ ค คลของผู้ จั ด ท ารายงาน EIA (เวียดนาม)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
6
ทุกประเทศที่ทาการศึกษา กาหนดว่าผู้เสนอโครงการ ไม่สามารถเริ่มต้นการก่อสร้างได้ จนกว่าผลการพิจารณา รายงาน EIA จะแล้วเสร็จ – แตกต่างจากประเทศไทย ซึ่งข้อพิพาทเกี่ยวกับ EIA หลายกรณีเกิดจากการที่ผู้เสนอ โครงการเริ่มดาเนินการก่อสร้าง ก่อนที่กระบวนการพิจารณารายงาน EIA จะแล้วเสร็จ
สาหรับการประมวลประเด็นปัญหาและอุปสรรคของระบบ EIA ในประเทศไทย คณะวิจัยพบจากการทบทวน วรรณกรรมว่า สามารถแบ่งประเด็นปัญหาออกเป็น 4 หมวดใหญ่ๆ ได้แก่ 1. ปัญหาในกระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม อาทิ 1.1 การพยายามหลีกเลี่ยงการจัดทารายงาน EIA ด้วยการลดขนาดเพียงเล็กน้อยเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้โครงการ เข้าเกณฑ์ที่ต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1.2 การกาหนดประเภทโครงการที่ต้องจัดทา EIA มีความล่าช้าไม่ทันต่อเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 1.3 เวที การรับ ฟั งความคิ ดเห็ นของประชาชนในประเทศไทยมั ก จะเป็น เวที เ พื่อ สร้า งความชอบธรรมต่ อ สาธารณชนในการดาเนินโครงการ 1.4 ทั้งฝ่ายโครงการและฝ่ายประชาชนยังขาดความเข้าใจและการให้ความสาคัญเรื่องการมีส่วนร่วม การศึกษา ผลกระทบทางสังคมยังทาได้ไม่เต็มที่เพราะขาดแคลนเวลาและงบประมาณ ข้อมูลที่ได้จากการสารวจมิได้ น ามาใช้ ป ระโยชน์ เ พื่ อ ป้ อ งกั น หรื อ ลดผลกระทบ และไม่ เ พี ย งพอที่ จ ะตอบค าถามในด้ า นการศึ ก ษา ผลกระทบทางสังคมได้อย่างชัดเจน รวมถึงความไม่ไว้วางใจของประชาชนต่อบริษัทที่ปรึกษา จากการทา หน้าที่ในการประชาสัมพันธ์โครงการทาให้มีท่าทีไม่เป็นกลาง การมีส่วนร่วมของประชาชนจึงมีลักษณะ ‘เผชิญหน้า’ ด้วยการแบ่งฝ่ายเป็นกลุ่ม “เห็นด้วย” และ “ไม่เห็นด้วย” กับโครงการ โดยเกือบจะปฏิเสธ ข้อมูลของฝ่ายตรงข้ามทั้งหมด มากกว่าที่จะประนีประนอมและรับฟังความคิดเห็น 1.5 รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมมักจะถูกเปิดเผยต่อเมื่ อโครงการได้รับ อนุมัติแล้ว เท่านั้ น สมาชิกชุมชนที่ได้รับผลกระทบไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นต่อร่างรายงาน EIA ทาให้อาจเกิดปัญหาเช่น การต่อต้านหรือไม่ยอมรับโครงการ 1.6 การตรวจสอบการปฏิ บั ติต ามเงื่ อ นไขในรายงาน EIA มี ปัญ หามากเพราะไม่ มี ก ลไกที่ มีป ระสิท ธิ ภ าพ เนื่องจากปัจจัยเช่น หน่วยงานผู้ให้อนุญาตไม่มีความพร้อม ขาดความรู้ความชานาญการ และไม่มีเครื่องมือ ในการประเมินหรือตรวจสอบได้ว่ามีการดาเนินการตามมาตรการป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่ระบุ ไว้ในรายงาน EIA หรือไม่ เพียงใด 2. ปัญหาเกี่ยวกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม อาทิ 2.1 โครงการแต่ละโครงการมีลักษณะที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องขนาดโครงการ หรือความอ่อนไหวของ พื้นที่ก่อสร้าง ซึ่งบางโครงการอาจต้องมีการศึกษาในบางประเด็นเพิ่มเติม แต่ในประกาศกระทรวงฯไม่ได้ กาหนดไว้ การจัดทารายงาน EIA จึงมีลักษณะตามรูปแบบมากกว่าการจัดทาตามรายการที่ควรจะศึกษาใน ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นตามลักษณะเฉพาะของแต่ละโครงการ 2.2 ปัญหาการขาดแคลนข้อมูลฐาน (baseline data) เช่น คุณภาพอากาศ เสียงรบกวน ปริมาณและคุณภาพ น้าผิวดิน คุณภาพดิน พืชและสัตว์ประจาถิ่น ซึ่งจาเป็นต่อการจัดทารายงาน แต่ข้อมูลฐานยังด้อยคุณภาพ และขาดแคลนในประเทศไทย ส่งผลให้บริษัทที่ปรึกษามีข้อจากัดค่อนข้างมากในการจัดทารายงาน และ บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
7
2.3
2.4
3. 3.1
3.2
3.3
4. 4.1
4.2
4.3
สุดท้ายก็ส่งผลให้คุณภาพของรายงาน EIA ถูกตั้งคาถาม เนื่องจากรายงานจะจัดทาโดยให้ผู้เชี่ยวชาญแต่ละ สาขาจัดหาข้อมูลโดยตนเอง ปัญหารายงานขาดคุณภาพในบางกรณี นอกเหนือจากปัญหาการขาดแคลนข้อมูลฐาน เช่น เนื้อหาไม่ ครอบคลุม การประเมินตามรายงานของเจ้าของโครงการไม่ตรงกับข้อเท็จจริง บุคคลที่ดาเนินการไม่เป็นที่ ยอมรับหรือไม่มีความรู้ ขาดการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เก็บข้อมูล เวลาในการดาเนินการไม่เพียงพอ ไม่มีการกาหนดอายุของรายงาน EIA หากโครงการได้ผ่านกระบวนการจัดทาและพิจารณารายงาน วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมแล้ว รายงานฉบับดังกล่าวจะมีผลบังคับใช้ตลอดไป ไม่ว่าสภาพแวดล้อม หรือลักษณะโครงการจะเปลี่ยนแปลงไปเพียงใดก็ตาม ปัญหาสภาพบังคับทางกฎหมาย อาทิ กรณีที่เจ้าของโครงการไม่ ดาเนินการตามที่กาหนดไว้ในรายงาน EIA หลังจากที่ได้รับอนุญาตแล้ว เจ้า พนักงานในหน่วยงานผู้ให้อนุญาตมีอานาจตามกฎหมายให้ดาเนินการตามเงื่อนไข หากฝ่าฝืนจะมีผลให้มี การสั่งแก้ไขหรือให้ระงับการดาเนินการชั่วคราวหรือทั้งหมด อย่างไรก็ดี ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ไม่มีบทบัญญัติในกรณีนี้ ทาให้เห็นว่าเป็นกระบวนการที่ขาดสภาพ บังคับ เนื่องจากไม่มีกฎหมายที่จะลงโทษหรือบังคับให้กระทา การไม่ยื่นรายงาน EIA ก่อนการประกอบกิจ การ ไม่มีความผิดตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 กรณีเดียวที่มีบทลงโทษ คือ กรณีที่ไม่ดาเนินการจัดทารายงาน EIA ตาม หลักเกณฑ์ที่กาหนดมาตรการที่ต้องจัดทารายงานในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา 43 หรือ ประกาศพื้นที่วิกฤติตามมาตรา 45 จะถือว่าเป็นการกระทาฝ่าฝืนกฎกระทรวง การยื่นรายงาน EIA ที่มีข้อเท็จจริงไม่ตรงกับความจริง อันจะนาไปสู่การวิเคราะห์หรือให้ความเห็นชอบโดย ผิด หลงของ คชก. ไม่มี บ ทบัญ ญั ติ ที่ก าหนดความผิ ดไว้ ใ นพระราชบั ญญั ติ ส่ งเสริ มและรัก ษาคุณ ภาพ สิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 แต่การกระทาดังกล่าวมีโทษทางปกครอง ซึ่งกาหนดให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่ งชาติ มีอ านาจสั่งพั กใบอนุ ญ าต หรื อ สั่งเพิก ถอนใบอนุ ญ าต รวมถึงการลงโทษทางอาญาฐานแจ้ ง ข้อความอันเป็นเท็จแก่เจ้าพนักงานตามมาตรา 137 ซึ่งมีโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพัน บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ นับว่าเป็นโทษที่เบาและไม่สามารถยับยั้งการกระทาผิดซึ่งกระทาโดยนิติบุคคลได้ ปัญหาองค์กรที่เกี่ยวข้องในกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม อาทิ การพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในกรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ซึ่งต้องขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี โดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ อาจขาด ความเป็นกลาง เพราะคณะกรรมการฯ ซึ่งเป็นตัวแทนจากภาคการเมืองย่อมต้องผลักดันโครงการหรือ กิจการต่างๆ ให้เป็นไปตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีซึ่งอาจมุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นหลัก ในกระบวนการพิจารณารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้ อมและสุขภาพนั้น องค์กรอิสระทาหน้าที่ เพียงให้ความเห็นประกอบต่อรายงาน ถือว่าเป็นการให้ความเห็นที่ไม่มีผลอย่างใดต่อการพิจารณารายงาน เนื่องจากได้ผ่านขั้นตอนกระบวนการการพิจารณาโดยคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญมาแล้ว ข้อจากัดของ คชก. สองประการ ประการแรกคือข้อจากัด ด้านข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูลในรายงาน EIA เพราะแต่ละโครงการมีประเด็นในการศึกษาหลากหลาย ประการที่สองคือข้อจากัดด้านเวลา ซึ่งต้อง พิจารณารายงาน EIA ภายในเวลาที่กฎหมายกาหนด หากไม่ให้ความเห็นในระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
8
จะถือว่า คชก. ได้ให้ความเห็นชอบกับรายงานดังกล่าวแล้ ว แม้ว่ากรอบเวลาในการพิจารณาจะมีผลดี เพื่ อ ให้ เ กิด ความรวดเร็ ว ในการทราบผลพิ จ ารณา แต่ก็ มี ข้ อ เสีย ต่ อ ผู้ ข ออนุ ญ าต กล่ า วคื อ หาก คชก. พิจารณาไม่เสร็จเรียบร้อยพอที่จะให้ความเห็นชอบ ก็จะลงมติไม่เห็นชอบรายงาน EIA ทาให้นิติบุคคล ผู้จัดทารายงานจะต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมฉบับใหม่
ในบรรดาปัญหาและอุปสรรคของกระบวนการ EIA ในไทยดังสรุปข้างต้น คณะวิจัยพบว่าปัญหาที่มีส่วนสาคัญเป็น พิเศษในการสร้างและซ้าเติมความขัดแย้งระหว่างชาวบ้านในชุมชนกับผู้ประกอบการ ได้แก่ ปัญหาการขาดสภาพบังคับทาง กฎหมาย กรณี ที่ เ จ้ า ของโครงการไม่ ด าเนิ น การตามที่ ก าหนดไว้ ใ นรายงาน EIA ประกอบกั บ ปั ญ หาการขาดกลไกที่ มี ประสิทธิภาพในการตรวจสอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขในรายงาน EIA ในกรณีของโรงไฟฟ้าหนองแซง จ.สระบุรี ซึ่งชาวบ้าน พบว่าบริษัทผู้ดาเนินโครงการมิ ได้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามระบุไว้ในรายงาน EIA ที่ ได้รับความเห็นชอบ และเมื่อชาวบ้านไปร้องเรียนยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กลับไม่มีหน่วยงานใดที่ออกมารับผิดชอบหรือมี มาตรการที่เป็นรูปธรรมที่สามารถแก้ปัญหาให้ชาวบ้านได้จริงๆ หรือเมื่อชาวบ้านมีน้าไม่พอใช้ แล้วไปแจ้งโรงไฟฟ้าให้หยุดสูบ น้า โรงไฟฟ้ากลับแจ้งชาวบ้านว่ากรมชลประทานยังไม่มีคาสั่งให้หยุดสูบน้า เป็นต้น นอกจากนี้ การพยายามหลีกเลี่ยงการจัดทารายงาน EIA ก็เป็นปัญหาสาคัญเช่นกัน เนื่องจากทาให้ผู้ประกอบการไม่ ต้องทาตามกระบวนการ EIA ตั้งแต่ต้นหากหลีกเลี่ยงสาเร็จ ตัวอย่างที่น่าสนใจในประเด็นนี้ คือ กรณีบริษัท อีสเทิร์น ที พี เค แค็ปปิตอล จากัด ดาเนินโครงการท่าเทียบเรือเพื่อขนส่งสินค้าจานวน 6 ท่า ริมแม่น้าบางกะปง ต.สนามจันทร์ อ.บ้านโพธิ์ จ. ฉะเชิงเทรา โดยโครงการดังกล่าวไม่เข้าเกณฑ์โครงการที่ต้องจัดทารายงาน EIA เนื่องจากท่าเรือมีขนาด 995 และ 831 ตาราง เมตร ในขณะที่กฎหมายกาหนดให้โครงการที่มีพื้นที่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไปต้องจัดทารายงาน แม้วา่ ในความเป็นจริงท่าเรือ ทั้ง 6 ท่าจะเรียงต่อกันในระยะห่างไม่เกิน 100 เมตร มีเจ้าของเป็นบริษัทเดียวกันและได้รับอนุญาตในวันเดียวกันก็ตาม โดย โครงการดังกล่าวได้รับอนุญาตจากสานักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 6 และนายกองค์การบริหารส่วนตาบลสนามจันทร์ และปัจจุบัน อยู่ในระหว่างการฟ้องร้องดาเนินคดีโดยชาวบ้านในชุมชนใกล้เคียง
เมื่อนาผลการทบทวนวรรณกรรมปริทัศน์ข้างต้น มาประกอบการวิเคราะห์ปญ ั หาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทา EIA ในไทย คณะวิจยั เสนอว่าควรมีการปรับปรุงกระบวนการให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ดังต่อไปนี้ 1. ขั้นตอนการจัดทารายงาน EIA 1.1 สานักงานแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ควรกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลกระทบ อย่างชัดเจนกว่าที่ผ่านมา สาหรับโครงการแต่ละประเภท 1.2 สผ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการเก็บบันทึกข้อมูลฐาน (baseline data) ซึ่งจาเป็นต่อการจัดทารายงาน EIA ที่ได้คณ ุ ภาพ เช่น คุณภาพอากาศ คุณภาพดิน คุณภาพน้า และมีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอย่าง สม่าเสมอ เพื่อยกระดับมาตรฐานการทารายงาน EIA และแบ่งเบาภาระของบริษัทผู้จดั ทารายงาน EIA 1.3 ควรนับรวมโครงการใกล้เคียงที่มลี กั ษณะเดียวกันในพื้นทีต่ ิดกันว่าเป็นโครงการเดียวกัน ในการประเมินว่า โครงการดังกล่าวเข้าข่ายที่จะต้องเข้ากระบวนการ EIA หรือไม่ ดังเช่นกรณีของเยอรมนี เพื่อแก้ไขกรณีที่ ผู้พัฒนาโครงการซอยโครงการออกเป็นโครงการย่อยๆ เพื่อหลบเลี่ยงภาระการปฏิบัตติ ามระบบ EIA 2. ขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็น และการเปิดเผยข้อมูล บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
9
2.1 ควรปรับปรุงหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการรับฟังความคิดเห็นให้ตรงตามมาตรฐานสากล อาทิ หลักการ “ให้การยินยอมอย่างเป็นอิสระ โดยได้รับรู้ข้อมูลล่วงหน้าอย่างครบถ้วน” หรือ FPIC (Free, Prior, Informed Consent) ตามปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิชนพื้นเมือง ซึ่งรัฐบาลไทยได้ลงนามเห็นชอบ 2.2 ควรกาหนดให้ผู้จัดทารายงาน EIA ย่อยเนื้อหาในร่างรายงาน ใช้ภาษาที่ชาวบ้านฟังแล้วเข้าใจเวลาจัด กระบวนการรับฟังความคิดเห็น เช่น สารเคมีแต่ละตัวคืออะไร ส่งผลอย่างไรต่อสุขภาพ ผู้พัฒนาโครงการมี แนวทางป้องกันอย่างไร เพื่อขจัดปัญหาที่เนื้อหาในรายงาน EIA มักมีความซับซ้อนทางเทคนิคและเข้าใจยาก เป็นข้อจากัดสาหรับชาวบ้านที่ประสงค์จะแสดงความคิดเห็น 2.3 ควรเปิดเผยร่างรายงาน EIA ฉบับสมบูรณ์ ให้ผมู้ ีส่วนได้เสียโดยเฉพาะชุมชน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นอย่าง กว้างขวาง ก่อนที่จะจัดทาและเผยแพร่รายงานฉบับสมบูรณ์ 3. ขั้นตอนการให้ความเห็นชอบของหน่วยงานรัฐ และการทางานของ คชก. 3.1 ควรปรับปรุงกระบวนการคัดเลือกคณะกรรมการผู้ชานาญการ (คชก.) ใหม่ เพื่อให้ได้ คชก. ที่มีความ หลากหลายและมีความเป็นอิสระมากขึ้น โดยใช้แนวทาง เช่น เปลี่ยนเป็นระบบรายชื่อ โดยเปิดเผยชื่อและ คุณสมบัติของ คชก. แต่ละด้าน และเปิดโอกาสให้สาธารณะเสนอชือ่ เพิ่มเติม เป็นต้น 3.2 หน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบควรต้อง ไม่อนุมัติให้เดินหน้าโครงการ จนกว่ากระบวนการจัดทา EIA จะแล้วเสร็จ ทั้งนี้ รวมถึงกระบวนการที่จะมีผลผูกพันและสร้างแรงกดดันให้หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องอนุมัติโครงการ ไม่ว่าผล การจัดทารายงาน EIA จะเป็นเช่นไร เช่น การเปิดสัมปทานพลังงานรอบใหม่ การอนุมตั ิแผนพัฒนา อุตสาหกรรมหนัก เป็นต้น 4. ขั้นตอนการติดตามตรวจสอบ 4.1 สผ. ควรมีอานาจลงโทษผู้พัฒนาโครงการที่ไม่ดาเนินการตามมาตรการจัดการและลดผลกระทบตามที่ระบุใน รายงาน EIA (ปัจจุบันผูม้ ีอานาจลงโทษคือหน่วยงานผู้มีอานาจอนุญาต แต่กฎหมายไม่มสี ภาพบังคับจริง) 4.2 ควรเพิ่มกระบวนการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามรายงาน EIA โดยให้ สผ. หรือ คชก. หรือกองทุน EIA ซึ่ง ตั้งขึ้นใหม่ มีอานาจในการคัดเลือกและแต่งตั้งบริษัทที่ปรึกษาซึ่งไม่มีส่วนได้เสียกับโครงการ มาทาหน้าที่ผู้ ตรวจสอบภายนอก (ดูรายละเอียดในข้อเสนอ “สามโมเดล” ด้านล่าง) 5. การยกระดับมาตรฐานวิชาชีพผู้ประเมินรายงาน EIA 5.1 รัฐควรส่งเสริมให้มีการจัดตั้งสภาผูป้ ระกอบวิชาชีพจัดทารายงาน EIA ในลักษณะคล้ายกับสภาวิชาชีพบัญชี หรือสภาวิศวกร โดยให้มีอานาจออกใบอนุญาต พักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตรายบุคคล รวมทั้งกาหนด จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพ ออกแบบหลักสูตรการอบรม เป็นต้น เพิ่มเติมจากปัจจุบันทีก่ ารเพิกถอน ใบอนุญาตเป็นการพักใบอนุญาตนิติบุคคล มิใช่การพักใบอนุญาตของบุคคล ส่งผลให้บุคคลที่จัดทารายงาน EIA สามารถไปทางานให้กับนิติบุคคลอื่นได้ 5.2 สผ. ควรริเริ่มโครงการใหม่ๆ เพื่อยกระดับมาตรฐานและความโปร่งใสของผู้จัดทารายงาน EIA อาทิ จัดงานมอบ รางวัล “รายงาน EIA ดีเด่นประจาปี” เป็นต้น ในส่วนของการปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบตามข้อ 4.2 ข้างต้น คณะวิจัยเสนอว่ามีทางเลือกอย่างน้อยสาม รูปแบบ หรือสาม “โมเดล” ดังต่อไปนี้
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
10
1. โมเดล “ผู้ตรวจสอบ+กองทุน” โมเดลนี้จะจัดตั้ง “กองทุน EIA” เป็นกองทุนอิสระ มีคณะกรรมการจากกระบวนการสรรหา ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ตัวแทนจากภาคเอกชน และภาคประชาชน อย่างละเท่าๆ กัน โครงสร้างและอานาจหน้าที่อาจมีลักษณะคล้าย กับ National Environmental Fund (Fondo Nacional Ambiental, FONAM) ซึ่งเป็นระบบบัญชีพิเศษของกระทรวง สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน (Ministry of Environment and Sustainable Development) ในประเทศโคลอมเบีย กองทุนนี้ในโคลอมเบียจะเรียกเก็บค่าใช้จ่ายสาหรับการประเมินรายงานเพื่อออกใบอนุญาต และค่าใช้จ่ายในการติดตามผล การดาเนินงาน จากผู้พัฒนาโครงการ ในกรณีของประเทศไทย คณะวิจัยเสนอว่ากองทุน EIA ควรมีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 1. เก็บค่าธรรมเนียมจากผู้พัฒนาโครงการ สาหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ กรณีทรี่ ายงาน EIA ผ่านความ เห็นชอบ (อาจใช้ลักษณะ “กันเงิน” ในบัญชีพิเศษ (Escrow Account) โดยจะคืนให้กับผู้พัฒนาโครงการใน ภายหลัง ในกรณีทรี่ ายงาน EIA ไม่ผ่านความเห็นชอบ หรือกระบวนการตรวจสอบจริงใช้เงินไม่เต็มจานวน) 2. ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษามาทาหน้าทีต่ รวจสอบ (audit) การปฏิบัตติ ามมาตรการป้องกันและบรรเทาผลกระทบ ตามที่ระบุในรายงาน EIA ตามข้อเสนอของ คชก. (ให้ คชก. ทาหน้าที่คัดเลือกบริษัทผู้ตรวจสอบ) 3. บริหารสัญญาการจ้างงาน ระหว่างกองทุน EIA กับบริษัทผู้ตรวจสอบ 4. จ่ายเงินตามสัญญาให้กับบริษัทผู้ตรวจสอบ หน้าทีร่ องของกองทุน EIA ทีอ่ าจทาได้ มีอาทิ การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจากผู้พัฒนาโครงการเป็นร้อยละของมูลค่า การก่อสร้าง ในลักษณะคล้ายกับกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า เพื่อนามาสารองสาหรับการเยียวยาผูไ้ ด้รับ ผลกระทบ ภายหลังจากที่โครงการได้รับอนุมัติ ข้อดีและข้อด้อยโดยเปรียบเทียบของโมเดลนี้ เมื่อเทียบกับอีกสองโมเดลซึ่งจะกล่าวถึงต่อไป สามารถสรุปได้ ดังต่อไปนี้ ข้อดีโดยเปรียบเทียบ มีกองทุน EIA มารับผิดชอบค่าใช้จ่ายในกระบวนการ ตรวจสอบโดยตรง แบ่งเบาภาระการตรวจสอบและติดตามผลของ สผ. ไปให้กับ บริษัทผู้ตรวจสอบโดยตรง เพิ่มแรงจูงใจให้บริษัทที่ปรึกษาผูจ้ ดั ทารายงาน EIA มีความ ตื่นตัวที่จะจัดทารายงาน EIA อย่างมีคุณภาพ เนื่องจากจะถูก ตรวจสอบโดยบริษัทคู่แข่งในวงการเดียวกัน เพิ่มแรงจูงใจให้บริษัทที่ปรึกษาปรับปรุงมาตรฐานการทางาน เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับรายได้ในฐานะผู้ตรวจสอบ
ข้อด้อยโดยเปรียบเทียบ ก่อให้เกิดความเสี่ยงใหม่ว่า กองทุน EIA อาจขาดความเป็น อิสระ ความเสีย่ งเรื่องธรรมาภิบาลของกองทุน โดยเฉพาะการใช้ จ่ายเงิน ต้องจัดตั้งกองทุน EIA เป็นองค์กรใหม่ มีค่าใช้จ่ายบริหาร จัดการเพิม่ เติมจากโครงสร้างเดิม ผู้พัฒนาโครงการอาจไม่เห็นด้วยกับกระบวนการตรวจสอบที่ ตนไม่มีอานาจจ้างผูต้ รวจสอบเอง เนื่องจากจะมองว่าผู้ ตรวจสอบอาจไม่ได้คณ ุ ภาพ หรือไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
11
2. โมเดล “ผู้ตรวจสอบ” โมเดลนี้มลี ักษณะคล้ายกับโมเดลแรก แต่ไม่มีการจัดตั้งองค์กรใหม่ใดๆ (ไม่มีกองทุน EIA) โดยให้ สผ. มีหน้าที่สรรหา และว่าจ้างผู้ตรวจสอบโดยตรง ตามข้อเสนอแนะของ คชก. ข้อดีโดยเปรียบเทียบของโมเดลนี้ คือ ไม่ต้องมีการจัดตั้งองค์กรใหม่ จึงไม่มีค่าใช้จ่ายด้านการบริหารจัดการองค์กร เพิ่มเข้ามาในกระบวนการ และหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่จะตามมากับการก่อตั้งองค์กรใหม่ เช่น ความเสีย่ งที่จะขาดความเป็น อิสระ และด้านธรรมาภิบาล อย่างไรก็ดี ข้อเสียโดยเปรียบเทียบของโมเดลนี้ คือ อาศัยการทางานของ สผ. และ คชก. เป็น หลักในการขับเคลื่อนกระบวนการตรวจสอบ (เป็นการพึ่งพาหน่วยงานภาครัฐค่อนข้างมาก คล้ายกับระบบ EIA ในประเทศ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
12
เยอรมนี) จึงอาจรับปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนของ สผ. และ คชก. มาเป็น ‘มรดก’ ในกระบวนการตรวจสอบและติดตามผล อาจส่งผลให้กระบวนการไม่มีประสิทธิผลและ/หรือผู้ตรวจสอบไม่เป็นอิสระเท่าที่ควร
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
13
3. โมเดล “องค์กรอิสระ” โมเดลนี้แตกต่างจากโมเดล 1. และ 2. อย่างมีนัยสาคัญ โดยเสนอให้จัดตั้ง “องค์กรอิสระ” ขึ้นมาทาหน้าที่ดาเนิน กระบวนการประเมินและเห็นชอบรายงาน EIA ตั้งแต่ต้นน้าจนถึงปลายน้า ตั้งแต่ขั้นตอนการจ้างบริษัทที่ปรึกษามาจัดทา รายงาน EIA (หรือองค์กรนี้อาจจัดทาด้วยตนเอง) ขั้นตอนการให้ความเห็นชอบ ตลอดจนขั้นตอนการติดตามตรวจสอบ และ อานาจลงโทษผู้พัฒนาโครงการ ในกรณีที่มไิ ด้ดาเนินตามมาตรการลดผลกระทบดังที่ระบุไว้ในรายงาน EIA โมเดลนี้มลี ักษณะคล้ายกับระบบ EIA ของมลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา แตกต่างกันตรงที่ให้องค์กรอิสระเป็นผู้จดั ทา รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Statement: EIS ตามชื่อเรียกของมลรัฐวอชิงตัน) มิใช่หน่วยงานรัฐ ดังเช่นกรณีของมลรัฐวอชิงตัน เพื่อหลีกเลีย่ งปัญหาการขาดความเป็นอิสระของหน่วยงานรัฐ หรือผลประโยชน์ทับซ้อนในกรณี ที่ผู้พัฒนาโครงการเป็นหน่วยงานรัฐด้วยกันหรือรัฐวิสาหกิจ ข้อดีและข้อด้อยโดยเปรียบเทียบของโมเดลนี้ เมื่อเทียบกับอีกสองโมเดลข้างต้น สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ ข้อดีโดยเปรียบเทียบ มีองค์กรอิสระอย่างเป็นกิจลักษณะ แบ่งเบาข้อกังวลที่ว่า คชก. สผ. หรือผู้จัดทารายงาน EIA อาจมีผลประโยชน์ทับ ซ้อน หรือไม่เป็นอิสระ แบ่งเบาภาระการตรวจสอบและติดตามผลของ สผ. ไปให้กับ องค์กรอิสระโดยตรง เพิ่มแรงจูงใจให้บริษัทที่ปรึกษาผูจ้ ดั ทารายงาน EIA มีความ ตื่นตัวที่จะจัดทารายงาน EIA อย่างมีคุณภาพ เนื่องจากจะถูก ตรวจสอบโดยองค์กรอิสระ เพิ่มแรงจูงใจให้บริษัทที่ปรึกษาปรับปรุงมาตรฐานการทางาน เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับรายได้ในฐานะผู้ตรวจสอบ (ทางาน ให้กับองค์กรอิสระ)
ข้อด้อยโดยเปรียบเทียบ ก่อให้เกิดความเสี่ยงใหม่ว่า องค์กรอิสระจะเป็นอิสระอย่าง แท้จริงหรือไม่ ความเสีย่ งเรื่องธรรมาภิบาลขององค์กรอิสระ โดยเฉพาะการ ใช้จ่ายเงิน ต้องจัดตั้งกองทุน EIA เป็นองค์กรใหม่ มีค่าใช้จ่ายบริหาร จัดการเพิม่ เติมจากโครงสร้างเดิม การริบเอาอานาจรัฐบางส่วน อาทิ อานาจการให้ความ เห็นชอบต่อรายงาน EIA และอานาจการลงโทษ มาจาก สผ. และหน่วยงานที่มีอานาจอนุมัติ อาจเปิดช่องให้ สผ. และ หน่วยงานรัฐเหล่านั้นด้อยประสิทธิภาพและประสิทธิผล หย่อนยานต่อความรับผิดชอบของตนในอนาคต อาจมีปัญหาขาดแคลนบุคลากร เนื่องจากเป็นการกาหนด องค์กรใหม่ซึ่งมีหน้าที่บางส่วนทับซ้อนกับ สผ. และหน่วยงาน เดิมของรัฐ ผู้พัฒนาโครงการมีแนวโน้มสูงที่จะไม่เห็นด้วยกับการให้ องค์กรอื่นมีอานาจว่าจ้างผู้จดั ทารายงาน EIA เนื่องจากจะ มองว่าผู้จัดทารายงานอาจไม่ได้คณ ุ ภาพ หรือไม่ได้รับข้อมูลที่ ถูกต้อง
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
14
เมื่อคานึงถึงข้อดีและข้อด้อยโดยเปรียบเทียบข้างต้น คณะวิจยั เห็นว่าโมเดล 1 (“ผู้ตรวจสอบ+กองทุน”) ในเบื้องต้น น่าจะเป็นโมเดลที่เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของปัญหาในประเทศไทย
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
15
1. ความสาคัญและทีม่ าของการศึกษาวิจัย รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment ย่อว่า รายงาน EIA) เป็น มาตรการที่ต้องทาตามกรอบของกฎหมายที่บังคับและระบุไว้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2550 โดยมุ่งเน้นการมีส่วน ร่วมจากประชาชนอย่างมีความหมาย เพื่อให้การดาเนินโครงการพัฒนาใดๆ เป็นไปอย่างยั่งยืนและดารงไว้ซึ่งความสมบูรณ์ และหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ ความมั่นคงด้านอาหารและงานอาชีพ โดยเฉพาะสาหรับประชาชนที่มีวิถีชีวิตความ เป็นอยู่พึ่งพิงกับทรัพยากรธรรมชาติ รายงาน EIA จึงนับเป็นเครื่องมือสาคัญในการจัดการผลกระทบจากโครงการพัฒนา เนื่องจากการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ เพราะบ่อยครั้งการดาเนินโครงการพัฒนาต่างๆเหล่านี้ ไม่อาจหลีกเลี่ยงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการสูญเสีย ทรัพยากรธรรมชาติได้ การผนวกการพิจารณาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเข้าไปตั้งแต่ในระยะวางแผนโครงการ ซึ่งรวมถึงการ เสนอแนะมาตรการแก้ไขหรือบรรเทาผลกระทบ ตลอดจนแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมตลอดระยะเวลา ดาเนินโครงการ จึงถูกคาดหวังว่าน่าจะช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกันกับส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างระมัดระวังและเกิดประโยชน์สูงสุด ในส่วนของประโยชน์ต่อผู้ประกอบการ รายงาน EIA ถูกคาดหวังว่าจะช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถหามาตรการใน การป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นอย่างเหมาะสมก่อนดาเนินโครงการ สามารถแน่ใจว่าได้คาดการณ์ความเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ เลือกมาตรการบรรเทาผลกระทบที่เป็นไปได้ในทางปฎิบัติและคุ้มค่าใช้จ่าย ช่วยเป็น ข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนและการพัฒนาโครงการ การเตรียมแผนงานและแผนการเงินในการจัดการสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ ผู้ประกอบการยังสามารถใช้ผลการศึกษาเป็นข้อมูลเพื่อให้ความกระจ่างต่อสาธารณชน ชุมชน และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันความขัดแย้งของการใช้ทรัพยากรได้ ในประเทศไทย ระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมดาเนินมานานกว่า 20 ปี ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 โดยอาศัยอานาจตามมาตรา 46 นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 ก็ได้ บัญญัติคุ้มครอง “สิทธิชุมชน” อย่างชัดเจนในมาตรา 67 ว่า “การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและ ประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้าน สุขภาพ ให้ความเห็น ประกอบก่อนมีการดาเนินการดังกล่าว” ในปัจจุบัน ได้มีประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกาหนดประเภทและขนาดของโครงการที่ต้อง จัดทารายงาน EIA จานวน 35 ประเภทโครงการ และสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรงตามรัฐธรรมนูญ (Environmental Health Impact Assessment: EHIA) จานวน 11 ประเภทโครงการ ต้องเสนอ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อพิจารณา ประกอบการอนุญาตหรืออนุมัติโครงการของหน่วยงานผู้อนุญาตหรือคณะรัฐมนตรี
บริษัท ป่าสาละ จากัด |
16
อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมาประโยชน์ทางธุรกิจของรายงาน EIA โดยเฉพาะประโยชน์ในแง่การบรรเทาความเสี่ยงจากความ ขัดแย้งกับชุมชน และการนาเสนอแนวทางจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่คุ้มค่า ยังมิได้เป็นที่รับรู้ในหมู่ผู้ประกอบการเท่าที่ควรส่วน หนึ่งเนื่องจากกลไก EIA ในประเทศไทยยังมีช่องว่างและช่องโหว่ด้านกฎหมาย และการบังคับใช้อยู่พอสมควร ยกตัวอย่างเช่น ปัญหาต่อไปนี้ 1. การทับซ้อนของผลประโยชน์ระหว่างเจ้าของโครงการ กับที่ปรึกษาผู้จัดทารายงาน EIA 2. ไม่มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร EIA ทั้งระหว่างการจัดทา และเมื่อผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการผู้ชานาญการแล้ว 3. ไม่มีองค์กรและกลไกการตรวจสอบกระบวนการจัดทา EIA และ EHIA 4. ยังไม่มีบทบัญญัติลงโทษเจ้าของโครงการที่ไม่ดาเนินการตามมาตรการติดตามตรวจสอบที่เสนอใน รายงาน EIA ในช่วงการก่อสร้างและการดาเนินการ 5. การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการ EIA 6. การประเมินผลกระทบด้านสังคมและเศรษฐกิจยังขาดมาตรฐานและไม่รอบด้านเพียงพอ 7. เจ้าของโครงการวางแผนงานไม่สอดคล้องกับการจัดทา EIA ของโครงการ หลายรายเริ่มกระบวนการก่อสร้างก่อนที่ รายงาน EIA จะได้รับความเห็นชอบ 8. ยังไม่มีกระบวนการอุทธรณ์สาหรับผลการพิจารณา EIA
ช่องว่างและช่องโหว่ทางกฎหมายดังกล่าวข้างต้น เป็นสาเหตุชุดหนึ่งที่ทาให้กระบวนการจัดทา EIA ที่ถูกกฎหมายแต่ ไม่ได้มาตรฐาน กลายเป็นชนวนแห่งความขัดแย้งระหว่างผู้ประกอบการกับชุมชนที่เกี่ยวข้อง นาไปสู่การต่อต้าน การประท้วง ความล่าช้าของโครงการ ความบาดหมางหรือความไม่ไว้วางใจของชุมชนต่อผู้ประกอบการ ปัญหาด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ทั้งหมดนี้ล้วนสร้าง “ต้นทุนทางธุรกิจ” ต่อผู้ประกอบการ และส่งผลกระทบทางลบต่อคนในชุมชนและสังคมโดยรวม แต่ที่ผ่าน มายังไม่มีการศึกษาเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขต้นตอของปัญหาดังกล่าว ณ ต้นปี 2558 ช่องโหว่ทางกฎหมายเหล่านี้ได้รับการพิจารณาและบรรจุให้เป็นหนึ่งในวาระของคณะกรรมาธิการ ปฏิรูปทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภายใต้ความรับผิดชอบของสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) โดยมีคณะทางานเพื่อ พิจารณาข้อเสนอความเห็นและข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเพื่อประโยชน์ในการจัดทารัฐธรรมนูญ ซึ่ง ประกอบไปด้วยตัวแทนจากคณะกรรมาธิการปฏิรูปทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จานวน 5 ท่าน นอกจากนี้ ยังมีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมาธิการปฏิรูประบบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยมี นางอรพินท์ วงศ์ชุมพิศ เป็นประธาน ภายใต้คณะกรรมาธิการปฏิรูปทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อมุ่งเน้นศึกษาสภาพปัญหา การ อนุรักษ์ แนวทางแก้ไข ตลอดจนศึกษาพิจารณาด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดการปฏิรูป ทั้งในเชิงแนวคิด หลักการ โครงสร้าง รวมถึง ศึกษาแก้ไขกฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยคณะอนุกรรมาธิการปฏิรูประบบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ได้มีมติให้นาประเด็นที่จะเสนอให้บรรจุในร่างรัฐธรรมนูญคือ “สิทธิของบุคคล : รัฐต้องคุ้มครองสิทธิประชาชนที่จะอยู่ใน สิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี” ซึ่งการกาจัดช่องโหว่ทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจะเป็ น หนึ่งในปัจจัยที่ช่วยปกป้องและคุ้มครองสิทธิดังกล่าว
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 1. ความสาคัญและที่มาของการศึกษาวิจัย
17
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย 1) เพื่อทบทวนวรรณกรรมปริทัศน์จากประเทศไทยและประเทศที่พัฒนาแล้ว จานวน 3 ประเทศ ที่ได้รับการยอมรับ ว่ามีระบบการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (EIA) ที่มีธรรมาภิบาล ได้แก่ สหรัฐอเมริกา เยอรมนี และญี่ปุ่น และจากประเทศที่กาลังพัฒนาที่มีพัฒนาการด้านนี้ที่น่าสนใจ จานวน 2 ประเทศ ได้แก่ เวียดนาม และโคลอมเบีย 2) เพื่อจัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการปรับปรุงโครงสร้างระบบ EIA ของไทย ให้มีลักษณะดังต่อไปนี้ ก. ขจัดผลประโยชน์ทับซ้อนระหว่างเจ้าของโครงการกับผู้ดาเนินการประเมิน EIA ข. มีกลไกกาหนดและติดตามความรับผิดชอบที่ชัดเจนของผู้ดาเนินการประเมิน EIA และเจ้าของโครงการ ค. มีกลไกที่จะสร้างหลักประกันว่าเนื้อหารายงาน EIA จะได้มาตรฐานทางวิชาชีพ 3) เพื่อเผยแพร่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายดังกล่าวสู่สาธารณะ
บริษัท ป่าสาละ จากัด |
18
2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ กระบวนการทารายงานประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment: EIA หรือ Environmental Impact Study: EIS) ในห้าประเทศที่คณะวิจัยทาการทบทวนวรรณกรรมปริทัศน์ ได้แก่ โคลอมเบีย เยอรมนี เวียดนาม ญี่ปุ่น และมลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา สามารถสรุปในประเด็นหลักๆ ได้ดังตาราง 1
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
19
ตาราง 1 สรุปลักษณะสาคัญของกระบวนการทา EIA ในประเทศกรณีศึกษา ประเทศ/ประเด็น โคลอมเบีย การกาหนดขอบเขตการ ผู้เสนอโครงการเสนอการ ประเมิน (Scoping) วิเคราะห์ทางเลือกด้าน สิ่งแวดล้อม หน่วยงานรัฐต้องให้คาตอบ ภายใน 15 วัน
เยอรมนี เวียดนาม ผู้รับผิดชอบโครงการและ ไม่มีขั้นตอนการกาหนด หน่วยงานรัฐมีส่วนร่วมในการ ขอบเขต กาหนดเนื้อหาและขอบเขตของ การจัดทารายงาน EIA โดยต้อง มีการปรึกษากับหน่วยงานอื่นที่ ได้รับผลกระทบ ผู้ชานาญการ อิสระ หรือบุคคลภายนอกราย อื่น เช่น กลุ่มพลเมือง หรือ บริษัทด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อ ร่วมกันกาหนดขอบเขตของ การจัดทา EIA วัตถุประสงค์ ของขั้นตอนนี้ ได้แก่ (1) เพื่อระบุหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับโครงการ (2) กาหนดประเด็นที่เกีย่ วข้อง สาหรับการประเมิน (3) กาหนดขอบเขตและวิธีการ ที่ใช้ในการประเมินผล กระทบด้านสิ่งแวดล้อม
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
ญี่ปุ่น ผู้เสนอโครงการต้องจัดทา “เอกสารกาหนดขอบเขต” (Scoping Document) ซึ่งมี รายละเอียดครอบคลุมถึง วิธีการที่ใช้ในการประเมินผล กระทบ และส่งไปยังผู้ว่า ราชการจังหวัดและ นายกเทศมนตรีที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแจ้งเป็นประกาศ สาธารณะเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ที่สนใจสามารถเข้าไป ขอดูรายละเอียดได้ที่สานักงาน ส่วนท้องถิ่น รวมถึงที่สานักงาน ของบริษัทผู้เสนอโครงการ และบนเวบไซต์ของบริษัทที่ เปิดให้แสดงความคิดเห็นได้ อย่างอิสระ เป็นระยะเวลา 1 เดือน
20
มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา เมื่อเจ้าหน้าที่จากหน่วยงาน หลัก (responsible official) ตัดสินว่า จาเป็นต้องมีการ จัดทารายงาน EIS เจ้าหน้าที่ จะต้องทาเรื่องแจ้งผู้มสี ่วน เกี่ยวข้อง ซึ่งได้แก่ ชุมชนที่ ได้รับผลกระทบ หน่วยงานที่มี อานาจทางกฎหมาย และ กระทรวงระบบนิเวศ เพื่อแจ้ง เรื่องการกาหนดขอบเขต รายงาน (scoping notice) ทันที โดยจะต้องมีการให้ข้อมูล เกี่ยวกับโครงการ พร้อมทั้ง ข้อมูลพื้นที่ที่จะทาการศึกษาใน ร่างรายงาน EIS ด้วย จากนั้นหน่วยงานหลักจะต้อง เปิดโอกาสให้กลุ่มดังกล่าวได้มี ส่วนร่วมในการกาหนดขอบเขต ผ่านการเขียนแสดงความ คิดเห็น (commenting) เป็น เวลา 21 วัน
ประเทศ/ประเด็น กระบวนการประเมิน และจัดทารายงาน (Assessment and Reporting)
โคลอมเบีย เจ้าของโครงการต้องทาตาม คู่มือปฏิบัตสิ าหรับการยื่นผล การศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม กาหนดให้ระบุหัวข้อในการ รายงาน EIA ดังนี้ 1) การระบุผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมและการ ประเมินผลกระทบทั้ง ทางตรงและทางอ้อม โดยครอบคลุมถึงมิติ ต่างๆ ดังต่อไปนี้ - กายภาพ (ภูมิศาสตร์ อุทกวิทยา คุณภาพ อากาศ น้า และดิน สภาพอากาศ เสียง) - ชีวภาพ (ระบบนิเวศ พืช และสัตว์) - สังคมและเศรษฐกิจ - สภาพภูมิประเทศ - โบราณคดี 2) แผนการจัดการ สิ่งแวดล้อม (Environmental
เยอรมนี ผู้เสนอโครงการต้องจัดทา รายงาน EIA เป็นส่วนหนึ่งของ แผนงานโครงการ (Developer’s Documents) แล้วส่งให้รัฐ หลังจากที่จัดรับฟังความ คิดเห็นจากประชาชนแล้ว หน่วยงานรัฐจะจัดทา Environmental Statement (ES) ซึ่งเป็นบทสรุปโดยย่อของ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของ โครงการ รวมถึงมาตรการที่ใช้ ในการป้องกันและลด ผลกระทบดังกล่าว ภายใน ระยะเวลาไม่เกิน 1 เดือน หาก หน่วยงานภาครัฐมีการศึกษา ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพิม่ เติม นอกเหนือไปจากที่ระบุในแผง งานของโครงการที่ผู้เสนอ โครงการยื่นเข้ามา ผล การศึกษาจะถูกรวบรวมเอาไว้ ในรายงาน ES และนาไปใช้ ประกอบการตัดสินใจอนุมัติ
เวียดนาม รายงาน EIA จะต้องได้รับการ จัดทาไปพร้อมกับการจัดทา รายงานการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ และขอ ใบอนุญาตอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ที่มีอานาจอนุมตั ิ โครงการอยู่แล้วนอกเหนือจาก ประเด็นสิ่งแวดล้อม เช่น การ ขุดเจาะน้ามัน เหมืองแร่ จะต้องใช้คาตัดสินให้ผ่านหรือ ไม่ให้ผ่านรายงาน EIA ประกอบการอนุมตั ิ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
21
ญี่ปุ่น ภายหลังได้รับความคิดเห็นจาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและรัฐบาล ท้องถิ่นแล้ว ผู้เสนอโครงการ ต้องนาความคิดเห็นเหล่านั้นไป ใช้ประกอบการปรับปรุงร่าง รายงาน EIS เพื่อจัดทารายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์ ซึ่งจะถูกยื่น ไปยังหน่วยงานออกใบอนุญาต สาหรับแต่ละโครงการ ผู้ว่า ราชการจังหวัด นายกเทศมนตรี รวมทั้ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวง สิ่งแวดล้อม (Minister of the Environment) เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมของโครงการใน แง่ของการป้องกันผลกระทบ สิ่งแวดล้อม โดยหน่วยงานออก ใบอนุญาตจะนาความเห็นของ รัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมมาใช้ ประกอบการพิจารณาออก ใบอนุญาตให้แก่โครงการ นอกจากนี้ผู้เสนอโครงการต้อง แจ้งเป็นประกาศสาธารณะ
มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา เป้าหมายในการจัดทารายงาน EIS คือ เพื่อทบทวนและให้ ข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบของ สิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสาคัญ ของโครงการ พร้อมกับการ แสดงทางเลือกอื่นๆ (alternatives) (รวมถึง ทางเลือกว่าจะไม่ทาโครงการ หรือกิจกรรมใดๆ ในพื้นที่ด้วย) เพื่อเปรียบเทียบผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นใน ทางเลือกต่างๆ กับกิจกรรม ของโครงการที่กาหนดใน รายงาน และแสดงมาตรการ การบรรเทาหรือหลีกเลี่ยงการ สร้างผลกระทบรุนแรงของ โครงการ โดยหน่วยงาน เจ้าหน้าที่ที่มีอานาจตัดสินจะ ใช้ข้อมูลในรายงาน EIS ควบคู่ กับข้อมูลกฎหมายข้อบังคับใน หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับโครงการ และเพื่อ ทาการตัดสินว่าจะอนุมัติ
ประเทศ/ประเด็น
โคลอมเบีย management plan) 3) การจัดพื้นที่สาหรับ มาตรการด้าน สิ่งแวดล้อม 4) แผนติดตามผลการ ดาเนินงาน 5) แผนรับรองสถานการณ์ ฉุกเฉิน 6) แผนการสิ้นสุดโครงการ และแผนฟื้นฟู
เยอรมนี เวียดนาม โครงการในภายหลัง รายงาน ES ต้องครอบคลุม ข้อมูลอย่างน้อยดังนี้ (1) แผนงานของโครงการ ข้อมูลทางกายภาพของ พื้นที่ดาเนินโครงการ แบบ แผนและขนาดของ โครงการ (2) ข้อมูลที่ได้จากการรับฟัง ความคิดเห็นจากชุมชนและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ (3) มาตรการที่ใช้ในการ หลีกเลี่ยง ลด และหาก เป็นไปได้ ฟื้นฟูผลกระทบ รุนแรงต่อสิ่งแวดล้อม (4) ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับการ ระบุและประเมินผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อมของ โครงการ (5) รายละเอียดโดยสรุป เกี่ยวกับทางเลือกอื่นๆใน การดาเนินโครงการ พร้อม เหตุผลประกอบการ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
ญี่ปุ่น เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ สนใจสามารถเข้าไปขอดู รายละเอียดของรายงาน EIS ได้ที่สานักงานส่วนท้องถิ่น รวมถึงที่สานักงานของบริษัทผู้ เสนอโครงการ และบนเวบไซต์ ของบริษัทที่เปิดให้แสดงความ คิดเห็นได้อย่างอิสระ เป็น ระยะเวลา 1 เดือน โดยใน ระหว่างนี้ผเู้ สนอโครงการไม่ สามารถเริม่ ต้นดาเนินการใดๆ เกี่ยวกับโครงการได้
22
มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ข้อเสนอโครงการรือไม่ เนื้อหาของรายงาน EIS จะต้อง ประกอบด้วยรายการ ข้อเท็จจริง (factsheet) ของ รายงานและโครงการ รายละเอียดเกี่ยวกับข้อเสนอ โครงการ (รวมถึงเป้าหมายและ วัตถุประสงค์) ผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม ทางเลือกอื่นๆ มาตรการในการบรรเทา ผลกระทบ และ ผลกระทบ รุนแรงที่ไม่สามารถทาการ บรรเทาได้
ประเทศ/ประเด็น
โคลอมเบีย
การทบทวน (Review)
หน่วยงานกลางด้าน สิ่งแวดล้อมและหน่วยงาน ภูมิภาค ใช้ “คู่มือการ ประเมินผลการศึกษาด้าน สิ่งแวดล้อม” เป็นเครื่องมือใน การประเมินรายงาน โดยมี สาระสาคัญทั้งหมด 4 หัวข้อ ได้แก่ (1) เกณฑ์ชี้วัดสาหรับ การประเมินผลกระทบ (2) การเปลีย่ นแปลงที่แสดงถึง ลักษณะองค์ประกอบของ สิ่งแวดล้อม (3) จัดอันดับ (rating scale) วิธีการประเมิน และ (4) การเปรียบเทียบกับ บรรทัดฐาน (benchmarks)
เยอรมนี ตัดสินใจเลือกแนวทางที่ เสนอในรายงาน โดย คานึงถึงผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก (6) บทสรุปโดยย่อของข้อมูล ข้างต้น ในภาษาที่เข้าใจง่าย เมื่อได้รับรายงานสิ่งแวดล้อม แล้ว หน่วยงานรัฐจะเริ่มต้น ตรวจสอบรายงานเพื่อ ตัดสินใจอนุมตั ิหรือไม่อนุมตั ิ โครงการ โดยผลการตัดสินใจ จาเป็นต้องได้รับการเปิดเผย ต่อสาธารณะหากโครงการ ได้รับการอนุมัติ หาก โครงการไม่ได้รับการอนุมตั ิ หน่วยงานรัฐสามารถเลือกที่ จะเปิดเผยหรือไม่เปิดเผยผล การตัดสินใจก็ได้
เวียดนาม
ญี่ปุ่น
มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา
สมาชิกของคณะกรรมการ ประเมินรายงาน EIA จะต้องมี ตัวแทนจากหน่วยงานการ จัดการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ ปัญหาสิ่งแวดล้อมของโครงการ และผูเ้ ชี่ยวชาญ โดยสมาชิก ของคณะกรรมการ ประกอบด้วย ประธานคณะกรรมการ รองประธาน คณะกรรมการ เลขานุการ 1 ท่าน สมาชิกฝ่ายค้านหรือ ตอบโต้ 2 ท่าน สมาชิกท่านอื่นๆ หมายเหตุ: ครึ่งหนึ่งของสมาชิก
ภายหลังได้รับความคิดเห็นจาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและรัฐบาล ท้องถิ่นแล้ว ผู้เสนอโครงการ ต้องนาความคิดเห็นเหล่านั้นไป ใช้ประกอบการปรับปรุงร่าง รายงาน EIS เพื่อจัดทารายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์ ซึ่งจะถูกยื่น ไปยังหน่วยงานออกใบอนุญาต สาหรับแต่ละโครงการ ผู้ว่า ราชการจังหวัด นายกเทศมนตรี รวมทั้ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวง สิ่งแวดล้อม (Minister of the Environment) เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมของโครงการใน แง่ของการป้องกันผลกระทบ สิ่งแวดล้อม โดยหน่วยงานออก
หนึ่งในหัวใจของการจัดทาการ ตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมผ่าน กระบวนการของ State Environmental Policy Act (SEPA) ก็คือ การให้อานาจ อิสระ (substantive authority) ต่อหน่วยงานรัฐ (government) ในทุกระดับใน การกาหนดเงื่อนไขหรือปฏิเสธ โครงการ ภายหลังจากการ พิจารณาผลการประเมินทาง สิ่งแวดล้อม ซึ่งหน่วยงานใดๆ ที่มีอานาจดังกล่าวจะถือว่าเป็น หน่วยงานที่มีอานาจตัดสินทาง กฎหมาย (agency with jurisdiction)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
23
ประเทศ/ประเด็น
โคลอมเบีย
เยอรมนี
เวียดนาม คณะกรรมการจะต้องเป็นผู้ที่มี ความเชี่ยวชาญในด้าน สิ่งแวดล้อมและด้านอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับโครงการ หน่วยงานหลักของรัฐใน Ministry of the หน่วยงานรัฐที่มีอานาจออก หน่วยงานที่รับผิดชอบรายงาน การให้ความเห็นชอบ ใบอนุญาตโครงการ (ระดับชาติ EIA ในเวียดนาม มีทั้งหมด 4 Environment and รายงาน EIA หรือระดับสหพันธรัฐ) หน่วยงานด้วยกัน Sustainable ก. ) กระทรวง Development และ ทรัพยากรธรรมชาติและ National สิ่งแวดล้อม (MONROE) เป็น Environmental ผู้รับผิดชอบการประเมิน Licensing Authority รายงาน EIA ในโครงการทีร่ ะบุ (ANLA) ทาหน้าที่ดูแลการ อยู่ในภาคผนวก III ในกฎหมาย ออกใบอนุญาตใน Decree No. 29/2011/NDระดับชาติ CP ยกเว้นโครงการที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานสิ่งแวดล้อม กับความมั่นคงและความลับ ระดับท้องถิ่นและองค์กร ของฝ่ายกลาโหม ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน ข. ) กระทรวงอื่นๆ หน่วยงาน ในระดับท้องถิ่น (regional ระดับกระทรวง (ministerial corporations of agency) และ หน่วยงานรัฐที่ sustainable เกี่ยวข้อง (governmentdevelopment) attached agencies) เป็น เทศบาล ตาบล และเขต ผู้รับผิดชอบการประเมิน เมืองใหญ่ที่มีประชากร บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
24
ญี่ปุ่น ใบอนุญาตจะนาความเห็นของ รัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมมาใช้ ประกอบการพิจารณาออก ใบอนุญาตให้แก่โครงการ กระทรวงสิ่งแวดล้อม รัฐบาลท้องถิ่น (ระดับจังหวัด)
มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา
การกาหนดหน่วยงานหลัก (lead agency) ในการปฏิบัติ ตามกฎหมาย เป็นหนึ่งใน ขั้นตอนแรกๆ เมื่อหน่วยงาน ใดๆ ได้รับแผนโครงการจาก เจ้าของโครงการ หน้าที่และความสาคัญของ หน่วยงานหลัก ได้แก่ 1. เป็นผู้รับผิดชอบการ ดาเนินงานประเมินผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อมจากโครงการ ภายใต้กระบวนการและ ข้อกาหนดของ SEPA 2. เป็นผู้รับผิดชอบการ จัดการรวบรวมและประเมิน ข้อมูลทางสิ่งแวดล้อมในทุก ด้านของตัวโครงการให้กับ หน่วยงานต่างๆ ที่มีอานาจทาง กฎหมายในการตัดสิน
ประเทศ/ประเด็น
โคลอมเบีย มากกว่าหนึ่งล้านคน หน่วยงานสิ่งแวดล้อมของ เขต Baranquilla, Santa Marta และ Cartagena หน่วยปกครองพื้นที่ (territorial entities) ที่ เป็นตัวแทนขององค์กร ปกครองตนเอง และ/หรือ องค์กรด้านการพัฒนา อย่างยั่งยืนในระดับ ท้องถิ่น ยกเว้นกรณีที่ หน่วยงานเหล่านีเ้ ป็นผู้ เสนอโครงการเอง โดยมี ข้อกาหนดว่าหน่วย ปกครองพื้นที่ต้องมี ประสิทธิภาพทางเทคนิค เศรษฐกิจ การปกครอง และการดาเนินงานที่ เพียงพอ จึงสามารถเป็น ตัวแทนในการออก ใบอนุญาตได้ เมื่อได้รับใบรับรองข้อมูล ครบถ้วนแล้ว หน่วยงานด้าน
เยอรมนี
เวียดนาม ญี่ปุ่น รายงาน EIA ในโครงการที่อยู่ ภายใต้การตัดสินใจและหน้าที่ การอนุมัตริ ายงานของ กระทรวง ยกเว้นกลุม่ โครงการ ที่อยู่ในภาคผนวก III ใน กฎหมาย Decree No. 29/2011/ND-CP ค. ) กระทรวงกลาโหม หรือ กระทรวงความมั่นคง เป็น ผู้รับผิดชอบต่อการประเมิน รายงาน EIA ของโครงการที่อยู่ ภายใต้การตัดสินใจและหน้าที่ การอนุมัตริ ายงานของ กระทรวง และโครงการที่ เกี่ยวข้องกับความมั่นคงหรือ กลาโหม ง. ) สภาประชาชนระดับ จังหวัด เป็นผูร้ ับผิดชอบต่อการ ประเมินรายงาน EIA ของ โครงการลงทุนในพื้นที่ท้องถิ่น ยกเว้นกลุ่มโครงการที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของกลุ่ม หน่วยงาน ก. ข. และ ค.
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
25
มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา (agencies with jurisdiction) 3. เป็นหน่วยงานเดียวที่ รับผิดชอบในการตัดสินสถานะ ผลกระทบของโครงการ (threshold determination) และจัดทารายงานสถานะ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (EIS) (ในกรณีที่ต้องมีการจัดทา)
ประเทศ/ประเด็น
การติดตามผล (Monitoring)
โคลอมเบีย สิ่งแวดล้อมมีเวลาไม่เกิน 25 วันทาการในการตัดสินใจออก ใบอนุญาตให้แก่โครงการหรือ กิจกรรม กระบวนการจัดทา EIA ใน ประเทศโคลอมเบียระบุให้มี Monitoring and Supervision Program โดย หน่วยงานสิ่งแวดล้อมทีเ่ ป็นผู้ ออกใบอนุญาตมีหน้าที่ รับผิดชอบติดตามผลการ ดาเนินงานของโครงการที่ตน เป็นผู้ออกใบอนุญาต โดยได้มี การกาหนดคูม่ ือติดตามผลการ ดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Follow-up Guide for Projects) ขึ้นในปี ค.ศ. 2002 เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการติดตามตรวจสอบ โครงการทีไ่ ด้รับใบอนุญาตด้าน สิ่งแวดล้อมสาหรับหน่วยงาน ด้านสิ่งแวดล้อมทั่วทุกภูมิภาค
เยอรมนี
เวียดนาม
หน่วยงานภาครัฐที่ทาหน้าที่ ติดตามตรวจสอบคือหน่วยงาน ควบคุมตรวจสอบ (supervisory authority) ระดับสหพันธรัฐ (Länder) ซึ่ง อาจเป็นองค์กรอิสระ หรือใน บางกรณี หน่วยงานภาครัฐผู้ ออกใบอนุญาตสามารถทา หน้าที่ติดตามตรวจสอบผลการ ดาเนินงานของโครงการด้วย ตนเอง
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
26
ญี่ปุ่น
มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา
ภายหลังเสร็จสิ้นกระบวนการ จัดทารายงาน EIS และ โครงการได้เริ่มต้นดาเนินการ ก่อสร้างแล้ว ผูเ้ สนอโครงการ ต้องมีการสารวจเพื่อติดตาม ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่ เกิดขึ้นทั้งในระยะของการ ก่อสร้างและการดาเนินงาน ของโครงการ และเมื่อสิ้นสุด ระยะก่อสร้างของโครงการแล้ว ผู้เสนอโครงการต้องรวบรวม และเผยแพร่ข้อมูลการสารวจ ติดตามผล (follow-up survey) และมาตรการป้องกัน ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจน โดยประเมินจากข้อมูลทีไ่ ด้จาก การติดตามผล รวมถึงผลลัพธ์ และความคืบหน้าภายหลัง ดาเนินการตามมาตรการ
มาตรการตรวจสอบการ ดาเนินงานหลังจากทีม่ ีการ อนุมัติข้อเสนอโครงการนั้น สามารถทาได้หลายช่องทาง เช่น การตรวจสอบอาจถูก กาหนดอยู่ในมาตรการบรรเทา ผลกระทบของกฎหมายระดับ ชุมชน รัฐ หรือท้องถิ่นอยู่แล้ว หรือถูกกาหนดจากการใช้ อานาจอิสระในการตัดสินตาม กฎหมาย SEPA ก็ได้ นอกจากนี้ ผู้เสนอโครงการก็ สามารถกาหนดเองได้ด้วย เช่นกัน อย่างไรก็ตาม คณะวิจัยไม่พบเนื้อหาใดๆ เกี่ยวกับข้อบังคับหรือ ข้อกาหนดขั้นตอนการ ตรวจสอบในกฎหมาย SEPA เลย สันนิษฐานว่าเนื่องจากเป็น
ประเทศ/ประเด็น
โคลอมเบีย
เยอรมนี
เวียดนาม
ญี่ปุ่น ดังกล่าว
เปิดเผยรายงาน EIA ต่อ เปิด (ในระบบข้อมูลด้าน สาธารณะหรือไม่ สิ่งแวดล้อมด้วย)
เปิด
เปิด
ค่าใช้จ่าย
ผู้เสนอโครงการมีหน้าที่ จัดเตรียมรายงาน EIA โดย สามารถว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญหรือ บริษัทที่ปรึกษาเพื่อจัดทาแทน ผู้เสนอโครงการได้ ผู้เสนอโครงการมีหน้าที่ รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการ ว่าจ้างดังกล่าวทั้งหมด ไม่ว่า โครงการจะได้รับการอนุมัติ หรือไม่
ผู้เสนอโครงการมีหน้าที่ จัดเตรียมรายงาน EIA โดย สามารถว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญหรือ บริษัทที่ปรึกษาเพื่อจัดทาแทน ผู้เสนอโครงการได้ ผู้เสนอโครงการมีหน้าที่ รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการ ว่าจ้างดังกล่าวทั้งหมด ไม่ว่า โครงการจะได้รับการอนุมัติ หรือไม่
ผลการตัดสินใจจาเป็นต้อง ได้รับการเปิดเผยต่อสาธารณะ หากโครงการได้รับการอนุมัติ หากโครงการไม่ได้รับการ อนุมัติ หน่วยงานรัฐสามารถ เลือกที่จะเปิดเผยหรือไม่ เปิดเผยผลการตัดสินใจก็ได้ ผู้เสนอโครงการว่าจ้างที่ปรึกษา ผู้เสนอโครงการมีหน้าที่ ในการจัดทารายงานเอง จัดเตรียมรายงาน EIA โดย นอกจากนี้จะต้องชาระ สามารถว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญหรือ ค่าใช้จ่ายสาหรับกระบวนการ บริษัทที่ปรึกษาเพื่อจัดทาแทน ประเมินและติดตามตรวจสอบ ผู้เสนอโครงการได้ ของหน่วยงานสิ่งแวดล้อม เข้า ผู้เสนอโครงการมีหน้าที่ บัญชีเฉพาะของ National รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการ Environmental Fund ว่าจ้างดังกล่าวทั้งหมด ไม่ว่า (Fondo Nacional โครงการจะได้รับการอนุมัติ Ambiental, FONAM) ซึ่งเป็น หรือไม่ ระบบบัญชีพิเศษของกระทรวง สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
27
มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา เพราะหน่วยงานรัฐเป็นผู้จัดทา รายงาน EIS ด้วยตนเอง มิใช่ผู้ เสนอโครงการอย่างในกรณีของ ประเทศอื่น เปิด
ผู้จัดทารายงาน EIS ตาม กฎหมายมลรัฐวอชิงตันคือ เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานหลัก (responsible official) มิใช่ผู้ เสนอโครงการ ผู้เสนอโครงการมีหน้าที่เพียง ยื่นเสนอโครงการและให้ข้อมูล ต่อหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง
ประเทศ/ประเด็น
ความรับผิดของผู้เสนอ โครงการ ภายหลัง รายงาน EIA ผ่าน
โคลอมเบีย ยั่งยืน (Ministry of Environment and Sustainable Development) หากพบว่าโครงการทีไ่ ด้รับ ใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมมี การดาเนินงานทีไ่ ม่สอดคล้อง ตามเงื่อนไข ข้อตกลง ข้อกาหนดกฎหมาย หรือหน้าที่ อันพึงรับผิดชอบ หน่วยงาน ด้านสิ่งแวดล้อมที่เป็นผู้ออก ใบอนุญาตสาหรับโครงการ นั้นๆ สามารถเพิกถอน ใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมของ โครงการได้ นอกจากนี้ เมื่อ พบว่ามีการละเมิดใบอนุญาต (infraction) เจ้าของโครงการ ยังจาเป็นต้องจ่ายค่าปรับ รายวันเป็นจานวนเงินรวมไม่ เกิน 300 เท่าของค่าแรงขั้นต่า (ค่าแรงขั้นต่า ณ ปัจจุบันของ ประเทศโคลอมเบียอยู่ที่ ประมาณ 21,478 เปโซต่อวัน หรือประมาณ 278 บาทต่อวัน)
เยอรมนี
เวียดนาม
ญี่ปุ่น
มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา
ในทางปฏิบัติ หากหน่วยงาน ภาครัฐพบว่าโครงการทีไ่ ด้รับ ใบอนุญาตแล้วมีการดาเนินงาน ที่ไม่สอดคล้องกับมาตรการ ป้องกันและลดผลกระทบ สิ่งแวดล้อมตามที่ระบุใน รายงาน EIA หน่วยงานภาครัฐ ผู้ออกใบอนุญาตสามารถ ดาเนินการตักเตือนผ่านการจัด เวทีสาธารณะ หรือแจ้งปรับ ทางแพ่งหรือทางอาญาต่อ ผู้รับผิดชอบโครงการได้ อย่างไรก็ตามหน่วยงานภาครัฐ จะหาทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น หรือให้ความช่วยเหลือเจ้าของ โครงการในการปรับปรุงแก้ไข การดาเนินงานเพื่อให้เป็นไป ตามมาตรการที่กาหนดก่อน หากยังคงไม่สามารถแก้ไข ปัญหาดังกล่าวได้ จึงอาจเพิ่ม
หลังจากที่ได้รับอนุมัตริ ายงาน EIA แล้ว เจ้าของโครงการ จะต้องกระทากิจกรรม ดังต่อไปนี:้ ทาการสารวจและศึกษาทาง สิ่งแวดล้อมตามเงื่อนไขการ อนุมัติรายงาน EIA วางมาตรการป้องกันการ สร้างผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมในช่วงทาการ ลงทุนและก่อสร้างโครงการ ออกแบบและจัดทา แผนปฏิบัติการเรื่องการ ปกป้องสิ่งแวดล้อม ทาเรื่องขอรับการตรวจสอบ มาตรการคุ้มครอง สิ่งแวดล้อมในช่วงดาเนิน โครงการ หน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ และออกใบรับรองได้แก่
การจัดทา EIA ในช่วงก่อนเริ่ม ดาเนินโครงการจะถือว่าสิ้นสุด ลงเมื่อมีการประกาศรายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์ต่อสาธารณะ อย่างไรก็ตาม การจัดทา รายงาน EIS นั้นไม่ใช่ วัตถุประสงค์หลักเพียงอย่าง เดียว แต่ต้องมีการแสดงให้เห็น ว่าได้นาผลการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อมมาใช้ ประกอบในการกาหนดแผน ดาเนินงานของโครงการด้วย เนื่องจากเมื่อโครงการได้รับ ใบอนุญาตแล้ว จะถือว่าอยู่ ภายใต้การกากับดูแลของ กฎหมายชุดอื่นที่อาจไม่ได้ให้ ความสาคัญกับการป้องกัน ผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่าง เพียงพอ ดังนั้นการแสดงให้ เห็นถึงมาตรการด้านการ
ผู้จัดทารายงาน EIS ตาม กฎหมายมลรัฐวอชิงตันคือ เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานหลัก (responsible official) มิใช่ผู้ เสนอโครงการ ผู้เสนอโครงการมีหน้าที่เพียง ยื่นเสนอโครงการและให้ข้อมูล ต่อหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
28
ประเทศ/ประเด็น
การมีส่วนร่วมของ ประชาชน
โคลอมเบีย เยอรมนี และอาจถูกอาญัติของกลางที่ โทษเป็นการจ่ายค่าปรับ เกี่ยวข้องกับการกระทาผิด หรือสั่งยกเลิกการดาเนิน โครงการได้ สาหรับกรณีที่เมื่อ ตรวจสอบแล้วพบว่าโครงการ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มากกว่าที่ระบุในรายงาน EIA เจ้าของโครงการจาเป็นต้องยื่น ขอใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม ฉบับแก้ไข (modification of environmental license) ซึ่ง ต้องมีการทา EIA ใหม่อีกครั้ง
เวียดนาม หน่วยงานที่ทาการอนุมัตผิ ่าน รายงาน EIA ของโครงการ ดังกล่าว โดยระยะเวลาในการตรวจสอบ และรับรองจะต้องเป็นไป ภายใน 20 วัน หลังจากที่ได้รับ เรื่องขอทาการตรวจสอบและ รับรองจากเจ้าของโครงการ ใบรับรองการจัดทาแผนปฏิบตั ิ การเรื่องการปกป้อง สิ่งแวดล้อมในช่วงดาเนิน โครงการ จะเป็นเกณฑ์หลักใน การอนุญาตให้เจ้าของโครงการ สามารถดาเนินโครงการอย่าง เต็มรูปแบบ เมื่อยื่นรายงาน EIS ต่อ ผู้เสนอโครงการต้องส่งแผนงาน เจ้าของโครงการจะต้องปรึกษา หน่วยงานสิ่งแวดล้อมแล้ว ก่อน ของโครงการไปยังหน่วยงาน คนสองกลุ่ม ได้แก่ สภา ผลการตัดสินใจออกใบอนุญาต ประชาพิจารณ์ (hearing ประชาชนท้องถิ่น (The ด้านสิ่งแวดล้อมจะได้รับการ authority) เพื่อให้จัด People’s Committee of เปิดเผย ผูเ้ สนอโครงการ กระบวนการรับฟังความ the commune) ในพื้นที่ที่จะ จาเป็นต้องแถลงข้อมูลต่อ คิดเห็นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จัดตั้งโครงการ และ กลุ่ม สาธารณะ โดยเปิดให้ ผู้ใดก็ตามที่ได้รับผลกระทบ ตัวแทนชุมชนที่ได้รับผลกระทบ ประชาชนทั่วไปเข้าร่วม จากโครงการสามารถคัดค้าน จากโครงการ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
29
ญี่ปุ่น มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในแผนดาเนินงานของโครงการ จึงเป็นสิ่งที่สาคัญ และจะถูก นาไปใช้ในกระบวนการ พิจารณาออกใบอนุญาตให้แก่ โครงการอีกด้วย
กฎหมาย EIA ของญี่ ปุ่ น ได้ ก าหนดให้ ภ าคประชาชนมี บทบาทสาคัญในการจัดทา EIA ตั้งแต่ ขั้ น ตอนการประเมิ น ผล กระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ไป จนถึงขั้นตอนการจัดทารายงาน EIS โดยผู้ เ สนอโครงการมี หน้ า ที่ ร วบรวมความคิ ด เห็ น
หลักจากที่มีการประกาศและ เผยแพร่ร่างรายงานแล้ว ชุมชน ที่ได้รับผลกระทบจะมีเวลา 30 วัน ในการทบทวนร่างรายงาน และแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับ ร่างรายงาน (สามารถทาการ เรียกร้องให้หน่วยงานหลักยืด ระยะเวลาดังกล่าวเพิ่มอีก 15
ประเทศ/ประเด็น
โคลอมเบีย นอกจากนี้ หากโครงการหรือ กิจกรรมใดทีด่ าเนินหรือส่งผล กระทบต่อพื้นที่ของชนพื้นเมือง หรือชาวแอโฟรโคลอมเบีย ผู้ เสนอโครงการต้องจัดทา ประชาพิจารณ์เพื่อรับฟังความ คิดเห็นและปรึกษากับชุมชนใน ระหว่างการศึกษาจัดทา รายงาน EIS
เยอรมนี แผนงานของโครงการได้ภายใน ระยะเวลา 2 อาทิตย์ ภายหลัง ได้รับการแจ้งเตือนเกี่ยวกับ โครงการ โดยสามารถร้องเรียน ได้ทางหน่วยงานประชา พิจารณ์หรือสภาท้องถิ่น หน่วยงานประชาพิจารณ์มเี วลา ไม่เกิน 3 เดือนในการสรุปผล ของประชาพิจารณ์
มาตรฐานวิชาชีพ
แผนพัฒนาประเทศ 20142018 (National Development Plan 20142018) ตาม Act 1450 ของปี ค.ศ. 2011 ระบุให้หน่วยงานรัฐ กาหนดคุณสมบัติของบุคคล และองค์กรที่สามารถจัดทา
มีการจัดตั้ง Association of Consulting Engineers (Verband Beratender Ingenieuer; VBI) ซึ่งมีหน้าที่ ควบคุมมาตรฐานของบริษัทที่ ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันมีสมาชิกกว่า 3,000
เวียดนาม (representatives of communities) โดยเจ้าของ โครงการจะต้องเขียนจดหมาย ยื่นขอคาปรึกษาต่อสภา ประชาชนท้องถิ่นและตัวแทน ชุมชนที่ได้รับผลกระทบจาก โครงการดังกล่าว ควบคู่กับ เอกสารสรุป ผู้เสนอโครงการจะต้องบันทึก รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม และ ข้อถกเถียง ข้อคิดเห็นทั้งหมด ไว้ในรายงาน EIA
มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา วันได้) นอกจากนี้หน่วยงาน หลักจะต้องจัดทาประชา พิจารณ์ หากได้รับจดหมายร้อง ขอการทาประชาพิจารณ์ มากกว่า 50 คนจากหน่วยงาน ผู้มีอานาจในการตัดสินทาง กฎหมาย และกลุม่ คนที่ได้รับ ผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญจาก ข้อเสนอโครงการ ภายใน ช่วงเวลา 30 วันหลังมีการออ กร่างรายงาน โดยประชาพิจารณ์จะจัดขึ้นใน ช่วงเวลาระหว่าง 15 หรือ 50 วัน หลังจากที่มีการออกร่าง รายงาน แจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 10 วัน เจ้าของโครงการสามารถจัดทา ประเทศญี่ปุ่นไม่มีข้อกาหนด มลรัฐวอชิงตันได้จัดทาคูม่ ือ รายงานเอง หรือ จ้างองค์กร ทางกฎหมายเกี่ยวกับคุณสมบัติ แนวการปฏิบัตติ ามกฎหมาย สถาบันที่ปรึกษาใดๆ ที่มี ของผู้ที่มีสิทธิจัดทา EIA แต่ SEPA ทั้งสาหรับผู้นาเสนอ คุณสมบัติดังนี้ กระทรวงสิ่งแวดล้อมญี่ปุ่น โครงการ หน่วยงานภาครัฐ และสาหรับหน่วยงานหรือ มีพนักงานผู้เชี่ยวชาญใน (Ministry of the บุคคลใดๆ ทีต่ ้องการแสดง ด้านสิ่งแวดล้อม พนักงาน Environment) ได้ก่อตั้ง เครือข่ายการประเมินผล ความคิดเห็น เพื่อให้การ จบปริญญาตรีจะต้องมี
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
30
ญี่ปุ่น จ า ก ป ร ะ ช า ช น เ พื่ อ น า ม า ประกอบกับความคิด เห็น จาก หน่ ว ยงานภาครั ฐ ทั้ ง รั ฐ บาล ระดับท้องถิ่น หน่วยงานผู้ออก ใบอนุ ญ าต และกระทรวง สิ่งแวดล้อม และสะท้อนความ คิดเห็นเหล่านั้นผ่านมาตรการ ป้องกันและลดผลกระทบด้ าน สิ่งแวดล้อมของโครงการ
ประเทศ/ประเด็น
โคลอมเบีย EIA ได้ เพื่อเป็นการรักษา มาตรฐานคุณภาพของรายงาน EIA อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันมาตรา ดังกล่าวยังมิได้ถูกบังคับใช้ จึง ยังไม่มีการกาหนดคุณสมบัติ รวมถึงวิธีจดทะเบียนบุคคล และองค์กรที่ชัดเจน แต่มีการออกคู่มือ “ระเบียบวิธี ทั่วไปในการนาเสนอผล การศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม” ซึ่ง ให้รายละเอียดมากมาย อาทิ ข้อกาหนดทางเทคนิค การ จาแนกพื้นที่ด้านสิ่งแวดล้อม แผนการจัดการสิ่งแวดล้อม แผนการติดตามตรวจสอบ และ แผนสาหรับกรณีฉุกเฉิน เป็น ต้น
เยอรมนี เวียดนาม ญี่ปุ่น องค์กร ครอบคลุมวิศวกรและที่ ประสบการณ์การทางาน กระทบสิ่งแวดล้อม ปรึกษากว่า 45,000 ราย การ ด้านสิ่งแวดล้อมมาอย่าง (Environmental Impact เป็นสมาชิกของ VBI เป็นการ น้อย 5 ปี พนักงานระดับ Assessment Network) ขึ้น รับรองมาตรฐานของบริษัทที่ ปริญญาโท หรือปริญญา เพื่อทาหน้าที่เป็นฐานข้อมูล ปรึกษาว่ามีคณ ุ สมบัตสิ ูง มี เอก จะต้องมี สาหรับการจัดทา EIA ใน ประสบการณ์ และเป็นการ ประสบการณ์การทางาน ประเทศญีป่ ุ่น รับรองสถานะของการเป็น ด้านสิ่งแวดล้อมมาอย่าง ข้อมูลในฐานข้อมูลมีอาทิ บริษัทที่ปรึกษาอิสระ โดย น้อย 3 ปี หรือ 1 ปี - คาแนะนาและคู่มือการ คุณสมบัติของสมาชิกของ VBI ตามลาดับ จัดทา EIA คือ ต้องจบการศึกษาด้าน - ชุดคาศัพท์ (glossary) ที่ มีองค์ความรู้ ทรัพยากร วิศวกรรมศาสตร์ ธุรกิจ หรือ เกี่ยวข้องกับ EIA ทางเทคนิคและกายภาพ วิทยาศาสตร์ และมี - ฐานข้อมูลเกี่ยวกับ และเครื่องมือที่มี ประสบการณ์ทางานอย่างต่า 5 มาตรการป้องกัน มาตรฐานสาหรับการวัด ปีในสายงานดังกล่าว ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ดาเนินการ และวิเคราะห์ มีคู่มือสาหรับจัดทา EIA ทั้งใน - ฐานข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม ตัวอย่างสิ่งแวดล้อม ใน ระดับสหพันธรัฐและระดับชาติ สาหรับใช้ประเมินผล กรณีที่ไม่มีอุปกรณ์ โดยคู่มือเหล่านีค้ รอบคลุม กระทบ เครื่องมือดังกล่าว ข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอนการ สามารถทาสัญญาว่าจ้าง - ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม จัดทาและยื่นรายงาน EIA สาหรับการประเมินผล สถาบันที่มีได้ รวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับ กระทบในระดับท้องถิ่น นิยามของคาศัพท์ที่เกี่ยวข้อง - ฐานข้อมูลสาหรับรายงาน และแนวทางในการศึกษา EIA ที่กาลังอยู่ในขั้นตอน ผลกระทบและกาหนด ดาเนินการ และที่เสร็จ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
31
มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ดาเนินงานในการประเมิน สิ่งแวดล้อมเป็นไปอย่างถูกวิธี ไม่ว่าบุคคลใดจะเป็น ผู้รับผิดชอบในการประเมิน สิ่งแวดล้อม มีอานาจตัดสินต่อ โครงการ หรือต้องการแสดง ความคิดเห็นก็ตาม
ประเทศ/ประเด็น
โคลอมเบีย
เยอรมนี มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมโดย ละเอียด
เวียดนาม
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 2. สรุปวรรณกรรมปริทัศน์ กระบวนการจัดทารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในต่างประเทศ
ญี่ปุ่น สมบูรณ์แล้ว - ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการ สัมมนา และการจัดอบรม เกี่ยวกับการทา EIA
32
มลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา
3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย 3.1 ความเป็นมา แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมได้รับการเผยแพร่สู่ประเทศโคลอมเบียภายหลังการลงนามใน สนธิสัญญาระหว่างประเทศหลายฉบับภายใต้กรอบของ United Nations Conference on the Human Environment ใน ปี ค.ศ. 1972 ณ กรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ต่อมาในปี ค.ศ. 1974 ประเทศโคลอมเบียประกาศใช้กฎหมาย “Decree 2811” หรือ “กฎหมายทรัพยากรธรรมชาติ ” (Natural Resources Code) เป็นกฎหมายฉบับแรกของประเทศที่ใช้ดาเนิน มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ กฎหมายฉบับนี้ได้รวบรวมมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดทารายงานประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment: EIA) และกาหนดให้โครงการที่อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจาเป็นต้องได้รับ ใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม (environmental license) ก่อนเริ่มดาเนินการก่อสร้าง อย่างไรก็ตาม ณ ขณะนั้นยังไม่มีการ กาหนดชื่อสาหรับใช้เรียกใบอนุญาตและกระบวนการดาเนินงานอย่างเป็นทางการ ถึงแม้จะมีการอ้างอิงถึงจุดประสงค์ของการ ทา EIA ทางอ้อมก็ตาม (Toro, Requena, & Zamorano, 2009) ต่อมาในปี ค.ศ. 1991 รัฐธรรมนูญโคลอมเบีย ได้เพิ่มมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการจัดทา EIA มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะใน มาตรา 79 และ 80 ที่ระบุถึงสิทธิในการมีสิ่งแวดล้อมที่ดี (healthy environment) (Toro, Requena, & Zamorano, 2009) นอกจากนี้ยังได้กาหนดให้รัฐบาลมีหน้าที่รับผิดชอบการจัดการและนาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เพื่อการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน การอนุรักษ์ การฟื้นฟูหรือทดแทน และการป้องกันและ/หรือการติดตามสถานการณ์ของปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบด้าน ลบต่อสิ่งแวดล้อม นาไปสู่การผ่านกฎหมาย Law 99 ในปี ค.ศ. 1993 ซึ่งกาหนดให้มีการก่อตั้งกระทรวงสิ่งแวดล้อม (Department of the Environment) และให้ความสาคัญแก่ภาคประชาชนในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์ รวมถึงการใช้ทรัพยากรหมุนเวียน นอกจากนี้ยังนาไปสู่การจัดตั้งองค์กร National Environmental System และเป็น กฎหมายฉบับแรกที่กาหนดให้มีการจัดทารายงานประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Study: EIS) ขึ้นตามมาตรา 57 (Toro, Requena, และ Zamorano, 2009) ภายหลังการออกกฎหมาย Law 99 โคลอมเบียได้มีการปรับปรุงกระบวนการจัดทา EIA หลายครั้ง โดยการปรับปรุง ส่วนมากเป็นไปเพื่อลดจานวนโครงการที่จาเป็นต้องได้รับ environmental license และลดหย่อนข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการจาแนกและประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ดังสรุปในแผนภาพ 1.
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
33
แผนภาพ 1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ EIA ในประเทศโคลอมเบีย -
Law 99 ค.ศ. 1993
Decree 1753 ค.ศ. 1994
- ยกเลิกการทา EIS สาหรับโครงการ 22 ประเภท - ยกเลิกใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมเหลือเพียง 2 ประเภท - ยกเลิกนิยามประเภทของระบบนิเวศ - ยกเลิกแผนประกันภัยสาหรับการทาเหมือง - ชุมชนต้องได้รับการแจ้งเตือนเกี่ยวกับโครงการและการป้องกันความเสี่ยง - ยกเลิกการจาแนกโครงการตามประเภทของผลกระทบ - ยกเลิกการทา EIA สาหรับโครงการ 14 ประเภท รวมถึงการทาเหมือง - กาหนดการมีส่วนร่วมของชุมชนหากโครงการดาเนินอยู่ในพื้นที่ของชน พื้นเมืองและชาวแอโฟรโคลอมเบีย
Decree 1728 ค.ศ. 2002
Decree 1180 ค.ศ. 2003
-
Decree 1220 ค.ศ. 2005
-
Decree 2820 และ
-
Resolution No. 1503 ค.ศ. 2010
Decree 3573 ค.ศ. 2011
กาหนดให้จัดทา EIS สาหรับโครงการ 42 ประเภท กาหนดใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมจานวน 3 ประเภท นิยามแนวคิดเกีย่ วกับสิ่งแวดล้อม ไม่มรี ะบุการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน จาแนกประเภทของโครงการตามลักษณะผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ไม่มีแนวทางในการประเมินผลกระทบ
ขยายแนวคิดเกีย่ วกับ EIS, Environmental Study และ Environmental Diagnosis Alternatives (EDA) กาหนดคู่มือการประเมินผลการจัดทา EIS เริ่มต้นจัดทาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อม (System of Environmental Information: SEA) ไม่มีแนวทางสาหรับการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ถ่ายโอนบทบาทด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และการจัดการอุทยานแห่งชาติจาก MEHLD ไปยัง Vice-Ministry of Environment กาหนดคู่มือปฏิบัติสาหรับการยื่นผลการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม ระบุว่าการทาเหมืองจาเป็นต้องได้รับใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทยและยุติธรรม (Ministry of Interior and Justice) ทา หน้าที่รับผิดชอบการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน จัดตั้งองค์กรออกใบอนุญาตด้านสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ National Environmental Licensing Authority (ANLA) ทาหน้าที่ออกใบอนุญาต ด้านสิ่งแวดล้อมสาหรับโครงการหรือกิจกรรมที่ต้องขอรับใบอนุญาต
ที่มา: ดัดแปลงจาก (Toro, Requena, และ Zamorano, 2009) และ (Netherlands Commission for Environmental Assessment, n. d.)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
34
กฎหมาย Decree 1753 ซึ่งประกาศใช้ในปี ค.ศ. 1994 ระบุให้กิจกรรมจานวน 42 ประเภท จาเป็นต้องมีการศึกษา ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและจัดทารายงานประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Study: EIS) โดย ครอบคลุมกิจกรรมหลัก เช่น เกษตรกรรม สิ่งทอ และการผลิตสินค้าอื่นๆ ที่มีปริมาณการผลิตภายในประเทศสูง ภายใต้ Decree นี้ นิยามของคาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบนิเวศขาดไม่ได้ (critical ecosystem), ระบบนิเวศเปราะบาง (sensitive ecosystem), ระบบนิเวศที่มีความสาคัญด้านสิ่งแวดล้อม (ecosystems of environmental importance), ระบบนิเวศที่มีความสาคัญทางสังคม (ecosystems of social importance), การวิเคราะห์ความเสี่ยง (risk analysis) และการฟื้นฟูและทดแทนทางสิ่งแวดล้อม (environmental restoration and replacement) ได้รับการระบุอย่างชัดเจน เพื่อใช้อธิบายลักษณะของสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ดาเนินโครงการ และเป็นคู่มือในการออกแบบตัวชี้วัดสาหรับการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสาหรับการออกแบบแผนการจัดการ นอกจากนี้ กฎหมายดังกล่าวยังกาหนดให้ Ministry of the Environment (ต่อมาคือ Ministry of the Environment, Housing and Land Development และปัจจุบันคือ Ministry of Environment and Sustainable Development) จัดทาคู่มือสาหรับการยื่นผลการจัดทา EIS และกาหนดประเภทของกิจกรรมการผลิตที่จาเป็นต้องมีการ จัดทา EIA โดยยึดตามข้อกาหนดของ International Industrial Uniform Codes Classification (IIUCC) โดยองค์การ สหประชาชาติ (United Nations) อย่างไรก็ตาม ข้อกาหนดนี้ไม่ได้ถูกนาไปปฏิบัติจนกระทั่งปี ค.ศ. 2005 เมื่อเปลี่ยนไปใช้ Decree 1220 แล้ว (Toro, Requena, & Zamorano, 2009) Decree 1753 กาหนดประเภทใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม (environmental license) รวม 3 ประเภท ได้แก่ I. II. III.
