สรุปผลการวิจัย เรื่อง ‘การเติบโตของ FinTech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง’
สฤณี อาชวานันทกุล หัวหน้าโครงการ เสรี ปวีณชนา นักวิจัย จินต์ หวังตระกูลดี นักวิจัย ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์ นักวิจัย
ค�ำน�ำ “คนจนไม่มีทรัพย์สินอะไรมาใช้เป็นหลักประกันได้ ไม่มีเจ้าหนี้คนไหนยอม ปล่อยกู้หรอก ยกเว้นพวกหนี้นอกระบบที่คิดดอกเบี้ยโหดๆ” “คนจน กู้เงินมาก็ไม่มีทางใช้หนี้คืนได้ เพราะจน ใครจะไปอยากให้กู้” “การขยายบริการทางการเงินไปยังตลาดผู้มีรายได้น้อยน่ะ เป็นเรื่อง ของรัฐที่จะต้องเข้าไปช่วยเหลือ หรือเป็นซีเอสอาร์ของธนาคาร หวังก�ำไรไม่ ได้เพราะไม่มีทางท�ำก�ำไร ไม่ใช่โอกาสทางธุรกิจ” “ไม่คุ้มที่ธนาคารจะไปให้บริการคนที่อยู่ในชนบทห่างไกล เอาพนักงาน เงินเดือนเป็นหมืน่ ไปรับเงินฝากหลักร้อย แถมคนก็ไม่อยากมาสาขา เพราะค่า เดินทางกับค่าเสียเวลาก็อาจจะมากกว่าเงินที่เอามาฝากอีก” “คนจนไม่มีเครดิต ไม่มีข้อมูลในเครดิตบูโร ไม่มีข้อมูลความเสี่ยง เมื่อ ประเมินความสามารถในการช�ำระหนี้ไม่ได้ ก็กู้ในระบบไม่ได้” เสียงลือเสียงเล่าอ้างดังเช่นที่ยกตัวอย่างมาข้างต้นนั้น ครั้งหนึ่งอาจเคย เป็นความจริง แต่วันนี้ไม่จริงอีกต่อไปแล้ว นับตั้งแต่ราวทศวรรษ 1990 เมื่อ วงการการเงินขนาดจิ๋ว หรือไมโครไฟแนนซ์ (Microfinance) ทั่วโลกเริ่ม เติบโตอย่างก้าวกระโดด หักล้างความเชื่อเดิมๆ ที่ว่า คนจนไม่มีวันเป็นลูกค้า ของสถาบันการเงินในระบบได้ มาวันนี้ หลังจากศตวรรษที่ 21 เปิดฉากเพียงหนึ่งทศวรรษ เทคโนโลยี การเงิน หรือเรียกรวมๆ ว่า ‘ฟินเทค’ (FinTech ย่อมาจาก financial tech-
nology) ซึ่งถูกขับดันด้วยการเติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศ และเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ก็กำ� ลังเปิดฉากมิตใิ หม่ของการขยายการเข้าถึงบริการทางการเงิน ไปยังผูม้ รี ายได้นอ้ ยทัว่ โลกหลายล้านคน รวมทัง้ คนจ�ำนวนมากทีไ่ ม่เคยแม้แต่ จะคิดฝันว่า ชีวิตนี้จะได้ใช้บริการทางการเงิน ส่งผลให้หลายคนคาดการณ์ว่า ศตวรรษนี้จะเป็นยุค ‘ประชาธิปไตยทางการเงิน’ อย่างแท้จริง เรื่องนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร? ขอเชิญเริ่มพบกับค�ำตอบได้ในหน้าถัดไป หนั ง สื อ เล่ ม นี้ เ ป็ น ‘ฉบั บ ย่ อ ’ ของรายงานวิ จั ย ฉบั บ สมบู ร ณ์ เรื่ อ ง ‘การเติบโตของ FinTech กับโอกาสการสร้างเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างทั่วถึง’ จัดท�ำโดยคณะวิจยั จากบริษทั ป่าสาละ จ�ำกัด ภายใต้การสนับสนุนโดย มูลนิธิ มั่นพัฒนา จัดท�ำรูปเล่มและภาพประกอบโดย ทีมงาน WAY magazine วัตถุประสงค์ของรายงานวิจัยดังกล่าว คือ การรวบรวมและสังเคราะห์ แนวคิด ตลาด โอกาสทางธุรกิจ ความท้าทาย และตัวอย่างบริการ ‘ฟินเทค’ ระดับโลกทีส่ ามารถเจาะตลาดผูม้ รี ายได้นอ้ ยได้สำ� เร็จ รวมถึงการส�ำรวจวงการ ‘ฟินเทค’ ในประเทศไทย และการให้บริการธนาคารผ่านมือถือ (Mobile banking) และแอปพลิเคชันของธนาคารในประเทศ ซึง่ ก�ำลังเติบโตขึน้ อย่างรวดเร็ว สามารถอ่ านและดาวน์ โ หลดรายงานฉบับสมบูร ณ์ ไ ด้จากเว็บไซต์ http://www.salforest.com/banking สฤณี อาชวานันทกุล หัวหน้าโครงการวิจัย สิงหาคม 2560
สารบัญ ค�ำน�ำ
4
1 ‘ฟินเทค’ คืออะไร? 2 ปฐมบทของ ‘ฟินเทค ยุค 3.0’ และการปรับตัวของธนาคาร 3 ฟินเทค: นวัตกรรมแก้จน 4 M-Pesa: ระบบการเงินเพื่อคนฐานราก 5 กรณีศึกษา Lending Club: ขวัญใจมวลชน อันดับหนึ่ง ‘P2P’ 6 E-Banking ธนาคารใด ปลอดภัยที่สุด? ฟินเทคไทยพุ่งเป้าไปที่ลูกค้าฐานรากหรือยัง?