ใบอนุญาตมาตรฐาน (standard environmental license) คือ ใบอนุญาตสาหรับการก่อสร้างที่ไม่ จาเป็นต้องได้รับการอนุญาตพิเศษในการใช้ เคลื่อนย้าย และตักตวงทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้ ใบอนุญาตเฉพาะ (specific environmental license) คือใบอนุญาตที่ครอบคลุมการอนุญาตเฉพาะ สาหรับโครงการหรือกิจกรรม ใบอนุญาตครอบคลุม (comprehensive environmental license) คือใบอนุญาตที่สามารถเป็นได้ทั้ง standard และ specific ขึ้นอยู่กับลักษณะของการก่อสร้าง หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการนาน้ามันดิบ หรือก๊าซธรรมชาติมาใช้
ต่อมาในปี ค.ศ. 2002 ได้มีการยกเลิก Decree 1753 และเปลี่ยนไปใช้ Decree 1728 แทน โดย Decree ฉบับนี้ได้ ตัดนิยามศัพ ท์ที่เกี่ยวข้องกับระบบนิเวศ และยกเลิกใบอนุญาตมาตรฐาน (standard environmental license) และ ใบอนุญาตเฉพาะ (specific environmental license) อย่างไรก็ตาม ยังคงกาหนดให้มีการใช้ ใบอนุญาตครอบคลุม (comprehensive environmental license) ต่อไปซึ่งมีข้อดีในการช่วยลดระยะเวลาประสานงานกับราชการ นอกจากนี้ ยัง กาหนดให้กิจกรรมกว่า 22 ประเภท จากเดิม 42 ประเภท ไม่จาเป็นต้องยื่นผลการจัดทา EIS อีกต่อไป โดยลดขั้นตอนเหลือ เพียงการลงทะเบียนกับหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง และยังมีการยกเลิกนโยบายประกันภัยภาคบังคับ (compulsory insurance policy) สาหรับการทาเหมืองหาบ (open pit mining) อีกด้วย (Toro, Requena, & Zamorano, 2009) ต่อมาในปี ค.ศ. 2003 โคลอมเบียได้ออกกฎหมาย Decree 1180 เพื่อนามาใช้แทน Decree 1728 ของปี ค.ศ. 2002 และปรับแก้คู่มือด้านสิ่งแวดล้อมโดยตัดการทาเหมืองออกจากเนื้อหาในส่วน “ข้อเสนอแนะ” กฎหมายใหม่นี้ ได้ กาหนดให้โครงการและกิจกรรมที่กระทาในเขตพื้นที่ชุ่มน้าจาเป็นต้องได้รับการอนุญาตจาก Ministry of the Environment, Housing and Land Development (MEHLD) เสียก่อนจึงจะสามารถเริม่ ดาเนินการได้ นอกจากนี้ Decree ฉบับนี้ยังระบุว่า โครงการใดก็ตามที่ดาเนินโดยหน่วยงานภาครัฐ เช่น รัฐบาลท้องถิ่น หรือกรมต่างๆ ที่ดาเนินงานตาม Land Use Plan (LUP) บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
35
หรือแผนงานที่คล้ายกัน สามารถดาเนินโครงการได้ โดยไม่ต้องขอจดทะเบียนกับหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อม โครงการและ กิจกรรมที่อยู่ภายใต้ข้อกาหนดของ LUP ยังได้รับการยกเว้นจากการขอใบอนุญาตด้านสิง่ แวดล้อมและยืน่ ผลการจัดทา EIS อีก ด้วย อีกหนึ่งใจความสาคัญของ Decree ฉบับนี้คือการยกเลิกการจดทะเบียนและยื่นผลการจัดทา EIS สาหรับโครงการสร้าง ท่อระบายน้า ระบบการจัดการและระบบบาบัดน้าเสีย รวมทั้งโครงการด้านอุตสาหกรรมจานวนมาก จนเหลือเพียง 7 ประเภท ของโครงการเท่านั้นที่จาเป็นต้องมีการจัดทา EIS (Toro, Requena, & Zamorano, 2009) ต่อมา Decree 1180 ได้ถูกยกเลิกและเปลี่ยนไปใช้ Decree 1220 แทนในปี ค.ศ. 2005 โดยเนื้อหาของ Decree นี้ ครอบคลุมคาอธิบายของแต่ละกิจกรรมที่จาเป็นต้องได้รับใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมก่อนการดาเนินงาน ซึ่งได้มีการแก้ไขและ เพิ่มจานวนเป็น 21 ประเภทของโครงการหรือกิจกรรม และครอบคลุมรายละเอียดของหลักการที่เกี่ยวข้องกับการจัดทา EIS, EIA และ EDA มากขึ้น โดยรายละเอียดเหล่านี้ไม่ได้รับการระบุเอาไว้ใน Decree ฉบับก่อนๆ นอกจากนี้ยังได้กาหนดแนวทาง ในการจัดทา EIA โดยทุกโครงการที่จาเป็นต้องได้รับใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมต้องปฎิบัติตาม Decree ฉบับนี้ ยึดเอาตัวชี้วัด ตามที่กาหนดใน EIS Assessment Guide ร่างโดย MEHLD และเลขานุการบริหารของ Andres Bello Convention ในการ ประเมินผลการจัดทา EIS ซึ่งดาเนินโดยคณะบริหารด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Administration) ท้ายที่สุด ได้ กาหนดให้ Institute of Hydrology, Meteorology and Environmental Studies จัดทาระบบข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Information System) สาหรับประชาชนในการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ EIA (Toro, Requena, & Zamorano, 2009) โคลอมเบียมีการปรับปรุงข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องกับการทา EIA อีกครั้งในปี ค.ศ. 2010 ตาม Decree 2820 ซึ่งแก้ไข บทบาทและหน้ า ที่ ข อง MEHLD โดยก าหนดให้ ก ระทรวงถ่ า ยโอนบทบาทด้ า นการจั ด การสิ่ งแวดล้ อ ม การอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และการจัดการอุทยานแห่งชาติไปยัง Vice-Ministry of Environment (Netherlands Commission for Environmental Assessment, n. d.) นอกจากนี้ตาม Resolution No. 1503 ที่กาหนดขึ้นในปี ค.ศ. 2010 ได้ระบุให้มี การกาหนดคู่มือปฏิบัติสาหรับการยื่นผลการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม (General Methodology for the Submission of Environmental Studies) โดยกาหนดให้นาคู่มือนี้ไปใช้กับการศึกษาวิจัยต่างๆ เช่น EIA และแผนการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental management plan) และมีการผ่านกฎหมายการทาเหมือง (Mining Law No. 1382) โดยระบุว่าการทา เหมืองทุกประเภทจาเป็นต้องได้รับใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมเสียก่อน รวมทั้งกาหนดข้อกาหนดและขอบเขตงาน (Terms of Reference) สาหรับการจัดทา EIA ของการทาเหมืองซึ่งกาหนดโดย MEHLD ดังนี้ Terms of Reference for EIA of mining exploitation Terms of Reference for EIA open pit gold mining นอกจากนี้ยังได้ระบุให้ Ministry of Interior and Justice ทาหน้าที่รับผิดชอบการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนใน กระบวนการจัดทา EIA ต่อมาโคลอมเบียมีการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ EIA อีกครั้งตาม Decree 3573 เพื่อจัดตั้ง องค์กร National Environmental Licensing Authority (ANLA) ในปี ค.ศ. 2011 โดยเป็นองค์กรภายใต้ Ministry of Environment and Sustainable Development ซึ่งมีหน้าที่ออกใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมสาหรับโครงการหรือกิจกรรมที่ ปฏิบัติตามข้อกาหนดด้านสิ่งแวดล้อม โครงการหรือกิจกรรมที่จาเป็นต้องจัดทา EIA และได้รับใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมก่อนเริ่มดาเนินงานได้ถูกระบุ เอาไว้ตาม Article 8 (ภายใต้การดูแลของ Ministry of Environment and Sustainable Development/ANLA) และ 9 (ภายใต้การดูแลขององค์กรส่วนท้องถิ่น) ของ Decree 2820 ดูรายละเอียดประเภทโครงการได้ในภาคผนวกของรายงานฉบับนี้ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
36
3.2 กระบวนการทา EIA ประเทศโคลอมเบียกาหนดให้การก่อสร้าง และ/หรือการปฏิบัติงานของโครงการและกิจกรรมตามที่ระบุข้างต้น จาเป็นต้องได้รับใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมเสียก่อนจึงจะสามารถเริ่มต้นดาเนินการได้ โดยใบอนุญาตแสดงให้เห็นว่าผู้เสนอ โครงการได้ปฏิบัติตามข้อกาหนดทางกฎหมายเพื่อป้องกัน บรรเทา แก้ไข เยียวยา และรับมือกับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่ อาจเกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการและกิจกรรม (Toro, Requena, & Zamorano, 2009) กระบวนการยื่นขอใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมแสดงตามแผนภาพ 2 แผนภาพ 2 กระบวนการยื่นขอใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม ประเทศโคลอมเบีย
ประชาชน
ผู้เสนอโครงการ
ภาครัฐ
จ้ างที่ปรึกษาผู้จดั ทารายงาน กลัน่ กรองโครงการ
จัดทาการวิเคราะห์ทางเลือก ด้ านสิง่ แวดล้ อม (EDA)* กาหนดขอบเขตการศึกษา
แสดงความคิดเห็น เฉพาะชนพื ้นเมืองและชาวแอโฟรโคลอมเบีย
ประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้ อม และจัดทารายงาน รายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิง่ แวดล้ อม
รับฟั งข้ อมูล
เรี ยกร้ องประชาพิจารณ์
ระบุวา่ ต้ องจัดทา EDA* หรื อไม่ (15 วัน)
เลือก EDA ที่เหมาะสม (30 วัน)
เรี ยกขอข้ อมูลเพิ่มเติม (20 วัน)
รับรองข้ อมูลครบถ้ วน (5 วัน)
รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิง่ แวดล้ อม (ฉบับสมบูรณ์) ใบอนุญาตด้ านสิง่ แวดล้ อม รายงานการติดตาม ผลการดาเนินงาน
ตัดสินใจออกใบอนุญาต (25 วัน) หน่วยงานที่ออกใบอนุญาต
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
37
หมายเหตุ *Environmental Diagnosis Alternatives
ขั้นตอนการจัดทา EIA ในประเทศโคลอมเบียสามารถแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การกลั่นกรองโครงการ (Screening) ประเมินว่าโครงการหรือกิจกรรมจาเป็นต้องได้รบั ใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมในการดาเนินงานหรือไม่ ตาม Article 8 (ภายใต้การดูแลของกระทรวงสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน – Ministry of Environment and Sustainable Development/ANLA) และ 9 (ภายใต้การดูแลขององค์กรส่วนท้องถิ่น) ใน Decree 2820 กระบวนการกลั่นกรองโครงการ ผู้เสนอโครงการยื่นใบคารองไปยังหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมที่รับผิดชอบสาหรับประเภทของโครงการเพื่อ สอบถามว่าจาเป็นต้องได้รับใบอนุญาตในการดาเนินงานหรือไม่ โดยใบคาร้องต้องระบุรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ วัตถุประสงค์และขอบเขต รวมถึงสถานที่ในการดาเนินงาน ข้อมูลเหล่านี้จะถูกนาไปประเมินว่าผู้เสนอโครงการ จาเป็นต้องมีการวิเคราะห์ทางเลือกด้านสิ่งแวดล้อม หรือ Environmental Diagnosis of Alternatives (EDA) [Diagnostico Ambiental de Alternativas] ซึ่งเป็นหนึ่งในสาระสาคัญของการจัดทา EIS ตามที่ระบุใน Decree 1220 ปี ค.ศ. 2005 (Toro, Requena, & Zamorano, 2009) หรือไม่ หากไม่จาเป็น ผู้เสนอโครงการเพียงต้อง จัดทารายงานผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Study: EIS) ตามข้อกาหนดและขอบเขต (Terms of Reference) ซึ่งกาหนดโดย Ministry of the Environment and Sustainable Development การวิเคราะห์ทางเลือกมีความสาคัญต่อการทา EIA เนื่องจากการใช้ทางเลือกที่เหมาะสมต่อการจัดการ โครงการหรือกิจกรรมจะช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และ/หรือช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานได้ ขั้นตอนนี้กาหนดให้ผู้เสนอโครงการออกแบบทางเลือกที่หลากหลายสาหรับใช้ในการพัฒนาโครงการหรือ กิจกรรม เช่นเปรียบเทียบการใช้เทคโนโลยีที่แตกต่างกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อคั ดสรรทางเลือกที่ส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด (Toro, Requena, & Zamorano, 2009)
เงื่อนไขสาหรับพื้นที่เปราะบาง โครงการที่ดาเนินอยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติและโครงการที่จาเป็นต้องมีการตัดต้นไม้ในเขตป่าสงวนถือว่า อยู่ภายใต้การรับผิดชอบของ Ministry of the Environment and Sustainable Development ผู้เสนอโครงการ จาเป็นต้องยื่นขอใบอนุญาตจาก Ministry of Environment and Sustainable Development เสียก่อน หาก โครงการส่งผลกระทบต่อพื้นที่ชุ่มน้าที่ได้รับการคุ้มครองโดยอนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) หรือทุ่งโล่ง บนที่สูง (Highland moors) และป่าโกงกาง กฎหมายเหมืองแร่ (Mining Law No. 1382 ของปี ค.ศ. 2010) ระบุว่าห้ามไม่ให้มีการทาเหมื องใดๆ ใน เขตพื้นที่อนุรักษ์
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
38
เอกสาร ภายหลังกระบวนการคัดเลือก ผู้เสนอโครงการต้องจัดทาเอกสารที่มีเนื้อหาครอบคลุมดังต่อไปนี้ 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7)
ใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมที่เฉพาะเจาะจง แผนที่ของสถานที่ดาเนินโครงการหรือกิจกรรม รายละเอียดโครงการหรือกิจกรรม ค่าใช้จ่ายโดยประมาณสาหรับการลงทุนและการดาเนินงานของโครงการ ใบเสร็จรับเงินสาหรับการประเมินด้านสิ่งแวดล้อม เอกสารทางกฎหมาย ใบรับรองจาก Ministry of the Interior and Justice เพื่อยืนยันว่ามีชุมชนพื้นเมืองที่ได้รับผลกระทบจาก โครงการหรือไม่ 8) ใบรับรองจาก INCODER เพื่อยืนยันว่ามีพื้นที่ของชนพื้นเมืองหรือชาวแอโฟรโคลอมเบีย (Afrocolombian) ที่ ได้รับผลกระทบจากโครงการหรือไม่ 9) สาเนาใบยื่นคาร้องต่อ Preventive Archaeology Program ของ Colombian Institute of Archaeology and History สาหรับโครงการเหมือง/น้ามันและก๊าซจาเป็นต้องยื่นสาเนาเอกสารการสารวจเหมือง/น้ามันและก๊าซ และ/ หรือสัญญายินยอมจากสานักทะเบียนการทาเหมืองแห่งชาติ (National mining registry) หรือสานักทะเบียนน้ามัน และก๊าซ (Oil and gas registry)
ระยะเวลาดาเนินการ เมื่อผู้เสนอโครงการยื่นใบคาร้องแล้ ว หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมจะตัดสินว่าจาเป็นต้องมีการจัดทา EDA หรือไม่ รวมถึงแนบข้อกาหนดและขอบเขตงานสาหรับการวิจัยและ/หรือการทา EIA ตามแต่กรณี ภายในเวลา 15 วันทาการ
2. การกาหนดขอบเขตการศึกษา (Scoping) เป็นขั้นตอนที่จาเป็นสาหรับการจัดทา EIA ในประเทศโคลอมเบีย ข้อกาหนดสาหรับขั้นตอนนี้ได้รับการ ระบุเอาไว้ตามกฎหมาย กระบวนการกาหนดขอบเขต ผู้เสนอโครงการควรศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และ/หรือวิเคราะห์ทางเลือกด้านสิ่งแวดล้อม (EDA) ตามข้อกาหนดและขอบเขตงาน (Terms of Reference) และ/หรือทางเลือกด้านสิ่งแวดล้อมที่หน่วยงานด้าน สิ่งแวดล้ อมก าหนด โดยข้ อ ก าหนดและขอบเขตงานท าหน้ าที่ ก าหนดวัต ถุ ป ระสงค์ ขอบเขต และเนื้ อ หาของ การศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ข้อกาหนดและขอบเขตงานควรอ้างอิงตามที่ระบุโดย MEHLD ใน Resolution No. 1503 ปี ค.ศ. 2010 ข้อกาหนดและขอบเขตงานสาหรับการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและการวิเคราะห์ทางเลือกด้าน สิ่งแวดล้อ มจะได้รั บการพิ จารณาโดยหน่ วยงานด้า นสิ่ งแวดล้อ มที่เ หมาะสม ไม่ว่ าจะเป็ น ANLA, Regional บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
39
Autonomous Corporation, Corporation of Sustainable Development และสานักงานเขตของเมืองใหญ่ โดยหน่วยงานเหล่านี้อาจปรับเปลีย่ นข้อกาหนดและขอบเขตงานเพื่อให้เหมาะสมตามความจาเป็นในแต่ละกรณี คู่มือ ปฏิบัติสาหรับการยื่นผลการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม ตามที่กาหนดโดย Resolution No. 1503 ปี ค.ศ. 2010 ได้ระบุ เนื้อหาที่จาเป็นต้องรวบรวมไว้ในรายงานสาหรับขั้นตอนการกาหนดขอบเขต
ระยะเวลาดาเนินการ 15 วันทาการ หลังหน่วยงานสิ่งแวดล้อมได้รับใบคาร้องสาหรับใบอนุญาต Environmental license
3. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและจัดทารายงาน (Assessment and Reporting) กระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม กระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นจากผู้เสนอโครงการจัดทาการวิเคราะห์ทางเลือกด้าน สิ่งแวดล้อม (EDA) ซึ่งจะได้รับการพิจารณาโดยหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เพื่อคัดเลือกทางเลือกในการ จัดการโครงการที่เหมาะสมและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ในบางกรณี ผู้เสนอโครงการอาจไม่จาเป็นต้อง จัดทา EDA และสามารถเริ่มเตรียมจัดทา EIA ได้เลยทันที ผู้เสนอโครงการจาเป็นต้องจัดทา EIA ตามคู่มือปฏิบัติสาหรับการยื่นผลการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งคู่มือ ปฏิบัตินี้ครอบคลุมถึงแหล่งข้อมูลทางวิชาการ วิธีระบุและประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งครอบคลุมทั้งมิติ ด้านชีวภาพ กายภาพ เศรษฐกิจและสังคม เกณฑ์ชี้วัดเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพซึ่งกาหนดให้สามารถนามาใช้ใน การประเมิณ เช่น พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ ระยะเวลา ขอบเขต และความยืดหยุ่นของผลกระทบ เกณฑ์การปล่อย มลพิษที่กาหนดตามกฎหมายก็สามารถเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดในการประเมินระดับของผลกระทบได้เช่นกัน นอกจากนี้ รายงาน EIA ควรครอบคลุมถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการก่อสร้างและการดาเนินงานของโครงการด้วย รวมถึงการ ประเมินผลกระทบด้านเศรษฐกิจ เช่นการประเมินมูลค่าของผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และการประเมินความคุ้มค่า ด้านสิ่งแวดล้อม เนื้อหาในรายงาน EIA คู่มือปฏิบัติสาหรับการยื่นผลการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมได้กาหนดให้ระบุหัวข้อในการรายงาน EIA ดังนี้ 7) การระบุผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและการประเมินผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยครอบคลุมถึงมิติ ต่างๆ ดังต่อไปนี้ - กายภาพ (ภูมิศาสตร์ อุทกวิทยา คุณภาพอากาศ น้า และดิน สภาพอากาศ เสียง) - ชีวภาพ (ระบบนิเวศ พืช และสัตว์) - สังคมและเศรษฐกิจ - สภาพภูมิประเทศ - โบราณคดี 8) แผนการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental management plan) 9) การจัดพื้นที่สาหรับมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม 10) แผนติดตามผลการดาเนินงาน 11) แผนรับรองสถานการณ์ฉุกเฉิน บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
40
12) แผนการสิ้นสุดโครงการและแผนฟื้นฟู 4. การทบทวน (Review) กระบวนการทบทวน เริ่มต้นเมื่อผู้เสนอโครงการยื่นขอใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมจะดาเนินการ ทบทวนและพิจารณาผลการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่ผู้เสนอโครงการยื่นเข้ามา ก่อนตัดสินใจว่าจะออก ใบอนุ ญาตด้ า นสิ่ งแวดล้อ มหรื อไม่ ตามเกณฑ์ ชี้วั ด ที่ก าหนดในคู่ มือ การประเมิ น ผลการศึก ษาด้า นสิ่งแวดล้ อ ม (Environmental Studies Assessment Guides) ผลิตโดย Ministry of the Environment และองค์กร Convenio Andres Bello ประเทศสเปน ในปี ค.ศ. 2002 ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการประเมิน EIS สาหรับหน่วยงานกลางด้านสิ่งแวดล้อมและหน่วยงานภูมิภาค โดยมีสาระสาคัญทั้งหมด 4 หัวข้อ ได้แก่ (1) เกณฑ์ชี้วัดสาหรับการประเมินผลกระทบ (2) การเปลี่ยนแปลงที่แสดงถึงลักษณะองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อม (3) จัดอันดับ (rating scale) วิธีการประเมิน และ (4) การเปรียบเทียบกับบรรทัดฐาน (benchmarks) (Toro, Requena, & Zamorano, 2009) ระยะเวลาดาเนินการ หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมมีเวลา 5 วันทาการในการออกใบยืนยันการเริ่มต้นทบทวนรายงาน จากนั้น หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมมีเวลา 15 วันในการเรียกขอข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงานอื่นๆ โดยหน่วยงานเหล่านี้ต้องส่ง ข้อมูลเพิ่มเติมภายในระยะเวลา 20 วันทาการ แต่หากหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมต้องการเอกสารหรือข้อมูลเพิ่มเติม จากผู้เสนอโครงการ ผู้เสนอโครงการสามารถยื่นเอกสารหรือข้อมูลเพิ่มเติมได้โดยไม่มีระยะเวลากาหนด เมื่อได้รับ เอกสารหรือข้อมูลครบถ้วนแล้ว หน่วยงานสิ่งแวดล้อมจะออกใบรับรองข้อมูลครบถ้วนภายในระยะเวลา 5 วันทาการ
5. การออกใบอนุญาต (Decision-making) ในการขอใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมผู้เสนอโครงการจาเป็นต้องจัดทา EIA ซึ่งเป็นตัวชี้วัดว่าโครงการจะ ได้รับใบอนุญาตหรือไม่ หากโครงการผ่านการประเมินและได้รับใบอนุญาตก็จะสามารถเริ่มดาเนินโครงการได้ หน่วยงานผู้รับผิดชอบ Ministry of the Environment and Sustainable Development และ National Environmental Licensing Authority (ANLA) ทาหน้าที่ดูแลการออกใบอนุญาตในระดับชาติ หน่วยงานสิ่ งแวดล้อมระดับท้องถิ่น และองค์ก รด้านการพั ฒนาอย่างยั่ งยืนในระดั บท้องถิ่น (regional corporations of sustainable development) เทศบาล ตาบล และเขตเมืองใหญ่ที่มีประชากรมากกว่าหนึ่งล้านคน หน่วยงานสิ่งแวดล้อมของเขต Baranquilla, Santa Marta และ Cartagena หน่วยปกครองพื้นที่ (territorial entities) ที่เป็นตัวแทนขององค์กรปกครองตนเอง และ/หรือองค์กรด้าน การพัฒนาอย่างยั่งยื นในระดับท้องถิ่น ยกเว้นกรณีที่หน่วยงานเหล่านี้เป็นผู้เสนอโครงการเอง โดยมี ข้ อ ก าหนดว่ า หน่ ว ยปกครองพื้ น ที่ ต้ อ งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพทางเทคนิ ค เศรษฐกิ จ การปกครอง และการ ดาเนินงานที่เพียงพอ จึงสามารถเป็นตัวแทนในการออกใบอนุญาตได้ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
41
การยืนยันการตัดสิน ใบอนุ ญ าตด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มควรระบุ เ นื้ อ หาโดยย่ อ ของสาเหตุ แ ละแรงจู ง ใจที่ ท าให้ ห น่ ว ยงานด้ า น สิ่งแวดล้อมพิจารณาออกใบอนุญาตให้แก่โครงการ การเผยแพร่ผลการตัดสินใจ กฎหมายสิ่งแวดล้อม (Law 99) ของปี ค.ศ. 1993 กาหนดเงื่อนไขว่าการตัดสินใจออกหรือปฏิเสธการออก ใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมควรได้รับการเผยแพร่ผ่านวารสาร Gaceta Ambietal ของ Ministry of Environment and Sustainable Development และส่งไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือมีการเผยแพร่ต่อสาธารณะ ระยะเวลาดาเนินการ เมื่อได้รับใบรับรองข้อมูลครบถ้วนแล้ว หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมมีเวลาไม่เกิน 25 วันทาการในการตัดสินใจออก ใบอนุญาตให้แก่โครงการหรือกิจกรรม
6. การติดตามผล (Monitoring) กระบวนการจัดทา EIA ในประเทศโคลอมเบียระบุให้มี Monitoring and Supervision Program โดย หน่วยงานสิ่งแวดล้อมที่เป็นผู้ออกใบอนุญาตมีหน้าที่รับผิดชอบติดตามผลการดาเนินงานของโครงการที่ตนเป็นผู้ออก ใบอนุญาต โดยได้มีการกาหนดคู่มือติดตามผลการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Follow-up Guide for Projects) ขึ้นในปี ค.ศ. 2002 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการติดตามตรวจสอบโครงการที่ได้รับใบอนุญาตด้าน สิ่งแวดล้อมสาหรับหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมทั่วทุกภูมิภาค
ค่าใช้จ่ายในการทา EIA ประเทศโคลอมเบียกาหนดให้มีค่าใช้จ่ายสาหรับการประเมินรายงานเพื่อออกใบอนุญาต และค่าใช้จ่ายในการติดตาม ผลการดาเนินงานอีกด้วย โดยผู้เสนอโครงการต้องชาระค่าใช้จ่ายไปยังบัญชีเฉพาะของ National Environmental Fund (Fondo Nacional Ambiental, FONAM) ซึ่งเป็นระบบบัญชีพิเศษของกระทรวงสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน (Ministry of Environment and Sustainable Development) ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจะถูกนาไปใช้ในกระบวนการประเมินและติดตามตรวจสอบโดยหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมที่เป็นผู้ ออกใบอนุญาตของแต่ละโครงการในขั้นตอนต่อไป
3.3 การมีส่วนร่วมของประชาชน เมื่อยื่นรายงาน EIS ต่อหน่วยงานสิ่งแวดล้อมแล้ว ก่อนผลการตัดสินใจออกใบอนุญาตด้านสิ่ งแวดล้อมจะได้รับการ เปิดเผย ผู้เสนอโครงการจาเป็นต้องแถลงข้อมูลต่อสาธารณะ โดยเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าร่วม นอกจากนี้ หากโครงการหรือ กิจกรรมใดที่ดาเนินหรือส่งผลกระทบต่อพื้นที่ของชนพื้นเมืองหรือชาวแอโฟรโคลอมเบีย ผู้เสนอโครงการต้องจัดทาประชา บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
42
พิจารณ์เพื่อรับฟังความคิดเห็นและปรึกษากับชุมชนในระหว่างการศึกษาจัดทารายงาน EIS โดยหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมที่ รับผิดชอบการออกใบอนุญาตให้แก่โครงการต้องเข้าร่วมในกระบวนการรับฟังความคิดเห็นด้วย Article 30 ของ Law 99 ระบุไว้ว่าชุมชนที่อยู่รอบพื้นที่และได้รับผลกระทบโดยตรงจากโครงการหรือกิจกรรม จาเป็นต้องได้รับข้อมูลที่ครบถ้วนและเหมาะสมเกี่ยวกับการดาเนินโครงการ โดยเฉพาะข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งแนวทางการป้องกันที่เหมาะสม เมื่อเริ่มต้นดาเนินโครงการแล้ว ชุมชนต้องได้รับข้อมูลความ คืบหน้าของโครงการเป็นระยะๆ เพื่อให้ทราบถึงผลการดาเนินงานป้องกันผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมตามที่ระบุไว้ในแผนการ จัดการสิ่งแวดล้อมของโครงการ (Saborio Coze & Flores Nava, 2009) การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการทา EIA ส่วนมากในประเทศโคลอมเบียจึงยังคงถูกจากัดอยู่ที่การรับฟัง ข้อมูลเป็นหลัก แต่ไม่มีส่วนร่วมมากนักในกระบวนการตัดสินใจหรือการจัดทา EIA (Toro, Requena, & Zamorano, 2009) อย่างไรก็ตาม ประชาชนมีช่องทางสาหรับการมีส่วนร่วมมากขึ้นหากมีการเรียกร้องให้จัดประชาพิจารณ์ (public hearing) เมื่อมีการเรียกร้องโดยหน่วยงานดังนี้ Office of the Inspector General หรือตัวแทนด้านสิ่งแวดล้อมและเกษตรกรรมของ Office of the Inspector General, ผู้ตรวจการรัฐสภา (national ombudsman), the Ministry of the Environment and Sustainable Development, หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม (competent environmental authorities), ผู้ว่าราชการ, นายกเทศมนตรี, องค์กรไม่แสวงหากาไร (Non-governmental Organization, NGO) อย่างน้อย 3 องค์กร และการล่ารายชื่อประชาชนอย่างต่า 100 รายชื่อ (Netherlands Commission for Environmental Assessment, n. d.) Office of the Inspector General ได้จัดทาคู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการทา EIA ขึ้นในปี ค.ศ. 2007 เพื่อเป็นแนวทางสาหรับผู้เสนอโครงการในการเตรียมงาน ประชาชนสามารถเรียกขอข้อมูลเกี่ยวกับโครงการได้โดยตรง ผ่า นหน่ ว ยงานสิ่ งแวดล้อ มที่รั บ ผิ ดชอบการออกใบอนุ ญ าตส าหรั บ โครงการหรื อกิ จ กรรมนั้น ๆ และสามารถยื่ น อุท ธรณ์ (appeal) ต่อกรณีการตัดสินใจออกใบอนุญาตของหน่วยงานสิ่งแวดล้อมได้ รวมไปถึงผู้เสนอโครงการ หน่วยงานภาครัฐ ประชาสังคม และนิติบุคคล
3.4 ความรับผิดชอบหลังจากที่ได้รับอนุญาต ภายหลังได้รับใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental License) และเริ่มต้นดาเนินโครงการแล้ว หน่วยงาน ด้านสิ่งแวดล้อ มที่ เป็น ผู้อ อกใบอนุญ าตจะท าหน้าที่ ติด ตามตรวจสอบผลการดาเนิ นงานของโครงการ เพื่ อตรวจสอบว่ า ดาเนินการสอดคล้องกับเงื่อนไขและข้อตกลงตามที่กาหนดในแผนการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management Plan) ที่ระบุในรายงาน EIA ซึ่งใช้ในการขอใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมหรือไม่ โดยการติดตามผลต้องเป็นไปเพื่อบรรลุ วัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของแผนการจัดการสิ่งแวดล้อม 2. เพื่อตรวจสอบและบังคับใช้ข้อตกลง เงื่อนไข และสัญญาอันเนื่องมาจากแผนการจัดการสิ่งแวดล้อม และ ใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม 3. เพื่อตรวจสอบสถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิต (biotic natural resources) เศรษฐกิจสังคม (socioeconomic) และทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่มีชีวิต (abiotic natural resources) ภายหลังเริ่มต้นดาเนิน โครงการ 4. เพื่อตรวจสอบผลกระทบสะสม (cumulative impact) จากโครงการหลายโครงการที่อยู่ในพื้นที่เดียวกัน 5. เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและสอดคล้องกับข้อกาหนดเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
43
6. เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของการดาเนินโครงการและข้อกาหนดด้านสิ่งแวดล้อม 7. เพือ่ ตรวจสอบข้อมูลและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมที่ใช้ในกรณีเหตุฉุกเฉิน 8. เพือ่ เสนอมาตรการป้องกันและแก้ไขอื่นๆสาหรับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่ไม่อาจคาดการณ์ได้ล่วงหน้า เจ้าของโครงการต้องชาระค่าใช้จ่ายไปยังบัญชีเฉพาะของ National Environmental Fund (Fondo Nacional Ambiental, FONAM) ซึ่งเป็นระบบบัญชีพิเศษของ Ministry of Environment and Sustainable Development สาหรับ ใช้ในการประเมินรายงาน EIA เพื่อออกใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม และสาหรับการติดตามตรวจสอบผลการดาเนินงาน ด้านมาตรฐานการจั ดทา EIA ประเทศโคลอมเบี ยมี การก าหนดคู่ มือ ปฏิบั ติส าหรับ การยื่น ผลการศึก ษาด้า น สิ่งแวดล้อม (General Methodology for the Submission of Environmental Studies) ซึ่งครอบคลุมรายละเอียดของ แหล่งข้อมูลทางวิชาการสาหรับใช้ในการประเมินผลกระทบ วิธีระบุและประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่ครอบคลุมทั้งมิติ ด้านชีวภาพ กายภาพ เศรษฐกิจและสังคม เกณฑ์ชี้วัดเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่กาหนดให้สามารถนามาใช้ในการประเมิณ เช่น พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ ระยะเวลา ขอบเขต และความยืดหยุ่นของผลกระทบ รวมถึงเกณฑ์การปล่อยมลพิษที่กาหนดตาม กฎหมาย
3.5 บทลงโทษ หากพบว่ า โครงการที่ ไ ด้ รั บ ใบอนุ ญ าตด้ า นสิ่ งแวดล้ อ มมี ก ารด าเนิ น งานที่ ไ ม่ ส อดคล้ อ งตามเงื่ อ นไข ข้ อ ตกลง ข้อกาหนดกฎหมาย หรือหน้าที่อันพึงรับผิดชอบ หน่วยงานด้ านสิ่งแวดล้อมที่เป็นผู้ออกใบอนุญาตสาหรับโครงการนั้นๆ สามารถเพิกถอนใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการได้ นอกจากนี้ เมื่อพบว่ามีการละเมิดใบอนุญาต (infraction) เจ้าของ โครงการยังจาเป็นต้องจ่ายค่าปรับรายวันเป็นจานวนเงินรวมไม่เกิน 300 เท่าของค่าแรงขั้นต่า (ค่าแรงขั้นต่า ณ ปัจจุบันของ ประเทศโคลอมเบียอยู่ที่ประมาณ 21,478 เปโซต่อวัน หรือประมาณ 278 บาทต่อวัน) และอาจถูกอาญัติของกลางที่เกี่ยวข้อง กับการกระทาผิด หรือสั่งยกเลิกการดาเนินโครงการได้ สาหรับกรณีที่เมื่อตรวจสอบแล้วพบว่าโครงการส่งผลกระทบต่อ สิ่ งแวดล้ อ มมากกว่ า ที่ ร ะบุ ใ นรายงาน EIA เจ้ า ของโครงการจ าเป็ น ต้ อ งยื่ น ขอใบอนุ ญ าตด้ า นสิ่ งแวดล้ อ มฉบั บ แก้ ไ ข (modification of environmental license) ซึ่งต้องมีการทา EIA ใหม่อีกครั้ง
3.6 มาตรฐานทางวิชาชีพ มาตรา 225 ในแผนพัฒนาประเทศ 2014-2018 (National Development Plan 2014-2018) ตาม Act 1450 ของปี ค.ศ. 2011 ระบุให้หน่วยงานรัฐกาหนดคุณสมบัติของบุคคลและองค์กรที่สามารถจัดทา EIA ได้ เพื่อเป็นการรักษา มาตรฐานคุณภาพของรายงาน EIA อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันมาตราดังกล่าวยังมิได้ถูกบังคับใช้ จึงยังไม่มีการกาหนดคุณสมบัติ รวมถึงวิธีจดทะเบียนบุคคล และองค์กรที่ชัดเจน (Environmental Law Alliance Wordwide, 2013) (National Planning Department (Colombia), 2014)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
44
เนื้อหาคู่มือ General Methodology for the Submission of Environmental Studies (Metodología General para la Presentación de Estudios Ambientales)
สารบัญ 1. แหล่งข้อมูล 2. การนาเสนอผลการศึกษา a. ข้อกาหนดทางเทคนิค (Technical Specifications) b. การจาแนกพื้นที่ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Zoning) c. การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment) d. การจาแนกพื้นที่เพื่อการจัดการ (Management Zoning) e. แผนการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management Plan) f. แผนการติดตามตรวจสอบ (Plans for Monitoring and Follow-up) g. แผนสาหรับกรณีฉุกเฉิน (Contingency Plan) 3. เอกสารการศึกษา a. การนาเสนอเอกสาร (Document Presentation) b. ข้อกาหนดด้านการจัดทาแผนที่ (Specifications for the Development of Cartography) c. การแสดงข้อมูลแผนที่ (Delivery of Cartographic Information)
สาหรับแผนการจัดการสิ่งแวดล้อมในรายงาน EIA โดยมากแบ่งออกเป็นมาตรการในการจัดการด้านต่างๆ ดังนี้ -
-
ด้านสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต (Abiotic) เช่น การจัดการพื้นที่ลาดเอียง (slope management) การจัดการวัตถุดิบ และวัสดุก่อสร้าง การจัดการโรงเก็บ (management of storage yards) การจัดการขยะมูลฝอย การจัดการน้า การติดตั้งป้าย (signage program) การจัดการสิ่งก่อสร้างและบริการสาธารณะ (infrastructure management and control of public service) อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (occupational health and safety) การ จัดการดิน การจัดการถนนเชื่อม และการจัดการการระเบิด (management of controlled blasting) ด้านสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต (Biotic) เช่น การจัดการพืช สัตว์ป่า ป่าไม้ และสิ่งมีชีวิตทีไ่ ด้รับการคุม้ ครอง ด้านเศรษฐกิจสังคม (Socioeconomic) เช่น การสร้างงาน การให้ความรู้แก่พนักงานในโครงการ โครงการมีส่วน ร่วมของชุมชน การช่วยเหลือประชากรที่ต้องถูกโยกย้ายถิ่นฐาน การฟื้นฟูโครงสร้างพื้นฐานที่ได้รับผลกระทบจาก โครงการ (restitution and adequacy of social infrastructure affected by the works)
เนื้อหาที่ต้องระบุในแผนการติดตามผลการดาเนินโครงการ ต้องครอบคลุมประเด็นอย่างน้อยดังต่อไปนี้ -
ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมสาหรับการติดตามผล และขั้นตอนการติดตามผลในแต่ละขั้นตอนของโครงการ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
45
-
กาหนดตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อม เพือ่ ประเมินแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของคุณภาพสิ่งแวดล้อม กาหนดขอบเขตและความถี่ของการติดตามผล (definition of sampling sites and frequency of monitoring) เปรียบเทียบระหว่างผลการติดตามและคุณภาพของสิ่งแวดล้อมก่อนเริ่มดาเนินโครงการ แนวทางป้องกันผลกระทบที่ไม่อาจคาดคะเนได้ และมาตรการรองรับผลกระทบดังกล่าว ระบุข้อจากัดและการเปลี่ยนแปลงของวิธีการติดตามผล (define the limitations and adjustments of the monitoring carried out)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 3. กรณีศึกษา ประเทศโคลอมเบีย
46
4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี 4.1 ความเป็นมา เยอรมนีเป็นประเทศที่มีการออกกฎหมายเพื่อคุ้มครองประชาชนและสิ่งแวดล้อมจากอันตรายและความเสี่ยงที่เกิด จากภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง และยังเป็นประเทศแรกในทวีปยุโรปที่เริ่มให้มีการจัดทารายงานการประเมินผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม หรือ EIA ขึ้นในปี ค.ศ. 1975 เพียงไม่กี่ปีหลังมีการผ่านกฎหมายอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในสหรัฐอเมริกา (Mandl, 2010) ซึ่งกฎหมายฉบับนี้ของเยอรมนี นาไปสู่การผ่านข้อกาหนดของสหภาพยุโรป (European Union, EU) ด้านการ ประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมหรือที่เรียกว่า EIA Directive ขึ้นในปี ค.ศ. 1985 เพื่อนามาใช้กับประเทศที่เป็นสมาชิกใน สหภาพยุโรปทั้งหมด EIA Directive ทาหน้าที่กาหนดแนวทางและข้อบังคับในการจัดทา EIA สาหรับแต่ละประเทศ เช่นกาหนดขั้นตอนใน การจัดทารายงาน EIA และประเภทของโครงการที่จาเป็นต้องทา EIA โดยประเทศเยอรมนีได้นาข้อกาหนดตามที่ระบุใน EIA Directive มารวบรวมอยู่ในกฎหมายระดับประเทศที่เรียกว่า EIA Act หรือ Act on Assessment of Environmental Impacts (Gesetz über die Umweltverträglichkeitsprüfung – UVPG) ซึ่งมีการปรับปรุงครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 2005 โดย ได้เพิ่มรายละเอียดเกี่ยวกับข้อกาหนดสาหรับการจัดทา Strategic Environmental Assessment (SEA) รัฐธรรมนูญของประเทศเยอรมนีได้แบ่งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาสิ่งแวดล้อมออกเป็นสองระดับ ได้แก่ ระดับประเทศ (Federal Republic) และระดับสหพันธรัฐ (Länder) โดยภายหลังการปฏิรูปกฎหมายระดับประเทศในปี ค.ศ. 2006 กฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมที่สาคัญหลายฉบับได้รับการแต่งตั้งให้อยู่ภายใต้อานาจทางกฎหมายระดับประเทศ โดย กฎหมายเหล่านี้ได้แก่กฎหมายที่ควบคุมด้านการจัดการคุณภาพอากาศ การจัดการของเสีย การป้องกันเสียงรบกวน การวางผัง เมือง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การป้องกันมลพิษทางน้า การป้องกินดิน การล่าสัตว์ และการป้องกันชายฝั่ง อย่างไรก็ตาม รัฐบาลท้องถิ่นมีอานาจในการควบคุมและตัดสินใจ ไม่จาเป็นต้องยึดโยงกับกฎหมายที่กาหนดโดยรัฐบาลระดับชาติได้ สาหรับ กรณีการวางผังเมือง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การป้องกันมลพิษทางน้า และการล่าสัตว์ แต่ยังคงต้องอยู่ภายใต้กรอบของ รัฐธรรมนูญและกฎหมายของสหภาพยุโรป (EU-law) (Royal HaskoningDHV, 2012) กฎหมายและข้อกาหนดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในประเทศเยอรมนีส่วนมากอ้างอิงหรือได้รับอิทธิพลจากกฎหมาย สิ่งแวดล้อมของสหภาพยุโรป เช่น การใช้แผนการรักษาคุณภาพอากาศ (Air Quality Maintenance Plans), การประกาศ พื้นที่อนุรักษ์เพื่อสร้างเครือข่าย Natura 2000 ซึ่งเป็นเครือข่ายของพื้นที่อนุรักษ์ภายในอาณาเขตของสหภาพยุโรป ควบคุม โดย Habitats Directive และ Birds Directive, การนิยามของเสีย ของเสียเพื่อการกาจัด และของเสียเพื่อการใช้ประโยชน์ , ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดในอนาคต (environmental liability) รวมถึงการศึกษาผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อม ซึ่งยึด โยงกับ EIA Directives ของสหภาพยุโรปเป็นหลัก อย่างไรก็ดี รัฐบาลท้องถิ่นอาจมีเงื่อนไขที่เฉพาะเจาะจงมากกว่าที่กาหนด โดยรัฐบาลระดับชาติ ภายหลังการผ่านกฎหมาย EIA Directive ของสหภาพยุโรปในปี ค.ศ. 1985 ประเทศเยอรมนีได้ผ่านกฎหมาย EIA Act ขึ้นในปี ค.ศ. 1990 เพื่อควบคุมการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรง โดย แบ่งออกเป็น EIA Act ระดับประเทศ หรือ Gesetz über die Umweltverträglichkeitsprüfung (UVPG)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี
47
EIA Act ระดับท้องถิ่น หรือ Bremisches Landesgesetz über die Umweltverträglichkeitsprüfung (BremUVPG) ข้อกาหนดระดับประเทศเกี่ยวกับการบังคับใช้ EIA Act ประกาศเมือ่ วันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1995 หรือ Allgemeine Verwaltungsvorschrift zur Ausführung des Gesetzes über die Umweltverträglichkeitsprüfung (UVPVwV) EIA Act ทั้งระดับประเทศ (UVPG) และระดับท้องถิ่น (BremUVPG) ได้รวบรวมข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องกับ “การ ประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (EIA) และ “การประเมินสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ ” (Strategic Environmental Assessment: SEA) เอาไว้ด้วยกัน และได้กาหนดให้นิยามของคาว่า “การประเมินด้านสิ่งแวดล้อม (environmental assessment)” ครอบคลุมทั้ง EIA และ SEA โดยชื่อที่ใช้เรียก EIA ในประเทศเยอรมนีคือ Umweltverträglichkeitsprüfung (UVP) ส่วน Strategische Umweltsprüfung (SUP) ใช้เรียก SEA เช่นเดียวกับหลายประเทศ วัตถุประสงค์ของการจัดทา EIA ในประเทศเยอรมนีคือเพื่อประเมินและอธิบายผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อมที่สาคัญซึ่งอาจเกิดขึ้นได้จากการดาเนินโครงการ และนาข้อมูลผลกระทบไปใช้ในกระบวนการออกใบอนุญาต สาหรับแต่ละโครงการ
ประเภทโครงการที่ต้องจัดทา EIA ประเทศเยอรมนีได้กาหนดประเภทของโครงการที่ต้องจัดทา EIA เอาไว้ทั้งหมด 19 ประเภท ตาม Annex 1 ของ UVPG (Federal Ministry of Justice and Consumer Protection, 2013) โดยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ตาม ระดับความจาเป็นที่จะต้องจัดทา EIA ได้แก่ (1) โครงการที่จาเป็นต้องมีการจัดทา EIA ไม่ว่าในกรณีใดก็ตาม โครงการเหล่านี้จะถูกระบุด้วยตัวอักษร “X” ในรายชื่อประเภทโครงการใน Annex 1 ของ UVPG มีจานวน ทั้งสิ้น 92 ประเภทโครงการ (2) โครงการที่อาจจาเป็นต้องมีการจัดทา EIA สามารถแบ่งออกเป็น a. โครงการที่อาจจาเป็นต้องจัดทา EIA เมื่อผ่านกระบวนการกลั่นกรองทั่วไป (general screening) ซึ่ง ถูกระบุด้วยตัวอักษร “A” ในรายชื่อประเภทโครงการตาม Annex 1 b. โครงการที่อ าจจาเป็นต้อ งจัดท า EIA เมื่อ ผ่านกระบวนการกลั่นกรองด้านพื้นที่ (site-related screening) ซึ่งถูกระบุด้วยตัวอักษร “S” ในรายชื่อประเภทโครงการตาม Annex 1
4.2 กระบวนการทา EIA 1. การกลั่นกรองโครงการ (Screening) เป็นขั้นตอนสาคัญในการกลั่นกรองว่าโครงการใดบ้างจาเป็นต้องมีการจัดทา EIA โดยหน่วยงานรัฐจะเป็นผู้ ประเมินเมื่อได้รับใบยื่นคาร้องในการดาเนินโครงการจากผู้รับผิดชอบโครงการ รายชื่อของประเภทโครงการที่เข้า ข่ายต้องจัดทา EIA ได้ถูกระบุเอาไว้ใน Annex 1 ของ UVPG โดยมีข้อยกเว้นสาหรับโครงการที่สามารถยืนยันได้ว่า บริษัท ป่าสาละ จากัด | 4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี
48
จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรงต่อสิง่ แวดล้อม โดยหน่วยงานรัฐจะเป็นผู้ประเมินว่าผลการศึกษาได้มีการจัดทาอย่าง น่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับเพียงพอหรือไม่ ก่อนดาเนินการตัดสินใจละเว้นการจัดทา EIA สาหรับโครงการนั้นๆ ข้อกาหนดสาหรับโครงการที่ต้องจัดทา EIA (1) หากเข้าข่ายประเภทโครงการที่ต้องจัดทา EIA ตามที่ระบุใน Annex 1 และมีขนาดของโครงการสอดคล้องหรือ สูงกว่าที่กาหนด (2) หากโครงการจานวนมากกว่าหนึ่งโครงการมีลักษณะที่เหมือนหรือคล้ายคลึงกัน ถูกเสนอโดยเจ้าของโครงการ เดียวกันหรือแตกต่างกัน และมีความเชื่อมโยงกันสูง (โครงการสะสม – cumulative projects) จาเป็นต้อง จัดทา EIA หากประเมินคุณสมบัติแล้วมีขนาดของโครงการที่เข้าข่ายหรือสูงกว่าที่กาหนดตาม Annex 1 โครงการจะถือว่ามีความเชื่อมโยงกันสูงเมื่อ 1) ตั้งอยู่ในพื้นที่ปฏิบัติการหรือพื้นที่ก่อสร้างเดียวกัน และมี โครงสร้างพื้นฐานสาหรับการปฏิบัติการหรือการก่อสร้างที่เชื่อมโยงกัน 2) มีความสัมพันธ์ทางกายภาพกับสภาพ ภูมิประเทศหรือสิ่งแวดล้อมที่อยู่ใกล้เคียงกัน และมีวัตถุประสงค์ใกล้เคียงกัน (3) หากโครงการที่เดิมไม่เข้าข่ายต้องจัดทา EIA มีการเปลี่ยนแปลงหรือขยาย และก่อให้เกิดผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมที่มากขึ้น โดยโครงการที่เดิมไม่เข้าข่ายต้องจัดทา EIA ถือว่าสามารถเป็นส่วนหนึ่งของ cumulative project ตามที่ระบุในข้อ (2) ด้วยเช่นกัน กรณีการเปลี่ยนแปลงหรือขยายโครงการที่จาเป็นต้องมีการจัดทา EIA (1) การเปลี่ยนแปลงหรือขยายโครงการจาเป็นต้องมีการจัดทา EIA หาก a. การเปลี่ยนแปลงหรือขยายทาให้โครงการมีคุณสมบัติเข้าข่ายโครงการใน Annex 1 หรือสัดส่วนของ การขยายเข้าข่ายโครงการใน Annex 1 หรือ b. มีผลการศึกษาที่ระบุว่าการเปลี่ยนแปลงหรือขยายโครงการสามารถก่อนให้เกิดผลกระทบรุนแรงต่อ สิ่งแวดล้อม (2) การขยายหรือต่อเติมโครงการตามที่ระบุใน Annex 1 ข้อ 1.18 ถึง 8.18 และสาหรับการเปลี่ยนแปลงของ โครงการตามที่ระบุใน Annex 1 ข้อ 18.8 กระบวนการกลั่นกรองจะถูกนามาใช้ในกรณีของโครงการที่อาจจาเป็นต้องมีการจัดทา EIA เพื่อพิสูจน์ว่า โครงการที่ถูกเสนอนั้นสามารถส่งผลกระทบรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมได้หรือไม่ โดยกระบวนการเดียวกันนี้จะถูกนามาใช้ เมื่อต้องมีการต่อใบอนุญาต หรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหรือขยายโครงการด้วยเช่นกัน แผนภาพ 3 แสดงกระบวนการกลั่นกรองโครงการของประเทศเยอรมนี
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี
49
แผนภาพ 3 กระบวนการกลั่นกรองโครงการของประเทศเยอรมนี Site-related Screening
General Screening
1. ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมที่เกีย่ วข้องกับโครงการ
ตามที่ระบุใน Annex 2 Nr. 1 UVPG
มีพื้นที่เปราะบางตามที่ระบุใน Annex 2 Nr. 2.3 UVPG ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ
2. มีพื้นที่ตามที่ระบุใน Annex 2 Nr. 2 UVPG ที่
ได้รับผลกระทบจากโครงการ (เฉพาะพื้นที่ที่ระบุ ใน Annex 2 Nr. 2.3 UVPG สาหรับ Siterelated screening)
มี ไม่มี ไม่จาเป็นต้องทา EIA (จบกระบวนการกลั่นกรอง)
ไม่มี มี เมื่อประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมตามข้อ 1 และ 2 หรือตามเกณฑ์ชี้วัดเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพที่กาหนดใน Annex 2 para. 3 UVPG แล้วพบว่ามีผลกระทบที่สาคัญต่อสิ่งแวดล้อม
ไม่มี
มี
ไม่จาเป็นต้องทา EIA (จบกระบวนการกลั่นกรอง)
จาเป็นต้องทา EIA (จบกระบวนการกลั่นกรอง) ไม่แน่ใจ จาเป็นต้องทา EIA (จบกระบวนการกลั่นกรอง)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี
50
2. การกาหนดเนื้อหาและขอบเขต (Scoping) ผู้รับผิดชอบโครงการและหน่วยงานรัฐมีส่วนร่วมในการกาหนดเนื้อหาและขอบเขตของการจัดทารายงาน EIA โดยต้องมีการปรึกษากับหน่วยงานอื่นที่ได้รับผลกระทบ ผู้ชานาญการอิสระ หรือบุคคลภายนอกรายอื่น เช่น กลุ่มพลเมือง หรือบริษัทด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อร่วมกันกาหนดขอบเขตของการจั ดทา EIA วัตถุประสงค์ของขั้นตอนนี้ ได้แก่ (4) เพื่อระบุหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการ (5) กาหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องสาหรับการประเมิน (6) กาหนดขอบเขตและวิธีการที่ใช้ในการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม โดยหน่วยงานรัฐมีหน้าที่ให้คาปรึกษาผู้เสนอโครงการหรือบริษัทที่ปรึกษาเกี่ยวกับกระบวนการดาเนินงาน ที่ถูกต้องและเหมาะสมในขั้นตอนต่อๆ ไป 3. การยื่นแผนงานของโครงการ (Developer’s Documents) ผู้รับผิดชอบโครงการต้องยื่นข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้ อมที่อาจเกิดขึ้นจาก โครงการให้กั บ หน่ ว ยงานภาครั ฐ เพื่ อประเมิ นความถู กต้ องและเหมาะสมของข้อ มู ล โดยเอกสารที่ ยื่น จะต้ อ ง ครอบคลุมข้อมูลดังนี้ (1) รายละเอียดของโครงการ สถานที่ตั้ง ลักษณะ ขนาดและความต้องการใช้พื้นที่ (2) รายละเอียดของมาตรการป้องกันผลกระทบรุนแรงด้านสิ่งแวดล้ อมที่ยึดตามมาตรฐานทางวิชาการ และการตรวจสอบ (audit) ที่ได้รับการยอมรับ (3) รายละเอียดของผลกระทบรุนแรงด้านสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้น โดยยึดตามมาตรฐานทางวิชาการและ การตรวจสอบที่ได้รับการยอมรับ (4) รายละเอียดของสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ โดยยึดตามมาตรฐานทางวิชาการ และการตรวจสอบที่ได้รับการยอมรับ รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ดังกล่าว (5) รายละเอียดของทางเลือกที่ผู้รับผิดชอบโครงการต้องการนามาใช้ในการดาเนินโครงการ พร้อมเหตุผล ที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ ผู้รับผิดชอบโครงการอาจจาเป็นต้องแสดงข้อมูลเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงการ (1) รายละเอียดของเทคโนโลยีที่ใช้และกระบวนการทางเทคนิค (2) รายละเอียดของคุณสมบัติและขอบเขตของมลพิษทางอากาศ ของเสีย น้าเสีย การใช้และการจัดการ น้า ดิน สิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิประเทศ รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบอื่นๆที่เกิดจากโครงการที่ อาจส่งผลกระทบรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อม (3) หมายเหตุเกี่ยวกับอุปสรรคในการรวบรวมข้อมูล เช่นอุปสรรคทางเทคนิคหรือการขาดข้อมูล 4. การมีส่วนร่วมของประชาชน (Public enquiry) UVPG กาหนดว่าประชาชนต้องมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดทา EIA โดยชุมชนที่ได้รับผลกระทบจาก โครงการต้องมีโอกาสในการแสดงความคิดเห็น โดยผู้รับผิดชอบโครงการต้องมีการเปิดเผยข้อมูลตามที่ระบุในใบ เสนอโครงการสาหรับการจัดทา EIA (เอกสารตามที่ระบุในขั้นตอนที่ 3) และรายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการมีส่วน ร่วมของประชาชน โดยประเทศเยอรมนีได้วางข้อกาหนดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของชุมชนตาม Article 74 ของ Administrative Procedure Act – ดูรายละเอียดในหัวข้อ 4.3 ด้านล่าง บริษัท ป่าสาละ จากัด | 4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี
51
ในกรณีของโครงการระหว่างประเทศ ผู้รับผิดชอบโครงการจาเป็นต้องทาให้แน่ใจว่าข้อมูลแ ละความ คืบหน้าของโครงการได้รับการเผยแพร่อย่างครบถ้วนและเหมาะสมในทุกประเทศ รวมถึงระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบ ในแต่ละประเทศ 5. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Assessment of the environmental impacts) ภายหลังการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน หน่วยงานภาครัฐจะจัดทา Environmental Statement (ES) ซึ่งเป็นบทสรุปโดยย่อของผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ รวมถึงมาตรการที่ใช้ในการป้องกันและลดผลกระทบ ดั ง กล่ า ว ภายในระยะเวลาไม่ เ กิ น 1 เดื อ น หากหน่ ว ยงานภาครั ฐ มี ก ารศึ ก ษาผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มเพิ่ ม เติ ม นอกเหนือไปจากที่ระบุในแผงงานของโครงการที่ผู้เสนอโครงการยื่นเข้ามา ผลการศึกษาจะถูกรวบรวมเอาไว้ในรายงาน ES และนาไปใช้ประกอบการตัดสินใจอนุมัติโครงการในภายหลัง รายงาน EIS จาเป็นต้องครอบคลุมข้อมูลอย่างน้อยดังนี้ (1) (2) (3) (4) (5)
รายละเอียดของโครงการ ข้อมูลทางกายภาพของพื้นที่ดาเนินโครงการ แบบแผนและขนาดของโครงการ ข้อมูลที่ได้จากการรับฟังความคิดเห็นจากชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ มาตรการที่ใช้ในการหลีกเลี่ยง ลด และหากเป็นไปได้ ฟื้นฟูผลกระทบรุนแรงที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับการระบุและประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการ รายละเอียดโดยสรุปเกี่ ยวกับทางเลือกอื่นๆ ในการดาเนินโครงการ พร้อมเหตุผลประกอบการตัดสินใจ เลือกแนวทางที่เสนอในรายงาน โดยคานึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก (6) บทคัดย่อของข้อมูลข้างต้น ในภาษาที่เข้าใจได้ง่าย 6. การอนุมัติโครงการ (Decision) เมื่อได้รับรายงานสิ่งแวดล้อมแล้ว หน่วยงานรัฐจะเริ่มต้นตรวจสอบรายงานเพื่อตัดสินใจอนุมัติหรือไม่อนุมัติ โครงการ โดยผลการตัดสินใจจาเป็นต้องได้รับการเปิดเผยต่อสาธารณะหากโครงการได้รับการอนุมัติ หากโครงการไม่ได้ รับการอนุมัติ หน่วยงานรัฐสามารถเลือกที่จะเปิดเผยหรือไม่เปิดเผยผลการตัดสินใจก็ได้ หน่วยงานรัฐจะออกใบรับรองการอนุมัติโครงการ ซึ่งมีรายละเอียดครอบคลุม 1) ชื่อของโครงการที่ได้รับการ อนุมัติ 2) รายละเอีย ดโดยย่อ เกี่ยวกับมาตรการด้ านสิ่ งแวดล้อมและสาเหตุที่เ ลือกใช้มาตรการดั งกล่า ว และ 3) รายละเอียดเกี่ยวกับมาตรการติดตามตรวจสอบผลการดาเนินงาน แผนภาพ 4 แสดงกระบวนการยื่นขอใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมในเยอรมนี
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี
52
แผนภาพ 4 กระบวนการยื่นขอใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม ประเทศเยอรมนี
ประชาชน
ผู้เสนอโครงการ
ภาครัฐ
รับฟั งผลการกลัน่ กรอง โครงการ
กลัน่ กรองโครงการ
ประเมินประเภทโครงการ
รับฟั งข้ อมูล
กาหนดขอบเขตการศึกษา ร่วมกาหนดขอบเขต การศึกษา
ร่วมกาหนดขอบเขตการศึกษา ได้ รับแผนงานโครงการ คัดค้ านโครงการ (1 เดือน 2 อาทิตย์)
ศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้ อม และยื่นแผนงานโครงการ (Developer’s Documents)
ยื่นขอจัดประชาพิจารณ์ ตรวจสอบข้ อมูล (1 เดือน)
ยื่นไปยังหน่วยงานประชาพิจารณ์
ร่วมประชาพิจารณ์
จัดประชาพิจารณ์ สรุปผล (3 เดือน) Environmental Statement (1 เดือน)
รับฟั งผลการตัดสินใจ ตรวจสอบและอนุมตั ิ
ใบอนุญาตทีจ่ าเป็ น บริษัท ป่าสาละ จากัด | 4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี
53
4.3 การมีส่วนร่วมของประชาชน ภายหลังเสร็จสิ้นกระบวนการกลั่นกรองโครงการ (screening) ว่าจาเป็นต้องมีการจัดทา EIA หรือไม่ หน่วยงานที่ รับผิดชอบต้องเปิดเผยผลการตัดสินใจต่อสาธารณะ ข้อมูลที่ใช้ในขั้นตอนการกาหนดขอบเขตรายงาน (scoping) ต้องได้รับ การเผยแพร่ต่อสาธารณะด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ประชาชนยังมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจตั้งแต่ระยะแรกเริ่มผ่านการจัด ประชาพิจารณ์ โดยผลสรุปที่ได้จะถูกนาไปประกอบใช้ในกระบวนการตัดสินใจเพื่ออนุมัติโครงการในขั้นตอนต่อไป ข้อกาหนดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการทา EIA ได้ถูกกาหนดไว้ตาม Article 73 ของ Administrative Procedure Act ซึ่งเกี่ยวข้องการการอนุมัติการใช้พื้นที่ และการอนุมัติโครงการ โดยมีสาระสาคัญดังนี้ 1) ผู้เสนอโครงการต้องส่งแผนงานของโครงการไปยังหน่วยงานประชาพิจารณ์ (hearing authority) เพื่อขอให้มี กระบวนการรับฟังความคิดเห็นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยแผนงานต้องครอบคลุมแผนภาพและคาอธิบายเกี่ยวกับ โครงการ เพื่อแสดงให้เห็นถึงการใช้พื้นที่และเครื่องมือในการดาเนินโครงการ 2) ภายหลังหน่วยงานประชาพิจารณ์ได้รับเอกสารจากผู้เสนอโครงการครบถ้วนแล้ว ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการดาเนิน โครงการมีระยะเวลา 1 เดือนในการตรวจสอบข้อมูลและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อชุมชน 3) ผู้ที่ได้รับผลกระทบตามที่ ระบุในข้อ 2 มีเวลา 3 อาทิตย์ในการตีความและทาความเข้าใจ (clarify/interpret) เกี่ยวกับแผนงานของโครงการ ก่อนดาเนินการตรวจสอบข้อมูลโดยละเอียด หรืออาจละเว้นขั้นตอนนี้ได้ หากทราบ กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ชัดเจนและสามารถให้เวลาที่เหมาะสมแก่แต่ละกลุ่มในการประมวลแผนงานของโครงการ 4) ผู้ใดก็ตามที่ได้รับผลกระทบจากโครงการสามารถคัดค้านแผนงานของโครงการได้ภายในระยะเวลา 2 อาทิตย์ ภายหลังได้รับการแจ้งเตือนเกี่ยวกับโครงการ โดยสามารถร้องเรียนได้ทางหน่วยงานประชาพิจารณ์หรือสภาท้องถิ่น 5) ข้อมูลที่ต้องเผยแพร่ต่อชุมชนได้แก่ 1. สถานที่ตั้งของโครงการและระยะเวลาในการตรวจสอบข้อมูล 2. มีข้อโต้แย้ง คัดค้าน หรือความคิดเห็นใดๆจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ควรเป็นประเด็นสาคัญและควรได้รับ การตรวจสอบในระยะเวลาที่กาหนดหรือไม่ 3. สามารถดาเนินการเจรจาโดยไม่ต้องมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมหรือไม่ 4. ข้อมูลดังนี้ a) ผู้คัดค้านโครงการที่ยื่นขอเข้าสังเกตการณ์สามารถได้รับการแจ้งเตือนเกี่ยวกับกาหนดการณ์ สาหรับประชาพิจารณ์ b) การแจ้งเตือนเกี่ยวกับผลการอนุมัติโครงการสามารถแทนที่ด้วยการประกาศสาธารณะได้ ใน กรณีที่มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ต้องแจ้งเตือนตั้งแต่ 50 คนขึ้นไป 6) ภายหลังสิ้นสุดระยะเวลาคัดค้าน (objection period) หน่วยงานประชาพิจารณ์จะรวบรวมความคิดเห็นของ หน่วยงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องภายในระยะเวลาที่เหมาะสม และจัดประชาพิจารณ์ภายในเวลา 1 อาทิตย์ก่อนหน้าการจัดประชาพิจารณ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้คัดค้าน และผู้แสดงความคิดเห็นต้องได้รับการแจ้ง เตือนเกี่ยวกับกาหนดการณ์ของประชาพิจารณ์ โดยหากมีจานวนมากกว่า 50 คน หน่วยงานประชาพิจารณ์สามารถ แจ้งเป็นประกาศสาธารณะได้ (public notice) หน่วยงานประชาพิจารณ์มีเวลาไม่เกิน 3 เดือนในการสรุปผลของ ประชาพิจารณ์ 7) ผู้ที่ได้รับผลกระทบจาเป็นต้องได้รับการแจ้งเตือนหากมีการเปลี่ยนแปลงแผนงานของโครงการและอาจก่อให้เกิด ผลกระทบเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยผู้ที่ได้รับผลกระทบมีระยะเวลา 2 อาทิตย์ในการร้องเรียนหรือ คัดค้านการดาเนินโครงการ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี
54
หน่วยงานประชาพิจารณ์ยื่นเอกสารที่เรียบเรียงผลการจั ดประชาพิจารณ์ไปยังหน่วยงานอนุมัติโครงการภายใน ระยะเวลา 1 เดือนหลังรวบรวมข้อสรุปจากการจัดประชาพิจารณ์
4.4 ความรับผิดชอบหลังจากที่ได้รับอนุญาต UVPG (EIA Law ของเยอรมนี) มิได้กาหนดมาตรการสาหรับติดตามตรวจสอบผลการดาเนินงานภายหลังโครงการ ได้รับการอนุมัติ แต่ข้อกาหนดเกี่ยวกับการติดตามผลได้ถูกระบุไว้ในกฎหมายที่ควบคุมโครงการแต่ละประเภทแล้ว ซึ่งมีความ แตกต่า งกัน ไปตามแต่ ประเภทของโครงการ อย่า งไรก็ต าม หน่วยงานภาครั ฐผู้อ อกใบอนุญ าตสามารถเพิ่ มเงื่อนไขหรื อ ข้อกาหนดเกี่ยวกับการติดตามตรวจสอบได้ในใบอนุญาต เช่นกาหนดให้เจ้า ของโครงการมีมาตรการติดตามวัดผลการปล่อย มลพิษ หรือตรวจวัดคุณภาพดินหรือน้า และส่งข้อมูลไปยังหน่วยงานภาครัฐหรือเพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการตรวจสอบ โดย หน่วยงานภาครัฐจะทาหน้าที่เปิดเผยข้อมูลจากผลการติดตามตรวจสอบให้แก่สาธารณะ นอกจากนี้ผู้ที่มีความกังวลหรือผู้ที่ สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอข้อมูลการติดตามผลได้เป็นรายบุคคล ยกเว้นในกรณีที่มีเหตุผลเพียงพอที่จะปฏิเสธการเปิดเผย ข้อมูล โดยปกติ แ ล้ ว หน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ ท าหน้ า ที่ ติ ด ตามตรวจสอบคื อ หน่ ว ยงานควบคุ ม ตรวจสอบ (supervisory authority) ระดับสหพันธรัฐ (Länder) ซึ่งอาจเป็นองค์กรอิสระ หรือในบางกรณี หน่วยงานภาครัฐผู้ออกใบอนุญาตสามารถทา หน้าที่ติดตามตรวจสอบผลการดาเนินงานของโครงการด้วยตนเอง
4.5 บทลงโทษ ปัจจุบันถึงแม้ว่าทั้ง UVPG และ EIA Directive ฉบับปัจจุบัน (2011/92/EU) จะไม่มีการกาหนดบทลงโทษทาง กฎหมายในกรณีที่เจ้าของโครงการไม่ดาเนินการตามมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมที่ระบุไว้ในรายงาน EIA ก็ตาม แต่ EIA Directive ฉบับใหม่ (2014/52/EU) ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ภายในวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 2017 ระบุว่าประเทศที่เป็นสมาชิก ของสหภาพยุโรปสามารถกาหนดบทลงโทษทางกฎหมายสาหรับกรณีดังกล่าวในอนาคตได้ อย่างไรก็ ตาม ในทางปฏิบัติ หากหน่ว ยงานภาครัฐพบว่า โครงการที่ได้ รับใบอนุญ าตแล้วมี การด าเนิ นงานที่ไ ม่ สอดคล้องกับมาตรการป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่ระบุในรายงาน EIA หน่วยงานภาครัฐผู้ออกใบอนุญาต สามารถดาเนินการตักเตือนผ่านการจัดเวทีสาธารณะ หรือแจ้งปรับทางแพ่งหรือทางอาญาต่อผู้รับผิดชอบโครงการได้ อย่างไร ก็ตามหน่วยงานภาครัฐจะหาทางแก้ ไขปัญหาที่เกิ ดขึ้นหรือให้ ความช่วยเหลือเจ้าของโครงการในการปรับปรุงแก้ไขการ ดาเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามมาตรการที่กาหนดก่อน หากยังคงไม่สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ จึ งอาจเพิ่มโทษเป็นการจ่าย ค่าปรับ นอกจากนี้ ประเทศเยอรมนียังกาหนดให้มีกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมที่ละเอียดสาหรับทุกประเภทโครงการที่ต้องจัดทา EIA ซึ่งกฎหมายเหล่านี้ได้ระบุถึงบทลงโทษในกรณีที่ผู้รับผิดชอบโครงการไม่ดาเนินการตามกฎหมาย และมีความรุนแรงใน ระดับที่เพียงพอแล้ว ในกรณีที่โครงการดาเนินการก่อสร้างโดยไม่ผ่านกระบวนการจัดทา EIA หน่วยงานภาครัฐสามารถประกาศระงับการ ดาเนินการของโครงการหรือสั่งปิดโครงการได้ ในกรณีที่นอกจากโครงการจะได้ไม่รับการอนุมัติ EIA แต่ยังเป็นโครงการที่ไม่ ชอบด้วยกฎหมายแล้ว หน่วยงานภาครัฐสามารถสั่งรื้อถอนโครงการได้เช่นกัน นอกจากนี้ประเทศเยอรมนียังกาหนดกลไกการมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานภาครัฐที่ค่อนข้างสูง โดย ประชาชนมีส่วนร่วมตั้งแต่การกาหนดขอบเขตการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ไปจนถึงการคัดค้าน และการร่วมประชา บริษัท ป่าสาละ จากัด | 4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี
55
พิจารณ์ ซึ่งผลของประชาพิจารณ์จะต้องถูกนาไปใช้ประเมินควบคู่กับการตัดสินใจออกใบอนุญาตของหน่วยงานภาครัฐอีกด้วย ในส่วนของหน่วยงานภาครัฐ มีส่วนร่วมตั้งแต่กระบวนการกลั่นกรองโครงการว่าจาเป็นต้องจัดทา EIA หรือไม่ ร่วมกาหนด ขอบเขตการศึกษาผลกระทบเช่นเดียวกับผู้รับผิดชอบโครงการและภาคประชาชน จากนั้นจึงทาหน้าที่ จัดประชาพิจารณ์และ นาผลของประชาพิจารณ์ ประกอบกับผลการศึกษาทั้งโดยผู้เสนอโครงการและหน่วยงานภาครัฐมาใช้เพื่อตัดสินใจอนุมัติ โครงการ
4.6 มาตรฐานทางวิชาชีพ ผู้เสนอโครงการต้องจัดทาหรือว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาในการจัดทา Developer’s Document ซึ่งมีเนื้อหาคล้ายกับ รายงาน EIA ทั่วไป คือระบุข้อมูลของโครงการ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และมาตรการป้องกันแก้ไข หลังจากนั้นจึงยื่นต่อ หน่วยงานรัฐเพื่อดาเนินการจัดประชาพิจารณ์ และนาไปสู่การจัดทา Environmental Statement ซึง่ เป็นบทสรุปโดยย่อของ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยอาศัยข้อมูลจาก Developer’s Document ผลของประชาพิจารณ์ และการศึกษาของหน่วยงานรัฐ เอง (หากจาเป็น) มาประกอบกันเพื่อผลิตรายงาน ในด้านมาตรฐานวิชาชีพ ประเทศเยอรมนีมีการจัดตั้ง Association of Consulting Engineers (Verband Beratender Ingenieuer; VBI) ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมมาตรฐานของบริษัทที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันมีสมาชิกกว่า 3,000 องค์กร ครอบคลุมวิศวกรและที่ปรึกษากว่า 45,000 ราย การเป็นสมาชิกของ VBI เป็นการรับรองมาตรฐานของบริษัทที่ ปรึกษาว่ามีคณ ุ สมบัตสิ ูง มีประสบการณ์ และเป็นการรับรองสถานะของการเป็นบริษัทที่ปรึกษาอิสระ โดยคุณสมบัติของ สมาชิกของ VBI คือ ต้องจบการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ ธุรกิจ หรือวิทยาศาสตร์ และมีประสบการณ์ทางานอย่างต่า 5 ปี ในสายงานดังกล่าว ประเทศเยอรมนีมีคู่มือสาหรับจัดทา EIA ทั้งในระดับสหพันธรัฐและระดับชาติ โดยคูม่ ือเหล่านี้ครอบคลุมข้อมูล เกี่ยวกับขั้นตอนการจัดทาและยื่นรายงาน EIA รวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับนิยามของคาศัพท์ที่เกี่ยวข้อง และแนวทางใน การศึกษาผลกระทบและกาหนดมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมโดยละเอียด โดยแบ่งคูม่ ือการทา EIA ออกตามประเภทของ โครงการ นอกจากนี้หน่วยงานภาครัฐยังมีส่วนร่วมในการกาหนดขอบเขตการศึกษาผลกระทบซึ่งครอบคลุมไปถึงวิธีที่ใช้ใน การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม และยังสามารถทาการศึกษาผลกระทบเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากที่รายงานโดยผู้เสนอโครงการ เพื่อนามาใช้ประกอบการตัดสินใจออกใบอนุญาตอีกด้วย เนื้อหาคู่มือคร่าวๆ มีดังนี้ 1. นิยามศัพท์ (Definition of terms) 2. ความเป็นมา วัตถุประสงค์ และหลักกฎหมาย (Background, objectives and legal principles) 3. การประเมินสิ่งแวดล้อมตามกฎหมาย EIA (UVPG) a. ขอบเขตการใช้กฎหมาย b. ลาดับขั้นตอนการทางาน c. กระบวนการของหน่วยงานที่มีอานาจอนุมัติ d. เนื้อหาและลาดับในการประเมินเบื้องต้น (การกลั่นกรอง) e. การกาหนดขอบเขต บริษัท ป่าสาละ จากัด | 4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี
56
f. วิธีการระบุ ประเมิน และอธิบายผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมในรายงานการประเมินผลกระทบ (EIS) i. ข้อกาหนดเนื้อหาในรายงานด้านสิง่ แวดล้อม ii. คาอธิบายโครงการ แผนงาน หรือกิจกรรม iii. คาอธิบายสิ่งแวดล้อม iv. เป้าหมายการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม v. ผลกระทบ vi. การศึกษาทางเลือก vii. มาตรการ viii. บทสรุปผลการประเมินโดยหน่วยงานที่มีอานาจ และปัจจัยที่ใช้พิจารณาในการตัดสิน ix. การติดตามตรวจสอบ (ผลกระทบที่มีนัยสาคัญ) x. การประเมินสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์และการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน สาหรับเนื้อหาที่ต้องครอบคลุมในแผนการติดตามตรวจสอบ (Monitoring Plan) มีดังนี้ -
ปัจจัยใดบ้างที่จะต้องติดตามตรวจสอบ พื้นที่ที่จะได้รับการติดตามตรวจสอบ กาหนดการการติดตามตรวจสอบครั้งแรก หรือ ช่วงเวลา (interval) ที่จะติดตามตรวจสอบ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 4. กรณีศึกษา ประเทศเยอรมนี
57
5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม 5.1 ความเป็นมา ประเทศเวียดนามเริ่ม ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ กระบวนการวัดและการจัดทารายงานการประเมินผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อม (environmental impact assessment หรือ EIA) ตั้งแต่ก่อนปี ค.ศ. 1990 ต่อมาระหว่างปี ค.ศ. 1990 – 1994 มีการวางกรอบนโยบายแห่งชาติด้านการทา EIA และจัดทารายงาน ก่อนจะนาไปใช้ปฏิบัติในปี ค.ศ. 1995 จนถึง ปัจจุบัน โดยมีการศึกษาพัฒนานโยบาย พร้อมปรับปรุงกฎหมายและนโยบายให้มีความละเอียดมากขึ้น (Clausen, 2011) วันที่ 27 ธันวาคม คศ. 1993 รัฐสภาเวียดนามก็ได้บัญญัติกฎหมายที่ว่าด้วยเรื่องการจัดทา EIA ที่มีการวางกรอบ ข้อกาหนดในประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมและกรอบข้อบังคับสาหรับการจัดทารายงาน ภายใต้กฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ฉบับ ปี ค.ศ. 1993 (law of environmental protection 1993 หรือ LEP1993) นับเป็นความก้าวหน้าครั้งใหญ่ของพรรค คอมมิวนิสต์เวียดนามที่เริ่มมองเห็นผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกลไกตลาด (Sinh, 2003) โดยกฎหมาย LEP 1993 ยัง มีกฎหมายอื่นสนับสนุนเพิ่มเติมอีกด้วย อาทิ Decree 175/CP และ Circular 49/1998/TT-BKHCNMT
ปัญหาของ EIA ในอดีต อย่างไรก็ตาม แม้กฎหมาย LEP 1993 จะเป็นจุดตั้งต้นของการออกกฎหมายด้านการจัดทา EIA แต่นักวิจัยหลายคน มองว่ากฎหมายฉบับนี้ยังมีจุดอ่อนอยู่มาก ซึ่งเป็นเรื่องปกติสาหรับประเทศที่กาลังพัฒนา (Lo, Yip, & Cheung, 2000; Obbard, Lai, & Briffet, 2002) โดยจุดอ่อนของกฎหมายมีดังนี้ (Clausen, 2011)
การกาหนดขอบเขตประเด็นศึกษาและการรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน (baseline data) ไม่เพียงพอ ความไม่เพียงพอของวิธีคาดการณ์ผลกระทบ การไม่มีวิธีจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมทีช่ ัดเจน ขาดความโปร่งใสและขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน ไม่มีการประสานร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานรัฐ และการขาดโครงสร้างสถาบันในการพิจารณาและประเมิน รายงาน EIA ที่ดี การขาดแคลนเครื่องมือเทคนิคสนับสนุน ขาดการบังคับใช้ และขาดการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎ EIA ขาดบุคลากรที่มีความรู้ทเี่ หมาะสมในการจัดทาและประเมินรายงาน EIA การปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในช่วงต้นปี ค.ศ. 2000 จึงได้มีการทบทวนแก้ไขกฎหมาย LEP 1993 ใหม่อีกครั้ง รวมถึงเนื้อหากฎหมายที่ว่าด้วย เรื่องของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ซึ่งได้รับการจัดทาโดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (MONRE) จากการสนับสนุนจากองค์กรนานาชาติหลายองค์กร รวมทั้งโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ผลของการ แก้ไขทาให้เกิดกฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อมฉบับปี ค.ศ. 2005 (LEP 2005) บัญญัติโดยรัฐสภาเวียดนาม ในวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 2005 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ.2006 และยังบังคับใช้มาจนถึงปัจจุบัน (Clausen, 2011) บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
58
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงระหว่างกฎหมาย 1993 และ 2005 กฎหมาย LEP 2005 ปรับปรุงและเพิ่มเติมกฎหมาย LEP 1993 หลายประการ สรุปสาระสาคัญได้ดังนี้
มีการนิยามข้อบังคับเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชน เพิ่มการพิจารณาเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม และการตรวจสอบติดตาม บทบาทของหน่วยงานรัฐในการบังคับใช้ EIA และการตรวจสอบติดตามมีความชัดเจนมากขึ้น แนวทางการกาหนดขอบเขตเนื้อหารายงานผล EIA มีความชัดเจนยิ่งขึ้น สร้างความชัดเจนในข้อบังคับของโครงการขนาดเล็กที่ไม่จาเป็นต้องจัดทา EIA แบบเต็มรูปแบบ การจัดรูปแบบบทบาทของหน่วยงานรัฐในการทบทวนและจัดทา EIA การส่งผ่านอานาจความรับผิดชอบในการอนุ มัติ EIA ให้กับหน่วยงานรัฐหรือเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัดหรือ ภูมิภาคมากขึ้น
ปัจจุบันมีโครงการกว่า 500 โครงการในระดับประเทศที่จัดทาและประเมินรายงาน EIA ตามกฎหมายคุ้มครอง สิ่งแวดล้อม LEP 2005 และอีกหลายโครงการที่ได้รับการจัดทาและประเมินได้ในระดับจังหวัดหรือภูมิภาค
ระดับการจัดทารายงานการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน การจัดทา EIA ในประเทศเวียดนามแบ่งออกเป็นสองระดับ ตามกรอบกฎหมาย โดยแบ่งออกเป็น โครงการใหญ่ ระดับประเทศหรือจังหวัดที่จัดตั้งที่อยู่ในพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวต่อการได้รับผลกระทบ จึงมีความจาเป็นต้องจัดทารายงาน EIA อีกประเภทหนึ่งคือโครงการขนาดเล็กหรือจัดตั้งในพื้นที่ขนาดเล็ก ซึ่งไม่จาเป็นจะต้องจัดทา EIA แบบเต็มรูปแบบ แต่จะต้อง ทา “ประกาศการทุ่มเทเพื่อพิทักษ์สิ่งแวดล้อม” (Commitment to Environmental Protection Statement) แทน (Clausen, 2011) ในรายงานฉบับนี้ คณะวิจัยจะกล่าวถึงกระบวนการจัดทา EIA แบบเต็มรูปแบบเท่านั้น
กฎหมายที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน นอกจากกฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อม LEP 2005 แล้ว ประเทศเวียดนามยังมี กฎหมายอื่นที่รองรับสนับสนุน กฎหมาย LEP 2005 ปัจจุบันมีทั้งหมด 4 ฉบับ ได้แก่ Decree No. 80/2006/ND-CP (ปี ค.ศ. 2006) เสริมรายละเอียดเนื้อหาการบังคับใช้บางมาตราใน กฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อม LEP 2005 ที่เกี่ยวข้องกับ แนวทางการบังคับใช้ การรายงาน และการประเมิน รายงาน EIA ยกตัวอย่างเช่น ขอบเขตรายชื่อประเภทโครงการที่มีความจาเป็นต้องจัดทา EIA ข้อกาหนดการ รายงาน EIA และบทบาทความรับผิดชอบต่อ EIA ของแต่ละสถาบัน Decree No. 21/2008/ND-CP (ปี ค.ศ. 2008) แก้ไขมาตรากฎหมายใน Decree No. 80/2006/ND-CP บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
59
ที่เกี่ยวข้องกับ มาตรฐานสิ่งแวดล้อม ขอบเขตรายชื่อประเภทโครงการที่มีความจาเป็นต้องจัดทา EIA และ การมีส่วนร่วมของชุมชน Decree No. 29/2011/ND-CP (ปี ค.ศ. 2011) แก้ไขมาตรากฎหมายใน Decree No. 80/2006/ND-CP และ Decree No. 21/2008/ND-CP ในหลายส่วน ยกตัวอย่างเช่น ขอบเขตรายชื่อประเภทโครงการที่มีความ จาเป็นต้องจัดทา EIA แนวทางการทา EIA เนื้อหาของรายงาน EIA การประเมินรายงาน EIA เป็นต้น Circular No. 26/2011/TT-BTNMT (ปี ค.ศ. 2011) เสริมรายละเอียดในมาตรากฎหมายบางข้อใน Decree No. 29/2011/ND-CP 5.2 กระบวนการทา EIA กระบวนการจัดทา EIA ของเวียดนาม สรุปในแผนภาพ 5 ได้ดังนี้
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
60
แผนภาพ 5 กระบวนการยื่นขอใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม ประเทศเวียดนาม
*หมายเหตุ: MONRE หมายถึง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รายงาน EIA จะต้องจัดทาไปพร้อมกับการจัดทารายงานการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ แต่การจัดส่งและ อนุมัติรายงานจะเป็นไปตามกรณีเงื่อนไขต่างๆ ขึ้นอยู่กับประเภทโครงการ ดังรายละเอียด: กลุ่มโครงการ ก: โครงการที่เกี่ยวข้องกับการสารวจแร่หรือทาเหมืองแร่ เจ้าของโครงการจะต้องส่งรายงาน ก่อนที่จะยื่นเสนอให้หน่วยงานที่รับผิดชอบออกใบอนุญาตหรือแก้ไขใบอนุญาตในการสารวจหรือทาเหมือง แร่ โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้มีอานาจออกหรือแก้ไขใบอนุญาต จะต้องใช้คาตัดสินให้ผ่านหรือไม่ให้ผ่าน รายงาน EIA เป็นตัวชี้วัดในการตัดสินใจ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
61
กลุ่มโครงการ ข: สาหรับโครงการสารวจขุดเจาะน้ามันและก๊าซตามกฎกระทรวง เจ้าของโครงการจะต้อง ส่งรายงาน EIA ก่อนที่จะทาการขุดเจาะน้ามันและก๊าซ สาหรับโครงการสารวจหาบ่อน้ามัน เจ้าของ โครงการจะต้ องส่งรายงานก่อ นที่ จ ะได้รั บ อนุ มัติ แ ผนการพัฒ นาแหล่ งผลิ ตปิ โตรเลี ยม โดยพนั กงาน เจ้าหน้าที่ที่จะออกใบหรือแก้ไ ขใบอนุญาต จะต้องใช้คาตัดสินให้ผ่านหรือไม่ให้ผ่านรายงาน EIA เป็น เงื่อนไขในการตัดสินใจ กลุ่มโครงการ ค: สาหรับโครงการที่จาเป็นต้องใช้ใบอนุญาตก่อสร้าง เจ้าของโครงการจะต้องส่งรายงาน EIA ก่อนที่จะเสนอให้หน่วยงานเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบออกใบหรือแก้ไขใบอนุญาตทาการก่อสร้าง โดย พนักงานเจ้าหน้าที่จะออกใบหรือแก้ไขใบอนุญาตต้องใช้คาตัดสินให้ผ่านหรือไม่ให้ผ่านรายงาน EIA เป็น ตัวชี้วัดในการตัดสินใจ 1) การคัดเลือกโครงการที่เข้าข่ายการจัดทา EIA ปัจจุบัน รายชื่อประเภทโครงการที่มีความจาเป็นต้องจัดทาการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่ถูกกาหนดใน Decree No. 29/2011/ND-CP มีทั้งหมด 20 ประเภท 146 โครงการด้วยกัน (ดูรายละเอียดในภาคผนวก) นอกจากนี้ Clause 3, Article 12 of Decree No. 29/2011/ND-CP ยังได้กาหนดให้โครงการต้องจัดทารายงาน EIA ในกรณีต่างๆ ดังต่อไปนี้ เมื่อมีการเปลี่ยนที่ตั้งโครงการ เมื่อโครงการไม่ได้ดาเนินการ (implementation) ภายใน 36 เดือน หลังจากการอนุมัติให้รายงาน EIA ผ่าน เมื่อขนาดการผลิต (capacity) หรือเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น 2) ผู้จัดทารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เจ้าของโครงการสามารถจัดทารายงานเอง หรือ จ้างองค์กรสถาบันที่ปรึกษาใดๆ ที่มีคุณสมบัติ ตามกฎหมายเป็น ผู้จัดทารายงาน EIA องค์กรหรือสถาบันที่ปรึกษาใดๆ ที่จะทารายงาน EIA จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลและตัวเลขสถิติในรายงาน ก่อนเจ้าของโครงการ โดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะต้องอธิบายเงื่อนไขและการปฏิบัติงานขององค์กร โดยละเอียด
3) ระยะเวลาในการทารายงาน ส่งรายงาน มาตรา 13 ของ Decree No. 29/2011/ND-CP กาหนดว่า รายงาน EIA จะต้องได้รับการจัดทาไปพร้อมกับการ จัดทารายงานการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ แต่การจัดส่งและอนุมัติรายงานจะเป็นไปตามเงื่อนไขซึ่งขึ้นอยู่กับประเภท โครงการ ดังต่อไปนี้: กลุ่มโครงการ ก: โครงการที่เกี่ยวข้องกับการสารวจแร่หรือทาเหมืองแร่ เจ้าของโครงการจะต้องส่งรายงาน บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
62
ก่อนที่จะยื่นเสนอให้หน่ว ยงานรัฐ (competent agency) ที่รับผิดชอบออกใบอนุญาตหรือแก้ไ ข ใบอนุญาตในการสารวจหรือทาเหมืองแร่ โดยพนักงานเจ้าหน้าที่จะออกใบหรือแก้ไขใบอนุญาตต้องใช้คา ตัดสินให้ผ่านหรือไม่ให้ผ่านรายงาน EIA ประกอบการตัดสินใจ กลุ่มโครงการ ข: สาหรับโครงการสารวจขุดเจาะน้ามันและก๊าซที่ระบุอยู่ในภาคผนวกของกฎหมาย เจ้าของโครงการจะต้องส่งรายงาน EIA ก่อนที่จะทาการขุดเจาะน้ามันและก๊าซ สาหรับโครงการสารวจหา บ่อน้ามัน เจ้าของโครงการจะต้องส่งรายงานก่อนที่จะได้รับ อนุมัติแผนพัฒนาแหล่งน้ามัน โดยพนักงาน เจ้าหน้าที่จะออกใบหรือแก้ไขใบอนุญาตต้องใช้คาตัดสินให้ผ่านหรือไม่ให้ผ่านรายงาน EIA ประกอบการ อนุมัติแผนพัฒนาแหล่งน้ามัน กลุ่มโครงการ ค: สาหรับโครงการที่จาเป็นต้องใช้ใบอนุญาตก่อสร้าง เจ้าของโครงการจะต้องส่งรายงาน EIA ก่อนที่จะเสนอให้หน่วยงานเจ้าหน้าที่ ที่รับผิดชอบออกใบหรือแก้ไขใบอนุญาตทาการก่อสร้าง โดย พนัก งานเจ้า หน้ าที่ จะออกใบหรือ แก้ ไขใบอนุ ญาตต้ องใช้ คาตัด สิน ให้ ผ่า นหรือ ไม่ ให้ ผ่า นรายงาน EIA ประกอบการตัดสินใจ สาหรับโครงการที่ไม่ได้ถูกระบุอยู่ในกลุ่มโครงการ ก ข และ ค เจ้าของโครงการจะต้องส่งรายงาน EIA ก่อนที่โครงการจะได้รับการตัดสินใจลงทุน และพนักงานเจ้าหน้าที่จะออกหรือแก้ไขใบอนุญาต โดยใช้คา ตัดสินให้ผ่านหรือไม่ให้ผ่านรายงาน EIA ประกอบการตัดสินใจ 5.3 การมีส่วนร่วมของประชาชน ขั้นตอน 4) การขอคาปรึกษาในกระบวนการทารายงาน คือกลไกหลักในการให้ประชาชนมีส่วนร่ว มกับกระบวนการ ทา EIA ในเวียดนาม ในชั้นนี้ เจ้าของโครงการจะต้องทาการปรึกษาคนสองกลุ่ม ได้แก่ สภาประชาชนท้องถิ่น (The People’s Committee of the commune) ในพื้นที่ที่จะจัดตั้งโครงการ และ กลุ่มตัวแทนชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ (representatives of communities) โดยเจ้าของโครงการจะต้องเขียนจดหมายยื่นขอคาปรึกษาต่ อสภาประชาชนท้องถิ่น และตัวแทนชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการดังกล่าว ควบคู่กับเอกสารสรุป (brief documents) เกี่ยวกับรายละเอียด การลงทุนของโครงการ (project’s major investment items) ดังกล่าว ในประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม และแนวทางการ ปกป้องสิ่งแวดล้อม เมื่อจาเป็นต้องมีการประชุม สภาประชาชนท้องถิ่นสามารถเรียกตัวแทนองค์กรต่างๆ และชุมชนที่ได้รับผลกระทบ จากโครงการมาร่วมจัดประชุมและแจ้งให้เจ้าของโครงการทราบถึงเวลา ผู้เข้าร่วมชุมนุม และเชิญให้มาเข้าร่วมการประชุม โดยสามารถจัดประชุมได้ภายในช่วงเวลา 10 วันหลังจากที่ได้รับจดหมายขอคาปรึกษาจากเจ้าของโครงการ ผลลัพธ์จากการประชุมระหว่างเจ้าของโครงการ หน่วยงานที่ทาการปรึกษา และกลุ่มอื่นๆ ในที่ประชุมจะถูกบันทึก เป็นลายลักษณ์อักษร โดยจะต้องบันทึกรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม รวมถึงข้อถกเถียงและข้อคิดเห็นทั้งหมดไว้ ไม่ว่าจะเป็นความ คิดเห็นที่เจ้าของโครงการรับรู้หรือไม่รับรู้ก็ตาม บันทึกจะต้องมีลายเซ็นต์จากตัวแทนเจ้าของโครงการ (ชื่อจริงและตาแหน่ง หน้าที่) และตัวแทนกลุ่มอื่นๆ ที่เข้าร่วมการประชุม ภายใน 15 วันหลังจากที่สภาประชาชนท้องถิ่นและตัวแทนชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ ได้รับใบขอรับ คาปรึกษาจากเจ้าของโครงการ สภาประชาชนท้องถิ่นจะต้องเขียนตอบเจ้าของโครงการและเผยแพร่จดหมายตอบกลับสู่ สาธารณะ หากไม่เขียนตอบกลับ หรือส่งจดหมายตอบกลับเกินช่วงเวลา 15 วัน จะถือว่ากลุ่มที่ให้คาปรึกษาเห็นชอบกับ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
63
แผนการลงทุน (investment plan) ของเจ้าของโครงการ บันทึกการประชุมจะต้องได้รับการถ่ายเอกสารและใส่แนบอยู่ในภาคผนวกของรายงาน EIA โดยข้อคิดเห็นที่เห็นพ้อง กันและไม่เห็นพ้องกันระหว่างองค์กรในที่ประชุมหรือแต่ละบุคคล จะต้องสรุปอยู่ในบันทึกการประชุมและแสดงอยู่ในรายงาน EIA ด้วย อย่างไรก็ตาม กฎหมาย Decree No. 29/2011/ND-CP ได้ระบุกรณีโครงการที่ไม่จาเป็นต้องเปิดให้ชุมชนมีส่วนร่วม ซึ่งมีทั้งหมด 3 กรณี ดังนี้ 1. โครงการลงทุนที่เป็นส่วนต่อขยายของโครงการหรือธุรกิจซึง่ เคยได้รับอนุมตั ิรายงาน EIA ไปก่อนหน้านี้แล้ว โดยต้องปรึกษาและได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. โครงการในพื้นที่ทางทะเลซึ่งยังไม่สามารถชี้ชัดว่าอยู่ในความรับผิดชอบของสภาประชาชนท้องถิ่นใด 3. โครงการที่เกี่ยวข้องกับความลับทางราชการ 5) การยื่นเอกสารขอรับการประเมินและการอนุมัติรายงาน EIA สาหรับการขอรับประเมินและการอนุมัติรายงาน EIA เจ้าของโครงการจะต้องส่งเอกสารขอรับประเมินและการ อนุมัติรายงาน EIA ให้กับทางหน่วยงานที่รับผิดชอบการประเมินและการอนุมัติ โดยเอกสารที่ต้องจัดเตรียมมีดังนี้ 1. จดหมายขอรับการประเมินและการอนุมัติรายงาน EIA 2. รายงานการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของโครงการ 3. การลงทุนของโครงการ (รายงานศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ) 6) หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบการประเมินและอนุมัติรายงาน EIA หน่วยงานที่รับผิดชอบในการประเมินและอนุมัติรายงาน EIA ในเวียดนาม มีทั้งหมด 4 หน่วยงานด้วยกัน ก. ) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (MONROE) เป็นผู้รับผิดชอบการประเมินรายงาน EIA ใน โครงการที่ระบุอยู่ในภาคผนวก III ในกฎหมาย Decree No. 29/2011/ND-CP ยกเว้นโครงการที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงและ ความลับของฝ่ายกลาโหม ข. ) กระทรวงอื่นๆ หน่วยงานระดับกระทรวง (ministerial agency) และ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง (governmentattached agencies) เป็นผู้รับผิดชอบการประเมินรายงาน EIA ในโครงการที่อยู่ภายใต้การตัดสินใจและหน้าที่การอนุมัติ รายงานของกระทรวง ยกเว้นกลุ่มโครงการที่อยู่ในภาคผนวก III ในกฎหมาย Decree No. 29/2011/ND-CP ค. ) กระทรวงกลาโหม หรือ กระทรวงความมั่นคง เป็นผู้รับผิดชอบต่อการประเมินรายงาน EIA ของโครงการที่อยู่ ภายใต้การตัดสินใจและหน้าที่การอนุมัติรายงานของกระทรวง และโครงการที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงหรือกลาโหม ง. ) สภาประชาชนระดับจังหวัด เป็นผู้รับผิดชอบต่อการประเมินรายงาน EIA ของโครงการลงทุนในพื้นที่ท้องถิ่น ยกเว้นกลุ่มโครงการที่อยู่ในความรับผิดชอบของกลุ่มหน่วยงาน ก. ข. และ ค.