7 13 21 39 55 65
-1‘ฟินเทค’ คืออะไร?
แม้ไม่รู้จัก อธิบายไม่ได้ แต่ก็เหมือนเราคุ้นมือและกดใช้มันอยู่ทุกวัน ยกตัวอย่างเช่น การโอนเงินซื้อของผ่านโทรศัพท์มือถือออนไลน์ ข้อดี ประการหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือความสะดวกสบายและค่าใช้จ่ายที่น้อยลง เพราะ ไม่ตอ้ งเดินทางไปธนาคาร ต่อคิว และเสียค่าธรรมเนียมซ�ำ้ ซ้อนให้กบั ธนาคาร ในระบบ
BAN
K
ฟินเทค
กับมิติใหม่ ของธุรกรรมทางการเงิน
นอกจากการจ่ายและโอนเงินออนไลน์ ฟินเทคถูกคิดค้นขึน้ มาเพือ่ อ�ำนวย ความสะดวกแก่ผู้บริโภคในการท�ำธุรกรรมการเงินอีกหลายแขนง อย่างเช่น การกู้เงินระหว่างบุคคลกับบุคคล อีกทั้งยังช่วยขยายบริการทางการเงินไปยัง คนที่ไม่เคยเข้าถึงบริการทางการเงินในระบบ อย่าง ‘M-Pesa’ บริการโอนเงิน ผ่านมือถือที่เปลี่ยนชีวิตประชาชนฐานรากของประเทศเคนยาที่เคยเข้าไม่ถึง ระบบธนาคาร ให้เข้าถึงบริการ มีอำ� นาจบริหารจัดการเงินของตัวเองอย่างเป็น ระบบ และน�ำมาซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในวันที่เราได้ยินค�ำว่า ‘ฟินเทค’ บ่อยขึ้น เราจึงขออธิบายแบบย่นย่อถึง ความหมายและประเภทของฟินเทค และอยากชีช้ วนว่า ฟินเทคเป็นประโยชน์ ส�ำหรับผู้บริโภคแน่ๆ แต่ผู้ได้รับผลกระทบอย่างธนาคาร ถ้าไม่จีบฟินเทคเอา ไว้ ผลที่เกิดขึ้นอาจเป็นอะไรได้บ้าง?
8
DATA
DATA
DATA
DATA
DATA DATA
DATA
DATA
FITECNH
DATA
DATA
FinTech เป น ‘เทคโนโลยีทางการเง�น’ หร�อ ‘เคร�่องมือ’ หนึ่งที่สถาบันทางการเง�น กลุ มธุรกิจ หร�อองค กรใดก็ตามนําไปใช สร างนวัตกรรมและทางเล�อกใหม ๆ ให กับผู ใช บร�การทางการเง�น ในอีกความหมายหนึ่ง FinTech ถูกนําไปใช เร�ยกบร�ษัทเกิดใหม (สตาร ทอัพ) บร�ษัทเทคโนโลยี หร�อแม แต ผู ให บร�การทางการเง�นดั้งเดิมได ด วย
Service
Service
Transfer
Loans
Investing
Management
FinTech ชือ่ เต็มคือ Financial Technology แปลตรงตัวว่า ‘เทคโนโลยีทางการ เงิน’ ถูกใช้ในความหมายกว้างๆ ว่า นวัตกรรมและการใช้เทคโนโลยีในการ ออกแบบ และน�ำเสนอบริการและผลิตภัณฑ์ทางการเงิน อาจมองง่ายๆ ได้ว่าฟินเทคคือ ‘เครื่องมือ’ หนึง่ ที่กลุ่มสถาบันการเงินหรือ องค์กรใดๆ โดยเฉพาะบริษัทเกิดใหม่ (สตาร์ทอัพ) หยิบไปใช้เพื่อตอบสนอง หรือพัฒนาการให้บริการทางการเงินที่ตั้งต้นจากปัญหาของลูกค้า ที่ภาษา นักการตลาดใช้คำ� ว่า ‘Pain point’ วันนีฟ้ นิ เทคได้ถกู น�ำไปใช้ในแทบทุกมิตขิ อง ธุรกิจการเงิน ไม่ว่าจะเป็นการช�ำระเงิน การกู้ยืมเงิน การให้บริการที่ปรึกษา และการบริหารการลงทุน
9
ประเภทของ FinTech ที่มากกว่าการโอนเงินออนไลน์ 1. กลุ่มการชําระเงิน/โอนเงิน (Payments/Transfers)
SHOP
นวัตกรรมนี้เป นที่คุ นหูและมือของมวลชนอยู แล ว ไม ว าจะเป นการโอนเง�นด วย internet banking การชําระเง�นค าส�นค าและโอนเง�นผ าน Paypal, Alipay, Line Pay หร�อบร�การจาก 3 ค ายมือถือ เช น AIS Mpay, Dtac Jaew Wallet และ Wallet by TrueMoney
2. กลุ่มธุรกรรมที่เกี่ยวกับการให้สินเชื่อและเงินทุน (Lending & Financing)
2.1 Crowd Funding PRODUCT/ PROJECT
2.2 เง�นกู
ชําระเง�นกู
P2P Lending
เง�นลงทุน
ผลตอบแทน
INVESTOR
10
ตัวอย างเช น Crowd Funding และ P2P Lending แนวคิดหลักคือการระดมทุน หร�อให กู ยืมเง�นผ านแพลตฟอร มออนไลน โดยที่ผู ขอทุนหร�อผู กู ไม ต องทําเร�่องผ านสถาบันการเง�น ทําให ช วยประหยัดเวลาและต นทุนได
3. กลุ่มธุรกรรมที่เกี่ยวกับการลงทุน (Investments)
DATA
FIN
DATA
DATA
ROBO-ADVISOR
INVESTOR
เคร�่องมือในฐานะ ‘ผู ช วย/ที่ปร�กษาด านการเง�น’ ไม ต องเป นถึงผู บร�หารใหญ ๆ มีทรัพย ส�นมากๆ ก็มีผู ให คําปร�กษาด านการเง�นได โดยใช Robo-advisor ที่อาศัยป�ญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence: AI) ในการเร�ยนรู พฤติกรรมการลงทุนต างๆ ผ านข อมูลและผลการว�เคราะห ที่ ได จากการตอบแบบสอบถามออนไลน จากนั้น Robo-advisor ก็จะเล�อกการลงทุนที่เหมาะสม และช วยบร�หารเง�นลงทุนแบบอัตโนมัติ ตามระยะเวลาการลงทุน ผลตอบแทนที่ต องการ และความเส�่ยงที่ยอมรับได
100% s/ Paymentrs Transfe
Lendincgin&g Finan
73%
(ของเง�นลงทุนทั้งหมด)
Investment
Others
การให กู ยืม (Lending) และ การชําระเง�น (Payments) เป นหมวดหมู ของบร�ษัทฟ�นเทคสตาร ทอัพ ที่ดึงดูดเม็ดเง�นการลงทุนจากกองทุนและนักลงทุน ที่ลงทุนในกิจการเกิดใหม (Venture Funding) สูงที่สุด คิดเป นร อยละ 73 ของเง�นลงทุนทั้งหมด
11
มูลค่าการชําระเงินออนไลน์ ที่ให้บริการโดยสถาบันการเงิน
อินเทอร์เน็ต 2,486.15
พั นล้านบาท
ATM
326.74 พั นล้านบาท
เคาน์เตอร์สาขา
16.02
พั นล้านบาท
ธันวาคม 2559 *ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)
มูลค่าการช�ำระเงินผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์อื่นๆ ผ่านการให้ บริการโดยสถาบันการเงิน ในเดือนธันวาคม 2559 เห็นได้วา่ มีเม็ดเงินย้ายไปมาผ่านเทคโนโลยีออนไลน์จำ� นวนมาก และหาก เปรียบเทียบกับยอดการใช้บริการอินเทอร์เน็ต กับการโอนผ่านเคาน์เตอร์สาขา ก็จะเห็นตัวเลขที่ต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ 12
-2ปฐมบทของ ‘ฟินเทค ยุค 3.0’ และ การปรับตัวของธนาคาร
ธนาคารดั้ ง เดิ ม นั บ ว่ า อยู่ ใ นสถานะที่ ดี ต่ อ การรั ก ษา สถานภาพการแข่งขันกับคู่แข่ง ฐานลูกค้าขนาดใหญ่ ของธนาคารทำ�ให้สามารถทีจ ่ ะขยายขนาด เสนอคำ�ตอบ ดิ จิ ทั ล ใหม่ ๆ ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ชุ ด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างการเงิ น ที่ ก ว้ า งและแข็ ง แกร่ ง มีแบรนด์ที่น่าเชื่อถือ และธนาคารส่วนใหญ่มีเงินทุน มากพอที่จะแข่งขันในการสร้างนวัตกรรมขนาดใหญ่ ลงทุ น ซื้ อ หรื อ ควบรวมกิ จ การอื่ น และสามารถ เอาชนะอุ ป สรรคด้ า นเทคโนโลยี แ ละกฎเกณฑ์ ต่ า งๆ
ปัจจุบนั มีการนิยามว่า เราก�ำลังอยูใ่ นยุค ‘ฟินเทค 3.0’ ซึง่ มีชนวนมาจากวิกฤต การเงินขนานใหญ่ในปี ค.ศ. 2008 หรือที่รู้จักกันในชื่อ วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ (Hamburger Crisis) ซึ่งส่งผลลุกลามเป็นวิกฤตเศรษฐกิจระดับโลก 13