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
64
หน่วยงานที่รับผิดชอบการประเมินรายงาน EIA จะเป็นผู้รับชุดเอกสารยื่นขอรับการประเมินและการอนุมัติจาก เจ้าของโครงการ และเมื่อได้รับเอกสารมาแล้ว หน่วยงานดังกล่าวจะต้องตรวจสอบว่าเอกสารที่ส่งมามีความครบถ้วนหรือไม่ ภายในเวลา 5 วันหลังได้รับชุดเอกสาร และแจ้งให้ทางเจ้าของโครงการกลับไปแก้ไขเพิ่มเติมชุดเอกสารใหม่ หากยังไม่สมบูรณ์ ในกรณีที่หน่วยงานได้รับชุดเอกสารดังกล่าวอย่างครบถ้วนแล้ว หน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการประเมินรายงาน EIA จะต้องจัดตั้งคณะกรรมการประเมินรายงาน EIA หรือ เลือกหน่วยงานที่ให้บริการประเมิน EIA (appraisal service providers) ขึ้นมา และเขียนแจ้งให้เจ้าของโครงการจัดการค่าใช้จ่ายในการประเมิน ควบคู่กับผลลัพธ์ของการประเมิน
7) คณะกรรมการประเมินรายงาน EIA กฎหมาย Decree No. 29/2011/ND-CP กาหนดว่า สมาชิกของคณะกรรมการประเมินรายงาน EIA จะต้องมี ตัวแทนจากหน่วยงานการจัดการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับปัญหาสิ่งแวดล้อมของโครงการและผู้เชี่ยวชาญ โดยสมาชิกของ คณะกรรมการประกอบด้วย
ประธานคณะกรรมการ รองประธานคณะกรรมการ เลขานุการ 1 ท่าน สมาชิกฝ่ายค้านหรือตอบโต้ 2 ท่าน สมาชิกท่านอื่นๆ หมายเหตุ: ครึ่งหนึ่งของสมาชิกคณะกรรมการจะต้องเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในด้านสิ่งแวดล้อมและด้าน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
(ในกรณีที่หน่วยงานระดับกระทรวง หรือ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องเป็นผู้รับผิดชอบการประเมินรายงาน EIA เวลา จัดตั้ง คณะกรรมการประเมิน จะต้อ งมีตั วแทนจากเจ้าหน้ าที่รัฐ ฝ่ายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อ มในระดับจั งหวั ด (Natural Resources and Environmental Department of the locality: DONROE) ) ที่โครงการจะใช้พื้นที่ดาเนินการ เข้าร่วมเป็นสมาชิกคณะกรรมการด้วย) หากจาเป็น หน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการประเมินรายงาน EIA สามารถกระทากิจกรรมดังต่อไปนี้ได้ สารวจและตรวจสอบข้อมูลและตัวเลขสถิติที่เกี่ยวข้องกับสถานะหรือสภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่โครงการ และบริเวณรอบๆ เก็บตัวอย่างสารวจเพื่อนาไปวิเคราะห์หรือพิสูจน์ยืนยัน ปรึกษากับชุมชนในพื้นที่โครงการ จ้างผู้เชี่ยวชาญ องค์กรเพื่อสังคม หรือองค์กรวิชาชีพ มาให้ข้อคิดเห็นต่อเนื้อหาในรายงาน จัดประชุมการประเมินตามหัวข้อต่างๆ 8) ผลลัพธ์การประเมินและการอนุมัติ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
65
เมื่อได้รับผลการประเมินจากคณะกรรมการประเมิน EIA แล้ว (โดยที่มีการรับรู้จากหน่วยงานที่รับผิดชอบการ ประเมิ น รายงาน EIA) เจ้ า ของโครงการจะต้ อ งท าตามขั้ น ตอนต่ อ ไปนี้ ตามแต่ ล ะกรณี ข องผลการประเมิ น ที่ ไ ด้ จ าก คณะกรรมการ ซึ่งมีทั้งหมด 3 กรณี ด้วยกัน กรณี 1: ในกรณีที่รายงาน EIA ไม่ได้รับการยอมรับจากคณะกรรมการประเมินรายงาน EIA เจ้าของโครงการจะต้อง จัดทารายงาน EIA ขึ้นมาใหม่ และส่งให้กับหน่วยงานที่รับผิดชอบในการประเมินรายงาน EIA เพื่อทาการประเมินรายงานฉบับ ใหม่ โดยคณะกรรมการประเมินรายงาน EIA จะเป็นผู้ประเมินเช่นเดิม (ระยะเวลาทาการประเมินนั้นเท่ากับการประเมิน รายงานฉบับแรก) กรณี 2: ในกรณีที่รายงานได้รับการยอมรับจากคณะกรรมการประเมิน แต่มีเงื่อนไขว่าจะต้องทาการปรับเสริมเนื้อหา รายงาน EIA เพิ่มเติม เจ้าของโครงการจะต้องนารายงาน EIA มาปรับแก้หรือเสริมเนื้อหาเพิ่มเติม โดยกาหนดระยะเวลาในการ ปรับแก้รายงานดังกล่าวจะไม่ถูกนับรวมอยู่ในกาหนดระยะเวลาการประเมินและการอนุมัติรายงาน EIA กรณี 3: กรณีที่รายงานได้รับการยอมรับจากคณะกรรมการประเมินโดยไม่มีความจาเป็นต้องแก้ไขเพิ่มเติม เจ้าของ โครงการจะต้องส่งรายงาน EIA ให้กับหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอรับการอนุมัติรายงาน EIA ตามกฎหมาย
9) ระยะเวลาการประเมินและการอนุมัติรายงาน EIA ตาม Decree No. 29/2011/ND-CP กาหนดระยะเวลาในการประเมินรายงาน EIA ดังนี้ สาหรับรายงาน EIA ที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรับผิดชอบ จะมีระยะเวลาในการ ประเมินเท่ากับ 45 วันหลังจากได้รับชุดเอกสารขอรับการประเมินครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว หรือ 60 วัน ใน กรณีที่โครงการมีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน สาหรับรายงาน EIA ที่ไม่ได้อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระยะเวลาการประเมินจะเท่ากับ 30 วัน หลังจากได้รับชุดเอกสารขอรับการประเมินครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว หรือ 45 วัน ในกรณีที่โครงการมีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน ส่วนระยะเวลาในการอนุมัตริ ายงาน EIA นั้น Decree No. 29/2011/ND-CP ได้กาหนดให้มีระยะเวลาทาการเท่ากับ 15 วัน หลังจากได้รับชุดเอกสารขอรับการอนุมัติรายงาน EIA อย่างครบถ้วนสมบูรณ์
10) การออกใบอนุญาตโครงการและการเผยแพร่รายงาน EIA ที่ผ่านการอนุมัติ หลังจากที่รายงานได้รับการอนุมัติแล้ว หน่วยงานที่ทาหน้าที่อนุมัติรายงานจะต้องทาการรับรองการอนุมัติในหน้า หลังของปกรายงาน EIA หรือปกในของรายงาน แล้วส่งไปยังหน่วยงานต่างๆ ดังต่อไปนี้ ในกรณีหน่วยงานผู้รับผิดชอบการประเมินและอนุมัติรายงาน คือ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ทางกระทรวงจะต้องส่งสาเนาเอกสารการอนุมัติรายงานพร้อมกับตัวรายงาน EIA ให้กับ เจ้าของโครงการและหน่วยงานรัฐระดับจังหวัดของฝ่ายทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Natural Resources and Environmental Department of the locality (DONROE)) ในพื้นที่ของ โครงการ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
66
ในกรณี ห น่ ว ยงานผู้ รั บ ผิ ด ชอบการประเมิ น และอนุ มั ติ ร ายงาน คื อ กระทรวงอื่ น ๆ หน่ ว ยงานระดั บ กระทรวง และหน่วยงานรัฐอื่น หน่วยงานดังกล่าวจะต้องส่งสาเนาเอกสารการอนุมัติรายงาน EIA พร้อม กับตัวรายงาน EIA ให้กับเจ้าของโครงการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงหน่วยงาน รัฐระดับ จังหวัด ของฝ่า ยทรั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อ มของชุม ชนในพื้ นที่ข องโครงการ สาหรั บ โครงการที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงและความลับของกลาโหม เอกสารการอนุมัติแ ละรายงาน EIA จะถูก ส่งไปให้ภายใต้ข้อกาหนดอื่น ในกรณีหน่ว ยงานผู้รับผิ ดชอบการประเมิ นและอนุมัติ รายงาน คื อ สภาประชาชนระดับ จังหวั ด สภา ประชาชนจะต้องส่งสาเนาเอกสารใบอนุมัติ EIA พร้อมกับรายงาน EIA ให้กับเจ้าของโครงการและสภา ประชาชนระดับเขตเมืองที่อยู่ในพื้นที่ของโครงการ และหากได้รับการขอร้อง สภาประชาชนระดับจังหวัด จะต้องส่งสาเนาเอกสารการอนุมัติรายงาน EIA ให้กับทางกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ไม่ว่าจะกรณีใดก็ตาม กระทรวง หรือ หน่วยงานรัฐระดับกระทรวง จะต้องส่งใบอนุมัติรายงาน EIA ฉบับจริง ให้กับสภาประชาชนระดับจังหวัดของพื้นที่โครงการเพื่อทาการถ่ายสาเนาใบอนุมัติรายงานฉบับจริง และแจกสาเนาดังกล่าว ให้กับสภาประชาชนในระดับเขตและระดับชุมชนของพื้นที่โครงการ
5.4 ความรับผิดชอบหลังจากที่ได้รับอนุญาต หลังจากที่ได้รับอนุมัตริ ายงาน EIA แล้ว เจ้าของโครงการจะต้องกระทากิจกรรมดังต่อไปนี:้
ทาการสารวจและศึกษาทางสิ่งแวดล้อมตามเงื่อนไขการอนุมัตริ ายงาน EIA วางมาตรการป้องกันการสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในช่วงทาการลงทุนและก่อสร้างโครงการ ออกแบบและจัดทาแผนปฏิบตั ิการเรื่องการปกป้องสิ่งแวดล้อม ทาเรื่องขอรับการตรวจสอบมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในช่วงดาเนินโครงการ
หน่วยงานที่มีหน้าทีต่ รวจสอบและออกใบรับรองได้แก่ หน่วยงานที่ทาการอนุมัตผิ ่านรายงาน EIA ของโครงการ ดังกล่าว ทั้งนี้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะเป็นคนคอยให้ข้อมูลและแนะนาเกี่ยวกับการตรวจสอบและออก ใบรับรองกับหน่วยงานที่เป็นผูร้ ับผิดชอบ โดยระยะเวลาในการตรวจสอบและรับรองจะต้องเป็นไปภายใน 20 วัน หลังจากที่ ได้รับเรื่องขอทาการตรวจสอบและรับรองอย่างถูกต้องจากเจ้าของโครงการ หากมีการตรวจสอบแล้วไม่ผ่าน หน่วยงานจะต้อง แจ้งให้กับเจ้าของโครงการทราบภายใน 5 วันหลังทราบผลรับการตรวจสอบ ทางฝ่ายเจ้าของโครงการจะทาการแก้ไขเอกสาร และปัญหาตามที่หน่วยงานตรวจสอบได้ชี้แจงกลับไป แล้วทาเรื่องแจ้งขอรับการตรวจสอบอีกครั้งกับทางหน่วยงาน (หน่วยงาน จะทาการตรวจสอบใหม่อีกครั้งหรือไม่ก็ได้) จากนั้นหน่วยงานจะต้องตัดสินใจว่าจะทาเรื่องออกใบรับรองการจัดทาแผนปฏิบัติ การเรื่องการปกป้องสิ่งแวดล้อมในช่วงดาเนินโครงการหรือไม่ หรือจะปฏิเสธการออกใบรับรองพร้อมทั้งชี้แจงเหตุผล ภายใน เวลา 5 วันหลังได้รับเอกสารขอรับการตรวจสอบอีกครั้งจากทางโครงการ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
67
ใบรับรองการจัดทาแผนปฏิบตั ิการเรื่องการปกป้องสิ่งแวดล้อมในช่วงดาเนินโครงการ จะเป็นเกณฑ์หลักในการ อนุญาตให้เจ้าของโครงการสามารถดาเนินโครงการอย่างเต็มรูปแบบ พร้อมทั้งเป็นเกณฑ์หลักที่หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องใช้ พิจารณาเพื่อออกใบอนุญาตในการจัดการขยะอันตรายและการปล่อยน้าเสียลงแหล่งน้า
5.5 บทลงโทษ หากมีเหตุการณ์ใดที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชนในด้านลบอย่างรุนแรง ผูด้ าเนินโครงการ จะต้องหยุดการดาเนินงานทั้งหมดที่ก่อให้เกิดผลกระทบดังกล่าว และเร่งจัดการกับเหตุการณ์ดังกล่าวโดยเร็ว พร้อมทั้งเร่ง จัดทารายงานส่งให้หน่วยงานจัดการสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด และหน่วยงานอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันกาหนดมาตรการ เยียวยาอย่างบูรณาการ
5.6. ข้อบกพร่องของกฎหมายและการทา EIA ปัจจุบัน ถึงแม้ว่าจะมีการปรับปรุงพัฒนากฎหมายด้านกระบวนการ EIA อย่างต่อเนื่อง การทบทวนวรรณกรรมปริทัศน์พบว่า กฎหมายปัจจุบันยังคงมีข้อบกพร่องอยู่หลายประเด็นด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาคุณภาพของบุคลากร ความเพียงพอของ บุคลากร การมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นต้น 1) คุณภาพและความเพียงพอของบุคลากร จากงานวิจัยของ Clausen (2011) ชี้ว่าบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม (EIA) นั้นมี จานวนไม่เพียงพอ และยังขาดความรู้ความเชี่ยวชาญในด้าน EIA อยู่มาก ในปี 2008 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมมีเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบพิจารณาการทา EIA ของโครงการระดับประเทศทุกอุตสาหกรรมรวมกันเพียง 12 คน จาก จานวน EIA ทั้งหมด 174 โครงการ ส่งผลให้มีเพียง 1 ใน 3 ของจานวนโครงการดังกล่าวได้รับการพิจารณาและส่งต่อเพื่อรับ การประเมินรายงาน นอกจากนี้การที่จานวนเจ้าหน้าที่มีน้อยคนยังส่งผลให้การลงไปดูพื้นที่ของโครงการลาบากขึ้น ถึงแม้ว่ากฎหมาย LEP 2005 จะกาหนดไว้ว่าผู้ใดที่มีส่วนร่วมในการจัดทารายงาน EIA ไม่สามารถเป็นสมาชิกของ คณะกรรมการประเมินรายงาน แต่ในทางปฏิบัติแล้ว ปัญหาผลประโยชน์ ทับซ้อนยังคงเกิดขึ้น เนื่องจากจานวนบุคลากรที่มี ความเชี่ยวชาญหรือเหมาะสมในการจัดทาและประเมินรายงาน EIA ของโครงการระดับประเทศมีน้อย จึงเลี่ยงไม่ได้ที่จะมีการ ควบตาแหน่งเกิดขึ้น ปัญหาความไม่เพียงพอส่งผลกระทบต่อ การติ ดตามตรวจสอบการปฏิบัติ งานของเจ้า ของโครงการด้วยเช่นกั น ถึงแม้ว่าในกฎหมาย LEP 2005 จะกาหนดให้เจ้าหน้าที่ที่มีอานาจในการอนุมัติรายงาน EIA เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดตั้ งคณะ ตรวจสอบการปฏิบัติตามรายงาน EIA ของเจ้าของโครงการหลังการอนุมัติ แต่ในความเป็นจริง การจัดตั้งคณะตรวจสอบนั้น ยากที่จะเกิดขึ้นเนื่องจากมีบุคลากรไม่เพียงพอ
2) การมีส่วนร่วม ในการขอคาปรึกษากับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียประเภทชุมชนนั้น ผู้จัดทารายงาน EIA สามารถขอคาปรึกษาผ่านการเขียน จดหมายและ/หรือ จั ดประชุม กั บทางเจ้ า หน้ า ที่ท้ อ งถิ่น เช่ น สภาประชาชนระดั บชุ ม ชน และตั ว แทนของชุ มชนที่ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากโครงการได้ ไม่จาเป็นต้องสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนแบบสาธารณะหรือเปิดเผย ดังนั้นความคิดเห็นหรือข้อ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
68
กังวลของผู้คนในชุมชน โดยเฉพาะจากชนกลุ่มน้อยในสังคมเวียดนาม เช่น ผู้คนไร้ที่อยู่ ชนพื้นเมือง ซึ่งอาจได้รับผลกระทบ จากโครงการเช่นกัน อาจไม่ได้รับการสะท้อนในกระบวนการมีส่วนร่วม ด้านการประเมินรายงาน EIA เองก็มีปัญหาการมีส่วนร่วมของสาธารณชนเช่นกัน เรื่องจากกฎหมายเพียงกาหนดให้ ประชาชนมีส่วนร่วมเพียงร่วม “รับรู้” ผลการประเมินรายงาน EIA (อนุมัติหรือไม่อนุมัติรายงาน) ยังไม่มีกลไกทางกฎหมายที่ บังคับให้หน่วยงานที่รับผิดชอบประเมินรายงานเปิดรับความคิดเห็นจากสาธารณชนต่อรายงาน EIA ที่เจ้าของโครงการนาเสนอ ในขั้นตอนเข้ารับการประเมิน (Clausen, 2011)
3) กาหนดการส่งรายงาน EIA ในมาตราที่ 9 ของ Decree No. 29/2011/ND-CP กล่าวถึงกรณีที่รายงานไม่ได้รับการยอมรับจากคณะกรรมการ ประเมินรายงานว่า เจ้าของโครงการสามารถทารายงาน EIA ใหม่ แล้วส่งให้กับหน่วยงานที่รับผิดชอบประเมินรายงานอีกครั้ง อย่างไรก็ตามในกฎหมายไม่มีการระบุกาหนดเวลาของการส่งรายงาน EIA ทาให้เจ้าของโครงการ EIA สามารถส่งยื่นรายงาน EIA ไปได้เรื่อยๆ ไร้ที่สิ้นสุด ทาให้ชาวบ้านที่ไม่เห็นด้วยต้องคัดค้านรายงาน EIA ไปเรื่อยๆ เช่นกัน
4) การแยกโครงการในการประเมินภายใต้แต่ละหน่วยงานที่รับผิดชอบ ตามมาตราที่ 2 ของ Decree No. 29/2011/ND-CP หน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการประเมินรายงาน EIA มีทั้งหมดสี่ หน่วยงานด้วยกันคือ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (MONRE) กระทรวงความมั่นคงหรือกระทรวงกลาโหม กระทรวงอื่นๆ และสภาประชาชนระดับ จังหวัด แม้ว่ าจะมีการแบ่งโครงการในการประเมิน ภายใต้ห น่วยงานกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกระทรวงความมั่นคง (หรือกระทรวงกลาโหม) แต่ในกฎหมายไม่มีการระบุถึง รายละเอียดการแบ่งว่าโครงการใดจะได้รับประเมินโดยหน่วยงานกระทรวงอื่นๆ (ที่ไม่ใช่ MONRE) หรือโครงการใดจะได้รับ การประเมินโดยสภาประชาชน การแบ่งแยกโครงการที่ต้องได้รับการประเมินรายงานภายใต้สองกลุ่มหน่วยงานจึงยังคงขาด ความชัดเจนอยู่
5) การชี้แจงรายละเอียดการส่งเอกสารการอนุมัติและรายงาน EIA ในกรณีโครงการที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงและความลับของกลาโหม กฎหมาย Decree No. 29/2011/ND-CP แจ้ง ไว้ว่า กาหนดการส่งเอกสารการอนุมัติพร้อมกับรายงาน EIA ของโครงการดังกล่าวจะดาเนินตามข้อกฎหมายอื่น โดยที่ไม่มีการ เขียนชี้แจงไว้ว่าเป็นกฎหมายใด
การจัดการปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อน กรณีประเทศเวียดนาม มาตรการทางกฎหมายของเวียดนามซึ่งคณะวิจัยพบว่าสามารถช่วยลดปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนได้คือ การกาหนด ความรับผิดชอบต่อข้อมูลระหว่างเจ้าของโครงการและผู้จัดทารายงาน ในกรณีที่เจ้าของโครงการว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาให้ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
69
จัดทา EIA โดยในมาตรา 16 วรรค 2 ของกฎหมาย Decree No. 29/2011/ND-CP กาหนดไว้ว่า บริษัทที่ปรึกษาจะต้องเป็น ผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลและตัวเลขสถิติที่ได้ให้ในรายงาน EIA ก่อนเจ้าของโครงการ นอกจากนี้ ชุดกฎหมาย EIA เวียดนามยังมีการจัดการกับผลประโยชน์ที่ทับซ้อนระหว่างกลุ่มผู้จัดทารายงาน EIA และกลุ่มผู้ประเมินรายงาน EIA ด้วยเช่นกัน โดยมาตรา 21 วรรค 4 ของกฎหมาย LEP 2005 ระบุว่า บุคคลใดที่เกี่ยวข้องกับ การจัดทารายงาน EIA จะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของคณะกรรมการประเมินรายงาน EIA ดังนั้นการทับซ้อนกัน ระหว่างผลประโยชน์จึงไม่น่าที่ จะเกิดขึ้นในทางทฤษฎี อย่างไรก็ตามจากที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น เนื่องจากในทางปฏิบัติ ประเทศเวียดนามยังคงประสบกับปัญหาความเพียงพอและคุณภาพของบุคลากร ทาให้เกิดกรณีการควบตาแหน่งเกิดขึ้น โดยเฉพาะในโครงการระดับประเทศ (Clausen, 2011)
5.7 มาตรฐานทางวิชาชีพ สาหรับการสร้างหลักประกันในมาตรฐานวิชาชีพของเนื้อหารายงาน กฎหมาย EIA เวียดนามได้กาหนดคุณสมบัติ สาหรับผู้ใดก็ตามที่จะรับผิดชอบจัดทารายงาน EIA ไม่ว่าจะเป็นเจ้าของโครงการหรือบริษัทที่ปรึกษา เพื่อ พยายามรับรอง คุณภาพขั้นต่าเนื้อหารายงาน EIA โดยกฎหมาย Decree No. 29/2011/ND-CP ได้กาหนดคุณสมบัติดังกล่าวไว้ดังนี้ มี พ นั ก งานผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ในกรณี ที่ พ นั ก งานจบการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี จะต้ อ งมี ประสบการณ์การทางานด้านสิ่งแวดล้อมมาอย่างน้อย 5 ปี ในกรณีที่จบระดับปริญญาโท หรือปริญญา เอก จะต้องมีประสบการณ์การทางานด้านสิ่งแวดล้อมมาอย่างน้อย 3 ปี หรือ 1 ปี ตามลาดับ มีพนักงานที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือสูงกว่า จากคณะหรือสายความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับ โครงการ มีองค์ความรู้ ทรัพยากรทางเทคนิคและกายภาพ และเครื่องมือที่มีมาตรฐานสาหรับการวัด ดาเนินการ และวิเคราะห์ตัวอย่างสิ่งแวดล้อม ในกรณีที่ไม่มีอุปกรณ์เครื่องมือดังกล่าว สามารถทาสัญญาว่าจ้างสถาบัน ที่มีได้
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 5. กรณีศึกษา ประเทศเวียดนาม
70
6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น 6.1 ความเป็นมา ประเทศญี่ปุ่นเริ่มมีการจัดทา EIA ขึ้นในปี ค.ศ. 1972 โดยถูกนามาใช้ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของ โครงการสาธารณะขนาดใหญ่ ต่อมาในช่วงปี ค.ศ. 1980 ได้เริ่มนามาใช้สาหรับโครงการที่เกี่ยวข้องกับท่าเรือ การถมที่ดิน การ สร้ า งโรงไฟฟ้ า และรถไฟความเร็ วสู ง และน าไปสู่ ข้ อก าหนด “Implementation of Environmental Impact Assessment” ซึ่งถูกนามาใช้เป็นแนวทางในการกระบวนการจัดทา EIA และกระตุ้นให้รัฐบาลท้องถิ่นในแต่ละจังหวัดเริ่ม กาหนดแนวทางและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ของตนเองในปี ค.ศ. 1984 ในปี ค.ศ. 1997 รัฐบาลญี่ปุ่นได้มีการผ่านกฎหมาย “Environmental Impact Assessment Law” เพื่อตอบสนอง ต่อระบบการจัดทา EIA ในประเทศอื่นๆ และเพื่อตอบสนองต่อข้อกาหนดของ “Basic Environment Law” ที่ถูกกาหนดขึ้น ในปี ค.ศ. 1993 ต่อมาประเทศญี่ปุ่นได้มีการปรับปรุง EIA Law อีกครั้งในปี ค.ศ. 2011 เพื่อปรับปรุงกระบวนการจัดทา EIA โดยได้เพิ่มขั้นตอนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (Primary Environmental Impact Consideration, PEIC) เข้าไปในขั้นตอนการวางแผนจัดทา EIA รวมถึงเพิ่มขั้นตอนสาหรับการรายงานและเปิดเผยผลการดาเนินงานเพื่อ บรรเทา ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (Impact Mitigation Reporting) ภายหลังโครงการได้รับการอนุมัติแล้วอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีรายละเอียดอื่นในกฎหมาย EIA ที่ได้รับการปรับปรุง อาทิ
เพิ่มจานวนโครงการที่จาเป็นต้องจัดทา EIA กาหนดให้จัดประชาพิจารณ์ในขั้นตอนการคัดเลือกวิธีศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม กาหนดให้เผยแพร่เอกสารที่เตรียมโดยผู้เสนอโครงการ (รายงาน EIA) ทางอินเตอร์เนต กาหนดขั้นตอนที่จาเป็นต้องได้รับความเห็นจาก Minister of the Environment ในช่วงของการคัดเลือก หัวข้อสาหรับการประเมินผลกระทบ เทศบาลเมืองซึ่งเป็นที่ตั้งของโครงการ สามารถแสดงความเห็นโดยตรงต่อผู้เสนอโครงการได้ กาหนดขั้ น ตอนที่ ต้อ งได้ รั บ คาแนะน าจากกระทรวงสิ่ งแวดล้อ ม ในกรณี ที่ ผู้ ว่า ราชการจั งหวัด และ/หรื อ หน่วยงานอื่นเป็นผู้ออกใบอนุญาตโครงการ ตาราง 2 แสดงลาดับความเป็นมาของการจัดทา EIA ในประเทศญี่ปุ่น
ตาราง 2 ความเป็นมาของการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมในประเทศญี่ปุ่น ปี (ค.ศ.) 1972
1981 1984
เหตุการณ์ คณะรัฐมนตรีอนุมัติ “On the Environmental Conservation Measures Relating to Public Works” เสนอร่าง “Environmental Impact Assessment Bill” ต่อสภานิติบัญญัติ (แต่ถูกยกเลิกในปี ค.ศ. 1983) คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ “Implementation of
รายละเอียด EIA สาหรับโครงการสาธารณะ
กาหนดเป็นแนวทางการดาเนินงานแต่ยังไม่มี
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
71
ปี (ค.ศ.) 1993 1997 1999 2011
2013
เหตุการณ์ Environmental Impact Assessment” ผ่านกฎหมาย “Basic Environmental Law” ผ่านกฎหมาย “Environmental Impact Assessment Law” บังคับใช้กฎหมาย “Environmental Impact Assessment Law” ปรับปรุงกฎหมาย “Environmental Impact Assessment Law”
รายละเอียด การผ่านกฎหมาย EIA มีความสาคัญทางกฎหมาย มีการออกกฎหมายเกี่ยวกับ EIA
เพิ่มขั้นตอนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม เบื้องต้น และการรายงานผลการป้องกัน ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
บังคับใช้กฎหมาย “Environmental Impact Assessment Law” ที่ปรับปรุงแล้ว
ที่มา: สรุปจาก (Ministry of the Environment, 2012)
ตั้งแต่เริ่มบังคับใช้กฎหมาย EIA Law จนถึงปลายเดือนมีนาคม ค.ศ. 2012 มีโครงการทั้งสิ้น 203 โครงการใน ประเทศญี่ปุ่นที่มีการจัดทา EIA โดยมีโครงการที่ผ่าน EIA แล้วจานวน 142 โครงการ กาลังอยู่ในขั้นตอนจัดทา EIA 37 โครงการ และโครงการที่ไม่ผ่าน EIA อีก 24 โครงการ โดยโครงการประเภทถนนมีสัดส่วนสูงที่สุดในกลุ่มโครงการที่ไม่ผ่าน EIA รองลงมาคือโครงการประเภทโรงไฟฟ้า ในจานวนทั้งสิ้น 203 โครงการ มีโครงการที่ต้องได้รับความเห็นชอบจาก Ministry of the Environment จานวน 134 โครงการ ตาราง 3 แสดงจานวนโครงการที่มีการจัดทา EIA แบ่งตามประเภทและสถานภาพของโครงการ
ตาราง 3 โครงการที่มีการจัดทา EIA ในประเทศญี่ปุ่น (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 2012) ประเภท
ถนน
แม่น้า
รางรถไฟ สนามบิน โรงไฟฟ้า โรงกาจัด ของเสีย 16 9 59 6 4 1 12 2
รวม 77 8 กาลัง 12 2 ดาเนินการ ผ่าน EIA 56 5 10 ไม่ผ่าน EIA 9 1 2 เห็นชอบ 56 5 11 โดย MOE* หมายเหตุ* Ministry of the Environment
7 1 7
41 6 41
4 -
การฝังกลบ การปรับ & ถมที่ พื้นที่ 15 20 4 2 9 2 -
14 4 14
รวม 203 37 142 24 134
ที่มา: สรุปจาก (Ministry of the Environment, 2012)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
72
กฎหมาย EIA Law ของประเทศญี่ปุ่นได้กาหนดวัตถุประสงค์รองเอาไว้ 2 ข้อหลัก ได้แก่ 1) เพื่อเป็นการกาหนด กระบวนการจัดทา EIA และ 2) เพื่อนาผลการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมมาปรับใช้ในการดาเนินโครงการ โดยวัตถุประสงค์ รองทั้ง 2 ข้อนี้จะนาไปสู่วัตถุประสงค์หลักของการผ่านกฎหมาย EIA นั่นคือ เพื่อให้มีการดาเนินโครงการที่คานึงถึงการป้องกัน ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ ประเภทโครงการที่ต้องจัดทา EIA กฎหมาย EIA Law ได้กาหนดประเภทของโครงการที่จาเป็นต้องมีการจัดทา EIA ไว้ทั้งหมด 13 ประเภท ซึ่ง ครอบคลุมถึงโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างถนน เขื่อน รางรถไฟ สนามบิน และโรงไฟฟ้า โดยในจานวนนี้ได้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่โครงการประเภท 1 ซึ่งต้องจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเสมอ และโครงการประเภท 2 ซึ่ง ต้องผ่านการพิจารณาว่าจาเป็นต้องจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมหรือไม่ นอกจากนี้โครงการที่เกี่ยวข้องกับ ท่าเรือขนาดใหญ่จาเป็นต้องมีการจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน 6.2 กระบวนการทา EIA แผนภาพ 6 แสดงกระบวนการจัดทา EIA ในประเทศญี่ปุ่น
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
73
แผนภาพ 6 กระบวนการจัดทา EIA ในประเทศญีป่ ุ่น
ประชาชน แสดงความคิดเห็น
รัฐบาลท้องถิ่น
ผู้เสนอโครงการ
รัฐบาลกลาง
แสดงความคิดเห็น
เอกสารการประเมินผล กระทบเบื ้องต้ น
รัฐมนตรีสิ่งแวดล้ อมให้ ความเห็น
รัฐบาลจังหวัดแสดงความ คิดเห็น (สาหรับโครงการ ประเภท 2)
แสดงความคิดเห็น (1 เดือนครึ่ ง)
เทศบาลและรัฐบาล จังหวัดแสดงความ คิดเห็น
วางแผนโครงการ กลัน่ กรองโครงการ การกาหนดขอบเขต และวิธีศกึ ษา ศึกษาผลกระทบ สิง่ แวดล้ อม
แสดงความคิดเห็น (1 เดือนครึ่ ง)
เทศบาลและรัฐบาล จังหวัดแสดงความ คิดเห็น
รัฐมนตรี กระทรวงที่ รับผิดชอบให้ ความเห็น
วิเคราะห์ผลกระทบ ร่างรายงาน EIS รายงาน EIS ฉบับ สมบูรณ์ รายงานผลการ ป้องกันผลกระทบ เปิดเผยผลการ ป้องกันผลกระทบ
รัฐมนตรีสิ่งแวดล้ อมให้ ความเห็น รัฐมนตรี กระทรวงที่ รับผิดชอบให้ ความเห็น
จาเป็ นต้ องทา EIA ตามกฎหมายท้ องถิ่น รัฐมนตรีสิ่งแวดล้ อมให้ ความเห็น รัฐมนตรี กระทรวงที่ รับผิดชอบให้ ความเห็น
รัฐมนตรีสิ่งแวดล้ อมให้ ความเห็น รัฐมนตรี กระทรวงที่ รับผิดชอบให้ ความเห็น
ที่มา: ดัดแปลงจาก (Ministry of the Environment, 2012)
กฎหมายญี่ปุ่นแบ่งกระบวนการจัดทา EIA ออกเป็นทั้งหมด 8 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ 1) การประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อมเบื้องต้น 2) การกลั่นกรองโครงการประเภท 2 3) การกาหนดวิธีประเมินผลกระทบและกาหนดขอบเขต 4) บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
74
การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5) การจัดทาร่างรายงาน EIS (Environmental Impact Statement) 6) การจัดทารายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์ 7) การประเมินผลกระทบของโครงการตามแผนดาเนินงาน และ 8) การรายงานผลการป้องกันผลกระทบ 1. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (Primary Environmental Impact Consideration: PEIC) วัตถุประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือ เพื่อให้มีการประเมินข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมตั้งแต่เนิ่นๆ โดยผู้เสนอโครงการ ที่เข้าข่ายโครงการประเภท 1 ต้องจัดทาเอกสาร “ข้อพิจารณาผลกระทบหลักด้านสิ่งแวดล้อม” (Document on Primary Environmental Impact Consideration) ซึ่งมีรายละเอียดครอบคลุมเนื้อหาเช่น หัวข้อ รายการที่จะ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (evaluation items) ในระยะของการวางแผนโครงการในพื้นที่โครงการ ขนาดของ โครงการ และปัจจัยอื่น ผู้เสนอโครงการต้องจัดเตรียมทางเลือกในการดาเนินโครงการที่แตกต่างกัน ทั้งในแง่สถานที่ตั้ง ขนาด โครงการ และปัจจัยอื่นๆที่สาคัญ เพื่อเปรียบเทียบให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการ ดาเนินโครงการ โดยเฉพาะประชาชน นักวิชาการ และรัฐบาลท้องถิ่น ผลลัพธ์ของขั้นตอนนี้จะถูกนาไปประกอบใน ขั้นตอนการกาหนดขอบเขตและกาหนดวิธีประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อไป สาหรับโครงการประเภท 2 สามารถจัดทาเอกสาร “ข้อพิจารณาผลกระทบหลักด้านสิ่งแวดล้อม” ได้ตาม ความสมัครใจ แผนภาพ 7แสดงขั้นตอนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น จาแนกตามผู้มีส่วนได้เสีย
แผนภาพ 7 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น
ประชาชน
รัฐบาลท้องถิ่น
ผู้เสนอโครงการ เอกสารการประเมินผล กระทบเบื ้องต้ น
ส่งเอกสาร แสดงความคิดเห็น
ส่งเอกสาร แสดงความคิดเห็น
พิจารณาความคิดเห็น เกี่ยวกับการประเมินผล กระทบเบื ้องต้ น สะท้ อนผลการประเมินใน แผนงานโครงการ
รัฐบาลกลาง ส่งเอกสาร รัฐมนตรีสิ่งแวดล้ อมแสดง ความคิดเห็น
ผู้ออกใบอนุญาตแสดง ความคิดเห็น
ที่มา: ดัดแปลงจาก (Ministry of the Environment, 2012)
2. การกลั่นกรองโครงการประเภท 2 (Screening) วัตถุประสงค์ของขั้นตอนนี้คือเพื่อพิจารณาว่าโครงการจาเป็น จะต้องจัดทา EIA หรือไม่ โดยปัจจัยหลักที่ นามาใช้ในการพิจารณาคือขนาดของโครงการ อย่างไรก็ตาม ความรุนแรงของผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นอาจ ไม่ ไ ด้ ขึ้ น อยู่ กั บ ขนาดของโครงการแต่ เ พี ย งอย่ า งเดี ย ว เช่ น โครงการขนาดเล็ ก ที่ ด าเนิ น การใกล้ กั บ โรงเรี ย น โรงพยาบาล แหล่งผลิตน้าประปา หรือโครงการถมที่ดินในพื้นที่ชุ่มน้าที่มีความสาคัญทางชีวภาพ ซึ่งถึงแม้โครงการ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
75
เหล่านี้จะมีขนาดเล็กแต่ก็อาจส่งผลกระทบรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมได้ ดังนั้นการพิจารณาจึงจาเป็นต้องเป็นไปอย่าง รอบคอบและมีการพิจารณาเป็นรายโครงการ กลุ่มโครงการขนาดเล็กที่จาเป็นต้องทา EIA เนื่องจากมีผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงนั้นสามารถแบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1) โครงการที่ส่งผลกระทบเนื่องจากธรรมชาติของโครงการ (nature of the project) เช่นกรณีของโรงไฟฟ้ าพลังงานความร้อนที่ใช้เ ชื้อเพลิงซึ่ งก่อให้เกิด มลพิ ษทางอากาศ และถนนสายย่อยที่เป็ น ส่วนประกอบหนึ่งของโครงการแต่อาจสร้างผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงได้ และ 2) โครงการที่ส่งผลกระทบต่อ สถานการณ์ในภูมิภาค (regional situation) เช่นการสร้างเขื่อนใกล้ ที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าหายาก โครงการใน อุทยานแห่งชาติ และถนนที่ตัดผ่านพื้นที่ซึ่งมีปริมาณไนโตรเจนออกไซด์ (NO2) สูงเกินค่ามาตรฐาน เป็นต้น หน่วยงานที่ ทาหน้าที่ออกใบอนุญาตที่จาเป็นส าหรับแต่ล ะโครงการเป็นผู้มีอานาจในการตัดสินใจว่ า โครงการใดบ้างที่จาเป็นต้องจัดทา EIA เช่นในกรณีของโครงการก่อสร้างถนน กระทรวงสาธารณูปโภค, ที่ดิน, การ ขนส่ง และการท่องเที่ยว (Ministry of Infrastructure, Land, Transport and Tourism) จะเป็นผู้พิจารณา กลั่นกรองโครงการและเป็นผู้ออกใบอนุญาตแก่โครงการ โดยกระบวนการพิจารณาต้องนาเอาความเห็นจากผู้ว่ า ราชการจังหวัด ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่เป็นอย่างดี มาประกอบเพื่อตัดสินใจด้วย แผนภาพ 8 แสดงขั้นตอนและการมีส่วนร่วมของแต่ละหน่วยงานในชั้นการกลั่นกรองโครงการ แผนภาพ 8 กระบวนการกลั่นกรองโครงการประเภท 2
กระทรวงสิ่งแวดล้อม
ผู้ออกใบอนุญาต
แนวทางการ ประเมินผลกระทบ
กาหนดเกณฑ์ชี ้วัด ยื่นเอกสาร ตัดสินว่าต้ องทา EIA หรื อไม่
ผู้เสนอโครงการ โครงร่าง (Outline) ของโครงการ
รัฐบาลท้องถิ่น
แสดงความคิดเห็น (ภายใน 30 วัน)
จาเป็ นต้ องทา EIA แจ้ งเตือน
ไม่จาเป็ นต้ องทา EIA
ที่มา: ดัดแปลงจาก (Ministry of the Environment, 2012)
3. การกาหนดวิธีประเมินผลกระทบและกาหนดขอบเขต (Scoping) การจัดทา EIA จาเป็นต้องคานึงถึงบริบททางด้านพื้นที่และสถานที่ตั้งที่แตกต่างกันไป เช่นในกรณีของ โครงการประเภทถนนที่สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคร่าวๆตามลักษณะพื้นที่ที่ตัดผ่าน คือถนนที่ตัดผ่านพื้นที่ ธรรมชาติ เช่นในป่า หรือบนภูเขา และถนนที่ตัดผ่านชุมชนเมือง ประเด็นที่จะถูกนามารวบรวมเพื่อศึกษาผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อมของทั้งสองประเภทโครงการนี้จึงย่อมมีความแตกต่างกัน การรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนใน พื้นที่และรัฐบาลท้องถิ่นจึงเป็นสิ่งที่สาคัญมาก ผู้เสนอโครงการจาเป็นต้องเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
76
พื้ น ที่ ไ ด้ แ สดงความคิ ด เห็ น ตั้ งแต่ เ นิ่ น ๆ เพื่ อ น าเอาความคิ ด เห็ น เหล่ า นี้ ไ ปใช้ ใ นการคั ด เลื อ กหั ว ข้ อ ส าหรั บ การ ประเมินผลกระทบ ซึ่งจะส่งผลให้การทา EIA มีความสอดคล้องกับบริบทของแต่ละพื้นที่มากยิ่งขึ้น ผู้เสนอโครงการต้องจัดทา “เอกสารกาหนดขอบเขต” (Scoping Document) ซึ่งมีรายละเอียดครอบคลุม ถึงวิธีการที่ใช้ในการประเมินผลกระทบ และส่งไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดและนายกเทศมนตรีที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแจ้ง เป็นประกาศสาธารณะเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่สนใจสามารถเข้าไปขอดูรายละเอียดได้ที่สานักงานส่วนท้องถิ่น รวมถึงที่สานักงานของบริษัทผู้เสนอโครงการ และบนเวบไซต์ของบริษัทที่เปิดให้แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ เป็นระยะเวลา 1 เดือน นอกจากนี้ผู้เสนอโครงการจาเป็นต้องจัดเวทีสาธารณะเพื่อแถลงข้อมูลที่ระบุในเอกสารกาหนดขอบเขต โดย ผู้เข้าร่วมสามารถร่วมแสดงความคิดเห็นต่อโครงการได้ โดยความคิดเห็นดังกล่าวจะถูกนาไปสรุ ปและส่งต่อให้ผู้ว่า ราชการจังหวัดและนายกเทศมนตรีที่เกี่ยวข้องในภายหลัง โดยผู้ว่าราชการจังหวัดจะแสดงความคิดเห็นภายหลัง ได้รับข้อมูลทั้งจากเอกสารกาหนดขอบเขต และจากเวทีสาธารณะ ผู้เสนอโครงการจะต้องนาความคิดเห็นที่ได้รับมาใช้พิจารณาเพื่อคัดเลือกวิธีการประเมินผลกระทบ โดย สามารถขอค าแนะน าทางเทคนิค เกี่ยวกับหัวข้ อที่จะประเมิ น รวมถึงวิธี การที่ ใช้ในการประเมินผลกระทบจาก กระทรวงที่เกี่ยวข้องได้ หากจาเป็น โดยกระทรวงที่เกี่ยวข้องจาเป็นต้องได้รับความเห็นจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง สิ่งแวดล้อม (Minister of the Environment) เสียก่อนจึงจะสามารถให้คาแนะนาได้ ขั้นตอนและการมีส่วนร่วม ของแต่ละหน่วยงานในกระบวนการกาหนดขอบเขตแสดงในแผนภาพ 9 แผนภาพ 9 กระบวนการกาหนดวิธีประเมินผลกระทบและกาหนดขอบเขต
ประชาชน
ผู้เสนอโครงการ ร่างวิธีศกึ ษาผลกระทบ
รัฐบาลจังหวัด ยื่นเอกสาร
นายกเทศมนตรี
รัฐบาลกลาง
ยื่นเอกสาร
รับฟั งความเห็น สาธารณะ (1 เดือน)/ ประชุมชี ้แจง
แสดงความคิดเห็น
ยื่นเอกสาร
ยื่นเอกสาร
สรุปผลการรับฟั ง ความเห็นและชี ้แจง
ส่งรายงาน ยื่นเอกสารภายใน 2 อาทิตย์หลังรับฟั ง ความเห็น
รัฐมนตรีสิ่งแวดล้ อม ให้ ความเห็น
แสดงความคิดเห็น
ยื่นภายใน 90 วัน แสดงความคิดเห็น แสดงผลการรับฟั งใน แผงงานโครงการ
รัฐมนตรีที่ รับผิดชอบให้ ความเห็น
ที่มา: ดัดแปลงจาก (Ministry of the Environment, 2012) บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
77
4. การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Implementation of EIA) ภายหลังกาหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมแล้ว ผู้เสนอโครงการต้องดาเนินการศึกษา ผลกระทบผ่านการสารวจ (survey) การคาดการณ์ (forecast) และการประเมิน (evaluation) สาหรับทุกหัวข้อที่ ถูกกาหนดว่าจาเป็นต้องมีการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม จากนั้นต้องมีการศึกษามาตรการที่จะนามาใช้เพื่อ ป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม และประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นภายหลังดาเนินการตามมาตรการดังกล่าว การสารวจ หมายถึงการที่ผู้เสนอโครงการรวบรวมข้อมูลผ่านเอกสารราชการ ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์จาก ผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งการลงพื้นที่สารวจเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลจากท้องถิ่นเพื่อนาไปใช้ในขั้นตอนการคาดการณ์และการ ประเมินต่อไป การคาดการณ์ หมายถึงการที่ ผู้เ สนอโครงการคาดคะเนถึ งผลกระทบในเชิงปริมาณที่อ าจเกิดขึ้ นต่ อ สิ่งแวดล้อม หรือความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในระยะของการก่อสร้างและการดาเนินงานของโครงการ โดย การคาดการณ์จาเป็นต้องเป็นไปตามการคานวณผ่านแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ การอ้างอิง หรือการวิเคราะห์จาก กรณีที่เคยเกิดขึ้น การคาดคะเนผลกระทบเชิงคุณภาพอาจถูกนามาใช้ หากไม่สามารถคาดคะเนผลกระทบในเชิง ปริมาณได้ ภายหลังการสารวจและการคาดการณ์ ผู้เ สนอโครงการต้อ งท าการประเมิน ว่า ผลกระทบ ดั งกล่า วที่ คาดคะเนว่าอาจเกิดขึ้นนั้น สามารถหลีกเลี่ยงหรือบรรเทาให้อยู่ในระดับที่พอรับได้หรือไม่ รวมทั้งประเมินว่าจะ สามารถผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านการป้องกันสิ่งแวดล้อมได้หรือไม่ กฎหมาย EIA ของญี่ปุ่นชี้แนะว่าการจัดทา EIA ควรใช้หลักคิดแบบ “ใช้ความพยายามสูงสุด” (“Besteffort pursuit type”) ในการจากัดปริมาณผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้ได้มากที่สุด ผ่านการเปรียบเทียบทางเลือกใน การดาเนินงานที่หลากหลาย และพิจารณาถึงมาตรการที่จะช่วยลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมยิ่งขึ้นไปอีก แตกต่าง ไปจากการประเมินแบบ “ตั้งเป้าลดผลกระทบ” (“Target clearance type” ที่ผู้เสนอโครงการตั้งเป้าหมายใน ระดับหนึ่งและดาเนินการเพียงเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว การประเมินแบบ “Best-effort pursuit type” ที่ ครอบคลุมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างทั่วถึงจะนาไปสู่การดาเนินโครงการที่มีประสิทธิภาพในแง่ของ การป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม 5. การจัดทาร่างรายงาน EIS ภายหลังขั้นตอนศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผู้เสนอโครงการจาเป็นต้องมีการรับฟังความคิดเห็นจากผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับผลการศึกษาดังกล่าว โดยผู้เสนอโครงการต้องจัดเตรียมร่าง “รายงานผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อม”(Environmental Impact Statement: EIS) ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมผลการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อม รวมทั้งมาตรการที่ผู้เสนอโครงการจะใช้ป้องกันผลกระทบดังกล่าว จากนั้นส่งร่างรายงานไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด และนายกเทศมนตรีที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ต้องแจ้งเป็นประกาศสาธารณะเพื่ อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่สนใจสามารถ เข้าไปขอดูรายละเอียดได้ที่สานักงานส่วนท้องถิ่น รวมถึงที่สานักงานของบริษัทผู้เสนอโครงการ และบนเวบไซต์ของ บริษัทที่เปิดให้แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ เป็นระยะเวลา 1 เดือน โดยภายในระยะเวลาดังกล่าว ผู้เสนอ โครงการต้องมีการจัดเวทีสาธารณะเพื่ออธิบายถึงเนื้อหาที่อยู่ในร่างรายงานต่อสาธารณชน ภายหลังได้รับความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแล้ว ผู้เสนอโครงการจะรวบรวมและสรุปความคิดเห็น ความกังวลและคาตอบจากผู้เสนอโครงการแล้วส่งไปยังหน่วยงานภาครัฐทั้งในระดับจังหวัดและเทศบาล จากนั้น หน่วยงานภาครัฐจะแสดงความคิดเห็นซึ่งจะถูกนาไปใช้ในการปรับปรุงร่างรายงานต่อไป แผนภาพ 10 แสดงขั้นตอนและการมีส่วนร่วมของแต่ละหน่วยงานในขั้นตอนการร่างรายงาน EIS บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
78
แผนภาพ 10 กระบวนการจัดทาร่างรายงาน EIS
ประชาชน
ผู้เสนอโครงการ ร่างรายงาน EIS
รัฐบาลจังหวัด ยื่นเอกสาร
นายกเทศมนตรี ยื่นเอกสาร
รับฟั งความเห็น สาธารณะ (1 เดือน)/ ประชุมชี ้แจง แสดงความคิดเห็น สรุปความคิดเห็นและ ชี ้แจง ยื่นเอกสารภายใน 2 อาทิตย์หลังรับฟั ง ความเห็น
ยื่นเอกสาร
ยื่นรายงานสรุป ยื่นรายงานสรุป ภายใน 120 วัน
ยื่นเอกสาร
แสดงความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น
รายงาน EIS ที่มา: ดัดแปลงจาก (Ministry of the Environment, 2012)
6. การจัดทารายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์ ภายหลังได้รับความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและรัฐบาลท้องถิ่นแล้ว ผู้เสนอโครงการต้องนาความ คิดเห็นเหล่านั้นไปใช้ประกอบการปรับปรุงร่างรายงาน EIS เพื่อจัดทารายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์ ซึ่งจะถูกยื่นไปยัง หน่ วยงานออกใบอนุ ญาตส าหรับ แต่ ละโครงการ ผู้ว่ าราชการจั งหวัด นายกเทศมนตรี รวมทั้ง รัฐ มนตรี ว่า การ กระทรวงสิ่งแวดล้อม (Minister of the Environment) เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของโครงการในแง่ของการ ป้ อ งกั น ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยหน่ ว ยงานออกใบอนุ ญ าตจะน าความเห็ น ของรั ฐ มนตรี สิ่ ง แวดล้ อ มมาใช้ ประกอบการพิจารณาออกใบอนุญาตให้แก่โครงการ นอกจากนี้ผู้เสนอโครงการต้องแจ้งเป็นประกาศสาธารณะเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่สนใจสามารถเข้าไป ขอดูรายละเอียดของรายงาน EIS ได้ที่สานักงานส่วนท้องถิ่น รวมถึงที่สานักงานของบริษัทผู้เสนอโครงการ และ บนเวบไซต์ของบริษัทที่เปิดให้แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ เป็น ระยะเวลา 1 เดือน โดยในระหว่างนี้ผู้เสนอ โครงการไม่สามารถเริ่มต้นดาเนินการใดๆ เกี่ยวกับโครงการได้
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
79
แผนภาพ 11 แสดงขั้นตอนและการมีส่วนร่วมของแต่ละหน่วยงานในขั้นตอนการจัดทารายงาน EIS ฉบับ สมบูรณ์ แผนภาพ กระบวนการจัดดททารายงาน ารายงาน EIS EIS ฉบั ฉบับบสมบู สมบูรรณ์ณ์ แผนภาพ11X กระบวนการจั
ผู้เสนอโครงการ รายงาน EIS
ผู้ออกใบอนุญาต ยื่นเอกสาร
กระทรวงสิ่งแวดล้อม ยื่นเอกสาร แสดงความคิดเห็น/ ข้ อเสนอแนะ
แสดงความคิดเห็น รายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์
ยื่นเอกสาร
ยื่นเอกสาร
รับฟั งความคิดเห็นสาธารณะ (1 เดือน) ที่มา: ดัดแปลงจาก (Ministry of the Environment, 2012)
7. การแสดงผลการประเมินในแผนดาเนินงาน (Reflecting the assessment results in the project scheme) การจัดทา EIA ในช่วงก่อนเริ่มดาเนินโครงการจะถือว่าสิ้นสุดลงเมื่อมีการประกาศรายงาน EIS ฉบับ สมบูรณ์ต่อสาธารณะ อย่างไรก็ตาม การจัดทารายงาน EIS นั้นไม่ใช่วัตถุประสงค์หลักเพียงอย่างเดียว แต่ต้องมีการ แสดงให้เห็นว่าได้นาผลการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมมาใช้ประกอบในการกาหนดแผนดาเนินงานของโครงการ ด้วย เนื่องจากเมื่อโครงการได้รับใบอนุญาตแล้ว จะถือว่าอยู่ ภายใต้การกากับดูแลของกฎหมายชุดอื่นที่อาจไม่ได้ให้ ความสาคัญกับการป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างเพียงพอ ดังนั้นการแสดงให้เห็นถึงมาตรการด้านการป้องกัน ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในแผนดาเนินงานของโครงการจึงเป็นสิ่งที่สาคัญ และจะถูกนาไปใช้ในกระบวนการพิจารณา ออกใบอนุญาตให้แก่โครงการอีกด้วย แผนภาพ 12 แสดงประเด็นสาคัญที่ผู้เสนอโครงการจาเป็นต้องรวบรวมเอาไว้ในแผนดาเนินงาน
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
80
แผนภาพ 12 กระบวนการดาเนินโครงการและกฎหมาย EIA แผนภาพ X กระบวนการดาเนินโครงการและกฎหมาย EIA
แผนงานโครงการ EIA Law
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับประเภทโครงการ
กระบวนการจัดทา EIA การพิจารณาประเด็นด้ านสิง่ แวดล้ อม การอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อม
O
O
ความปลอดภัยของโครงการ ความจาเป็ นของโครงการ
O
ความคุ้มทุน (feasibility) ของโครงการ
O
ตัดสินใจออกใบอนุญาต ที่มา: ดัดแปลงจาก (Ministry of the Environment, 2012)
8. การรายงานผลการป้องกันผลกระทบ (Impact mitigation reporting) ภายหลังเสร็จสิ้นกระบวนการจัดทารายงาน EIS และโครงการได้เริ่มต้นดาเนินการก่อสร้างแล้ว ผู้เสนอ โครงการต้ องมีก ารสารวจเพื่อติ ดตามผลกระทบด้ านสิ่ งแวดล้อมที่ เกิดขึ้ นทั้งในระยะของการก่อสร้ างและการ ดาเนินงานของโครงการ และเมื่อสิ้นสุดระยะก่อสร้างของโครงการแล้ว ผู้เสนอโครงการจะต้องรวบรวมและเผยแพร่ ข้อมูลเกี่ยวกับการสารวจติดตามผล (follow-up survey) และมาตรการป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจนโดย ประเมินจากข้อมูลที่ได้จากการติดตามผล รวมถึงผลลัพธ์และความคืบหน้าภายหลังดาเนินการตามมาตรการดังกล่าว วัตถุประสงค์ของการกาหนดให้ขั้นตอนการรายงานผลการป้องกันผลกระทบเป็นหนึ่งในขั้นตอนที่จาเป็น สาหรับการจัดทา EIA คือเพื่อให้มีการใช้มาตรการป้องกันผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้องและเหมาะสมที่สุด เนื่องจากผลกระทบบางอย่างอาจคาดการณ์ได้ยากหรือไม่สามารถคาดการณ์ได้ในช่วงของการจัดทารายงาน EIS ดังนั้นการติดตามตรวจสอบผลกระทบที่เกิดขึ้นภายหลังเริ่มต้นดาเนินโครงการแล้วจึงช่วยให้ผู้เสนอโครงการ รวมถึง ประชาชน และรัฐมนตรีสิ่งแวดล้อม (Minister of the Environment) สามารถร่วมกันกาหนดมาตรการที่เหมาะสม เพื่อป้องกันและแก้ไขผลกระทบดังกล่าวได้ นอกจากนี้ การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมและผล การดาเนินงานตามมาตรการดังกล่าว ยั งส่งผลดี ต่อการท า EIA ในประเทศญี่ปุ่นโดยรวม ในแง่ของการเป็ น แหล่งข้อมูลที่สาคัญสาหรับการพัฒนาปรับปรุงอีกด้วย แผนภาพ 13 แสดงขั้นตอนและการมีส่วนร่วมของแต่ละหน่วยงานในขั้นตอนการรายงานผลการป้องกัน ผลกระทบ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
81
แผนภาพ 13 กระบวนการรายงานผลการป้องกันผลกระทบ
ผู้เสนอโครงการ
ผู้ออกใบอนุญาต
การดาเนินโครงการ (เริ่ มใช้ มาตรการป้องกัน ผลกระทบสิง่ แวดล้ อม) จัดทารายงานผลการป้องกัน ผลกระทบ
แสดงความคิดเห็น
ยื่นเอกสาร
กระทรวงสิ่งแวดล้อม แสดงความคิดเห็น
ยื่นเอกสาร
ดัดแปลงจาก (Ministry of the Environment, 2012) 9. กรณีพิเศษ ในกรณีที่โครงการเป็นส่วนหนึ่งของการวางผังเมือง - หน่วยงานภาครัฐในระดับจังหวัดและระดับเทศบาลที่รับผิดชอบการวางผังเมืองทาหน้าที่เป็นผู้เสนอโครงการ - จัดทา EIA ไปพร้อมกับกระบวนการวางแผนสาหรับการวางผังเมือง - ผลลัพธ์ที่ได้จากการทา EIA ต้องถูกสะท้อนอยู่ในแผนการวางผังเมือง - ผู้เสนอโครงการด้านการวางผังเมืองเป็นผู้รับผิดชอบการรายงานผลการป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในกรณีท่าเรือ -
ไม่มีการทา EIA ในระดับโครงการ แต่เป็นการทา EIA สาหรับการวางผังท่าเรือ และรับผิดชอบโดยกรมเจ้าท่า (port management bodies) ยกเว้นขั้นตอนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น การกลั่นกรองโครงการ การกาหนดขอบเขต และ การรายงานผลการป้องกันผลกระทบ
ในกรณีโรงไฟฟ้า -
รัฐบาลกลาง (Ministry of Economy, Trade and Industry) แสดงความคิดเห็นในขั้นตอนการกาหนด ขอบเขต รวมถึงขั้นตอนการจัดทาร่างรายงาน EIS กาหนดให้จัดทารายงานการป้องกันผลกระทบ (Impact Mitigation Report) เพียงอย่างเดียวในขั้นตอนการ รายงานผลการป้องกันผลกระทบ
การจัดทา EIA ในระดับท้องถิ่น รัฐบาลของทุกจังหวัดและเมืองขนาดใหญ่ในประเทศญี่ปุ่นได้กาหนดให้มีการทา EIA สาหรับโครงการที่อาจส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อมผ่านการบังคับใช้กฎหมายท้องถิ่น ซึ่งมีความแตกต่างไปจาก EIA Law เล็กน้อยในประเด็นดังต่อไปนี้ -
เพิ่มจานวนประเภทของโครงการที่ต้องทา EIA (นอกเหนือไปจากที่กาหนดโดย EIA Law) บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
82
-
ปรับการทา EIA ให้เหมาะสมกับโครงการขนาดเล็ก เพิม่ กระบวนการตรวจสอบจากองค์กรภายนอก (third-party organization evaluation)
นอกจากนี้ กฎหมาย EIA ได้กาหนดบทบาทของการทา EIA ในระดับท้องถิ่นเพื่อไม่ให้เกิดความซ้าซ้อนกับการทา EIA ในระดับชาติ โดยยึดตามลักษณะประเภทของโครงการที่แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1) โครงการที่ต้องจัดทา EIA ตามกฎหมาย EIA และ 2) โครงการที่ไม่ได้ระบุให้ทา EIA ตามกฎหมาย EIA สาหรับโครงการที่ต้องจัดทา EIA ตามที่ระบุในกฎหมาย EIA อยู่แล้วนั้น รัฐบาลท้องถิ่นไม่สามารถเพิ่มขั้นตอนการทา EIA สาหรับโครงการเหล่านั้นผ่านการใช้กฎหมายท้องถิ่น (local ordinance) ได้ แต่รัฐบาลท้องถิ่นสามารถเพิ่มขั้นตอนการทา EIA สาหรับโครงการที่ไม่ได้ถูกระบุให้จัดทา EIA ตามกฎหมาย EIA Law ของรัฐบาลกลางได้ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลท้องถิ่น สามารถกาหนดให้โครงการทั้ง 2 ประเภท เพิ่มหัวข้อที่จาเป็นต้องได้รับการประเมินผลกระทบที่อยู่นอกเหนือไปจากที่ระบุโดย EIA Law ได้ เช่นการประเมินผลกระทบต่อชุมชน สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม (cultural asset) และอื่นๆ
การชาระค่าใช้จ่าย ผู้เสนอโครงการมีหน้าที่จัดเตรียมรายงาน EIA โดยสามารถว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญหรือบริษัทที่ปรึกษาเพื่อจัดทาแทนผู้ เสนอโครงการได้ โดยประเทศญี่ปุ่นไม่มีข้อกาหนดทางกฎหมายเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ที่มีสิทธิจัดทา EIA ผู้เสนอโครงการมี หน้าที่รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการว่าจ้างดังกล่าวทั้งหมด ไม่ว่าโครงการจะได้รับการอนุ มัติหรือไม่ (Environmental Law Alliance Wordwide, 2012)
6.3 การมีส่วนร่วมของประชาชน กฎหมาย EIA ของญี่ปุ่นได้กาหนดให้ภาคประชาชนมีบทบาทสาคัญในการจัดทา EIA ตั้งแต่ขั้นตอนการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ไปจนถึงขั้นตอนการจัดทารายงาน EIS โดยผู้เสนอโครงการมีหน้าที่รวบรวมความคิดเห็นจาก ประชาชนเพื่อนามาประกอบกับความคิดเห็นจากหน่วยงานภาครัฐ ทั้งรัฐบาลระดับท้องถิ่น หน่วยงานผู้ออกใบอนุญาต และ กระทรวงสิ่งแวดล้อม และสะท้อนความคิดเห็นเหล่านั้นผ่านมาตรการป้องกันและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการ ภายหลังเสร็จสิ้นการจัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ผู้เสนอโครงการต้องเปิดเผยข้อมูลของรายงาน เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบและร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ จากนั้นผู้ เสนอโครงการต้องนาความคิดเห็นไป ประกอบใช้ในการกาหนดแผนงานของโครงการ จากนั้นภายหลังขั้นตอนการกาหนดวิธีศึกษาและขอบเขตของการศึกษา ผลกระทบ ผู้เสนอโครงการต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีศึกษาและขอบเขตของการศึกษา ดังกล่าว โดยผู้ที่มีความกังวลหรือต้องการคัดค้านโครงการสามารถยื่นคาร้องได้ภายในระยะเวลา 1 เดือนครึ่ง ภายหลังรายงาน วิธีการศึกษาและขอบเขตการศึกษาผลกระทบถูกเผยแพร่ต่อสาธารณะ เมื่อผู้เสนอโครงการจัดทาร่างรายงาน EIS สาเร็จแล้ว ประชาชนต้องมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับร่าง รายงานดังกล่าว โดยผู้ที่มีความกังวลหรือต้องการคัดค้านโครงการสามารถยื่นคาร้องได้ภายในระยะเวลา 1 เดือนครึ่ง ภายหลัง ร่างรายงาน EIS ได้รับการเผยแพร่ต่อสาธารณะ ผู้เสนอโครงการจะนาความคิดเห็นที่ได้ไปประกอบกับความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะจากรัฐบาลในระดับท้องถิ่น หน่วยงานผู้ออกใบอนุ ญาต และกระทรวงสิ่งแวดล้อมเพื่อนาไปจัดทารายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
83
6.4 บทลงโทษ ปัจจุบัน กฎหมาย EIA Law ของประเทศญี่ปุ่นไม่ได้กาหนดให้มบี ทลงโทษหรือค่าปรับใดๆ ในกรณีที่เจ้าของโครงการ ไม่ดาเนินการตามขั้นตอนการจัดทา EIA หรือดาเนินการตามมาตรการที่ระบุในรายงาน EIA อย่างไรก็ตามหากโครงการไม่ สามารถตอบสนองเงื่อนไขในการจัดทา EIA ได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในทุกขั้นตอน การจัดทารายงาน EIA และการออกความเห็นของหน่วยงานภาครัฐทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น โครงการจะไม่สามารถ ได้รับใบอนุญาตที่จาเป็นในการเริ่มต้นโครงการ นอกจากนี้ ประเทศญี่ปุ่นมีการกาหนดกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมที่ละเอียดสาหรับใช้ควบคุมการดาเนินโครงการแต่ ละประเภท เช่นกฎหมายที่ควบคุมด้านของเสีย มลพิษทางอากาศ น้า พลังงานทดแทน แร่ใยหิน พื้นที่ที่ได้รับการปนเปื้อน (contaminated land) การขุดเจาะด้วยวิธี Hydraulic fracturing และการตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม (environmental auditing) โดยชุดกฎหมายเหล่านี้ได้ระบุบทลงโทษเอาไว้ในกรณีที่โครงการไม่สามารถตอบสนองข้อกาหนดตามกฎหมายได้
6.5 มาตรฐานทางวิชาชีพ กระทรวงสิ่งแวดล้อมญี่ปุ่น (Ministry of the Environment) ได้ก่อตั้งเครือข่ายการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment Network) ขึ้นเพื่อทาหน้าที่เป็นฐานข้อมูลสาหรับการจัดทา EIA ในประเทศญี่ปุ่น โดยเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ในภาษาญี่ปุ่นเป็นหลัก (เว็บไซต์ http://www.env.go.jp/policy/assess/index.html) ข้อมูลที่ครอบคลุมอยู่ในฐานข้อมูลของเครือข่ายได้แก่ -
-
คาแนะนาและคู่มือการจัดทา EIA ชุดคาศัพท์ (glossary) ที่เกี่ยวข้องกับ EIA ฐานข้อมูลเกี่ยวกับมาตรการป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม ฐานข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมสาหรับใช้ประเมินผลกระทบ โดยแบ่งออกเป็น o ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพบรรยากาศ (atmospheric environment) (อากาศ เสียง การสั่นสะเทือน กลิ่น) o ข้อมูลเกี่ยวกับน้า (คุณภาพน้า การตกตะกอน น้าบาดาล) o ข้อมูลเกี่ยวกับดิน (ภูมิศาสตร์ สภาพดิน) o ข้อมูลทางนิเวศวิทยา (พืช สัตว์ ระบบนิเวศ) o ข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ (ภูมิทัศน์ สถานที่ประกอบกิจกรรมของ มนุษย์) o ข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ของเสีย ก๊าซเรือนกระจก และอื่นๆ) ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมสาหรับการประเมินผลกระทบในระดับท้องถิ่น ฐานข้อมูลสาหรับรายงาน EIA ที่กาลังอยู่ในขั้นตอนดาเนินการ และที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการสัมมนา และการจัดอบรมเกี่ยวกับการทา EIA
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 6. กรณีศึกษา ประเทศญี่ปุ่น
84
7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน 7.1. ความเป็นมา การตรวจสอบผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมในมลรัฐวอชิงตัน ประเทศอเมริกา จะต้องเป็นไปตามขั้นตอนที่ระบุไว้ใน กฎหมายนโยบายสิ่งแวดล้อมของรัฐ หรือ State Environmental Policy Act (SEPA) ซึ่งออกในปี ค.ศ. 1971 โดยก่อนที่จะมี กฎหมายดังกล่าว ทางรัฐได้รับการเรียกร้องจากประชาชนว่า การตัดสินใจต่างๆ ของรัฐที่ผ่านมาละเลยการคานึงถึงสิ่งแวดล้อม เนื่องจากยังไม่มีกรอบแนวทางบังคับทางกฎหมายที่ว่าด้วยเรื่องของประเด็นสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการนากฎหมาย SEPA ซึ่ง พัฒนามาจากกฎหมายนโยบายสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (National Environmental Policy Act or NEPA) มาใช้ในรัฐจึง สามารถตอบโจทย์ของประชาชนได้ กฎหมาย SEPA จึงเป็นเครื่องมือสาหรับหน่วยงานภาครัฐทุกระดับในรัฐวอชิงตันในการ พิจารณาและบรรเทาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นจากกิจกรรมต่างๆ กฎหมายดังกล่าวเปิดโอกาสให้ประชาชน หรือกลุ่มหน่วยงานใดๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือมีความสนใจ เข้ามามีส่วนร่วมใน การตรวจสอบโครงการได้ในหลายขั้นตอน ก่อนที่จะมีการตัดสินใจครั้งสุดท้าย อย่างไรก็ตาม รัฐวอชิงตันได้ปรับปรุง พัฒนา กฎหมาย SEPA มาตลอด เพื่อทาให้กฎหมายมีประสิทธิภาพในทางปฏิบัติ โดยตัดรายละเอียดที่ยุ่งยาก หรือไม่จาเป็นออก เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่รับผิดชอบสามารถปฏิบัตติ ามได้ง่าย เป้าหมายของกฎหมาย SEPA คือ เพื่อให้ข้อมูลแนวทางในการส่งเสริมการพัฒนาข้อเสนอโครงการทีเ่ ป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม สาหรับผู้เสนอโครงการ (applicant) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (other agencies) และประชาชน (public) โดย กระบวนการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมจะเริ่มตั้งแต่การระบุ และประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่อาจจะเกิดขึ้นจาก โครงการดังกล่าว พร้อมทั้งการจัดเตรียมมาตรการบรรเทาผลกระทบในทางลบที่อาจจะเกิดขึ้น โดยเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ ที่เป็นผู้มีอานาจจะใช้ข้อมูลทางสิ่งแวดล้อมที่ได้ ผนวกกับข้อมูลอื่นๆ จากการประเมิน เพื่อตัดสินอนุมตั ิหรือไม่อนุมัตโิ ครงการ ดังกล่าว ทั้งนี้กฎหมาย SEPA มีผลบังคับใช้กับทุกการตัดสินใจใดๆ ของหน่วยงานภาครัฐภายใต้รัฐวอชิงตันในทุกระดับ (Washington State Department of Ecology, 2004) ดังนั้นตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นรัฐบาล ระดับมลรัฐ รัฐบาลท้องถิ่น คณะกรรมการ คณะกรรมาธิการ กระทรวง กรม หรือเจ้าหน้าทีร่ าชการ จะมีอานาจในการรับเรื่อง ร้องเรียนที่มีข้อพิพาทเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และดาเนินการตามกฎหมายดังกล่าว โครงการหรือกิจกรรมใดๆ ก็ตาม ที่ไม่อยู่ในรายการโครงการยกเว้นของ SEPA (categorical exmptions) ต้อง ปฏิบัติตามกระบวนการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมของ SEPA
7.2 กระบวนการทา EIA กระบวนการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมจะเริ่มขึ้นเมื่อมีบุคคลใดทาเรือ่ งต่อหน่วยงานภาครัฐเพื่อขออนุญาตในการ ดาเนินโครงการ หรือเมื่อ หน่วยงานภาครัฐ (ไม่ว่าจะระดับใดก็ตาม) มีแผนที่จะพัฒนากฎหมาย นโยบาย หรือโครงการภาครัฐ ใดๆ โดยทันทีทมี่ ีการนาเสนอโครงการ (ไม่ว่าจะเป็นภาคเอกชนหรือภาครัฐเองก็ตาม) สิ่งแรกเริ่มทีต่ ้องกาหนดให้แน่ชัด เกี่ยวกับโครงการคือ 1) โครงการมีความจาเป็นจะต้องได้รับการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมของ SEPA หรือไม่ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
85
2) หน่วยงานภาครัฐที่มีอานาจในการตัดสินโครงการ (agencies with jurisdiction) คือใครบ้าง 3) หน่วยงานหลัก ผู้รับผิดชอบในการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม (lead agency) คือใคร 4) ทุกกิจกรรมในโครงการต้องได้รบั การประเมินโดยเอกสารฉบับเดียวกัน (single document) ตามกฎหมาย ปฏิบัติการของมลรัฐวอชิงตัน (Washington Administrative Code: WAC 197-11-060(3)(b))
7.2.1 การตรวจสอบความจาเป็นของการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อม โครงการสามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภทด้วยกัน ได้แก่ 1) โครงการที่เกี่ยวกับการก่อสร้างทางกายภาพ เช่น การให้ทุนสนับสนุนโครงการ การอนุมัติโครงการทางกายภาพดังกล่าว เป็นต้น และ 2) โครงการที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายและ การวางแผน เช่น การอนุมัติหรือแก้ไขแผนงาน ระเบียบข้อบังคับ และ กฤษฎีกา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าการ ตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมตามกฎหมาย SEPA จะเป็นข้อบังคับในการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการของหน่วยงานภาครัฐ แต่กม็ ี โครงการ บางประเภททีไ่ ด้รับยกเว้นทางกฎหมายตามที่ได้กาหนดไว้ในกฎหมายมลรัฐวอชิงตันฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (Revised Code of Washington) (RCW) บทที่ 43 หมวด 43.21 C (รายละเอียดในตาราง 4) โดยในกรณีทโี่ ครงการได้รับการยกเว้น ตามกฎหมาย โครงการนั้นไม่จาเป็นที่จะต้องได้รับการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมตามกฎหมาย SEPA หากโครงการใดที่มกี ิจกรรมที่เข้าข่ายต้องได้รับการตรวจสอบ โครงการนั้นจะต้องได้รับการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อม ตามกฎหมาย SEPA ทั้งหมด
ตาราง 4 ข้อยกเว้นโดยกฎหมายของการดาเนินการบางประเภท จากการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมตามกฎหมาย SEPA ประเภทการดาเนินการทีไ่ ด้รบั การยกเว้น การใช้พื้นที่ป่าไม้ในเขตบรรเทาการไหลของสายน้า (stream channel mitigation zones) พื้นที่ป่าไม้ชายฝั่งซึ่งถูกสงวนสิทธิเ์ พื่อการอนุรักษ์ (conservation easement) การขออนุญาตในการจัดการคุณภาพอากาศ (air operating permits) กิจกรรมบางอย่างภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินที่ประกาศโดยผู้ว่าการรัฐ การจัดตั้งเขตเทศบาลใหม่ (city or town incorporation) การผนวกอาณาเขตของเมืองเข้าด้วยกัน (city or town annexation of territory) การยกเลิกเขตเทศบาล (city or town disincorporation) โครงการเพาะพันธุ์ปลาทีไ่ ด้รบั การจัดการภายใต้กฎหมาย RCW 77.55.290 การบัญญัติกฎหมายฉุกเฉินของคณะกรรมการจัดการป่าไม้ (Forest Practices Board) แผนโครงการปรับปรุงหรือสละทิ้งเส้นทางป่า (Forest road) การปฏิบัติงานในด้านป่าไม้ ประเภท 1 2 และ 3
กฎหมายทีร่ ะบุข้อยกเว้น RCW 43.21C.260 RCW 43.21C.260 RCW 43.21C.0381 RCW 43.21C.210 RCW 43.21C.220 RCW 43.21C.225 RCW 43.21C.227 RCW 43.21C.0382 RCW 43.21C.250 RCW 43.21C.260 RCW 43.21C.037
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
86
แผนงานของคณะกรรมาธิการการเงินของรัฐสภา การติดตั้งบริการอินเตอร์เน็ตไร้สายส่วนตัว (Personal wireless services facilities) (เพิ่มเติมที่ WAC 197-11-800 (25)) การปิดโรงเรียน การติดตั้งระบบความปลอดภัยให้กับบ้านเรือนจากอาชญากรรุนแรงทางเพศ (sexually violent predators) การจัดทาตารางตัดไม้ท่อนซุงที่เกีย่ วกับของการตัดไม้แบบ clear cut ในเขต ตะวันออกของรัฐ โครงการพลังงานนิวเคลียร์ที่ก่อสร้างไม่เสร็จ การขออนุญาตปล่อยขยะของเสียในแหล่งทิ้งที่มีอยู่แล้ว การใช้น้าปริมาณ 50 ลูกบาศก์ฟุตต่อวินาที หรือน้อยกว่า ในการชลประทาน การปฏิบัติแผนการฟื้นฟูลุ่มน้าของโครงการฟื้นฟูลุ่มน้าที่ได้รับการควบคุมภายใต้ SEPA อยู่แล้ว
RCW 43.21C.230 RCW 43.21C.0384 RCW 43.21C.038 RCW 43.21C.270 RCW 43.21C.260 RCW 43.21C.400 RCW 43.21C.0383 RCW 43.21C.035 RCW 43.21C.0382
7.2.2) การกาหนดหน่วยงานหลัก การกาหนดหน่วยงานหลัก (lead agency) ในการปฏิบัตติ ามบทบัญญัติของกฎหมาย SEPA เป็นหนึ่งในขั้นตอน แรกๆ เมื่อหน่วยงานใดๆ ได้รับแผนโครงการจากเจ้าของโครงการ หน้าที่และความสาคัญของหน่วยงานหลัก ได้แก่ 4. เป็นผู้รับผิดชอบการดาเนินงานประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากโครงการภายใต้กระบวนการและ ข้อกาหนดของ SEPA 5. เป็นผู้รับผิดชอบการจัดการรวบรวมและประเมินข้อมูลทางสิ่งแวดล้อมทุกด้านของโครงการให้กับหน่วยงาน ต่างๆ ที่มีอานาจทางกฎหมายในการตัดสิน (agencies with jurisdiction) 6. เป็นหน่วยงานเดียวทีร่ ับผิดชอบในการตัดสินสถานะผลกระทบของโครงการ (threshold determination) และจัดทารายงานสถานะผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (EIS) (ในกรณีทตี่ อ้ งมีการจัดทา) ทันทีที่หน่วยงานรัฐหน่วยใดได้รับแผนโครงการ หน่วยนั้นจะรับผิดชอบในการกาหนดหน่วยงานหลักขึน้ มา โดย ขั้นตอนการกาหนดสามารถสรุปออกมาได้ดังนี้ ก.) โครงการใดก็ตามที่มีการระบุชอื่ หน่วยงานหลักที่ต้องรับผิดชอบในการระบุรายชื่อหน่วยงานหลักต่อกิจกรรมนั้น ในกฎหมาย WAC 197-11-938 หน่วยงานนั้นคือหน่วยงานหลักของโครงการ ข.) กรณีโครงการภาครัฐ หากหน่วยงานรัฐที่นาเสนอโครงการเป็นหน่วยงานรัฐที่ไม่ใช่มลรัฐวอชิงตันเอง (nonfederal government agency within Washington state) ให้หน่วยงานดังกล่าวเป็นหน่วยงานหลักของโครงการ ค.) สาหรับโครงการจากภาคเอกชน โครงการใดที่จาเป็นต้องได้รับอนุญาตจากเทศบาลนครหรือเทศบาลเขต หน่วยงานหลักจะเป็นเทศบาลนครหรือเขตปกครองที่รับผิดชอบในพื้นที่ดาเนินการของโครงการมากที่สุด บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
87
ง.) ในกรณีที่ไม่จาเป็นต้องมีใบอนุญาตจากเทศบาลนครหรือเขตปกครอง หน่วยงานในพื้นที่ที่มีอานาจทางกฎหมาย ในการตัดสินจะเป็นหน่วยงานหลัก จ.) หากไม่มหี น่วยงานในพื้นที่ที่มีอานาจทางกฎหมาย หน่วยงานระดับรัฐใดก็ได้ที่มีใบอนุญาตในการดาเนินเรื่องเป็น หน่วยงานหลัก (ขึ้นอยู่กับลาดับความสาคัญที่ระบุในกฎหมาย WAC 197-11-936) อย่างไรก็ตาม หน่วยงานหลักสามารถโอนตาแหน่ง (transfer) ให้กับหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ได้ หรือแม้แต่จะร่วมมือ กับหน่วยงานอื่นในการเป็นหน่วยงานหลักร่วมกันก็ได้ (co-lead agencies) ผ่านข้อตกลงของหน่วยงานหลัก (Lead Agency Agreement) ในกรณีที่หน่วยงานภาครัฐที่ได้รับเสนอให้เป็นหน่วยงานหลักปฏิเสธ ทาให้ไม่สามารถหาหน่วยงานหลักได้ ทาง หน่วยงานที่รับผิดชอบจะต้องทาเรื่องร้องเรียนต่อกระทรวงระบบนิเวศ (Department of Ecology) ให้กาหนดหน่วยงานหลัก ให้ทันที
7.2.3 การประเมินโครงการเบื้องต้น เมื่อโครงการถูกตัดสินว่าต้องได้รับการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมตามกฎหมาย SEPA ขั้นตอนแรกของการตรวจสอบ คือ การประเมินโครงการ โดยหน่วยงานหลักจะทาการประเมินตามรายการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อม (environmental checklist) ซึ่งเป็นแบบฟอร์มมาตรฐานในการตรวจสอบโครงการ โดยหน่วยงานหลักจะทาการกรอกเอง หรือให้เจ้าของ โครงการ กรอกเองก็ได้ (แต่หน่วยงานหลักจะเป็นคนตรวจสอบและอ่านข้อมูลในภายหลังอยู่ดี) โดยในรายงานตรวจสอบ ดังกล่าวจะมีชดุ ข้อมูลหรือคาถามที่ช่วยให้หน่วยงานหลักตั้งคาถามเกี่ยวกับข้อมูลรายละเอียดของโครงการ เช่น สถานที่ตั้ง กิจกรรมที่อาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในแต่ละด้าน (ดิน น้า การใช้พื้นที่) เป็นต้น และยังช่วยให้หน่วยงานหลักเข้าถึงข้อมูล เกี่ยวกับโครงการได้อย่างสะดวกอีกด้วย เเทนที่จะต้องติดตามข้อมูลเอกสารจากหลายแหล่งๆ ด้วยตนเอง ทั้งนี้แบบรายการ ตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมนั้นถูกระบุไว้อยู่ในกฎหมาย SEPA ในหมวด WAC 197-11-960 ในกรณีที่หน่วยงานหลักมีความเห็นว่าข้อมูลที่ได้จากรายการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมนั้นไม่เพียงพอในการทา threshold determination หน่วยงานสามารถเลือกกระทาการดังต่อไปนี้ได้เพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติม (ทาได้มากกว่าหนึ่ง ตัวเลือก) ขอให้ผู้เสนอโครงการส่งข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับรายการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อม ทาการศึกษาวิจัยเอง ด้วยการลงพืน้ ที่โครงการเพื่อสืบสวน ปรึกษาขอความคิดเห็นจากหน่วยงานผู้เชี่ยวชาญ (agency with expertise) เกี่ยวกับโครงการและผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการ การขอคาปรึกษา ขอความคิดเห็นจากหน่วยงานผู้เชี่ยวชาญสามารถกระทาได้โดยการจัดประชุมกับหน่วยงาน ดังกล่าว หรือทาการส่งเอกสาร (เช่น รายการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อม และเอกสารข้อมูลทางสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เป็นต้น) หมุนเวียนให้กบั หน่วยงานผู้เชี่ยวชาญต่างๆ เพื่อขอความคิดเห็น เพือ่ นามาใช้สนับสนุนในการตั้งคาถามประเมินโครงการใน หลายประเด็น เช่น โครงการจาเป็นต้องมีการขออนุญาตอะไรเพิ่มเติมหรือไม่ ควรต้องมีมาตรการบรรเทาเพิ่มเติมหรือไม่ และ จาเป็นหรือไม่ที่จะต้องมีการจัดทารายงานสถานะทางสิ่งแวดล้อม เป็นต้น บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
88
7.2.4 การตัดสินว่าโครงการอาจก่อผลกระทบทีร่ ุนแรงหรือไม่ เมื่อหน่วยงานหลักเห็นว่าได้รับข้อมูลเพียงพอแล้ว ทางหน่วยงานจะต้องทาการตัดสินว่าโครงการดังกล่าวมีความ เสี่ยงที่จะสร้างผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมอย่างมีนยั สาคัญหรือไม่ โดยนิยามของคาว่านัยสาคัญในที่นี้หมายถึง ความเป็นไปได้ อย่างสมเหตุสมผลที่อาจจะเกิดผลกระทบด้านลบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับปานกลาง ซึ่งจริงๆ แล้วไม่สามารถตัดสิน ออกมาเป็นจานวนหรือปริมาณได้ ดังนั้นการตัดสินว่าเกิดผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญหรือไม่นั้น จาเป็นต้องพิจารณาจาก ลักษณะทางกายภาพ ไม่วา่ จะเป็น ความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้น ระดับความรุนแรงของผลกระทบ และระยะเวลาความยาวนาน ที่ผลกระทบอาจจะเกิดขึ้น ทั้งนี้ โครงการอาจสร้างผลกระทบที่มีนัยสาคัญมากกว่าหนึ่งชนิด อย่างไรก็ตาม ผลกระทบทีม่ ี นัยสาคัญเพียงประเภทเดียวก็เพียงพอที่จะให้หน่วยงานหลักตัดสินว่าเป็นโครงการที่อาจสร้างผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ และ บังคับให้มีการจัดทารายงานสถานะสิ่งแวดล้อม (environmental impact statement) ได้แล้ว
สรุปประเด็นที่เจ้าหน้าทีร่ ับผิดชอบของหน่วยงานหลัก (responsible official) ต้องพิจารณาเวลาทาการตัดสิน สถานะผลกระทบของโครงการ (threshold determination) จาก SEPA handbook (2003) การทาเรื่องขอรับการอนุมัติโครงการและรายงานการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมมีความครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว หรือไม่ มีข้อมูลการศึกษาเพิ่มเติมใดๆ ที่จะสามารถช่วยในการประเมิน proposal ได้อีกหรือไม่ (ยกตัวอย่างเช่น รายงานสถานะสิ่งแวดล้อมในช่วงการทาแผนสรุป หรือ จากโครงการหรือพื้นที่ที่มีลักษณะคล้ายกัน เป็นต้น) มีการศึกษาตามกฎหมายหรือข้อบังคับอื่นๆ นอกจาก SEPA ที่เกี่ยวข้องอีกหรือไม่ อาทิ กฎหมายผังเมือง กฎเกณฑ์ระดับท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาทางโบราณคดี การขนส่ง หรือ พื้นที่ชุ่มน้า มีความจาเป็นที่ต้องทาการปรึกษาขอความคิดเห็นกับชุมชนพื้นเมือง หน่วยงานต่างๆ และ/หรือสาธารณะ หรือไม่ และควรขอความคิดเห็นด้วยวิธีใด โครงการมีความสอดคล้องกับกฎระเบียบของพื้นที่บริเวณโครงการ และ กฎหมายของรัฐและสหพันธรัฐ (state or federal regulations) หรือไม่ จาเป็นต้องมีกาหนดการบรรเทาหรือเงื่อนไขโดยกฎหมายในพื้นที่ รัฐ หรือ สหพันธรัฐ หรือไม่ มีผลกระทบด้านลบทางสิ่งแวดล้อมด้านใดบ้างที่อาจจะเกิดขึ้นจากข้อเสนอโครงการ มีการรับฟังและตอบสนอง ต่อคาเรียกร้องหรือข้อกังวลจากชุมชนพื้นเมือง หน่วยงานต่างๆ และสาธารณะ อย่างเหมาะสมแล้วหรือไม่ ทางฝ่ายผู้นาเสนอ proposal (applicant) มีความยินยอมที่จะปรับเปลี่ยน proposal เพื่อกาจัดหรือลดความ เป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบดังกล่าวหรือไม่ มีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมด้านใดอีกหรือไม่ที่ยังไม่ได้รับการพิจารณาและบรรเทาจนอยู่ในระดับทีไ่ ม่มี นัยสาคัญ มีมาตรการบรรเทาอื่นใดหรือไม่ที่กฎหมาย SEPA กาหนดให้ทาในกรณีนี้
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
89
ผลลัพธ์ของการลงมติตัดสินสถานะผลกระทบมี 2 รูปแแบบ ได้แก่
ผลลัพธ์ ก.) ลงมติว่าข้อเสนอโครงการไม่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสาคัญ (determination of nonsignificance หรือ DNS) ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบมีมติว่า โครงการไม่น่าจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในทางลบอย่างมี นัยสาคัญ หรือ เห็นว่ามีมาตรการบรรเทาทีส่ ามารถลดผลกระทบของโครงการให้อยู่ในระดับที่ไม่มีนยั สาคัญได้ จึงไม่ จาเป็นต้องมีการขอรับฟังความคิดเห็นจากสาธารณะหรือหน่วยงานอื่นๆ โครงการที่จะเข้าข่ายดังกล่าวต้องมีลักษณะหรือสถานะดังต่อไปนี้ มีหน่วยงานรัฐหน่วยอื่นที่มีอานาจตัดสินใจ (ออกใบอนุญาต หรือให้ความเห็นชอบต่อโครงการ) โครงการดังกล่าวเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการทาลายสิ่งก่อสร้างใดๆ (ยกเว้นที่ได้รับการยกเว้นใน WAC 197-11800(2)(f) หรือ 197-11-880) กิจกรรมในโครงการกาหนดให้ต้องมีใบอนุญาตในการเคลียร์พื้นที่และปรับแต่งพื้นที่ ข้อเสนอโครงการได้รับการแก้ไข หรือ มีการเพิม่ มาตรการในการบรรเทาผลกระทบภายใต้ WAC 197-11-350 ซึ่งช่วยลดผลกระทบทีม่ ีนัยสาคัญลงมาอยู่ในระดับที่ไม่มีนัยสาคัญ (mitigated DNS) เมื่อข้อเสนอโครงการได้รบั การแก้ไขมติให้เป็น DNS แทนคาตัดสินว่าโครงการนั้นส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อย่างมีนัยสาคัญ (determination of significance: DS) ข้อเสนอโครงการนั้นนับเป็นกิจกรรมภายใต้กฎหมายการจัดการการเติบโต (Growth Management Act: GMA) หากโครงการใดมีลักษณะหรือสถานะเข้าข่ายข้างต้น โครงการนั้นๆ จะต้องมีการเปิดรับฟังความคิดเห็นเป็น ระยะเวลา 14 วัน หลังวันออกคาตัดสิน DNS โดยจะต้องมีการประกาศต่อสาธารณะ ส่งเวียนเอกสารการลงมติ DNS และ รายการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อม (environmental checklist) ให้กับหน่วยงานต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. 2. 3. 4.
กระทรวงระบบนิเวศ (The Department of Ecology) หน่วยงานราชการทุกหน่วยที่มีอานาจหน้าที่เกี่ยวโยง ชนเผ่าพื้นเมืองที่ได้รับผลกระทบ หน่วยงานท้องถิ่นหรือสานักงานย่อยภายในหน่วยงาน ซึ่งดูแลบริการสาธารณะที่จะได้รับผลกระทบจาก ข้อเสนอโครงการ
จากนั้นหน่วยงานข้างต้นจะแสดงความคิดเห็นต่อหน่วยงานหลัก เกีย่ วกับโครงการและคาตัดสินระดับผลกระทบของ โครงการภายในเวลา 14 วัน เมื่อได้รับความคิดเห็นมาแล้ว เจ้าหน้าที่จะต้องพิจารณาว่าจะทาการแก้ไขหรือเพิกถอนสถานะ DNS ออกจากข้อเสนอโครงการหรือไม่ หากไม่มีการเปลี่ยนแปลงสถานะ หน่วยงานหลักจะทาการส่งเรื่องต่อให้กับหน่วยงาน ภาครัฐที่มีอานาจพิจารณา เพื่อทาการตัดสินอนุมัตหิ รือปฏิเสธโครงการ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
90
ในขั้นตอนต่อไป กฎหมาย SEPA กาหนดให้ใช้กระบวนการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันระหว่างโครงการ ภาคเอกชน กับโครงการภาครัฐ โดยที่โครงการของเอกชนจะผ่านกระบวนการที่มคี วามกระชับชัดเจน (steamlined) มากกว่า โครงการของรัฐ ดังแสดงในแผนภาพ 14 และแผนภาพ 15
แผนภาพ 14 กระบวนการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมของกฎหมาย SEPA กรณีโครงการภาครัฐที่ถูกตัดสินว่าไม่มีผลกระทบอย่างมี นัยสาคัญ (DNS)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
91
แผนภาพ 15 กระบวนการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมของกฎหมาย SEPA กรณีโครงการภาคเอกชนถูกตัดสินว่าไม่มีผลกระทบอย่างมี นัยสาคัญ (DNS)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
92
ผลลัพธ์ ข.) ลงมติว่าโครงการอาจสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสาคัญ (determination of significance หรือ DS) ในทางกลับกัน กรณีที่เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบลงมติวา่ โครงการอาจสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อย่างมีนัยสาคัญ โครงการนั้นจะต้องได้รับการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมในขั้นต่อไป ด้วยการจัดทารายงานสถานะผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อม (environmental impact statement: EIS) ส่วนสิ่งแรกที่เจ้าหน้าทีต่ ้องทาคือ ประกาศคาตัดสินระดับ ผลกระทบของโครงการว่ามีนัยสาคัญ รวมถึงแจ้งกาหนดขอบเขตรายงาน EIS ต่อสาธารณะ หน่วยงานที่มีอานาจทางกฎหมาย ต่างๆ และ กระทรวงระบบนิเวศ ได้รับรู้ แผนภาพ 16 กระบวนการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมของกฎหมาย SEPA กรณีโครงการภาครัฐถูกตัดสินว่ามีผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญ (DS) นัยสาคัญ (DS)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
93
แผนภาพ 17 กระบวนการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมของกฎหมาย SEPA กรณีโครงการภาคเอกชนถูกตัดสินว่ามีผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ (DS)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
94
7.2.5 การจัดทารายงานสถานะผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม รายงานสถานะผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม หรือ EIS เป็นเครื่องมือทีช่ ่วยระบุและวิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ในด้านลบ ทางเลือกอื่นในการดาเนินงานที่ส่งผลกระทบน้อยกว่า และมาตรการบรรเทาผลกระทบที่เป็นไปได้ ผลจากการทบทวนวรรณกรรมปริทัศน์สรุปว่า การทารายงาน EIS มีประโยชน์หลายประการ ดังนี้ 1. สร้างโอกาสให้ประชาชน หน่วยงานต่างๆ และชุมชนพื้นเมือง (อาทิ ชาวอินเดียนแดงพื้นถิ่นในมลรัฐ วอชิงตัน) มีส่วนร่วมพัฒนาและวิเคราะห์ข้อมูลโครงการที่อาจก่อผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ 2. ปรับปรุงโครงการจากมุมมองด้านสิ่งแวดล้อมมากขึ้น 3. ช่วยให้หน่วยงานที่มีอานาจในการอนุมัติโครงการได้รับข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมมากขึ้น 4. ช่วยให้หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องได้รับข้อมูลที่สาคัญมากขึ้น รายงาน EIS แบ่งออกเป็นสองประเภทด้วยกัน ได้แก่ รายงาน EIS สาหรับโครงการที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง และ รายงาน EIS สาหรับโครงการที่เกีย่ วข้องกับแผนงาน กฎหมายต่างๆ โดยรายงาน EIS สาหรับโครงการก่อสร้างจะถูกจัดทา สาหรับโครงการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางปัจจัยกายภาพของสิ่งแวดล้อม ในทางตรงกันข้าม รายงาน EIS สาหรับโครงการด้านกฎหมายหรือนโยบาย จะถูกจัดทาสาหรับใช้เป็นพื้นฐานในการ กาหนด ตัดสิน หรือประเมินโครงการต่างๆ ในอนาคต ดังนั้นรายงานประเภทนี้จึงจัดทาสาหรับการลงมติอนุมัติแผนงาน นโยบาย หรือ กฏข้อบังคับที่เกีย่ วข้องกับมาตรฐานในการควบคุม และการใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อม เป็นต้น กระบวนการจัดทารายงานสถานะผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม (EIS) ตาม SEPA สรุปได้ดังแผนภาพ 18
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
95
แผนภาพที่ 5:แผนภาพ กระบวนการจั ดทารายงานสถานะผลกระทบทางสิ ่งแวดล้อม (EIS) ตามอมSEPA 18 กระบวนการจั ดทารายงานสถานะผลกระทบทางสิ ่งแวดล้ (EIS) ตาม SEPA
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
96
กระบวนการจัดทารายงาน EIS สามารถแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ 1. 2. 3. 4.
การกาหนดขอบเขตการศึกษา หรือ การประเมินผลกระทบ การจัดทารายงาน EIS การออกร่างรายงาน EIS การออกรายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์
1. การกาหนดขอบเขตการศึกษา การกาหนดขอบเขตการศึกษาเป็นขั้นตอนแรกในกระบวนการจัดทารายงาน EIS เป้าหมายคือเพื่อลดกรอบ การศึกษาให้เฉพาะเจาะจงเพียงแค่ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่มีนัยยะสาคัญ และวิเคราะห์หาวิธีการดาเนินงานอื่นๆ ที่สร้าง ผลกระทบน้อยลง นอกจากนี้การกาหนดขอบเขตยังเปิดโอกาสให้ฝา่ ยสาธารณชนและหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ รับรู้ว่ารายงาน EIS กาลังได้รับการจัดทา เพื่อเชื้อเชิญให้มีส่วนร่วมในกระบวนการแสดงความคิดเห็น จากที่ได้กล่าวไปก่อนหน้า เมื่อเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานหลัก (responsible official) ตัดสินว่า จาเป็นต้องมีการ จัดทารายงาน EIS เจ้าหน้าที่จะต้องทาเรื่องแจ้งต่อสาธารณะและผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งได้แก่ ชุมชนที่ได้รับผลกระทบ หน่วยงาน ที่มีอานาจทางกฎหมาย และ กระทรวงระบบนิเวศ เพื่อแจ้งเรื่องการกาหนดขอบเขตศึกษาของรายงาน (scoping notice) ทันที โดยจะต้องมีการให้ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ พร้อมทั้งข้อมูลพื้นที่ที่จะทาการศึกษาในร่างรายงาน EIS ด้วย จากนั้นหน่วยงานหลักจะต้องเปิดโอกาสให้กลุ่มดังกล่าวได้มสี ่วนร่วมในการกาหนดขอบเขตผ่านการเขียนแสดงความคิดเห็น (commenting) ต่อหน่วยงานหลัก ซึ่งสามารถกระทาได้ภายในระยะเวลา 21 วัน หลังมีการทาเรื่องประกาศแจ้งระดับ ผลกระทบของโครงการและการกาหนดขอบเขตการศึกษารายงาน ในกรณีที่หน่วยงานหลักต้องการความเห็นจากผู้มสี ่วน เกี่ยวข้องและสาธารณะมากกว่าการเขียนแสดงความคิดเห็น หน่วยงานหลักสามารถทาเรื่องขยายระยะเวลาการแสดงความ คิดเห็นออกไปเป็น 30 วัน (หลังมีการทาเรื่อง) โดยการขยายระยะเวลาจะช่วยให้หน่วยงานหลักสามารถขอความคิดเห็นอื่นๆ ที่ละเอียดได้มากขึ้น โดยอาจจะขอความเห็นในรูปของการจัดประชุม การปรึกษากับหน่วยงานผู้เชี่ยวชาญ หรือหน่วยงานที่มี อานาจทางกฎหมาย การแจกแบบสอบถามหรือข้อมูลเพิ่มเติม เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การขยายเวลาขึน้ อยู่กับการตัดสินใจของ หน่วยงานหลักเอง รวมทั้งการตัดสินใจที่ว่าจะตอบความคิดเห็นต่างๆ ที่ได้รับจากทุกฝ่ายต่อสาธารณะ หรือใส่ลงในรายงาน หรือไม่ นอกจากนี้ เมื่อรายละเอียดของข้อเสนอโครงการมีการเปลีย่ นแปลงหรือมีข้อมูลใหม่เข้ามา หากหน่วยงานหลัก ต้องการเปลีย่ นแปลงขอบเขตการศึกษารายงาน อาจไม่จาเป็นต้องทาเรื่องแจ้งการกาหนดขอบเขตต่อสาธารณะก็ได้ การถอดถอนคาตัดสินว่า โครงการมีผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ (determination of significance) ของหน่วยงาน หลัก จะกระทาได้ก็ต่อเมื่อ ก) เจ้าของโครงการทาการยื่นถอนโครงการเอง และ ข) มีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมในโครงการ และ หน่วยงานหลักตัดสินว่าโครงการดังกล่าวไม่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีนยั สาคัญ (determination of nonsignificance) ทั้งนี้ หน่วยงานหลักจะต้องทาการส่งเวียนเอกสารแจ้งการถอดถอนคาตัดสินให้กับกระทรวงระบบนิเวศ และ หน่วยงานใดๆ ที่มีอานาจในการตัดสินทางกฎหมาย อย่างไรก็ตาม เมื่อโครงการถูกเปลีย่ นสถานะ จาก “มีผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ” เป็น “ไม่มีนยั สาคัญ” แล้ว หน่วยงานหลักจะต้องทาเรื่องขอรับความคิดเห็นจากสาธารณะและหน่วยงานต่างๆ พร้อมกับเผยแพร่เอกสารชี้แจงคาตัดสิน บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
97
ใหม่กับรายการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมใหม่ (environmental checklist) ต่อกระทรวงระบบนิเวศ หน่วยงานที่มีอานาจ ตัดสินทางกฎหมาย ชุมชนที่ได้รับผลกระทบ และบุคคลใดก็ตามทีไ่ ด้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการในตอนยังถูกตัดสินว่า ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ
2. การจัดทารายงาน EIS ผู้จัดทารายงาน EIS ตามกฎหมายมลรัฐวอชิงตันคือเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานหลัก (responsible official) มิใช่ผู้เสนอ โครงการ เป้าหมายในการจัดทารายงาน EIS คือ เพื่อทบทวนและให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบของสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสาคัญ ของโครงการ พร้อมกับการแสดงทางเลือกอื่นๆ (alternatives) (รวมถึงทางเลือกว่าจะไม่ทาโครงการหรือกิจกรรมใดๆ ในพื้นที่ ด้วย) เพื่อเปรียบเทียบผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นในทางเลือกต่างๆ กับกิจกรรมของโครงการที่กาหนดในรายงาน และแสดงมาตรการการบรรเทาหรือหลีกเลี่ยงการสร้างผลกระทบรุนแรงของโครงการ โดยหน่วยงานเจ้าหน้าที่ที่มีอานาจตัดสิน จะใช้ข้อมูลในรายงาน EIS ควบคูก่ ับข้อมูลกฎหมายข้อบังคับในหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ที่เกีย่ วข้องกับโครงการ และเพื่อทาการ ตัดสินว่าจะอนุมัติข้อเสนอโครงการรือไม่ ดังนั้น เนื้อหาของรายงาน EIS จะต้องประกอบด้วยรายการข้อเท็จจริง (factsheet) ของรายงานและโครงการ รายละเอียดเกี่ยวกับข้อเสนอโครงการ (รวมถึงเป้าหมายและวัตถุประสงค์) ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทางเลือกอื่นๆ มาตรการ ในการบรรเทาผลกระทบ และ ผลกระทบรุนแรงที่ไม่สามารถทาการบรรเทาได้ เมื่อทาการกาหนดขอบเขตการประเมินได้แล้ว หน่วยงานหลักจะเริม่ จัดทารายงาน EIS ฉบับแรกซึ่งเรียกว่าร่าง รายงาน EIS
3. การออกร่างรายงาน EIS เมื่อหน่วยงานหลักทาเรื่องประกาศออกร่างรายงาน EIS หน่วยงานดังกล่าวจะต้องเวียนส่งร่างรายงานให้กับ หน่วยงานและกลุ่มต่างๆ ดังนี้
กระทรวงระบบนิเวศ หน่วยงานระดับมลรัฐที่มีอานาจต่อโครงการ หน่วยงานที่มีอานาจทางกฎหมายในการตัดสินหรือมีความเชี่ยวชาญในด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการนัน้ เทศบาลนครหรือเขตที่ได้รับการระบุในรายงานว่าได้รับผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ หน่วยงานในพื้นที่ หรือสานักงานย่อยที่อาจได้รับผลกระทบจากโครงการต่อหน้าที่การบริการสาธารณะ ชุมชนที่อาจได้รับผลกระทบ หน่วยงานรัฐระดับท้องถิ่นหรือภูมภิ าคที่ถูกกาหนดโดยกฎหมายระดับชาติให้มีหน้าที่ทบทวนการทางาน ของหน่วยงานรัฐด้วยกัน และประสานงานการทากิจกรรมกับการวางแผนระดับมลรัฐหรือท้องถิ่น บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
98
บุคคลใดก็ตามที่ต้องการขอสาเนารายงานจากหน่วยงานหลัก หลักจากที่มีการประกาศและเผยแพร่ร่างรายงานแล้ว บุคคลหรือหน่วยงานใดก็ตามจะมีเวลา 30 วัน ในการทบทวน ร่างรายงานและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างรายงาน (สามารถทาการเรียกร้องให้หน่วยงานหลักยืดระยะเวลาดังกล่าวเพิ่ม อีก 15 วันได้)
7.3 การมีส่วนร่วมของประชาชน หน่วยงานหลักจะต้องจัดทาประชาพิจารณ์ หากได้รับจดหมายร้องขอการทาประชาพิจารณ์มากกว่า 50 คนจาก หน่วยงานผู้มีอานาจในการตัดสินทางกฎหมาย และกลุ่มคนที่ได้รับผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญจากข้อเสนอโครงการ ภายใน ช่วงเวลา 30 วันหลังมีการออกร่างรายงาน โดยประชาพิจารณ์จะต้องจัดขึ้นในช่วงเวลาระหว่าง 15 หรือ 50 วัน หลังจากที่มี การออกร่างรายงาน โดยจะต้องแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 10 วัน ก่อนวันทาประชาพิจารณ์
4. การออกรายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์ เมื่อหน่วยงานหลักได้รับความคิดเห็นจากฝ่ายต่างๆ แล้ว หน่วยงานจะต้องทาการพิจารณาและตอบรับความคิดเห็น เหล่านั้นลงในรายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์ โดยคาตอบที่ให้จะต้องมีความเฉพาะเจาะจงและให้ข้อมูลมากเท่าที่จะทาได้ ทั้งนี้ หน่วยงานสามารถเลือกที่จะตอบรับความคิดเห็นรายข้อ หรือเลือกตอบเป็นหมวดหมู่ความคิดเห็นก็ได้ หลังจากช่วงเวลารับฟังความคิดเห็นต่อร่างรายงานจบลง หน่วยงานหลักจะต้องออกรายงานฉบับสมบูรณ์ภายใน 60 วัน ยกเว้นกรณีทขี่ ้อเสนอโครงการมีขอบเขตการรายงานมากกว่าปกติ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมีความซับซ้อนกว่าปกติ หรือ รายงานจาเป็นต้องมีการปรับแก้ไขมาก เมื่อการจัดทารายงานฉบับสมบูรณ์เสร็จสิ้นแล้ว หน่วยงานจะต้องออกรายงานฉบับสมบูรณ์ โดยจะต้องส่งรายงาน ดังกล่าวให้กับกลุ่มต่างๆดังนี้ กระทรวงระบบนิเวศ หน่วยงานที่มีอานาจการตัดสินทางกฎหมายต่อข้อเสนอโครงการ ทุกหน่วยงาน หน่วยงานใดๆ ที่แสดงความคิดเห็นต่อร่างรายงาน บุคคลใดๆ ที่ทาการขออ่านสาเนารายงาน (หน่วยงานหลักสามารถคิดค่าสาเนาได้) เมื่อหน่วยงานต่างๆ ที่มีอานาจในการตัดสินเกี่ยวกับข้อเสนอโครงการ ได้รับรายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์ หน่วยงาน ดังกล่าวจะมีเวลาในการพิจารณารายงานอย่างน้อย 7 วัน ก่อนจะสามารถทาการตัดสิน หรือลงมือปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งต่อ โครงการได้ อย่างไรก็ตาม รายงาน EIS ไม่ใช่ปัจจัยตัดสินว่า โครงการดังกล่าวต้องได้รบั การอนุมตั ิจากหน่วยงานใดๆ หรือไม่ หากแต่เป็นเครื่องมือสาหรับหน่วยงานที่มีอานาจใช้ในการพิจารณาในการตัดสินเท่านั้น
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
99
7.2.6 การอนุมัตโิ ครงการ หนึ่งในหัวใจของการจัดทาการตรวจสอบทางสิ่งแวดล้อมผ่านกระบวนการของ State Environmental Policy Act (SEPA) ก็คือ การให้อานาจอิสระ (substantive authority) ต่อหน่วยงานรัฐ (government) ในทุกระดับในการกาหนด เงื่อนไขหรือปฏิเสธโครงการ ภายหลังจากการพิจารณาผลการประเมินทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งหน่วยงานใดๆ ที่มีอานาจดังกล่าวจะ ถือว่าเป็นหน่วยงานที่มีอานาจตัดสินทางกฎหมาย (agency with jurisdiction) แต่การที่หน่วยงานจะใช้อานาจทางกฎหมาย SEPA ได้นั้น จะต้องมีการกาหนดนโยบาย SEPA ของหน่วยงาน (agency SEPA policy) ก่อน เพื่อที่จะใช้เป็นรากฐานในการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการนั้น หน่วยงานจะต้องทาการกาหนด นโยบายดังกล่าวภายในระยะเวลาไม่เกิน 180 วัน หลังจากที่กฎหมายว่าด้วยเรื่องของการกาหนดนโยบาย SEPA ของ หน่วยงาน (WAC 197-11-902) มีผลบังคับใช้ หรือหลังจากทีม่ ีการก่อตั้งหน่วยงานดังกล่าว ทั้งนี้ทั้งนั้นหน่วยงานสามารถแก้ไข หรือเพิ่มเติมเนื้อหานโยบาย SEPA เมื่อไรก็ได้ อย่างไรก็ตาม นโยบายของหน่วยงานจะต้องมีความสอดคล้องกับกฎหมายที่ว่า ด้วยเรื่องของอานาจอิสระในการตัดสิน (substantive authority) ใน WAC 197-11-660 และเงื่อนไขในการอนุมัติหรือ ปฏิเสธ governmental action ใน RCW 43.21C.060 นอกจากนี้กฎหมาย SEPA (WAC 197-11-904) ยังกาหนดให้หน่วยงานที่มีอานาจในการตัดสินต้องกาหนดกฏเกณฑ์ ในการนากฎหมาย SEPA ไปใช้ปฏิบัติในขั้นตอนการทางาน (agency SEPA procedures) ด้วยเช่นกัน ซึ่งจะต้องมีการ กาหนดภายในระยะเวลาไม่เกิน 180 วันหลังจากกฎหมายที่ว่าด้วยเรื่องของกฏเกณฑ์ดังกล่าวมีผลบังคับใช้ หรือ หลังจากที่มี การก่อตั้งหน่วยงานนั้นๆ เช่นเดียวกันกับการกาหนดนโยบาย SEPA หน่วยงานสามารถทาการแก้ไขหรือเพิ่มเติมเนื้อหาเมื่อไร ก็ได้ แต่จะมีความสอดคล้องกับข้อกาหนดที่ว่าด้วยเรื่องของเนื้อหาของกระบวนการและกฏเกณฑ์ในการนากฎหมาย SEPA ไป ใช้ปฏิบัติ (WAC 197-11-906 และ Administrative Procedure Act) โดยก่อนที่จะมีการกาหนดกฏเกณฑ์ดังกล่าว ทาง หน่วยงานจะต้องทาการประกาศชีแ้ จงให้ทางสาธารณะทราบและเปิดโอกาสให้มีการแสดงความคิดเห็น เมื่อมีการกาหนด นโยบายและกฏเกณฑ์ดังกล่าวเสร็จสิ้นแล้ว หน่วยงานจะต้องเผยแพร่ต่อสาธารณะ เพื่อให้เจ้าของโครงการและประชาชนที่ให้ ความสนใจสามารถตรวจสอบดูวิธกี ารตัดสินของหน่วยงานได้ ดังนั้น เมื่อใดที่หน่วยงานต้องการใช้อานาจอิสระในการตัดสิน หน่วยงานดังกล่าวจะต้องกระทาการดังต่อไปนี้ 1. อ้างอิงนโยบาย SEPA ของหน่วยงานเป็นพื้นฐานในการตัดสินข้อเสนอโครงการ 2. บันทึกคาตัดสินเป็นลายลักษณ์อักษร 3. เผยแพร่เอกสารบันทึกคาตัดสินต่อสาธารณะ พร้อมกับข้อมูลเกี่ยวกับมาตรการบรรเทาผลกระทบทีต่ ้องปฏิบัติ กรณีที่หน่วยงานดังกล่าวจะปฏิเสธข้อเสนอโครงการใดก็ตาม หน่วยงานจะต้องพิจารณาแล้วว่าข้อเสนอโครงการนั้น อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีนยั สาคัญตามที่ระบุในรายงาน EIS ฉบับสมบูรณ์ และมาตรการในการ บรรเทาผลกระทบดังกล่าวที่เตรียมไว้ในรายงานนั้นไม่เพียงพอ
7.4 ความรับผิดชอบหลังจากที่ได้รับอนุญาต มาตรการตรวจสอบการดาเนินงานหลังจากที่มีการอนุมัติข้อเสนอโครงการนั้นสามารถทาได้หลายช่องทาง เช่น การ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
100
ตรวจสอบอาจถูกกาหนดอยู่ในมาตรการบรรเทาผลกระทบของกฎหมายระดับชุมชน รัฐ หรือท้องถิ่นอยู่แล้ว หรือถูกกาหนด จากการใช้อานาจอิสระในการตัดสินตามกฎหมาย SEPA ก็ได้ นอกจากนี้ ผู้เสนอโครงการก็สามารถกาหนดเองได้ด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม คณะวิจัยไม่พบเนื้อหาใดๆ เกี่ยวกับข้อบังคับหรือข้อกาหนดขั้นตอนการตรวจสอบในกฎหมาย SEPA เลย สันนิษฐานว่าเนื่องจากเป็นเพราะหน่วยงานรัฐเป็นผู้จัดทารายงาน EIS ด้วยตนเอง มิใช่ผู้เสนอโครงการอย่างในกรณีของ ประเทศอื่น ด้านการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อน กฎหมาย SEPA ได้กาหนดให้ผู้รับผิดชอบในการประเมินรายงานเป็นหน่วยงาน ที่มาจากกลุ่มที่กาหนดไว้ในกฎหมาย หรือมาจากการแต่งตั้งของหน่วยงานภาครัฐที่รับเรื่องจากเจ้าของโครงการ (ไม่ได้มาจาก การคัดเลือกหรือความรับผิดชอบของเจ้าของโครงการเอง) ซึ่งหน่วยงานนั้นจะถูกเรียกว่า หน่วยงานหลัก โดยส่วนใหญ่แล้ว ฝ่ายเทศบาลนครหรือเทศบาลเขตจะเป็นหน่วยงานหลักให้กับโครงการเอกชน ในทางกลับกัน หน่วยงานภาครัฐ (ไม่ว่าจะระดับ ใดก็ตาม) ที่เป็นผู้นาเสนอโครงการภาครัฐจะเป็นหน่วยงานหลักของโครงการนั้น
7.5 มาตรฐานทางวิชาชีพ สาหรับกลไกการสร้างมาตรฐานทางวิชาชีพในการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม มลรัฐวอชิงตันได้จัดทาคู่มือ แนวการปฏิบัตติ ามกฎหมาย SEPA ทั้งสาหรับผู้นาเสนอโครงการ หน่วยงานภาครัฐ และสาหรับหน่วยงานหรือบุคคลใดๆ ที่ ต้องการแสดงความคิดเห็น เพื่อให้การดาเนินงานในการประเมินสิ่งแวดล้อมเป็นไปอย่างถูกวิธี ไม่ว่าบุคคลใดจะเป็น ผู้รับผิดชอบในการประเมินสิ่งแวดล้อม มีอานาจตัดสินต่อโครงการ หรือต้องการแสดงความคิดเห็นก็ตาม
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 7. กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา มลรัฐวอชิงตัน
101
8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย 8.1 ความเป็นมา จากประสบการณ์ใ นอดี ต เป็ น ที่ต ระหนั กรู้ กั นโดยทั่ ว ไปว่ าการพั ฒ นาโครงการต่า งๆย่ อ มท าให้ เ กิด การสู ญเสี ย ทรัพยากร และอาจก่อให้เกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมติดตามมา ส่งผลให้สูญเสียงบประมาณมหาศาลในการแก้ไขปัญหา นัก วางแผนจึงให้ความสาคัญต่อแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยคานึงถึง การพัฒนาควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม โดยมี กลไกการจัดการสิ่งแวดล้อมที่สาคัญประการหนึ่งคือการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่ถูกนามาใช้ทั่วโลกรวมถึงประเทศ ไทย (สวผ., 2548) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517 นับว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่มีการระบุถึงหน้าที่ของรัฐในการ ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ดังที่ระบุไว้ใน มาตรา 77 รัฐพึงบารุงรักษาความสมดุลของสภาพแวดล้อม และความงามทางธรรมชาติ รวมทั้งป่าไม้ ต้นน้าลาธารและน่านน้า มาตรา 78 รัฐพึงส่งเสริมการค้นหาทรัพยากรธรรมชาติ เพื่ อนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในทางเศรษฐกิจแก่ประชาชนชาวไทย โดยไม่ขัดกับหลักการอนุรักษกรรม และมาตรา 93 รัฐพึงบารุงรักษาสิ่งแวดล้อมให้ สะอาด และพึงขจัดสิ่งเป็นพิษซึ่งทาลายสุขภาพและอนามัยของประชาชน โดยเป็นผลสืบเนื่องมาจากความเคลื่อนไหวและ ตื่นตัวของนานาประเทศ ที่เริ่มตระหนักถึงภยันตรายต่อมนุษยชาติอันเกิดจากปัญหาความเสื่อมโทรมของธรรมชาติ (ทวีวงศ์ , 2541) แนวนโยบายของรัฐในการพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามรัฐธรรมนูญนั้นเป็นเพียงพื้นฐานสาหรับฝ่ายบริหารในการ กาหนดนโยบาย ไม่ใช่เป็นการก่อตั้ง “สิทธิในสิ่งแวดล้อม” นอกจากการระบุความสาคัญในการรัก ษาสิ่งแวดล้ อมในรั ฐธรรมนูญแล้ว รัฐ บาลก็ ได้ประกาศพระราชบัญญั ติ สิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2518 ซึ่งถือว่าเป็นกฎหมายสิ่งแวดล้อมฉบับแรกของประเทศไทย ประกอบด้วย 17 มาตรา โดยมีใจความ หลักคือการก่อตั้งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติในฐานะที่ปรึกษาของรัฐบาล ก่อนจะได้รับการเพิ่มเติมในปี พ.ศ. 2521 อีก 11 มาตรา โดยกาหนดหลักการการจัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมสมัยใหม่ เช่น กาหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน คุณภาพน้า มาตรฐานคุณภาพน้าทิ้ง มาตรฐานควันดา และเริ่มนาระบบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment: EIA) มาประยุกต์ใช้ในประเทศไทย โดยมีการระบุโครงการทั้งหมด 10 ประเภทตามประกาศ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและพลังงาน เรื่องกาหนดประเภทและขนาดของโครงการ หรือกิจการที่ต้องมีรายงาน เกี่ยวกับการศึกษาและมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบกระเทือนต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 ได้มีการออกพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ซึ่งมี บทบัญญัติว่าด้วยเรื่องระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมไว้เป็นการเฉพาะในมาตรา 46 ถึงมาตรา 51 เป็นผลให้มีการ ออกประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อกาหนดประเภทและขนาดโครงการซึ่งต้องจัดทารายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซึ่งปัจจุบันมีจานวนทั้งสิ้น 36 ประเภทโครงการ บทบัญญัติดังกล่าวมีการบังคับใช้มานานกว่า 20 ปีโดยมีการแก้ไขเพียงเล็กน้อย ท่ามกลางปัญหาความขัดแย้งด้า น สิ่งแวดล้อมที่นับวันจะยิ่งทวีความรุนแรง โดยเฉพาะกับชุมชน กับหน่วยงานภาครัฐ และบริษัทผู้พัฒนาโครงการ ซึ่งปัญหา ดังกล่าว คณะวิจัยจะลงในรายละเอียดต่อไป
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
102
8.2 กระบวนการทา EIA ปั จ จุ บั น การประเมิ น ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มของประเทศไทยมี ห น่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบหลั ก คื อ ส านั ก งานแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยสผ. ได้ให้นิยาม การ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) ไว้ว่า “เป็นการศึกษาเพื่อคาดการณ์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้งในทางบวก และทางลบจากการพัฒนาโครงการหรือกิจการที่ สาคัญ เพื่อกาหนดมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อมและใช้ในการประกอบการตัดสินใจพัฒนาโครงการกิจการ ผลการศึกษาจัดทาเป็นเอกสารเรียกว่ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม” ตามพระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ มี ป ระกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2555 ระบุประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมรวม 36 ประเภท ประกอบด้วย 1) การทาเหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยเหมืองแร่ 2) การพัฒนาปิโตรเลียม 3) โครงการระบบปิโตรเลียมและการน้ามันเชื้อเพลิงทางท่อ 4) นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่า ด้ว ยการนิ ค มอุ ต สาหกรรม หรื อ โครงการที่ มี ลั ก ษณะเช่ น เดีย วกั บ นิ ค มอุ ต สาหกรรมหรื อ โครงการจั ด สรรที่ ดิ น เพื่ อ การ อุตสาหกรรม 5) อุตสาหกรรมปิโตรเลียมที่มีกระบวนการผลิตทางเคมี 6) อุตสาหกรรมกลั่นน้ามันปิโตรเลียม 7)อุตสาหกรรม แยกหรือแปรสภาพก๊าซธรรมชาติ 8) อุตสาหกรรมคลอ-แอลคาไลน์ 9) อุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์ 10) อุตสาหกรรมผลิตเยื่อ กระดาษ 11) อุตสาหกรรมผลิตสารกาจั ดศัตรูพืชหรือสัตว์โดยใช้กระบวนการทางเคมี 12) อุตสาหกรรมผลิตปุ๋ยเคมีโดย กระบวนการทางเคมี 13) อุตสาหกรรมประกอบกิจการเกี่ยวกับ น้าตาล 14) อุต สาหกรรมเหล็ก หรือเหล็ กกล้า 15) อุตสาหกรรมถลุงหรือแต่งแร่ 16) อุตสาหกรรมผลิตสุรา แอลกอฮอล์ รวมทั้งผลิตเบียร์และไวน์ 17) โรงงานปรับคุณภาพของ เสีย 18) โรงไฟฟ้าพลังความร้อน 19) ระบบทางพิเศษ 20) ทางหลวงหรือถนนที่ตัดผ่านพื้นที่อนุรักษ์ 21) ระบบขนส่งมวลชนที่ ใช้ราง 22) ท่าเทียบเรือ 23) ท่าเทียบเรือสาราญกีฬา 24) การถมที่ดินในทะเล 25) การก่อสร้างหรือขยายสิ่งก่อสร้างบริเวณ หรือในทะเล 26) โครงการระบบขนส่งทางอากาศ 27) อาคาร 28) การจัดสรรที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือเพื่อประกอบการ พาณิชย์ 29) โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล 30) โรงแรมหรือสถานพักตากอากาศ 31) อาคารที่อยู่อาศัยรวม 32)การ ชลประทาน 33) โครงการทุกประเภทในพื้นที่ลุ่มน้าชั้น 1 34) การผันน้าข้ามลุ่ม 35)ประตูระบายน้าในแม่น้าสายหลัก และ 36) อุตสาหกรรมผลิตถ่านโค้ก โดยรายละเอียดดังปรากฏในตาราง 5 ท้ายบทนี้ โดยมี 11 ประเภทเป็นโครงการทีส่ ่งผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ คือ 1) การถมทะเล หรือทะเลสาบ นอกแนวเขตชายฝัง่ เดิม 2) การทาเหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ 3) นิคม อุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการอุตสาหกรรม หรือโครงการทีม่ ีลักษณะเช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรม 4) อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี 5) อุตสาหกรรมถลุงแร่ หรือหลอมโลหะ 6) การผลิต กาจัด หรือปรับแต่งสารกัมมันตรังสี 7) โรงงานปรับคุณภาพของ เสียรวมหรือโรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการฝังกลบสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 8) โครงการระบบขนส่งทางอากาศ 9) ท่าเทียบเรือ 10) เขื่อนเก็บกักน้า หรืออ่างเก็บน้า 11) โรงไฟฟ้าพลังความร้อน โดยรายละเอียดดังปรากฏในตาราง 6 การจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจะแบ่งออกเป็น 5 กระบวนการย่อย ได้แก่ (1) กลั่นกรองโครงการ เป็นการพิจารณาว่าโครงการจะต้องจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมหรือไม่ (2) การกาหนดขอบเขต เป็นการเลือกพื้นที่และกาหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการวิเคราะห์ผลกระทบ (3) การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและจัดทารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยดาเนินการว่าจ้าง บริษัทที่ปรึกษา และจัดเก็บข้อมูลประกอบรายงาน (4) การพิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยจะมีการพิจารณาโดยคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ (คชก.) บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
103
(5) การติดตามผล คือการติดตามผลในการปฏิบัติงานตามมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามที่ระบุไว้ใน รายงานฯ ภายหลังที่ผู้พัฒนาโครงการจัดส่งรายงานฯ และเริ่มดาเนินโครงการแล้ว สาหรับกระบวนการพิจารณารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม จะแบ่งออกเป็นสองรูปแบบคือโครงการหรือ กิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ที่ต้องเสนอขอความเห็นชอบจากรัฐมนตรีและโครงการที่ไม่ต้องขอรับความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรี หากโครงการดังกล่าวเป็นโครงการที่ไม่ต้องขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีผู้ดาเนินโครงการจะต้องส่ง รายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้กับสผ. ก่อนจะส่งต่อไปยังคชก. ที่จะทาหน้าที่พิจารณาเห็นชอบรายงานฉบับ ดังกล่าว โดยกระบวนการทั้งหมดมีเวลาจากัด 75 วัน ดังแสดงในแผนภาพ 19
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
104
แผนภาพ 19 กระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม กรณีโครงการทีไ่ ม่ตอ้ งขอรับความเห็นชอบ จากคณะรัฐมนตรี
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
105
ส่วนโครงการภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ที่ต้องเสนอขอความเห็นชอบจากรัฐมนตรีนั้นไม่มีกรอบเวลาที่ชัดเจน โดย กระบวนการขั้นต้นมีความคล้ายคลึงกัน แต่หลังจากผ่านการพิจารณาของ คชก. แล้ว รายงานฉบับดังกล่าวจะต้องยื่นต่อไปยัง คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเพื่อแสดงความเห็น ก่อนจะส่งไปยังคณะรัฐมนตรี ดังแสดงในแผนภาพ 20 แผนภาพ 20 กระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม กรณีโครงการทีต่ ้องขอรับความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรี
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
106
กระบวนการข้างต้นมีความแตกต่างจากกระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพเล็กน้อย สาหรับโครงการที่ไม่ต้องขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ที่ต้องมีองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบหลังจากที่ คชก. ให้ความเห็นชอบรายงานฯ ดังแผนภาพ 21 และแผนภาพ 22 แผนภาพ 21 กระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรณีโครงการที่ต้องขอรับความ เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
107
แผนภาพ 22 กระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรณีโครงการที่ไม่ต้องขอรับความ เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
8.3 ระบบใบอนุญาตผู้มีสิทธิทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม การจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจะต้องทาโดยผู้ที่ได้รับอนุญาตเป็นผู้มีสิทธิทารายงานฯ โดย สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการพิจารณาอนุญาต ตาม กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2527) โดยระบุคณ ุ สมบัติของผูย้ ื่นขอรับใบอนุญาตไว้ โดยต้องมีคณ ุ สมบัติตามข้อใดข้อหนึ่งดังนี้ 1) สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา หรือสถาบันวิจัย ซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายไทย บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
108
2) นิติบุคคลซึ่งได้จดทะเบียนตามกฎหมายไทย สาหรับห้างหุ้นส่วนจากัด ผู้เป็นหุ้นส่วนทั้งหมดต้องมีสัญชาติไทย ส่วนบริษัทจากัด กรรมการจานวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งต้องมีสญ ั ชาติไทย และทุนของบริษัทจากัดไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ต้องเป็น ของผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาและมีสัญชาติไทย 3) นิติบุคคล ซึ่งได้จดทะเบียนตามกฎหมายต่างประเทศ แต่จะต้องมีนิติบุคคลตาม (1) หรือ (2) ซึ่งได้รับใบอนุญาตฯ เข้าร่วมในการทารายงานฯด้วย 4) รัฐวิสาหกิจ 5) สภาการเหมืองแร่ โดยผู้ยื่นขอรับใบอนุญาตฯ จะต้องมี 1. ผู้ชานาญการอย่างน้อย 1 คนอยู่ประจาเพื่อทาหน้าทีร่ ับผิดชอบในการทารายงานฯ โดยผู้ชานาญการจะต้องมี ประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติกาหนด รวมทั้งสาเร็จการศึกษาระดับอุมดมศึกษาหรือเทียบเท่าในสาขาใดสาขาหนึ่ง ดังต่อไปนี้ วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม นิเวศวิทยา สุขาภิบาล วิศวกรรมศาสตร์สิ่งแวดล้อม หรือเศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม 2. เจ้าหน้าที่อย่างน้อย 3 คนอยู่ประจาเพื่อร่วมในการทารายงานฯ โดยจะต้องสาเร็จการศึกษาอย่างต่าใน ระดับอุดมศึกษาหรือเทียบเท่าในวิชาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ หรือสังคมศาสตร์ ทัง้ นี้ ทั้งผู้ชานาญการ และเจ้าหน้าที่ จะต้องไม่เคยมีส่วนร่วมในการทารายงานฯ ในส่วนที่เป็นเท็จ หรือเคยมีส่วน ร่วมในการทารายงานฯส่วนทีเ่ ป็นเท็จ แต่นิติบุคคลผูไ้ ด้รับใบอนุญาตฯได้ถูกเพิกถอนใบอนุญาตฯไปแล้วอย่างน้อย 3 ปี สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะทาหน้าที่ตรวจสอบคุณสมบัติของผูช้ านาญการ และเจ้าหน้าที่ โดยจะมีการสัมภาษณ์ผู้เสนอขอเป็นผู้ชานาญการ โดยคณะอนุกรรมการกลั่นกรองการขออนุญาตทารายงานฯ ซึ่งจะมีคะแนนอยู่ 4 หัวข้อคือ ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ในฐานะผู้ชานาญการ ความรับผิดชอบของผูช้ านาญการ ความเข้าใจ ทางด้านวิชาการ และผลงาน เมื่อทาตามเงื่อนไขครบถ้วน และผูช้ านาญการผ่านการสอบสัมภาษณ์แล้ว สานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จะทาการออกใบอนุญาตให้ โดยระยะเวลาของใบอนุญาตนิติบุคคลมีอยู่ 3 รูปแบบคือ 1. หากผู้ชานาญการเคยเป็นผู้ชานาญการมาแล้วโดยประจาที่นิติบคุ คลใดก็ตาม นิติบุคคลผู้ขอใบอนุญาตจะเป็นผู้มี สิทธิทารายงานโดยมีระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี 2. หากผู้ชานาญการไม่เคยเป็นผู้ชานาญการมาก่อน แต่ผ่านการสัมภาษณ์ นิติบุคคลผู้ขอใบอนุญาตจะเป็นผูม้ ีสิทธิ ทารายงานโดยมีระยะเวลาไม่เกิน 2 ปี 3. กรณีนิติบุคคลใหม่ยื่นขอรับใบอนุญาต นิติบุคคลผู้ขอใบอนุญาตจะเป็นผูม้ ีสิทธิทารายงานโดยมีระยะเวลาไม่เกิน 2 ปี ในส่วนของบทลงโทษผู้ได้รับใบอนุญาต แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ โดยผู้มีอานาจในการสั่งพักหรือเพิกถอนใบอนุญาต คือคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ การสั่งพักใบอนุญาต ในกรณีที่ผไู้ ด้รับใบอนุญาตดาเนินการอย่างประมาทเลินเล่อ จนหน่วยงานราชการได้รับความ เสียหาย หรือยินยอมให้ผู้ชานาญการที่โดนเพิกถอนใบอนุญาตเนื่องจากทารายงานฯเท็จ เข้ามาร่วมทารายงานฯ หรือฝ่าฝืนไม่ปฏิบัตติ ามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในใบอนุญาต โดยโทษสัง่ พักใบอนุญาตจะอยู่ที่ 3 เดือนถึง 12 เดือน บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
109
การเพิกถอนใบอนุญาต หากผู้ได้รับใบอนุญาตกระทาการขัดต่อเงื่อนไขตามกฎกระทรวง หรือทารายงานอันเป็น เท็จ แนวทางการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามเอกสารแนบท้าย 2 ของประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดประเภทและขนาด ของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบตั ิ และ แนวทางการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ได้ระบุแนวทางการจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมไว้ดังนี้ 1. สาระสาคัญ 1.1 รายงานฉบับย่อ ต้องประกอบด้วยสาระสาคัญดังนี้ 1.1.1 ประเภทและขนาดโครงการ พร้อมกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 1.1.2 ที่ตั้งโครงการโดยมีภาพและแผนที่ที่ตั้งโครงการ รวมทั้งแผนทีแ่ สดง องค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อมใน บริเวณที่อาจได้รับผลกระทบจากโครงการตามมาตราส่วน 1 : 50,000 หรือมาตราส่วนที่เหมาะสม 1.1.3 ทางเลือกที่ตั้งโครงการและวิธีการดาเนินการโครงการพร้อมเหตุผลและ ข้อพิจารณาในการตัดสินใจ เลือกแนวทางที่เสนอ 1.1.4 รายงานการแสดงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ พร้อมด้วยมาตรการป้องกัน และแก้ไข ผลกระทบดังกล่าว และมาตรการติดตามตรวจสอบตามแบบ สผ. 1. 1.2 รายงานหลัก ต้องประกอบด้วยสาระสาคัญดังนี้ 1.2.1 บทนา : กล่าวถึงที่มา วัตถุประสงค์ของโครงการ เหตุผลความจาเป็นในการ ดาเนินโครงการ วัตถุประสงค์การจัดทารายงาน ขอบเขตการศึกษา และวิธีการศึกษา 1.2.2 ที่ตั้งโครงการ : โดยมีภาพและแผนทีต่ ั้งโครงการ รวมทั้งแผนที่แสดงองค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อม ในบริเวณที่อาจได้รบั ผลกระทบจากโครงการมาตราส่วน 1 : 50,000 หรือมาตราส่วน ที่เหมาะสม 1.2.3 รายละเอียดโครงการ : ให้มรี ายละเอียดทีส่ ามารถแสดงภาพรวมได้ชัดเจน ได้แก่ประเภท ขนาดที่ตั้ง โครงการ วิธีการดาเนินการโครงการหรือกิจกรรมประกอบของโครงการ เป็นต้น ตลอดจนแผนผังการใช้ที่ดินของ โครงการโดยแสดงทิศและมาตราส่วนที่เหมาะสม 1.2 .4 สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน : ให้แสดงรายละเอียดพร้อมภาพถ่ายทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ชีวภาพ โดยจาแนกเป็นชนิดที่ฟื้นฟูได้และฟื้นฟูไม่ได้ รายละเอียดคุณค่าการใช้ประโยชน์ ของมนุษย์และคุณค่าคุณภาพชีวิต ตลอดจนสภาพปัญหาปัจจุบัน บริเวณพื้นที่โครงการพร้อมแสดงแผนที่ สภาพแวดล้อมบริเวณโครงการ การใช้ประโยชน์ที่ดินโดยรอบ โครงการตลอดจนบริเวณที่อาจได้รับผลกระทบจาก การดาเนินโครงการทั้งในระยะสั้นและระยะยาว 1.2.5 การประเมินทางเลือกในการดาเนินการ และการประเมินผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นจากโครงการ (1) ทางเลือกในการดาเนินโครงการ : ในรายงานฯ จะต้องเสนอทางเลือก ซึ่งอาจเป็นทั้งทางเลือกที่ตั้ง โครงการหรือวิธีการดาเนินโครงการ โดยทางเลือกที่เสนอทุกทางเลือกจะต้อง สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มีเหตุผลว่า บรรลุเป้าหมายและความจาเป็นในการมีโครงการหรือไม่มีโครงการอย่างไร มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
110
ในทุกทางเลือก และจะต้องระบุทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดที่จะดาเนินโครงการ พร้อมแสดงเหตุผลและความจาเป็น ประกอบ (2) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม : ให้ประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจาก โครงการ ทั้งที่เป็น ผลกระทบโดยตรง และผลกระทบทางอ้อมต่อทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าต่างๆ ตามข้อ 1.2.4 พร้อมทั้งแยก ประเภททรัพยากรเป็นชนิดที่สามารถฟื้นฟูได้และฟื้นฟูไม่ได้รวมทั้งให้ประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในทุกทางเลือก ของโครงการเปรียบเทียบกัน 1.2.6 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการชดเชย : ให้อธิบาย รายละเอียดในการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้นตามข้อ 1.2.5 และในกรณีที่ความเสียหายไม่อาจ หลีกเลี่ยงได้ให้เสนอแผนการ ชดเชยความเสียหายดังกล่าวด้วย 1.2.7 มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม : ให้เสนอมาตรการและ แผนการดาเนินการใน การติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดล้อมที่เหมาะสม ทางวิชาการและการ ปฏิบตั ิการ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งของการ ติดตามและประเมินผลภายหลังการดาเนินโครงการด้วย 1.2.8 ตารางสรุปผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สาคัญพร้อมด้วยมาตรการป้องกัน และแก้ไข ผลกระทบดังกล่าว ทั้งนี้จะต้องดาเนินการตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคม และแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม แนวทางการจัดทารายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม กลุ่มพัฒนาระบบและติดตามตรวจสอบฯ สานักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้จดั ทาแนวทางการจัดทารายงานผลการปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยระบุให้เจ้าของโครงการสามารถจัดทารายงานเอง หรือว่าจ้างบุคคลทีส่ ามในการทารายงานก็ได้ โดย ระบุเนื้อหาทีส่ าคัญดังนี้ 1. ส่วนหน้าของรายงาน ระบุชื่อโครงการ เจ้าของโครงการ บริษัทที่ปรึกษาผู้จัดทารายงาน 2. บทนา ระบุรายละเอียดของที่ตั้งโรงงานโดยสังเขปสถานภาพปัจจุบันของโครงการ รวมถึงรายละเอียดการ ดาเนินการทั่วไปของโครงการ ภาพแสดงลักษณะการใช้ที่ดินภายในเขตพื้นที่โครงการ แผนดาเนินการตามมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม 3. การรายงานผลการดาเนินการตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม จัดทาตารางเปรียบเทียบ ระหว่างมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่กาหนดไว้ในรายงานฯ และการปฏิบตั ิการตามจริง 4. การรายงานผลการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยระบุจดุ เก็บตัวอย่างเพื่อนามาตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดล้อม พารามิเตอร์ในการตรวจวัด วิธีการเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่าง รวมถึงภาพถ่ายภาคสนาม และนาผลการ ตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมมาเปรียบเทียบกับมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยหรือค่าที่กาหนดไว้ในรายงานฯ โดยต้องแสดงผลการตรวจวัดทีผ่ ่านมาย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปี 5. สรุปผลการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยระบุมาตรการทีไ่ ม่ได้ปฏิบัติ มาตรการที่ปฏิบัติไม่ได้ มาตรการที่ปฏิบตั ิแต่ไม่มีประสิทธิภาพ และมาตรการที่ยังไม่ถึงเวลาปฏิบัติ สรุปผลการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ว่าเกินค่าที่มาตรฐานกาหนดหรือไม่ อย่างไร หากไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ต้องมีการวิเคราะห์สาเหตุ และกาหนดแนวทางแก้ไข บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
111
8.4 วรรณกรรมปริทัศน์ ปัญหาของระบบวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมประเทศไทย ปัจจุบันนักพัฒนาโครงการหลายคนในประเทศไทยมองว่ารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไม่ต่างจากสิ่งชั่ว ร้ายแต่จาเป็น (Necessary Evil) เพื่อให้ได้ใบอนุญาตประกอบการ (Pearmain, 2008 อ้างใน Stampe, 2009) ในขณะที่ ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบเองก็มองว่ากระบวนการจัดทารายงานวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมเป็นเครื่องมือเพื่อกรุยทางให้บริษัทหรือ ภาครัฐเข้ามาดาเนินการกอบโกยทรัพยากรของชุมชนอย่างถูกกฎหมาย ทั้งที่เครื่องมือดังกล่ าวควรจะช่วยลดความขัดแย้งใน ประเด็นการพัฒนาที่อาจส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและชุมชน ทศวรรณ (2555) ได้แจกแจงปัญหาการจัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเช่น ปัญหาการที่เจ้าของโครงการ หลีกเลี่ยงหรือฝ่าฝืนไม่จัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ปัญหาการจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ เป็นเท็จ หรือปัญหาความไม่น่าเชื่อถือของคุณภาพรายงานฯ ซึ่งนาไปสู่ความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับหน่วยงานเจ้าของ โครงการ หรือระหว่างหน่วยงานเจ้าของโครงการกับคณะกรรมการผู้ชานาญการ หรือระหว่างหน่วยงานเจ้าของโครงการกับ สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือระหว่างหน่วยงานเจ้าของโครงการกับคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ความขัดแย้งที่เห็นได้ชัด คือระหว่างเจ้าของโครงการและประชาชน ซึ่งผู้ได้รับผลกระทบจะออกมาเรียกร้องและ ต่อต้านการดาเนินโครงการในพื้นที่ของตน ทาให้โครงการหรือกิจการไม่สามารถดาเนินการได้ แม้ว่าจะผ่านกระบวนการจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมแล้วก็ตาม นับว่าเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ว่ากระบวนการดังกล่าวขาดการมีส่วน ร่วมของประชาชน และบางพื้นที่ ความไม่พอใจอาจนาไปสู่การใช้ความรุนแรง หรือการฟ้องร้องดาเนินคดี คณะวิจัยได้แบ่งแยกประเด็นปัญหาออกเป็น 4 ประเด็นคือ ปัญหากระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ปัญหาเกี่ยวกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ปัญหาสภาพบังคับทางกฎหมาย และปัญหา องค์กรที่เกี่ยวข้องในกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
8.4.1 ปัญหาในกระบวนการการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 8.4.1.1 การกาหนดประเภทโครงการที่ต้องจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้กาหนดประเภทและขนาดของโครงการที่ต้องจัดทา รายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น 36 ประเภท โดยมี 11 ประเภทที่ถูกกาหนดให้เป็นโครงการหรือกิจกรรมที่อาจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง โดยต้องจัดทาการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเพิ่มเติม ณรงค์ และคณะ (2552) ได้สังเคราะห์จากการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกระบวนการพิจารณาและจัดทา รายงานฯ พบว่าความเห็นส่วนใหญ่เห็นควรให้มีการปรับปรุงประเภทและขนาดของโครงการที่ต้องจัดทารายงานฯ เพราะมี โครงการอีกหลายประเภทและขนาดที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมและควรจะต้องจัดทารายงานฯแต่ยังไม่มีประกาศ กาหนด จึงถือว่าการกาหนดประเภทมีความล่าช้าไม่ทันต่อเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป รายงานวิจัยหลายชิ้นที่ระบุว่า มีความพยายามหลีกเลี่ยงการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดย บางโครงการได้ลดขนาดเพียงเล็กน้อยเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้โครงการเข้าเกณฑ์ที่ต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม (Chesoh, 2011) เช่น โครงการอาคารอยู่อาศัยรวมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารที่มีจานวนห้องพัก บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
112
ตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไป หรือมีพื้นที่ใช้สอยตั้งแต่ 4,000 ตารางเมตรขึ้นไปตามที่กฎหมายกาหนด แต่เจ้าของโครงการอาจลด จานวนห้องพักลงมาเหลือ 79 ห้องหรือมีพื้นที่ใช้สอยต่ากว่า 4,000 ตารางเมตรเล็กน้อย ซึ่งถือว่าไม่เข้าข่ายตามที่กฎหมาย กาหนด บางโครงการจะจัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (Initial Environmental Examination : IEE) ซึ่งเน้น การใช้ข้อมูลทุติยภูมิและดุลยพินิจของผู้เชี่ยวชาญ (ทศวรรณ, 2555) ในขณะที่หลายโครงการใช้สารพัดวิธีที่จะทาให้โครงการ ไม่เข้าข่ายลักษณะโครงการที่ต้องจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Stampe, 2009) ตัวอย่างที่น่าสนใจในประเด็นความพยายามในการหลีกเลี่ยงการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม คือกรณีบริษัท อีสเทิร์น ที พี เค แค็ปปิตอล จากัด ดาเนินโครงการท่าเทียบเรือเพื่อขนส่งสินค้าจานวน 6 ท่า ริมแม่น้าบางกะ ปง ต.สนามจันทร์ อ.บ้านโพธิ์ จ.ฉะเชิงเทรา โดยโครงการดังกล่าวไม่เข้าเกณฑ์โครงการที่ต้องจัดทารายงานฯเนื่องจากท่าเรือมี ขนาด 995 และ 831 ตารางเมตร ในขณะที่กฎหมายกาหนดให้โครงการที่มีพื้นที่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไปต้องจัดทารายงานฯ แม้ว่าในความเป็นจริงท่าเรือทั้ง 6 ท่าจะเรียงต่อกันในระยะห่างไม่เกิน 100 เมตร โครงการดังกล่าวได้รับอนุญาตจากสานักงาน เจ้าท่าภูมิภาคที่ 6 และนายกองค์การบริหารส่วนตาบลสนามจันทร์ และกาลังอยู่ในระหว่างการฟ้องร้องดาเนินคดี (ดู รายละเอียดได้ในบทที่ 8.7 ของรายงานฉบับนี้) โครงการบางโครงการที่ประชาชนในพื้นที่มองว่าส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการดาเนินชีวิตเช่น โครงการเหมืองแร่ โปแตช จ.อุดรธานี โครงการเหมืองทองคา จ.พิษณุโลก จ.เพชรบูรณ์ จ.เลย โครงการขุดสารวจน้ามันปิโตรเลียม โครงการทา เหมืองหิน ระเบิดและย่อยหินก่อสร้าง ไม่ได้รวมอยู่ในเกณฑ์โครงการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง จึง ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างเจ้าของโครงการกับประชาชนในชุมชนเหล่านั้น โดยประชาชนจะไม่ยอมให้เจ้าของโครงการมา ดาเนินโครงการดังกล่าวในชุมชนของตน (ทศวรรณ, 2555) ภาครัฐเองก็มองเห็นช่องว่างของการกาหนดประเภทโครงการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง และ ได้ออกประกาศกระทรวงฯ ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2552 ข้อ 1.2 มีหลักการว่า โครงการหรือกิจการใดซึ่งคณะอนุกรรมการ วินิจฉัยข้อร้องเรียนสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติแต่งตั้ง วินิจฉัยภายใน 30 วันหลังจากได้รับข้อร้องเรียน ว่า โครงการหรือกิจการดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ก็จาเป็นจะต้องมีการดาเนินการตามมาตรา 67 วรรคสอง โดยจะต้องมีการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพของ ประชาชนในชุมชน มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งให้องค์กรอิสระให้ความเห็น ประกอบก่อนมีการดาเนินการดังกล่าว กลไกดังกล่าวถูกตั้งขึ้นเพื่อลดปัญหาความไม่ครอบคลุมของการกาหนดประเภทโครงการ โดยประชาชนสามารถยื่น คาร้องต่อคณะอนุกรรมการเพื่อให้วินิจฉัยว่าโครงการที่เกิดขึ้นนั้นมีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อชุมชนหรือไม่ โดยไม่จาเป็นต้อง เข้าเกณฑ์ 11 ประเภทโครงการ อย่างไรก็ดี ประกาศกระทรวงฯ ลงวันที่ 24 เมษายน 2555 ได้ยกเลิกกระบวนการดังกล่าว ซึ่งถือว่าเป็นการปิ ด ช่องทางไม่ให้ภาคประชาชนมีสิทธิที่จะเรียกร้องว่าตนได้รับผลกระทบจากการที่มีโครงการหรือกิจกรรมซึ่งส่งผลกระทบต่อ ชุมชนอย่างรุนแรง และให้เจ้าของโครงการจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (ทศวรรณ, 2555) 8.4.1.2 การมีส่วนร่วมของชุมชน หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นองค์ประกอบหนึ่งในหลักการพัฒนาอย่างยืน โดยประเทศไทยได้บัญญัติการมี ส่วนร่วมของประชาชนไว้ในรัฐธรรมนูญเช่นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 นับเป็นส่วนหนึ่งของบทบาทภาค บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
113
ประชาชนในกระบวนการการพัฒนาในระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงพลังใน กระบวนการตัดสินใจ แต่การที่จะเข้าไปมีสว่ นร่วมได้ต้องมีกฎหมายให้การรองรับสิทธิ รวมถึงกลไกให้สามารถใช้สิทธินั้นได้จริง ไม่ใช่มีในรูปแบบสัญลักษณ์เท่านั้น (คะนึงนิจ, 2550 อ้างถึงใน ยุทธศักดิ์, 2551) รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ได้มีบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิของบุคคลในการเข้ามามีส่วนร่วมเช่น มาตรา 56 สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารในการครอบครองของทางราชการ มาตรา 57 สิทธิที่จะได้รับข้อมูล คาชี้แจง และเหตุผลจากราชการก่อนการอนุญาตให้ดาเนิน กิจกรรมที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย และคุณภาพชีวิต มาตรา 59 สิทธิในการมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาของเจ้าหน้าที่ของรัฐในการปฏิบัติ ราชการทางปกครอง อันมีผลหรืออาจมีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของตน มาตรา 67 สิทธิในการมีส่วนร่วมกับรัฐในเรื่องรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ สิทธิในการเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม แม้ในรัฐธรรมนูญจะระบุบทบาทของภาคประชาชนในการมีส่วนร่วมไว้อย่างชัดเจน แต่พระราชบั ญญัติส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 มาตรา 7 ซึ่งบัญญัติว่า เพื่อเป็นการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้องค์กรเอกชน ซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายไทย หรือกฎหมายต่างประเทศที่ มีกิจกรรมเกี่ยวข้องโดยตรงกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม หรืออนุรักษ์ธรรมชาติ... ได้จากัดการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยมอบ สิทธิดังกล่าวให้องค์กรเอกชนที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลเท่านั้น ในขณะที่ประชาชนทั่วไปหรือชุมชน ไม่มีการบัญญัติรับรองให้เข้ามี ส่วนร่วมได้ กล่าวคือเป็นการเข้าไปมีส่วนร่วมโดยผ่านตั วแทน นอกจากนี้ องค์กรพัฒนาเอกชนมีจานวนไม่มากที่มีศักยภาพ พร้อมตามเงื่อนไขของกฎหมายที่จะจดทะเบียนเป็นองค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม (อัญชลี, 2549) อย่างไรก็ดี บทบัญญัติในมาตรา 6 ได้กาหนดให้ประชาชนมีสิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ สิทธิใน การได้รับชดใช้ค่าเสียหาย หรือค่าตอบแทนจากรัฐ สิทธิในการร้องเรียนกล่าวโทษผู้กระทาผิดกฎหมายสิ่งแวดล้อม และสิทธิใน การได้รับชดใช้ค่าเสียหาย หรือค่าทดแทนจากเจ้าของ หรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษ นับว่าพระราชบัญญัติฉบับนี้ กาหนดสิทธิของประชาชนในการเข้าไปมีส่วนร่วมในระดับต่า (สุวิจักข์, 2556) อีกทั้งยังมิได้มีบทบัญญัติในด้านการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการตรวจสอบหรือติดตามผลการปฏิบัติตามรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ณรงค์ และคณะ, 2552) ในรายงานการประชุมริโอ เมื่อ ค.ศ. 1992 ได้ระบุไว้ว่าการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมต้องอาศั ยการยอมรับความ รับผิดชอบของพลเมืองและชุมชน ผู้ประกอบการและสถาบันต่างๆทุกระดับ โดยให้มีส่วนร่วมในด้านต่างๆ 3 ด้านคือ 1) สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งอยู่ในความครอบครองของหน่วยงานของรัฐ รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุ และกิจกรรมที่เป็นอันตรายต่อชุมชนของตนเอง 2) สิทธิในการมีส่วนร่วมในการกระบวนการตัดสินใจ รัฐจะเอื้ออานวยและส่งเสริมความตื่นตัว และการ มีส่วนร่วมด้านสิ่งแวดล้อมของสาธารณชนด้วยการเผยแพร่ข้อมูลอย่างกว้างขวาง 3) สิทธิในการเข้าถึงกระบวนการทางยุติธรรม และทางบริหารรวมทั้ง การได้รับการชดเชย และการ เยียวยาความเสียหาย หากเปรียบเทียบแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนทั้ง 3 ด้านข้างต้น กับพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 จะเห็นว่ากฎหมายได้จากัดสิทธิของบุคคลในการรับทราบข้อมูลและเรียกร้องค่าเสียหาย อัน
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
114
เป็นขั้นตอนกระบวนการที่เป็นปลายน้า โดยไม่ให้สิทธิแก่ชุมชนในการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจร่วมกับรัฐ ซึ่งเป็น กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับสูง (สุวิจักข์, 2556) บทบัญญัติทางกฎหมายปัจจุบันกาหนดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในสองกรณีด้วยกัน ได้แก่ 1) กรณีโครงการที่ ต้องทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ซึ่งกฎหมายมิได้กาหนดไว้ว่าจะต้องทาอย่างน้อยกี่ครั้ง แต่ต้องทาให้เพียงพอใน การให้ข้อมูลข่าวสารประชาชนและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งแต่เริ่มโครงการ และ 2) กรณีโครงการที่ต้องทารายงานวิ เคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม จะต้องจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็นสองครั้ง คือ ระหว่างเริ่มต้นโครงการ โดยรับฟังความคิดเห็นต่อร่างข้อเสนอโครงการและขอบเขตการศึกษา และครั้งที่สอง ในระหว่างการ เตรียมร่างรายงานฯ และมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในรายงานฯ และมาตรการ ดังกล่าว ตามวิธีการและขั้นตอนที่ระบุไว้ในระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 สาหรับการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ จะต้องจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็น สามครั้ง โดยเพิ่มเติมจากการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม คือขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อม โดยรายละเอียดของกระบวนการรับฟังความคิดเห็นประชาชนระบุในประกาศกระทรวงทรัพยากรฯ วันที่ 29 ธันวาคม 2552 ในทางปฏิบัติการสารวจความคิดเห็นของชุมชนจะมีลักษณะเป็นการสื่อสารฝ่ายเดียว และผู้จัดทารายงานก็มีความ พยายามน้อยมากที่จะเข้าถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย โดยเฉพาะชุมชนท้องถิ่นที่แทบไม่ได้มีบทบาท อีกทั้งยังขาดการใช้ เครื่องมือการวิจัยเชิงคุณภาพในการทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Chesoh, 2011) Stampe (2009) ให้ความเห็นที่น่าสนใจว่า เวทีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในประเทศไทยมักจะเป็นเวที เพื่อสร้างความชอบธรรมต่อสาธารณชนในการดาเนินโครงการไม่ว่าจะเป็นภาครัฐหรือภาคเอกชน และในกรณีที่ประชาชนมี คาถามค่อนข้างมาก ผู้จัดเวทีก็จะหยุดเวทีรับฟังความคิดเห็นทันที ในแง่เจตคติต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม วสันต์ (2541) ได้ ทาการสารวจความคิดเห็นของนักวิชาการสิ่งแวดล้อมทั้งภาครัฐและเอกชน โดยพบว่าทั้งสองกลุ่มยังมีเจตคติที่ค่อนข้างไม่ดีต่อ การมีส่วนร่วมของประชาชน เช่นการเข้ามามีส่วนร่วมจะก่อให้เกิดปัญหาความยุ่งยากต่อการกาหนดลักษณะของโครงการ โดย เฉพาะงานวิศวกรรมจะเกิดการล่าช้า เนื่องจากต้องปรับเปลี่ยนรายละเอียดตามที่ประชาชนเรียกร้อง ตัวอย่างที่ชัดเจนของปัญหาการขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทารายงานฯ คือ กรณีการก่อสร้างเขื่อน ปากมูล จ.อุบลราชธานี ที่จัดทารายงานฯ เมื่อปี พ.ศ. 2524 ได้มีการเปลี่ยนแปลงสถานที่รวมถึงการออกแบบและเริ่ มก่อสร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2537 โดยไม่มีการทารายงานฯ ฉบับใหม่ ซึ่งรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมฉบับที่จัดทาครั้งแรกนั้น ขาดการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และไม่เคยเปิดเผยต่อสาธารณะจนกระทั่ง 10 ปีให้หลัง คณะกรรมการเขื่อนโลก (World Commission on Dams: WCD) ได้กล่าวถึงโครงการเขื่อนปากมูลว่า “ชาวบ้านผู้ ได้รับผลกระทบไม่ได้มีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจก่อนเริ่มโครงการ และผู้ดาเนินโครงการก็ไม่มีความพยายามที่จะจัดทา มาตรการเพื่อลดผลกระทบแก่ชุมชน” และ “การไม่รวมผู้ได้รับผลกระทบเข้าไปในกระบวนการตัดสินใจได้นาไปสู่การประท้วง ที่ยาวนาน และการเผชิญหน้า” (Amornsakchai et al. 2000) อีกหนึ่งกรณีศึกษาของความล้มเหลวในกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชน คือโครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติ และโรงแยกก๊าซธรรมชาติไทย-มาเลเซียเมื่อปี พ.ศ. 2542 ที่กลายเป็นประเด็นสร้างความขัดแย้งในสังคมไทย เนื่อ งจาก ประชาชนไม่แน่ใจและไม่มั่นใจในข้อดีและข้อเสียจากโครงการ รวมถึงผู้ดาเนินโครงการไม่ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของ ประชาชน เช่นกระบวนการเลือกที่ตั้งโครงการที่ไม่คานึงถึงผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่ หรือกระบวนการตัดสินใจที่ได้รับ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
115
ความเห็นชอบไปแล้วในระดับนโยบายและแผนงาน โดยที่ไม่มีการมีส่วนร่วมของประชาชนแต่อย่างใด การศึกษาผลกระทบ สิ่งแวดล้อมและการจัดประชาพิจารณ์เป็นไปตามระเบียบกฎเกณฑ์ที่กาหนดไว้เท่านั้น (สถาบันวิจัยสังคม, 2545) สาหรับกรณีที่เกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรง คือกรณีเหมืองแร่ทองคา จ.เลย ที่ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนใน การจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม ซึ่งรายงานได้ผ่านความเห็นชอบ เมื่อปี พ.ศ. 2541 ส่งผลให้เป็นปัญหาเรื้อรัง มาจนถึงปัจจุบัน เช่นการปิดกั้นพื้นที่ไม่ให้บริษัท ทุ่งคา จากัด เข้าไปดาเนินการในพื้นที่เหมืองหลังจากที่ชุมชนได้รับผลกระทบ จากสารพิษ ภาพความล้มเหลวในการมีส่วนร่วมของประชาชนยังสะท้อนต่อเนื่องมาในการจัดเวที Public Scoping เพื่อขอ ประทานบัตรการขยายเหมืองทองไปยังแปลงที่ 104/2538 เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2555 และการจัดเวที Public Scoping เพื่อขอประทานบัตรแปลง 76/2539 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2556 ซึ่งทั้งสองเวทีมีการปิดกั้นโดยกาลังเจ้าหน้าที่ตารวจ ไม่ให้ผู้ ไม่เห็นด้วยกับโครงการเหมืองแร่ดังกล่าวเข้าร่วมแสดงความคิดเห็น (เลิศศักดิ์, 2557) สาหรับกรณีล่าสุดคือความล้มเหลวในการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชน โครงการท่าเทียบเรือบ้านคลองรั้ว จ.กระบี่ เมื่อปี 2557 ในการประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการกาหนดขอบเขตและแนว ทางการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม มีการปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นของประชาชน การข่มขู่แกนนาในพื้นที่ที่ไม่เห็นด้วย กับโครงการสร้างท่าเทียบเรือและโรงไฟฟ้าถ่านหิน โดยการใช้ความรุนแรงทั้งทางวาจา การขว้างปาเก้าอี้ในระหว่างการแสดง ความคิดเห็น และการประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในขั้นตอนการประเมินและจัดทารายงาน ซึ่งมีการเลื่อนวันและ เวลาการจัดการประชุมออกไปโดยที่ชุมชนไม่รับรู้ (Greenpeace, 2557) อมรา และคณะ (2545) ได้สรุปสาเหตุของปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมไว้ว่า ทั้งฝ่ายโครงการและฝ่า ยประชาชนยังขาดความเข้าใจและการให้ความสาคัญเรื่องการมีส่วนร่วม การศึกษา ผลกระทบทางสังคมยังทาได้ไม่เต็มที่เพราะขาดแคลนเวลาและงบประมาณ และมักจะมีลักษณะเป็นการสารวจทางสังคม (Social Survey) ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการสารวจมิได้นามาใช้ประโยชน์เพื่อป้องกันหรือลดผลกระทบ และไม่เพียงพอที่จะตอบ คาถามในด้านการศึกษาผลกระทบทางสังคมได้อย่างชัดเจน รวมถึงความไม่ไว้วางใจของประชาชนต่อบริษัทที่ปรึกษา จากการ ทาหน้าที่ในการประชาสัมพันธ์โครงการทาให้มีท่าทีไม่เป็นกลาง การมีส่วนร่วมของประชาชนจึงมีลักษณะ ‘เผชิญหน้า ’ มากกว่าประนีประนอมและรั บฟังความคิดเห็น ด้วยการแบ่งฝ่ายเป็นกลุ่ม “เห็นด้วย” และ “ไม่เห็นด้วย” กับโครงการ โดย เกือบจะปฏิเสธข้อมูลของฝ่ายตรงข้ามทั้งหมด 8.4.1.3 การเข้าถึงรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม แม้ว่าบทบัญญัติในมาตรา 6 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ได้กาหนดให้ ประชาชนมีสิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ แต่ Chesoh (2011) กล่าวว่า ข้อมูลทั่วไปที่เปิดเผยต่อสาธารณชน หรือปัจจัยส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ปรากฏในเว็บไซต์ สผ. ยังมีค่อนข้างจากัด วสันต์ (2541) อธิบายว่าการปกปิดข้อมูลเป็นปัญหาสาคัญ โดยรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจะ เปิดเผยเมื่อโครงการได้รับอนุมัติแล้ว ในขณะที่บริษัทที่ปรึกษาต้องดาเนินการจัดทารายงานฉบับร่างในรูปแบบรายงาน ความก้าวหน้าให้กับ สผ. พิจารณา แต่ประชาชนไม่มีโอกาสได้พิจารณาให้ความคิดเห็นต่อร่างรายงานดังกล่าว ทาให้อาจเกิด ปัญหาเช่นการต่อต้านหรือไม่ยอมรับโครงการ เช่นเดียวกับ Boyle (1998) ที่อธิบายว่าการเข้าไม่ถึงรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม นอกจากจะทาให้ผู้ดาเนินโครงการไม่สามารถเข้าถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนเพื่อประยุกต์ใช้กับ แผนการลดผลกระทบ ยังเป็นการเปิดโอกาสให้ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ถูกต้องถูกเผยแพร่ในกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบ สร้างความไม่ เชื่อใจ และนาไปสู่การประท้วงหรือการเผชิญหน้า บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
116
8.4.1.4 การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมหลังจากรายงานฯ ได้ผ่านการเห็นชอบ นับตั้งแต่การบังคับใช้ พระราชบัญญัติสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2518 พบอุปสรรคในด้านการติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการหรือกิจการต่างๆ ที่ได้ผ่านการพิจารณาเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ เนื่องจากมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม เป็นอานาจตามกฎหมายของส่วนราชการหลายกระทรวง ทบวง กรม จึงมีลักษณะเป็นอานาจการดาเนินการที่ค่อนข้างกระจัดกระจาย ขาดความเป็นเอกภาพในการบริหารและการ จัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม (ทวีวงศ์, 2541) Boyle (1998) ทาการเปรียบเทียบระหว่างประสิทธิภาพของการดาเนินการหลังเสร็จสิ้นโครงการระหว่างโครงการที่ ได้รับเงินจากต่างประเทศ และโครงการที่ใช้เงินภายในไทย โดยยกกรณีการก่อสร้างเขื่อนซึ่งได้รับเงินจากธนาคารโลกคือ เขื่อน ภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนศรีนครินทร์ และเขื่อนบางลาง ที่โครงการอพยพประชาชนและจัดตั้งถิ่นฐานใหม่ภายใต้การสนับสนุน ของธนาคารโลกในฐานะผู้ให้เงินทุนนั้นค่อนข้างมีประสิทธิ ภาพ โดยเปรียบเทียบความกินดีอยู่ดีระหว่างก่อนและหลังอพยพ (อ้างถึงใน Boyle 1991) ในขณะที่การลดผลกระทบหรือการสร้างประโยชน์ที่อยู่ภายใต้การดูแลของภาครัฐ เช่นการจัดการ พื้นที่ชุ่มน้า การสนับสนุนการท่องเที่ยวและการประมง กลับไม่มีการพัฒนาแต่อย่างใด กรณีเหมื องแร่ จ.เลย ที่ดาเนิ นการโดยบริษั ท ทุ่งค า จากัด ซึ่งเป็ นโครงการที่ผ่ านการจั ดทารายงานวิ เคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม นับเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงความไร้ประสิทธิภาพในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อมหลังจากรายงานฯ ได้ผ่านการเห็นชอบ เนื่องจากมีการตรวจสอบโดยหน่วยงานภาครัฐว่ามีการปนเปื้อนของสารพิษ จากโครงการในแหล่งน้า ซึ่งส่งผลกระทบต่อชุมชนบริเวณใกล้เคียง แต่ก็ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาบังคับใช้กฎหมายให้บริษัทฯ ดาเนินการตามที่ระบุไว้ในรายงานฯ และไม่มีการเพิกถอนใบประทานบัตร ปัจจุบัน โครงการที่เข้าข่ายจะต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น และรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เมื่อได้รับความเห็นชอบในรายงานฯ ซึ่งได้กาหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ สิ่งแวดล้อม รวมถึงมาตรการในการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม หน่วยงานผู้อนุญาตตามกฎหมาย จะนามาตรการเหล่านั้นระบุเป็นเงื่อนไขท้ายใบอนุญาต และผู้ดาเนินการต้อง รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการฯ ต่อ สผ. ทุกๆ 6 เดือนหรือตามช่วงเวลาที่ระบุไว้ในรายงานฯ รวมถึงต้องรายงานผลการ ปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือข้อกาหนดที่ได้มีความเห็นเพิ่มเติมจาก คชก. และความเห็นของคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติที่ เสนอประกอบ ตามเอกสารแนวทางการเสนอรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และ มาตรการติ ด ตามตรวจสอบผลกระทบสิ่ งแวดล้ อ ม จั ด ท าโดยส านั ก วิ เ คราะห์ ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อ ม สั งกั ด สผ. ได้ ใ ห้ รายละเอียดการจัดทารายงานผลการปฏิบัตติ ามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อม เช่นการจัดเก็บตัวอย่าง และ รูปแบบรายงาน โดยระบุว่าหากโครงการไม่ปฏิบัติตามแนวทางการจัดทารายงานผลการปฏิบัติฯ จะไม่ได้รับการพิจารณา คัดเลือกให้เป็นผู้ประกอบการดีเด่นด้านสิ่งแวดล้อมของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง สผ. อาจจะต้อง กากับดูแลการดาเนินงานของโครงการเป็นพิเศษ สาหรับโครงการที่ไม่ดาเนินการจัดส่งรายงานผลการปฏิบัติฯ หรือจัดส่งล่าช้ากว่ากาหนด สผ. จะนารายชื่อโครงการ ขึ้นเว็บไซต์ของสานักงาน และส่งเจ้าหน้าที่ทาการตรวจสอบอย่างเข้มงวดต่อไป