การผงาดขึ้นของยุคฟินเทค 3.0 เกิดจากสาเหตุหลักสองประการคือ หนึ่ง-ข้อเท็จจริงที่ว่าธนาคารหลายแห่งหลอกลวงให้ผู้มีรายได้น้อยมากู้เงิน เกินก�ำลังผ่อน เนื่องจากแปลงสินเชื่อเป็นหลักทรัพย์ ส่งต่อความเสี่ยงให้ นักลงทุนรับแทน อันเป็นสาเหตุหลักประการหนึง่ ของวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์นนั้ เป็นที่รับรู้กันโดยแพร่หลาย ท�ำให้ความเชื่อมั่นของผู้คนทั่วไปต่อสถาบัน การเงินกระแสหลักเสื่อมถอยลงไป และ สอง-การที่วิกฤตการเงินได้ลุกลาม กลายเป็นวิกฤตเศรษฐกิจนั้น หมายถึงแรงงานของประเทศสหรัฐอเมริการาว 8.7 ล้านคนต้องตกงานด้วย และไม่เพียงแรงงานที่ท�ำงานรับใช้ระบบต้อง เดินออกมาเตะฝุ่นเท่านั้น แม้แต่ผู้ที่ประกอบอาชีพทางการเงินก็ต้องตกงาน หรือไม่ก็ต้องยอมได้รับค่าตอบแทนที่น้อยลงด้วย ทั้งสองปัจจัยนี้เพียงพอที่จะท�ำให้อุตสาหกรรมฟินเทค 3.0 ถือก�ำเนิด ขึ้น ฟินเทคยุคนี้ดูดซับนักการเงินที่ตกงานจากสถาบันการเงินกระแสหลัก นอกจากนัน้ ยังมีตวั ละครกลุม่ ใหม่ ได้แก่ กลุม่ บัณฑิตทีเ่ พิง่ จบการศึกษาระดับ สูงมาหมาดๆ และต้องเผชิญกับความยากล�ำบากในการหางานอันเนือ่ งมาจาก สภาพตลาดแรงงานในขณะนั้น ประกอบกับพื้นฐานทางการศึกษาของคนรุ่น ใหม่ ยังเอือ้ ต่อการเข้าใจกระบวนการของตลาดการเงิน และมีทกั ษะทีส่ ามารถ น�ำมาใช้ได้กับยุคฟินเทค 3.0 หันมาดูภมู ภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ตลาดฟินเทคในทวีปนีก้ ไ็ ด้แรงหนุนหลาย ประการ ซึ่งแตกต่างจากสหรัฐอเมริกาและยุโรปทั้งในแง่อุตสาหกรรมและใน แง่โครงสร้างของธนาคาร 14
การเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลต้องเป็นหัวใจสำ�คัญของ การดำ�เนินธุรกิจธนาคารในระยะต่อไป ในแง่อุตสาหกรรม การใช้จ่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของสถาบัน การเงินดั้งเดิมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกนั้น ยังเดินตามหลังระดับการใช้จ่าย ของสถาบันการเงินในยุโรปและสหรัฐอเมริกา ในแง่โครงสร้าง การกระจายตัว ของ ‘สาขาธนาคาร’ ในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ นัน้ น้อยกว่าในภูมภิ าคยุโรปและ สหรัฐอเมริกามาก เฉพาะในยุโรปมีสาขาธนาคาร 62.5 สาขา ต่อประชากร 100,000 คน ขณะที่ในเอเชียแปซิฟิกมีเพียง 12.5 สาขา ต่อประชากร 100,000 คน ผลของปัจจัยทัง้ สองประการนีค้ อื ผลิตภัณฑ์และบริการทางการ เงิน ‘บนโทรศัพท์มือถือ’ นั้น ดึงดูดความสนใจของผู้บริโภคมากกว่า และ ประชาชนมีความตื่นตัวที่จะลองใช้บริการทางเลือกใหม่ๆ จากผู้เล่นที่ไม่ใช่ ธนาคารกระแสหลักบ้าง กล่าวโดยสรุป การเติบโตของฟินเทคในทวีปเอเชียได้รบั แรงหนุนจากปัจจัย ที่แข็งแกร่งหลายประการ เช่น ประชากรรุ่นเยาว์ที่มีความรู้ความช�่ำชองด้านดิจิทัล และมีอุปกรณ์ มือถือ 2. การเติบโตอย่างรวดเร็วของชนชั้นกลาง มีการคาดการณ์ไว้ว่า 60 เปอร์เซ็นต์ ของชนชั้นกลางในโลกนี้จะอาศัยอยู่ในภูมิภาคเอเชีย ภายในปี ค.ศ. 2030 1.
15
ความไร้ประสิทธิภาพในตลาดเงินและตลาดทุน จะสร้างโอกาสของ ทางเลือกการท�ำธุรกรรมการเงินแบบใหม่ๆ แต่ไม่เป็นทางการมาก ขึ้น 4. การขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพของธนาคาร 5. พฤติกรรมของคนรุ่นใหม่ที่ชื่นชอบความสะดวกสบายเหนือความ น่าเชื่อถือ 6. ทั้งทวีปเอเชียมีประชากรถึง 1,200 ล้านคนที่ยังไม่มีบัญชีธนาคาร ถือเป็นโอกาสในการเปิดตลาดใหม่กบั ผูท้ ยี่ งั เข้าไม่ถงึ บริการทางการ เงินกระแสหลัก 7. ความเข้มงวดที่น้อยกว่าในด้านการคุ้มครองข้อมูลและการแข่งขัน 8. ในประเทศอินเดียและจีนซึง่ เป็นประเทศขนาดใหญ่ มีผจู้ บการศึกษา ด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยีเป็นจ�ำนวนมาก 3.
แนวโน้มข้างต้นได้แรงสนับสนุนเพิม่ เติมจากการเคลือ่ นไหวของภาคเอกชน ทีม่ องหาโอกาสในการขยายบริการทางการเงิน และภาครัฐทีส่ นับสนุนการ ปฏิรูปและอยากสร้างความหลากหลายของตลาด เพื่อที่จะผลักดันการ เติบโตทางเศรษฐกิจ
FinTech: วิกฤตตัวร้าย หรือความ ท้าทายและโอกาสใหม่ของธนาคาร
ธนาคารดัง้ เดิมนับว่าอยูใ่ นสถานะทีด่ ตี อ่ การรักษาสถานภาพการแข่งขัน กับคูแ่ ข่ง ฐานลูกค้าขนาดใหญ่ของธนาคารท�ำให้สามารถทีจ่ ะขยายขนาด เสนอ ค�ำตอบดิจิทัลใหม่ๆ ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ธนาคาร 16
จ�ำนวนมากยังมีชุดผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่กว้างและแข็งแกร่ง มีแบรนด์ ที่น่าเชื่อถือ และธนาคารส่วนใหญ่มีเงินทุนมากพอที่จะแข่งขันในการสร้าง นวัตกรรมขนาดใหญ่ ลงทุนซื้อหรือควบรวมกิจการอื่น และสามารถเอาชนะ อุปสรรคด้านเทคโนโลยีและกฎเกณฑ์ต่างๆ อย่างไรก็ตาม ธนาคารบางแห่งยังไม่มีความพร้อมต่อสถานการณ์การ แข่งขัน อาจเคยชินกับการได้ผลก�ำไรมาอย่างยาวนาน และมีแรงจูงใจเพียง เล็กน้อยที่จะสร้างนวัตกรรมหรือธุรกิจใหม่ ที่พวกเขามองว่าจะมาแย่งส่วน แบ่งตลาดหรือกลืนกิน (Cannibalize) ธุรกิจของตนเอง แม้ว่าการสร้างนวัตกรรมจะอยู่ในวาระ แต่ธนาคารส่วนใหญ่ไม่ได้ ด�ำเนินการอย่างเป็นระบบเนื่องจากความขัดแย้งในวัตถุประสงค์ ตรงข้ามกับ บริษัทฟินเทคที่มักจะเน้นให้บริการด้านใดด้านหนึ่ง ธนาคารมักไม่ได้ด�ำเนิน ธุรกิจด้วยเป้าประสงค์ที่จะสร้างผลลัพธ์บางอย่างโดยเฉพาะ แต่มักจะหวังผล หลายด้านพร้อมกัน นอกจากนี้ จุดอ่อนอีกประการของธนาคารคือการขาด ทัศนคติที่มุ่งเน้นการให้บริการลูกค้าเป็นหลัก (Customer-centric) ปัจจัยทั้งหมดนี้แปลว่า การเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลต้องเป็นหัวใจส�ำคัญ ของการด�ำเนินธุรกิจธนาคารในระยะต่อไป
17
FinTech: จะใช้ให้เกิดประโยชน์
หรือจะยอมจํานนต่อองค์กรเกิดใหม่ มีคําทํานายที่ว า ในศึกแห งการต อสู ธนาคารดูเหมือนจะมีสองทางให ก าวเดิน… ธนาคาร อล ถูกโลกดิจิต กลืนกิน สูญเสียรายได้ ให้กับคู่แข่งรายใหม่ BAN
K
29-35 %
เคยชิน กับกําไร
ผลิตภัณฑ์ การเงิน ที่หลากหลาย และแข็งแกร่ง
ฐานลูกค้า ขนาดยักษ์ ทรัพยากร และเงินทุน สูงมาก
มีแบรนด์ น่าเชื่อถือ
ธนาคารเติบโต โดยมีฟน ิ เทคเป็นอา
วุธ
ความลังเล ในการใช้ นวัตกรรม ใหม่ๆ ไม่ได้ยิน/ ไม่เห็น ความต้องการทีแ ่ ท้จริง ของลูกค้า
ปี ค.ศ. 2016 บริษทั ทีป่ รึกษา แม็คคินซีย์ (McKinsey) ค�ำนวณว่า หากธนาคาร กระแสหลักเพิกเฉยต่อพัฒนาการของฟินเทค ไม่ยอมและไม่ปรับวิธกี ารด�ำเนิน ธุรกิจ ธนาคารอาจสูญเสียรายได้ในอนาคตราว 29-35 เปอร์เซ็นต์ ให้แก่คแู่ ข่ง รายใหม่จากการลดลงของฐานลูกค้าและส่วนต่างรายได้ แต่หากธนาคารปรับ เปลี่ยนการด�ำเนินธุรกิจให้อยู่ในรูปดิจิทัลตลอดห่วงโซ่คุณค่า มุ่งตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าโดยใช้เทคโนโลยี และมีนวัตกรรมเป็นหนึ่งใน DNA ของธนาคาร ธนาคารก็จะเพิ่มผลตอบแทน และขยายฐานลูกค้าได้
18
ธนาคารและคู่แข่งรายใหม่ จะปรับตัวต่อการแข่งขันได้อย่างไร?