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
117
อย่างไรก็ดี มีการเผยแพร่ข้อมูลโดยการตรวจสอบของสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่เข้าไปตรวจสอบ สผ. โดย สอบทานข้อมูลรายงานผลการปฏิบัติการตามมาตรการในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA Monitoring) ระหว่างปี พ.ศ. 2553 ถึง 2554 พบว่าโครงการที่ผ่านการเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจานวน 3,940 โครงการระหว่างปี พ.ศ. 2541 ถึง 2554 มีเพียงร้อยละ 23 ถึงร้อยละ 29 ที่ส่งรายงาน EIA Monitoring และในฐานข้อมูลของ สผ. ก็ไม่มีระบุว่าปัจจุบันมีโครงการใดบ้างที่ดาเนินการอยู่ (สานักข่าวอิศรา, 2556) และจากการเข้าถึงเว็บไซต์ สานักวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557 ก็ไม่พบรายละเอียดของโครงการที่ไม่ดาเนินการจัดส่งรายงานผลการปฏิบัติ ฯ หรือจัดส่งล่าช้ากว่ากาหนด ณรงค์ และคณะ (2552) กล่าวว่า ปัจจุบันการตรวจสอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขในรายงานฯมีปัญหามากเพราะไม่มี กลไกที่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากปัจจัยเช่น หน่วยงานผู้ให้อนุญาตไม่ได้ให้ความสาคัญในการติดตามว่าโครงการได้ปฏิบัติตาม เงื่อนไขในรายงานฯหรือไม่ก่อนที่จะต่อใบอนุญาต หรือหน่วยงานผู้ให้อ นุญาตไม่มีความพร้อม ขาดความรู้ความชานาญการ และไม่มีเครื่องมือในการประเมินหรือตรวจสอบได้ว่ามีการดาเนินการตามมาตรการป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่ระบุไว้ ในรายงานฯหรือไม่ เพียงใด
8.4.2. ปัญหาเกี่ยวกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 8.4.2.1. คุณภาพของรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ระบบการรายงานและการจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในประเทศได้ถูกออกแบบมาอย่างดีตามที่ ปรากฎในประกาศกระทรวงฯ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่จะส่งให้กับ สผ. จะต้องจัดทาโดยบริษัทที่ปรึกษา ซึ่งได้รับการรับรองจาก สผ. เท่านั้น นอกจากนี้กฎหมายด้านการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ระบุแนวทางการจัดทา รายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจน โดย สผ. ใช้เครื่องมือคือการระบุรายการ (Listing Method) เพื่อตรวจสอบ ความครบถ้วนของรายงาน (Chesoh, 2011) แนวทางดังกล่าวทาให้บ ริษัทที่ปรึกษาสามารถทางานได้สะดวกขึ้น แต่ก็มี ข้อจากัด กล่าวคือโครงการแต่ละโครงการมีลักษณะที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องขนาดโครงการ หรือความอ่อนไหวของพื้นที่ ก่อสร้าง ซึ่งบางโครงการอาจต้องมีการศึกษาในบางประเด็นเพิ่มเติม แต่ในประกาศกระทรวงฯไม่ได้กาหนดไว้ กา รจัดทา รายงานฯ จึงมีลักษณะตามรูปแบบมากกว่าการจัดทาตามรายการที่ควรจะศึกษาในปัญหาที่อาจเกิดขึ้นตามลักษณะเฉพาะของ แต่ละโครงการ (ณรงค์ และคณะ, 2552) นอกจากนี้ คุณภาพของรายงานยังถูกตั้งคาถาม เนื่องจากรายงานจะจัดทาโดยให้ผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาจัดหาข้อมูล โดยตนเอง ในขณะที่ข้อมูลเกี่ยวกับกรณีฐาน (baseline) เช่นคุณภาพอากาศ เสียงรบกวน ปริมาณและคุณภาพน้าผิวดิน คุณภาพดิน พืชและสัตว์ประจาถิ่น เป็นข้อมูลที่จาเป็นจะต้องใช้ตัวอย่างจากการลงพื้นที่จริง และผ่านการวิเคราะห์โดย ห้องทดลองที่ได้มาตรฐาน แต่บริษัทที่ปรึกษาได้เปิดเผยว่าข้อมูลกรณีฐานยังด้อยคุณภาพและขาดแคลน ซึ่งบริษัทที่ปรึกษาได้ ทราบถึงข้อจากัดนี้ และอธิบายว่าการเก็บข้อมูลกรณีฐานของการทารายงานแต่ละฉบับนั้นค่อนข้างสิ้นเปลืองงบประมาณ ทรัพยากร และเวลาค่อนข้างมาก ทาให้อาจไม่คุ้มค่าทางธุรกิจ (Chesoh, 2011) การขาดข้อมูลกรณีฐานส่งผลให้บริษัทที่ปรึกษาบางแห่งเลือกที่จะหยิบยืมข้อมูลจากรายงานฉบับอื่น ซึ่งส่วนใหญ่จะ เป็นข้อมูลที่ขาดความจาเพาะของบริเวณพื้นที่พัฒนาโครงการ ทาให้รายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่จัดทามามี จานวนหน้าค่อนข้างมาก เพื่อปกปิดข้อจากัดและการไม่มีข้อมูลที่จาเพาะต่ อพื้นที่พัฒนาโครงการ (Pratumsinchai and
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
118
Panswad, 2004 อ้างถึงใน Chesoh, 2011) นอกจากนี้ ข้อมูลด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากโครงการยังไม่เพียงพอ หรืออาจจะล้าสมัย โดยขาดการระบุผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียระดับทุติยภูมิหรือมากกว่า (Chesoh, 2011) กรณีศึกษาที่น่าสนใจคือการคัดค้านโครงการก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ จ.นครสวรรค์ ซึ่งจะต้องสูญเสียผืนป่าในอุทยาน แห่งชาติแม่วงก์ โดยมีการตั้งคาถามจากกลุ่มนักวิชาการและนักอนุรักษ์ต่อคุณภาพร่างรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม เช่นข้อมูลทุติยภูมิขาดความน่าเชื่อถือเพราะไม่มีแหล่งอ้างอิง และข้อมูลที่ใช้เป็นข้อมูลเก่าอายุมากกว่า 15 ปี ข้อ สงสัยดังกล่าวได้ถูกรวบรวมและตีพิมพ์เป็นหนังสือ ‘เหตุผลในการคัดค้านเขื่อนแม่วงก์ ’ จัดพิมพ์โดยมูลนิธิสืบนาคะเสถียร รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมฉบับดังกล่าวยังถูกวิพากษ์โดยเอกสารของกรมอุท ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์ พืช วันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 เลขที่ ทส.0910.204/23269 ถึง สผ. ในประเด็นเรื่องความไม่ถูกต้องของการจาแนกชนิด และจานวนสัตว์ป่าที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ และการคานวณด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมที่ประเมินมูลค่าต้นทุนต่ากว่า ความเป็นจริง อัญชลี (2549) ได้สรุปปัญหาเรื่องคุณภาพของรายงานฯไว้ว่า เนื้อหาไม่ครอบคลุม การประเมินตามรายงานของ เจ้าของโครงการไม่ตรงกับข้อเท็จจริง บุคคลที่ดาเนินการไม่เป็นที่ยอมรับหรือไม่มีความรู้ ขาดการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เก็บ ข้อมูล เวลาในการดาเนินการไม่เพียงพอ โดยมีข้อสังเกตว่าการจัดทารายงานผลการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ จะมีความเร่งรีบในการศึกษามากกว่าโครงการอื่น 8.4.2.2. การศึกษาทางเลือก ในประเทศไทย แม้จะมีการระบุในประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมว่า “ในรายงานฯ จะต้อง เสนอทางเลือก ที่อาจเป็นทั้งทางเลือกเกี่ยวกับสถานที่ตั้งหรือวิธีการดาเนินการของโครงการ... มีมาตรการในการป้องกันและ แก้ไขผลกระทบในทุกทางเลือก และจะต้องระบุทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดที่จะดาเนินโครงการหรือกิจการ พร้อมแสดงเหตุผล และความจาเป็นประกอบ” แต่ในทางปฏิบัติกลับไม่มีรายงานฉบับใดที่เสนอทางเลือกอย่างเป็นรูปธรรม โดยการนาเสนอทางเลือกจะกลายเป็น ส่วนหนึ่งของการศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) โดยทางเลือกดังกล่าวจะขาดข้อมูลโดยละเอียด ไม่มีแหล่งอ้างอิง ไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ และไม่เป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการพิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม เช่นในกรณีการเลือกแนว ในการวางท่อส่งก๊าซธรรมชาติไทย-มาเลเซีย ที่หากต้องเปลี่ยนแปลงแนววางท่อก๊าซเป็นทางเลือกอื่นก็จาเป็นต้องจัดทา รายงานฯ ฉบับใหม่ (Stampe, 2009) 8.4.2.3. อายุของรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ไม่ ว่ า โครงการที่ ต้ อ งจั ด ท ารายงานการวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มนั้ น จะต้ อ งขอรั บ ความเห็ น ชอบจาก คณะรัฐมนตรีหรือไม่ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 ก็ไม่มีการกาหนดอายุของรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม นั่นหมายความว่า หากโครงการได้ผ่านกระบวนการจัดทาและพิจารณารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมแล้ว รายงานฉบับดังกล่าวจะมีผลบังคับใช้ตลอดไป โดยถือว่าโครงการหรือกิจการนั้นๆ ได้ผ่านขั้นตอนการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมมาแล้ว แม้ว่า ณ เวลาที่พิจารณาเห็นชอบรายงานจะห่างจากวันที่เริ่มโครงการเท่าใด รวมถึงลักษณะพื้นที่โดยรอบ จะเปลี่ยนไปขนาดไหนก็ตาม (ทศวรรณ, 2555) บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
119
8.4.3 ปัญหาสภาพบังคับทางกฎหมาย เมื่อพิจารณาจากพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 พบว่าไม่มีบทกาหนดลงโทษแก่ เจ้าของโครงการในกรณีที่เจ้าของโครงการหลีกเลี่ยงไม่จัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม หรือการที่เจ้าของ โครงการฝ่าฝืนไม่จัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ทั้งที่โครงการหรือกิจการที่จะดาเนินการเข้าข่ายตามที่ กฎหมายกาหนด จึงถือได้ว่าพระราชบัญญัติข้างต้นขาดสภาพบังคับทางอาญาในกรณีที่บุคคลซึ่งมีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้อง จัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมแต่ได้ละเว้นซึ่งการกระทา (ยุทธศักดิ์ และคณะ, 2556, ทศวรรณ, 2555) แต่เจ้าของโครงการอาจะได้รับบทลงโทษจากหน่วยงานผูอ้ อกใบอนุญาตตามกฎหมาย เช่นกรมโรงงานอุตสาหกรรมอาจไม่ออก ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานให้ เป็นต้น เช่นเดียวกับประเด็นการไม่ยื่นรายงานฯ ก่อนการประกอบกิจการ ก็ไม่มีความผิดตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ซึ่ง ณรงค์ และคณะ (2552) ได้กล่าวถึงกรณีเดียวที่มีบทลงโทษ คือกรณีที่ไม่ดาเนินการ จัดทารายงานฯตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดมาตรการที่ต้องจัดทารายงานฯ ในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 43 หรือ ประกาศพื้นที่วิกฤติตามมาตรา 45 จะถือว่าเป็นการกระทาฝ่าฝืนกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา 44 หรือตามประกาศ ของรัฐมนตรีตามมาตรา 45 เป็นความผิดมาตรา 100 มีโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปีและปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ส่วนการยื่นรายงานฯ ที่มีข้อเท็จจริงไม่ตรงกับความจริง เช่นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผลกระทบของทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม หรือสังคม อันจะนาไปสู่การวิเคราะห์หรือให้ความเห็นชอบโดยผิดหลงของ คชก. ณรงค์ และคณะ (2552) พบว่า ไม่มีบทบัญญัติที่กาหนดความผิดไว้ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 แต่การกระทาดังกล่าว มีโทษทางปกครอง ซึ่งกาหนดให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอานาจสั่งพักใบอนุญาต หรือสั่งเพิกถอนใบอนุญาต รวมถึงการลงโทษทางอาญาฐานแจ้งข้อความอันเป็นเท็จแก่เจ้าพนักงานตามมาตรา 137 ซึ่งมีโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือ ปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ นับว่าเป็นโทษที่เบาและไม่สามารถยับยั้งการกระทาผิดซึ่งกระทาโดยนิติบุคคลได้ ณรงค์ และคณะ (2552) ยังกล่าวเพิ่มเติมถึงสภาพบังคับกรณีที่เจ้าของโครงการไม่ดาเนินการตามที่กาหนดไว้ใน รายงานฯ หลังจากที่ได้รับอนุญาตแล้ว ในประเด็นดังกล่าว เจ้าพนักงานในหน่วยงานผู้ให้อนุญาตมีอานาจตามกฎหมายให้ ดาเนินการตามเงื่อนไข หากฝ่ าฝืนจะมีผลให้มีการสั่งแก้ไขหรือให้ระงับการดาเนินการชั่วคราวหรือทั้งหมด อย่างไรก็ดี ใน พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ไม่มีบทบัญญัติในกรณีที่เจ้าของโครงการไม่ดาเนินการตามที่ กาหนดไว้ในรายงานฯ ทาให้เห็นว่าเป็นกระบวนการที่ขาดสภาพบังคับ เนื่องจากไม่มีกฎหมายที่จะลงโทษหรือบังคับให้กระทา
8.4.4. ปัญหาเกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องในกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 8.4.4.1 คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 12 ได้กาหนดให้มี คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และองค์ประกอบส่วนใหญ่ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติจะมาจากภาคการเมือง โดยมีจานวนของผู้แทนภาคเอกชนร่วมอยู่เป็นจานวนน้อย การพิจารณารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในกรณีโครงการหรือกิ จการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ซึ่งต้องขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี โดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจขาดความเป็นกลาง เพราะคณะกรรมการฯ ซึ่งเป็นตัวแทนจากภาคการเมืองย่อม ต้องผลักดันโครงการหรือกิจการต่างๆ ให้เป็นไปตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีซึ่งอาจมุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยไม่ คานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม (ทศวรรณ, 2555) และในการเสนอชื่อตัวแทนของประชาชนหรือชุมชนในการมี บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
120
ส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมนั้น ก็มีสัดส่วนของประชาชนน้อยมากเมื่อเทียบกับจานวนกรรมการที่เป็นเจ้าหน้าที่ของ รัฐ ดังนั้น การเสนอชื่อบุคคลเป็นคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม จึงไม่ถือว่าเป็นการมีส่วนร่วมของประชาชน (สุวิจักข์, 2556) นอกจากนี้ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติก็ไม่ได้มีอานาจในการตัดสินใจ เพราะอานาจในการให้ความเห็นชอบ หรือไม่เห็นชอบนั้น จะเป็นหน้าที่ของคณะรัฐมนตรี ในกระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม กรณี ที่ต้องขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี Boyle (1998) ยกตัวอย่างกรณีโรงงานถลุงแร่แทนทาลัม จ.ภูเก็ต โดยโครงการดังกล่าวได้หลีกเลี่ยงการทารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจนกระทั่งใกล้แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2529 ที่โรงงานดังกล่าวถูกเผาโดยกลุ่มผู้ประท้วง โดยมี บันทึกไว้ว่าเป็น ‘เหตุการณ์จลาจลแทนทาลัม ’ โดยก่อนเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติได้ระบุว่า ควรจะจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโดยพิจารณาถึงพื้นที่ก่อสร้างอื่น แต่ความเห็ นดังกล่าวไม่ได้รับการ สนใจจากผู้ดาเนินโครงการ สะท้อนให้เห็นถึงภาวะไร้อานาจขององค์การด้านสิ่งแวดล้อมในไทย 8.4.4.2 องค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่มีพระราชบัญญัติองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ซึ่งคณะกรรมการชุดปัจจุบัน แต่งตั้งขึ้นตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานการให้ความเห็นขององค์การอิสระในโครงการหรือ กิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง พ.ศ. 2553 โดยคณะกรรมการดังกล่าวจะประกอบด้วยผู้แทนองค์การ เอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันศึกษาที่จัดการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติ กระบวนการพิ จารณารายงานวิ เคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อ มและสุ ข ภาพนั้น องค์ก รอิ ส ระทาหน้า ที่เ พี ยงให้ ความเห็นประกอบต่อรายงานฯ ถือว่าเป็นการให้ความเห็นที่ไม่มีผลอย่างใดต่อการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม เนื่องจากได้ผ่านขั้นตอนกระบวนการการพิจารณาโดยคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญมาแล้ว ดังเช่นองค์การอิสระด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ซึ่งทาหน้าที่ให้ความเห็นประกอบรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จะไม่มีบทบาท ในการให้ความคุ้มครองสิทธิชุมชนอย่างแท้จริง อีกทั้งยังขาดความเป็นอิสระในการดาเนินงาน เนื่องจากต้องดาเนินงานภายใต้ กฎระเบียบของราชการ อีกทั้งยังต้องทางานภายใต้งบประมาณของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นหน่วยงานภาครัฐ (ทศวรรณ, 2555) 8.4.4.3 คณะกรรมการผู้ชานาญการ คณะกรรมการผู้ ชานาญการจะได้รั บการแต่ งตั้ งโดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อ มแห่ งชาติ โดยมีหลั กเกณฑ์ และ คุณสมบัติเ ป็นไปตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมฯ ซึ่งปัจจุบัน มีทั้งสิ้น 16 คณะ แบ่งเป็ น คณะกรรมการผู้ชานาญการเพื่อพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ 10 ด้าน คณะกรรมการ ผู้ชานาญการเพื่อพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการบ้านเอื้ออาทร 2 คณะ และคณะกรรมการ ผู้ชานาญการเพื่อพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามพื้นที่ 4 คณะ โดยจะมีวาระคราวละ 3 ปี โดยจะมี ข้อกาหนดว่าโครงการประเภทใด จะต้องเสนอต่อคณะกรรมการชุดใดบ้าง ณรงค์ และคณะ (2552) ระบุถึงอุปสรรคสาคัญที่ถือเป็นปัญหาในการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม โดยอธิบายถึงข้อจากัดของ คชก. สองประการ ประการแรกคือข้อจากัดในข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูลใน รายงานฯ เพราะแต่ละโครงการมีประเด็นในการศึกษาหลากหลาย และในบางเรื่องต้องการการตรวจสอบที่ต้องใช้ข้อเท็จจริง บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
121
ในพื้นที่ ความรู้ทางเทคนิคและทางวิชาการในการพิจารณาวิเคราะห์ ซึ่ง คชก. อาจไม่มีความรู้หรือความถนัดในประเด็นบาง เรื่อง ประการที่สองคือข้อจากัดด้านเวลา ซึ่งต้องพิจารณารายงานฯ ภายในเวลาที่กฎหมายกาหนด และต้องให้ความเห็น ว่าเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ และหากไม่ให้ความเห็นในระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด จะถือว่า คชก. ได้ให้ความเห็นชอบกับ รายงานฯ ดังกล่าวแล้ว แม้ว่ากรอบเวลาในการพิจารณาจะมีผลดีเพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการทราบผลพิจารณา แต่ก็มี ข้อเสียต่อผู้ขออนุญาต กล่าวคือหาก คชก. พิจารณาไม่เสร็จเรียบร้อยพอที่จะให้ความเห็นชอบ ก็จะลงมติไม่เห็นชอบรายงานฯ ทาให้นิติบุคคลผู้จัดทารายงานฯ จะต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมฉบับใหม่ นอกจากนี้ การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ชานาญการแบบถาวรนั้น จะอานวยความสะดวกในแง่กระบวนการ แต่ในบาง กรณีที่โครงการมีลักษณะเฉพาะ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่มีความรู้ในเรื่องดังกล่าว ทาให้การพิจารณาไม่ตรงกับเรื่องที่ ศึกษา นาไปสู่ปัญหาด้านประสิทธิภาพของการพิจารณารายงานฯ 8.4.4.4 องค์กรกลางเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง การจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีปัญหาข้อขัดแย้งค่อนข้างมากจากผู้มีส่วนได้เสียทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ปัจจุบัน มีกลไกเพื่อแก้ไขข้อขัดแย้งดังกล่าวโดยใช้การจัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจซึ่ง จัดตั้งขึ้นเฉพาะเป็นกรณีๆ ไป เช่นกรณีความขัดแย้งในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด แต่ยังไม่มีหน่วยงานกลางถาวรด้าน สิ่งแวดล้อมที่ทาหน้าที่แก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานต่างๆ รวมถึงข้อพิพาทที่ประชาชนร้องเรียน การจัดตั้ง คณะกรรมการเป็นเฉพาะกรณีไปนั้น อาจมีปัญหาเช่น คณะกรรมการขาดประสบการณ์ ไม่มีความเชี่ย วชาญ หรือขาดความ ชานาญการในการพิจารณาแก้ไขข้อขัดแย้ง (ทศวรรณ, 2555) 8.4.4.5 นิติบุคคลผู้จัดทารายงานฯ มาตรา 51 วรรคสอง พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ได้กาหนดหลักเกณฑ์การขอ อนุญาต เงื่อนไข และการควบคุมการดาเนินงานของผู้ชานาญการศึกษาเพื่อมี สิทธิจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม จากการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโดย ณรงค์ และ คณะ (2552) พบว่าคุณสมบัติและศักยภาพของนิติบุคคลผู้จัดทารายงานฯ มีคุณภาพและได้รับการคัดกรองอย่างดี แต่มี ข้อด้อยคือความไม่เป็ นกลางหรือ การจัดทารายงานฯ ที่เอื้อประโยชน์ต่อผู้ป ระกอบการ มีการปกปิดข้อมูลบางอย่างต่ อ ประชาชน หรือทาข้อมูลในรายงานฯ คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง ความไม่เชื่อมั่นในความเป็นกลางของนิติบุคคลผู้จัดทารายงานฯ เนื่องจากผลประโยชน์ที่ทับซ้อน สะท้อนอยู่ใน รายงานความล้มเหลวของกระบวนการจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน และท่าเทียบเรือ จ.กระบี่ ที่กล่าวโจมตีว่ากลุ่มผู้ศึกษาเป็น ‘นักวิชาการรับจ้าง’ ที่ได้ผลประโยชน์หากรายงานที่ออกมาสามารถ ตีตราประทับให้กับโครงการฯ นาไปสู่การระบุผลกระทบที่ต่ากว่าความเป็นจริง และหากมีผลกระทบก็ระบุว่าสามารถแก้ไขได้ (ธารา และคณะ, 2557) แม้ว่าการจัดทารายงานฯ เท็จอาจมีสภาพบังคับทางกฎหมายโดยการเพิกถอนใบอนุญาต แต่ในทางปฏิบัติ การเพิก ถอนใบอนุญาตดังกล่าวมีผลต่อนิติบุคคลผู้มีสิทธิทารายงานฯ แต่ผู้ชานาญการที่เป็นผู้ มีสิทธิทารายงานฯ อาจไปทางานให้กับ นิติบุคคลอื่น เนื่องจากการพักใบอนุญาตข้างต้นเป็นการพักใบอนุญาตนิติบุคคล มิใช่การพักใบอนุญาตของบุคคล (ณรงค์ และ คณะ, 2552) บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
122
ตาราง 5 ประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลาดับ
ประเภทโครงการหรือกิจการ
ขนาด
1
การทาเหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ 1.1 โครงการเหมืองแร่ดังต่อไปนี้ 1.1.1 เหมืองแร่ถ่านหิน 1.1.2 เหมืองแร่โพแทช 1.1.3 เหมืองแร่เกลือหิน 1.1.4 เหมืองแร่หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมปูนซิเมนต์ 1.1.5 เหมืองแร่โลหะทุกชนิด 1.2 โครงการเหมืองแร่ใต้ดิน 1.3 โครงการเหมืองแร่ทุกชนิดที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ดังต่อไปนี้ 1.3.1 พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้าชั้น ๑ ตามมติคณะรัฐมนตรี 1.3.2 ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติมตามมติคณะรัฐมนตรี 1.3.3 พื้นที่ชุ่มน้าที่มีความสาคัญระหว่างประเทศ 1.3.4 พื้นที่ที่อยู่ใกล้โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี แหล่งประวัติศาสตร์หรือ อุทยาน ประวัติศาสตร์ตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพธิ ภัณฑ์สถาน แห่งชาติ แหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่งมรดกโลกตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ ในระยะทาง ๒ กิโลเมตร 1.4 โครงการเหมืองแร่ที่มีการใช้วัตถุระเบิด 1.5 โครงการเหมืองแร่ชนิดอื่นๆตามกฎหมายว่าด้วยแร่ ยกเว้นตามข้อ 1.1ข้อ 1.2 ข้อ 1.3 และข้อ 1.4 การพัฒนาปิโตรเลียม 2.1 การสารวจปิโตรเลียม โดยวิธีการเจาะ สารวจ 2.1 การผลิตปิโตรเลียม โครงการระบบขนส่งปิโตรเลียมและน้ามันเชื้อเพลิงทางท่อ
ทุกขนาด
2
3
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร
ทุกขนาด
ให้เสนอในขั้นตอนการขอรับความเห็นชอบจาก หน่วยงานผู้รับผิดชอบหรือหน่วยงานผู้อนุญาตตาม กฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม
ทุกขนาด
ให้เสนอในขั้นตอนขอใบอนุญาตหรือขั้นขอรับความ เห็นชอบจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบ
123
4 5
นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม หรือโครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกับนิคม อุตสาหกรรม หรือโครงการจัดสรรที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมปิโตรเลียมที่มีกระบวนการผลิตทางเคมี
6
อุตสาหกรรมกลั่นน้ามันปิโตรเลียม
7
อุตสาหกรรมแยกหรือแปรสภาพก๊าซธรรมชาติ
8
9
อุตสาหกรรมคลอ – แอลคาไลน์ (Chlor – alkaline industry) ที่ใช้โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เป็นวัตถุดิบใน การผลิต โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) กรดไฮโดรคลอริก (HCl) คลอรีน (Cl2) โซเดียมไฮโพคลอไรด์ (NaOCl) และปูนคลอรีน (Bleaching Powder) อุตสาหกรรมผลิตปูนซิเมนต์
10
อุตสาหกรรมผลิตเยื่อกระดาษ
11
อุตสาหกรรมที่ผลิตสารออกฤทธิห์ รือสารที่ใช้ป้องกันหรือกาจัดศัตรูพืชหรือสัตว์โดยใช้กระบวนการทางเคมี
12
อุตสาหกรรมผลิตปุ๋ยเคมีโดยกระบวนการทางเคมี
13
อุตสาหกรรมประกอบกิจการเกีย่ วกับน้าตาลดังต่อไปนี้ 13.1 การทาน้าตาลทรายดิบ น้าตาลทรายขาว น้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์
ทุกขนาด
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ
ที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึน้ ไป
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการ หรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการ หรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการ หรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี ที่มีกาลังผลิตสารดังกล่าว แต่ละชนิด หรือรวมกัน ตั้งแต่ ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ 100 ตันต่อวัน ขึ้นไป กิจการ หรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่อวัน ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการแล้วแต่ กรณี ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
ทุกขนาด 124
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ
กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี 13.2 การทากลูโคส เดกซ์โทรส ฟรักโทส หรือผลิตภัณฑ์อื่นที่คล้ายคลึงกัน
ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 20 ตันต่อวันขึ้นไป
14
อุตสาหกรรมเหล็ก หรือเหล็กกล้า
ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 100 ตันต่อวัน ขึ้นไป
15
อุตสาหกรรมถลุงหรือแต่งแร่ หรือหลอมโลหะซึ่งมิใช่อุตสาหกรรมเหล็กหรือเหล็กกล้า
ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่อวัน ขึ้นไป
16
อุตสาหกรรมผลิตสุรา แอลกอฮอล์ รวมทั้งผลิตเบียร์และไวน์ ๑๖.๑ อุตสาหกรรมผลิตสุรา แอลกอฮอล์
๑๖.๒ อุตสาหกรรมผลิตไวน์
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี
ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 40,000 ลิตรต่อเดือน (คิดเทียบที่ 28 ดีกรี)
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี
ที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 600,000 ลิตรต่อเดือน
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี
ที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 600,000 ลิตรต่อเดือน ๑๖.๓ อุตสาหกรรมผลิตเบียร์
17
โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมเฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน
18
โรงไฟฟ้าพลังความร้อน
ทุกขนาด
ที่มีกาลังผลิตกระแสไฟฟ้าตั้งแต่ 10 เมกะวัตต์ขึ้นไป บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
125
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อประกอบ
19 20
21 22
ระบบทางพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการทางพิเศษ หรือโครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกับทางพิเศษ ทางหลวงหรือถนน ซึ่งมีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง ที่ตัดผ่านพื้นที่ดังต่อไปนี้ 20.1 พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ปา่ ตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและ คุ้มครองสัตว์ป่า 20.2 พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ 20.3 พื้นที่เขตลุ่มน้าชั้น ๒ ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแล้ว 20.4 พื้นที่เขตป่าชายเลนที่เป็นป่าสงวนแห่งชาติ 20.5 พื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ ๕๐ เมตรห่างจากระดับน้าทะเลขึ้นสูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ 20.6 พื้นที่ที่อยู่ในหรือใกล้พื้นที่ชุ่มน้าทีม่ ีความสาคัญระหว่างประเทศ หรือแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่ง มรดกโลกตามอนุสัญญาระหว่างประเทศในระยะทาง ๒ กิโลเมตร 20.7 พื้นที่ที่ตั้งอยู่ใกล้โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี แหล่งประวัติศาสตร์ หรืออุทยานประวัติศาสตร์ตาม กฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพธิ ภัณฑ์สถานแห่งชาติ ในระยะทาง ๒ กิโลเมตร ระบบขนส่งมวลชนที่ใช้ราง ท่าเทียบเรือ
23
ท่าเทียบเรือสาราญกีฬา
24 25
การถมที่ดินในทะเล การก่อสร้างหรือขยายสิ่งก่อสร้างบริเวณหรือในทะเล 25.1 กาแพงริมชายฝั่ง ติดแนวชายฝั่ง
ทุกขนาด ทุกขนาด
ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ รับเรือขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอส หรือความยาวหน้าท่า ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ ตั้งแต่ 100 เมตรหรือมีพื้นที่ท่าเทียบเรือรวม ตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตร ขึ้นไป ที่รองรับเรือได้ตั้งแต่ 50 ลา หรือ 1,000 ตารางเมตร ขึ้นไป ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ ความยาวตั้งแต่ 200 เมตรขึ้นไป
25.2 รอดักทราย เขื่อนกันทรายและคลื่นรอบังคับกระแสน้า
26
25.3 แนวเขือ่ นกันคลื่นนอกฝั่งทะเล โครงการระบบขนส่งทางอากาศ
กิจการหรือขั้นขออนุญาตประกอบกิจการ แล้วแต่ กรณี ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ
ทุกขนาด ทุกขนาด ที่มีขนาดความยาวของทางวิ่งตั้งแต่ 1,100 เมตร ทุก
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
126
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการให้
27
26.1 ก่อสร้างหรือขยายสนามบินหรือทีข่ ึ้นลงชั่วคราว เพื่อการพาณิชย์ 26.2 สนามบินน้า อาคาร ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารซึ่งมีลักษณะที่ตั้งหรือการใช้ประโยชน์ในอาคารอย่างหนึ่งอย่าง ใด ดังนี้ 27.1 อาคารที่ตั้งริมแม่น้า ฝั่งทะเล ทะเลสาบหรือชายหาด หรือที่อยู่ใกล้หรือในอุทยานแห่งชาติ หรืออุทยาน ประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นบริเวณที่อาจจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ความสูงตั้งแต่ 23.00 เมตร ขึ้นไป หรือมีพื้นที่รวมกัน ทุกชั้นหรือชั้นหนึ่ง ชั้นใดในหลังเดียวกัน ตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตร ขึ้นไป
27.2 อาคารที่ใช้ในการประกอบธุรกิจค้าปลีกหรือค้าส่ง
ความสูงตั้งแต่ 23.00-เมตร ขึ้นไป หรือมีพื้นที่รวมกัน ทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกัน ตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตร ขึ้นไป
27.3 อาคารที่ใช้เป็นสานักงานหรือที่ทาการของเอกชน
ความสูงตั้งแต่ 23.00 เมตรขึ้นไป หรือมีพื้นที่ รวมกัน ทุกชั้น หรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตร ขึ้นไป จานวนที่ดินแปลงย่อยตั้งแต่ 500 แปลง หรือเนื้อที่เกิน กว่า 100 ไร่
28
การจัดสรรที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือเพื่อประกอบการพาณิชย์ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน
29
โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล 29.1 กรณีตั้งอยู่ใกล้แม่นา้ ฝั่งทะเล ทะเลสาบหรือชายหาด ในระยะ ๕๐ เมตร
30
ขนาด
29.2 กรณีโครงการที่ไม่อยู่ในข้อ 29.1 โรงแรมหรือสถานที่พักตากอากาศตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
ที่มีเตียงสาหรับผู้ป่วยไว้คา้ งคืน ตั้งแต่ 30 เตียงขึ้นไป ที่มีเตียงสาหรับผู้ป่วยไว้คา้ งคืนตั้งแต่ 60 เตียง ขึ้นไป ที่มีจานวนห้องพักตั้งแต่ 80 ห้อง ขึ้นไป หรือมีพื้นที่ใช้ สอยตั้งแต่ 4,000 ตารางเมตร ขึ้นไป
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
127
เสนอในขั้นขออนุญาตจัดตั้งหรือขออนุญาตขึ้น-ลง อากาศยาน ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือหากใช้วธิ ีการ แจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วย การควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้ เสนอรายงานใน
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตจัดสรรที่ดินตามกฎหมาย ว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือหากใช้วธิ ีการ แจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วย การควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้ เสนอรายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือหากใช้วธิ ีการ แจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วย การควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้
31
อาคารอยูอ่ าศัยรวมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
32
การชลประทาน
33 34
โครงการทุกประเภทที่อยู่ในพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบกาหนดให้เป็นพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้าชั้น 1 การผันน้าข้ามลุ่มน้า ดังต่อไปนี้ 34.1 การผันน้าข้ามลุ่มน้าหลัก ยกเว้นกรณีภัยพิบัติ หรือมีผลกระทบต่อความมัน่ คงของประเทศ ที่เป็นการ ดาเนินการชั่วคราว 34.2 การผันน้าระหว่างประเทศ ยกเว้นกรณีภัยพิบัติ หรือมีผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ที่เป็นการ ดาเนินการชั่วคราว ประตูระบายน้าในแม่น้าสายหลัก อุตสาหกรรมผลิตถ่ายโค้ก
35 36
ที่มีจานวนห้องพักตั้งแต่ 80 ห้อง ขึ้นไป หรือมีพื้นที่ใช้ สอย ตั้งแต่ 4,000 ตารางเมตรขึ้นไป
ที่มีพื้นที่การชลประทาน ตั้งแต่ 80,000 ไร่ ขึ้นไป ทุกขนาด ทุกขนาด
ทุกขนาด ทุกขนาด
เสนอรายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือหากใช้วธิ ีการ แจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วย การควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้ เสนอรายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ
ตาราง 6 ประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ลาดับ
ประเภทโครงการหรือกิจการ
ขนาด
1
การถมทะเล หรือทะเลสาบ นอกแนวเขตชายฝั่งเดิม ยกเว้นการถมทะเลที่เป็นการฟื้นฟูสภาพชายหาด
2
การทาเหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ดังต่อไปนี้ 2.1 เหมืองแร่ใต้ดิน เฉพาะที่ออกแบบให้โครงสร้างมีการยุบตัวภายหลังการทาเหมืองโดยไม่มีค้ายันและไม่มีการใส่คืนวัสดุทดแทนเพื่อป้องกันการยุบตัว 2.2 เหมืองแร่ตะกั่ว เหมืองแร่สังกะสี หรือเหมืองแร่โลหะอื่นที่ใช้ไซยาไนด์หรือปรอทหรือตะกัว่ ไนเตรต ในกระบวนการผลิต หรือเหมืองแร่โลหะอื่นที่มอี าร์เซโนไพไรต์ (arsenopyrite) เป็นแร่ประกอบ (associated mineral) บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
ตั้งแต่ 300 ไร่ขึ้นไป
128
ทุกขนาด ทุกขนาด
หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ อนุญาติโครงการ ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร
2.3 เหมืองแร่ถ่านหิน เฉพาะที่มีการลาเลียงแร่ถ่านหินออกนอกพื้นที่โครงการด้วยรถยนต์ 2.4 เหมืองแร่ในทะเล
3
4
นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการอุตสาหกรรม หรือโครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรมดังต่อไปนี้ 3.1 นิคมอุตสาหกรรม หรือโครงการที่มลี ักษณะเช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรมทีจ่ ัดตั้งขึ้นเพื่อรองรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีตามข้อ 4 หรืออุตสาหกรรมถลุงแร่เหล็กตาม 5.1 หรือ 5.2 แล้วแต่กรณีมากกว่า 1 โรงงาน 3.2 นิคมอุตสาหกรรม หรือโครงการที่มลี ักษณะเช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรม ที่มีการขยายพื้นที่เพือ่ รองรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีตาม 4 หรืออุตสาหกรรมถลุงแร่ เหล็กตาม 5.1 หรือ 5.2 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีดังต่อไปนี้ 4.1 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้น (upstream petrochemical industry)
4.2 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นกลาง (intermediate petrochemical industry) ดังต่อไปนี้ 4.2.1 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นกลาง (intermediate petrochemical industry) ที่ผลิตสารเคมี หรือใช้เป็นวัตถุดิบทีเ่ ป็นสารเคมี ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง กลุ่ม 1
4.2.2 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นกลาง (intermediate petrochemical industry) ที่ผลิตสารเคมี หรือใช้วัตถุดิบที่เป็นสารเคมี ซึ่งเป็นสาก่อมะเร็งกลุ่ม 2 A
ขนาดตั้งแต่ 200,000 ตันต่อเดือนหรือ 2,400,000 ตันต่อปี ขึ้นไป ทุกขนาด ทุกขนาด
ทุกขนาด หรือที่มีการ ขยายกาลังการผลิต ตั้งแต่ร้อยละ 35 ของ กาลังการผลิตเดิม
ขนาดกาลังการผลิต 100 ตันต่อวันขึ้นไป หรือที่มีการขยายกาลัง การผลิตรวมกันแล้ว มากกว่า 100 ตันต่อ วันขึ้นไป ขนาดกาลังการผลิต 700 ตันต่อวันขึ้นไป
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
129
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ อนุญาตโครงการ
ให้เสนอในขั้นตอนอนุญาต ก่อสร้างเพื่อประกอบกิจการ หรือขั้นขออนุญาตประกอบ กิจการ หรือในขั้นขยายแล้วแต่ กรณี
หรือที่มีการขยายกาลัง การผลิตรวมกันแล้ว มากกว่า 700 ตันต่อ วันขึ้นไป 5
อุตสาหกรรมถลุงแร่ หรือหลอมโลหะ ดังต่อไปนี้ 5.1 อุตสาหกรรมถลุงแร่เหล็ก
ให้เสนอในขั้นตอนอนุญาต ที่มีปริมาณแร่ป้อน ก่อสร้างเพื่อประกอบกิจการ (input) เข้าสู่ หรือขั้นขออนุญาตประกอบ กระบวนการผลิต กิจการ หรือในขั้นขยายแล้วแต่ ตั้งแต่ 5,000 ตันต่อวัน กรณี ขึ้นไป หรือที่มีปริมาณ แร่ป้อน (input) เข้าสู่ กระบวนการผลิต รวมกันตั้งแต่ 5,000 ตันต่อวันขึ้นไป
5.2 อุตสาหกรรมถลุงแร่เหล็กที่มีการผลิตถ่าย coke หรือที่มีกระบวนการ sintering 5.3 อุตสาหกรรมถลุงแร่ทองแดง ทองคา หรือสังกะสี
ทุกขนาด 5.4 อุตสาหกรรมถลุงแร่ตะกั่ว
ที่มีปริมาณแร่ป้อน (input) เข้าสู่ กระบวนการผลิต ตั้งแต่ 1,000 ตันต่อวัน ขึ้นไป หรือที่มีปริมาณ แร่ป้อน (input) เข้าสู่ กระบวนการผลิต รวมกันตั้งแต่ 1,000 ตันต่อวันขึ้นไป
5.5 อุตสาหกรรมหลอมโลหะ (ยกเว้นเหล็ก และอะลูมิเนียม)
5.6 อุตสาหกรรมหลอมตะกั่ว
ทุกขนาด บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
130
ที่มีปริมาณแร่ป้อน (input) เข้าสู่ กระบวนการผลิต ตั้งแต่ 50 ตันต่อวันขึ้น ไป หรือที่มีปริมาณแร่ ป้อน (input) เข้าสู่ กระบวนการผลิต รวมกันตั้งแต่ 50 ตัน ต่อวันขึ้นไป
6
การผลิต กาจัด หรือปรับแต่งสารกัมมันตรังสี
7
โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมหรือโรงงานประกอบกิจการเกีย่ วกับการฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงานที่มี การเผาหรือฝังกลบของ เสียอันตราย ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ยกเว้นการเผาในหม้อเผาซีเมนต์ที่ใช้ของเสียอันตรายที่ใช้ของเสียอันตรายเป็นวัคถุดิบทดแทน หรือใช้เป็นเชื้อเพลิงเสริม
8
โครงการระบบขนส่งทางอากาศ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
131
ที่มีปริมาณแร่ป้อน (input) เข้าสู่ กระบวนการผลิต ตั้งแต่ 10 ตันต่อวันขึ้น ไป หรือที่มีปริมาณแร่ ป้อน (input) เข้าสู่ กระบวนการผลิต รวมกันตั้งแต่ 10 ตัน ต่อวันขึ้นไป ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นตอนอนุญาต ก่อสร้างเพื่อประกอบกิจการ หรือขั้นขออนุญาตประกอบ กิจการ ที่มีการก่อสร้าง ขยาย ให้เสนอในขั้นขออนุญาต หรือเพิ่มทางวิ่งของ ประกอบกิจการ
9
อากาศยานตั้งแต่ 3,000 เมตรขึ้นไป 1) ที่มีความยาวหน้า ท่า (berth length) ตั้งแต่ 300 เมตรขึ้นไป หรือมีพื้นที่ท่าเทียบ เรือตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป ยกเว้นท่าเรือที่ ชาวบ้านใช้สอยใน ชีวิตประจาวัน และ การท่องเที่ยว
ท่าเทียบเรือ
เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ อนุญาตประกอบกิจการ
2) ที่มีการขุดลอกร่อง น้าตั้งแต่ 100,000 ตารางเมตรขึ้นไป
10
3) ที่มีการขนถ่ายวัตถุ อันตรายหรือกากของ เสียอันตรายซึ่งเป็น สารก่อมะเร็งกลุ่ม 1 มี ปริมาณรวมกันตั้งแต่ 25,000 ตันต่อเดือน ขึ้นไป หรือมีปริมาณ รวมกันทั้งปีตั้งแต่ 250,000 ตันต่อปีขึ้น ไป 1) ที่มีปริมาตรเก็บกัก
เขื่อนเก็บกักน้า หรืออ่างเก็บน้า บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
132
เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ
น้าตั้งแต่ 100 ล้าน ลูกบาศก์เมตรขึ้นไป หรือ 2) ที่มีพื้นที่เก็บกักน้า ตั้งแต่ 15 ตารางกิโลก เมตรขึ้นไป 11
โรงไฟฟ้าพลังความร้อน ดังต่อไปนี้ 11.1 โรงไฟฟ้าที่ใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง
ขนาดกาลังผลิตไฟฟ้า รวมตั้งแต่ 100 เมกะ วัตต์ ขึ้นไป
11.2 โรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงชีวมวล ขนาดกาลังผลิต กระแสไฟฟ้ารวมตั้งแต่ 150 เมกะวัตต์ ขึ้นไป
11.3 โรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ซึ่งระบบพลังความร้อนร่วมชนิด combined cycle หรือ cogeneration 11.4 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
ขนาดกาลังผลิต กระแสไฟฟ้ารวมตั้งแต่ 3,000 เมกะวัตต์ขึ้นไป ทุกขนาด
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
133
อนุญาตประกอบกิจการ
ให้เสนอในขั้นตอนอนุญาต ก่อสร้างเพื่อประกอบกิจการ หรือขั้นขออนุญาตประกอบ กิจการ หรือในขั้นขยายแล้วแต่ กรณี
8.5 ทัศนะเพิ่มเติมจากผู้เชี่ยวชาญ ในมุมมองของนักวิชาการ อ.เดชรัต สุขกาเนิด ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มอง ว่าปัญหาที่สาคัญเกี่ยวกับการทา EIA ประการแรกคือคุณภาพของรายงาน โดยปัจจุบันวงการการทารายงาน EIA ถือได้ว่าเป็น วงการที่ ‘นิ่ง’ ที่สุดในแวดวงวิชาการ เนื่องจากไม่เคยมีการ review รายงาน EIA รวมถึงไม่มีระเบียบวิจัยสาหรับการ review รายงาน EIA เลย ประเทศไทยจึงขาดกระบวนการตรวจสอบรายงาน EIA ในแง่วิชาการที่เพียงพอ และขาดพัฒนาการในเชิง วิชาการ ดังนั้นจึงควรแก้ไขให้ทุกขั้นตอนของการจัดทารายงานมีกระบวนการ review โดยสาธารณะ รวมทั้งร่างรายงานที่ควร ได้รับการเปิดเผยต่อสาธารณะโดย สผ. อีกด้วย อีกปัญหาหนึ่งที่ อ.เดชรัต มองว่าเป็นปัญหาสาคัญในกระบวนการทา EIA ในเมืองไทย คือความเป็นอิสระของ คชก. โดยมองว่า คชก. ยังคงมีปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อน ไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม เช่น เป็นตัวแทนของหน่วยงานใดหน่วยงาน หนึ่ง หรือได้รับทุนสนับสนุนจากบริษัทให้ไปศึกษาต่อ โดย อ.เดชรัต เสนอว่าควรมีการปรับเปลี่ยนระบบการคัดเลือก คชก. โดยไม่ควรให้ คชก. อยู่ในวงที่จากัด ควรให้สมาชิก คชก. มาจากหลากหลายกลุ่ม ไม่ใช่เพียงแค่จากหน่วยงานราชการ ดังนั้น จึงควรมีกระบวนการคัดเลือก คชก. แบบใหม่ ที่เปิดโอกาสให้คนหลายกลุ่ม รวมทั้งประชาชนทั่วไปมีสิทธิในการเลือกและท้วง ติงเกี่ยวกับรายชื่อของ คชก. ได้ด้วย อ.เดชรัต มองว่าหาก คชก. เป็นอิสระอย่างแท้จริง ก็ไม่จาเป็นต้องมีการตั้งองค์กรอิสระขึ้นใหม่เพื่อทาหน้าที่แก้ไข ผลประโยชน์ทับซ้อนระหว่างเจ้าของโครงการและบริษัทที่ปรึกษา โดยอาจปรับให้มีกระบวนการคัดเลือก คชก. รูปแบบใหม่ เพื่อให้ได้ คชก. ที่มีความหลากหลายและมีความเป็นอิสระมากขึ้น โดยได้ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงกระบวนการคัดเลือก 3 ข้อ ได้แก่ 1) เปลี่ยนเป็นระบบลิสต์รายชื่อ โดยมีการแต่งตั้งรายชื่อของผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็น คชก. จากนั้นเปิดโอกาสให้ เสนอชื่อเพิ่มเติม 2) ตั้ง คชก. เป็นองค์กรอิสระ มีระบบการบริหารเช่นเดียวกับองค์กรอิสระอื่นๆ และ 3) ระบบเปิดโหวต สาธารณะ โดยสามารถเสนอชื่อและโหวตเลือก คชก. ได้อย่างอิสระ นอกจากนี้ เพื่อแก้ไขปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนระหว่างเจ้าของโครงการและบริษัทที่ปรึกษา อ.เดชรัต เสนอว่าใน ขั้นตอนการจัดจ้างระหว่างเจ้าของโครงการและบริษัทที่ปรึกษา ควรให้มีผู้ทาหน้าที่คล้ายอนุญาโตตุลาการ คือเป็นพยานรู้เห็น การว่าจ้างดังกล่าว หรืออาจใช้วิธีเปลี่ยนอานาจสั่งจ่ายไปยังหน่วยงานอื่น กล่าวคือแทนที่เจ้าของโครงการเป็นผู้จ่ายเงินค่า จัดทารายงานให้แก่บริษัทที่ปรึกษา ก็ให้มีหน่วยงานหรือองค์กรอื่นเป็นผู้มีอานาจสั่งจ่ายเงินแทน โดยอาจ เป็นธนาคารหรือ องค์กรใหม่ที่ไม่ใช่ สผ. เนื่องจากยังไม่ค่อยไว้วางใจในความสามารถในการจัดการของ สผ. เท่าไรนัก โดยวิธีนี้จะยังคงให้อิสระ แก่เจ้าของโครงการในการเลือกบริษัทที่ปรึกษามาจัดทารายงานอย่างเต็มที่ แต่เจ้าของโครงการไม่มีอานาจในการตั้งเงื่อนไข สาหรับการจ่ายเงิน ในส่วนของมาตรฐานรายงาน EIA อ.เดชรัต กล่าวว่าควรให้มีสภาวิชาชีพสาหรับควบคุมมาตรฐานการทารายงาน EIA โดยเฉพาะ ซึ่งปัจจุบันยังไม่สามารถสร้างได้เนื่องจากปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนระหว่างเจ้าของโครงการและบริษัทที่ปรึกษา นอกจากนี้เพื่อเป็นการควบคุมมาตรฐานการพิจารณารายงาน รวมถึงพัฒนาคุณภาพของรายงาน อ.เดชรัต เสนอว่าควรมีการ แบ่ง คชก. ออกเป็น 2 คณะซึ่งทาหน้าที่แตกต่างกัน คือ 1) คชก. ผู้ทาหน้าที่พิจารณาและให้ความเห็นชอบต่อรายงาน EIA เช่นที่มีอยู่ในปัจจุบัน 2) คชก. ผู้ทาหน้าที่ review รายงานฉบับสมบูรณ์ว่ามีความถูกต้อง ครบถ้วนตามหลักวิชาการเพียงใด
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
134
อย่างไรก็ตาม อ.เดชรัต กล่าวว่าเนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีตลาดสาหรับการ review รายงาน EIA จึงยังไม่มีใครรับทา หน้าที่ในส่วนนี้ จึงควรสร้างตลาดหรือแรงจูงใจขึ้นเพื่อให้มีการทบทวนรายงาน EIA อย่างกว้างขวาง ซึ่งจะนาไปสู่พัฒนาการ ด้านมาตรฐานเชิงวิชาการของวงการ EIA อย่างไรก็ตาม บริษัทที่ปรึกษาไม่ควรทาหน้าที่เป็นผู้ review รายงานเอง สาหรับกระบวนการภายหลังรายงาน EIA ได้รับการเห็นชอบแล้ว อ.เดชรัต กล่าวว่าควรมีการจากัดอานาจของ เจ้าของโครงการ เพื่อป้องกั นไม่ให้เจ้าของโครงการบิดเบือนหรือละเลยขั้นตอนการติดตามผล นอกจากนี้ควรมีการควบคุม คุณภาพของการติดตามตรวจสอบ โดย อ.เดชรัต เสนอว่าควรมีกองทุนกลางซึ่งทาหน้าที่จัดจ้าง auditor เพื่อทาหน้าที่ audit และ monitor การดาเนินงานของโครงการว่าเป็นไปตามมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมที่ระบุในรายงาน EIA หรือไม่ โดยเจ้าของ โครงการต้องจ่ายเงินให้กับ กองทุนกลางตั้งแต่ต้น เพื่อ ป้องกันปั ญหาผลประโยชน์ทั บซ้อนระหว่างเจ้า ของโครงการและ auditor ซึ่งที่ผ่านมามีปัญหาของการจ่ายเงินให้เฉพาะในกรณีที่ audit ผ่านเท่านั้น ในส่วนของการทางานของ สผ. อ.เดชรัต กล่าวว่าคงไม่สามารถพัฒนาไปได้มากกว่านี้นัก หากยังคงเป็นหน่วยงาน ราชการอยู่ ดังนั้นจึงควรออกจากระบบราชการ โดยอาจเปลี่ยนเป็นองค์กรอิสระและมีการบังคับใช้ พรบ. เฉพาะสาหรับ องค์กรเอง จึงจะสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ส่วนคุณสมคิด พุ่มฉัตร รองผู้จัดการฝ่ายสิ่งแวดล้อม และหัวหน้าส่วนประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (อุตสาหกรรม) บริษัท Consultants of Technology Co., Ltd. (บริษัท COT) ซึ่งเป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อมที่มีประสบการณ์การ ทารายงาน EIA มาเป็นเวลานานกว่า 32 ปี มองว่า สิ่งแรกที่เป็นอุปสรรคสาคัญในการทารายงาน EIA คือความพร้อมของ ข้อมูลจากผูป้ ระกอบการ เนื่องจากหากผู้ประกอบการไม่สามารถให้ข้อมูลที่ครบถ้วนแก่บริษัทที่ปรึกษาได้ ทางบริษัทที่ปรึกษา ก็จะไม่สามารถวิเคราะห์ผลกระทบได้อย่างแม่นยา ซึ่งปัญหานีส้ ามารถป้องกันได้ด้วยการพูดคุยระหว่างเจ้าของโครงการกับ บริษัทที่ปรึกษาให้เข้าใจตรงกันตั้งแต่ต้นว่ามีข้อมูลอะไรบ้างที่จาเป็นต้องใช้ และต้องใช้ข้อมูลมากแค่ไหนเพื่อให้เพียงพอต่อการ ประเมิน ซึ่งคุณสมคิดมองว่าตรงนีต้ ้องอาศัยประสบการณ์ของที่ปรึกษาด้วย จึงจะสามารถกาหนดได้วา่ ข้อมูลใดบ้างและมาก แค่ไหนที่จาเป็น ถึงแม้ว่า สผ.และกรมอนามัยได้มีการจัดทาคู่มือสาหรับการทารายงาน EIA เอาไว้ แต่คุณสมคิดมองว่าคู่มือ ตรงนั้นเป็นเพียงข้อมูลพื้นฐานเท่านั้น เพราะปกติแล้ว คชก. เองก็มีสิ่งที่ต้องการมากกว่าที่เห็นในตัวร่าง หรือที่ระบุเอาไว้ใน คู่มือที่กาหนด อย่างไรก็ตาม คุณสมคิดยังมองว่าคู่มือในการทารายงาน EIA ของ สผ. นั้นถือว่ามีประโยชน์ เพราะอย่างน้อยก็เป็น กรอบให้ปฏิบัตติ ามได้อย่างถูกต้อง พอจะรู้ว่าสิ่งใดบ้างที่ต้องใส่เข้าไปในรายงาน EIA และเท่าใดจึงจะเพียงพอต่อกรรมการใน การพิจารณารายงาน กระนั้น บริษัทที่ปรึกษาเองก็มีส่วนที่จะช่วยพัฒนาคู่มือการทารายงานด้วยเหมือนกัน เพราะจาก ประสบการณ์ทางานที่ยาวนานของ COT ทาให้บริษัทมี databank หรือธนาคารข้อมูลของบริษัท ซึ่ง COT เองก็จะไปช่วยเพิ่ม ข้อมูลให้กับคู่มือของ สผ. โดยอาศัยประสบการณ์การทางานว่าเคยพบประเด็นทานองนี้บ่อยๆ จึงควรใส่เข้าไปในคูม่ ือด้วย เพื่อให้บริษัทที่ปรึกษาแต่ละรายทางานได้สะดวกขึ้น สาหรับรายงาน EIA ที่จัดทาโดยบริษัทที่ปรึกษาในประเทศไทยนั้น คุณสมคิดมองว่ายังคงมีมาตรฐานที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความชานาญของบริษัทที่ปรึกษา จึงควรมีการตรวจสอบจรรยาบรรณทางวิชาชีพอย่างสม่าเสมอ ซึ่งคุณสมคิดมองว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีกลไกที่ควบคุมมาตรฐานทางวิชาชีพของบริษัทที่ปรึกษาที่เพียงพออยู่แล้ว หากพบว่ามีข้อผิดพลาดที่เกิด จากความประมาทเลินเล่อ หรือไม่ได้ตั้งใจ บริษัทที่ปรึกษานั้นสามารถถูกพักใบอนุญาตได้อย่างต่า 6 เดือน และหากพบว่าจง ใจบิดเบือนข้อมูลหรือใช้ข้อมูลเท็จ อาจถูกเพิกถอนใบอนุญาตสูงสุดถึง 3 ปี โดยปัจจุบันการสอบใบอนุญาตนั้นเป็นการสอบ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
135
ปากเปล่ากับอนุกรรมการของ สผ. ซึ่งมาจากหน่วยงานนอก โดยจะสัมภาษณ์อิงตามผลงานที่เคยเขียนว่ามีความรู้ความเข้าใจ ตรงตามผลงานที่เขียนจริงหรือไม่ อีกปัญหาสาคัญที่คณ ุ สมคิดกล่าวถึงคือการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบการภายหลัง EIA ได้รับการ เห็นชอบ เพราะบางครั้งบริษัทไม่ดาเนินการตามมาตรการที่ระบุเอาไว้ในรายงาน EIA ทาให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการยอมรับจาก ชุมชน เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีบทลงโทษสาหรับผู้ประกอบการทีไ่ ม่ทาตามมาตรการสิ่งแวดล้อมที่ระบุในรายงาน EIA และ มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมในรายงาน EIA มักจะสูงกว่าค่ามาตรฐานที่กาหนดตามกฎหมาย ผู้ประกอบการบางรายจึงไม่ใส่ใจใน การดาเนินงานให้ได้มาตรฐานตรงตามที่ระบุในรายงาน EIA โดยมากหากพบว่าไม่ทาตาม สผ. ก็จะแค่ส่งหนังสือถึงบริษัทให้ทา การชี้แจงภายใน 30 วัน นอกจากนี้คุณสมคิดได้กล่าวถึงปัญหาด้านคุณภาพของคนทางาน ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของผู้กากับดูแล (auditor) หรือพนักงานในโรงงานที่ทาหน้าที่ติดตามผล เนื่องจากพบว่าพนักงานเหล่านีไ้ ม่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ เนื่องจากไม่มีความรู้ ในด้านเทคนิคที่เพียงพอ จึงมองไม่ออกว่าจะนาข้อมูลชุดใดมาเรียงกันเพื่อให้วิเคราะห์ผลการดาเนินงานได้บ้าง ซึ่งคุณสมคิด กล่าว่าบริษัทที่ปรึกษาได้พยายามแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วยการวางมาตรการที่ชัดเจน และระบุว่าในส่วนของการติดตามผล (monitoring) ทางผู้ประกอบการต้องเก็บข้อมูลอะไรบ้าง เพื่อให้มีขอ้ มูลสาหรับประเมินคุณภาพของการจัดการสิ่งแวดล้อมได้ อย่างเพียงพอ อย่างไรก็ตาม คุณสมคิดระบุว่าจาเป็นต้องมี auditor ที่เข้มแข็งด้วย ดังนั้นจึงควรมีการตรวจสอบมาตรฐานของ auditor เพื่อให้เกิดการตรวจสอบที่มีมาตรฐานอย่างแท้จริง คุณสมคิดกล่าวว่าเป็นเรื่องธรรมดาที่คา่ ของสารบางอย่างอาจเกิน มาตรฐาน แต่ผู้ประกอบการต้องกล้าบอกความจริงว่าเพราะอะไรถึงเกิน และจะแก้ไขอย่างไร แต่ผู้ประกอบการโดยมากมักจะ ปกปิด ดังนั้นจึงควรมีการตรวจสอบเพิ่มเติมด้านการติดตามผล เพราะปัจจุบันไม่มีการติดตามรายงาน (monitoring) ของ โครงการทีผ่ ่าน EIA แล้วอย่างเพียงพอ คุณสมคิดกล่าวว่าข้อมูลตัวเลขเป็นสิ่งที่สาคัญ ผู้ประกอบการต้องบอกความจริงให้แก่ ชาวบ้านว่าจะมีมลพิษเกิดขึ้นเท่าไหร่ อะไรบ้าง และจะป้องกันแก้ไขอย่างไร จาเป็นที่จะติดตามผลและต้องบอกผลการ ดาเนินงานให้ครบ คุณสมคิดกล่าวอีกว่าการทา EIA นั้นไม่ควรประหยัดในสิ่งที่ไม่ควรประหยัด ดังนั้นทางบริษัท COT จึง พยายามแสดงให้ผู้ประกอบการเห็นถึง cost/benefit ที่บริษัทจะได้รับหากมีการเก็บข้อมูลอย่างถูกต้องและสม่าเสมอตาม มาตรการที่กาหนดใน EIA ในส่วนของความสัมพันธ์กับชุมชน คุณสมคิดระบุว่าเป็นอีกหนึ่งปัจจัยหลักที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการทารายงานได้ หากชุมชนไม่ยอมรับบริษัทที่ปรึกษา แต่หากชุมชนเปิดใจยอมรับจะทาให้ทางานได้ง่ายขึ้น สาเหตุที่ชุมชนไม่ยอมรับบริษัทที่ ปรึกษานั้นเป็นเพราะมีเสียงสะท้อนจากชุมชนว่าในการรับฟังความคิดเห็นบางครั้ง บริษัทที่ปรึกษาให้เวลาชาวบ้านน้อยเกินไป ไม่ให้เวลาได้พูดคุย หรือแจ้งว่าทาแบบสอบถามเพื่อมาประกอบรายงานแล้ว แต่ปรากฎว่ามีชาวบ้านจานวนมากไม่ทราบเรื่อง พอมีปัญหาแบบนี้ก็ทาให้ภาพลักษณ์ของบริษัทที่ปรึกษาไม่ดีในสายตาชุมชน และทาให้ชุมชนไม่ต้องการให้ความร่วมมือกับ บริษัทที่ปรึกษา นอกจากนี้คุณสมคิดยังกล่าวถึงประเด็นเกีย่ วกับสื่อว่า บางครั้งสื่อได้นาเสนอข้อมูลทีไ่ ม่ตรงกับรายงาน EIA มีการ บิดเบือนข้อมูลและส่งผลต่อภาพลักษณ์ของบริษัทที่ปรึกษา จึงต้องการให้สื่อทางานด้วยความเป็นกลาง และนาเสนอข้อมูลที่ เป็นจริง ในส่วนของภาครัฐ คุณสมคิดกล่าวว่ายังคงมีปัญหาเนื่องจากหน่วยงานภาครัฐไม่เข้าใจถึงกระบวนการทางานและ ขั้นตอนในการทา EIA อย่างแท้จริง เช่นเวลาจัดรับฟังความคิดเห็นในระยะกาหนดขอบเขต (scoping) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ กาหนดขอบเขตการศึกษาผลกระทบ กลับคาดคั้นบริษัทที่ปรึกษาเกีย่ วกับข้อมูลในรายละเอียดซึ่ง ณ ตอนนั้นยังไม่สามารถ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
136
ตอบได้ เนื่องจากเพิ่งอยู่ในขั้นตอนเริ่มต้น รวมทั้งยังไม่เข้าใจความหมายของคาที่ใช้ เช่น คาว่า “ประชาพิจารณ์” ว่าหมายถึง กระบวนการแบบใดและใช้ในกรณีใด นอกจากนี้หน่วยงานราชการโดยมากยังขาดการประชาสัมพันธ์ข้อมูล หลายครั้ง ผู้ประกอบการไม่รู้ถึงข้อมูลร่างผังเมือง เพราะไม่ทราบว่ามีร่างผังเมืองใหม่ เนื่องจากเข้าถึงข้อมูลลาบาก หน่วยงานราชการจึง ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวกมากขึ้น เมื่อถามถึงความเป็นอิสระในการจัดทารายงาน EIA คุณสมคิดกล่าวว่าสาหรับ COT มีความเป็นอิสระในการทางาน มาก ยังไม่เคยถูกเจ้าของโครงการแจ้งให้ปรับปรุงแก้ไขรายงานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามทีต่ ้องการ รวมทั้งเวลาจัดเวทีเพื่อเปิดเผย ข้อมูลการทารายงาน EIA คุณสมคิดเองก็ไม่เคยซ้อมพูดเพื่อให้เจ้าของโครงการฟังก่อนครั้งหนึ่ง ก่อนนาเสนอจริงในเวทีเลย เช่นกัน ในส่วนของการค้นหาข้อมูลเพื่อนามาประกอบในรายงาน EIA นั้น คุณสมคิดกล่าวว่ามาจากการลงพื้นที่เพื่อเก็บ ข้อมูล การขอข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ และการค้นคว้าในอินเตอร์เนทเป็นหลัก โดยพบว่ามักจะมีข้อจากัดในการค้นคว้าก็ ต่อเมื่อหน่วยงานราชการ หรือผูค้ ดั ค้านโครงการ เรียกร้องข้อมูลทีไ่ ม่ได้อยู่ในระดับของ EIA แต่เป็นข้อมูลเชิงลึกที่ยากเกินกว่า ที่บริษัทที่ปรึกษาจะสามารถตอบได้ โดยคุณสมคิดกล่าวว่าบางประเด็นสามารถตั้งเป็นหัวข้อวิจัยได้ทเี ดียว เมื่อสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีฐานข้อมูลกลางซึ่งรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับการทารายงาน EIA คุณสมคิดกล่าวว่าคงจะสามารถช่วยที่ปรึกษาได้ แต่ข้อมูลโดยมากที่สามารถใช้ร่วมกันได้คงเป็นข้อมูลทั่วไป เช่นข้อมูลเชิง กายภาพ ข้อมูลคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น ดิน น้า การใช้พื้นที่ (land use) แร่ธาตุต่างๆ เนื่องจากปัจจุบนั ประเทศไทยไม่มี baseline data ของหลายพื้นที่ ทาให้เมื่อมีการสร้างโรงงานหรือเหมือง จึงยากที่จะตัดสินว่าสารเคมีที่เกิดขึ้นนั้นมาจาก โรงงาน/เหมืองเท่าใด และมีอยู่เดิมอยู่แล้วเท่าใด และที่สาคัญคือข้อมูลด้านสุขภาพ ซึ่งปัจจุบันไม่มีการเก็บข้อมูลอย่างเป็น ระบบมากพอที่จะนามาใช้ประเมินผลกระทบได้ ที่ผ่านมา COT ต้องไปขอดูจากโปรแกรมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลและนามาวิเคราะห์เอง ซึ่งเป็นงานหนักมาก และได้ข้อมูลจากัดเนื่องจากไม่มีโปรแกรมดังกล่าว จะได้มาเฉพาะทีเ่ ซฟมา เป็นไฟล์ Excel/Word และเจ้าหน้าที่ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ก็ไม่มีความรู้ว่าตัวเองมีข้อมูลอะไรบ้างอยู่ในมือ และจะนามาทา อะไรได้บ้าง สาหรับข้อเสนอเกี่ยวกับการก่อตั้งหน่วยงานอิสระซึ่งทาหน้าที่จับคู่บริษัทที่ปรึกษาและโครงการที่ต้องจัดทา EIA เพื่อ แก้ไขปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนนั้น คุณสมคิดมีความกังวลว่าจะมัน่ ใจได้อย่างไรว่าองค์กรอิสระที่จัดตั้งขึ้นมาจะเป็นกลางและ เป็นอิสระจริง รวมทั้งยังมีข้อกังวลว่าจะมีการจัดการเรื่องการแบ่งคิว และการตกลงราคาอย่างไรให้เหมาะสมอีกด้วย ในส่วนของกระบวนการพิจารณารายงาน EIA ในปัจจุบัน คุณสมคิดมองว่ามีประสิทธิภาพ และมีความโปร่งใส พอสมควร โดยกล่าวว่าผู้พิจารณาไม่มีอคติและเข้าใจดีว่าในการประเมินระดับ EIA นั้นบริษัทที่ปรึกษาทางานได้มากน้อย เพียงใด ในอดีตเคยมีหน่วยงานของ สผ. ทาหน้าที่สุ่มตรวจข้อมูลในรายงาน EIA ด้วยการลงพื้นที่ไปพูดคุยกับชุมชน เพื่อเช็คว่า ข้อมูลสอดคล้องกับรายงาน EIA หรือไม่ ซึ่งคุณสมคิดมองว่าเป็นเรือ่ งที่ดีมาก และมีบางกรณีที่ คชก. ลงพื้นที่เองด้วย โดยเฉพาะกรณีของโครงการที่มีปญ ั หามาก แต่ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อย หาก คชก. สามารถลงพื้นที่ได้บ่อยขึน้ ก็จะดี ท้ายที่สุดคุณสมคิดกล่าวว่าโครงการที่ต้องทา EIA นั้นยังไม่น่าเป็นห่วงเท่าโครงการที่ไม่ต้องทา EIA เนือ่ งจากอาศัย ช่องโหว่ทางกฎหมายในการหลีกเลี่ยงการทา EIA โดยคุณสมคิดแนะนาว่าในกรณีของโครงการประเภทนี้ชุมชนอาจต้องใช้ มาตราสิทธิขั้นพื้นฐาน (พรบ.สุขภาพ) ในการต่อสู้
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
137
8.6 กรณีศึกษา : โรงไฟฟ้าหนองแซง จ.สระบุรี 8.6.1
ข้อมูลเบื้องต้น
โครงการโรงไฟฟ้าหนองแซง พัฒนาโดยบริษัทเพาเวอร์ เจเนอเรชั่น ซัพพลายจากัด (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท กัลฟ์ เจพี เอ็นเอส จากัด) เป็นโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม (co-generation) ขนาด 1,649.6 เมกะวัตต์ ใช้ก๊าซ ธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักและน้ามันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงสารอง (บริษัท ซีคอท จากัด, 2556) ลงนามในสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2557 และมีกาหนดวันจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ (Scheduled Commercial Operation Date: SCOD) ตามสัญญาในวันที่ 10 ธันวาคม 2557 (สานักนโยบายไฟฟ้า สานักงานนโยบายและ แผนพลังงาน , 2557)
รูปที่ 1: ภาพถ่ายทางอากาศพื้นที่ตั้งโครงการโรงไฟฟ้าหนองแซง ที่มา: สานักนโยบายไฟฟ้า สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
โครงการโรงไฟฟ้าหนองแซงมีพื้นที่โครงการรวมประมาณ 568 ไร่ โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือพื้นที่ตั้งโรงไฟฟ้า ประมาณ 298 ไร่ และพื้นที่บ่อเก็บน้าประมาณ 270 ไร่ ตั้งอยู่ระหว่างพื้นที่ตาบลหนองกบ อาเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี (พื้นที่ตั้งโรงไฟฟ้า) และตาบลโคกม่วงและตาบลหนองน้าใส อาเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (บ่อกักเก็บน้า) (บริษัท ซี คอท จากัด, 2556)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
138
ประชากรส่วนใหญ่ที่อยู่บริเวณพื้นที่ตั้งโครงการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทานา ทาสวนมะม่วง เพาะเห็ดฟาง ปลูกผักสวนครัว และเลี้ยงสัตว์ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วการเกษตรบริเวณนี้จะพึ่งพาน้าจากคลองส่งน้าชลประทาน ที่ไหลผ่าน ซึ่งมีอยู่ สองสายได้แก่ คลองระพีพัฒน์และคลองห้วยบ่า (คลองหนองงูเหลือม) (บริษัทซีคอทจากัด, 2552) โรงไฟฟ้ามีความต้องการใช้น้าในการดาเนินงานเฉลี่ยวันละ 46,852 ลูกบาศก์เมตร (กรณีใช้ก๊าซธรรมชาติ) โดยจะ สูบน้าจากแม่น้าป่าสักวันละ 46,932 ลูกบาศก์เมตร ตรงบริเวณเหนือเขื่อนพระรามหกมากักเก็บไว้ในอ่างเก็บน้าขนาด 1.6 ล้านลูกบาศก์เมตร ก่อนนาไปใช้ดาเนินงานในโรงไฟฟ้าและรดน้าต้นไม้ ส่วนน้าเสียที่เกิดขึ้นจะถูกบาบัดและนาไปใหม่ภายใน โครงการ ยกเว้นเฉพาะน้าทิ้งที่ระบายออกจากหอหล่อเย็น ซึ่งจะถูกส่งไปที่บ่อพักน้า ก่อนปล่อยลงคลองห้วยบ่าเฉลี่ยวันละ 11,276 ลูกบาศก์เมตร (บริษัท ซีคอท จากัด, 2556)
8.6.2
การจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
โรงไฟฟ้าหนองแซงมีขนาด 1,653 เมกะวัตต์ ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม กาหนดให้โรงไฟฟ้าพลังความร้อนที่มี กาลังการผลิตตั้งแต่ 10 เมกะวัตต์ขึ้นไป ต้องจัดทารายงาน EIA ดังนั้นในระหว่างปีพ.ศ. 2550 – 2552 บริษัทเพาเวอร์ฯจึงได้ พยายามเสนอรายงานการวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบทางสิ่ งแวดล้ อ มของโรงไฟฟ้ า หนองแซงต่ อ ส านั ก งานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) และคณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อม (คชก.) พิจารณาถึง 3 ครั้ง รายงาน EIA ครั้งที่ 1 และ 2 จัดทาโดย บริษัท อีอาร์เอ็ม-สยาม จากัด ซึ่งในครั้งแรก คชก.มีมติไม่เห็นชอบและสั่ง แก้ไขรายงานทั้งฉบับ ส่วนครั้งที่ 2 มีมติไม่เห็นชอบและให้เพิ่มข้อมูลและแก้ไขรายงานบางส่วน ส่วนครั้งที่ 3 ซึ่งจัดทาโดย บริษัท ซีคอท จากัด คชก. ได้มีมติเห็นชอบรายงานในวันที่ 20 สิงหาคม 2552 โดยให้กาหนดมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้ อ ม รวมทั้ งมาตรการติด ตามตรวจสอบคุณ ภาพสิ่ งแวดล้ อม 9 ข้ อ (ดู ร ายละเอี ย ดมติค ณะกรรมการ ผู้ชานาญการต่อรายงาน EIA ทั้ง 3 ครั้ง และแนวทางแก้ไขปรับปรุงรายงานได้ในภาคผนวกของรายงานฉบับนี้) หลังจากที่ คชก. ได้มีมติเห็นชอบรายงาน EIA ของโรงไฟฟ้าหนองแซง คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ได้ประชุมในวันที่ 15 มิถุนายน 2553 เพื่อเพื่อพิจารณาออกใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานไฟฟ้าให้แก่บริษัทเพาเวอร์ฯ ซึ่ง ที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้ออกใบอนุญาตให้แก่บริษัทเพาเวอร์ฯ โดยกาหนดให้มีเงื่อนไขพิเศษ 10 ข้อที่บริษัทเพาเวอร์ฯต้อง ปฎิบัติตามที่กรมโรงงานได้เสนอ (ดูรายละเอียดเงื่อนไข 10 ข้อได้ที่ภาคผนวก) และได้ออกใบอนุญาตในวันที่ 17 มิถุนายน 2553 สรุปประเด็นที่ต้องแก้ไขเพิ่มเติมทั้ง 2 ครั้ง มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง มาตรการ ติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม และเงื่อนไขจากกรมโรงงานในตาราง 7
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
139
ตาราง 7 ประเด็นที่ต้องแก้ไขในรายงาน EIA ครั้งที่ 1 และ 2 และมาตรการเพิ่มเติมจากคชก.และกรมโรงงาน ประเด็นที่ต้องแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1
ประเด็นที่ต้องแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 2
มาตรการป้ อ งกั น และแก้ ไ ขผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม และมาตรการติ ด ตาม ตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม กาหนดโดย คชก. 1. บทนาและความเป็นมา 1. คุณภาพอากาศและเสียง 1. ให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการ 2. รายละเอียดโครงการ 2. คุณภาพน้าในแหล่งรองรับน้าทิ้ง ติด ตามตรวจสอบคุณ ภาพสิ่ง แวดล้ อมในรูปแผนปฏิ บัติ การด้ านสิ่ง แวดล้ อ ม 3. คุณภาพอากาศ 3. คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ ตามที่เสนอในรายงานฯ 4. คุณภาพเสียง 2. ให้นารายละเอียด มาตรการในแผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมไปกาหนดเป็น 5. คุณภาพน้าผิวดิน เงื่อนไขในสัญญาจ้างบริษัทผู้รับจ้าง 6. ทรัพยากรชีวภาพ 3. ให้รายงานผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมให้หน่วยงาน 7. คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ อนุญาต จ.สระบุรี จ.พระนครศรีอยุธ ยา และ สผ.พิจารณาตามระยะเวลาที่ 8. ประเมินผลกระทบทางสุขภาพที่ กาหนดในแผนปฏิบัติการ อาจเกิ ด ขึ้ น จากการด าเนิ น งานของ 4. ให้มีการบารุงรักษา ดูแลการทางานของระบบหล่อเห็นให้อยู่ในสภาพที่ใช้ โครงการ งานได้ดีเป็นประจา 9. เศรษฐกิจสังคมและการมีส่วนร่วม 5. กรณีที่ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมมีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหา ของประชาชน หรือมีการร้องเรียนจากชุมชน ให้บริษัทฯปรับปรุงแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร็ว 10. มาตรการป้ อ งกั น และแก้ ไ ข และแจ้งหน่วยอนุญาต จ.สระบุรี จ.พระนครศรีอยุธยา และ สผ.ทราบทุกครั้ง ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการ 6. หากบริษัทฯมีความประสงค์จะเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ/หรือ ติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อม ให้บริษัทฯแจ้งหน่วยงานผู้อนุญาตพิจารณา 11. ประเด็ น ข้ อ วิ ต กกั ง วลและ 7. กรณีที่มีข้อร้องเรียนของชุมชนต่อการดาเนินการของโครงการ บริษัท ฯ ต้อง ข้อคิดเห็นต่างๆของผู้คัดค้านโครงการ รีบแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร็ว และให้บันทึกเป็นรายงานไว้ด้วย 8. หากโครงการไม่ดาเนินการก่อสร้างภายในระยะเวลา 2 ปี นับตั้งแต่สผ.มี หนังสือแจ้งผลการพิจารณาของคชก.พิจารณารายงานฯและเห็นชอบในรายงาน ฯ ให้โครงการทบทวนข้อมูลและมาตรการเสนอสผ. เพื่อดาเนินการพิจารณา ตามขั้นตอน 9. เมื่อโครงการฯดาเนินการผลิตและมีสภาพการผลิตคงตัว (Steady State) แล้ ว พบว่ า การระบายสารมลพิ ษทางอากาศข้ า งต้ น มี ค่ า ที่ต่ ากว่ า ให้ ใช้ ค่า ดังกล่าวเป็นค่าควบคุม
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
140
เงื่อนไข 10 ข้อ กาหนดโดยกรมโรงงาน 1. ต้องดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามรายงานฯ ที่คชก.การให้ความ เห็นชอบเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2552 2. อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ติดตั้งในบริเวณทีป่ ฏิบัติงานและเก็บรักษาเกีย่ วกับวัตถุไวไฟต้องเป็น ชนิดที่ป้องกันการระเบิด 3. ต้องควบคุมดูแลระบบเผาไหม้ของเครื่องยนต์ ให้มีประสิทธิภาพเพียงพอ อากาศที่ ระบายออกจากปล่องไอเสียต้องมีสารเจือปนแต่ละชนิดไม่เกินที่กาหนดไว้ 4. ต้อ งติดตามคุณภาพน้าแบบต่อเนื่องอั ตโนมัติ และการรายงานผลแบบ Onlinemonitoring และมีการจัดการน้าเสียให้มีคุณภาพน้าทิ้งเป็นไปตามกฎหมาย โดย ชุมชนสามารถตรวจสอบคุณภาพน้าทิ้งของโรงไฟฟ้าได้ทุกจุดและตลอดเวลา 5. ต้องติดตั้งระบบ Dry low Nox Combustion Gasturbine 6. ต้องติดตั้งระบบ Water Injection 7. ต้องติดตั้งระบบติดตามตรวจสอบการระบายมลสารต่อเนื่อง 8. ต้องติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศตลอด 24 ชั่วโมง จานวน 4 สถานี รอบพื้นที่โรงไฟฟ้า 9. หากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ประกาศกาหนดโครงการหรือ กิจ กรรมใดที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบต่ อ ชุ ม ชนอย่ า งรุ น แรง ทั้ ง ทางด้ า นคุณ ภาพ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ และมีผลใช้บังคับแล้ว ต้องมีการจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและปฏิบัติให้เป็นไปตามมาตรา 67 วรรค สอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ให้แล้วเสร็จ ก่อนที่จะมีการ ประกอบกิจการโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า 10.ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 และมี มาตรการอันเหมาะสม เพื่อมิให้ผู้เช่านาได้รับผลกระทบจากการดาเนินโครงการ