เพราะการแข่งขันในสนามฟินเทค มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและ ตลอดเวลาระหว่างผูเ้ ล่นด้วยกันเอง สิง่ ทีจ่ ำ� เป็นทีส่ ดุ คือการจับจ้องพัฒนาการ ใหม่ๆ และการส�ำรวจตลาดอย่างต่อเนื่อง และด้วยข้อเท็จจริงที่ว่า ไม่ใช่ สตาร์ทอัพทุกรายจะประสบความส�ำเร็จในระยะยาว ในสถานการณ์การแข่งขัน เช่นนี้ ธนาคารและคู่แข่งควรมองหาผู้เล่นที่จะร่วมมือกันสร้างประโยชน์ได้ เช่น การตกลงเข้าหุ้นเป็นกิจการร่วมทุน หรือจับมือเป็นพันธมิตรกันในการ ให้บริการ จากมุมมองของธนาคารเรื่องการซื้อกิจการเพื่อ ‘จ้างคน’ หรือที่เรียกชื่อ เล่นว่า ‘Acqui-hire’ อาจเป็นสิ่งที่คุ้มค่า คือการเข้าไปซื้อกิจการฟินเทค เพื่อ ทีจ่ ะได้เข้าถึงทักษะและความสามารถของลูกจ้างทีส่ ำ� คัญ การร่วมมือกันในขัน้ ต่อไปอาจเป็นรูปแบบกองทุนร่วมลงทุนในกิจการเกิดใหม่ (Corporate Venture Fund) และการปลุกปั้นกิจการเกิดใหม่ตั้งแต่แรก (Incubator) ยกตัวอย่าง เช่น ธนาคาร Deutsche Bank ได้ลงทุนมากกว่าหนึ่งพันล้านยูโรในเทคโนโลยี ดิจิทัล ขยายห้องแล็บนวัตกรรมหรือ Innovation lab ของตนในกรุงลอนดอน เบอร์ลนิ และนิวยอร์ก ทัง้ ยังจับมือเป็นพันธมิตรกับบริษทั ฟินเทคต่างๆ อีกด้วย
19
-3ฟินเทค: นวัตกรรมแก้จน
สาเหตุ ที่ ค นจนจำ � นวนมากไม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง บริ ก าร ทางการเงินนั้นเกิดจากหลายปัจจัยด้วยกัน ไม่ว่าจะ เป็นค่าบริการของธนาคารที่แพงเกินไป สาขาธนาคาร หรือตูเ้ อทีเอ็มทีม ่ ไี ม่เพียงพอต่อความต้องการ หรืออยู่ ห่างไกลจากชุมชน การทีธ ่ นาคารมีแนวโน้มปฏิเสธการ ให้บริการคนยากจนมากกว่าลูกค้ากลุ่มอื่น เนื่องจาก มองว่า ‘ไม่คุ้ม’ กับต้นทุนการบริการ รวมทั้งทัศนคติ ของคนยากจนเองที่มองว่าตนมีเงินน้อยเกินกว่าที่จะ ได้รับประโยชน์จากการใช้บริการทางการเงินในระบบ
ปัจจุบันปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล�้ำทางรายได้ยังคงเป็นอุปสรรค ส�ำคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในประเทศด้อยหรือก�ำลังพัฒนา ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างที่มีความซับซ้อน และ เกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการ หนึ่งในนั้นคือการขาดการเข้าถึงบริการ ทางการเงินอย่างทั่วถึง 21
สาเหตุที่คนยากจนจ�ำนวนมากไม่สามารถเข้าถึงบริการทางการเงินนั้น เกิดจากหลายปัจจัยด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นค่าบริการของธนาคารที่แพงเกินไป สาขาธนาคารหรือตู้เอทีเอ็มที่มีไม่เพียงพอต่อความต้องการ หรืออยู่ห่างไกล จากชุมชน การที่ธนาคารมีแนวโน้มปฏิเสธการให้บริการคนยากจนมากกว่า ลูกค้ากลุ่มอื่น เนื่องจากมองว่า ‘ไม่คุ้ม’ กับต้นทุนการบริการ รวมทั้งทัศนคติ ของคนยากจนเองที่มองว่าตนมีเงินน้อยเกินกว่าที่จะได้รับประโยชน์จากการ ใช้บริการทางการเงินในระบบ การขยายการเข้าถึงบริการทางการเงินมักเป็นจุดเริ่มต้นส�ำคัญในการ แก้ไขปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล�้ำทางรายได้ ที่ผ่านมาผลการ ศึกษาจ�ำนวนมากชี้ว่าการเพิ่มการเข้าถึงบริการทางการเงินส่งผลเชิงบวกต่อ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ การเข้าถึงบริการทางการเงินช่วยยกระดับคุณภาพ ชีวิตและความเป็นอยู่ของครัวเรือน โดยการท�ำให้คนยากจนและผู้ด้อยโอกาส สามารถท�ำธุรกรรมการเงินพืน้ ฐานได้ดว้ ยต้นทุนทีส่ มเหตุสมผล เปิดโอกาสให้ พวกเขามีเงินออมเพื่อส�ำรองเป็นค่าใช้จ่ายในอนาคต เช่น ค่าใช้จ่ายการรักษา พยาบาล ค่าการศึกษา หรือใช้เป็นเงินทุนในการประกอบและขยายธุรกิจ รวม ถึงลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ เนื่องจากจุดเด่นของฟินเทคคือการลดต้นทุนและเพิ่มความสะดวก รวดเร็วให้กบั บริการทางการเงิน ฟินเทคจึงเป็นเครือ่ งมือทีม่ ศี กั ยภาพสูงมากใน การขยายการเข้าถึงบริการทางการเงิน โดยปัจจุบนั ฟินเทคได้เข้ามามีบทบาท มากขึ้นอย่างต่อเนื่องในการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการทางการเงินเกือบ 22