8.6.3. ประเด็นความขัดแย้ง 8.6.3.1. ประเด็นการฟ้องร้อง หลังจากที่ คชก. ได้มีมติเห็นชอบรายงาน EIA ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ซึ่งเป็นสมาชิก “เครือข่ายอนุรักษ์วิถี เกษตรกรรม” รวมตัวยื่นคัดค้านมติเห็นชอบรายงาน EIA ฉบับที่ 3 และเมื่อกกพ.ออกใบอนุญาตโรงไฟฟ้าฯ ให้แก่บริษัท เพาเวอร์ฯ นายตี๋ ตรัยรัตนแสงมณี จากเครือข่ายอนุรักษ์วิถีเกษตรกรรมและชาวบ้านอีก 61 ราย ได้รวมตัวกันยื่นฟ้องกกพ. คชก. และบริษัทเพาเวอร์ฯ ต่อศาลปกครองในวันที่ 21 กันยายน 2553 ขอให้ศาลมีคาสั่ง 2 ข้อดังนี้ 1) ให้เพิกถอนมติการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2552 ของคชก. ที่มีมติเห็นชอบรายงาน EIA โครงการโรงไฟฟ้าหนองแซง 2) ให้เพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานผลิตไฟฟ้าที่กกพ.ออกให้บริษัทเพาเวอร์ฯ ลงวันที่ 17 มิถุนายน 2553 โดยประเด็นที่ฟ้องมีดังต่อไปนี้ 1) การออกใบอนุญาตโรงไฟฟ้าเป็นการทาลายวิถีชีวิตของคนในพื้นที่ที่ทาเกษตรกรรม เนื่องจากทาให้เกิดการแย่งชิงน้า และทาให้พื้นที่ไม่เหมาะแก่การทานา ซึ่งทาให้ชาวบ้านไม่สามารถการเกษตรได้เหมือนเดิม ทาให้ชาวบ้านต้องเปลี่ยน อาชีพไปทาอย่างอื่นแทน 2) การออกใบอนุญาตฯ เป็นการละเมิดต่อสิทธิของชุมชนในการบารุงรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ รวมไปถึงสิทธิในการใช้ชีวิตภายใต้สิ่งแวดล้อมที่ดี ที่ไม่เป็นอันตราย สุขภาพและคุณภาพชีวิต 3) การพิจารณาออกใบอนุญาตฯ ไม่ได้เปิดโอกาสให้ชาวบ้านได้มีโอกาสโต้แย้งและแสดงพยานหลักฐาน เป็นการออก คาสั่งทางปกครองที่ไม่ถูกต้องตามรูปแบบขั้นตอนหรือวิธีการอันเป็นสาระสาคัญ จึงเป็นคาสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย 4) การออกใบอนุญาตฯ อาศัยฐานจากมติเห็นชอบรายงาน EIA ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงเป็นคาสั่งทางปกครองที่ไม่ ชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจาก 1. รายงาน EIA ไม่เสนอข้อมูลว่าพื้นที่อาเภอหนองแซงกาลังอยู่ระหว่างการจัดทาผังเมืองรวมจังหวัดสระบุรี ซึ่งกาหนดให้อาเภอหนองแซงเป็นพื้นที่ประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม ซึ่งมีข้อกาหนดห้ามสร้าง โรงไฟฟ้า โดยนาเสนอเพียงข้อความว่า “บริเวณที่ตั้งโครงการโรงไฟฟ้าหนองแซงยังไม่มีการบังคับใช้ผั ง กาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน” 2. รายงาน EIA นาเสนอข้อมูลที่ไม่ถูกต้องครบถ้วน เรื่องผลกระทบจากการใช้น้าของบริษัท แม้ว่าบริษัทจะ ทาการเปลี่ยนจุดสูบน้า แต่โครงการชลประทานซึ่งอยู่ใต้จุดสูบน้าก็จะยังได้รับผลกระทบจากการแย่งชิงน้า อยู่ นอกจากนี้มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบโดยการสร้างบ่อกักเก็บน้าตามที่ระบุไว้ในรายงาน EIA ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขที่สานักชลประทานที่ 10 ระบุให้บริษัทต้องสร้างแหล่งเก็บกักน้าสาหรับฤดูแล้ง ซึ่ง มีระยะเวลา 6 เดือน ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน แต่บ่อกักเก็บน้าของโครงการสามารถสารอง
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
141
น้าเพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้าของโครงการได้เพียง 39 วัน ทาให้ช่วงเวลาที่เหลือ บริษัทต้องแย่งชิงน้ากับภาค การเกษตร 5) การพิจารณาออกใบอนุญ าตฯเป็นการกระทาที่ขัด ต่อกฎกระทรวงฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535 ออกตามความใน พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 25351 เนื่องจากทาเลและสภาพแวดล้อมบริเวณที่ตั้งโรงไฟฟ้าหนองแซงเป็นพื้นที่ที่ เหมาะแก่การทาการเกษตรและการอยู่อาศัย มีโครงสร้างระบบชลประทานรองรับและดินมีคุณภาพเหมาะแก่การ เกษตรกรรม อีกทั้งยังถูกจัดให้เป็นเขตอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรมตามร่างผังเมืองรวมจังหวัดสระบุรี ที่กาลังอยู่ ในขั้นตอนพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีก า นอกจากนี้ผู้ตรวจการแผ่นดินยังมีคาวินิจฉัยเสนอต่อผู้ว่าราชการ จังหวัดสรุปสาระสาคัญได้ว่าไม่สมควรให้มีการดาเนินกิจการโรงไฟฟ้าในพื้นที่อาเภอหนองแซง 6) คณะกรรมการกากับกิจการพลังงานใช้ดุลพินิจออกใบอนุญาตฯ โดยสอบถามความเห็นจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม เพียงหน่วยงานเดียว ไม่มีการสอบถามความเห็นจากหน่วยงานรัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเลย เป็นการกระทาที่ไม่ชอบด้วย กฎหมาย 7) การใช้ดุลพินิจออกใบอนุญาตฯ เป็นมาตรการที่ไม่จาเป็นและเป็นการสร้างภาระและความเสียหายให้แก่ชุมชนใน ขณะที่มีเอกชนรายได้ที่ได้รับประโยชน์ เป็นมาตรการที่ขัดกับหลักความได้สั ดส่วน เป็นการใช้ดุลพินิจที่ไม่ชอบด้วย กฎหมาย (มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม, เอกสารบันทึก, 2 เมษายน 2558)
8.6.3.2. คาตัดสินของศาล หลังจากชาวบ้านได้ยื่นฟ้องกกพ. คชก. และบริษัทเพาเวอร์ เจเนอเรชั่น ซัพพลายจากัด ศาลนัดไต่สวนคู่กรณีเมื่อ วันที่ 15 ตุลาคม 2553 และสั่งให้คู่กรณีทาคาชี้แจงและส่งเอกสารเพิ่มเติมเพื่อใช้พิจารณา หลังจากนั้นศาลได้อ่านคาพิพากษา ในวันที่ 31 มกราคม 2556 ซึ่งในคดีนี้มีประเด็นที่ศาลต้องวินิจฉัย 2 ประเด็นคือ 1) นายตี๋และชาวบ้านทั้ง 61 รายเป็นผู้ที่มีสิทธิฟ้องคดีนี้ต่อศาลปกครองหรือไม่ 2) มติที่ คชก. เห็นชอบรายงาน EIA โครงการโรงไฟฟ้าหนองแซง และคาสั่งออกใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานผลิต ไฟฟ้าของ กกพ. ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ประเด็นที่ 1 ศาลวินิจฉัยว่านายตี๋และชาวบ้านทั้ง 61 รายมีสิทธิฟ้องคดีนี้ต่อศาลปกครอง เนื่องจากตามรัฐธรรมนูญบุคคลมี สิทธิได้รับการคุ้มครองเพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่ดี ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและชีวิต รวมทั้งยังมีสิทธิและหน้าที่ในการมีส่วนร่วมบารุงดูแลรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาตและความหลากหลายทาง ชีวภาพ ซึ่งการที่คชก.เห็นชอบรายงาน EIA โรงไฟฟ้าหนองแซง และกกพ.ออกใบอนุญาตให้บริษัทเพาเวอร์ฯ สร้างโรงไฟฟ้าได้
1
กฎกระทรวงฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535 ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ระบุวา่ โรงงานจาพวกที่ 3 [โรงงานประเภท ชนิด และ ขนาดที่การตั้งโรงงานจะต้องได้รับใบอนุญาตก่อนจึงจะดาเนินการได้ (พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535, 2535)]...ต้องตั้งอยู่ในทาเลและ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมมีบริเวณเพียงพอที่จะประกอบกิจการอุตสาหกรรมตามขนาดและ ประเภทหรือชนิดของโรงงาน โดยไม่อาจก่อให้เกิด อันตรายเหตุราคาญหรือความเสียหาย ต่อบุคคลหรือทรัพย์สินของผู้อื่นด้วย (กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535, 2535) บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
142
อาจจะทาให้นายตี๋และชาวบ้านที่ร่วมฟ้องได้รับความเดือดร้อนเสียหายต่อสิทธิในการอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี นายตี๋และ พวกจึงมีสิทธิฟ้องคดีนี้ ประเด็นที่ 2 ศาลวินิจฉัยว่ามติที่ คชก. เห็นชอบรายงาน EIA โครงการโรงไฟฟ้าหนองแซง และคาสั่งออกใบอนุญาตประกอบ กิจการโรงงานผลิตไฟฟ้าของ กกพ. ชอบด้วยกฎหมาย และได้พิพากษายกฟ้อง โดยศาลได้ให้ความเห็นในประเด็นต่างๆ มี สาระสาคัญดังต่อไปนี้ 1) กกพ.ได้ออกใบอนุญาตให้แก่บริษัทเพาเวอร์โดย 1.1. พิจารณาความเห็นของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีอานาจตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ที่เห็นว่า ที่ตั้งของโรงไฟฟ้าหนองแซงไม่ขัดต่อกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 และร่างผังเมืองรวมจังหวัดสระบุรียังไม่มีผลบังคับใช้ ซึ่ง กกพ.เห็นว่าสอดคล้องกับความเห็นของกรมโยธาธิ การและผังเมืองที่ตอบข้อหารือผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรีว่า กรณีท้องถิ่นยังไม่มีกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมือง รวม การอนุญาตให้ประกอบกิจการให้เป็นไปตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องและมีผลบังคับใช้ขณะนั้น ไม่อาจอ้างร่าง ข้อกาหนดเป็นฐานอานาจในการพิจารณาออกใบอนุญาตหรือไม่ออกใบอนุญาตได้ 1.2. พิจารณาเรื่องที่ประชาชนคัดค้านการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ว่าเป็นโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ชุมชนอย่างรุนแรงตามมาตรา 67 วรรค 2 หรือไม่ ปรากฏว่าโรงไฟฟ้าหนองแซงเป็นโครงการที่อาจจะก่อให้เกิด ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง จึงไม่ต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติมตามมาตรา 67 วรรค 2 1.3. พิจารณาว่าบริษัทเพาเวอร์ฯได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ในปี 2550 และได้บรรจุอยู่ใน แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2553 – 2573 เพื่อผลิตไฟฟ้าเข้าสู่ระบบในปี 2557 1.4. พิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1.5. กาหนดเงื่อนไขที่บริษัทเพาเวอร์ต้องปฏิบัติเป็นพิเศษไว้ 10 ข้อ แนบท้ายใบอนุญาต จากข้อเท็จจริงดังกล่าวจึงไม่อาจถือได้ว่า การใช้อานาจออกใบอนุญาตของกกพ.ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขตามมาตรา 48 แห่งพ.ร.บ.ประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 2) กรณีร่างกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดสระบุรี พ.ศ. .... ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบในหลักการแล้ว โดย อยู่ ร ะหว่ า งการพิ จ ารณาตรวจร่ า งกฎกระทรวงของส านั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก านั้ น หากรั ฐ มนตรี ว่ า การ กระทรวงมหาดไทยยังไม่ได้ลงนามในกฎกระทรวงและยังไม่ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ก็ยังไม่มีผลบังคับใช้เป็น กฎหมาย จึงไม่อาจนามาใช้บังคับให้เป็นผลเสียหายแก่บริษัทเพาเวอร์ฯ ในฐานะเจ้าของที่ดินได้ การจะจากัดสิทธิของ บุคคลได้จะต้องกระทาโดยอาศัยอานาจตามกฎหมาย เฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญกาหนดไว้และเท่าที่จาเป็น แม้ว่าชุมชน มีสิทธิที่จะอนุรักษ์ บารุงรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ แต่ การพิจารณาออกใบอนุญาตของกกพ.นั้น นอกจากต้องคานึงถึงสิทธิของชุมชนแล้ว จะต้องคานึงถึงสิทธิของบริษั ท เพาเวอร์ฯตามรัฐธรรมนูญและต้องอยู่ใต้กฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น และต้องคานึงถึงการมีส่วนได้เสียของทั้งสอง ฝ่ายและประโยชน์สาธารณะที่จะได้จากการมีเสถียรภาพทางพลังงานไฟฟ้าสารองสาหรับความต้องการไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น ด้วย บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
143
3) ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ชุมชนอาจจะได้รับมีวิธีจัดการดังต่อไปนี้ 3.1. ผลกระทบจากการขาดแคลนน้า ผลกระทบด้านอากาศที่อุณหภูมิจะสูงขึ้นและมลพิษทางอากาศ การทิ้งน้าเสียและ เกษตรกรที่เพาะเห็ดจะได้รับผลผลิตลดลงนั้น มีวิธีการแก้ไขปัญหาระบุไว้ในรายงาน EIA อยู่แล้ว และชุมชน สามารถตรวจสอบคุณภาพน้าทิ้งได้ทุกจุดและตลอดเวลา โดยได้กาหนดเป็นเงื่อนไขพิเศษในใบอนุญาตไว้แล้ว 3.2. เกษตรกรที่เลี้ยงไก่ที่ได้รับผลกระทบนั้น รายงาน EIA ได้กาหนดให้บริษัทเพาเวอร์ฯชดใช้ค่าเสียหายตามความเป็น จริง 3.3. ปัญหาการขาดแคลนน้าในฤดูแล้ง บริษัทเพาเวอร์ฯ ได้สร้างบ่อกักเก็บน้าสารองไว้ใช้ในฤดูแล้ง แม้อาจไม่เพียงพอ ต่อการผลิตไฟฟ้า บริษัทเพาเวอร์ฯก็ไม่อาจสูบน้าจากแม่น้าลาคลองสาธารณะมาใช้ได้ หากแหล่งน้าสาธารณะมีน้า ไม่พอเพียง และกรมชลประทานมีอานาจสั่งให้บริษัทเพาเวอร์ฯหยุดสูบน้าได้ทันที 4) ในภายหลังเมื่อมีการประกาศใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดสระบุรีแล้ว ถ้าคณะกรรมการผังเมืองเห็นว่าการใช้ประโยชน์ ที่ดินของบริษัทเพาเวอร์ฯขัดต่อนโยบายผังเมืองรวมในสาระสาคัญ คณะกรรมการผังเมืองมีอานาจกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่บริษัทเพาเวอร์ฯจะต้องแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือระงับการใช้ประโยชน์จากที่ดินภายในระยะเวลาที่ เห็นสมควรได้ 5) โรงไฟฟ้าหนองแซงมิได้เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักและใช้น้ามันดีเซลเป็น เชื้อเพลิงสารองเป็นโรงไฟฟ้าโรงแรกของประเทศ ที่ผ่านมามีโรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงอยู่แล้วหลายแห่ง เช่น โรงไฟฟ้าวังน้อย โรงไฟฟ้าบางปะกง โรงไฟฟ้าน้าพอง โรงไฟฟ้าราชบุรี โรงไฟฟ้าพระนครใต้ ซึ่งไม่ปรากฏข้อเท็จจริง ว่าโรงไฟฟ้าประเภทนี้ได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมหรือประชาชนที่อยู่บริเวณใกล้เคียง โดยโรงไฟฟ้าดังกล่าวสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนได้ หลังจากที่ศาลมีคาพิพากษายกฟ้อง ชาวบ้านผู้ฟ้องคดีและทนายความได้ ดาเนินการอุทธรณ์คาพิพากษาต่อศาล ปกครองสูงสุดต่อไป
8.6.4. ผลกระทบที่ชุมชนได้รับจากโครงการโรงไฟฟ้าหนองแซง หลังจากที่บริษัทเพาเวอร์ฯ ได้รับใบอนุญาต ก็ได้เริ่มดาเนินการก่อสร้างในเดือนธันวาคม ปี 2553 ต่อมามีรายงาน ความเดือดร้อนของชาวบ้านในพื้นที่อันเนื่องมาจากการก่อสร้างโรงไฟฟ้าหนองแซง เช่น บ้านที่อยู่ห่างจากโรงไฟฟ้า 300 เมตร มีการแตกร้าว เพราะการตอกเสาเข็มของโรงไฟฟ้า เกษตรกรผู้เช่านาไม่สามารถทานาได้ เพราะเจ้าของที่นานานาไปขาย ให้กฟผ. แล้วกฟผ.ก็ได้พาแรงงานเข้า มาล้อมรั้วที่ดินและนารถแมคโครเข้ามาปรับหน้าดิน ในขณะที่ผู้เช่านากาลังหว่านข้าว กรมชลประทานอนุญาตให้โรงไฟฟ้าย้ายคลองส่งน้า เป็นต้น (ชื่นชูใจ, 2014)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
144
จากการสัมภาษณ์กลุ่มชาวบ้านที่อาศัยในชุมชนที่อยู่ใกล้โรงไฟฟ้าหนองแซง2 คณะวิจัยพบว่าสามารถแบ่งผลกระทบ ที่ชาวบ้านได้รับจากโรงไฟฟ้าได้เป็น 2 ช่วง คือ 1) ระยะการก่อสร้างโรงไฟฟ้า และ 2) ระยะดาเนินการ ซึ่งบางกรณีก็เห็นได้ชัด ว่าเป็นผลกระทบที่เกิดจากโรงงาน เช่น บ้านเรือนแตกร้าวจากแรงสั่นสะเทือนจากการตอกเสาเข็มของโรงไฟฟ้า แต่ผลกระทบ บางอย่างเช่น อาการแสบคอ แสบจมูก คอแห้ง จมูกแห้ง ไม่สามารถชี้ชัดลงไปได้ว่ามีสาเหตุมาจากโรงไฟฟ้า ซึ่งเมื่อเกิดปัญหา ขึ้น บางกรณีโรงไฟฟ้าก็เข้ามาเยียวยาช่วยเหลือ แต่บางกรณีโรงไฟฟ้าก็ มิได้แสดงความรับผิดชอบ ผลกระทบที่ชาวบ้านได้รับ และการเยียวยาจากโรงไฟฟ้าสามารถสรุปสาระสาคัญได้ตามตาราง 8 และ ตาราง 9 ตาราง 8 ผลกระทบจากการก่อสร้างโรงไฟฟ้าและการเยียวยาจากโรงไฟฟ้า สาเหตุ เสียงดังจากการก่อสร้าง แรงสั่ น สะเทื อ นจากการ ก่อสร้าง มีรถขนดิน เข้า -ออกจ านวน มากและไม่มีผ้าปิดคลุม โรงงานสูบน้าไปใช้ มี แ รงงานจากภายนอกเข้ า มาในชุมชนเป็นจานวนมาก
ผลกระทบ เกิดเสียงรบกวนจากการตอกปั่นจั่นและเสาเข็ม คนที่บ้านใกล้บ้านแตกร้าว
การเยียวยาจากโรงไฟฟ้า มีชดเชยในช่วงแรก 40,000-60,000 บาทต่อหลัง ตามความใกล้-ไกล
ทาให้มีเศษดินหล่นตามถนน และการจราจรติดขัด
เอาไม้มากวาดเศษดินและเอาน้ามา ราดถนน (ต้องแจ้งไปที่โรงไฟฟ้า) ชาวบ้านโดนแย่งใช้น้า ไม่มีการเยียวยา - ชาวบ้านระแวงในความปลอดภัย มีเหตุจี้ปล้น แต่จับ ไม่มีการเยียวยา ไม่ได้ - มาจับสัตว์น้า สัตว์ในท้องถิ่นและเก็บผักตามลาคลอง
ตาราง 9 ผลกระทบจากการดาเนินงานของโรงไฟฟ้าและการเยียวยาจากโรงไฟฟ้า สาเหตุ โรงงานสูบน้าไปใช้
ผลกระทบ ชาวบ้านโดนแย่งใช้น้าทาการเกษตร จากที่เคยปลูก พืชน้าน้อยทดแทนการปลูกข้าวในช่วงหน้าแล้งได้ แต่ ปัจจุบันปลูกอะไรไม่ได้เลย โรงงานปล่อยควัน มี ก ลิ่ น เหม็ น และควั น จากโรงงานลอยมาตาม ลม บางครั้งชาวบ้านต้องออกไปอยู่ที่อื่น น้าฝนมีสีเหลือง/เขียว ชาวบ้ านดื่ ม น้าฝนไม่ ไ ด้ ทั้งที่ ก่ อนหน้ าที่ โ รงงานจะ เดินเครื่อง ชาวบ้านดื่มน้าฝนได้ มีเสียงดังตอนกลางคืน ชาวบ้านนอนไม่หลับ เดิ น เครื่ องหอหล่ อเย็ นและ เกิดเสียงดังไปทั่วบริเวณ ทาให้ชาวบ้านบางรายนอน พัดลม ไม่หลับ ส่งผลต่อสุขภาพกายใจ
การเยียวยาจากโรงไฟฟ้า ไม่ มี ก ารเยี ย วยาและปฏิ เ สธว่ า ไม่ เกี่ยวกับโรงงาน แจ้งว่ายังไม่มีคาสั่งให้ หยุดสูบน้าจากกรมชลประทาน บางหมู่บ้านก็พาไปพักที่อื่น บางหมู่บ้าน ก็ไม่มีการเยียวยา แจกจ่ายน้าให้แต่ละหมู่บ้าน (ให้ทุกหมู่ แต่ไม่ทั่วถึง) เมื่อร้องเรียนไป ก็จะเบาลง ปลูกต้นไม้สลับฟันปลาเพื่อดูดซับเสียง (ปัจจุบันต้นไม้ยังเล็กอยู่ เพราะเพิ่งเริ่ม ปลู ก ) และจะมี ก ารพิ จ ารณาเยี ย วยา ตามคาเรียกร้องหลังวันที่ 31 ธันวาคม
การสัมภาษณ์กลุม่ (Focus group discussion) ชาวบ้ านที่อยู่ใกล้ โรงไฟฟ้าหนองแซงและใกล้ บอ่ กักเก็บน ้า พื ้นที่ละ 2 กลุม่ ๆ ละ 6 คน เมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 เมษายน 2558 2
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
145
สาเหตุ
ผลกระทบ
โรงงานปล่อยน้าเสียจากบ่อ บาบัดลงคลองห้วยบ่า ยั ง ไ ม่ แ น่ ชั ด ว่ า เ กิ ด จ า ก โรงงานหรื อ ไม่ เนื่ อ งจาก ตอนนี้โรงงานเพิ่งเดินเครื่อง โรงงานเดินเครื่อง
ส่งกลิ่นเหม็น
การเยียวยาจากโรงไฟฟ้า 2558 เอาตาข่ายมาปิด ทาให้กลิ่นเหม็นลดลง
ชาวบ้านมีอาการภูมิแพ้ แสบตา แสบจมูก จมูกแห้ง คอแห้ง ระคายเคืองผิว นอนไม่ค่อยหลับเพราะเสียง รบกวนและความกังวล มี ฝุ่ น ละอองเหนี ย วๆสี ด ามาติ ด เสื้ อ ผ้ า รถยนต์ บ้านเรือน บางคนก็แพ้เป็นผื่นแดงตามลาตัว แสงสว่ า งจากโรงงานส่ อ ง กระทบต่อการพักผ่อนของชาวบ้านและธรรมชาติของ แสงสว่ า งมี รั ศ มี เ กิ น 200- ต้นไม้ ส่งผลต่อผลผลิตของชาวบ้าน 300 เมตร โรงงานถมพื้นที่ตั้งโรงงานให้ ชุมชนสูญเสียพื้นที่รับน้า เพราะที่ดินที่ตั้งโรงงานเป็น สูงขึ้น แอ่งกระทะที่ถูกใช้เป็นที่รับน้าของชุมชน เมื่อมีการ ถมที่ดิน จึงเป็นการขวางทางน้าและผลักน้าให้เข้าสู่ ที่ดินของชาวบ้านแทน
ไม่มีการเยียวยา
ไม่มีการเยียวยา มีการแก้ไขบางจุด โดยหันหลอดไฟเข้า โรงงาน แต่บางจุดก็แก้ไขไม่ได้ และยัง ไม่มีวิธีเยียวยาเพิ่มเติม ไม่มีข้อมูล
8.6.5. ปัญหาของกระบวนการจัดทารายงาน EIA นอกจากผลกระทบที่ชาวบ้านได้รับจากการก่อสร้างและการดาเนินการของโรงไฟฟ้าแล้ว ยังพบว่าชาวบ้านประสบ ปัญหาในกระบวนการจัดทารายงาน EIA อีกด้วย ตั้งแต่ช่วงการจัดทารายงาน ยกตัวอย่าง ชาวบ้านเล่าว่าบริษัทที่ทารายงาน EIA และโรงไฟฟ้าเชิญแต่ชาวบ้านกลุ่มที่เห็นด้วย ไม่เชิญกลุ่มที่คัดค้านไปด้วย ทาให้ชาวบ้านกลุ่มที่คัดค้านไม่ได้แสดงความ คิดเห็น หรือเมื่อชาวบ้านกลุ่มที่คัดค้านได้เข้าร่วมประชุม ก็ไม่ได้รับโอกาสให้ซักถามหรือรับฟังคาตอบจากบริษัท 3 นอกจากนี้ เมื่อเกิดปัญหาจากการดาเนินงานของโรงไฟฟ้าขึ้นแล้วชาวบ้านไปร้องเรียนที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก็ไม่ได้รับคาตอบที่ชัดเจนว่า จะแก้ปัญหาอย่างไร ได้แต่ส่งเรื่องไปยังอีกหน่วยงานให้ช่วยดาเนินการ และสุดท้ายแม้ว่าจะได้มีการประชุมร่วมกันของ 10 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กลับไม่ได้ข้อสรุปว่าแต่ละหน่วยงานจะแก้ปัญหาหรือมีมาตรการอย่างไร4 เมื่อพิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้นจากมุมมองของชาวบ้านรอบโรงงาน พบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นสามารถแบ่งได้เป็น 2 ช่วง คือ 1) ช่วงระหว่างการจัดทารายงาน EIA และ 2) ช่วงหลังจากรายงานได้รับความเห็นชอบแล้ว โดยสรุปสาระสาคัญ ของ ปัญหาได้ในตาราง 10
3 4
จากคาสัมภาษณ์กลุ่มเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2558 อ้างอิงข้อมูลจากบทความ “(สิทธิ)ชุมชน : พลังงาน : การเมือง(เรื่องโรงไฟฟ้า)” ของกมลวรรณ ชื่นชูใจ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
146
ตาราง 10 ปัญหาของกระบวนการจัดทารายงาน EIA ในทัศนะของชาวบ้าน การจัดทารายงาน การจัดประชุมไม่โปร่งใส - ชาวบ้า นกลุ่มที่ คัดค้านไม่ได้รั บโอกาสให้แสดงความคิดเห็ น เวลาจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น บริษัทที่จัดทารายงานและ โรงไฟฟ้าจะเชิญแต่ชาวบ้านกลุ่มที่เห็นด้วย บางครั้งก็ไปจัดใน ที่ห่างไกลจากหมู่บ้านของกลุ่มที่คัดค้าน - บางครั้งที่มีโอกาสได้เข้าร่วมประชุม ก็จะมีเฉพาะบางคนที่เป็น ตั ว แทนเท่ า นั้ น ที่ ไ ด้ เ ข้ า ไปฟั ง และบริ ษั ท ก็ ไ ม่ เ ปิ ด โอกาสให้ ซักถามหรือตอบคาถามที่ชาวบ้านที่คัดค้านถามไป ไม่คานึงถึงร่างผังเมือง ไม่มีการพิจารณาเรื่องของร่างผังเมืองใน รายงาน EIA ตัวรายงานเบี่ยงเบนข้อเท็จจริง เช่นเปลี่ยนจากระบุว่าปล่อยน้าใช้ แล้วลงคลองระพีพัฒน์ที่ชาวบ้านสูบมาใช้ มาเป็นปล่อยลงคลอง ห้ ว ยบ่ า แทน ซึ่ งจริ งๆแล้ ว น้ าในคลองห้ ว ยบ่ า ก็ ไ หลลงคลองระ พีพัฒน์อยู่ดี ชาวบ้านไม่ได้รับข้อมูล ชาวบ้านรู้สึกว่าถูกกีดกันให้ไม่ได้รับข้อมูล ชาวบ้านอ่านรายงานแล้วไม่เข้าใจ รายงานเข้าใจยาก เนื้อหาเยอะ ชาวบ้านไม่มีเวลาอ่าน จะอ่านเฉพาะประเด็นที่ตนเองสนใจ
5 6
หลังการจัดทารายงาน ไม่มีกลไกมาบังคับให้โรงงานปฏิบัตติ ามมาตรการที่เขียนไว้ ในรายงาน EIA ชาวบ้านพบว่าโรงไฟฟ้าไม่ปฏิบัติตาม มาตรการป้องกันที่ระบุไว้ในรายงาน EIA เช่น ใช้สังกะสี ธรรมดาแทนสังกะสีหนา 1.3 มิลลิเมตรตามที่ได้ระบุไว้ใน รางาน ในการป้ อ งกั น เสี ย งตอกเสาเข็ ม หรื อ ตามที่ รายงาน EIA ระบุ รถขนดินต้องคลุมผ้าใบอย่างมิดชิด เพื่อ ป้องกันดินร่วง แต่ในทางปฏิบัติกลับไม่ได้คลุมผ้าใบ ทาให้ ดินร่วง ทาให้ถนนสกปรก5 กระบวนการจัดทารายงาน EIA ไม่มีอานาจหรือผลทาง กฎหมายในตนเองและบทลงโทษในกรณีที่บริษัทไม่ปฏิบัติ มาตรการที่ระบุไว้ในรายงาน EIA คชก.และ สผ. ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบให้ ค วาม เห็ น ชอบรายงาน EIA ไม่ ส ามารถแก้ ปั ญ หาหรื อ มี บทลงโทษอะไรแก่บริษัท ในกรณีมีปัญหาบริษัทไม่ปฏิบัติ ตามมาตรการป้องกันผลกระทบ ไม่มีหน่วยงานใดที่ออกมารับผิดชอบดูแลเมื่อเกิดปัญหา การไม่ปฏิบัติตาม ชาวบ้านใช้เวลา 3 เดือนในการร้องเรียน ปัญหาที่เกิดขึ้นไปตามหน่วยงานราชการต่างๆ ซึ่งสุดท้าย จึงให้ตัว แทนแต่ ละหน่ว ยงานมาประชุม ร่วมกัน แต่ไม่ มี ข้อสรุปว่าแต่ละหน่วยงานจะดาเนินการอย่างไร6
เรื่องเดียวกัน เรื่องเดียวกัน บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
147
8.6.6. สรุป ตั้งแต่ก่อนการก่อสร้างโรงไฟฟ้าหนองแซง ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในชุมชนรอบโรงไฟฟ้ามีความกังวลใจว่าโรงไฟฟ้าจะ สร้างผลกระทบแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่องที่โรงไฟฟ้าจะมาการแย่งน้าในการทาการเกษตร เพราะบริเวณนี้เป็น พื้นที่เกษตรกรรมและก็เห็นได้ชัดว่าโรงไฟฟ้ามีความต้องการใช้น้าเป็นปริมาณมาก ในขณะที่บ่ อเก็บกักน้าของบริษัทกลับมี ขนาดไม่เพียงพอต่อการใช้น้าของโรงไฟฟ้าในช่วงหน้าแล้ง นอกจากนี้หนองแซงยังอยู่ในระหว่างอยู่ในระหว่างการจัดทาผัง เมืองรวมจังหวัดสระบุรี ซึ่งกาหนดให้อาเภอหนองแซงเป็นพื้นที่ประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม ซึ่งมีข้อกาหนดห้าม สร้างโรงไฟฟ้า ชาวบ้านจึงรวมตัวกันยื่นฟ้องต่อศาลปกครองให้ถอนใบอนุญาตประกอบกิจการ แต่ดูเหมือนว่าหน่วยงานที่ออกใบอนุญาต หรือสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ ศาลนั้นมีมติตรงกันว่า ร่างผังเมืองรวมนั้นยังไม่ได้ประกาศเป็นกฎหมาย จึงไม่สามารถนามาใช้บังคับได้ และมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมของบริษัทที่ระบุไว้ในรายงาน EIA นั้นเพียงพอแล้ว นอกจากนี้หากน้าในคลองไม่พอใช้จริงๆ ชาวบ้านสามารถร้องให้กรมชลประทานสั่งให้บริษัทหยุดสูบน้าได้ทันที แต่ทว่าในความเป็นจริงแล้ว เมื่อโรงไฟฟ้าเริ่มสร้าง ชาวบ้านกลับพบว่าบริษัทฯไม่ได้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและ แก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามระบุไว้ในรายงาน EIA ที่ได้รับความเห็นชอบ สร้างผลกระทบให้แก่ชาวบ้าน และเมื่อชาวบ้าน ไปร้องเรียนยังหน่ วยงานที่เกี่ย วข้อง กลับไม่มีหน่ วยงานใดที่อ อกมารับผิด ชอบหรื อมีมาตรการที่เป็น รูปธรรมที่ส ามารถ แก้ปัญหาให้ชาวบ้านได้จริงๆ หรือเมื่อชาวบ้านมีน้าไม่พอใช้ แล้วไปแจ้งโรงไฟฟ้าให้หยุดสูบน้า โรงไฟฟ้ากลับแจ้งชาวบ้านว่า กรมชลประทานยังไม่มีคาสั่งให้หยุดสูบน้า เหตุการณ์เหล่านี้เป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่ากระบวนการจัดทารายงาน EIA ยังมีช่องโหว่ในเรื่องของกลไกที่จะเข้า มาคอยควบคุมกากับดูแลให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้ระบุไว้ในรายงานฯ รวมทั้งบทลงโทษในกรณีที่บริษัทฯ ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรการฯที่กาหนดไว้ในรายงานฯ และตราบใดที่กระบวนการ จัดทารายงาน EIA ของประเทศไทยยังไม่อุดช่องโหว่ตรงนี้ บริษัทก็จะสามารถใช้ช่องโหว่นี้ในการหาผลประโยชน์โดยไม่ต้อง คานึงถึงผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมได้ต่อไป
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
148
8.7 กรณีศึกษา : ท่าเรือบ้านโพธิ์ จ.ฉะเชิงเทรา 8.7.1. ข้อมูลเบื้องต้น ลักษณะโครงการและที่ตั้ง โครงการโกดังเก็บสินค้าและท่าเรือขนถ่ายสินค้า ของบริษัท อิสเทิ ร์น ที พี เค แค็ปปิตอล จากัด ตั้งอยู่พื้นที่ ตาบล สนามจันทร์ อาเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ประกอบด้วยอาคารเก็บสินค้าและท่าเทียบเรือยื่นลงไปในแม่น้าบางปะกง โดย ความกว้างของแม่น้าบางปะกงบริเวณก่อสร้างท่าเรือประมาณ 250 เมตร มีความลึก 6-8 เมตร โดยหน้าท่าเทียบเรือลึก 4 เมตร การประกอบกิจกรรม ท่าเทียบเรือมีวัตถุประสงค์เพื่อขนถ่ายสินค้าจากโกดังสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออก โดยจะมีเรือมารับและลาเลียงไป ยังจุดขนถ่ายสินค้าปลีกของประเทศที่เกาะสีชัง ก่อนส่งออกไปต่างประเทศ ซึ่งสินค้าหลัก ได้แก่ ข้าว และ แป้งมันสาปะหลัง โดยการขนส่งสินค้าจะใช้เรือลากจูง 1 ลา ลากจูงเรือบรรทุกสินค้า 3 ลา แต่ละลารับน้าหนักสินค้าได้ 500 ตันกรอส ขาไป 1 เที่ยว และขากลับ 1 เที่ยว รวม 2 เที่ยวต่อวัน ระยะทางเดินเรือจากท่าเที ยบเรือถึงปากอ่าวมีระยะทาง 36 กิโลเมตร และ ปากอ่าวถึงเกาะสีชัง 20 กิโลเมตร (รวม 56 กิโลเมตร) ดังรายละเอียดในตาราง 11 ตาราง 11 ข้อมูลเรือที่ใช้บรรทุกสินค้าแต่ละท่า ใบอนุญาตใช้เรือ A (เลขที่ 2208 82652) B (เลขที่ 3540 00615) C (เลขที่ 4310 02322) D (เลขที่ 2412 42833) E (เลขที่ 4410 02023) F (เลขที่ 2513 68445)
ตัน ความยาวตลอด ตันเน็ต 7 กรอส ลา (เมตร) 305.3 32
ความกว้างกลางลา (เมตร) 10
ความลึก (เมตร) 3
บรรทุก (เมตริกตัน) 406.04
228.97 468
156.69 -
30 325
8 10.8
3 4.2
304.53 623
424.63
-
32
10
3.6
600
123.25 193.71
-
22.85 26
6.6 7.5
2.57 2.25
156.59 257.63
กระบวนการพิจารณาอนุญาตปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งล่วงล้าลาแม่น้า การพิจารณาอนุญาตปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งล่วงล้าลาแม่น้าบางปะกงของโครงการฯเป็นไปในระยะเวลาอันสั้น โดย มีกระบวนการขออนุญาต ดังนี้ 7
1 ตันกรอส เทียบเท่าน้าหนัก 2.1 ตัน บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
149
วันที่ 5 กรกฎาคม 222555 บริษัท อิสเทริ์น ที พี เค แค็ปปิตอล จากัด ยื่นคาร้องขอทาสิ่งล่วงล้าลานาต่อสานักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาฉะเชิงเทรา วันที่ 18 กรกฎาคม 2555 มีการประชุมคณะกรรมการพิจารณาออกหนังสือ รับรองในการปลูกสร้างอาคารหรื อสิ่งล่ วงล้าล าแม่น้า ครั้งที่ 1/2555 โดยสานักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาฉะเชิงเทรา ซึ่งในวาระการประชุมไม่มีการระบุเรื่องการพิจารณาขออนุญาตโครงการท่าเรือของบริษัท แต่นามาพิจารณาในวาระ อื่นๆ วันที่ 8 สิงหาคม 2555 มีการประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณากลั่นกรองการปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งล่วงล้าลาแม่น้าประจาสานักงานเจ้า ท่าภูมิภาคที่ 6 ครั้งที่ 3/2555 เรื่องเพื่อพิจารณาของบริษัท อิสเทริ์น ที พี เค แค็ปปิตอล จากัด ขออนุญาตสร้างท่า เทียบเรือขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอส จานวน 6 ท่า มีมติเห็นชอบให้ผู้อานวยการสานักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 6 ในฐานะ “เจ้าท่า” ออกใบอนุญาตแก่บริษัทฯ วันที่ 9 สิงหาคม 2555 ผู้อานวยการสานักงานเจ้าท่าภูมิภาคที่ 6 ในฐานะ “เจ้าท่า” ออกใบอนุญาตให้ปลูกสร้างสิ่งล่วงล้าลาแม่น้า เลขที่ 16/2555 ให้บริษัท อิสเทริ์น ที พี เค แค็ปปิตอล จากัด ปลูกสร้างสิ่งล่วงล้าลาแม่น้าประเภทท่าเทียบเรือขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอส เพื่อใช้ในการขนถ่ายสินค้าประเภทเกษตรกรรม บริเวณริมฝั่งแม่น้าบางปะกง ตาบลสนามจันทร์ อาเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อพิจารณากระบวนการพิจารณาการขอใบอนุญาตปลูกสร้างสิ่งล่วงล้าลาแม่น้า ของบริษัทฯ จะเห็นว่าท่าเทียบเรือ ขนถ่ายสินค้าทั้ง 6 ท่า มีระยะเวลาในการพิจารณาอนุญาตเพียง 34 วัน ตั้งแต่วันที่บริษัทฯยื่นของใบอนุญาตจนถึงวันออก ใบอนุญาต โดยที่เจ้าท่าสามารถใช้เวลาในการพิจารณาและออกใบอนุญาตได้ถึง 120 วัน8
8.7.2. ประเด็นความขัดแย้ง 8.7.2.1. ความสาคัญเชิงนิเวศ แม่น้าบางปะกงเป็นพื้นที่ชุ่มน้าที่มีความสาคัญระดับชาติตามมติคณะรัฐมนตรี ซึ่งจาเป็นจาต้องจัดทารายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสาหรับโครงการพัฒนาใดๆที่มีแนวโน้มจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศของพื้นที่ชุ่มน้า ตามมาตรการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้า โครงการโกดังเก็บสินค้าและท่าเรือขนถ่ายสินค้าอาจส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศของแม่น้า
8
ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 63 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พ.ศ.2456 ข้อ 8 บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
150
บางปะกง ซึ่งรวมพื้นที่บริเวณที่ราบลุ่มปากแม่น้ามีคลองน้อยใหญ่กระจายอยู่กว่า 40 คลอง พื้นที่ระบบนิเวศน้ากร่อยตั้งแต่ ปากแม่น้าขึ้นไปตามลาน้าถึงบริเวณที่น้าทะเลสามารถหนุนขึ้นไปได้9 ด้วยเหตุนี้ กิจกรรมที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในลาน้าบางปะกงสามารถสร้างผลกระทบต่อความเค็มของน้า ความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลน การกัดเซาะตลิ่ง ซึ่งเหล่านี้จะส่งผลต่อชนิดและปริมาณสัตว์น้า เป็นต้น และอาจส่งผล กระทบต่อระบบนิเวศของเกาะนกในบริเวณใกล้เคียงที่เป็นป่าชายเลนตามมติคณะรัฐมนตรี10 ซึ่งเป็นแหล่งอาศัยที่สาคัญตาม ธรรมชาติของนกหลายชนิดและมีโอกาสที่จะพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศอีกด้วย
8.7.2.2. ผลกระทบต่อชุมชนที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการสนทนากลุ่ม คณะวิจัยพบว่า ชุมชนมีความกังวลว่าการก่อสร้างและดาเนินกิจการของโครงการโกดังเก็บ สินค้าและท่าเรือขนถ่ายสินค้าของบริษัทจะส่งผลกระทบต่อชุมชน ดังแสดงในตาราง 12 ตาราง 12 ผลกระทบที่ชุมชนคาดว่าอาจได้รับจากโครงการโกดังเก็บสินค้าและท่าเรือขนถ่ายสินค้า ระหว่างการก่อสร้าง ท่าเรือขนถ่ายสินค้า
ระหว่างทีมีการประกอบกิจการ ท่าเรือขนถ่ายสินค้า
1. การเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของน้า การตกตะกอน 1. ส่งผลกระทบต่ออาชีพประมง (เลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปลา) อาชีพทา และการกัดเซาะชายฝั่ง ที่เกิดจากการขุดลอกร่องน้า 2. มลพิษทางเสียงจากการก่อสร้าง มลพิษทางน้าส่งผลต่อ การใช้ประโยชน์ในการอุปโภคและการประกอบอาชีพ
กะปิ แ ละอาชี พ เกี่ ย วกั บ ป่ า จาก ซึ่ ง เหล่ า นี้ เ ป็ น การใช้ ประโยชน์ จ ากแม่ น้ าบางปะกงทั้ ง สิ้ น ซึ่ ง จะได้ รั บ ความ เสียหายกรณีที่ลาน้าเกิดการปนเปื้อนหรือมีความผิดปกติ 2. ปั ญ หาจากการรั่ ว ไหลของคราบน้ ามั น หรื อ น้ าที่ ใ ช้ ประกอบการในเรื อ ขนส่ ง ส่ ง ผลต่ อ ความสมบู ร ณ์ พื้ น ที่ บริเวณท่าเรือและบริเวณใกล้เคียง 3. การใช้ เรื อ ขนาดใหญ่ อ าจก่ อ ให้ เกิ ด การกั ด เซาะและตลิ่ ง พังทลาย ทาให้ระบบนิเวศบริเวณนั้นได้รับความเสียหาย ส่งผลต่อสัตว์ต่างๆและป่าชายเลน
โกดังเก็บสินค้า
โกดังเก็บสินค้า
1. ฝุ่นละอองและเสียงดังจากการก่อสร้าง
1. มลพิษจากฝุ่นละอองจากการขนถ่ายสินค้า เช่น ข้าว มัน
2. จานวนรถบรรทุกส่งผลต่อความปลอดภัยในการสัญจร
สาปะหลัง เป็นต้น
3. ปั ญ หาการจราจรคั บ คั่ ง และความเสี ย หายต่ อ ถนน 2. ถนนสาธารณะได้ รั บ ความเสี ย หายจากการสั ญ จรของ 9
เมื่อเกิดภาวะแล้งจัด น้าทะเลสามารถหนุนขึ้นไปถึง อ.ศรีมหาโพธิ หรือประมาณ 200 กิโลเมตร โดยแม่น้าบางปะกงถึงว่าเป็นแม่น้าที่นาเค็ ้ ม หนุนขึ้นไปได้ลึกที่สุดในประเทศไทย (เอกสารเผยแพร่ “ความจริงกรณีท่าเรือ 6 ท่า อ.บ้านโพธิ์) 10 อยู่ในความดูแลของกรมป่าไม้ (เอกสารเผยแพร่ “ความจริงกรณีท่าเรือ 6 ท่า อ.บ้านโพธิ์) บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
151
ระหว่างการก่อสร้าง สาธารณะ
ระหว่างทีมีการประกอบกิจการ รถบรรทุกขนาดใหญ่ 3. การสั ญ จรทางน้ าที่ ห นาแน่ น ขึ้ น อาจส่ ง ผลต่ อ ความ ปลอดภัยทั้งต่อการสัญจรของชาวบ้าน และผู้ที่อาศัยบริเวณ ริมแม่น้า
8.7.2.3 การดาเนินการของชุมชน ด้วยเหตุที่ชุมชนมีความกังวลต่อผลกระทบที่อาจได้รับจากการดาเนินการก่อสร้างและประกอบกิจการของโครงการ จึงได้รวมตัวกันเพื่อคัดค้านการออกใบอนุญาต โดยมีการดาเนินการดังนี้ วันที่ 1 สิงหาคม 2555 สมัชชาแปดริ้ วเมืองยั่งยื นได้ยื่น หนังสือ ขอคั ดค้า นโครงการฯ ต่ อหั วหน้ าสานัก งานเจ้า ท่า ภูมิภ าคที่ 6 สาขา ฉะเชิงเทรา โดยมีความเห็นว่าโครงการฯ ไม่เหมาะสมและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศ ส่งผลกระทบต่อ ชุมชนเป็นวงกว้าง วันที่ 19 พฤศจิกายน 2555 ยื่นหนังสือถึงผู้อานวยการสานักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาฉะเชิงเทรา และยื่ นหนังสือถึงกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ขอให้เพิกถอนใบอนุญาตให้ปลูกสร้างสิ่งล่วงล้าลาแม่น้าที่ได้ออกให้บริษัท อิสเทริ์น ที พี เค แค็ปปิตอล จากัด ทาการก่อสร้างท่าเทียบเรือริมฝั่งแม่น้าบางปะกง ซึ่งออกให้โดยคลาดเคลื่อนหรือสาคัญผิดในข้อเท็จจริงอัน เป็นสาระสาคัญ วันที่ 26 มีนาคม 2556 ยื่นหนังสือต่อผู้ว่าราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา ขอให้แก้ไขปัญหาอันเกิดจากการกระทาที่ผิดพลาดคลาดเคลื่อนของ ผู้ว่าราชการจังหวัดฉะเชิงเทราและคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยผู้ว่าราชการจังหวัดฯ กรณีออกใบอนุญาตให้ปลูกสร้าง สิ่งล่วงล้าลาแม่น้าแก่ท่าเทียบเรือจานวน 6 ท่า วันที่ 27 มิถุนายน 2556 ยื่นหนังสือถึงนายกองค์การบริหารส่วนตาบลสนามจันทร์ ขอให้ดาเนินการเพิกถอนใบอนุญาตทั้งหมดที่ได้ออกให้ บริษัท อิสเทริ์น ที พี เค แค็ปปิตอล จากัด โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ยื่นหนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา ขอให้ดาเนินการแก้ไขเพื่อเพิกถอนใบอนุญาตทั้งหมดที่ได้ออกให้บริษัท อิสเทริ์น ที พี เค แค็ปปิตอล จากัด โดยคลาดเคลื่อนหรือสาคัญผิดในข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
152
8.7.3. ความคิดเห็นจากชุมชน ข้ อ คิ ด เห็ น จากชุ ม ชนถู ก สะท้ อ นผ่ า นกระบวนการสนทนากลุ่ ม โดยมี เ ป้ า หมายหลั ก เพื่ อ ตอบค าถาม เกี่ ย วกั บ กระบวนการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการที่ ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของชุมชนบริเวณ ใกล้เคียง การสนทนากลุ่มชาวบ้านในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่โครงการโกดังเก็บสินค้าและท่าเรือขนถ่ายสินค้า ของบริษัท อิส เทริ์น ที พี เค แค็ปปิตอล จากัด แบ่งชาวบ้านออกเป็น 2 กลุ่มตามลักษณะการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ ประกอบด้วย 1) ชาวบ้าน ผู้อยู่อาศัยบริเวณใกล้เคียงพื้นที่โครงการฯ และ 2) ชาวบ้านผู้ประกอบอาชีพที่พึ่งพาแม่น้าบางปะกง โดยชาวบ้านทั้ง 2 กลุ่มได้ แสดงทรรศนะต่อผลกระทบที่ได้รับจากโครงการฯ ดังนี้ 1) ชาวบ้านผู้อยูอ่ าศัยบริเวณใกล้เคียงพื้นที่โครงการฯ ชาวบ้านผู้อยู่อาศัยบริเวณใกล้เคียงพื้นที่โครงการฯ ได้แก่ ชาวบ้านที่อยู่อาศัยในพื้นที่ตั้งแต่ติดกับพื้นที่โครงการฯ จนถึงใกล้โครงการฯในรัศมีประมาณ 10 กิโลเมตร ซึ่งประกอบอาชีพที่หลากหลาย ได้แก่ ค้าขาย รับราชการ แม่บ้าน เกษตรกรรม และประมง เป็นต้น ชาวบ้านอธิบายถึงความจาเป็นต้องพึ่งพาแม่น้าบางปะกง ซึ่งเป็นความจาเป็นและผูกพันกับ ลานาที่มีมาช้านาน ชาวบ้านพึ่งพาแม่น้าทั้งการอุปโภค บริโภค การเกษตร รวมถึงบ่อกุ้งและบ่อปลา นอกจากนี้แม่น้ายังเป็น แหล่งอาหารที่สาคัญของคนในพื้นที่อีกด้วย ขณะนีโ้ ครงการฯ อยู่ระหว่างการดาเนินการก่อสร้าง และ ณ เดือนเมษายน 2558 ได้สร้างผลกระทบแก่ชาวบ้านผู้ อยู่อาศัยบริเวณใกล้เคียงแล้ว ดังแสดงในตาราง 13 ตาราง 13 ผลกระทบที่ผู้อยู่อาศัยบริเวณใกล้เคียงได้รับจากโครงการโกดังเก็บสินค้าและท่าเรือขนถ่ายสินค้า ผลกระทบ (เรียงตามลาดับความ รุนแรง) ปัญหาจากการจราจร
ความปลอดภัยในทรัพย์สิน
ฝุ่นละออง เสียงรบกวน
คาอธิบาย เป็ น ปั ญ หาที่ เ กิ ด จากรถบรรทุ ก ขนาดใหญ่ ที่ ท าให้ ก ารจราจรคั บ คั่ ง ขึ้ น เกิ ด อุบัติเหตุบ่อยครั้งขึ้น และทาให้ถนนสาธารณะที่ไม่ได้สร้างมาเพื่อรองรับน้าหนัก ของรถบรรทุกชารุดเสียหาย การก่อสร้างโครงการฯมีคนต่างถิ่นย้ายเข้ามาเป็นแรงงานจานวนมาก มีการก่อ เหตุลักเล็กขโมยน้อย ทาให้ชาวบ้านรู้สึกไม่วางใจในความปลอดภัยในทรัพย์สิน ของตน เกิดจากการที่มีรถบรรทุกวิ่งในชุมชนทาให้ฝุ่นฟุ้งกระจาย โดยผู้ที่อาศัยติดกับ ถนนที่รถบรรทุกวิ่งหรือใกล้กับพื้นที่ก่อสร้างจะได้รับผลกระทบนี้มากกว่า เสียงจากการวิ่งของรถบรรทุก โดยผู้ที่อาศัยติดกับถนนที่รถบรรทุกวิ่งหรือใกล้กับ พื้นที่ก่อสร้างจะได้รับผลกระทบนี้มากกว่า
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
153
นอกจากผลกระทบที่ระบุในตารางยังมีปัญหาอีกประการที่ชาวบ้านให้ความสาคัญ ได้แก่ ปัญหาความแตกแยกใน ชุมชน อันเกิดจากความเห็นที่ไม่ตรงกัน โดยที่ฝ่ายหนึ่งสนับสนุนการก่อสร้างโครงการฯ ขณะที่อีกฝ่ายคัดค้านเนื่องจากเกรงว่า โครงการจะนามาซึ่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนในภายหน้า สาหรับผลกระทบต่างๆ ที่เกิดขึ้น บริษัทมิได้มีการแก้ไข หรือเข้ามาสอบถามปัญหากับชาวบ้านเลย และชาวบ้านไม่ เคยได้รับการเยียวยาในความเสียหายที่เกิดขึ้นแต่อย่างใด 2) ชาวบ้านผู้ประกอบอาชีพที่พึ่งพาแม่น้าบางปะกง ชาวบ้านผู้ประกอบอาชีพที่พึ่งพาแม่น้าบางปะกง ได้แก่ ชาวบ้านที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและบ่อกุ้ง ซึ่งนอกจาก จะเป็นชาวบ้านที่พึ่งพาแม่น้าบางปะกงในการประกอบอาชีพแล้วยังอาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่ก่อสร้างโครงการอีก ด้วย ชาวบ้า นได้อธิบายถึ งสภาพความอุดมสมบูรณ์แ ละความสะอาดของลาน้าที่ เปลี่ยนแปลงไป อย่างไร ก็ดี เนื่องจาก โครงการฯยังอยู่ระหว่างก่อสร้าง ยังมิได้เริ่มประกอบกิจการขนส่งสินค้าทางน้า ทาให้ชาวบ้านยังมิได้รับผลกระทบที่เกิดกับ แม่น้าและส่งผลต่อการประกอบอาชีพอย่างชัดเจน ปัญหาโดยทั่วไปที่ชาวบ้านเผชิญจึงมีลักษณะคล้ายกับกลุ่มผู้อยู่อาศัย บริเวณใกล้เคียงพื้นที่โครงการฯ ดังแสดงในตาราง 14 ตาราง 14 ผลกระทบที่ผู้ประกอบอาชีพที่พึ่งพาแม่น้าบางปะกงได้รบั จากโครงการโกดังเก็บสินค้าและท่าเรือขนถ่ายสินค้า ผลกระทบ (เรียงตามลาดับความ รุนแรง) ปัญหาจากการจราจร
ฝุ่นละออง เสียงรบกวน
ความปลอดภัยในทรัพย์สิน
คาอธิบาย เป็นปัญหาที่เกิดจากรถบรรทุกขนาดใหญ่ที่ทาให้การจราจรคับคั่งขึ้น วิ่งผ่านเขต ชุมชน เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งขึ้น และทาให้ถนนสาธารณะที่ไม่ได้สร้างมาเพื่อ รองรับน้าหนักของรถบรรทุกชารุดเสียหาย เกิดจากการที่มีรถบรรทุกวิ่งในชุมชนทาให้ฝุ่นฟุ้งกระจาย โดยผู้ที่อาศัยติดกับ ถนนที่รถบรรทุกวิ่งหรือใกล้กับพื้นที่ก่อสร้างจะได้รับผลกระทบนี้มากกว่า เสียงจากการวิ่งของรถบรรทุก และเสียงจากการขนย้าย (การเทดินที่อัดแน่นมา เพื่อทาน้าหนัก ทาให้ต้องกระแทกเพื่อให้หลุดออก สร้างความราคาญโดยเฉพาะผู้ ที่อยู่อาศัยติดพื้นที่โครงการฯ) แรงงานต่างถิ่นก่ อเหตุลัก เล็ก ขโมยน้อ ย ท าให้ ชาวบ้านรู้สึก ไม่ว างใจในความ ปลอดภัยในทรัพย์สินของตน
นอกจากผลกระทบที่ระบุในตารางยังมีปัญหาที่ชาวบ้านให้ความสาคัญ ได้แก่ ปัญหาความแตกแยกในชุมชน การเข้า มาของแรงงานต่างถิ่นที่มีพฤติกรรมรบกวน (เสียงดัง ดื่มสุรา) และแย่งชิงทรัพยากรกับคนในพื้นที่ (ดักจับสัตว์ต่างๆ เช่น นก อพยพ สัตว์เลื้อยคลาน) สาหรับผลกระทบต่างๆ ที่เกิดขึ้นข้างต้น ชาวบ้านได้ร้องเรียนไปยังองค์การบริหารส่วนตาบล ซึ่งบริษัทฯได้ทาการ แก้ไขในกรณีฝุ่นละออง โดยนาน้ามารดบนถนนเพื่อลดฝุ่น และจัดให้มีเจ้าหน้าที่ดูแลการจราจรบริเวณโครงการฯ สาหรับ ปัญหาอื่นๆ ยังไม่ได้รับการแก้ไขแต่อย่างใด บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
154
8.7.4. ปัญหา/ช่องโหว่เกี่ยวกับระบบการจัดทารายงาน EIA ที่พบในกรณีศึกษา ปัจจุบันระเบียบการวิเคราะห์ผลกกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยเป็นไปตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่ งแวดล้ อมแห่งชาติ พ.ศ.2525 กาหนดประเภทและขนาดโครงการที่ต้ องจัดท ารายงานวิเคราะห์ผ ลกระทบ สิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น 36 ประเภทโครงการ เมื่อพิจารณาปัญหาระบบการจัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ดูรายละเอียดใน หัวข้อ 8.4 ของรายงานฉบับนี้) หนึ่งในปัญหาสาคัญ ได้แก่ การกาหนดประเภทโครงการที่ต้องจัดทารายงาน ซึ่งเป็นปัญหาที่ เกิดขึ้นในกระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม การพยายามหลีกเลี่ยงการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยอาศัยช่องโหว่จากการบัญญัติ กฎหมายที่ไม่ชัดเจน จากการตีความกฎหมายของหน่วยงานรัฐที่มักจะมองแยกส่วนโครงการขนาดใหญ่ ไม่ได้พิจารณา ภาพรวมของโครงการทั้งพื้นที่ โดยบางโครงการจะลดขนาดเพียงเล็กน้อยเพื่ อเลี่ยงไม่ให้โรงการเข้าเกณฑ์ที่ต้องจัดทารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการท่าเทียบเรือเพื่อขนส่งสินค้าของบริษัท อีสเทิร์น ที พี เค แค็ปปิตอล จากัด เป็น กรณีตัวอย่างของปัญหาในลักษณะดังกล่าว การดาเนินโครงการท่าเทียบเรือตามกฎหมายกาหนดว่า หากความยาวหน้าท่าตั้งแต่ 100 เมตรขึ้นไปต้องทารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้วยเหตุนี้ เจ้าของโครงการจึงแยกท่าเทียบเรือเป็น 6 โครงการ โดยที่แต่ละโครงการมี ความยาวไม่ถึง 100 เมตร ทาให้โครงการท่าเทียบเรือนี้ไม่ต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ทั้งที่ ท่าเทียง เรือทั้ง 6 โครงการเป็นท่าเทียบเรื่อที่อยู่ติดต่อเนื่องกัน หากรวมกันทั้ง 6 ท่าเทียบเรือมีความยาวหน้าท่ารวมกันเกิน 100 เมตร ก็ตาม หรือท่าเทียบเรือที่อาเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีหลายกิจการที่ขออนุญาตในขนาดที่ต่ากว่ากฎหมาย กาหนดเพื่อไม่ต้องทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมแต่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนในบริเวณใกล้เคียง ระเบียบเรื่องการทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของท่ าเรือกาหนดให้ท่าเรือที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีการทารายงานฯก่อนอนุญาต อย่างไรก็ดีโครงการนี้ไม่เข้าข่ายข้อกาหนดดังกล่าวเนื่องจากแบ่งย่อย ท่าเรือเป็น 6 ท่า ประกอบด้วย ท่าละ 995 ตารางเมตร จานวน 4 ท่า และ 831 ตารางเมตร จานวน 2 ท่า ขณะที่ระเบียบการ ทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของท่าเรือกาหนดให้ท่าเรือที่มีความยาวหน้าท่า 300 เมตรขึ้นไป ต้องทารายงานฯก่อนอนุญาต แม้ว่าโครงการนี้จะมีความยาวหน้าท่ารวมกัน 457.2 เมตร แต่เนื่องจากแยกขออนุญาตเป็น 6 ท่า ทาให้ความยาวหน้าท่าของแต่ละท่าไม่เข้าข่ายทาตามข้อกาหนดดังกล่าว นอกจากนี้ แม่น้าบางปะกงเป็นพื้นที่ชุ่มน้าตามมติคณะรัฐมนตรี ซึ่งมาตรการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้าระบุให้มีการจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมในโครงการที่มีแนวโน้มจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อระบบนิเวศในพื้น ที่ชุ่ม น้าที่มีความสาคัญระดับนานาชาติและระดับชาติ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
155
ตาราง 15 ข้อมูลส่วนท่าเทียบเรือ ท่าเทียบเรือ เลขที่ใบอนุญาต A B C D E F
1/2555 2/2555 3/2555 4/2555 5/2555 6/2555 รวม
ความยาวหน้าท่า (เมตร)
พื้นที่ (ตารางเมตร)
ความยาวยื่นออกในแม่น้า (เมตร)
81 66.60 81 81 66.60 81 457.2
995 831 995 995 831 995
20 20 20 20 20 20
ระยะห่างระหว่าง ท่า (เมตร) A-B: 91.48 B-C: 96.69 C-D: 172.11 D-E: 198.96 E-F: 505.00
8.7.5. สรุป ทัศนะที่ชุมชนมีต่อการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมกรณีโครงการโกดังเก็บสินค้าและท่าเรือขน ถ่ายสินค้า ของบริษัท อิสเทริ์น ที พี เค แค็ปปิตอล จากัด ว่าบัดนี้โครงการฯ ได้เริ่มก่อสร้างแล้ว หากสามารถทา EIA ก่อนเริ่ม โครงการคงจะมีประโยชน์มาก และมองว่าโครงการฯหลีกเลี่ยงและอาศัยช่องโหว่ทางกฎหมายอย่างแท้จริง แบ่งท่าเรือออกเป็น 6 โครงการย่อย ไม่เข้าข่ายโครงการที่ต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกกระทบสิ่งแวดล้อม ทั้งที่โดยรวมแล้วโครงการฯจะ ส่งผลกระทบรวมกันเพราะอยู่ในพื้นที่บริเวณเดียวกัน มีเจ้าของเป็นบริษัทเดียวกันและได้รับอนุญาตในวันเดียวกันก็ตาม แม้ว่ากระบวนการจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของไทยยังมีจุดอ่อนในหลายประเด็น แต่การ หลีกเลี่ยงโดยอาศัยช่องโหว่ของกฎหมายนับเป็นปัญหาที่น่ากังวลไม่น้อย เนื่องจากเมื่อไม่มีการจัดทารายงานฯ จึงปราศจาก การมีส่วนร่วมรับฟังความคิดเห็นของชุมชน ไม่มีการสื่อสารให้ชุมชนทราบถึงความเสีย่ งและผลกระทบที่อาจจะได้รับ ตลอดจน ไม่มีมาตรการและพันธะสัญญาในการรับผิดชอบผลกระทบที่จะเกิดกับชุมชนในภายหน้า ด้วยเหตุนี้ ควรมีการปรับปรุงการ ตีความบทบัญญัติทางกฎหมายให้ชัดเจนเพื่อป้องกันการหลีกเลี่ยงการจัดทารายงานฯ ตลอดจนปรับปรุงประเภทและขนาด ของโครงการที่ต้องจัดทารายงานฯ เนื่องจากโครงการที่ไม่เข้าข่ายการจัดทารายงานฯอาจเป็นโครงการที่ก่อให้เกิดผลกระทบ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 8. ปัญหาด้านธรรมาภิบาลของระบบ EIA ไทย
156
9. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
จากการศึกษาระบบประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมในห้าประเทศกรณีศึกษา กรณีศึกษาข้อขัดแย้งในประเทศ ไทย คณะวิจัยเสนอว่าควรมีการปรับปรุงกระบวนการให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ดังต่อไปนี้ 1. ขั้นตอนการจัดทารายงาน EIA 1.1 สานักงานแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ควรกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลกระทบ อย่างชัดเจนกว่าที่ผ่านมา สาหรับโครงการแต่ละประเภท 1.2 สผ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการเก็บบันทึกข้อมูลฐาน (baseline data) ซึ่งจาเป็นต่อการจัดทารายงาน EIA ที่ได้คณ ุ ภาพ เช่น คุณภาพอากาศ คุณภาพดิน คุณภาพน้า และมีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอย่าง สม่าเสมอ เพื่อยกระดับมาตรฐานการทารายงาน EIA และแบ่งเบาภาระของบริษัทผู้จดั ทารายงาน EIA 1.3 ควรนับรวมโครงการใกล้เคียงที่มลี กั ษณะเดียวกันในพื้นที่ติดกันว่าเป็นโครงการเดียวกัน ในการประเมินว่า โครงการดังกล่าวเข้าข่ายที่จะต้องเข้ากระบวนการ EIA หรือไม่ ดังเช่นกรณีของเยอรมนี เพื่อแก้ไขกรณีที่ ผู้พัฒนาโครงการซอยโครงการออกเป็นโครงการย่อยๆ เพื่อหลบเลี่ยงภาระการปฏิบัตติ ามระบบ EIA 2. ขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็น และการเปิดเผยข้อมูล 2.1 ควรปรับปรุงหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการรับฟังความคิดเห็นให้ตรงตามมาตรฐานสากล อาทิ หลักการ “ให้การยินยอมอย่างเป็นอิสระ โดยได้รับรู้ข้อมูลล่วงหน้าอย่างครบถ้วน” หรือ FPIC (Free, Prior, Informed Consent) ตามปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิชนพื้นเมือง ซึ่งรัฐบาลไทยได้ลงนามเห็นชอบ 2.2 ควรกาหนดให้ผู้จัดทารายงาน EIA ย่อยเนื้อหาในร่างรายงาน ใช้ภาษาที่ชาวบ้านฟังแล้วเข้าใจเวลาจัด กระบวนการรับฟังความคิดเห็น เช่น สารเคมีแต่ละตัวคืออะไร ส่งผลอย่างไรต่อสุขภาพ ผู้พัฒนาโครงการมี แนวทางป้องกันอย่างไร เพื่อขจัดปัญหาที่เนื้อหาในรายงาน EIA มักมีความซับซ้อนทางเทคนิคและเข้าใจยาก เป็นข้อจากัดสาหรับชาวบ้านที่ประสงค์จะแสดงความคิดเห็น 2.3 ควรเปิดเผยร่างรายงาน EIA ฉบับสมบูรณ์ ให้ผมู้ ีส่วนได้เสียโดยเฉพาะชุมชน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นอย่าง กว้างขวาง ก่อนที่จะจัดทาและเผยแพร่รายงานฉบับสมบูรณ์ 3. ขั้นตอนการให้ความเห็นชอบของหน่วยงานรัฐ และการทางานของ คชก. 3.1 ควรปรับปรุงกระบวนการคัดเลือกคณะกรรมการผู้ชานาญการ (คชก.) ใหม่ เพื่อให้ได้ คชก. ที่มีความ หลากหลายและมีความเป็นอิสระมากขึ้น โดยใช้แนวทาง เช่น เปลี่ยนเป็นระบบรายชื่อ โดยเปิดเผยชื่อและ คุณสมบัติของ คชก. แต่ละด้าน และเปิดโอกาสให้สาธารณะเสนอชือ่ เพิ่มเติม เป็นต้น 3.2 หน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบควรต้อง ไม่อนุมัติให้เดินหน้าโครงการ จนกว่ากระบวนการจัดทา EIA จะแล้วเสร็จ ทั้งนี้ รวมถึงกระบวนการที่จะมีผลผูกพันและสร้างแรงกดดันให้หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องอนุมัติโครงการ ไม่ว่าผล การจัดทารายงาน EIA จะเป็นเช่นไร เช่น การเปิดสัมปทานพลังงานรอบใหม่ การอนุมตั ิแผนพัฒนา อุตสาหกรรมหนัก เป็นต้น 4. ขั้นตอนการติดตามตรวจสอบ 4.1 สผ. ควรมีอานาจลงโทษผู้พัฒนาโครงการที่ไม่ดาเนินการตามมาตรการจัดการและลดผลกระทบตามที่ระบุใน รายงาน EIA (ปัจจุบันผูม้ ีอานาจลงโทษคือหน่วยงานผู้มีอานาจอนุญาต แต่กฎหมายไม่มสี ภาพบังคับจริง)
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 9. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
157
4.2 ควรเพิม่ กระบวนการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามรายงาน EIA โดยให้ สผ. หรือ คชก. หรือกองทุน EIA ซึ่ง ตั้งขึ้นใหม่ มีอานาจในการคัดเลือกและแต่งตั้งบริษัทที่ปรึกษาซึ่งไม่มีส่วนได้เสียกับโครงการ มาทาหน้าที่ผู้ ตรวจสอบภายนอก (ดูรายละเอียดในข้อเสนอ “สามโมเดล” ด้านล่าง) 5. การยกระดับมาตรฐานวิชาชีพผู้ประเมินรายงาน EIA 5.1 รัฐควรส่งเสริมให้มีการจัดตั้งสภาผูป้ ระกอบวิชาชีพจัดทารายงาน EIA ในลักษณะคล้ายกับสภาวิชาชีพบัญชี หรือสภาวิศวกร โดยให้มีอานาจออกใบอนุญาต พักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตรายบุคคล รวมทั้งกาหนด จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพ ออกแบบหลักสูตรการอบรม เป็นต้น เพิ่มเติมจากปัจจุบันที่การเพิกถอน ใบอนุญาตเป็นการพักใบอนุญาตนิติบุคคล มิใช่การพักใบอนุญาตของบุคคล ส่งผลให้บุคคลที่จัดทารายงาน EIA สามารถไปทางานให้กับนิติบุคคลอื่นได้ 5.2 สผ. ควรริเริ่มโครงการใหม่ๆ เพื่อยกระดับมาตรฐานและความโปร่งใสของผู้จัดทารายงาน EIA อาทิ จัดงานมอบ รางวัล “รายงาน EIA ดีเด่นประจาปี” เป็นต้น ในส่วนของการปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบตามข้อ 4.2 ข้างต้น คณะวิจัยเสนอว่ามีทางเลือกอย่างน้อยสาม รูปแบบ หรือสาม “โมเดล” ดังต่อไปนี้
1. โมเดล “ผู้ตรวจสอบ+กองทุน” โมเดลนี้จะจัดตั้ง “กองทุน EIA” เป็นกองทุนอิสระ มีคณะกรรมการจากกระบวนการสรรหา ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ตัวแทนจากภาคเอกชน และภาคประชาชน อย่างละเท่าๆ กัน โครงสร้างและอานาจหน้าที่อาจมีลักษณะคล้าย กับ National Environmental Fund (Fondo Nacional Ambiental, FONAM) ซึ่งเป็นระบบบัญชีพิเศษของกระทรวง สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน (Ministry of Environment and Sustainable Development) ในประเทศโคลอมเบีย กองทุนนี้ในโคลอมเบียจะเรียกเก็บค่าใช้จ่ายสาหรับการประเมินรายงานเพื่อออกใบอนุญาต และค่าใช้จ่ายในการติดตามผล การดาเนินงาน จากผู้พัฒนาโครงการ ในกรณีของประเทศไทย คณะวิจัยเสนอว่ากองทุน EIA ควรมีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้ 5. เก็บค่าธรรมเนียมจากผู้พัฒนาโครงการ สาหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ กรณีที่รายงาน EIA ผ่านความ เห็นชอบ (อาจใช้ลักษณะ “กันเงิน” ในบัญชีพิเศษ (Escrow Account) โดยจะคืนให้กับผู้พัฒนาโครงการใน ภายหลัง ในกรณีที่รายงาน EIA ไม่ผ่านความเห็นชอบ หรือกระบวนการตรวจสอบจริงใช้เงินไม่เต็มจานวน) 6. ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษามาทาหน้าทีต่ รวจสอบ (audit) การปฏิบัตติ ามมาตรการป้องกันและบรรเทาผลกระทบ ตามที่ระบุในรายงาน EIA ตามข้อเสนอของ คชก. (ให้ คชก. ทาหน้าที่คัดเลือกบริษัทผู้ตรวจสอบ) 7. บริหารสัญญาการจ้างงาน ระหว่างกองทุน EIA กับบริษัทผู้ตรวจสอบ 8. จ่ายเงินตามสัญญาให้กับบริษัทผู้ตรวจสอบ หน้าที่รองของกองทุน EIA ที่อาจทาได้ มีอาทิ การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจากผู้พัฒนาโครงการเป็นร้อยละของมูลค่า การก่อสร้าง ในลักษณะคล้ายกับกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า เพื่อนามาสารองสาหรับการเยียวยาผูไ้ ด้รับ ผลกระทบ ภายหลังจากที่โครงการได้รับอนุมัติ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 9. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
158
ข้อดีและข้อด้อยโดยเปรียบเทียบของโมเดลนี้ เมื่อเทียบกับอีกสองโมเดลซึ่งจะกล่าวถึงต่อไป สามารถสรุปได้ดัง ตาราง 16 ส่วนโครงสร้างกระบวนการ แสดงในแผนภาพ 23 (กล่อง สีเหลือง แสดงกระบวนการใหม่)
ตาราง 16 ข้อดี-ข้อด้อยโดยเปรียบเทียบของโมเดล “ผู้ตรวจสอบ+กองทุน” ข้อดีโดยเปรียบเทียบ มีกองทุน EIA มารับผิดชอบค่าใช้จ่ายในกระบวนการ ตรวจสอบโดยตรง แบ่งเบาภาระการตรวจสอบและติดตามผลของ สผ. ไปให้กับ บริษัทผู้ตรวจสอบโดยตรง เพิ่มแรงจูงใจให้บริษัทที่ปรึกษาผูจ้ ดั ทารายงาน EIA มีความ ตื่นตัวที่จะจัดทารายงาน EIA อย่างมีคุณภาพ เนื่องจากจะถูก ตรวจสอบโดยบริษัทคู่แข่งในวงการเดียวกัน เพิ่มแรงจูงใจให้บริษัทที่ปรึกษาปรับปรุงมาตรฐานการทางาน เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับรายได้ในฐานะผู้ตรวจสอบ
ข้อด้อยโดยเปรียบเทียบ ก่อให้เกิดความเสี่ยงใหม่ว่า กองทุน EIA อาจขาดความเป็น อิสระ ความเสีย่ งเรื่องธรรมาภิบาลของกองทุน โดยเฉพาะการใช้ จ่ายเงิน ต้องจัดตั้งกองทุน EIA เป็นองค์กรใหม่ มีค่าใช้จ่ายบริหาร จัดการเพิม่ เติมจากโครงสร้างเดิม ผู้พัฒนาโครงการอาจไม่เห็นด้วยกับกระบวนการตรวจสอบที่ ตนไม่มีอานาจจ้างผูต้ รวจสอบเอง เนื่องจากจะมองว่าผู้ ตรวจสอบอาจไม่ได้คณ ุ ภาพ หรือไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 9. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
159
แผนภาพ 23 กระบวนการ EIA ตามโมเดล "ผูต้ รวจสอบ+กองทุน"
2. โมเดล “ผู้ตรวจสอบ” โมเดลนี้มลี ักษณะคล้ายกับโมเดลแรก แต่ไม่มีการจัดตั้งองค์กรใหม่ใดๆ (ไม่มีกองทุน EIA) โดยให้ สผ. มีหน้าที่สรรหา และว่าจ้างผู้ตรวจสอบโดยตรง ตามข้อเสนอแนะของ คชก. ข้อดีโดยเปรียบเทียบของโมเดลนี้ คือ ไม่ต้องมีการจัดตั้งองค์กรใหม่ จึงไม่มีค่าใช้จ่ายด้านการบริหารจัดการองค์กร เพิ่มเข้ามาในกระบวนการ และหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่จะปกติตามมาจากการก่อตั้งองค์กรใหม่ เช่น ความเสีย่ งที่จะขาดความ เป็นอิสระ และด้านธรรมาภิบาล อย่างไรก็ดี ข้อเสียโดยเปรียบเทียบของโมเดลนี้ คือ อาศัยการทางานของ สผ. และ คชก. เป็น หลักในการขับเคลื่อนกระบวนการตรวจสอบ (เป็นการพึ่งพาหน่วยงานภาครัฐค่อนข้างมาก คล้ายกับระบบ EIA ในประเทศ บริษัท ป่าสาละ จากัด | 9. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
160
เยอรมนี) จึงอาจรับปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนของ สผ. และ คชก. มาเป็น ‘มรดก’ ในกระบวนการตรวจสอบและติดตามผล อาจส่งผลให้กระบวนการไม่มีประสิทธิผลและ/หรือผู้ตรวจสอบไม่เป็นอิสระเท่าที่ควร โครงสร้างกระบวนการ แสดงในแผนภาพ 24 (กล่อง สีเหลือง แสดงกระบวนการใหม่) แผนภาพ 24 กระบวนการ EIA ตามโมเดล "ผูต้ รวจสอบ"
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 9. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
161
3. โมเดล “องค์กรอิสระ” โมเดลนี้แตกต่างจากโมเดล 1. และ 2. อย่างมีนัยสาคัญ โดยเสนอให้จัดตั้ง “องค์กรอิสระ” ขึ้นมาทาหน้าที่ดาเนิน กระบวนการประเมินและเห็นชอบรายงาน EIA ตั้งแต่ต้นน้าจนถึงปลายน้า ตั้งแต่ขั้นตอนการจ้างบริษัทที่ปรึกษามาจัดทา รายงาน EIA (หรือองค์กรนี้อาจจัดทาด้วยตนเอง) ขั้นตอนการให้ความเห็นชอบ ตลอดจนขั้นตอนการติดตามตรวจสอบ และ อานาจลงโทษผู้พัฒนาโครงการ ในกรณีที่มไิ ด้ดาเนินตามมาตรการลดผลกระทบดังที่ระบุไว้ในรายงาน EIA โมเดลนี้มลี ักษณะคล้ายกับระบบ EIA ของมลรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา แตกต่างกันตรงที่ให้องค์กรอิสระเป็นผู้จดั ทา รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Statement: EIS ตามชื่อเรียกของมลรัฐวอชิงตัน) มิใช่หน่วยงานรัฐ ดังเช่นกรณีของมลรัฐวอชิงตัน เพื่อหลีกเลีย่ งปัญหาการขาดความเป็นอิสระของหน่วยงานรัฐ หรือผลประโยชน์ทับซ้อนในกรณี ที่ผู้พัฒนาโครงการเป็นหน่วยงานรัฐด้วยกันหรือรัฐวิสาหกิจ ข้อดีและข้อด้อยโดยเปรียบเทียบของโมเดลนี้ เมื่อเทียบกับอีกสองโมเดลข้างต้น สามารถสรุปได้ดังตาราง 17 ส่วน โครงสร้างกระบวนการ แสดงในแผนภาพ 25 (กล่อง สีเหลือง แสดงกระบวนการใหม่) ตาราง 17 ข้อดี-ข้อด้อยโดยเปรียบเทียบของโมเดล “องค์กรอิสระ" ข้อดีโดยเปรียบเทียบ มีองค์กรอิสระอย่างเป็นกิจลักษณะ แบ่งเบาข้อกังวลที่ว่า คชก. สผ. หรือผู้จัดทารายงาน EIA อาจมีผลประโยชน์ทับ ซ้อน หรือไม่เป็นอิสระ แบ่งเบาภาระการตรวจสอบและติดตามผลของ สผ. ไปให้กับ องค์กรอิสระโดยตรง เพิ่มแรงจูงใจให้บริษัทที่ปรึกษาผูจ้ ดั ทารายงาน EIA มีความ ตื่นตัวที่จะจัดทารายงาน EIA อย่างมีคุณภาพ เนื่องจากจะถูก ตรวจสอบโดยองค์กรอิสระ เพิ่มแรงจูงใจให้บริษัทที่ปรึกษาปรับปรุงมาตรฐานการทางาน เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับรายได้ในฐานะผู้ตรวจสอบ (ทางาน ให้กับองค์กรอิสระ)
ข้อด้อยโดยเปรียบเทียบ ก่อให้เกิดความเสี่ยงใหม่ว่า องค์กรอิสระจะเป็นอิสระอย่าง แท้จริงหรือไม่ ความเสีย่ งเรื่องธรรมาภิบาลขององค์กรอิสระ โดยเฉพาะการ ใช้จ่ายเงิน ต้องจัดตั้งกองทุน EIA เป็นองค์กรใหม่ มีค่าใช้จ่ายบริหาร จัดการเพิม่ เติมจากโครงสร้างเดิม การริบเอาอานาจรัฐบางส่วน อาทิ อานาจการให้ความ เห็นชอบต่อรายงาน EIA และอานาจการลงโทษ มาจาก สผ. และหน่วยงานที่มีอานาจอนุมัติ อาจเปิดช่องให้ สผ. และ หน่วยงานรัฐเหล่านั้นด้อยประสิทธิภาพและประสิทธิผล หย่อนยานต่อความรับผิดชอบของตนในอนาคต อาจมีปัญหาขาดแคลนบุคลากร เนื่องจากเป็นการกาหนด องค์กรใหม่ซึ่งมีหน้าที่บางส่วนทับซ้อนกับ สผ. และหน่วยงาน เดิมของรัฐ ผู้พัฒนาโครงการมีแนวโน้มสูงที่จะไม่เห็นด้วยกับการให้ องค์กรอื่นมีอานาจว่าจ้างผู้จดั ทารายงาน EIA เนื่องจากจะ มองว่าผู้จัดทารายงานอาจไม่ได้คณ ุ ภาพ หรือไม่ได้รับข้อมูลที่ ถูกต้อง บริษัท ป่าสาละ จากัด | 9. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
162
แผนภาพ 25 กระบวนการ EIA ตามโมเดล "องค์กรอิสระ"
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 9. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
163
เมื่อคานึงถึงข้อดีและข้อด้อยโดยเปรียบเทียบข้างต้นในบริบทของสังคมไทย คณะวิจัยเห็นว่าโมเดล 1 (“ผู้ ตรวจสอบ+กองทุน”) ในเบื้องต้นน่าจะเป็นโมเดลที่เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของปัญหาในประเทศไทย ด้วยเหตุผล ดังต่อไปนี้ 1. โมเดล “องค์กรอิสระ” (โมเดลที่ 3) จาต้องมีการ “ริบ” อานาจรัฐบางส่วน อาทิ อานาจการให้ความ เห็นชอบต่อรายงาน EIA และอานาจการลงโทษ มาจาก สผ. และหน่วยงานที่มีอานาจอนุมัติ มาถ่ายโอน ให้กับองค์กรใหม่ ซึ่งอาจทาได้ยากมากในทางปฏิบัติ เนื่องจากหน่วยงานราชการเดิมอาจไม่ยินยอม อีกทั้ง ยังอาจถูกมองว่า ขัดต่อหลักการ “รัฐควรเป็นผู้ใช้อานาจรัฐเอง เพราะมีหน้าที่รับผิดชอบประโยชน์ สาธารณะ” และเป็นผู้มีอานาจอนุมัติโครงการโดยตรง นอกจากนี้ โมเดลนี้ยังอาจเปิดช่องให้ สผ. และ หน่วยงานรัฐเหล่านั้นด้อยประสิทธิภาพและประสิทธิผล ขาดแรงจูงใจที่จะปรับปรุงการทางานของตนใน อนาคต การก่อตั้งองค์กรอิสระขึ้นมาอีกหนึ่งแห่ง ขณะที่ยังมี สผ. เช่นกัน จึงอาจเป็นการใช้เงิน งบประมาณภาครัฐอย่างซ้าซ้อนและไม่คุ้มค่า 2. โมเดล “ผู้ตรวจสอบ” (โมเดลที่ 2) ยังคงอาศัยการทางานของ สผ. และ คชก. ภายใต้โครงสร้างเดิม เป็น หลักในการขับเคลื่อนกระบวนการตรวจสอบ จึงอาจเป็นการสืบทอดปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนของ สผ. และ คชก. มาเป็น ‘มรดก’ ในกระบวนการตรวจสอบและติดตามผล อาจส่งผลให้กระบวนการไม่มี ประสิทธิผลและ/หรือผู้ตรวจสอบไม่เป็นอิสระมากเท่าที่ควร และจึงอาจไม่สามารถแก้ปัญหาในระบบ ประเมิน EIA ได้อย่างบรรลุผลสาเร็จ 3. โมเดล “ผู้ตรวจสอบ+กองทุน” (โมเดลที่ 1) เป็นโมเดลลักษณะ “ประนีประนอม” ระหว่างโมเดลที่ 2 และ 3 ซึ่งคณะวิจยั ประเมินว่าน่าจะมีโอกาสทาได้จริงในทางปฏิบัติ เนื่องจากมิได้เป็นการถ่ายโอนอานาจ รัฐมาจาก สผ. และหน่วยงานอื่นทีร่ ับผิดชอบ เป็นแต่เพียงการเพิ่มเติมกลไกการตรวจสอบเข้ามา จากเดิม ที่ระบบประเมิน EIA ยังไม่มีกลไกตรวจสอบทีไ่ ด้ประสิทธิภาพ เท่ากับเป็นการช่วยแบ่งเบาภาระของ สผ. และ คชก. นอกจากนี้ เงินและโครงสร้างการทางานของกองทุน EIA ที่เป็นผู้จัดจ้างผู้ตรวจสอบนั้น ยัง สามารถออกแบบให้ครอบคลุมถึงการสร้างฐานข้อมูลสาหรับข้อมูลฐานต่างๆ (baseline data) หลัก ปฏิบัติที่ดสี าหรับผู้ประเมิน EIA และกิจกรรมต่างๆ เช่น การมอบรางวัล “รายงาน EIA ดีเด่น” เพื่อ ยกระดับทักษะวิชาชีพของผู้ประเมิน EIA ได้อีกทางหนึ่งด้วย
บริษัท ป่าสาละ จากัด | 9. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
164
บรรณานุกรม เวียดนาม Clausen, A., Vu, H. H., & Pedrono, M. (2011). An evaluation of the environment impact assessment system in Vietnam: the gap between theory and practice. Environmental impact assessment review, 31, 136-143. Food and Agriculture Organization. (2006). FAOLEX legislative database of FAO legal office (Vietnam). Retrieved March 15, 2014, from Food and Agricutlure Organization of United States: http://faolex.fao.org/cgibin/faolex.exe?rec_id=048826&database=faolex&search_type=link&table=result&lang=eng&format _name=@ERALL Lo, C. W., Yip, P. K., & Cheung, K. C. (2000). The regulatory style of environmental governance in China: the case of EIA regulation in Shanghai. Public Administration and Development, 305-318. Netherlands Commission for Environmental Assessment. (2009). EIA profile (Vietnam). Retrieved 3 31, 2015, from Netherlands Commission for Environmental Assessment: http://www.eia.nl/en/countries/as/vietnam/eia Obbard, J. P., Lai, Y. C., & Briffet, C. (2002, September). Environmental assessment in Vietnam: theory and practice. Journal of Environmental Assessment Policy and Management, IV(3). Sinh, B. T. (2003). Social challenge in the Mekong region. Chiangmai: White Lotus. ญี่ปุ่น Environmental Law Alliance Wordwide. (2012, March 26). EIA Country Report for Japan. Retrieved April 21, 2015, from Environmental Law Alliance Wordwide: http://eialaws.elaw.org/content/japan Ministry of the Environment. (2012, May). Environmental impact assessment in Japan. Retrieved April 10, 2015, from Ministry of the Environment (Government of Japan): https://www.env.go.jp/en/focus/docs/files/20120501-04.pdf Ministry of the Environment. (n.d.). Environmental Impact Assessment in Japan. Retrieved April 10, 2015, from Ministry of the Environment (Government of Japan): https://www.env.go.jp/en/policy/assess/pamph.pdf Ozawa, H., & Dobashi, T. (2014, November 1). Environmental law and practice in Japan: overview. Retrieved April 21, 2015, from Practical Law; a Thompson Reuters legal solution: http://uk.practicallaw.com/6-502-8920# บริษัท ป่าสาละ จากัด | บรรณานุกรม
165
มลรัฐวอชิงตัน Washington State Department of Ecology. (2004, May 17). Citizen's Guide to SEPA Review and Commenting . Retrieved April 14, 2015, from Department of Ecology: state enviromental policy act: http://www.ecy.wa.gov/programs/sea/sepa/citizensguide/citizensguide.htm Washington State Department of Ecology. (2003). SEPA online handbook. Retrieved April 12, 2015, from Department of Ecology: http://www.ecy.wa.gov/programs/sea/sepa/pdf/2003%20Handbook%20Update%2011-14-03.pdf Washington State Legislature. (2014, April 9). Chapter 197-11 WAC; SEPA rules. Retrieved March 31, 2015, from Washington State Legislature: http://app.leg.wa.gov/WAC/default.aspx?cite=197-11 Washington State Legislature. (2009). Chapter 43.21C RCW: state environmental policy. Retrieved April 4, 2015, from Washington State Legislature: http://apps.leg.wa.gov/rcw/default.aspx?cite=43.21C
โคลอมเบีย Kasim, T., & Simoneit, B. (2005). Environmental impact assessment: principles, methodology and conceptual framework. In Handb Environ Chem (pp. 1-57). Luers, A. L. (2005). The surface of vulnerability: An analytical framework for examining environmental change. ELSEVIER. Ministry of the Environment, Housing and Land Development. (2010, August 5). Decree 2820. Retrieved from http://www.anla.gov.co/: http://www.anla.gov.co/documentos/Gaceta/DECRETO_2820_de_2010.pdf Netherlands Commission for Environmental Assessment. (n. d.). Countries & Profile: Colombia. Retrieved from Netherlands Commission for Environmental Assessment: http://www.eia.nl/en/countries/sa/colombia/eia Saborio Coze, A., & Flores Nava, A. (2009). Review of environmental impact assessment and monitoring in aquaculture in Latin America: Colombia. In FAO, Environmental impact assessment and monitoring in aquaculture (pp. 408-410). Toro, J., Duarte, O., Requena, I., & Zamorano, M. (2011). Determining vulnerability importance in environmental impact assessment: The case of Colombia. ELSEVIER. บริษัท ป่าสาละ จากัด | บรรณานุกรม
166
Toro, J., Requena, I., & Zamorano, M. (2009). Environmental impact assessment in Colombia: Critical analysis and proposals for improvement. ELSEVIER.
เยอรมนี Federal Ministry of Justice and Consumer Protection. (2013). Retrieved April 9, 2015, from http://www.gesetze-im-internet.de/bundesrecht/uvpg/gesamt.pdf Mandl, B. (2010). Environmental impact assessments: a need for harmonisation of EU law?: EIAs in Germany, Austria and the UK. VDM Verlag Dr. Müller. Potschin, M., & Haines-Young, R. (2002). Improving the quality of environmental assessments using the concept of natural capital: a case study from southern Germany. Elsevier. Royal HaskoningDHV. (2012). Environmental Impact Assessment (EIA) and Appropriate Assessment (AA): evaluation of assessment tools and methods; lot 1 legal and procedural aspects of the EU Directives. Tidal River Development. ระบบธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมของไทย ทศวรรณ เวียงธีรวัฒน์ (2555): ปัญหาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม: กรณีโครงการที่กฎหมายกาหนดให้ต้องจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคาแหง. ยุทธศักดิ์ ศิริสินธว์ (2556): ปัญหาเกี่ยวกับสภาพบังคับทางกฎหมายในการวิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต , สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. วสันต์ วัฒนะรัตน์. (2541): เจตคติของนักวิชาการสิ่งแวดล้อมภาครัฐและเอกชน ต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ จัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร์ (รัฐศาสตร์) , มหาวิทยาลัย รามคาแหง. สุวิจักขณ์ พูนศรีเกษม (2556): ปัญหาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคาแหง. อัญชลี มีมุข, สุโรจนา ศรีอักษร, ศิริกุล ผลิศักดิ์(2549): โครงการวิจัยการประเมินกระบวนการโครงการศึกษาผลกระทบ สิ่งแวดล้อม. เข้าถึงได้ที่ http://www.riclib.nrct.go.th/bookdetail.php?book_id=194621 เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557 ณรงค์ ใจหาญ (2552): โครงการศึกษาปรับปรุงระบบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมภายใต้ พรบ. ส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บรรณานุกรม
167
งานวิจัยภาษาอังกฤษ Amornsakchai, S., Annez, P., Vongvisessomjai, S., Choowaew, S., Kunurat, P., Nippanon, J., Schouten, R., Sripapatrprasite, P., Vaddhanaphuti, C., Vidthayanon, C., Wirojanagud, W. and Wattana E. (2000): Pak Mun Dam, Mekong River Basin, Thailand. A WCD Case Study Prepared as an Input to the World Commission on Dams. World Commission on Dams. Boyle, John (1998): Cultural Influences on Implementing Environmental Impact Assessment: Insights for Thailand, Indonesia, and Malaysia. Environmental Impact Assessment Review. Volume 18, Issue 2, Pages 95116. Chesoh, Sarawuth. (2011): Environmental Impact Assessment of Power Development Project: Lessons from Thailand Experiences. Asian Social Science Vol. 7, No. 9; September 2011. Stampe, John W. (2009): Lessons Learned from Environmental Impact Assessments: A Look at Two Widely Different Approaches – The USA and Thailand. The Journal of Transdisciplinary Environmental Studies vol. 8, no. 1, 2009
หนังสือ เครือข่ายธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม ประเทศไทย (2557): คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม. เข้าถึงได้ที่ www.tei.or.th/tai/2014-Book-EIA.pdf เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557 ทวีวงศ์ ศรีบุรี (2541): EIA การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ, มูลนิธิโลกสีเขียว. ศศิน เฉลิมลาภ (2555): เหตุผลในการคัดค้านโครงการเขื่อนแม่วงก์. กรุงเทพฯ, มูลนิธิสืบนาคะเสถียร. สานักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2548): ระบบการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย. กรุงเทพฯ. สถาบันวิจัยสังคมร่วมกับสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2545): โครงการศึกษาพัฒนาการดาเนินงาน การมีส่ วนร่วมของประชาชนในกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ, สถาบันวิจั ยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กฎหมาย พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และ หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางการจัดทารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
บริษัท ป่าสาละ จากัด | บรรณานุกรม
168
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องการ จัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางการจัดทารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2556) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2556) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2557) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2557) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2557) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการ จัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และ สุขภาพ ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการ จัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติ และ สุขภาพ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการ จัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555 เว็บไซต์ กรีนพีซ ประเทศไทย (2557): เรื่องการประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการกาหนดขอบเขต และแนวทางการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ค1) โครงการท่าเทียบเรือบ้านคลองรั้ว. เข้าถึงได้ที่ http://www.greenpeace.org/seasia/th/press/releases/Reactive-KlongRuo-public-hearing-TH-FF เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 บริษัท ป่าสาละ จากัด | บรรณานุกรม
169
ณัฏฐพัชร์ ทัศนรุ่งเรือง (2555): คนแปดริ้วชงถอนใบอนุญาตสร้างท่าเรือ 6 ท่า บางปะกง ชี้ส่อเลี่ยงอีไอเอ. เข้าถึงได้ที่ http://www.isranews.org/thaireform-other-news/item/17957-คนแปดริ้วชงถอนใบอนุญาตสร้างท่าเรือ -6ท่า-บางปะกง-ชี้ส่อเลี่ยงอีไอเอ.html เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 ไทยพับลิก้า (2557): เขื่อนแม่วงก์ไม่มีวันหมดอายุ ถ้ากรมชลประทานไม่ถอนอีเอชไอเอจาก สผ. เข้าถึงได้ที่ http://thaipublica.org/2014/11/mae-wong-dam-2/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 ไทยพับลิก้า (2557): ท่าเรือบ้านโพธิ์ (1) : ชาวอ.บ้านโพธิ์ ฉะเชิงเทรา ฟ้อง “ผอ.เจ้าท่า-อบต.-บริษัทอิสเทริ์น ที พี เค แค็ปปิตอล” กรณีสร้างท่าเรือขนถ่ายสินค้าและโกดัง . เข้าถึงได้ที่ http://thaipublica.org/2014/07/port-ofbaanpho-1 เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 ไทยพับลิก้า (2557): คดีอาญา “กาแพงใจ” เหมืองทองคา ระหว่างชาวบ้านวังสะพุงกับบริษัททุ่งคา – บุกรุกหรือสิทธิอันชอบ ธรรม. เข้าถึงได้ที่ http://thaipublica.org/2014/02/phu-thap-fah-hit-cyanide-6 เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 ไทยพับลิก้า (2556): ชาวบ้าน 6 หมู่บ้าน “กลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิด ” ยื่นฟ้องศาลปกครอง เพิกถอนประทานบัตร-ใบอนุญาต บริษัท ทุ่งคา. เข้าถึงได้ที่ http://thaipublica.org/2013/11/phu-thap-fah-hit-cyanide-4 เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 ธารา บัวคาศรี, จริยา เสนพงศ์, สุวิมล ประชาพงศ์กิจ, อัญชลี พิพัฒนวัฒนากุล, กรวรรณ บัวดอกตูม, ยุสูบ หมาดสาหรน, สุขุม แหลมเกาะ, ประสาน ร่าโส่ย, สุรพล แซ่ตัน, อานาจ บาเหรม, โชคอนันต์ ช่างน้า, ต่อเหตุ คลองวิวัฒน์, ก้าหริน วงศ์ ศาลา, สะอาด แหลมเกาะ, สุรศักดิ์ เงินนุช, อานวย หมันเหยบ, เกรียงศักดิ์ สุขทอง, จงรักษ์ แช่มศรี, บุญ สั้น, เขมริ นทร์ อินทิรา, ทิพรดา นาคสุทธิ์, นฤมล แก้วผล และวริศรา ปานพรม (2557): ความล้มเหลวของกระบวนการจัดทา รายงาน EHIA โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินดาลังผลิตติดตั้ง 870 เมกะวัตต์และท่าเทียบเรือถ่านหินจังหวัดกระบี่. เข้าถึงได้ที่ http://www.greenpeace.org/seasia/th/PageFiles/593351/ 2014-03-06-TH-TCC-ความล้มเหลว EHIA โครงการโรงไฟฟ้ากระบี่.pdf เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 บันทึกงานสัมมนาวิชาการ ‘ข้อเท็จและความจริง: เหมืองทองคา จังหวัดเลย’ ร่วมจัดโดย มูลนิธิบูรณะนิเวศ ศูนย์ศึกษา สันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศูนย์วิจัยเปิดมินามาตะศึกษา มหาวิทยาลัยคุมาโมโตกักกุ เอ็ง ประเทศญี่ปุ่น เข้าถึงได้ที่ http://waymagazine.org/report/goldmine-loei เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 รายชื่อคณะกรรมการผู้ชานาญการภายใต้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ. เข้าถึงได้ที่ http://www.onep.go.th/neb2/index.php/2014-01-09-04-33-42 เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ (2557): ก่อนค.3: ความล้มเหลวของการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการท่าเรือขนถ่ายถ่าน หินกระบี่. เข้าถึงได้ที่ http://www.greenpeace.org/seasia/th/news/blog1/3/blog/50784 เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ (2557): อีเอชไอเอ ค.2 ความผิดซ้าสองของกฟผ. ที่กระบี่. เข้าถึงได้ที่ http://www.greenpeace.org/seasia/th/news/blog1/2/blog/49201/เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 เลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์ (2556): ‘กระดูกของความลวงหลายชั้นของนายทุน’ กับการทาพับลิก สโคปปิง “เหมืองทองคา” จ.เลย. บริษัท ป่าสาละ จากัด | บรรณานุกรม
170
เข้าถึงได้ที่ http://thaipublica.org/2013/09/phu-thap-fah-hit-cyanide-3 เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 ลาดับเหตุการณ์ : ชีวิตหลังการมาของเหมืองทอง เข้าถึงได้ http://loeiminingtown.org/2014/02/16/492 เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 สานักข่าวอิศรา (2556): สตง. พบยอดโครงการค้างส่ง รายงาน EIA “สผ.” อื้อซ่า -จี้ นายกฯ แก้ปัญหาด่วน. เข้าถึงได้ที่ http://www.isranews.org/ข่าว/item/22217-EIA.html?pop=1&tmpl=component&print=1เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 กรณีศึกษา: โรงไฟฟ้าหนองแซง จ.สระบุรี
กฎกระทรวง ฉบับที่ ) 2พ 24) .2535 .ศ.ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ (2535 .ศ.กันยายน .(2535เรียกใช้เมื่อ 4 :จ า ก ก ร ง โ ร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม 2 5 5 8 มิ ถุ น า ย น http://www.diw.go.th/hawk/law/location/notific_of_min1.asp กมลวรรณ ชื่นชูใจ จาก 2015 มิถุนายน 28 เรียกใช้เมื่อ .(เรื่องโรงไฟฟ้า )การเมือง : พลังงาน : นชุมช (สิทธิ ) .(2014 ) . Transforming Societies: Contestations and Convergences in Asia and the Pacific: http://rcsd.soc.cmu.ac.th/web/apsa/2014download.php?filename=.201391253744%25300doc. คาพิพากษาศาลปกครองกลาง เรื่อง คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐออกคาสั่งโดยไม่ชอบด้วยกฏหมาย คดีหมายเลข ดาที่ .(2556 มกราคม 31) .2556/126 คดีหมายเลขแดงที่ 2553/1454เรียกใช้เมื่อ จาก มูลนิธิ 2558 มิถุนายน 10 :นิ ติ ธ ร ร ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม http://enlawfoundation.org/newweb/wpcontent/uploads/administrative_decision_nongsaeng.pdf จดหมายกรมโรงงานอุตสาหกรรม ที่ อก 0315(2)/5739 ลงวันที่ 4 มิถุนายน 2553 ถึงเลขาธิการสานักงานคณะกรรมการ กากับกิจการพลังงาน เรื่อง ขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า บริษัท เพาเวอร์ เจเนอเรชั่น จากัด ลงนามโดย นายศุภชัย ศิริวัฒนเจริญ รองอธิบดี ปฏิบัติราชการแทน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม จดหมายเครือข่ายอนุรักษ์วิถีเกษตรกรรม ที่ 11/2554/8ว ลงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 จดหมายสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ที่ สกพ 5502/3716 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2554 ลงนามโดย นาย อติลักษณ์ อรรถาพิช รองเลขาธิการ ปฏิบัติราชการแทน เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน บริษัท ซีคอท จากัดในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ 2 รายงานการขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการครั้งที่ .(2556) . สิ่งแวดล้อมโครงการโรงไฟฟ้าหนองแซง.บริษัท กัลฟ์ เจพี เอ็นเอส จากัด :กรุงเทพฯ . บริษัทซีคอทจากัด รายงานฉบับสมบูรณ์ การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงไฟฟ้าหนองแซง อาเภอ .(2552) . บริษัท เพาเวอร์ เจเนอเรชั่น ซั :กรุงเทพฯ .หนองแซง จังหวัดสระบุรี และ อาเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ พลาย จากัด. พระราชบัญญัติโรงงาน พ 9 ) .2535 .ศ .เมษายน .(2535เรียกใช้เมื่อ :จาก กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2558 มิถุนายน 4 http://www.diw.go.th/diw_web/html/versionthai/laws/act.1asp รายงานการประชุมคณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อมด้านโครงการพลังงาน ครั้ง ที่ 2551/17 ลงวันที่ 12 มิถุนายน 2551 บริษัท ป่าสาละ จากัด |
171
รายงานการประชุมคณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้านโรงไฟฟ้าพลังความ ร้อน ครั้งที่ 2552/2ลงวันที่ 20 สิงหาคม 2552 รายงานการประชุมคณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อมด้านโครงการพลังงาน ครั้ง ที่ 2552/13ลงวันที่ 25 มิถุนายน 2552 รายงานการประชุมคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานครั้งที่ ) 2553/16ครั้งที่ (90ลงวันที่ 15 มิถุนายน 2553 เลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์ 23) .สิงหาคม .(2553ตีแผ่ 3 "อีไอเอ"ฉบับ กับการลบล้างข้อหาโครงการโรงไฟฟ้าหนองแซง แย่งน้าทา" :จาก ประชาไท 2558 มิถุนายน 4 เรียกใช้เมื่อ ."นาhttp://www.prachatai.com/journal/30826/08/2010 สานักนโยบายไฟฟ้า สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน .(2557 พฤศจิกายน) .ข้อมูลการศึกษาดูงานโรงไฟฟ้าวังน้อย ชุดที่ 4 โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม บริษัท เฟิร์ส โคราช วินด์ (โรงไฟฟ้าหนองแซง) บริษัท กัลฟ์ เจพี เอ็นเอส จากัด จาก 2558 มิถุนายน 29 เรียกใช้เมื่อ .จากัดEPPO KM Knowledge Management สานักงานนโยบายและแผน พลังงาน :http://km.eppo.go.th/resources/uploaded/.20141120141646791094/111docx
บริษัท ป่าสาละ จากัด |
172
ภาคผนวก ประเภทโครงการที่ต้องจัดทารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รายประเทศ
โคลอมเบีย Article 8 Ministry of Environment and Sustainable Development/ANLA ทาหน้าที่ตัดสินใจออกใบอนุญาตสาหรับโครงการหรือกิจกรรม ดังต่อไปนี้ 1. หมวดอุตสาหกรรมไฮโดรคาร์บอน ก. การส ารวจแหล่ ง ไฮโดรคาร์บ อนขนาดใหญ่ ที่ จ าเป็ น ต้ อ งมีก ารสร้ า งถนนส าหรั บ ยานพาหนะ และการส ารวจแหล่ ง ไฮโดรคาร์บอนขนาดใหญ่ในทะเลที่มีความลึกน้อยกว่า 200 เมตร ข. การขุดสารวจในพื้นที่ใหม่นอกเหนือไปจากพื้นที่ขุดเจาะไฮโดรคาร์บอนเดิม ค. การใช้ทรัพยากรไฮโดรคาร์บอน ซึ่งหมายถึงการขุดเจาะทุกประเภท การสร้างอาคารสาหรับดาเนินงาน กิจกรรมอื่นๆที่ไป รวมถึงการขนส่งภายในของท่อส่งของเหลว ระบบกักเก็บภายใน ถนนภายในและโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ง. การขนส่งและครอบครองไฮโดรคาร์บอนทั้งในรูปแบบของเหลวและก๊าซเพื่อนาไปพัฒนานอกพื้นที่ขุดเจาะ ซึ่งครอบคลุมถึง การสร้างและติดตั้งระบบท่อส่งที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่าหรือเท่ากับ 6 นิ้ว (15.24 เซนติเมตร) รวมไปถึงสถานีสูบและ/ หรือลดความดันอากาศ โครงสร้างพื้นฐานสาหรับการกักเก็บที่เกี่ยวข้องและการควบคุมการไหลเวียน ยกเว้นกิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับการกระจายก๊าซธรรมชาติทั้งในระดับครัวเรือน พาณิชย์ และอุตสาหกรรม จ. การสร้างประตูส่งและสถานีเปลี่ยนถ่ายไฮโดรคาร์บอนในรูปแบบของเหลว หรือโครงสร้างพื้นฐานสาหรับการกักเก็บ ที่ เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายน้ามันและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ฉ. การสร้างและการดาเนินงานของโรงกลั่นและปิโตรเคมีซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโรงกลั่น 2. หมวดการทาเหมือง ก. ถ่านหิน: เมื่อมีกาลังการผลิตมากกว่าหรือเท่ากับ 800,000 ตันต่อปี ข. วัสดุก่อสร้างและดินเหนียวหรือแร่ธาตุอโลหะ: เมื่อมีกาลังการผลิตมากกว่าหรือเท่ากับ 600,000 ตันต่อปีสาหรับดินเหนียว หรือมากกว่าหรือเท่ากับ 250,000 ลูกบาศก์เมตรต่อปีสาหรับวัสดุก่อสร้างหรือแร่ธาตุอโลหะ ค. แร่โลหะและอัญมณี: เมื่อมีการขุดวัตถุดิบมีค่าได้มากกว่าหรือเท่ากับ 2,000,000 ตันต่อปี ง. แร่ธาตุและวัตถุดิบอื่นๆ: เมื่อมีกาลังการผลิตมากกว่าหรือเท่ากับ 1,000,000 ตันต่อปี 3. การสร้างเขื่อนหรืออ่างเก็บน้าในพื้นที่ใดก็ตาม หากสามารถจุน้าได้มากกว่า 200 ล้านลูกบาศก์เมตร 4. หมวดอุตสาหกรรมไฟฟ้า ก. การสร้างและดาเนินงานของโรงไฟฟ้าที่มีกาลังการผลิตมากกว่าหรือเท่ากับ 100 เมกะวัตต์ ข. โครงการสารวจและการสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานทางเลือกที่มีกาลังผลิตมากกว่า 3 เมกะวัตต์ ค. การวางสายส่งในระบบไฟฟ้าระดับประเทศ รวมไปถึงสายส่งระหว่างสถานีย่อยที่มีแรงดันไฟฟ้าสูงกว่าหรือเท่ากับ 220 กิโล โวลต์ 5. โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 6. หมวดท่าเรือ ก. การสร้างหรือการขยาย และการใช้งานท่าเรือน้าลึก ข. การขุดลอกเพื่อขยายการเข้าถึงท่าเรือ และการขุดเพื่อซ่อมบารุงที่มีปริมาณมากกว่า 1,000,000 ลูกบาศก์เมตรต่อปี ค. การสร้างเขื่อนป้องกันชายหาดและชายฝั่ง 7. การสร้างและการดาเนินงานของท่าอากาศยานนานาชาติและลานบินภายในท่าอากาศยาน 8. กิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ 8.1 โครงการถนนทางหลวง ที่ครอบคลุมกิจกรรมดังนี้ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
173
ก. การสร้างถนน สะพาน และโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ข. การขยายเลนถนน ค. การสร้างอุโมงค์และทางเข้า 8.2 โครงการที่ดาเนินในลุ่มน้าที่มีความสาคัญระดับชาติ ก. การสร้างและดาเนินงานของท่าเรือสาธารณะ ข. การปรับเปลี่ยนและปิดกั้นแม่น้า ค. การสร้างเครื่องสูบน้า ง. การปรับเปลี่ยนทางน้า จ. การขุดลอกทางน้าและพื้นที่ปากแม่น้าให้ลึกขึ้น 8.3 การสร้างทางรถไฟ และ/หรือเส้นทางย่อยในระบบรางรถไฟสาธารณะและระบบรางรถไฟเอกชน 8.4 การสร้างสิ่งก่อสร้างทางทะเลขนาดใหญ่ (กาแพงกันคลื่น เครื่องสูบน้า การสร้างเขื่อน) และการสร้างหาดทรายและเนินทราย 9. การสร้างและการดาเนินงานของเขตชลประทาน และ/หรือการการระบายน้าที่ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 20,000 เฮกตาร์ 10. การผลิตสารกาจัดศัตรูพืชและการนาเข้าในกรณีดังต่อไปนี้ ก. ผลิตภัณฑ์กาจัดแมลงหรือสารกาจัดศัตรูพืชสาหรับภาคเกษตรกรรม ยกเว้นสินค้าที่ผลิตจากสารสกัดธรรมชาติ การนาเข้า สารกาจัดศัตรูพืชสาหรับภาคเกษตรกรรมต้องดาเนินตามขั้นตอนที่กาหนดโดย Andean Decision 436 ของปี ค.ศ. 1998 หรือข้อกาหนดที่นามาแทนที่หรือแก้ไข ข. ผลิตภัณฑ์กาจัดแมลงและสัตว์รบกวนสาหรับสัตว์ (veterinary pesticide) ยกเว้นสาหรับการใช้งานที่เหมาะสม และ เครื่องประดับสาหรับสัตว์ เช่นต่างหู สร้อยคอ ห่วงสาหรับใส่จมูก ฯลฯ ค. ผลิตภัณฑ์กาจัดแมลงสาหรับสาธารณสุข ง. ผลิตภัณฑ์กาจัดแมลงสาหรับภาคอุตสาหกรรม จ. ผลิตภัณฑ์กาจัดแมลงหรือสัตว์รบกวนในครัวเรือน ยกเว้นผลิตภัณฑ์สาหรับใช้ในครัวเรือนที่บรรจุแยกสาหรับการขายปลีก (individual packaging) 11. การนาเข้า และ/หรือการผลิตสาร วัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑ์ที่อยู่ภายใต้การกากับของสนธิสัญญา อนุสัญญา และพิธีสารด้านสิ่งแวดล้อม ยกเว้นผลิตภัณฑ์ที่กฎหมายระบุ ให้มีก ารใช้งานได้เมื่อ ได้รับการอนุญ าตโดยเฉพาะ ในกรณีข องการนาเข้า สินค้า ที่ผ่า นการตัดต่อ พันธุกรรม (Living Modified Organisms – LMO) ให้ดาเนินการตามที่ระบุใน Law 740 ของปี ค.ศ. 2002 และข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง หรือข้อกาหนดที่นามาแก้ไขหรือแทนที่ 12. โครงการที่ส่งผลกระทบต่ออุทยานแห่งชาติ (Areas System National Parks) ก. โครงการหรือกิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติ ทั้งที่ ดาเนินอยู่ในพื้นที่โดยตรงและเป็นส่วนหนึ่งของ โครงการอื่น ข. โครงการหรือกิจกรรมที่ระบุใน Article 8 และ 9 ของ Decree ฉบับนี้ ที่ดาเนินในพื้นที่แนวกันชน (buffer zone) ของ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ โดยโครงการเหล่ า นี้ ต้ อ งด าเนิ น การสอดคล้ อ งกั บ แผนการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม (Environmental Management Plan) ของพื้นที่ดังกล่าว 13. โครงการหรือกิจกรรมที่ดาเนินในเขตพื้นที่สงวนตามที่ระบุใน Decree 2372 ของปี ค.ศ. 2010 นอกเหนือไปจากที่ระบุในย่อหน้าก่อน หน้า โดยต้องมีการจัดการอย่างเหมาะสมตามประเภทของโครงการ และมีการสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนและมี ประโยชน์ต่อสาธารณะ ยกเว้นในกรณีของโครงการด้านเกษตรกรรมในระดับครัวเรือน 14. โครงการเพื่อการพัฒนา Regional Autonomous Corporations ตามที่กาหนดใน Article 31 ย่อหน้าที่ 19 วรรคสอง ของ Law 99 ของปี ค.ศ. 1993 15. โครงการที่จาเป็นต้องมีการเปลี่ยนถ่ายน้าระหว่างลุ่มน้า โดยมีอัตราการไหลต่าสุดของน้าในลาน้าสูงกว่า 2 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
174
16. การนาเข้าแม่พันธุ์ ชนิดย่อย สายพันธุ์ ลูกผสม หรือความหลากหลายจากต่างชาติ เพื่อวัตถุประสงค์ทางวัฒนธรรม การควบคุมทาง ชีวภาพ การขยายพันธุ์ และ/หรือการค้าขาย การปลูกถ่ายหรือนามาอยู่อาศัยทั้งโดยกระบวนการธรรมชาติและกระบวนการประดิษฐ์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของระบบนิเวศหรือสัตว์ป่า Article 9 Regional Autonomous Corporation ทาหน้าที่ตัดสินใจออกใบอนุญาตสาหรับโครงการหรือกิจกรรม ดังต่อไปนี้ 1. หมวดการทาเหมือง ก. ถ่านหิน: เมื่อมีกาลังการผลิตต่ากว่า 800,000 ตันต่อปี ข. วัสดุก่อสร้างและดินเหนียวหรือแร่ธาตุอโลหะ: เมื่อมีกาลังการผลิตต่ากว่า 600,000 ตันต่อปีสาหรับดินเหนียว หรือต่ากว่า 250,000 ลูกบาศก์เมตรต่อปีสาหรับวัสดุก่อสร้างหรือแร่ธาตุอโลหะ ค. แร่โลหะและอัญมณี: เมื่อมีการขุดวัตถุดิบมีค่าได้ต่ากว่า 2,000,000 ตันต่อปี ง. แร่ธาตุและวัตถุดิบอื่นๆ: เมื่อมีกาลังการผลิตต่ากว่า 1,000,000 ตันต่อปี 2. อุตสาหกรรมเหล็ก ซีเมนต์ และคอนกรีตที่มีกาลังการผลิตมากกว่า 10,000 ลูกบาศก์เมตรต่อเดือน 3. การสร้างเขื่อนหรืออ่างเก็บน้าในพื้นที่ใดก็ตาม หากสามารถจุน้าได้มากกว่า 200 ล้านลูกบาศก์เมตร 4. หมวดอุตสาหกรรมไฟฟ้า ก. การสร้างและดาเนินงานของโรงไฟฟ้าที่มีกาลังการผลิตมากกว่าหรือเท่ากับ 10 เมกะวัตต์ แต่ต่ากว่า 100 เมกะวัตต์ ข. การวางสายส่งในระบบไฟฟ้าระดับประเทศ รวมไปถึงสายส่งระหว่างสถานีย่อ ยที่มีแรงดันไฟฟ้าต่ากว่า 220 กิโลโวลต์ และ ไม่ได้ครอบครองโดยหน่วยงานกระจายไฟฟ้าในระดับภูมิภาค ค. การสร้างและดาเนินงานของโรงไฟฟ้าพลังน้าที่มีกาลังการผลิตต่ากว่า 100 เมกะวัตต์ ยกเว้นเครื่องปั่นไฟพลังงานน้าขนาด เล็กที่ไม่ได้เชื่อมต่อกับระบบจาหน่ายไฟฟ้าและมีกาลังผลิตต่ากว่าหรือเท่ากับ 10 เมกะวัตต์ 5. หมวดท่าเรือ ก. การสร้างหรือการขยาย และการใช้งานท่าเรือขนาดเล็ก ข. การขุดลอกเพื่อขยายการเข้าถึงท่าเรือที่ไม่ถือว่าเป็นการขุดแบบลึก (deep draft) ค. การดาเนินงานของเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างขนาดใหญ่ (กาแพงกั้นคลื่น เครื่องสูบน้า การสร้างเขื่อน) และการสร้าง หาดทรายและเนินทราย 6. การสร้างและการดาเนินงานของท่าอากาศยานทั่วประเทศและลานบินภายในท่าอากาศยาน 7. โครงการที่เกี่ยวข้องกับระบบทางหลวงแผ่นดินและทางหลวงชนบท (secondary and tertiary road network) ก. การสร้างถนน สะพาน และโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ข. การสร้างถนนใหม่ ค. การสร้างอุโมงค์และทางเข้า 8. โครงการเอกชนที่ดาเนินในลุ่มน้าที่มีความสาคัญระดับชาติ ก. การสร้างและดาเนินงานของท่าเรือ ข. การปรับเปลี่ยนและปิดกั้นแม่น้า ค. การสร้างเครื่องสูบน้า ง. การปรับเปลี่ยนทางน้า จ. การขุดลอกทางน้าและพื้นที่ปากแม่น้าให้ลึกขึ้น 9. การสร้างทางรถไฟภูมิภาค และ/หรือเส้นทางย่อยในระบบรางรถไฟสาธารณะและระบบรางรถไฟเอกชน 10. การสร้างและการดาเนินงานของระบบกักเก็บ บาบัด ใช้สอย ฟื้นฟู และ/หรือกาจัดของเสียหรือของเสียอันตราย การสร้างและการเพิ่ม มาตรการด้านความปลอดภัยสาหรับของเสียจากโรงพยาบาล ในกรณีที่กฎหมายอานวย 11. การสร้างและการดาเนินงานของระบบกักเก็บ บาบัด ใช้สอย (นากลับมาใช้/รีไซเคิล) และ/หรือกาจัดของเสียอิเล็กทรอนิกส์ (Waste of Electrical and Electronic Equipment, WEEE) รวมถึงแบตเตอรี่ และ/หรือหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์ ส่วนการซ่อมบารุง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ไม่จาเป็นต้องได้รับใบอนุญาต Environmental license 12. การสร้างและการดาเนินงานของโรงไฟฟ้าที่มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาและการนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ เมื่อมีปริมาณขยะอินทรีย์ มากกว่าหรือเท่ากับ 20,000 ตันต่อปี บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
175
13. การสร้างและการดาเนินงานของพื้นที่ฝังกลบ (landfill) อย่างไรก็ตามการดาเนินงานต้องเป็นไปโดยผู้ที่ได้รับอนุญาตตาม Article 15 ของ Law 142 ของปี ค.ศ. 1994 14. การสร้างและการดาเนินงานของระบบบาบัดน้าเสียสาหรับประชากรจานวนมากกว่าหรือเท่ากับ 200,000 คน 15. การสร้างโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อการผลิตสินค้าดังต่อไปนี้ ก. สารเคมีพื้นฐาน ข. แอลกอฮอล์ ค. กรดอนินทรีย์ และสารที่เกี่ยวข้อง 16. โครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อกักเก็บสารอันตราย ยกเว้นไฮโดรคาร์บอน 17. การสร้างและการดาเนินงานของเขตชลประทาน และ/หรือการการระบายน้าที่ครอบคลุมพื้นที่มากกว่าหรือเท่ากับ 5,000 เฮกตาร์ แต่ ไม่เกิน 20,000 เฮกตาร์ 18. โครงการที่จาเป็นต้องมีการเปลี่ยนถ่ายน้าจากลุ่มน้าหนึ่งไปยังอีกลุ่มน้าหนึ่ง โดยมีอัตราการไหลต่าสุดของน้าในลาน้าต่ากว่าหรือเท่า กับ 2 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที 19. การล่าเชิงพาณิชย์และการเพาะพันธุ์เชิงพาณิชย์ 20. โครงการหรือกิจกรรมที่ดาเนินในเขตพื้นที่สงวนตามที่ระบุใน Decree 2372 ของปี ค.ศ. 2010 นอกเหนือไปจากที่ระบุในย่อหน้าก่อน หน้า โดยต้องมีการจัดการอย่างเหมาะสมตามประเภทของโครงการ และมีการสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนและมี ประโยชน์ต่อสาธารณะ ยกเว้นในกรณีของโครงการด้านเกษตรกรรมในระดับครัวเรือน ตารางต่อไปนี้แสดงประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่จาเป็นต้องได้รับใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อมก่อนเริ่มต้นดาเนินโครงการในประเทศ โคลอมเบีย ตามที่กาหนดโดย Decree 1753 ของปี ค.ศ. 1994 ไปจนถึง Decree 1220 ของปี ค.ศ. 2005 (ซึ่งไม่ได้ถูกเปลี่ยนแปลงแต่อย่างใดโดย Decree 2820 ของปี ค.ศ. 2010)
ประเภทของโครงการหรือกิจกรรมที่จาเป็นต้องได้รับใบอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม ดัดแปลงจาก (Toro, Requena, & Zamorano, Environmental impact assessment in Colombia: Critical analysis and proposals for improvement, 2009) Decree 1753 (1994) 1. การสร้างสุสาน 2. การสร้างโรงเก็บและจาหน่ายอาหาร 3. การสร้างห้องชุดและบ้าน 4. การสร้างโรงพยาบาล 5. การสร้างเขื่อนและอ่างเก็บน้า 6. การสร้างระบบส่งน้า 7. การสร้างระบบขนส่งขนาดใหญ่ 8. การสร้างและดาเนินงานของระบบบาบัดน้าเสียสาหรับประชากร มากกว่า 200,000 คน 9. การสร้าง ปรับเปลี่ยน เตรียมและดาเนินงานของประตูสาหรับระบบ ขนส่งภาคพื้นดิน 10. การสร้างและดาเนินงานของรีสอร์ทและสิ่งปลูกสร้างสาหรับการ พักผ่อนและกีฬา
Decree 1728 (2002)
Decree 1180 (2003)
✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
✓ ✓ ✓ ✓
Decree 1220 (2005)
✓ ✓ ✓
✓
✓ ✓
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
176
11. หมวดอิเล็กทรอนิกส์ การสร้างและดาเนินงานของโรงไฟฟ้า; การสารวจและการใช้พลังงาน ทางเลือก; การวางสายส่งไฟฟ้า
✓
12. การสร้างและดาเนินงานของระบบชลประทานและ/หรือการสูบน้า 13. การสร้างและดาเนินงานของโรงกักเก็บ บาบัด และ/หรือกาจัดของเสีย อันตราย 14. โครงการสาหรับการกักเก็บสารอันตราย ยกเว้นไฮโดรคาร์บอน 15. การสร้างและการดาเนินงานของพืน้ ที่ฝังกลบอย่างถูกสุขาภิบาล
✓ ✓ ✓ ✓
16. หมวดท่าเรือ การสร้าง ขยาย และดาเนินงานของท่าเรือ; ขุดลอก; การสร้างกาแพงกั้น คลื่น; ทางน้าไหล; การรักษาหาดทรายและชายฝั่ง; การสร้างหาดทรายและ เนินทราย 17. การสร้าง ปรับเปลี่ยน และดาเนินงานของท่าอากาศยาน 18. การล่าสัตว์เชิงพาณิชย์และการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า 19. การนาเข้าแม่พันธุ์ ชนิดย่อย สายพันธุ์ ลูกผสม หรือความหลากหลาย จากต่างชาติ 20. การทาปศุสัตว์ เลี้ยงปลา และฟาร์มไก่ 21. การดัดแปลงพันธุกรรมและการผลิตจุลินทรีย์ 22. การเพาะปลูกดอกไม้แบบเข้มข้น 23. การออกแบบและก่อสร้างศูนย์การค้าและแหล่งพักผ่อน 24. การสร้างปั๊มน้ามัน และสถานีฝากและบรรจุน้ามัน 25. โครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 26. การตัดไม้และการผลิตเฟอร์นิเจอร์ 27. การผลิตกระดาษและโรงพิมพ์ 28. การผลิตอาหาร 29. การผลิตผลิตภัณฑ์ เครื่องยนต์และอุปกรณ์โลหะ 30. การผลิตสิ่งทอและหนัง 31. การผลิตโลหะพื้นฐาน 32. งานสาธารณะในระบบรางรถไฟ 33. งานสาธารณะในเครือข่ายลุ่มน้าระดับชาติ การสร้างท่าเรือ; การปิดกั้นแม่นา;้ การขุดลอก; การสร้างกาแพงกันคลื่น 34. โครงการถนน การสร้างถนน การสร้างถนนสายย่อย การสร้างอุโมงค์และทางเข้า 35. การนาเข้าและผลิตสารกาจัดแมลง 36. โครงการสัมปทานป่าไม้ 37. การปลูกป่า 38. โครงการที่ส่งผลกระทบต่อพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
✓
✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
✓
✓ ✓
✓ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
177
39. การทาเหมือง ถ่านหิน; วัตถุดิบก่อสร้าง; โลหะและอัญมณี; แร่ธาตุอื่นๆ 40. หมวดไฮโดรคาร์บอน การสารวจขนาดใหญ่; การขุดสารวจ; การนาไฮโดรคาร์บอนมาใช้; การ ขนส่งไฮโดรคาร์บอน; การสร้างประตูและสถานีเปลี่ยนถ่าย; การสร้างและ การดาเนินงานของโรงกลั่น 41. หมวดอุตสาหกรรมสารเคมีพื้นฐาน การผลิตสารเคมีพื้นฐาน; การผลิตแอลกอฮอล์; การผลิตกรดอนินทรียแ์ ละ สารประกอบที่เกีย่ วข้อง; การผลิตระเบิด; ดินปืน และพลุ 42. โครงการที่จาเป็นต้องมีการเปลี่ยนถ่ายน้าระหว่างลุ่มน้า
✓
✓
✓
✓ ✓
เยอรมนี ลาดับที่ 1 1.1
1.1.1
รายละเอียด การผลิตความร้อน การทาเหมือง และพลังงาน การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตไฟฟ้า ไอน้า น้าร้อน ความร้อนหรือไอความร้อน เสีย (exhaust gas) จากการเผาไหม้เชื้อเพลิง (เช่นในโรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้าความร้อน เตาความ ร้อน กังหันก๊าซ ระบบเครื่องยนต์เผาไหม้ และการเผาไหม้อื่นๆ) รวมถึงเครื่องกาเนิดไอน้าที่มี อัตราความร้อนนาเข้า (rated thermal input) ดังนี้ มากกว่า 200 เมกะวัตต์
1.1.2
ตั้งแต่ 50 เมกะวัตต์ ถึง 200 เมกะวัตต์
1.2
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตไฟฟ้า ไอน้า น้าร้อน ความร้อนหรือไอความร้อน เสีย (exhaust gas) จากการเผาไหม้เชื้อเพลิง (เช่นในโรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้าความร้อน เตาความ ร้อน กังหันก๊าซ ระบบเครื่องยนต์เผาไหม้ และการเผาไหม้อื่นๆ) รวมถึงเครื่องกาเนิดไอน้า ยกเว้นเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน (internal combustion engine) สาหรับการขุดเจาะน้ามัน และเครื่องปั่นไฟ ที่ใช้เชื้อเพลิงดังนี้ ถ่านหิน ถ่านโค้ก รวมถึงปิโตรเลียม ถ่านอัดแท่ง ถ่านหินเลน ไม้ ยางมะตอย น้ามันเตา และ น้ามันเชื้อเพลิงอื่นๆ ที่มีกาลังการผลิตความร้อนตั้งแต่ 1 เมกะวัตต์ ถึง 50 เมกะวัตต์
1.2.1
1.2.2
คอลัมน์ 1
คอลัมน์ 2
X A
S
1.2.2.1
ก๊าซเชื้อเพลิง (โดยเฉพาะก๊าซจากการเผาไหม้ถ่านหินและถ่านโค้ก ก๊าซโลหะ ก๊าซกลั่น ก๊าซ สังเคราะห์ (synthesis gas) ก๊าซปิโตรเลียมจากการผลิตน้ามันขั้นตติยภูมิ (tertiary oil recovery) ขยะมูลฝอย ก๊าซชีวมวล) ยกเว้นก๊าซธรรมชาติบริสุทธิ์ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ก๊าซ จากระบบแจกจ่ายก๊าซสาธารณะ หรือก๊าซไฮโดรเจน ที่มีอัตราความร้อนนาเข้า ดังนี้ ตั้งแต่ 10 เมกะวัตต์ ถึง 50 เมกะวัตต์
S
1.2.2.2
ตั้งแต่ 1 เมกะวัตต์ ถึง 10 เมกะวัตต์ สาหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ภายในหรือกังหันก๊าซ
S
1.2.3
น้ามันเตา น้ามันดีเซล เมทานอล เอทานอล น้ามันพืชบริสุทธิ์หรือไบโอดีเซล ก๊าซธรรมชาติ บริสุทธิ์ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ก๊าซจากระบบแจกจ่ายก๊าซสาธารณะ หรือก๊าซไฮโดรเจน ที่มี อัตราความร้อนนาเข้า ดังนี้ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
178
1.2.3.1
ตั้งแต่ 20 เมกะวัตต์ ถึง 50 เมกะวัตต์
S
1.2.3.2 1.2.4
ตั้งแต่ 1 เมกะวัตต์ ถึง 10 เมกะวัตต์ สาหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ภายในหรือกังหันก๊าซ เชื้อเพลิงแข็งและเหลวอื่นๆ นอกเหนือไปจากที่ระบุในข้อ 1.2.1 หรือ 1.2.3 ที่มีอัตราความร้อน นาเข้า ดังนี้
S
1.2.4.1 1.2.4.2 1.3 1.4
ตั้งแต่ 1 เมกะวัตต์ ถึง 50 เมกะวัตต์ ตั้งแต่ 100 กิโลวัตต์ ถึง 1 เมกะวัตต์ (ยกเลิก) การสร้างและการดาเนินงานของโรงไฟฟ้าที่ใช้การเผาไหม้ภายในหรือกังหันก๊าซ ที่ใช้เชื้อเพลิง ดังต่อไปนี้
A S
1.4.1
1.4.1.1
น้ามันเตา น้ามันดีเซล เมทานอล เอทานอล น้ามันพืชบริสุทธิ์ ไบโอดีเซล ก๊าซจากการเผาไหม้ ถ่านหินและถ่านโค้ก ก๊าซโลหะ ก๊าซกลัน่ ก๊าซสังเคราะห์ ก๊าซปิโตรเลียมจากการผลิตน้ามันขั้น ตติยภูมิ ก๊าซจากขยะมูลฝอย ก๊าซชีวมวล ก๊าซธรรมชาติบริสุทธิ์ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ก๊าซจากระบบแจกจ่ายก๊าซสาธารณะ หรือก๊าซไฮโดรเจน ที่มีอัตราความร้อนนาเข้า ดังนี้ มากกว่า 200 เมกะวัตต์
1.4.1.2
ตั้งแต่ 50 เมกะวัตต์ ถึง 200 เมกะวัตต์
A
1.4.1.3
ตั้งแต่ 1 เมกะวัตต์ ถึง 50 เมกะวัตต์ ยกเว้นเครื่องยนต์เผาไหม้ภายในสาหรับการขุดเจาะน้ามัน
S
1.4.2
เชื้อเพลิงอื่นๆนอกเหนือไปจากที่ระบุในข้อ 1.4.1 ที่มีอัตราความร้อนนาเข้า ดังนี้
1.4.2.1
มากกว่า 200 เมกะวัตต์
1.4.2.2 1.4.2.3
ตั้งแต่ 50 เมกะวัตต์ ถึง 200 เมกะวัตต์ ตั้งแต่ 1 เมกะวัตต์ ถึง 50 เมกะวัตต์
1.5 1.6
X
X A S
1.6.1 1.6.2
(ยกเลิก) การสร้างและการดาเนินงานของฟาร์มกังหันลมที่กังหันลมมีความสูงมากกว่า 50 เมตร และมี จานวน ดังต่อไปนี้ ตั้งแต่ 20 ตัวขึ้นไป ตั้งแต่ 6 ถึง 20 ตัว
1.6.3
ตั้งแต่ 3 ถึง 6 ตัว
1.7 1.8
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานอัดแท่งถ่านหินและลิกไนต์ การสร้างและการดาเนินงานของโรงกลั่นถ่านหินและลิกไนต์ ที่มีกาลังการผลิตดังนี้
X
1.8.1
มากกว่า 500 ตันต่อวัน
X
1.8.2
ต่ากว่า 500 ตันต่อวัน และมีเตาเผาถ่าน
1.9
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานที่ใช้กระบวนการแปรสภาพถ่านหินหรือหินน้ามันเป็น ก๊าซหรือของเหลว ที่มีกาลังการผลิตดังนี้ มากกว่า 500 ตันต่อวัน
1.9.1
X A S
A
X
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
179
1.9.2
ต่ากว่า 500 ตันต่อวัน
A
1.10
การสร้างและการดาเนินงานของโรงคัดแยกคาร์บอนไดออกไซด์สาหรับการกักเก็บถาวร
1.10.1
จากกระบวนการที่ระบุในประเภทโครงการที่ต้องจัดทา EIA คอลัมน์ 1
X
1.10.2
ที่มีกาลังการกักเก็บตั้งแต่ 1.5 ล้านตันขึ้นไปต่อปี ในกรณีที่ไม่ได้ครอบคลุมอยู่ในข้อ 1.10.1
X
1.10.3 1.11
ที่มีกาลังการกักเก็บน้อยกว่า 1.5 ล้านตันต่อปี การสร้างและการดาเนินงานของสิ่งก่อสร้างสาหรับกิจกรรม ดังต่อไปนี้
1.11.1 1.11.1.1 1.11.1.2
การผลิตก๊าซชีวมวล ในกรณีที่ไม่ได้ครอบคลุมอยู่ในข้อ 8.4 และมีกาลังการผลิต ดังนี้ ตั้งแต่ 2 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ขึ้นไป ตั้งแต่ 1.2 ล้านลูกบาศก์เมตร ถึง 2 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
A S
1.11.2 1.11.2.1
การปรับปรุงก๊าซชีวมวลที่มีกาลังการผลิต ดังนี้ ตั้งแต่ 2 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ขึ้นไป
A
1.11.2.2 2 2.1
ตั้งแต่ 1.2 ล้านลูกบาศก์เมตร ถึง 2 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ดินและหิน กระจก เซรามิก วัสดุก่อสร้าง การสร้างและการดาเนินงานของเหมืองที่มีพื้นที่ ดังนี้
A
S
2.1.1
25 เฮกตาร์ ขึ้นไป
X
2.1.2
ตั้งแต่ 10 เฮกตาร์ถึง 25 เฮกตาร์
A
2.1.3
น้อยกว่า 10 เฮกตาร์ และมีการใช้วัตถุระเบิด
S
2.2
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตซีเมนต์ที่มีกาลังการผลิต ดังนี้
2.2.1
1,000 ตันต่อวัน ขึ้นไป
2.2.2
น้อยกว่า 1,000 ตันต่อวัน
2.3 2.4
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตแร่ใยหิน การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานบาบัดหรือแปรรูปแร่ใยหิน
2.4.1
ซึ่งมีกาลังการผลิตต่อปี ดังนี้
2.4.1.1
20,000 ตันของผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปขึ้นไป สาหรับผลิตภัณฑ์ซีเมนต์
X
2.4.1.2
50 ตันของผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปขึ้นไป สาหรับผลิตภัณฑ์สารเสียดทาน
X
2.4.2
ซึ่งใช้แร่ใยหินตั้งแต่ 200 ตันขึ้นไป
X
2.4.3
ซึ่งมีกาลังการผลิตต่อปีต่ากว่าที่ระบุขา้ งต้น
2.5
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตแก้ว รวมทั้งใยแก้วซึ่งมีกาลังการหลอมเหลว ดังนี้
2.5.1
200,000 ตันต่อปีขึ้นไป หรือ 100,000 ตันต่อปีขึ้นไป สาหรับโรงงานผลิตแผ่นกระจก
2.5.2
ตั้งแต่ 20 ตันต่อวัน ถึงปริมาณที่ระบุในข้อก่อนหน้า
X A X
A
X A
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
180
2.5.3
ตั้งแต่ 100 กิโลกรัม ถึง 20 ตันต่อวัน ยกเว้นการติดตั้งเครื่องมือสาหรับการผลิตใยแก้วสาหรับ การใช้งานทางการแพทย์และการสื่อสาร
2.6
การสร้างและการดาเนินงานของระบบการผลิตเซรามิก (รวมทั้งเครื่องมือสาหรับการเตรียมดิน เหนียว) ที่มกี าลังการผลิต ดังนี้
2.6.1 2.6.2
75 ตันต่อวัน ขึ้นไป น้อยกว่า 75 ตันต่อวัน หากเตาเผามีความจุตั้งแต่ 4 ลูกบาศก์เมตรขึ้นไป หรือมีความหนาแน่น ของการจุมากกว่า 100 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ยกเว้นเตาหลอมไฟฟ้าที่ทางานเป็นพักๆ แล ไม่มีท่อไอเสีย การสร้างและการดาเนินงานของระบบหลอมแร่ธาตุ รวมทั้งการผลิตใยแร่ การผลิตเหล็กและโลหะประเภทอื่นๆ การสร้างและการดาเนินงานของระบบสาหรับการอบหรือการสตุ (sintering) ของแร่โลหะ การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานโลหะ (สาหรับการผลิตหรือถลุงเหล็กดิบหรือเหล็กกล้า เพื่อนาไปพัฒนาในขั้นต่อไป โดยมีหน่วยสาหรับกระบวนการสกัดและแปรรูปอยู่เรียงกันหรือ ทางานเชื่อมโยงกัน) การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตหรือหลอมเหล็กดิบและเหล็กกล้า รวมทั้งการหล่อ โลหะต่อเนื่อง ที่มีกาลังการหลอมเหลว ดังนี้ 2.5 ตันของเหล็กดิบหรือเหล็กกล้าต่อชัว่ โมง ขึ้นไป น้อยกว่า 2.5 ตันของเหล็กกล้าต่อชัว่ โมง
2.7 3 3.1 3.2
3.3 3.3.1 3.3.2 3.4
S
A S
A X X
A S
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตโลหะนอกกลุ่มเหล็ก วัตถุดิบชั้นทุตยิ ภูมิ (secondary raw materials) โดยกระบวนการทางวิศวกรรมโลหะ เคมี หรืออิเล็กโทรไลต์ การสร้างและการดาเนินงานของโรงหลอมโลหะผสมหรือผลิคภัณฑ์แปรรูปจากโลหะนอกกลุ่ม เหล็ก ที่มีกาลังการหลอมเหลว ดังนี้
X
3.5.1
มากกว่า 100,000 ตันต่อปี
X
3.5.2
4 ตันต่อวันขึ้นไป สาหรับตะกัว่ และแคดเมียม หรือ 20 ตันต่อวันขึ้นไป สาหรับโลหะนอกกลุ่ม เหล็กอื่นๆ โดยแต่ละกรณีต้องมีกาลังการหลอมเหลวไม่เกิน 100,000 ตันต่อปี
A
3.5.3
ตั้งแต่ 0.5 ตัน ถึง 4 ตันต่อวัน สาหรับตะกั่วและแคดเมียม หรือตั้งแต่ 2 ตัน ถึง 20 ตันต่อวัน สาหรับโลหะนอกกลุ่มเหล็กอื่นๆ ยกเว้น - เตาหลอมสูญญากาศ - อุปกรณ์หลอมเหลวสาหรับโลหะผสมของดีบุกและบิสมัท หรือสังกะสีละเอียด และอะลูมิเนียมที่มีสว่ นผสมของทองแดงหรือแมกนีเซียม - โรงหลอมที่เป็นส่วนหนึ่งของการหล่อโลหะนอกกลุ่มเหล็ก - การถลุงโลหะมีค่าหรือโลหะผสม ที่มีส่วนผสมเฉพาะโลหะมีค่าหรือโลหะมีค่า กับทองแดง - การชุบโลหะผสม - การระบายความร้อน การระบายความร้อนารสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตเหล็กแผ่นผ่านกระบวนการรีด ร้อน (hot rolling)
S
3.5
3.6
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
A
181
3.7
การสร้างและการดาเนินงานของโรงหล่อโลหะที่มีกาลังการผลิตของโลหะเหลว ดังนี้
3.7.1
200,000 ตันต่อปี ขึ้นไป
3.7.2
20 ตันต่อวัน ขึ้นไป
A
3.7.3
ตั้งแต่ 2 ตัน ถึง 20 ตันต่อวัน
S
3.8
การสร้างและการดาเนินงานของระบบเคลือบโลหะบนพื้นผิวโลหะโดยการชุบ ที่มีกาลังการผลิต ดังนี้
3.8.1 3.8.2 3.8.3
มากกว่า 100,000 ตันต่อปี ตั้งแต่ 2 ตันต่อชั่วโมง และไม่เกิน 100,000 ตันต่อปี ตั้งแต่ 500 กิโลกรัม ถึง 2 ตันต่อชั่วโมง ยกเว้นการชุบด้วยโลหะไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง
3.9
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานบาบัดพื้นผิวของโลหะโดยกระบวนการอิเล็กโทรไลต์ หรือกระบวนการทางเคมี ที่มีปริมาตรของบ่อบาบัด ดังนี้
3.9.1
30 ลูกบาศก์เมตร ขึ้นไป
A
3.9.2
ตั้งแต่ 1 ลูกบาศก์เมตร ถึง 30 ลูกบาศก์เมตร สาหรับโรงงานที่ใช้กรดไฮโดรฟลูออริก หรือกรด ไนตริก
S
3.10
การสร้างและการดาเนินงานของระบบปฏิบัติการที่ใช้ค้อนซึ่งควบคุมโดยเครื่องยนต์มากกว่า หนึ่งเต้า และก่อให้เกิดพลังงานดูดซับ ดังนี้ 3.10.1 20 กิโลจูลล์ ขึ้นไป
3.10.1 3.10.2 3.11 3.12 3.12.1
X
X A S
ตั้งแต่ 1 กิโลจูลล์ ถึง 20 กิโลจูลล์ การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานเปลี่ยนรูปหรือชุบวัตถุระเบิด ที่มีปริมาณระเบิดตั้งแต่ 10 กิโลกรัมต่อหน่วยขึ้นไป การสร้างและการดาเนินงานของอู่ซ่อมเรือ สาหรับการสร้างเรือขนาด 100,000 GRT (Gross Register Tonnage)
A S A
X
3.12.2
สาหรับการสร้างหรือซ่อมแซมลาเรือหรือส่วนประกอบของเรือที่ทาจากโลหะ ซึง่ มีความยาว ตั้งแต่ 20 เมตรขึ้นไป นอกเหนือไปจากกรณีที่ระบุในข้อก่อนหน้า
A
3.13
การสร้างและการดาเนินงานของโรงผลิตยานพาหนะสาหรับระบบรางที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 600 หน่วยต่อปีขึ้นไป การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานประกอบชิ้นส่วนรถยนต์ หรือโรงงานผลิตชิ้นส่วน รถยนต์ที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 100,000 ชิ้นต่อปี ขึ้นไป การสร้างและการดาเนินงานของโรงผลิตและซ่อมแซมอากาศยานที่มกี าลังการผลิตหรือ ซ่อมแซมมากกว่า 50 ลาต่อปี ยกเว้นกรณีของการซ่อมบารุง สารเคมี ยา การกลั่นและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานเคมีภัณฑ์ - สาหรับผลิตสารเคมีอินทรีย์พื้นฐาน - สาหรับผลิตสารเคมีอนินทรีย์พื้นฐาน - สาหรับผลิตปุ๋ยที่มีส่วนประกอบหลักของฟอสฟอรัส ไนโตรเจน และ โพแทสเซียม - สาหรับผลิตสารกาจัดศัตรูพืชพื้นฐาน - การผลิตยาพื้นฐานที่ใช้กระบวนการทางเคมีหรือชีวภาพ หรือ
A
3.14 3.15 4 4.1
A A
X
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
182
6 6.1 6.2
ใช้ในการผลิตวัตถุระเบิด นอกเหนือไปจากโรงงานนิวเคลียร์หรือกระบวนการ ที่เกี่ยวข้อง ดังระบุในข้อ 11.1 การสร้างและการดาเนินงานของโรงผลิตสารเคมีหรือสารประกอบ โดยใช้กระบวนการ เปลี่ยนแปลงทางเคมีในระดับอุตสาหกรรม ยกเว้นกรณีที่ระบุในข้อ 4.1 โรงงานตามที่ระบุในข้อ 10.1 และโรงงานนิวเคลียร์ตามที่ระบุในข้อ 11.1 การสร้างและการดาเนินงานของโรงกลั่นหรือโรงงานแปรรูปน้ามันดิบ การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตสีหรือสารเคลือบ (น้ามันแลคเคอร์ น้ามันขัดเงา สี ผสม) หรือหมึก ซึ่งใช้สารระเหยมากกว่า 25 ตันต่อวัน ที่อุณหภูมิ 293.15 เคลวิน และมีความ ดันไอน้าอย่างต่า 0.01 กิโลปาสกาล การเคลือบพื้นผิวพลาสติก การสร้างและการดาเนินงานของโรงเคลือบพื้นผิวของวัสดุพลาสติก โดยใช้กระบวนการทางเคมี หรืออิเล็กโทรไลต์ และมีความจุของบ่อชุบตั้งแต่ 30 ลูกบาศก์เมตรขึ้นไป อุตสาหกรรมไม้ การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานไม้ที่ใช้ไม้ธรรมชาติ ฟาง หรือวัตถุดบิ ที่มเี ส้นใยอื่นๆ การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานกระดาษหรือกระดาษแข็งที่มีกาลังการผลิต ดังนี้
6.2.1
200 ตันต่อวัน ขึ้นไป
6.2.2
ตั้งแต่ 20 ตัน ถึง 200 ต่อวัน
7 7.1
อาหาร เครื่องดืม่ และอาหารสัตว์ การสร้างและการดาเนินงานของโรงเลี้ยงไก่ไข่ ที่มีขนาดพื้นที่ดังนี้
7.1.1
60,000 ตัวขึ้นไป
7.1.2
ตั้งแต่ 40,000 ถึง 60,000 ตัว
A
7.1.3
ระหว่าง 15,000 ถึง 40,000 ตัว
S
7.2
การสร้างและการดาเนินงานของโรงเลี้ยงลูกไก่ ที่มีขนาดพื้นที่ดังนี้
7.2.1
85,000 ตัวขึ้นไป
7.2.2
ระหว่าง 40,000 ถึง 85,000 ตัว
A
7.2.3
ตั้งแต่ 30,000 ถึง 40,000 ตัว
S
7.3
การสร้างและการดาเนินงานของโรงเพาะพันธุ์ลูกไก่ ที่มีขนาดพื้นที่ดังนี้
7.3.1
85,000 ตัวขึ้นไป
7.3.2
ระหว่าง 40,000 ถึง 85,000 ตัว
A
7.3.3
ตั้งแต่ 30,000 ถึง 40,000 ตัว
S
7.4
การสร้างและการดาเนินงานของโรงเลี้ยงไก่งวง ที่มีขนาดพื้นที่ดังนี้
7.4.1
60,000 ตัวขึ้นไป
7.4.2
ตั้งแต่ 40,000 ถึง 60,000 ตัว
-
4.2
4.3 4.4
5 5.1
A
X A
A
X
X A
X
X
X
X A
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
183
7.4.3
ระหว่าง 15,000 ถึง 40,000 ตัว
7.5
การสร้างและการดาเนินงานของโรงเลี้ยงวัว ที่มีขนาดพื้นที่ดังนี้
7.5.1
800 ตัวขึ้นไป
A
7.5.2
600 ถึง 800 ตัว
S
7.6
การสร้างและการดาเนินงานของโรงเลี้ยงลูกวัว ที่มีขนาดพื้นที่ดังนี้
7.6.1
1,000 ตัวขึ้นไป
A
7.6.2
ตั้งแต่ 500 ถึง 1,000 ตัว
S
7.7 7.7.1 7.7.2
การสร้างและการดาเนินงานของโรงเลี้ยงหมู (โดยหมูมีนาหนั ้ ก 30 กิโลกรัม ขึ้นไป) ที่มีขนาด พื้นที่ดังนี้ 3,000 ตัว ตั้งแต่ 2,000 ถึง 3,000 ตัว
7.7.3
ตั้งแต่ 1,500 ถึง 2,000 ตัว
7.8 7.8.1
การสร้างและการดาเนินงานของโรงเลี้ยงแม่พันธุ์หมู รวมทั้งแม่หมูที่ยังเลี้ยงดูลูกหมู (โดยลูกหมู มีน้าหนักไม่เกิน 30 กิโลกรัม) ที่มขี นาดพื้นที่ดังนี้ 900 ตัวขึ้นไป
7.8.2
ตั้งแต่ 750 ถึง 900 ตัว
A
7.8.3
ตั้งแต่ 560 ถึง 750 ตัว
S
7.9 7.9.1
การสร้างและการดาเนินงานของโรงเลี้ยงลูกหมู (โดยลูกหมูมีน้าหนักไม่เกิน 30 กิโลกรัม) ที่มี ขนาดพื้นที่ดังนี้ 9,000 ตัวขึ้นไป
7.9.2
ตั้งแต่ 6,000 ถึง 9,000 ตัว
A
7.9.3
ตั้งแต่ 4,500 ถึง 6,000 ตัว
S
7.10
การสร้างและการดาเนินงานของโรงเลี้ยงสัตว์เพื่อขน ที่มีขนาดพื้นที่ดังนี้
7.10.1
1,000 ตัวขึ้นไป
A
7.10.2
ตั้งแต่ 750 ถึง 1,000 ตัว
S
7.11
การสร้างและการดาเนินงานของโรงเลี้ยงสัตว์รวมขนาดใหญ่ ในกรณีดังนี้
7.11.1
จานวนสัตว์นอ้ ยกว่าที่ระบุในข้อ 7.1.1, 7.2.1, 7.3.1, 7.4.1, 7.7.1, 7.8.1, 7.9.1 และ 7.10.1 แต่มีสัดส่วนโดยรวมของการใช้พื้นที่มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 100 จานวนสัตว์นอ้ ยกว่าที่ระบุในข้อ 7.1.2, 7.2.2, 7.3.2, 7.4.2, 7.7.2, 7.8.2, 7.9.2 และ 7.10.2 แต่มีสัดส่วนโดยรวมของการใช้พื้นที่มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 100 จานวนสัตว์นอ้ ยกว่าที่ระบุในข้อ 7.1.3, 7.2.3, 7.3.3, 7.4.3, 7.7.3, 7.8.3, 7.9.3 และ 7.10.3 แต่มีสัดส่วนโดยรวมของการใช้พื้นที่มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 100 (ยกเลิก)
7.11.2 7.11.3 7.12
S
X A S
X
X
X
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
A S
184
7.13
การสร้างและการดาเนินงานของโรงฆ่าสัตว์ ที่มีกาลังการผลิตดังนี้
7.13.1
50 ตันต่อวัน ขึ้นไป
A
7.13.2
ตั้งแต่ 0.5 ตัน ถึง 50 ตันต่อวัน สาหรับไก่ หรือตั้งแต่ 4 ตัน ถึง 50 ตัน สาหรับสัตว์อื่นๆ
S
7.14
การสร้างและการดาเนินงานของโรงผลิตไขมันจากสัตว์ นอกเหนือไปจากนมสด ที่มีกาลังการ ผลิตดังนี้
7.14.1
75 ตันต่อวัน ขึ้นไป
A
7.14.2
น้อยกว่า 75 ตันต่อวัน ยกเว้นโรงผลิตไขมันจากสัตว์สาหรับประกอบอาหารที่ได้จากโรงฆ่าสัตว์ ซึ่งมีกาลังการผลิตไม่เกิน 200 กิโลกรัมของไขมันต่ออาทิตย์
S
7.15
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานละลายไขมันสัตว์ ที่มกี าลังการผลิตดังนี้
7.15.1
75 ตันต่อวัน ขึ้นไป
A
7.15.2
S
7.16
น้อยกว่า 75 ตันต่อวัน ยกเว้นโรงงานแปรรูปที่ได้ไขมันจากโรงฆ่าสัตว์ ซึ่งมีกาลังการผลิตไม่เกิน 200 กิโลกรัมของไขมันต่ออาทิตย์ การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตเนื้อบรรจุกระป๋อง ที่มีกาลังการผลิตดังนี้
7.16.1
75 ตันต่อวัน ขึ้นไป
A
7.16.2
ตั้งแต่ 1 ถึง 75 ตันต่อวัน
S
7.17
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตผักบรรจุกระป๋อง ที่มีกาลังการผลิตดังนี้
7.17.1
600 ตันต่อวัน ขึ้นไป หากโรงงานดาเนินงานไม่เกิน 90 วันต่อปี
A
7.17.2
300 ตันต่อวัน ขึ้นไป หากโรงงานดาเนินงานเกิน 90 วันต่อปี
A
7.17.3
ตั้งแต่ 10 ตัน ถึงจานวนที่ระบุในข้อ 7.17.1 หรือ 7.17.2 ตามจานวนวันทาการที่ระบุ
S
7.18
A
7.19.1
การสร้างและการดาเนินการของโรงงานอาหารสัตว์ที่ใช้วัตถุดิบจากสัตว์ และมีระบบการผลิตใน เชิงอุตสาหกรรมผ่านกระบวนการทาความร้อน การสร้างและการดาเนินงานของโรงกาจัดหรือนาซากสัตว์ไปใช้ประโยชน์ใหม่ ที่มีกาลังการ กาจัดดังนี้ 10 ตันต่อวัน ขึ้นไป
7.19.2
น้อยกว่า 10 ตันต่อวัน
S
7.20
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานทาสี รวมถึงการทาสีซ้าของหนังสัตว์ ทีม่ ีกาลังการผลิต ดังนี้
7.20.1
12 ตันต่อวัน ขึ้นไป
A
7.20.2
น้อยกว่า 12 ตันต่อวัน ยกเว้นกรณีที่มีการลอกหนังสัตว์ต่าตามจานวนสัตว์ที่ฆา่ ดังที่ระบุในข้อ 7.13.2 หรือต่ากว่า 4 ตันต่อวัน
S
7.21
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานปลาป่นและน้ามันปลา
7.19
A
X บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
185
7.22
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตข้าวมอลต์ ที่มกี าลังการผลิตดังนี้
7.22.1
600 ตันต่อวัน ขึ้นไป หากโรงงานดาเนินงานไม่เกิน 90 วันต่อปี
A
7.22.2
300 ตันต่อวัน ขึ้นไป หากโรงงานดาเนินงานเกิน 90 วันต่อปี
A
7.22.3
กาลังการผลิตน้อยกว่าที่ระบุในข้อ 7.22.1 หรือ 7.22.2 หากคุณสมบัติที่เหลือเข้าข่าย
S
7.23
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตแป้ง ที่มีกาลังการผลิตดังนี้
7.23.1
600 ตันต่อวัน ขึ้นไป หากโรงงานดาเนินงานไม่เกิน 90 วันต่อปี
A
7.23.2
300 ตันต่อวัน ขึ้นไป หากโรงงานดาเนินงานเกิน 90 วันต่อปี
A
7.23.3
ตั้งแต่ 1 ตันต่อวัน ถึงจานวนที่ระบุในข้อ 7.23.1 หรือ 7.23.2 หากคุณสมบัติที่เหลือเข้าข่าย
S
7.24
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตน้ามันพืช ที่มีกาลังการผลิตดังนี้
7.24.1
600 ตันต่อวัน ขึ้นไป หากโรงงานดาเนินงานไม่เกิน 90 วันต่อปี
A
7.24.2
300 ตันต่อวัน ขึ้นไป หากโรงงานดาเนินงานเกิน 90 วันต่อปี
A
7.24.3
กาลังการผลิตน้อยกว่าที่ระบุในข้อ 7.24.1 หรือ 7.24.2 หากคุณสมบัติที่เหลือเข้าข่าย
S
7.25 7.26
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานน้าตาล การสร้างและการดาเนินงานของโรงหมัก ที่มีกาลังการผลิตดังนี้
A
7.26.1
6,000 เฮกโตลิตรต่อวัน ขึ้นไป 600 ตันต่อวัน ขึ้นไป หากโรงงานดาเนินงานไม่เกิน 90 วันต่อปี
A
7.26.2
3,000 เฮกโตลิตรต่อวัน ขึ้นไป หากโรงงานดาเนินงานเกิน 90 วันต่อปี
A
7.26.3
ตั้งแต่ 200 เฮกโตลิตร ถึงจานวนที่ระบุในข้อ 7.26.1 และ 7.26.2 หากคุณสมบัติที่เหลือเข้าข่าย
S
7.27
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานขนมหรือน้าหวานจากสัตว์ ยกเว้นนมสด ที่มีกาลังการ ผลิตดังนี้
7.27.1
75 ตันต่อวัน ขึ้นไป
A
7.27.2
ตั้งแต่ 50 กิโลกรัม ถึง 75 ตันต่อวันสาหรับลูกอมหรือน้าหวานจากชะเอมเทศ
S
7.28
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานขนมหรือน้าหวานจากพืช ที่มีกาลังการผลิตดังนี้
7.28.1
600 ตันต่อวัน ขึ้นไป หากโรงงานดาเนินงานไม่เกิน 90 วันต่อปี
A
7.28.2
300 ตันต่อวัน ขึ้นไป หากโรงงานดาเนินงานเกิน 90 วันต่อปี
A
7.28.3
ตั้งแต่ 50 กิโลกรัม ถึงจานวนที่ระบุในข้อ 7.28.1 หรือ 7.28.2 หากคุณสมบัติที่เหลือเข้าข่าย
S
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
186
7.29
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานแปรรูปนม และผลิตภัณฑ์จากนม ที่มกี าลังการผลิตดังนี้
7.29.1
200 ตันต่อวัน
A
7.29.2
ตั้งแต่ 5 ตัน ถึง 200 ตันต่อวัน
S
8 8.1
การกาจัดและนาของเสียกลับมาใช้ใหม่ การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานกาจัดและบาบัดขยะมูลฝอย ขยะเหลว หรือไอเสีย หรือ นาของเสียเหล่านั้นกลับมาใช้ใหม่ ผ่านกระบวนการดังนี้
8.1.1
8.1.1.1
กระบวนการความร้อน โดยเฉพาะการกาจัดก๊าซ (degasification) กระบวนการพลาสมา กระบวนการไพโรไลซิส กระบวนการแก๊สซิฟิเคชัน (gasification) กระบวนการเผาไหม้ หรือ กระบวนการผสมผสาน สาหรับของเสียอันตราย
X
8.1.1.2
สาหรับของเสียไม่อันตราย ที่มีปริมาณการนาเข้าของเสียตั้งแต่ 3 ตันต่อชั่วโมงขึน้ ไป
X
8.1.1.3
สาหรับของเสียไม่อันตราย ที่มีปริมาณการนาเข้าของเสียต่ากว่า 3 ตันต่อชั่วโมง
A
8.1.2 8.1.2.1
การเผาน้ามันเสียหรือก๊าซจากการฝังกลบในระบบเผาไหม้แบบปิด ที่มีอัตราความร้อนนาเข้า ดังนี้ 50 เมกะวัตต์ ขึ้นไป
A
8.1.2.2
ตั้งแต่ 1 เมกะวัตต์ ถึง 50 เมกะวัตต์
A
8.1.2.3
น้อยกว่า 1 เมกะวัตต์
S
8.1.3
การเผาก๊าซจากการฝังกลบหรือก๊าซประเภทอื่นที่ไม่จาเป็นหากดาเนินงานอย่างเหมาะสม
S
8.2
8.2.1
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิตไฟฟ้า ไอน้า น้าร้อน ความร้อน หรือความร้อนเสีย จากการเผาไหม้ (เช่นในโรงไฟฟ้า โรงผลิตความร้อน โรงเผา) รวมถึงเครื่องกาเนิดไอน้า ผ่านการ ใช้วัสดุดังนี้ - ไม้เคลือบ - ไม้อัด ไม้ที่ผลิตจากเศษไม้ ใยไม้ หรือประกอบเข้าด้วยกันโดยใช้กาว ซึ่งไม่มี ส่วนผสมของสารประกอบเฮโลเจน ที่มอี ัตราความร้อนนาเข้าดังนี้ 50 เมกะวัตต์ ขึ้นไป
8.2.2
ตั้งแต่ 1 เมกะวัตต์ ถึง 50 เมกะวัตต์
8.3 8.3.1
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานบาบัดของเสียอันตรายผ่านกระบวนการทางชีวภาพ ที่มี ปริมาณการนาเข้าของเสียดังนี้ 10 ตันต่อวัน ขึ้นไป
8.3.2
ตั้งแต่ 1 ตัน ถึง 10 ตันต่อวัน
8.4
การสร้างและการดาเนินการของโรงงานบาบัดของเสียผ่านกระบวนการทางชีวภาพ ดังนี้
8.4.1
ของเสียทั่วไป นอกเหนือไปจากที่ระบุในข้อ 8.4.2 ที่มีปริมาณการนาเข้าของเสียดังนี้
X S
X S
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
187
8.4.1.1 8.4.1.2
50 ตันต่อวัน ขึ้นไป ตั้งแต่ 10 ตัน ถึง 50 ตันต่อวัน
8.4.2
ปุ๋ยหมัก (manure) ยกเว้นกรณีที่ถูกนาไปบาบัดเพื่อผลิตก๊าซชีวมวล ที่มีปริมาณการนาเข้าของ เสียดังนี้
8.4.2.1
50 ตันต่อวัน ขึ้นไป
A
8.5.2.2
น้อยกว่า 50 ตันต่อวัน หากมีกาลังการผลิตก๊าซตั้งแต่ 1.2 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปีขี้นไป
S
8.5
A S
8.6.1
การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานบาบัดสารเคมี โดยเฉพาะที่ใช้กระบวนการแยก สารประกอบเคมี ผ่านการตกตะกอน การสะเทิน (neutralization) หรือปฏิกิรยิ าออกซิเดชัน ของของเสียอันตราย การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานบาบัดสารเคมี โดยเฉพาะที่ใช้กระบวนการแยก สารประกอบเคมี ผ่านการตกตะกอน การสะเทิน (neutralization) หรือปฏิกิรยิ าออกซิเดชัน ของของเสียทั่วไป ที่มีปริมาณการนาเข้าของเสียดังนี้ 100 ตันต่อวัน ขึ้นไป
8.6.2
ตั้งแต่ 50 ตัน ถึง 100 ตันต่อวัน
A
8.6.3
ตั้งแต่ 10 ตัน ถึง 50 ตันต่อวัน
S
8.7 8.7.1
การสร้างและการดาเนินงานของโรงเก็บของเสียชั่วคราว ยกเว้นโรงเก็บของเสียถาวรและโรงพัก ของเสีย ตามประเภทของเสียดังนี้ เศษโลหะหรือเศษวัสดุอโลหะ รวมถึงซากชิ้นส่วนรถยนต์ ที่มีความจุดังนี้
8.7.1.1 8.7.1.2 8.7.2
1,500 ตัน ขึ้นไป ตั้งแต่ 100 ตัน ถึง 1,500 ตัน กากของเสียอันตราย ที่มีความจุดังนี้
A S
8.7.2.1
50 ตันขึ้นไป
A
8.7.2.2
ตั้งแต่ 30 ตัน ถึง 50 ตัน
S
8.6
8.8 8.9
X
X
8.9.1
(ยกเลิก) การสร้างและการดาเนินงานของโรงเก็บของเสียที่มีระยะเวลากักเก็บนานกว่าหนึ่งปี ตาม ประเภทของเสียดังนี้ ของเสียอันตราย
8.9.1.1
ความจุตั้งแต่ 10 ตันต่อวันขึ้นไป หรือมีความจุรวมตั้งแต่ 150 ตันขึ้นไป
8.9.1.2
ความจุน้อยกว่าที่ระบุในข้อ 8.9.1.1
8.9.2
ของเสียทั่วไป
8.9.2.1
ความจุตั้งแต่ 10 ตันต่อวันขึ้นไป หรือมีความจุรวมตั้งแต่ 150 ตันขึ้นไป
A
8.9.2.2
ความจุน้อยกว่าที่ระบุในข้อ 8.9.2.1
S
9 9.1
X A
การกักเก็บสารและสารประกอบ การสร้างและการดาเนินงานของโรงเก็บสารหรือสารประกอบที่มีความดันไอสัมบูรณ์ 101.3 กิโลปาสกาล และมีความไวไฟทีอ่ ุณหภูมิ 293.15 เคลวิน (สาหรับก๊าซไวไฟ) ยกเว้นโรงเก็บท่อ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
188
ส่งก๊าซธรรมชาติและอุปกรณ์ที่ระบุในข้อ 9.3 9.1.1
ตราบใดที่ไม่ใช้สาหรับตู้เก็บแยกที่มขี นาดไม่เกิน 1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร และมีความจุดังนี้
9.1.1.1
200,000 ตันขึ้นไป
9.1.1.2
ตั้งแต่ 30 ตัน ถึง 200,000 ตัน
A
9.1.1.3
ตั้งแต่ 3 ตัน ถึง 30 ตัน
S
9.1.2 9.1.2.1
ใช้สาหรับตู้เก็บแยกที่มีขนาดไม่เกิน 1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร และมีความจุดังนี้ 200,000 ตันขึ้นไป
9.1.2.2
ตั้งแต่ 30 ตัน ถึง 200,000 ตัน
9.2
X
X S
การสร้างและการดาเนินงานของโรงกักเก็บของเหลว ยกเว้นในกรณีที่ครอบคลุมโดยข้อ 9.3
9.2.1 9.2.1.1 9.2.1.2
ของเหลวที่มีจุดวาบไฟ (flash point) ที่ 373.15 เคลวิน หรือต่ากว่า ที่มีความจุดังนี้ 200,000 ตัน ขึ้นไป ตั้งแต่ 50,000 ตัน ถึง 200,000 ตัน
9.2.1.3
ตั้งแต่ 10,000 ตัน ถึง 50,000 ตัน
S
9.2.2
ของเหลวที่มีจุดวาบไฟต่ากว่า 294.15 เคลวิน และมีจุดเดือด ณ ความดันบรรยากาศ (101.3 กิโลปาสกาล) ประมาณ 293.15 เคลวิน ที่มีความจุตั้งแต่ 5,000 ถึง 10,000 ตัน
S
9.3
การสร้างและการดาเนินงานของโรงกักเก็บใน Annex 2 (รายชื่อสารเช่นเดียวกับที่ระบุในข้อ 9.3 ของ Annex 1) ว่าด้วยข้อกาหนดเกี่ยวกับการติดตั้งที่จาเป็นต้องได้รับอนุญาต ที่มีความจุ ดังนี้
9.3.1
200,000 ตัน ขึ้นไป
9.3.2
ตามที่ระบุในคอลัมน์ 4 ของ Annex 2 (รายชื่อสารเช่นเดียวกับที่ระบุในข้อ 9.3 ของ Annex 1) ว่าด้วยข้อกาหนดเกีย่ วกับการติดตั้งที่จาเป็นต้องได้รับอนุญาต และมีความจุไม่เกิน 200,000 ตัน
A
9.3.3
ตามที่ระบุในคอลัมน์ 3 และน้อยกว่าที่ระบุในคอลัมน์ 4 ของ Annex 2 (รายชื่อสาร เช่นเดียวกับที่ระบุในข้อ 9.3 ของ Annex 1) ว่าด้วยข้อกาหนดเกีย่ วกับการติดตั้งที่จาเป็นต้อง ได้รับอนุญาต
S
9.4 9.4.1
การสร้างและการดาเนินงานของโรงเก็บปิโตรเลียม ปิโตรเคมี สารเคมี หรือผลิตภัณฑ์อื่น นอกเหนือไปจากที่ระบุในย่อนหน้าที่ 9.1, 9.2 หรือ 9.3 และมีความจุดังนี้ 200,000 ตัน ขึ้นไป
9.4.2
ตั้งแต่ 25,000 ตัน ถึง 200,000 ตัน
10 10.1
เครื่องมืออุตสาหกรรมอื่นๆ การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานผลิต บาบัด และแปรรูปวัตถุระเบิด ตามนิยามที่กาหนด โดย Explosives Act โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นระเบิด วัตถุไวไฟ เชื้อเพลิง ดอกไม้ไฟ หรือ เพื่อผลิตสารเคมีที่เกี่ยวข้อง รวมถึงโรงงานสาหรับเปลี่ยนถ่ายอาวุธยุธภัณฑ์หรือวัตถุระเบิดอื่นๆ
X A
X
X A X
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
189
10.2 10.3
ยกเว้นการติดตั้งในระดับช่างฝีมือหรือสาหรับการผลิตไม้ขีดไฟและเครื่องบรรจุไฟแบบพกพา การสร้างและการดาเนินงานของโรงกาจัดหรือนาสารประกอบวัตถุระเบิดกลับมาใช้ใหม่ ตาม นิยามที่กาหนดโดย Explosives Act การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานขึ้นรูปยาง ทั้งยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ โดยใช้ ซัลเฟร์หรือสารประกอบซัลไฟด์ ที่มีปริมาณการใช้ยางดังนี้
X
10.3.1
25 ตันต่อชั่วโมง ขึ้นไป
A
10.3.2
น้อยกว่า 25 ตันต่อชั่วโมง ยกเว้นสาหรับการติดตั้งที่ใช้ยางน้อยกว่า 50 กิโลกรัมต่อชั่วโมง หรือ มีการใช้ยางก่อนขึ้นรูปเป็นจานวนมาก
S
10.4 10.4.1
การสร้างและดาเนินงานของโรงบาบัด (ซัก ฟอก ชุบมัน) หรือย้อมสีเส้นใยหรือสิ่งทอ ที่มีกาลังการผลิตเส้นใยหรือสิ่งทอตั้งแต่ 10 ตันต่อวันขึ้นไป
10.4.2
ที่สามารถย้อมเส้นใยหรือสิ่งทอตั้งแต่ 2 ตัน ถึง 10 ตันต่อวัน สาหรับการย้อมโดยใช้สารเร่ง ปฏิกิริยา รวมทั้งระบบเสต็นเตอร์ (stenter) ยกเว้นระบบปฏิบัติงานในความดันสูง
S
10.4.3
ที่สามารถฟอกเส้นใยหรือสิ่งทอได้ไม่เกิน 10 ตันต่อวัน สาหรับโรงฟอกที่ใช้คลอรีนหรือ สารประกอบคลอไรด์
S
10.5
การสร้างและการดาเนินงานของเครื่องทดสอบสาหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน ยกเว้นกรณี ดังนี้ - ไดนาโมมิเตอร์ซึ่งดาเนินงานในพื้นที่ปิด และ - ระบบที่ติดตั้งพร้อมเครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา (catalytic converter) หรือเครื่องกรองฝุ่นดีเซล ที่มีอัตราการเผาไหม้ดังนี้ 10 เมกะวัตต์ ขึ้นไป ตั้งแต่ 300 กิโลวัตต์ ถึง 10 เมกะวัตต์
10.5.1 10.5.2 10.6
A
A S
10.6.1
การสร้างและการดาเนินงานของเครื่องทดสอบสาหรับกังหันก๊าซหรือเครื่องยนต์ที่มีอัตราการ เผาไหม้ ดังนี้ มากกว่า 200 เมกะวัตต์
10.6.2
ตั้งแต่ 100 เมกะวัตต์ ถึง 200 เมกะวัตต์
A
10.6.3
น้อยกว่า 100 เมกะวัตต์
S
10.7 11 11.1
การสร้างและการดาเนินงานของสนามแข่งรถและเส้นทางสาหรับทดสอบรถยนต์ พลังงานนิวเคลียร์ การสร้างและการดาเนินงานของการติดตั้งอุปกรณ์การผลิต ปรับปรุง พัฒนา หรือการแตกตัว ของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ โดยจาเป็นต้องมีมาตรการสาหรับการปลดประจาการ การปิดหรือรื้อ ถอนอย่างปลอดภัยของอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนในระบบ ยกเว้นในกรณ๊ของการติดตั้งอย่างถาวร สาหรับการแตกตัวของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่มีกาลังไม่เกิน 1 กิโลวัตต์ของความร้อนต่อเนื่อง โดย จาเป็นต้องมีมาตรการสาหรับการปลดประจาการ การปิดหรือรื้อถอนอย่างปลอดภัยของ อุปกรณ์ตามที่ระบุใน Clause 1 หรือชิน้ ส่วนของระบบ ซึ่งถือเป็นการเปลี่ยนแปลงตาม Article 3 ย่อหน้า 1 ข้อ 2 การสร้างและการดาเนินงานของระบบสาหรับการเก็บและกาจัดกากกัมมันตรังสี นอกเหนือไปจากที่ระบุในข้อ 11.1 และ 11.2 การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานหรือ สิ่งก่อสร้างสาหรับการปรับปรุงหรือพัฒนาเชื้อเพลิงนิวเคลียร์หรือกากกัมมันตรังสีที่มีระดับรังสี
A
11.2 11.3
X
X
X X
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
190
12.2.1
สูง หรือเพื่อรองรับกากกัมมันตรังสีที่สามารถมีอายุมากกว่าสิบปีจากพื้นทีอ่ ื่น การสร้างและการดาเนินงานของโรงงานหรือสิ่งก่อสร้างสาหรับกักเก็บ บาบัด หรือปรับปรุงกาก กัมมันตรังสี นอกเหนือไปจากที่ระบุในข้อ 11.1, 11.2 และ 11.3 ซึ่งไม่จาเป็นต้องมีการเตรียม แผนป้องกันภัยในกรณีที่เกิดเหตุขัดข้องในระบบปฏิบัติการ การฝังกลบ การสร้างและการดาเนินงานของพื้นที่ฝงั กลบสาหรับของเสียอันตรายภายใต้นิยามที่กาหนดโดย Recycling Law การสร้างและการดาเนินงานของพื้นที่ฝงั กลบสาหรับของเสียทั่วไปภายใต้นิยามที่กาหนดโดย Recycling Law ยกเว้นพื้นที่ฝังกลบสาหรับของเสียเฉื่อย (inert waste) ตามข้อ 12.3 ที่มี ความจุดังนี้ 10 ตันต่อวันขึ้นไป หรือมีความจุโดยรวม 25,000 ตัน ขึ้นไป
1.2.2.2
น้อยกว่า 10 ตันต่อวัน หรือมีความจุโดยรวมน้อยกว่า 25,000 ตัน
S
การสร้างและการดาเนินงานของพื้นที่ฝงั กลบสาหรับของเสียเฉื่อยภายใต้นิยามที่กาหนดโดย Recycling Law โครงการจัดการน้าทีม่ ีการใช้หรือพัฒนาแหล่งน้า การสร้างและการดาเนินงานของโรงบาบัดสิ่งปฏิกูล ซึ่งออกแบบเพื่อกรณีดังต่อไปนี้
A
11.4
12 12.1 12.2
12.3 13 13.1
A
X
X
13.1.1
น้าเสียที่มีส่วนประกอบของอินทรียวัตถุเป็นหลัก และมีค่าบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD) ตั้งแต่ 9,000 กิโลกรัมต่อวันขึ้นไป หรือน้าเสียที่มีส่วนประกอบของอนินทรีย วัตถุเป็นหลักที่มีปริมาณการนาเข้าตั้งแต่ 4,500 ลูกบาศก์เมตรขึ้นไปในเวลาสองชั่วโมง (ยกเว้น น้าเสียจากการกระบวนระบายความร้อน)
X
13.1.2
น้าเสียที่มีส่วนประกอบของอินทรียวัตถุเป็นหลัก และมีค่าบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD) ตั้งแต่ 600 ถึง 9,000 กิโลกรัมต่อวัน หรือน้าเสียที่มีสว่ นประกอบของอนินท รียวัตถุเป็นหลักที่มปี ริมาณการนาเข้าตั้งแต่ 900 ถึง 4,500 ลูกบาศก์เมตรภายในเวลาสอง ชั่วโมง (ยกเว้นน้าเสียจากกระบวนการระบายความร้อน)
A
13.1.3
น้าเสียที่มีส่วนประกอบของอินทรียวัตถุเป็นหลัก และมีค่าบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD) ตั้งแต่ 120 ถึง 600 กิโลกรัมต่อวัน หรือน้าเสียที่มีสว่ นประกอบของอนินทรีย วัตถุเป็นหลักที่มีปริมาณการนาเข้าตั้งแต่ 10 ถึง 900 ลูกบาศก์เมตรภายในเวลาสองชั่วโมง (ยกเว้นน้าเสียจากกระบวนการระบายความร้อน)
S
13.2
การสร้างและการดาเนินงานของบ่อเลี้ยงปลาขนาดใหญ่
13.2.1 13.2.1.1
ในแหล่งน้าผิวดินหรือชายฝั่ง หรือที่มกี ารปล่อยสสารลงในแหล่งน้าผิวดินหรือชายฝั่ง ที่มี ปริมาณการจับปลาดังนี้ 1,000 ตันขึ้นไป หากกฎหมายรัฐระบุวา่ จาเป็น
13.2.1.2
100 ตันขึ้นไป นอกเหนือไปจากที่ระบุในข้อ 13.2.1.1
X A
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
191
13.2.1.3
ตั้งแต่ 50 ถึง 100 ตัน
S
13.2.2
ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษของประเทศเยอรมนี ที่มีปริมาณการจับปลาดังนี้
13.2.2.1
มากกว่า 2,500 ตัน
13.2.2.2
ตั้งแต่ 500 ถึง 2,500 ตัน
A
13.2.2.3
ตั้งแต่ 250 ถึง 500 ตัน
S
X
13.3
การโยกย้ายหรือสูบน้าผิวดิน น้าบาดาล หรือการปล่อยน้าบนผิวดินเพื่อเติมเต็มปริมาณน้า บาดาล ที่มีปริมาณน้ารายปีของแต่ละกรณีดังนี้
13.3.1 13.3.2
10 ล้านลูกบาศก์เมตรขึ้นไป ตั้งแต่ 100,000 ลูกบาศก์เมตร ถึง 10 ล้านลูกบาศก์เมตร
13.3.3
ตั้งแต่ 5,000 ลูกบาศก์เมตร ถึง 100,000 ลูกบาศก์เมตร หากอาจก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรงต่อ ระบบนิเวศที่พึ่งพิงแหล่งน้าผิวดินนั้นๆ
S
13.4 13.5
การขุดบ่อน้าบาดาล โครงการจัดการน้าสาหรับการเกษตร (นอกเหนือไปจากที่ระบุในข้อ 13.3 หรือข้อ 13.18) รวมถึงชลประทานน้าผิวดินหรือการสูบน้าผิวดิน ที่มีปริมาณการใช้น้าต่อปีดังนี้
A
13.5.1
100,000 ลูกบาศก์เมตรขึ้นไป
A
13.5.2
ตั้งแต่ 25,000 ลูกบาศก์เมตรถึง 100,000 ลูกบาศก์เมตร หากอาจก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรง ต่อระบบนิเวศที่พึ่งพิงแหล่งน้าผิวดินนั้นๆ
S
13.6
การสร้างอ่างเก็บน้าหรือสิ่งก่อสร้างอื่นเพื่อชะลอหรือกักเก็บน้า ตามกรณีดังนี้
13.6.1
มีการชะลอหรือกักเก็บน้าตั้งแต่ 10 ล้านลูกบาศก์เมตรขึ้นไป
13.6.2
มีการชะลอหรือกักเก็บน้าน้อยกว่า 10 ล้านลูกบาศก์เมตร
13.7
การเบี่ยงน้าจากลุ่มน้าหนึ่งไปยังอีกลุ่มน้าหนึ่ง ยกเว้นการส่งน้าผ่านท่อ ที่มีปริมาณน้าดังนี้
13.7.1
100 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปีขึ้นไป สาหรับใช้สารองน้าเมื่อขาดแคลน หรือร้อยละ 5 ของ กระแสน้า หากลุ่มน้ามีอัตราการไหลตั้งแต่ 2,000 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวินาทีขนึ้ ไป
13.7.2
น้อยกว่าที่ระบุในข้อ 13.7.1
A
13.8 13.9
การขุดทางน้าหรือปรับเปลี่ยนกระแสน้าไหล การปรับแก้ทา่ เรือ ในกรณีที่เรือขนส่งสินค้ามีความจุดังนี้
A
13.9.1
มากกว่า 1,350 ตัน
13.9.2
น้อยกว่า 1,350 ตัน
13.10
การสร้างท่าเรือเดินสมุทรภายในประเทศ
X A
X A
X
X A X
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
192
13.11 13.11.1
การสร้างท่าเรือเดินสมุทรภายในประเทศและท่าเรือเดินสมุทรนานาชาติ เพื่อขนส่งสินค้า (ไม่ รวมถึงเรือข้ามฟาก) ที่มีความจุดังนี้ มากกว่า 1,350 ตัน
13.11.2
น้อยกว่า 1,350 ตัน
A
13.12
การสร้างท่าเรือประเภทอื่น รวมถึงท่าเรือประมงหรือท่าจอดเรือเล็ก (marina) หรือโครงสร้าง พื้นฐานที่เกี่ยวกับท่าเรือ การสร้างกาแพงกั้นน้าหรือเขือ่ นที่ส่งผลกระทบต่อการระบายน้า (นอกเหนือไปจากที่ระบุในข้อ 13.16) การสร้างและการดาเนินงานของโรงไฟฟ้าพลังน้า การขุดลอกแม่น้าหรือทะเลสาบเพื่อนาแร่ธาตุมาใช้ประโยชน์ การยับยั้งการกัดเซาะของชายฝั่งที่เหมาะสม (เช่น การสร้างเขื่อน กาแพงหิน กาแพงที่สร้างขึ้น เพื่อต้านคลื่นหรือลม และอื่นๆ) ที่นอกเหนือไปจากการซ่อมบารุงและการสร้างสิ่งก่อสร้าง ดังกล่าวใหม่อีกครั้ง ยกเว้นหากได้รับการข้อกฎหมายกาหนดให้เป็นอื่น การบุกรุกพื้นที่ทะเล ยกเว้นในกรณีที่กฎหมายรัฐระบุให้เป็นอื่น กิจกรรมอื่นภายใต้ Water Act ที่อยู่นอกเหนือไปจากที่ระบุในข้อ 13.1 ถึง 13.17 ในกรณีที่ขนาดของการขยายไม่ได้ถูกระบุในข้อ 13.18.2
A
S
14 14.1
การขยายของลาธาร ห้วย หนองน้า บึงน้า การเปลี่ยนแปลงสภาพในระดับเล็ก (small-scale transformation) เช่น การกาจัดไม้พุ่มและเถาวัลย์ การติดตั้งคลองระบายน้าในระดับท้องถิ่น และการวางท่อขนาดเล็ก การวางแผงก้อนกรวด (gravel bars) ในน้า โครงการด้านการขนส่ง การสร้างทางน้าระดับประเทศ
14.1.1
โครงการภายใต้นยิ ามของข้อกาหนด 13.6.1 และ 13.7.1
14.1.2 14.2
โครงการภายใต้นยิ ามของข้อกาหนด 12.6.2, 13.7.2, 13.8.2 และ 13.13 (ไม่ว่าจะส่งผล กระทบต่อการระบายน้าหรือไม่) การสร้างทางน้าระดับประเทศสาหรับการเดินเรือ ที่มีความจุดังนี้
14.2.1
มากกว่า 1,350 ตัน
14.2.2
น้อยกว่า 1,350 ตัน
14.3
การสร้างทางด่วนหรือทางหลวงอื่นๆ ตามคานิยามทีก่ าหนดโดย European Agreement on Main International Traffic Arteries กาหนดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975; หากถนน มีความยาวตั้งแต่ 5 กิโลเมตรขึ้นไป การสร้างทางหลวงตั้งแต่สี่สายขึ้นไป การสร้างทางหลวงตั้งแต่สี่สายขึ้นไป ผ่านการย้ายและ/หรือขยายทางหลวงเดิม ในกรณีที่ เส้นทางใหม่มีความยาวตั้งแต่ 10 กิโลเมตรขึ้นไป การสร้างทางหลวงประเภทอื่นๆ การสร้างรางรถไฟถาวรพร้อมระบบปฏิบัติการเสริม รวมถึงสายเคเบิลลากรถไฟ การสร้างระบบปฏิบัติการใดๆก็ตามสาหรับรางรถไฟ โดยเฉพาะภายในสถานีขนส่ง (intermodal terminal) หรือสถานีรถไฟ ในกรณีที่ไม่เป็นส่วนหนึ่งของการสร้างรางรถไฟตามที่ ระบุในข้อ 14.7 การสร้างรางรถไฟระบบแม่เหล็กพร้อมระบบปฏิบัตกิ ารเสริม การสร้างรางรถไฟเพิ่มสาหรับระบบรางสาธารณะพร้อมระบบปฏิบัติการเสริม
13.13 13.14 13.15 13.16
13.17 13.18 13.18.1 13.18.2
14.4 14.5 14.6 14.7 14.8
14.9 14.10
X
A A A A
A A
X A
X A X
X X A X A
X
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
A 193
14.11 14.12 14.12.1 14.12.2 15 15.1 15.2
การสร้างรางสาหรับรถราง รางรถไฟเชื่อมทั้งบนดินและใต้ดิน หรือรางสาหรับพักรถไฟ ภายใต้ นิยามที่กาหนดโดย Passenger Transport Act พร้อมระบบปฏิบัตกิ ารเสริม การสร้างท่าอากาศยานภายใต้คานิยามของ Chicago Convention ปี ค.ศ. 1944 กาหนดโดย International Civil Aviation Organization พร้อมลานบินที่มีความยางดังนี้ 1,500 เมตร ขึ้นไป น้อยกว่า 1,500 เมตร
A
X A
16 16.1 17 17.1
การทาเหมืองและการกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ถาวร โครงการเหมือง รวมถึงกิจกรรมที่จาเป็นต้องมีการสร้างเหมือง การสร้าง การดาเนินงาน และการปิดแหล่งกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ (carbon dioxide storage) การรวบรวมที่ดิน (land consolidation) การสร้างสิ่งก่อสร้างสาหรับชุมชนและสาธารณะ ภายใต้นิยามของ Land Consolidation Act โครงการป่าไม้และเกษตรกรรม การปลูกป่า ตามนิยามทีก่ าหนดโดย Federal Law on Forests ซึ่งมีขนาดดังนี้
17.1.1
50 เฮกตาร์ ขึ้นไป
17.1.2
ตั้งแต่ 20 ถึง 50 เฮกตาร์
A
17.1.3
ตั้งแต่ 2 ถึง 20 เฮกตาร์
S
17.2 17.2.1 17.2.2
การถางป่า ตามนิยามที่กหนดโดย Federal Law on Forests ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ ประโยชน์ในด้านอื่น และมีขนาดดังนี้ 10 เฮกตาร์ ขึ้นไป ตั้งแต่ 5 ถึง 10 เฮกตาร์
17.2.3
ตั้งแต่ 1 ถึง 5 เฮกตาร์
17.3
โครงการที่ใช้ประโยชน์จากพื้นทีก่ ึ่งธรรมชาติหรือไม่เคยมีการเพาะปลูกมาก่อน สาหรับ เกษตรกรรมแบบเข้มข้น ซึ่งมีขนาดดังนี้ 20 เฮกตาร์ ขึ้นไป ตั้งแต่ 10 ถึง 20 เฮกตาร์
17.3.1 17.3.2
X
A
X
X A S
17.3.3 18 18.1
ตั้งแต่ 1 ถึง 10 เฮกตาร์ โครงการดังต่อไปนี้ การสร้างหมู่บ้านพักร้อน โรงแรม หรือสิง่ ก่อสร้างขนาดใหญ่สาหรับการพักผ่อน และการพักค้าง คืนของนักท่องเที่ยว ตามนิยามทีก่ าหนดใน Article 35 ของ Building Code ซึ่งมีแผนงานดังนี้
18.1.1
มีเตียงทั้งหมด 300 เตียงขึ้นไป หรือมีห้องพักทั้งสิ้น 200 ห้องขึ้นไป
18.1.2
มีเตียงทั้งหมดตั้งแต่ 100 ถึง 300 เตียง หรือมีห้องพักทั้งสิ้นตั้งแต่ 80 ถึง 200 ห้อง
18.2 18.2.1
การสร้างค่ายพักแรมที่เปิดบริการตลอดปี ตามนิยามที่กาหนดใน Article 35 ของ Building Code ซึ่งมีพื้นที่สาหรับการพักแรมดังนี้ 200 ที่ขึ้นไป
18.2.2 18.3
ตั้งแต่ 50 ถึง 200 ที่ การสร้างสวนสนุก ตามนิยามที่กาหนดใน Article 35 ของ Building Code ซึ่งมีขนาดพื้นที่ดังนี้
X A S
X A
X
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