‘การขาดประวัติทางการเงินที่น่าเชื่อถือ’ เป็นปัจจัย สำ�คัญในการพิจารณาขอสินเชื่อ นับเป็นอุปสรรค สำ�คัญที่ทำ�ให้ผู้มีรายได้น้อยมักไม่สามารถขอสินเชื่อ จากการเงินในระบบได้ ทุกมิติ ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มช่องทางในการเข้าถึงบริการทางการเงิน ความ รวดเร็วในการให้บริการ ความปลอดภัยและความโปร่งใสในการท�ำธุรกรรม รวมไปถึงเปิดโอกาสให้เกิดโมเดลธุรกิจทางการเงินรูปแบบใหม่ๆ ทีท่ ำ� ให้กลุม่ คนยากจนหรือคนรากหญ้าสามารถเลือกใช้บริการทางการเงินที่มีคุณภาพ ในราคาที่สมเหตุสมผล และสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพื่อน�ำไปใช้ยกระดับ คุณภาพชีวิตของพวกเขาได้ ในขณะเดียวกัน ผู้ให้บริการก็สามารถส่งมอบบริการที่ตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น ในอัตราต้นทุนที่ต�่ำลง และสามารถขยายฐาน ลูกค้าไปสู่กลุ่มคนรากหญ้าอันเป็นโอกาสทางธุรกิจอย่างมหาศาล ศักยภาพของฟินเทคในการขยายการเข้าถึงบริการทางการเงิน • ฟินเทคท�ำให้กระบวนการตรวจสอบและยืนยันตัวตนลูกค้ามี ประสิทธิภาพมากขึ้น • ฟินเทคช่วยขยายขอบเขตการให้บริการ โดยการแก้ปัญหา ‘ไมล์ สุดท้าย’ • ฟินเทคท�ำให้ระบบธุรกรรมช�ำระและโอนเงินมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น • ฟินเทคท�ำให้กลุ่มลูกค้าฐานรากสามารถฝาก-ออมเงินได้โดยมี ต้นทุนต�่ำและสะดวกสบายยิ่งขึ้น • ฟินเทคเปลี่ยนแปลงแนวทางในการพิจารณาสินเชื่อให้เอื้อต่อการ เข้าถึงกลุ่มผู้มีรายได้น้อยมากขึ้น
23
ฟินเทค เครือ ่ งมือทีท ่ �ำให้คนจนเข้าถึงแหล่งเงินกู้ได้
‘การขาดประวัตทิ างการเงินทีน่ า่ เชือ่ ถือ’ เป็นปัจจัยส�ำคัญในการพิจารณา ขอสินเชื่อ นับเป็นอุปสรรคส�ำคัญที่ท�ำให้ผู้มีรายได้น้อยมักไม่สามารถขอ สินเชื่อจากการเงินในระบบได้ ด้วยเหตุนี้ ฟินเทคจึงมีส่วนช่วยขยายการ เข้าถึงบริการสินเชื่อได้โดยการเปิดโอกาสให้ผู้ ให้บริการทางการเงินเข้าถึง ฐานข้อมูลดิจิทัลของลูกค้าได้จากหลากหลายแหล่ง และน�ำข้อมูลเหล่านั้นมา ใช้ในการประเมินสินเชื่อ เช่น ข้อมูลธุรกรรมการช�ำระเงินในอดีต ข้อมูลเชิง ลึกที่ได้จากแบบทดสอบเชิงจิตวิทยา (Psychometric Test) ข้อมูลจากบริษัท ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ และข้อมูลระบุพิกัดต�ำแหน่งของผู้ใช้งาน ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลมหาศาลนี้ส่งผลให้ผู้ ให้บริการ สามารถประเมินสินเชื่อลูกค้ากลุ่มที่ขาดข้อมูลหรือประวัติทางการเงินได้ ในขณะเดียวกัน ฟินเทคก็เพิ่มช่องทางการปล่อยสินเชื่อ โดยอาศัยนวัตกรรม การวิเคราะห์ข้อมูลรูปแบบใหม่ๆ รวมถึงนวัตกรรมอื่นๆ เช่น เทคโนโลยีจ่าย เมื่อใช้งานจริง (Pay-as-you-go) หรือการให้สินเชื่อแบบบุคคลต่อบุคคล (Peer-to-peer Lending) ทีท่ ำ� ให้ผู้ให้บริการทางการเงินสามารถขยายตลาด สินเชื่อไปยังกลุ่มลูกค้าฐานรากได้มากขึ้น และคิดดอกเบี้ยในอัตราที่ต�่ำลงได้ ฟินเทคยังช่วยลดความเสี่ยงจากการปล่อยสินเชื่อโดยการท�ำให้ระบบ ตรวจจับการทุจริตท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และท�ำให้ผู้ให้บริการสามารถ ตรวจสอบตัวตนลูกค้าระหว่างแหล่งข้อมูลได้ง่ายขึ้น ผู้ให้บริการทางการเงิน 24