A
194
18.3.1
10 เฮกตาร์ขึ้นไป
18.3.2
ตั้งแต่ 4 ถึง 10 เฮกตาร์
18.4 18.4.1
การสร้างลานจอดรถสาหรับพื้นที่นอกอาคารที่มีอยู่เดิม (existing external area) ตามนิยามที่ กาหนดใน Article 35 ของ Building Code ซึ่งมีขนาดดังนี้ 1 เฮกตาร์ขึ้นไป
18.4.2
ตั้งแต่ 0.5 ถึง 1 เฮกตาร์
18.5
18.5.1
การสร้างโรงงานอุตสาหกรรมนอกเขตอุตสาหกรรม ตามนิยามที่กาหนดใน Article 35 ของ Building Code และมีการเตรียมแผนพัฒนาที่สมบูรณ์ พร้อมใบอนุญาตให้ใช้พนื้ ที่ตามนิยามที่ กาหนดใน Article 19 ย่อหน้าที่ 2 ของ Land Use Ordinance หรือมีขนาดพืน้ ที่ห้อง (floor area) ทั้งสิน้ ดังนี้ 100,000 ตารางเมตร ขึ้นไป
18.5.2
ตั้งแต่ 20,000 ถึง 100,000 ตารางเมตร
18.6
การสร้างห้างสรรพสินค้า ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ หรือสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่สาหรับการค้าขาย อื่นๆ ตามนิยามที่กาหนดใน Article 11 ย่อหน้า 3 ประโยค 1 ของ Land Use Ordinance บน พื้นที่นอกอาคารที่มีอยู่เดิม (existing external area) ภายใต้นิยามที่กาหนดใน Article 35 ของ Building Code พร้อมแผนพัฒนาโครงการ และมีขนาดพื้นที่ห้องดังนี้ 5,000 ตารางเมตรขึ้นไป ตั้งแต่ 1,200 ถึง 5,000 ตารางเมตร
18.6.1 18.6.2 18.7
18.7.1 18.7.2 18.8 18.9
19 19.1
X A
X A
X A
โครงการวางผังเมือง (town planning project) สาหรับระบบโครงสร้างอื่นๆ (structural systems) บนพื้นที่นอกอาคารที่มีอยู่เดิม (existing external area) ภายใต้นิยามที่กาหนดใน Article 35 ของ Building Code พร้อมแผนพัฒนาโครงการ และมีขนาดพื้นทีห่ ้องตามนิยามที่ กาหนดใน Article 19 ย่อหน้า 2 ของ Land Use Ordinance ดังนี้ 100,000 ตารางเมตร ขึ้นไป ตั้งแต่ 20,000 ถึง 100,000 ตารางเมตร
X A
X A
การสร้างโครงการตามข้อ 1.18 ถึง 7.18 เพื่อวัตถุประสงค์ของการวางผังเมือง พร้อม แผนพัฒนาโครงการสาหรับพื้นที่อื่น โครงการสาธารณะและโครงการเอกชนที่กาหนดให้มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมตาม Directive 97/11/EC of the Council (OJ EC no. L 73 หน้า 5) ซึ่งสามารถอนุมัติได้หากมี แผนพัฒนาโครงการหรือหากมีแผนพัฒนาโครงการที่มาแทนผลการตัดสินใจดาเนินโครงการ การวางสายไฟและอุปกรณ์อื่นๆ การสร้างและการดาเนินงานของสายส่งไฟฟ้า ตามนิยามทีก่ าหนดโดย Energy Act ที่มี คุณสมบัติดังนี้
A
19.1.1
มีความยาวตั้งแต่ 15 กิโลเมตรขึ้นไป และมีแรงดันไฟฟ้าตั้งแต่ 220 กิโลโวลต์ขนึ้ ไป
X
19.1.2
มีความยาวตั้งแต่ 15 กิโลเมตรขึ้นไป และมีแรงดันไฟฟ้าตั้งแต่ 110 ถึง 220 กิโลโวลต์
A
19.1.3
มีความยาวตั้งแต่ 5 ถึง 15 กิโลเมตร และมีแรงดันไฟฟ้าตั้งแต่ 110 กิโลโวลต์ขนึ้ ไป
A
19.1.4
มีความยาวน้อยกว่า 5 กิโลเมตร และมีแรงดันไฟฟ้าตั้งแต่ 110 กิโลโวลต์ขึ้นไป
S บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
195
19.2
การสร้างและการดาเนินงานของท่อส่งก๊าซ ตามนิยามที่กาหนดโดย Energy Act ยกเว้นการ ติดตั้งที่ไม่อยู่นอกเหนือไปจากพื้นที่ของโรงงาน ที่มีคุณสมบัติดังนี้
19.2.1
มีความยาวตั้งแต่ 40 กิโลเมตรขึ้นไป และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 800 มิลลิเมตรขึ้นไป
19.2.2
มีความยาวตั้งแต่ 40 กิโลเมตรขึ้นไป และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 300 ถึง 800 มิลลิเมตร
A
19.2.3
มีความยาวตั้งแต่ 5 ถึง 40 กิโลเมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 300 มิลลิเมตรขึ้นไป
A
19.2.4 19.3
มีความยาวน้อยกว่า 5 กิโลเมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 300 มิลลิเมตรขึ้นไป การสร้างและการดาเนินงานของระบบท่อขนส่งสารอันตรายไปยังแหล่งน้า ตามนิยามที่กาหนด ใน Article 21 ย่อหน้า 4 วรรค 7 ของ UVPG ยกเว้นระบบท่อที่มีคุณสมบัติดังนี้ - ไม่อยู่นอกเหนือไปจากพื้นที่ของโรงงาน - เป็นอุปกรณ์เสริมของระบบจัดการสารดังกล่าว หรือ - เป็นระบบเชื่อมต่อที่อยู่ติดกับระบบปฏิบัติการอื่นๆ และถูกแบ่งโดยเส้นทาง ขนส่งทางบก และมีคุณสมบัติดังนี้ มีความยาวตั้งแต่ 40 กิโลเมตรขึ้นไป มีความยาวตั้งแต่ 2 ถึง 40 กิโลเมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 150 มิลลิเมตรขึ้นไป
S
19.3.1 19.3.2
X
X A
19.3.3 19.4
มีความยาวน้อยกว่า 2 กิโลเมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 150 มิลลิเมตรขึ้นไป การสร้างและการดาเนินงานของการติดตั้งท่อส่ง ที่อยู่นอกเหนือไปจากที่ระบุในข้อ 19.3 สาหรับการส่งก๊าซเหลว ยกเว้นกรณีที่ไม่ดาเนินการนอกเหนือไปจากพื้นที่ของโรงงาน และมี คุณสมบัติดังนี้
S
19.4.1
มีความยาวตั้งแต่ 40 กิโลเมตรขึ้นไป และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 800 มิลลิเมตรขึ้นไป
19.4.2
มีความยาวตั้งแต่ 40 กิโลเมตรขึ้นไป และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 150 ถึง 800 มิลลิเมตร
A
19.4.3
มีความยาวตั้งแต่ 2 ถึง 40 กิโลเมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 150 มิลลิเมตรขึ้นไป
A
19.4.4
มีความยาวน้อยกว่า 2 กิโลเมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 150 มิลลิเมตรขึ้นไป
S
19.5
การสร้างและการดาเนินงานของการติดตั้งท่อส่ง ที่อยู่นอกเหนือไปจากที่ระบุในข้อ 19.3 หรือ 19.2 สาหรับการส่งก๊าซ ยกเว้นกรณีที่ไม่ดาเนินการนอกเหนือไปจากพื้นที่ของโรงงาน และมี คุณสมบัติดังนี้
X
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
196
19.5.1
มีความยาวตั้งแต่ 40 กิโลเมตรขึ้นไป และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 800 มิลลิเมตรขึ้นไป
19.5.2
มีความยาวตั้งแต่ 40 กิโลเมตรขึ้นไป และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 300 ถึง 800 มิลลิเมตร
A
19.5.3
มีความยาวตั้งแต่ 5 ถึง 40 กิโลเมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 300 มิลลิเมตรขึ้นไป
A
19.5.4
มีความยาวน้อยกว่า 5 กิโลเมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 300 มิลลิเมตรขึ้นไป
S
19.6
19.6.1
การสร้างและการดาเนินงานของระบบบท่อสาหรับการส่งถ่ายสารภายใต้การกากับของ Article 3a ของ Chemicals Act ยกเว้นสารที่ได้รับการอนุญาตให้ขนส่งได้ตามข้อ 2.19 ถึง 5.19 และ ยกเว้นท่อส่งสิ่งปฏิกูลและท่อที่ไม่อยู่นอกเหนือไปจากพื้นที่ของโรงงาน หรือเป็นอุปกรณ์เสริม ของระบบกักเก็บสารหรือวัตถุดังกล่าว ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้ มีความยาวตั้งแต่ 40 กิโลเมตรขึ้นไป และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 800 มิลลิเมตรขึ้นไป
19.6.2
มีความยาวตั้งแต่ 40 กิโลเมตรขึ้นไป และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 300 ถึง 800 มิลลิเมตร
A
19.6.3
มีความยาวตั้งแต่ 5 ถึง 40 กิโลเมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 300 มิลลิเมตรขึ้นไป
A
19.6.4
มีความยาวน้อยกว่า 5 กิโลเมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 300 มิลลิเมตรขึ้นไป
S
19.7
การสร้างและการดาเนินงานของระบบท่อส่งไอน้าและน้าร้อนจากโรงไฟฟ้า ซึ่งอยู่ นอกเหนือไปจากพื้นที่ของโรงงาน และมีคุณสมบัติดังนี้ มีความยาวนอกพื้นที่โรงงานตั้งแต่ 5 กิโลเมตรขึ้นไป มีความยาวนอกพื้นที่โรงงานน้อยกว่า 5 กิโลเมตร
A S
19.8.1
การสร้างและการดาเนินงานของการติดตั้งท่อส่ง ที่อยู่นอกเหนือไปจากที่ระบุในข้อ 19.6 สาหรับการส่งน้าออกนอกพื้นที่ของเทศบาล ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้ มีความยาวตั้งแต่ 10 กิโลเมตรขึ้นไป
A
19.8.2
มีความยาวตั้งแต่ 2 ถึง 10 กิโลเมตร
S
19.9
การสร้างและการดาเนินงานของอ่างเก็บน้า ที่มีความจุดังนี้
19.9.1
10 ล้านลูกบาศก์เมตร ขึ้นไป
19.9.2
ตั้งแต่ 2 ถึง 10 ล้านลูกบาศก์เมตร
A
19.9.3
ตั้งแต่ 5,000 ลูกบาศก์เมตร ถึง 2 ล้านลูกบาศก์เมตร
S
19.10
การสร้างและการดาเนินงานของท่อส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สาหรับการกักเก็บ ยกเว้นการ ติดตั้งที่ไม่อยู่นอกเหนือไปจากพื้นที่ของโรงงาน ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้
19.7.1 19.7.2 19.8
X
X
X
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
197
19.10.1
มีความยาวตั้งแต่ 40 กิโลเมตรขึ้นไป และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 800 มิลลิเมตรขึ้นไป
X
19.10.2
มีความยาวตั้งแต่ 40 กิโลเมตรขึ้นไป และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 150 ถึง 800 มิลลิเมตร
A
19.10.3
มีความยาวตั้งแต่ 2 ถึง 40 กิโลเมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 150 มิลลิเมตรขึ้นไป
A
19.10.4
มีความยาวน้อยกว่า 2 กิโลเมตร และมีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 150 มิลลิเมตรขึ้นไป
S
เวียดนาม ตารางแสดงข้อกาหนดเงื่อนไขและขอบเขตของโครงการที่มีความจาเป็นต้องจัดทารายงาน EIA ลาดับ 1 2
3
4
5
6 7 8 9 10 11
โครงการ ขอบเขตหรือขนาดโครงการที่มีความจาเป็นต้องจัดทา EIA โครงการใดๆก็ตามที่รัฐสภาหรือนายกรัฐมนตรีเป็น ทุกขนาดโครงการ ผูอ้ นุมัติการลงทุน โครงการที่มีพื้นที่ตั้งบางส่วนหรือทั้งหมดในเขตอุทยาน ทุกขนาดโครงการ แห่งชาติ พื้นที่ทางวัฒนธรรมหรือประวัติศาสตร์เก่าแก่ พื้นที่มรดกโลก พื้นที่ชีวมณฑล สถานทีท่ ี่มีทัศนียภาพ สวยงามทั้งที่ได้รับการประกาศและยังไม่ได้รับการ ประกาศแต่ได้รับการดูแลอนุรกั ษ์โดยสภาประชาชน ท้องถิ่น โครงการที่ก่อสร้างอาคารในใจกลางเมืองหรือเขตที่อยู่ โครงการที่มีพื้นที่ตั้งเท่ากับ 5 เฮคตาร์ หรือมากกว่า อาศัยในเมือง โครงการที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง โครงการสร้างหรือปรับปรุงระบบระบายน้าในเขตเมือง สาหรับแหล่งระบายน้าที่มีความยาวเท่ากับ 5 กิโลเมตร หรือมากกว่า หรือเขตที่อยู่อาศัย โครงการที่มีพื้นที่การขุดเท่ากับ 1 เฮคตาร์ หรือมากกว่า โครงการที่เกี่ยวกับการสร้างคลองระบาย แม่นา้ และ แหล่งกักเก็บน้า โครงการที่สร้างตึกอาคารในนิคมอุตสาหกรรม นิคม ทุกขนาดโครงการ เทคโนโลยีไฮเทค คลัสเตอร์อุตสาหกรรม เขต อุตสาหกรรมส่งออก หรือคลัสเตอร์หมู่บา้ นเชิงพาณิชย์ โครงการก่อสร้างซูเปอร์มาร์เก็ตและศูนย์รวมการค้า โครงการที่มีสถานประกอบธุรกิจ 200 รายหรือมากกว่า โครงการก่อสร้างตลาดค้าส่งและตลาดระดับ 1 และ 2 ทุกขนาดโครงการ ในเมือง โครงการก่อสร้างสถานพยาบาล ทุกขนาดโครงการ โครงการก่อสร้างห้องทดลองวิทยาศาสตร์ที่มีการสร้าง ทุกขนาดโครงการ ขยะหรือของเสียที่อันตรายจากการทดลอง โครงการก่อสร้างหอพักและอาคารคอนโดมีเนียม สาหรับโครงการที่มีผู้เช่า 500 คน หรือ 100 ครัวเรือน หรือมากกว่า โครงการที่ก่อสร้างสถานบริการแก่นกั ท่องเที่ยว สถาน โครงการที่มีพื้นที่โครงการเท่ากับ 5 เฮคตาร์ หรือมากกว่า กีฬา ศูนย์สันทนาการ และสนามกอล์ฟ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
198
12 13 14 15 16
17
18 19
20 21
22
23 24 25 26 27 28 29 30 31 32
โครงการก่อสร้างที่พักให้นกั ท่องเที่ยว สาหรับโครงการที่มีห้องมากกว่า 50 ห้อง หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างศูนย์บริการนักท่องเที่ยวอื่นๆ (รวม สาหรับโครงการที่ผลิดน้าเสียในปริมาณเท่ากับ 500 ลูกบาศก์เมตร โครงสร้างสาธารณูปโภคและสิ่งปลูกสร้าง) หรือมากกว่า โครงการที่มีการสร้างสุสานหรือสถานทีส่ าหรับจัดการ ทุกขนาดโครงการ ศพทุกรูปแบบ โครงการสร้างบ้านที่มีห้องใต้ดิน สาหรับบ้านที่มีหอ้ งใต้ดินที่มีความลึก 10 เมตร หรือมากกว่า โครงการสร้างศูนย์ฝึกการสู้รบ แนวป้องกันที่เกี่ยวข้อง ทุกขนาดโครงการ กับทางทหาร และเขตรักษาดินแดนควบเศรษฐกิจ (defense-economic zones) โครงการที่เกี่ยวกับวัตถุดิบก่อสร้าง โครงการก่อสร้างโรงงานปูนซีเมนต์และโรงงานปูนเม็ด ทุกขนาดโครงการสาหรับโรงงานปูนซีเมนต์ สาหรับโรงงานปูนเม็ด ทีม่ ีกาลังการผลิตเท่ากับ 500,000 ตันต่อปี หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงบดปูนเม็ดและผลิตซีเมนต์ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตซีเมนต์เท่ากับ 100,000 ตันต่อปี หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตอิฐ แผ่นหลังคา และ แผ่น สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตอิฐหรือแผ่นหลังคามาตาฐานเท่ากับ ไฟโบรซีเมนต์ 10 ล้าน ก้อนหรือแผ่นต่อปี หรือมากกว่า (ในกรณีแผ่นหลังคาไฟโปร ซีเมนต์ จะต้องมีกาลังการผลิตเท่ากับ 500,000 ตารางเมตร ต่อปีของ แผ่นดังกล่าว หรือมากกว่า) โครงการก่อสร้างโรงงานสร้างแผ่นพื้นและกาแพงทุก สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตเเท่ากับ 500,000 ตารางเมตรต่อปี ประเภท หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างสถานที่สาหรับผลิตวัตถุดิบก่อสร้าง สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตเท่ากับ 500,000 ตันต่อปี ของ อื่นๆ ผลิตภัณฑ์ หรือมากกว่า โครงการที่เกี่ยวกับการขนส่ง โครงการก่อสร้างระบบขนส่งใต้ดิน เช่น อุโมงค์ หรือ ทุกขนาดโครงการสาหรับโครงการระบบขนส่งใต้ดิน รถไฟฟ้าใต้ดิน สาหรับโครงการรถเคเบิ้ลที่มีความยาวเท่ากับ 500 เมตร หรือ โครงการก่อสร้างรถเคเบิ้ล มากกว่า โครงการก่อสร้างทางด่วนรถยนต์ ถนนสาหรับรถยนต์ ทุกขนาดโครงการ (ตั้งแต่ระดับ 1 ถึง 3) รางรถไฟ และ สนามบิน โครงการซ่อมแซมปรับปรุง ทางด่วนรถยนต์ และถนน ทุกขนาดโครงการ สาหรับรถยนต์ (ตั้งแต่ระดับ 1 ถึง 3) และรางรถไฟ โครงการสร้าง ถนนรถยนต์ ระดับ 4 ถึง 5 สาหรับถนนที่มีความยาวเท่ากับ 100 กิโลเมตร หรือมากกว่า โครงการสร้างถนนและสะพานรถไฟ สาหรับโครงการถนนหรือสะพานที่มีความยาวเท่ากับ 200 เมตร หรือ มากกว่า (ไม่นับทางขนาน - feeder roads) โครงการก่อสร้างท่าเรือแม่น้าและทะเล สาหรับท่าเรือที่จะรับเรือที่มีขนาดเท่ากับ 1000 DWT หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างท่าเรือประมง สาหรับท่าเรือประมงที่สามารถรับปลาเท่ากับ 50 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างสถานีจอดรถ สาหรับโครงการที่ใช้พื้นที่เท่ากับ 5 เฮคตาร์ หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างแอสฟัลต์คอนกรีต สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อวันเท่ากับ 100 ตัน หรือมากกว่า โครงการที่เกี่ยวกับพลังงานและกัมมันตภาพรังสี โครงการก่อสร้างโรงปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และโรงพลังงาน ทุกขนาดโครงการ ความร้อน โครงการก่อสร้างแหล่งผลิต ธุรกิจ หรือ บริการ ที่มีการ ทุกขนาดโครงการ ใช้วัตถุกัมมันตภาพรังสี หรือ มีการสร้างขยะ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
199
33 34
35 36
37 38 39
40 41 42 43 44 45
46
47
48
กัมมันตภาพรังสี โครงการสร้างโรงงานพลังงานลมและพลังงานโฟโต้ อิเล็คทริค โครงการก่อสร้างโรงงานพลังงานน้า
สาหรับโครงการที่มีการใช้พื้นดินหรือพืน้ น้าเท่ากับ 100 เฮคตาร์
สาหรับโครงการที่มีแหล่งกักเก็บน้าที่สามารถกักเก็บน้าได้เท่ากับ 100,000 ลูกบาศก์หรือมากกว่า หรือ โครงการที่มีกาลังผลิตไฟฟ้า เท่ากับ 1 เมกะวัตต์หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าหรือโรงไฟฟ้า สาหรับโครงการที่ส่งหรือผลิตกระแสไฟฟ้าเท่ากับ 110 กิโลโวต์ หรือ มากกว่า โครงการแปรรูปสายไฟฟ้าหรือเคเบิ้ลไฟฟ้า สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตเท่ากับ 10,000 ตัน ของผลิตภัณฑ์ หรือ มากกว่า โครงการที่เกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์และการโทรคมนาคม โครงการสร้างศูนย์รับสัญญาณวิทยุและรับสัญญาณ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิต 2 กิโลวัตต์หรือมากกว่า โทรคมนาคม โครงการแปรรูปอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตเท่ากับ 10,000 หน่วย หรือมากกว่า โครงการแปรรูปชิ้นส่วนไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตชิ้นส่วนไฟฟ้าเท่ากับ 500 ตันหรือ มากกว่า หรือมีกาลังผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เท่ากับ 100,000 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโครงข่ายโทรคมนาคม สาหรับโครงการที่มีโครงข่ายยาวเท่ากับ 100 กิโลเมตร หรือมากกว่า โครงการที่เกี่ยวกับการใช้พื้นที่เพือ่ การชลประทาน การป่าไม้ และเกษตรกรรม โครงการสร้างแหล่งกักเก็บน้า โครงการที่สามารถกักเก็บน้าได้เท่ากับ 100,000 ลูกบาศก์เมตร หรือ มากกว่า โครงการสร้างชลประทาน ท่อส่งน้า และท่อระบายน้า สาหรับโครงการที่ใช้พื้นที่เท่ากับ 100 เฮคตาร์ หรือมากกว่า สาหรับเกษตรกรรม ป่าไม้ และการประมง โครงการก่อสร้างที่มีการรุกล้าพื้นที่ทะเล ใช้พื้นที่ชายฝั่ง 1,000 เมตรหรือยาวกว่า หรือ มีการลุกล้าพื้นที่ทาง ทะเลเท่ากับ 5 เฮคตาร์ หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างฝาย หรือเขื่อนในเเม่น้าหรือทะเล สาหรับโครงการที่มีความยาวเขื่อนหรือฝายเท่ากับ 1,000 เมตร หรือ มากกว่า โครงการที่มีการปรับเปลี่ยนการใช้พื้นทีป่ ่าไม้หรือพื้นที่ สาหรับโครงการที่ใช้ ปลูกข้าวน้อยกว่าปีละสองฤดูเก็บเกีย่ ว พื้นที่อนุรักษ์ปา่ ลุ่มน้าเท่ากับ 5 เฮคตาร์ หรือมากกว่า พื้นที่ป่าไม้ธรรมชาติเท่ากับ 10 เฮคตาร์ หรือมากกว่า พื้นที่ป่าไม้ประเภทอื่นๆเท่ากับ 50 เฮคตาร์ และพื้นที่น้อยกว่าปีละสองฤดูเก็บเกี่ยว เท่ากับ 3 เฮคตาร์ หรือ มากกว่า โครงการที่จะปลูกป่าไม้หรือใช้ประโยชน์จากป่าไม้ สาหรับโครงการที่ใช้พื้นที่ป่าไม้เท่ากับ 1000 เฮคตาร์ หรือมากกว่า สาหรับโครงการที่ใช้ประโยชน์จากป่าไม้ในพื้นที่ป่าปลูกเท่ากับ 200 เฮคตาร์ หรือมากกว่า จากพื้นที่ปา่ ไม้ธรรมชาติเท่ากับ 50 เฮคตาร์ หรือมากกว่า จากพื้นที่ปา่ อนุรักษ์หรืออุทยานเท่ากับ 10 เฮคตาร์ หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างเขตอุตสาหกรรมแหล่งเพาะปลูก (ผัก สาหรับโครงการที่ใช้พื้นที่เท่ากับ 50 เฮคตาร์ หรือมากกว่า ผลไม้ ดอกไม้) รวมทั้งโครงการปลูกใหม่ โครงการที่เกี่ยวกับการสารวจแร่ ใช้ประโยชน์จากแร่ และกระบวนการทาแร่ โครงการที่นาแร่ธาตุมาใช้ประโยชน์ในการถมดิน สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตวัตถุดบิ เท่ากับ 100,000 ลูกบาศก์ หรือมากกว่า บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
200
49 50 51
52
โครงการทาเหมืองที่ทาลายพื้นทรายหรือท้องน้าในแม่น้า เพื่อให้ได้มาซึ่งแร่ เพื่อใช้ในการถมดินและก่อสร้าง โครงการทาเหมืองแร่เเข็ง (โดยที่ไม่ใช่วสั ดุอันตราย สารเคมี หรือวัตถุระเบิด) โครงการทาเหมืองแร่หายากหรือที่มีกัมมันตภาพรังสี โครงการทาเหมืองแร่แข็งที่มีการใช้วัสดุอันตราย สารเคมี หรือวัตถุระเบิด โครงการที่เกี่ยวข้องกับการแปรรูป หรือการกรองหาแร่ เหล็กเฟอร์รัส แร่เหล็กที่มีกัมมันตภาพรังสี แร่เหล็กหา ยาก โครงการแปรรูปแร่ชนิดแข็งโดยไม่ใช่วัตถุดิบอันตราย หรือ สารเคมี
53
โครงการการใช้ทรัพยากรน้าในกระบวนการผลิต ธุรกิจ บริการ หรือในชีวิตประจาวัน
54
โครงการนาน้าแร่และน้าแร่ร้อนมาใช้ประโยชน์
55
โครงการคัดแยกแร่หายาก และ แร่ธาตุที่มี กัมมันตภาพรังสี
56 57
58 59 60
61 62 63
64
สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตวัตถุแรกเริ่มเท่ากับ 50,000 ลูกบาศก์เมตร หรือมากกว่า สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตวัตถุแรกเริ่มเท่ากับ 50,000 ลูกบาศก์ หรือมากกว่า ทุกขนาดโครงการ
สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตผลิตภัณฑ์เท่ากับ 50,000 ลูกบาศก์ เมตร หรือมากกว่า สาหรับโครงการที่มีการปล่อยของเสียจาพวกดินหรือหินจากการคัด แยกเท่ากับ 500,000 ลูกบาศก์เมตร สาหรับโครงการที่มีปริมาณการใช้น้าใต้ดินเท่ากับ 5000 ลูกบาศก์ เมตรต่อวัน ปริมาณการใช้น้าจากแหล่งผิวน้าเท่ากับ 50,000 ลูกบาศก์เมตร สาหรับโครงการที่มีปริมาณการใช้น้าแร่เท่ากับ 120 ลูกบาศก์เมตร หรือมากกว่า ในการบรรจุลงขวด สาหรับโครงการที่ใช้น้าแร่ด้วยเป้าหมายอื่นที่มีปริมาณการใช้น้าแร่ เท่ากับ 500 ลูกบาศก์เมตร หรือมากกว่า โครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือมากกว่า
โครงการน้ามันและก๊าซ โครงการนาน้ามันและก๊าซมาใช้ ทุกขนาดโครงการ โครงการกลั่นน้ามัน เช่น โรงปิโตรเคมี ท่อส่งน้ามันและ ทุกขนาดโครงการ ก๊าซ และศูนย์ขนส่งน้ามันและก๊าซ (ยกเว้นโครงการที่ เกี่ยวข้องกับการเติมก๊าซแอลพีจี หรือน้ามันหล่อลื่น) โครงการก่อสร้างสถานีจา่ ยน้ามัน สาหรับสถานีที่มีความจุเท่ากับ 200 ลูกบาศก์ หรือมากกว่า โครงการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะ โครงการก่อสร้างโรงจัดการขยะแบบรวมศูนย์ (รีไซเคิล ทุกขนาดโครงการ ฝังกลบ ทาลาย เป็นต้น) โครงการก่อสร้างระบบบาบัดน้าเสียแบบรวมศูนย์ ทุกขนาดโครงการสาหรับน้าเสียจากภาคอุตสาหกรรม สาหรับโครงการบาบัดน้าเสียจากชีวิตประจาวันที่มีความสามารถรับ ปริมาณน้าได้ 500 ลูกบาศก์เมตร หรือมากกว่า โครงการจัดการเศษขยะเบือ้ งต้น (รวมถึงเศษขยะนาเข้า สาหรับโครงการที่ความสามารถในรับปริมาณขยะเท่ากับ 3,000 ตัน จากต่างประเทศ) หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงรื้อถอนและทาความสะอาดเรือ ทุกขนาดโครงการ โครงการที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมและโลหกรรม โครงการก่อสร้างโรงโลหกรรม ทุกขนาดโครงการสาหรับโครงการที่ใช้วตั ถุดิบจากเศษโลหะ สาหรับโครงการที่ใช้วัตถุดิบประเภทอื่นๆที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงรีดเหล็ก ทุกขนาดโครงการสาหรับโครงการที่ใช้วตั ถุดิบจากเศษโลหะ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
201
สาหรับโครงการที่วัตถุดิบอื่นๆ จะต้องมีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 2,000 ตัน หรือมากกว่า สาหรับโครงการที่ถูกออกแบบมาเพือ่ รองรับเรือขนาด 1,000 DWT หรือมากกว่า โครงการผลิตตู้คอนเทนเนอร์และรถพ่วงที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 500 หน่วย หรือมากกว่า โครงการซ่อมแซมตู้คอนเทนเนอร์และรถพ่วงที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 2,500 หน่วย โครงการที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 100 คัน หรือมากกว่า
65
โครงการก่อสร้างอู่ซ่อมเรือ
66
โครงการก่อสร้างโรงผลิตหรือซ่อมแซมตู้คอนเทนเนอร์ และรถพ่วง
67
โครงการก่อสร้างโรงทา ซ่อมแซม ประกอบ หัวรถจักร และส่วนต่างๆ โครงการก่อสร้างโรงผลิตและประกอบ จักรยานยนต์ สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตจักรยานยนต์ต่อปีเท่ากับ 10,000 คัน และรถยนต์ และกาลังผลิตรถยนต์ต่อปีเท่ากับ 500 คัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงผลิตเครื่องจักรและอุปกรณ์ สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือมากกว่า เครื่องจักร โครงการก่อสร้างโรงชุบ เคลือบ ขัดเหล็ก สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 500 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงหลอมอลูมิเนียม สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 2,000 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงผลิตซ่อมแซมอาวุธ เครื่องมือ ทุกขนาดโครงการ เทคนิคต่าง โครงการที่เกี่ยวข้องกับการแปรรูปไม้ การผลิตแก้ว เซรามิค และเครื่องลายคราม โครงการก่อสร้างโรงงานแปรรูปไม้ สาหรับโครงการที่มีกาลังแปรรูปไม้ต่อปีเท่ากับ 3000 ลูกบาศก์เมตร หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตชิพ สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 50,000 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานไม้อัด สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 100,000 ตารางเมตร หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานแปรรูปไม้เพื่อใช้ในการก่อสร้าง สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 10,000 หน่วย หรืออุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงศิลปหัตถกรรม สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000,000 หน่วย ผลิตภัณฑ์ หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงผลิตผลิตภัณฑ์แก้ว เซรามิค เครื่อง สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1000 ตัน หรือมากกว่า ลายคราม โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตของติดห้องน้าเซรามิค สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 10,000 หน่วย ผลิตภัณฑ์ หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงผลิตหลอดไฟและกระติกน้าร้อน สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000,000 หน่วย สุญญากาศ ผลิตภัณฑ์ หรือมากกว่า โครงการแปรรูปอาหาร โครงการก่อสร้างโรงงานแปรรูปอาหาร สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 500 ตัน หรือมากกว่า โครงการโรงฆ่าสัตว์ขนาดใหญ่ สาหรับโครงการที่สามารถรองรับสัตว์ปกี ได้เท่ากับ 5,000 ตัว และ รองรับวัวเท่ากับ 500 ตัว โครงการก่อสร้างโรงแปรรูปอาหารทะเล สาหรับโครงกาารที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 100 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานน้าตาล สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 10,000 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงหมักแอลกอฮอล์ และเหล้ายา สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 50,000 ลิตร หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงหมักเบียร์และเครื่องดื่มจากการ สาหรับโครงการที่มีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 200,000 ลิตร หรือ หมักอื่นๆ มากกว่า
68 69 70 71 72
73 74 75 76 77 78 79 80
81 82 83 84 85 86
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
202
87 88 89 90 91 92
93 94 95 96 97 98 99 100
101 102 103 104 105 106 107
โครงการก่อสร้างโรงผลิตเครื่องปรุงอาหาร
สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 5,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงผลิตและแปรรูปนม สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 10,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงผลิตและแปรรูปน้ามันประกอบ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 10,000 ตัน หรือ อาหาร มากกว่า โครงการก่อสร้างเครื่องทาขนมหรือลูกกวาด สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 5,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงทาน้าแข็ง สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อวันเท่ากับ 300 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงกลั่นน้าและบรรจุนากลั ้ ่นใส่ขวด สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 2,000 ลูกบาศก์เมตร หรือมากกว่า โครงการที่เกี่ยวข้องกับผลผลิตทางการเกษตรและการแปรรูปผลผลิต โครงการสร้างโรงผลิตบุหรี่ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 600,000 มวน หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานแปรรูปต้นยาสูบ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานแปรรูปผลิตภัฑณ์เมล็ดธัญญพืช สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 10,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการสร้างโรงสีข้าว สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 20,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงผลิตและแปรรูปแป้ง สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 500 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานแปรรูปเม็ดมะม่วงหิมพานต์ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานแปรรูปใบชาและโกโก้ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานแปรรูปกาแฟ สาหรับโรงงานที่ใช้วิธีเปียก (wet method) ในกระบวนการผลิต จะต้องมีกาลังการผลิตต่อเดือนเท่ากับ 500 ตัน หรือมากกว่า สาหรับโรงงานที่ใช้วิธีแห้ง (dry method) ในกระบวนการผลิต จะต้องมีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 10,000 ตัน หรือมากกว่า สาหรับโรงงานที่แปรรูปกาแฟผงหรือกาแฟสาเร็จรูป จะต้องมีกาลัง การผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือมากกว่า โครงการที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงสัตว์และการแปรรูปอาหารสัตว์ โครงการสร้างโรงงานแปรรูปอาหารสัตว์ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตปลาป่น สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 500 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงเพาะเลี้ยงสัตว์น้าแบบเข้มข้นและกึ่ง สาหรับโครงการที่ใช้พื้นที่ทางน้าเท่ากับ 10 เฮคตาร์ หรือมากกว่า เข้มข้น โครงการก่อสร้างโรงเพาะเลี้ยงสัตว์น้าขนาดใหญ่ สาหรับโครงการที่ใช้พื้นที่ทางน้าเท่ากับ 50 เฮคตาร์ หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงเพาะเลี้ยงสัตว์น้าบนพื้นทราย สาหรับโครงการที่ใช้พื้นที่เท่ากับ 10 เฮคตาร์ หรือมากกว่า โครงการสร้างโรงปศุสัตว์ขนาดใหญ่ สาหรับโครงการที่มีการเลี้ยงฝูงวัวควายจานวน 500 ตัวหรือฝูงสัตว์ ประเภทอื่นๆ 1,000 ตัว หรือมากกว่า โครงการที่ก่อสร้างโรงงานเลี้ยงสัตว์ปีก สาหรับโครงการที่เลี้ยงฝูงนกกระจอกเทศ 20,000 ตัว หรือ ฝูงนก กระทา 100,000 ตัว หรือมากกว่า บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
203
108 109
110 111 112 113 114 115
116
117 118 119 120 121 122 123 124 125
126 127
128 129
โครงการก่อสร้างสถานเลี้ยงและดูแลสัตว์ป่า โครงการก่อสร้างโรงเพาะพันธุ์สัตว์เลื้อยคลาน
ทุกขนาดโครงการ สาหรับโครงการที่มีจระเข้ งูหลาม ตะกวด จานวน 1,000 ตัว หรือ งู หรือ สัตวเลื้อยคลานประเภทอื่นๆ จานวน 5,000 ตัว หรือมากกว่า โครงการที่เกี่ยวกับการผลิตปุย๋ และยากาจัดศัตรูพืช โครงการก่อสร้างโรงผลิตปุ๋ย สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการสร้างโรงเก็บยากาจัดศัตรูพืช สาหรับโครงการที่มีความสามารถในการเก็บยาในจานวน 5 ตัน หรือ มากกว่า โครงการสร้างโรงเก็บปุ๋ย สาหรับโครงการที่มีความสามารถในการเก็บปุ๋ยในจานวน 100 ตัน หรือมากกว่า โครงการสร้างโรงงานยากาจัดศัตรูพืช ทุกขนาดโครงการ โครงการก่อสร้างโรงงานบรรจุภัณฑ์ยากาจัดศัตรูพืช สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 300 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตปุ๋ยออร์แกนิคหรือปุ๋ย สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือ ชีวภาพ มากกว่า โครงการที่เกี่ยวข้องกับยา เครื่องสาอาง ผลิตภัณฑ์เคมีอื่นๆ โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ยารักษาคนและ ทุกขนาดโครงการสาหรับโครงการผลิตวัคซีน สัตว์ สาหรับโครงการที่ผลิตผลิตภัณฑ์ยาสาหรับคนหรือสัตว์ประเภทอื่นๆ จะต้องมีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 50 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตเครื่อสาอาง สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 50 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตพลาสติก ผลิตภัณฑ์ที่มี สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 100 ตัน หรือมากกว่า พลาสติกเป็นส่วนประกอบหลัก สีระบายต่าง โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างผลิตน้ายาทาความสะอาดและสารเติม สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือ แต่ง มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตสารระเบิด วัตถุระเบิดและ ทุกขนาดโครงการ ถังดับเพลิง และวัตถุไวไฟ โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตระเบิดที่ใช้ในอุตสาหกรรม ทุกขนาดโครงการ และโกดังเก็บระเบิด โครงการก่อสร้างอาณาเขตผลิตเกลือจากน้าทะเล สาหรับโครงการที่ใช้พื้นที่เท่ากับ 100 เฮคตาร์ หรือมากกว่า โครงการที่เกี่ยวข้องกับการผลิตกระดาษและเครื่องเขียน โครงการก่อสร้างโรงผลิตกระดาษและเนื้อไม้กระดาษ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 300 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงผลิตกระดาษ สาหรับโครงการที่ผลิตกระดาษจากเนื้อไม้จะต้องมีกาลังการผลิตต่อปี เท่ากับ 5000 ตัน หรือมากกว่า ทุกขนาดโครงการสาหรับโครงการที่ผลิตกระดาษจากขยะ โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตเครื่องเขียน สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตกระดาษกล่องบรรจุภัณฑ์ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 5,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการที่เกี่ยวข้องกับสิ่งทอ การย้อมสี และเสื้อผ้า โครงการก่อสร้างโรงย้อมและทอผ้า ทุกขนาดโครงการ โครงการก่อสร้างโรงงานทอผ้าที่ไม่มีการย้อม สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตใยผ้าต่อปีเท่ากับ 10 ล้านเมตร หรือ มากกว่า บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
204
130
131 132
133 134 135 136 137
138
139 140 141 142 143 144 145
146
โครงการผลิตเสื้อผ้า
สาหรับโครงการที่มีการซักผ้าและฟอกขาวในกระบวนการผลิตจะต้อง มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 50,000 หน่วยผลิตภัณฑ์ หรือมากกว่า สาหรับโครงการที่ไม่มีการซักผ้าและฟอกขาวในกระบวนการ จะต้อง มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 2 ล้านหน่วยผลิตภัณฑ์ หรือมากกว่า โครงการซักผ้าขนาดอุตสาหกรรม สาหรับโครงการที่มีกาลังการซักต่อปีเท่ากับ 50,000 หน่วยผลิตภัณฑ์ หรือมากกว่า โครงการผลิตใยผ้าไหมและใยผ้าสังเคราะห์ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการประเภทอื่น โครงการก่อสร้างสถาบันวิจัยและการพัฒนา หรือผลิต ทุกขนาดโครงการ ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีระดับสูง โครงการผลิตยางและน้ายาง สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 4,000 ตัน หรือ มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 100,000 ตัน หรือ และเครื่องมือทางการแพทย์จากพลาสติกและยาง มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตรองเท้า สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 1 ล้านหน่วยผลิตภัณฑ์ หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตยางล้อรถและท่อสายยาง สาหรับโครงการที่ผลิตยางล้อและสายยางให้กับรถยนต์และเเทรก ขนาดต่างๆ เตอร์ จะต้องมีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 50,000 หน่วยผลิตภัณฑ์ หรือมากกว่า สาหรับโครงการที่ผลิตยางล้อและสายยางให้กับรถจักรยานและ รถจักรยานยนต์ จะต้องมีกาลังผลิตต่อปีเท่ากับ 100,000 หน่วย ผลิตภัณฑ์ หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตหมึกพิมพ์ และวัตถุดิบ สาหรับโครงการผลิตหมึกพิมพ์ที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 500 ตัน สาหรับการพิมพ์ประเภทอื่นๆ หรือมากกว่า สาหรับโครงการผลิตวัตถุดิบสาหรับการพิมพ์ประเภทอื่นๆที่มกี าลัง การผลิตต่อปีเท่ากับ 1,000 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงผลิตแบตเตอรี่และถ่านไฟฉาย สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 50,000 กิโลวัตต์ชั่วโมง หรือ 100 ตัน หรือมากกว่า โครงการก่อสร้างโรงฟอกหนัง ทุกขนาดโครงการ โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สาหรับโครงการที่มีกาลังการผลิตต่อปีเท่ากับ 3,000 ตัน หรือ และก๊าซเหลวที่ใช้ในอุตสาหกรรมประเภทอื่น มากกว่า โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตเครื่องดับเพลิงหรือ ทุกขนาดโครงการ ผลิตภัณฑ์สารดับเพลิงอื่น โครงการที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้านถิน่ ฐานหรือ สาหรับโครงการที่มีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานจานวน 300 ครัวเรือน สถานที่ หรือมากกว่า โครงการปรับปรุงพัฒนาหรือขยายโครงการต่างๆ ทุกโครงการที่เข้าข่ายต้องจัดทาการประเมินผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อมที่กาหนดไว้ตั้งแต่โครงการข้อที่ 1 ถึง 143 ในตารางนี้ โครงการที่มีการดาเนินงานเข้าข่ายตามข้อกาหนดดั่งใน โครงการตั้งแต่ข้อ 1 ถึง 143 ในตารางนี้ ไม่ว่าจะเป็น กิจกรรมเดียว หรือหลายกิจกรรมที่เข้าข่ายก็ตาม สาหรับโครงการอื่นที่มีความเสีย่ งต่อการสร้างมลพิษทาง สิ่งแวดล้อมหรือทาลายสิ่งแวดล้อมทีอ่ ยูน่ อกเหนือจากใน บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
205
โครงการที่กาหนดอยู่ในตารางนี้ ทางกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะเป็นผู้พิจารณา และตัดสินใจว่าจาเป็นต้องจัดทาการประเมินผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อมหรือไม่
ญี่ปุ่น ประเภทโครงการหลักตามที่กาหนดในกฎหมาย EIA แสดงเป็นแผนภาพได้ดังนี้
ประเภท 1
ประเภท 2
อื่นๆ
ถนน เขื่อน สนามบิน
พิจารณา 13 ประเภทโครงการ ไม่จาเป็นต้องทา EIA
จาเป็นต้องทา EIA ในจานวนโครงการเหล่านี้ 1. 2. 3. 4.
โครงการต้องได้รับการอนุมตั ิหรือได้รับใบอนุญาตจากรัฐบาลกลาง โครงการได้รบั เงินสนับสนุนหรือการอนุมัติโดยรัฐบาลกลาง โครงการที่จดั ทาโดยหน่วยงานเฉพาะ โครงการที่จดั ทาโดยรัฐบาลกลาง
จาเป็นต้องทา EIA
โครงการที่จาเป็นต้องทา EIA ที่มา: ดัดแปลงจาก (Ministry of the Environment, 2012)
การแก้ไข EIA Law ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2012 ได้มีการกาหนดให้โครงการที่เกี่ยวข้องกับ โรงไฟฟ้าพลังงานลมจาเป็นต้องมีการจัดทา EIA หลังจากที่เดิมไม่ถูกระบุให้เป็นหนึ่งในโครงการที่ต้องมีการศึกษาผลกระทบ สิ่งแวดล้อม เนื่องจากกังหันลมผลิตไฟฟ้าสามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ผ่านเสียงรบกวนที่มีคลื่นความถี่ต่า และ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
206
ต่อสิ่งแวดล้อม เช่นอาจเป็นอันตรายต่อนกได้ ถึงแม้ว่าการใช้พลังงานลมจะช่วยผลักดันให้ประเทศญี่ปุ่นก้าวไปสู่การเป็นสังคม คาร์บอนต่าได้ก็ตาม
ประเภทและรายละเอียดของโครงการที่จาเป็นต้องจัดทา EIA ในประเทศญี่ปุ่น ประเภท
โครงการประเภท 1
โครงการประเภท 2
ต้องจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม
ต้องผ่านการพิจารณาว่าการทารายงานวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีความจาเป็นหรือไม่
1. ถนน ทางด่วน (National Expressway)
ทุกขนาด ความกว้างตั้งแต่ 4 เลน ขึ้นไป
ทางด่วนในเมือง (Metropolitan Expressway)
ความกว้างตั้งแต่ 4 เลนขึ้นไป และมีความ ยาวมากกว่า 10 กิโลเมตร
ความกว้างตั้งแต่ 4 เลนขึ้นไป และมีความยาวระหว่าง 7.5 - 10 กิโลเมตร
ทางหลวง ถนนขนาดใหญ่ในผืนป่า
ความกว้างตั้งแต่ 2 เลนขึ้นไป และมีความ ความกว้างตั้งแต่ 2 เลนขึ้นไป และมีความยาวระหว่าง 15 ยาวมากกว่า 20 กิโลเมตร 20 กิโลเมตร
2. แม่น้า เขื่อน หรือฝาย โครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการผัน น้า
พื้นที่อ่างเก็บน้ามากกว่า 100 เฮกตาร์
มีพื้นที่อ่างเก็บน้าระหว่าง 75 - 100 เฮกตาร์
พื้นที่รองรับการผันน้ามากกว่า 100 เฮกตาร์
พื้นที่รองรับการผันน้าระหว่าง 75 - 100 เฮกตาร์
3. ทางรถไฟ ทางรถไฟชินคันเซน (รถไฟความเร็ว สูง) ทางรถไฟ 4. สนามบิน 5. โรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้าไฮดรอลิค โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน โรงไฟฟ้าพลังความร้อนจากพื้นพิภพ โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์
ทุกขนาด
ความยาวมากกว่า 10 กิโลเมตร
ความยาวระหว่าง 7.5 - 10 กิโลเมตร
ความยาวของลานบินมากกว่า 2,500 เมตร
ความยาวของลานบินระหว่าง 1,875 - 2,500 เมตร
กาลังการผลิตมากกว่า 30,000 กิโลวัตต์
กาลังการผลิตระหว่าง 22,500 - 30,000 กิโลวัตต์
กาลังการผลิตมากกว่า 150,000 เกิโลวัตต์
กาลังการผลิตระหว่าง 112,500 - 150,000 กิโลวัตต์
กาลังการผลิตมากกว่า 10,000 กิโลวัตต์
กาลังการผลิตระหว่าง 7,500 - 10,000 กิโลวัตต์
ทุกขนาด กาลังการผลิตมากกว่า 10,000 กิโลวัตต์ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
207
ประเภท
โครงการประเภท 1
โครงการประเภท 2
ต้องจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม
ต้องผ่านการพิจารณาว่าการทารายงานวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมมีความจาเป็นหรือไม่
6. พื้นที่ทิ้งขยะ
ขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 30 เฮกตาร์ขึ้นไป
ขนาดพื้นที่ระหว่าง 25 - 30 เฮกตาร์
7. การถมที่ดินในทะเล แม่น้า หรือ ทะเลสาบ
ขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 50 เฮกตาร์ขึ้นไป
ขนาดพื้นที่ระหว่าง 40 - 50 เฮกตาร์
8. โครงการการจัดสรรที่ดิน (Land readjustment project)
ขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 100 เฮกตาร์ขึ้นไป
ขนาดพื้นที่ระหว่าง 75 - 100 เฮกตาร์
9. โครงการพัฒนาพื้นที่อยู่อาศัยแห่ง ใหม่ (New Residential area development project)
ขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 100 เฮกตาร์ขึ้นไป
ขนาดพื้นที่ระหว่าง 75 - 100 เฮกตาร์
10. โครงการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม
ขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 100 เฮกตาร์ขึ้นไป
ขนาดพื้นที่ระหว่าง 75 - 100 เฮกตาร์
11. โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ในเมืองแห่งใหม่ (New town infrastructure development project)
ขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 100 เฮกตาร์ขึ้นไป
ขนาดพื้นที่ระหว่าง 75 - 100 เฮกตาร์
12. โครงการพัฒนาศูนย์กระจาย สินค้า
ขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 100 เฮกตาร์ขึ้นไป
ขนาดพื้นที่ระหว่าง 75 - 100 เฮกตาร์
13. โครงการพัฒนาที่ดินเป็นที่อยู่ อาศัยหรือนิคมอุตสาหกรรม โดย องค์กรเฉพาะ (*1)
ขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 100 เฮกตาร์ขึ้นไป
ขนาดพื้นที่ระหว่าง 75 - 100 เฮกตาร์
โรงไฟฟ้าพลังงานลม
โครงการท่าเรือและท่าจอดเรือ
ที่มีการถมทะเลเป็นพื้นที่ตั้งแต่ 300 เฮกตาร์ขึ้นไป
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
208
ภาคผนวก ก ครั้งที่ 1 คชก.พิจารณารายงาน EIA ของโรงไฟฟ้าหนองแซงครั้งแรก ในการประชุมคณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้านโครงการพลังงาน ครั้งที่ 17/2551 เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2551 แล้ว มีมติไม่ เห็นชอบรายงาน EIA โครงการโรงไฟฟ้าหนองแซงและให้จัดทารายงาน EIA ใหม่ทั้งฉบับ โดยเพิ่มเติมข้อมูลใน 11 ประเด็น ดังต่อไปนี้ 1. บทนาและความเป็นมา o ปรับปรุงความเป็นมาของโครงการ เหตุผล ความจาเป็นที่ต้องมีโครงการ นโยบายของรัฐ มติหรือ ความเห็นของหน่วยงานในระดับนโยบาย ที่เกี่ยวข้อง o นาเสนอผลประโยชน์ที่จะได้รบั ในระดับท้องถิ่นและภูมิภาค โดยเสนอผลประโยชน์ตอบแทน ทั้งในรูป ของพลังงานไฟฟ้าและผลตอบแทนในรูปอื่น เช่น การจ้างงาน ภาษี การกระจายรายได้ต่อท้องถิ่น และการลดพลังงานการนาเข้า เป็นต้น o ระบุกิจกรรมในการประสานงานกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งในประเด็นการขออนุญาต การขอ อนุมัติ การขอสัมปทาน โดยระบุอานาจหน้าที่ของหน่วยงานดังกล่าวให้ชัดเจน พร้อมทั้งรายงาน สถานภาพและความคืบหน้าในการประสานงานดังกล่าว 2. รายละเอียดโครงการ o ปรับปรุงแผนที่ที่ตั้งโครงการ โดยนาเสนอรายละเอียดที่ครอบคลุมที่ตั้งโครงการและพื้นที่โดยรอบ ระบุตาแหน่งของชุมชนบริเวณที่ไวต่อการได้รับผลกระทบ (Sensitive Area) ระบุตาแหน่งของ อาคารและสิ่ งปลู ก สร้ า งโดยรอบพื้ น ที่ โ ครงการให้ ชั ด เจนในบริ เ วณที่ ติ ด กั บ โครงการในรั ศ มี 5 กิโลเมตรและรัศมี 10 กิโลเมตร พร้อมทั้งเปรียบเทียบในกรณีไม่มีโครงการกับกรณีมีโครงการ ให้ พิจารณานาเสนอภาพจาลองโครงการที่จะมาอยู่บนพื้นที่ตั้งโครงการในรูปแบบของภาพสามมิติวาง บนสภาพพื้นที่จริง o ตรวจสอบความสอดคล้องการใช้ประโยชน์ที่ดินของพื้นที่ตั้งโครงการกับการตั้งโรงไฟฟ้า o ระบุตาแหน่งของจุดสูบน้า สถานีสูบน้า และจุดทิ้งน้า รายละเอียดแนวเส้นทางการวางวัสดุ เทคนิค และรูปแบบการก่อสร้าง ท่อส่งน้าดิบและท่อทิ้งน้าของโครงการ ขั้นตอนการขออนุญาต สภาพพื้นที่ ในปัจจุบัน รวมทั้งประเมินผลกระทบจากการวางท่อน้าดังกล่าวให้ชัดเจน o ปรับปรุงการนาเสนอแสดงรายละเอียดรูปแบบการเดินเครื่องที่กาลังการผลิตในกรณีต่างๆที่นาเสนอ ในรายงานฯ ว่ากาลังการผลิต 60% และ 100% หมายถึงช่วงเวลาใดและกรณีใด ตามที่ได้วางแผนไว้ ทุกกรณีที่สามารถเกิดขึ้นได้ ซึ่งรูปแบบการเดินเครื่องในกรณีต่างๆรวมทั้งช่วงการเริ่มเดินระบบ (Start up) ช่วงการหยุดเดินเครื่อง (Shut down) มีความถี่มากน้อยเพียงใด ซึ่งมีผลต่อค่าอัต ราการ ระบายมลพิษทางอากาศจากปล่องของโครงการ และโครงการจะมีวิธีจัดการและควบคุมมลพิษทาง อากาศจากปล่อ งในกรณีต่า งๆอย่างไร พร้ อมทั้ งพิสูจ น์ให้เ ห็นว่ าค่าอั ตราการระบายจะอยู่ ในค่ า บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
209
ควบคุมที่ระบุไว้ในรายงานฯและค่ามาตรฐานฯทั้งในรูปค่าความเข้มข้นและค่าอัตราการระบายได้ใน ทุกกรณี o แสดงรายละเอียดการทางานของระบบการควบคุมก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจนแบบ Dry Low Nox burner ที่โครงการเลือกใช้และเปรียบเทียบประสิทธิภาพ รูปแบบการดาเนินงาน ข้อดี ข้อด้อยกับ ระบบควบคุมก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจนแบบอื่นๆ o ปรับปรุงการนาเสนอ ขนาดกาลังการผลิตที่เสนอในรายงานฯกับที่ระบุในสมดุลมวลความร้อนให้ สอดคล้องกัน พิจารณาทบทวนและปรับปรุงการนาเสนอข้อมูลด้านเทคนิคของอุปกรณ์การผลิตและ อุปกรณ์เสริมการผลิต การอธิบายรายละเอียดกระบวนการผลิต การทางานของเครื่องจักร นาเสนอ สมดุลมวลน้า (Water Balance Chart) และสมดุลมวลความร้อน (Heat Balance Chart) ในการ ดาเนินการที่กาลังการผลิตสูงสุด (Maximum capacity) กาลังการผลิตพื้นฐาน (Base load) กาลัง การผลิตสุทธิ (Net capacity) พร้อมคาอธิบายสอดคล้องกันและมีความชัดเจน o ระบุชนิด ปริมาณ แหล่งที่มา คุณลักษณะ การควบคุมการรั่วไหล การขนส่ง การขนถ่าย การกักเก็บ ความเป็นพิษของสารเคมีที่ใช้ พร้อมมาตรการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดหา ขนส่ง การจัดเก็บ และ การควบคุมต่างๆ o แสดงรายละเอียดของขนาดความจุ ภาพตัดขวางของบ่อเก็บน้าดิบ บ่อพักน้าทิ้งและบ่อพักน้าต่างๆ ภายในโครงการ แสดงขนาดของบ่ อ พัก น้าและวั สดุ ที่ใ ช้ ในการปู พื้ น บ่อ พร้ อมทั้งประเมิน ความ เพียงพอการใช้งานของบ่อ o แสดงรายละเอียดและแนวท่อของระบบขนส่งเชื้อเพลิง (ก๊าซธรรมชาติ) ของตาแหน่งท่อ การวาง ระบบท่อ ขนส่งก๊า ซธรรมชาติแ ละท่อ น้ ามั นภายในพื้น ที่โ ครงการและอุป กรณ์ ควบคุ ม พร้ อมทั้ ง วิเคราะห์ ความพอเพีย งของปริ มาณก๊าซธรรมชาติ จากท่อสายประธาน วังน้ อย-แก่งคอย หากมี โครงการเกิดขึ้น o แสดงรายละเอียดระบบระบายน้าและการจัดการน้าในส่วนต่างๆภายในโครงการประกอบด้วย การ จัดการน้าฝน และน้าทิ้งจากส่วนต่างๆ ทิศทางการไหล จุดระบายน้าฝนออกนอกโครงการ 3. คุณภาพอากาศ o ปรับปรุงการนาเสนอสภาพคุณภาพอากาศในบรรยากาศของพื้นที่ตั้งโครงการและพื้นที่โดยรอบ โครงการ ให้พิจารณานาผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศของกรมควบคุมมลพิษหรือ หน่วยงานอื่นๆในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ตั้งโครงการ ที่มีผลการตรวจวัดแบบต่อเนื่องย้อนหลังจนถึง ปัจจุบันและมีจานวนข้อมูลให้มากที่สุด พร้อมทั้งนาเสนอผลการตรวจวัดในรูปของกราฟ เพื่อให้ ทราบถึงคุณภาพอากาศในบรรยากาศในบริเวณพื้นที่ตั้งโครงการได้อย่างชัดเจน o ประเมิ น ผลกระทบจากการระบายมลพิ ษ ทางอากาศจากปล่ องที่ จ ะมี ผ ลต่ อ คุณ ภาพน้ าฝนและ ปรับปรุงค่าอัตราการระบายก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ที่ระบายจากปล่องให้อยู่ในระดับต่าที่ ไม่เกิน 60 ส่วนในล้านส่วน บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
210
o แสดงที่มาและคาอธิบายของอัตราการระบายมลพิษทางอากาศจากโครงการฯ ที่เสนอในรายงานฯ พร้อมทั้งให้แสดงวิธีการคานวณ ที่มาหรือเอกสารอ้างอิงของตัวเลขที่นามาใช้ในการแสดงค่าความ เข้มข้นและอัตราการระบายมลพิษทางอากาศจากปล่องให้ครอบคลุมฝุ่นละอองรวมก๊าซซัลเฟอร์ได ออกไซด์และก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน พร้อมทั้งระบุค่าที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจริงและค่าควบคุมให้ ชัดเจน ทั้งในรูปของค่าความเข้มข้นและค่าอัตราการระบาย o เนื่องจากในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ตั้งโครงการเป็นที่ตั้งของพื้นที่อุตสาหกรรม เช่น นิคมอุตสาหกรรม เอส ไอ แอล เป็นต้น พิจารณาทบทวนการประเมินผลกระทบต่อคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ใน กรณีประเมินผลกระทบร่วมกับข้อมูลแหล่งกาเนิดอื่นในรัศมีไม่น้อยกว่า 5 กิโลเมตร และพิจารณานา ข้อมูลแหล่งกาเนิดมลพิษทางอากาศอื่นที่อยู่นอกเหนือจากรัศมี 5 กิโลเมตร แต่อยู่ในรัศมี 10 กิ โ ลเมตร และคาดว่ า มี อิ ท ธิ พ ลกั บ การประเมิ น ผลกระทบคุ ณ ภาพอากาศ น าเข้ า มาพิ จ ารณา ประเมิ น ผลกระทบร่ ว มด้ ว ย ในกรณี เ ป็ น พื้ น ที่ นิ ค มอุ ต สาหกรรมหรื อ พื้ น ที่ ที่ จั ด สรรเพื่ อ โรงงาน อุตสาหกรรมไว้แล้ว ให้พิจารณานาข้อมูลอัตราการระบายทั้งหมดในภาพรวมของพื้นที่ เพื่อมั่นใจได้ ว่าหากมีโครงการโรงไฟฟ้าเกิดขึ้นจะไม่กระทบต่อแผนการพัฒนาโครงการที่อาจเกิดในอนาคตที่จะ ตั้งอยู่ภายในเขตพื้นที่ดังกล่าว o ปรับปรุงการประเมินผลกระทบคุณภาพอากาศในบรรยากาศในช่วงดาเนินการให้ครอบคลุมประเด็น ดังนี้ ปรั บ ปรุ ง และเพิ่ ม เติ ม scenario ต่ า งๆที่ ใ ช้ ใ นการประเมิ น ตามลั ก ษณะรู ป แบบการ เดินเครื่องที่กาลังการผลิตในกรณีต่างๆและกรณีเลวร้ายที่สุด (Worst case) เพิ่มเติมการประเมินผลกระทบในกรณียังไม่มีโครงการโรงไฟฟ้า เปรียบเทียบกับกรณีมี โครงการโรงไฟฟ้า เพื่อทราบถึงระดับของผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีโครงการโรงไฟฟ้า ประเมินหาระดับของผลกระทบจากโครงการที่ใกล้เคียงกับการดาเนินการจริงในปัจจุบัน โดยใช้ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาและข้อมูลที่ใช้ในแบบจาลองให้เป็นปัจจุบันมากที่สุดและนา ข้อ มู ล อั ต ราการระบายมลพิ ษทางอากาศจากปล่ อ งในรั ศมี ที่ ค าดว่ า มี ผ ลกระทบ ทั้ งนี้ เนื่องจากข้อมู ลอุตุนิยมวิทยาที่ใช้เป็นข้อมู ลที่อยู่นอกพื้น ที่ศึกษา ให้พิจ ารณานาข้อมู ล อุตุนิยมวิทยามากกว่า 1 ปี และเป็นข้อมูลย้อนหลังถึงปัจจุบันให้มากที่สุด ปรับปรุงการแสดงผลเส้นความเข้มข้นเท่ากัน (Isopleth) ให้สามารถทราบรายละเอียดของ เส้น contour และทราบค่าความเข้มข้นในจุดต่างๆได้อย่างชัดเจน o จัดทาฐานข้อมูลอัตราการระบายของก๊าซเรือนกระจกในรูปของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ประกอบไว้ ในรายงานฯ 4. คุณภาพเสียง o ปรับปรุงและทบทวนข้อมูลเสียงจากแหล่งกาเนิดที่นามาใช้ในการประเมินผลกระทบทั้งในช่วงการ ก่อสร้าง การดาเนินการ และช่วงการซ่อมบารุงเครื่องจักร โดยนาเสนอที่มา เอกสารอ้างอิง หรือ ข้อมูลการตรวจวัดจริงเครื่องจักรที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน รวมทั้งแสดงรายละเอียดอุปกรณ์ควบคุม บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
211
เสียงทั้งหมดที่นาเสนอในรายงานฯ เพื่อลดระดับเสียงจากแหล่งกาเนิด เพื่อมั่นใจได้ว่าโครงการจะ สามารถควบคุมระดับเสียงจากแหล่งกาเนิดได้ตามที่ออกแบบไว้ (รายงานฯระบุไว้ที่ไม่เกิน 85 dB(A)) มีที่ ม าอย่ างไร และเสนอรายละเอี ย ดรู ป แบบการติ ดตั้ งเครื่ อ งจั ก รกั งกั นก๊ า ซ (Gas Turbine) เครื่องจักรกังหันไอน้า (Steam Turbine) และอุปกรณ์ต่างๆว่ามีโครงสร้างการป้องกันเสียงแบบใด o ปรับปรุงการประเมินผลกระทบต่อคุณภาพเสียงจากข้อมูลข้อ 4.1 ในบริเวณริมรั้วและบริเวณบ้าน ที่ อยู่อาศัย ชุมชน พื้นที่ที่ไวต่อการได้รับผลกระทบทางเสียง และเนื่องจากโครงการตั้งอยู่ในบริเวณ พื้นที่เกษตรกรรม ให้พิจารณาประเมินผลกระทบต่อฟาร์มไก่ ฟาร์มหมู การประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์ และกิจกรรมที่ไวต่อเสียงดัง o ทบทวนการประเมินการกาหนดมาตรการลดระดับเสียง โดยทบทวนประสิทธิภาพ เอกสารอ้างอิงของ อุปกรณ์ลดเสียงที่ระบุ คือ แผงกั้นเหล็กหรือสังกะสีความหนาอย่างน้อย 1.27 มิลลิเมตร ลดเสียงได้ 25 dB(A) และต้นไม้มีความสามารถดูดซับเสียงได้ประมาณ 10 dB(A) พร้อมทั้งให้ทบทวนว่าเป็นการ ลดเสียงดังที่แหล่งกาเนิดหรือพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ o ปรับปรุงการวิเคราะห์และวิจารณ์ผลจากการตรวจวัดและผลจากการประเมินคุณภาพเสียงในรูปของ ระดับเสียงรวม ระดับเสียงรบกวน และระดับเสียงกลางวัน -กลางคืน จากการก่อสร้างและดาเนิน โครงการ พร้อมทั้งประเมินมาตรการป้องกัน แก้ไขและลดผลกระทบที่นาเสนอ เพื่อให้มั่นใจได้ว่า สามารถลดระดับของผลกระทบเมื่อเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ 5. คุณภาพน้าผิวดิน o การจัดการน้าในโครงการ แสดงที่มาและยืนยันค่าควบคุมอุณหภูมิน้าทิ้งก่อนปล่อยลงสู่แหล่งรองรับน้าทิ้ง (รายงานฯ ระบุ 35 องศาเซลเซียส) พร้อมทั้งวิเคราะห์ระบบควบคุมอุณหภูมิน้าทิ้งทั้งหมด เพื่อให้ เชื่อมั่นได้ว่าโครงการฯสามารถควบคุมอุณหภูมิน้าทิ้งได้ตามค่าควบคุมที่ระบุไว้ในรายงานฯ ได้ตลอดระยะดาเนินโครงการ แสดงที่มาและยืนยันการควบคุมค่าการนาไฟฟ้า (conductivity) และดัชนีคุณภาพน้าที่ สาคัญต่อการเกษตรที่จะระบายออกจากโครงการเปรียบเทียบกับมาตรฐานการระบายน้า ลงทางน้าชลประทาน ในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน พร้อมนาตัวอย่างผลการตรวจวัด คุณภาพน้าจากโครงการที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน แสดงที่มาและยืนยันการควบคุมคุณลักษณะของน้าทิ้งทางเคมี การปนเปื้อนสารเคมีพร้อม ทั้งนาเสนอข้อมูลคุณภาพน้าท้งจากโครงการที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน เพื่อใช้เป็นข้อมูล อ้างอิงประกอบไว้ในรายงานฯ เสนอรายละเอียดการจัดการคลอรีนและค่าควบคุมการระบายให้ชัดเจน พิจารณาเทคโนโลยีหรือแนวทางที่สามารถลดปริมาณการใช้น้าของโครงการ การใช้น้าให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น และการนาน้ากลับมาใช้ใหม่ให้มากที่สุด พิจารณาทางเลือกของ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
212
โครงการในกรณีที่ไม่มีการระบายน้าทิ้งออกจากพื้นที่โครงการหรือการนาน้าทิ้งมาปรับปรุง คุณภาพเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ในโครงการให้มากที่สุด o การสูบน้า ระบุจุดสูบน้าจากแม่น้าป่าสัก รายละเอียดสถานีสูบน้า พร้อมทั้งเสนอรายละเอียดสภาพ ปัจจุบันของแม่น้าป่าสัก ทั้งทางปริมาณอัตราการไหล คุณภาพน้า การใช้ประโยชน์ของ กิจกรรมการใช้น้า ประเมินผลกระทบต่อปริมาณการใช้น้าจากแม่น้าป่าสัก และนาเสนอมาตรการป้องกันและ แก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มั่นใจว่าการดาเนินโครงการจะไม่กระทบต่อปริมาณน้า ของแม่น้าป่าสัก ในช่วงเกิดวิกฤตการณ์ขาดแคลนน้า นาเสนอความเห็น เอกสารหรือ เงื่ อนไข การอนุ ญาตให้ สูบ น้าจากหน่ว ยงานผู้ อนุ ญาต ประกอบไว้ในรายงานฯ o การระบายน้าทิ้ง เสนอรายละเอี ย ดสภาพปั จ จุบั น ของแหล่งรองรั บ น้าทิ้ ง ทั้ งทางปริ มาณอั ตราการไหล คุณภาพน้า และการใช้ประโยชน์ของกิจกรรมการใช้น้า โดยนาเสนอรายละเอียดข้อมูล ปริมาณน้าของแหล่งรองรับน้าทิ้งในทุกช่วงของปี ข้อมูลหรือเหตุการณ์ที่สาคัญในอดีต เช่น การเกิดน้าท่วมและน้าแล้ง ประเมินผลกระทบด้านอุทกวิทยา ที่มีผลต่อปริมาณความสามารถในการระบายน้าทิ้งและ ความสามารถในการรองรับน้าทิ้งให้ครอบคลุมในช่วงฤดูแล้งที่มีปริมาณน้าน้อยที่สุดและฤดู ฝน ประเมินผลกระทบต่อการเกษตรและการใช้ประโยชน์ของกิจกรรมการใช้น้า โดยนาเสนอ ข้อมูล การประเมินผลกระทบจากคุณภาพน้าของแหล่งรองรับน้าที่อาจเปลี่ยนแปลงไป และนามาประเมินผลกระทบการใช้ประโยชน์น้าที่มีตอ่ การปลูกข้าว การทาการเกษตร และ กิจกรรมตลอดแนวจุดรองรับน้าทิ้ง ประเมินผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิจากการระบายน้าทิ้งโดยแบบจาลองทาง คณิตศาสตร์ต่อแหล่งรองรับน้าทิ้ง ให้สอดคล้องและใกล้เคียงกับการดาเนินการจริง รวมทั้ง จัดทาและนาเสนอเส้นอุณหภูมิเท่ากัน (Isothermal) โดยรอบจุดรองรับน้าทิ้งให้ชัดเจน นาเสนอความเห็น เอกสารหรือเงื่อนไขการอนุญาตให้ระบายน้าทิ้งจากหน่วยงานผู้อนุญาต ประกอบไว้ในรายงานฯ 6. ทรัพยากรชีวภาพ o นิเวศวิทยาทางบก ทบทวนข้อมูลและตาแหน่งของทรัพยากรสัตว์ป่าใกล้เคียงที่ไวต่อผลกระทบ เช่น ค้างคาวแม่ไก่ เป็น ต้น และนาเสนอลักษณะของแหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งหากิน การอพยพโยกย้าย และสถานภาพใน ปัจจุบัน โดยให้พิจารณาประเมินและวิเคราะห์ระดับนัยสาคัญของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เสนอ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
213
มาตรการป้องกันและแก้ ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรการชดเชยความเสียหาย และมาตรการ ติดตามตรวจสอบ o นิเวศวิทยาทางน้า ทบทวนข้อมูลของสภาพนิเวศวิทยาของแหล่งน้าที่แหล่งน้าใช้และแหล่งรองรับน้าทิ้ง โดยระบุชนิด ความหลากหลาย และขนาด/วั ย ปริ ม าณ และการแพร่ ก ระจาย ข้ อ มู ล การเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น้ า ประเมินผลกระทบต่อทรัพยากรต่อนิเวศวิทยาของแหล่งน้า จากการสูบน้าและปล่อยน้าทิ้ง เสนอ มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรการชดเชยความเสียหาย และมาตรการ ติดตามตรวจสอบ 7. คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ o นาเสนอข้อมูลระบบระบายน้าและป้องกันน้าท่วม การระบายน้าตามธรรมชาติ ระบบที่สร้างขึ้น สถิติ น้าท่วม พร้อมทั้งประเมินผลกระทบต่อการควบคุมน้าท่วมและการระบายน้าโดยรอบพื้นที่โครงการ ที่อาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงและปรับถมสภาพพื้นที่โครงการ และนาเสนอมาตรการเพื่อป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรการชดเชยความเสียหาย และมาตรการติดตามตรวจสอบ o นาเสนอข้อมูลกิจกรรมการเกษตรโดยรอบพื้นทที่ตั้งโครงการให้เห็นระดับความสาคัญของพื้นที่ตั้งต่อ การเกษตร พร้อมทั้งประเมินผลกระทบต่อพื้นที่เกษตรกรรมที่อยู่โดยรอบพื้นที่ตั้งโครงการ และ นาเสนอมาตรการเพื่อป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรการชดเชยความเสียหาย และ มาตรการติดตามตรวจสอบ o นาเสนอข้อมูลการใช้ประโยชน์พื้นที่ พร้อมทั้งประเมินผลกระทบจากการใช้และการเปลี่ยนแปลง สภาพพื้นที่ในปัจจุบันจากพื้นที่เพื่อการเกษตรกรรมเป็นพื้นที่อุตสาหกรรม และนาเสนอมาตรการเพื่อ ป้อ งกัน และแก้ ไขผลกระทบสิ่ งแวดล้ อ ม มาตรการชดเชยความเสี ย หาย และมาตรการติด ตาม ตรวจสอบ 8. ประเมินผลกระทบทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการดาเนินงานของโครงการ โดยระบุกิจกรรมของโครงการที่ อาจมีผลกระทบกับสุขภาพทั้งในช่วงก่อสร้างและดาเนินการ และเมื่อพิจารณาร่วมกับข้อมูลสาธารณสุขของ ประชาชนแล้วมีความเชื่อมโยงหรือไม่อย่างไรกับการดาเนินการของโครงการ พร้อมทั้งเพิ่มมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบกับสุขภาพของประชาชน ให้สอดคล้องกับแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ในรายงานการวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มของประเทศไทยของส านั ก งานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 9. เศรษฐกิจสังคมและการมีส่วนร่วมของประชาชน o ปรับปรุงการนาเสนอรายละเอียดการศึกษาและการนาเสนอผลการศึกษาด้านเศรษฐกิจและสังคมให้ เป็นไปตามหลักวิชาการด้านสังคมศาสตร์ ตั้งแต่ขั้นตอนการได้มาซึ่งตัวอย่า งในการสารวจ ความ ครอบคลุ มถึ งกลุ่ ม ตัว อย่า งในระดับ ผู้ นาชุ มชนและประชาชนทั่ ว ไปในพื้น ที่ ศึก ษา การออกแบบ สอบถามที่สะท้อนความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลในระดับผู้นาและประชาชน และความคิดเห็นที่มีต่อ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
214
โครงการ สะท้อนผลที่ได้จากการศึกษา นาเสนอแผนที่แสดงรูปแบบการกระจายของตัวอย่ างที่ได้ทา การสารวจ ความเหมาะสมของช่วงเวลาที่ทาการสารวจความคิดเห็น o ปรับปรุงการนาเสนอรายละเอียดการดาเนินการมีส่วนร่วมของประชาชน ที่โครงการดาเนินการ โดย แสดงให้เห็นถึงความครอบคลุมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ วิธีการที่สอดคล้องกับแนว ทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบทางสังคมในกระบวนการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อ มของสานั กงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อ มและ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 การสรุปผลการ รับฟังความคิดเห็นที่ได้ดาเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน ทั้งนาประเด็นข้อวิตกกังวลและ ข้อเสนอแนะต่างๆจากการดาเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโครงการ นาไปกาหนด เป็นมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งวิเคราะห์ความสอดคล้องดังกล่าว o จัดทาแผนปฏิบัติการด้านเศรษฐกิจสังคม ให้มีรายละเอียดมาตรการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน มาตรการประชาสัมพันธ์และมวลชนสัมพันธ์ และรายละเอียดแผนงานพัฒนาต่างๆ ตามที่นาเสนอใน รายงานฯ ให้มีความชัดเจนเป็นรูปธรรม มีรายละเอียดมาตรการในการให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมใน การติดตามตรวจสอบผลการดาเนินงานตามมาตรการด้านเศรษฐกิจสังคมและการมีส่วนร่วมของ ประชาชน รวมถึงรายละเอียดการดาเนินงานกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า 10. มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้มีความ ชัดเจนในทางปฏิบัติและสอดคล้องกับผลกระทบที่ประเมินไว้ข้ างต้น โดยจัดทาแผนปฏิบัติการสิ่งแวดล้อมให้ ครอบคลุ ม ผลกระทบที่ มี นั ย ส าคั ญ ทั้ งหมดที่เ กิ ด จากการใช้ ป ระโยชน์ พื้ น ที่ พร้ อ มทั้งสรุ ป แผนปฏิ บั ติ ก าร สิ่งแวดล้อมดังกล่าวในรูปแบบตาราง ทั้งนี้ในการจัดทาแผนปฏิบัติการต้องมีรายละเอียดที่ชัดเจนในประเด็น o การนาเสนอบทนาให้มีรายละเอียดของเหตุผลความจาเป็นที่ต้องมีโครงการ ข้อจากัดของสภาพพื้นที่ ในการดาเนินการ นโยบายและมาตรการที่กาหนดสาหรับโครงการที่ดาเนินงานในพื้นที่ดังกล่าว มี รายละเอียดโครงการและลักษณะกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่โดยสังเขป พร้อมผังการใช้ประโยชน์พื้นที่ รวมถึงความจาเป็นต้องจัดทาแผนปฏิบัติการสิ่งแวดล้อม o การนาเสนอหลักการและเหตุผลในการจัดทาแผนปฏิบัติการในแต่ละด้าน ให้มีรายละเอียดเพียงพอ ถึงผลการศึกษาและผลที่ได้จากการประเมินผลกระทบ เพื่อแสดงให้เห็นถึงลักษณะและความรุนแรง ของผลกระทบที่เกิดขึ้น o การระบุพื้นที่ดาเนินการ ให้มีความชัดเจนในการกาหนดพื้นที่ที่เป็นแหล่งกาเนิดของผลกระทบในแต่ ละด้าน พื้นที่ที่เป็นแหล่งรองรับผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการดาเนินการ เพื่อให้เกิดความสอดคล้อง ในการกาหนดมาตรการป้องกันและมาตรการติดตามตรวจสอบ o กาหนดวิธีการดาเนินการ ให้มีรายละเอียดของมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้ครอบคลุมกิจกรรมทั้งหมดที่ก่อให้เกิดหรือมี แนวโน้มที่ก่อให้เกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้งในระยะก่อสร้างและในระยะดาเนินการ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
215
o การกาหนดระยะเวลาในการดาเนินการ ให้มีความชัดเจนและต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ ของ ข้อมูลทางวิชาการที่สามารถนามาใช้ในการวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากโครงการและผลที่ได้จาก การดาเนินงานตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดล้อม o ความรับผิดชอบในแผนปฏิบัติการสิ่งแวดล้อมระบุให้ชัดเจนถึงผู้ที่รับผิดชอบในการดาเนินการตาม มาตรการในแผนปฏิบัติการ ให้ครอบคลุมทุกกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับแผนปฏิบัติการด้านนั้นๆใน ภาพรวมของพื้นที่ทั้งหมด o การประเมินผล ให้มีการวิเคราะห์ถึงผลที่ได้จากการดาเนินงานตามมาตรการ ปัญหา อุปสรรคในการ ดาเนินงาน แนวทางการแก้ไขและปรับปรุงการดาเนินงานโครงการและมาตรการในแผนปฏิบัติการ 11. นารายละเอียดประเด็นข้อวิตกกังวลและข้อคิดเห็นต่างๆของผู้คัดค้านโครงการ เพื่อชี้แจ้งในแต่ละประเด็น ดังกล่าว และนาข้อชี้แจงในแต่ละประเด็นไปรับฟังความคิดเห็นกับชุมชน แล้วนาผลที่ได้ผนวกไว้ในรายงานฯ ด้วย ครั้งที่ 2 คชก.พิจารณารายงาน EIA ของโรงไฟฟ้าหนองแซงเป็นครั้งที่ 2 ในการประชุมคณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้านโครงการพลังงาน ครั้งที่ 13/2552 เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2552 แล้ว มีมติไม่เห็นชอบ รายงาน EIA โครงการโรงไฟฟ้าหนองแซง เนื่องจากรายงานทั้ งที่จัดทาขึ้นใหม่และที่แก้ไขเพิ่มเติมตามแนวทางที่คชก.กาหนด ยังไม่ชัดเจนและครบถ้วน ในประเด็นต่อไปนี้ 1. คุณภาพอากาศและเสียง o การประเมินผลกระทบต่อคุณภาพอากาศในบรรยากาศ พบว่าการประเมินผลกระทบต่อคุณภาพ อากาศในบรรยากาศบริเวณวัดหนองกระธาตุมีค่าฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน และไม่ได้แสดงให้เห็น ถึงมาตรการลดผลกระทบดังกล่าว o วิเคราะห์ระดับเสียงของโครงการภายหลังการใช้มาตรการสร้างคันดินสูงรอบพื้นที่ตั้งโครงการ และ ผลกระทบต่อพื้นที่ที่ไวต่อการได้รับผลกระทบ 2. คุณภาพน้าในแหล่งรองรับน้าทิ้ง o ข้อมูลสารเคมีปนเปื้อนในน้าทิ้งที่ระบายลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ และการประเมินผลกระทบต่อ คุณภาพน้าและการใช้น้าของประชาชน 3. คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ o การประเมิน ผลกระทบต่ อการเพาะปลู ก ข้า วโดยรอบพื้ น ที่ตั้ งโครงการและประเมิน ผลกระทบ การเกษตรต่อกลุ่มอาชีพต่างๆในพื้นที่โ ดยรอบโครงการ เช่น อาชีพทานา อาชีพการเลี้ยงไก่ และ อาชีพเพาะเห็ด เป็นต้น โดยพิจารณาประเมินผลกระทบให้ครอบคลุมปัจจัยต่างๆ ที่อาจเกิดจากการ ดาเนินโครงการ โดยเสนอข้อมูลทางวิชาการหรือโครงการที่มีสภาพแวดล้อมใกล้เคียงกันสนับสนุน บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
216
การวิเคราะห์ผลกระทบดังกล่าว และมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการ ติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือมาตรการชดเชยตามกลุ่มอาชีพต่างๆ (ถ้ามี) o ข้อมูลการใช้ประโยชน์พื้นที่บริเวณที่ตั้งโครงการ การประเมินผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ พื้นที่เป็นโรงไฟฟ้า และมาตรการชดเชยและเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์ที่ดินดังกล่าว (ถ้ามี) ครั้งที่ 3 คชก.พิจารณารายงาน EIA ของโรงไฟฟ้าหนองแซงเป็นครั้งที่ 3 ในการประชุมคณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้านโครงการพลังงาน ครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2552 แล้ว มีมติ เห็นชอบรายงาน EIA โครงการโรงไฟฟ้าหนองแซงและได้ให้มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมาตรการ ติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม 9 ข้อ ดังต่อไปนี้ 1. ให้ปฏิ บัติตามมาตรการป้องกั นและแก้ไ ขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติ ดตามตรวจสอบคุ ณภาพ สิ่งแวดล้อมในรูปแผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อม ตามที่เสนอในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการโรงไฟฟ้ าหนองแซง และใช้เ ป็นแนวทางในการกากับ ควบคุม ติดตามตรวจสอบของหน่ว ยงาน ประชาชนและองค์กรที่เกี่ยวข้อง 2. ให้นารายละเอียด มาตรการในแผนปฏิบัติการด้านสิ่ง แวดล้อมไปกาหนดเป็นเงื่อนไขในสัญญาจ้างบริษัทผู้ รับจ้าง และให้ถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด เพื่อให้เกิดประสิทธิผลในทางปฏิบัติ 3. ให้รายงานผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมให้หน่วยงานอนุญาต จังหวัดสระบุรี จังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และส านั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ งแวดล้ อ มพิ จ ารณาตาม ระยะเวลาที่กาหนดในแผนปฏิบัติการ โดยให้เป็นไปตามแนวทางการนาเสนอผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพ สิ่งแวดล้อมของสานักงานฯ 4. ให้มีการบารุงรักษา ดูแลการทางานของระบบหล่อเห็นให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดีเป็นประจา และมีความ ปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานและประชาชนบริเวณใกล้เคียง 5. กรณีที่ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมมีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหา รวมถึงกรณีที่มีการร้องเรียนจาก ชุมชนที่มีเหตุมาจากการดาเนินงานของโครงการ ให้บริษัทฯปรับปรุงแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร็ว และแจ้ง หน่วยอนุญาต จังหวัดสระบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมทราบทุกครั้ง เพื่อให้ประสานความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา 6. หากบริษัทฯมีความประสงค์จะเปลีย่ นแปลงรายละเอียดโครงการ และ/หรือแผนปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อม ให้ บริษัทฯแจ้งหน่วยงานผู้อนุญาตพิจารณาดังนี้ o หากหน่วยงานผู้อนุญาตเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่มีผลต่อการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมใน รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้รับความเห็นชอบไว้แล้ว ให้บริษัทฯแจ้งสานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อทราบ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
217
o หากหน่วยงานผู้อนุญาตเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลต่อการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้รับความเห็นชอบไว้แล้ว ให้บริษัทฯเสนอข้อมูลผลการศึกษาและ ประเมิน ผลกระทบในรายละเอี ยดที่ เปลี่ ยนแปลงเปรียบเที ยบข้ อมูล เดิม ให้คณะกรรมการผู้ชานาญการ พิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนดาเนินการ 7. กรณีที่มีข้อร้องเรียนของชุมชนต่อการดาเนินการของโครงการ บริษัทฯต้องรีบแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร็ว และ ให้บันทึกเป็นรายงานไว้ด้วย 8. หากโครงการไม่ ด าเนิ น การก่ อ สร้ า งภายในระยะเวลา 2 ปี นั บ ตั้ ง แต่ ส านั ก งานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีหนังสือแจ้งผลการพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเห็นชอบในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ให้ โครงการทบทวนข้อมูลและมาตรการเสนอสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ ดาเนินการพิจารณาตามขั้นตอน 9. เมื่อโครงการฯดาเนินการผลิตและมีสภาพการผลิตคงตัว (Steady State) แล้ว พบว่า การระบายสารมลพิษ ทางอากาศข้ า งต้ น มี ค่า ที่ ต่ ากว่ า ให้ ใ ช้ ค่ าดั งกล่ า วเป็ น ค่ า ควบคุ ม และแจ้ งให้ ส านั กงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทราบโดยเร็ว
ภาคผนวก ข เงื่อนไข 10 ข้อที่กรมโรงงานเสนอให้กาหนดแนบท้ายใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน มีดังนี้ 1. ต้องดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดล้อมตามรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่คณะกรรมการผู้ชานาญการให้ความ เห็นชอบเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2552 2. อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ติดตั้งในบริเวณที่ปฏิบัติงานและเก็บรักษาเกี่ยวกับวัตถุไวไฟต้องเป็นชนิดที่ป้องกันการระเบิด (Explosion Proof) 3. ต้องควบคุมดูแลระบบเผาไหม้ของเครื่องยนต์ (Gas Engine) ให้มีประสิทธิภาพเพียงพอ โดยอากาศที่ระบาย ออกจากปล่ อ งไอเสี ย เครื่ อ งยนต์ ต้ อ งมี ส ารเจื อ ปนแต่ ล ะชนิ ด ไม่ เ กิ น ที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศกระทรวง อุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงานผลิต ส่ง หรือจาหน่าย พลังงานไฟฟ้า พ.ศ. 2547 ลงวันที่ 28 กันยายน 2547 4. ต้องติดตามคุณภาพน้าแบบต่อเนื่องอัตโนมัติและการรายงานผลแบบ Online-monitoring ที่บ่อพักน้าปล่อย ออกและมีการจัดการน้าเสียให้มีคุณภาพน้าทิ้งเป็นไปตามกฎหมาย ก่อนปล่อยสู่แหล่งน้า โดยชุมชนสามารถ ตรวจสอบคุณภาพน้าทิ้งของโรงไฟฟ้าได้ทุกจุดและตลอดเวลา 5. ต้องติดตั้งระบบ Dry low Nox Combusion Gasturbine เพื่อลดปริมาณ Nox กรณีเดินเครื่องด้วยก๊าซ ธรรมชาติ บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
218
6. ต้องติดตั้งระบบ Water Injection เพื่อลดปริมาณ Nox กรณีเดินเครื่องด้วยน้ามันดีเซล 7. ต้องติดตั้งระบบติดตามตรวจสอบการระบายมลสารต่อเนื่อง (Continuous Emission Monitoring System: CEM) ที่ปลายปล่องระบายมลสาร HRSG เพื่อตรวจวัดปริมาณความเข้มข้นของ Nox So2 TSP ที่ระบายออก จากปล่องตลอด 24 ชั่วโมง 8. ต้องติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศตลอด 24 ชั่วโมง (Air Quality Monitoring System: AQM) จานวน 4 สถานี รอบพื้นที่โรงไฟฟ้า เพื่อเก็บข้อมูลล่วงหน้าก่อนการก่อสร้างโรงไฟฟ้า เพื่อใช้ เปรียบเทียบเมื่อโรงไฟฟ้าเดินเครื่องแล้ว 9. หากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ประกาศกาหนดโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ และมีผลใช้ บังคับแล้ว ต้องมีการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและปฏิบัติให้เป็นไปตามมาตรา 67 วรรคสอง ของรั ฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ให้แล้วเสร็จ ก่อนที่จะมีการประกอบกิจการ โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า 10. ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 และมีมาตรการอันเหมาะสม เพื่อมิให้ ผู้เช่านาได้รับผลกระทบจากการดาเนินโครงการ
บริษัท ป่าสาละ จากัด | ภาคผนวก
219