สามารถบั น ทึ ก และแบ่ ง ปั น ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ รู ป แบบการทุ จ ริ ต ต่ า งๆ และ ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งช่วยให้ผู้ปล่อยสินเชื่อมองเห็นความเคลื่อนไหว ของธุรกรรมการเงินได้ตลอดเวลา และตรวจจับพฤติกรรมการทุจริตได้ง่าย ยิ่งขึ้น ที่ผ่านมา รูปแบบการให้บริการของธุรกิจฟินเทคที่แพร่หลายมากที่สุด คือ กลุ่มการช�ำระและโอนเงิน (Payments/Transfers) สาเหตุที่ผู้ให้บริการ หลายรายเลือกที่จะเจาะตลาดลูกค้าฐานล่างโดยเริ่มจากบริการช�ำระและโอน เงินนั้น เป็นเพราะบริการดังกล่าวมีข้อได้เปรียบกว่าบริการแบบดั้งเดิมอย่าง ชัดเจน กล่าวคือ ลูกค้าไม่จ�ำเป็นต้องเดินทางระยะไกลเพื่อรับ-ส่งเงินหรือ ช�ำระค่าสินค้า ท�ำให้พวกเขาประหยัดต้นทุนในการเดินทางและเวลาได้อย่าง มีนัยส�ำคัญ นอกจากนี้ ลูกค้าจะทราบได้ทันทีว่าธุรกรรมทางการเงินที่ก�ำลัง ท�ำนั้นส�ำเร็จด้วยดีหรือไม่ การเริ่มต้นจากระบบการช�ำระและโอนเงินจึงเป็น จุดเริม่ ต้นทีด่ ใี นการสร้างความเชือ่ ใจของลูกค้าต่อฟินเทค จากนัน้ ผู้ให้บริการ ก็อาจขยายการให้บริการที่มีความซับซ้อนมากขึ้น เช่น การท�ำประกันภัย การปล่อยสินเชื่อ ฯลฯ
่ ามารถเพิ่มการเข้าถึงบริการทางการเงิน ตัวอย่างธุรกิจฟินเทคทีส
ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารทางการเงิ น ทั่ ว โลกเริ่ ม เล็ ง เห็ น ช่ อ งว่ า งระหว่ า งการให้ บริการในรูปแบบดั้งเดิม กับเทคโนโลยีทางการเงินที่ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว 25
ด้วยเหตุนี้ จึงท�ำให้ ในช่วงสองสามปีที่ผ่านมามีผู้ประกอบการจ�ำนวนมากที่ น�ำช่องว่างดังกล่าวมาเป็นโอกาสในการท�ำธุรกิจ และก่อเกิดเป็นนวัตกรรม ทางการเงินที่สามารถแก้ ไขปัญหาและตอบโจทย์ผู้บริโภคได้มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มคนด้อยโอกาสหรือผู้ที่เคยถูกกีดกันออกจากการเงินในระบบ ตัวอย่างรูปแบบการให้บริการของธุรกิจฟินเทคทีส่ ามารถเพิม่ การเข้าถึงบริการ ทางการเงิน มีดังต่อไปนี้
1. การช�ำระและโอนเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Payment and Transfer)
คือการใช้โทรศัพท์มือถือเป็น ‘เครื่องมือ’ ในการโอนเงิน และช�ำระค่า สินค้าหรือบริการต่างๆ อาจแบ่งออกเป็นประเภทย่อย เช่น mCommerce (Mobile Commerce) คล้ายการซื้อของทางเว็บไซต์แต่ ท�ำบนมือถือ mWallet (Mobile Wallet) ผู้ใช้บริการแลกและเติมเงินอิเล็กทรอนิกส์ใส่ ในกระเป๋า และใช้เงินนั้นช�ำระค่าสินค้าและบริการได้ mPayment (Mobile Payment) ช�ำระสินค้าผ่านโทรศัพท์มอื ถือแทนการ ใช้เงินสดหรือบัตรเครดิต ด้วยการสแกนที่จุดขาย (Point-of-sale) ข้อดีของการท�ำธุรกรรมช�ำระและโอนเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ คือ ท�ำธุรกรรมทันที สะดวกรวดเร็ว และลดต้นทุนในการท�ำธุรกรรมแบบเงินสด 26
ได้อย่างมีนัยส�ำคัญ นอกจากนี้ ผู้ให้บริการยังบันทึกและรวบรวมข้อมูลการ ท�ำธุรกรรมการเงินของลูกค้า แล้วน�ำไปใช้วเิ คราะห์ความน่าเชือ่ ถือทางเครดิต ของลูกค้ารายบุคคล เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์หรือบริการทางการเงินอื่นๆ ที่ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากยิ่งขึ้น ระบบการช�ำระและโอนเงินผ่านโทรศัพท์มือถือมีแนวโน้มที่จะเติบโต อย่างรวดเร็วและต่อเนื่องในอนาคต สาเหตุหนึ่งเป็นเพราะอุตสาหกรรม โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันมีก�ำลังผลิตสมาร์ทโฟนได้ด้วยต้นทุนต�่ำ ท�ำให้คน ทัว่ ไปเป็นเจ้าของสมาร์ทโฟนได้มากขึน้ และเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้มากขึน้ ด้วย ยกตัวอย่างประเทศฟิลปิ ปินส์ ทีแ่ ม้จะมีผทู้ ยี่ งั เข้าไม่ถงึ บริการทางการเงิน ในระบบเป็นจ�ำนวนมาก แต่ช่วงสองสามปีที่ผ่านมา คนกลุ่มดังกล่าวก็เริ่มหัน มาใช้จา่ ยผ่านช่องทางออนไลน์มากขึน้ แนวโน้มของผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป นีช้ ใี้ ห้เห็นถึงโอกาสในการเติบโตของระบบการช�ำระและโอนเงินผ่านโทรศัพท์ มือถือ รวมถึงศักยภาพทีร่ ะบบดังกล่าวจะช่วยขยายการเข้าถึงบริการทางการ เงินในอนาคตได้ อย่างไรก็ดี การช�ำระและโอนเงินผ่านโทรศัพท์มือถือนี้จะสามารถเพิ่ม การเข้าถึงบริการทางการเงินได้ดกี ต็ อ่ เมือ่ การพัฒนาฟินเทคของประเทศนัน้ ๆ อยู่บนพื้นฐานของการใช้ ‘สถาปัตยกรรมเปิด’ หรือ ‘Open Architecture’ ซึ่ง หมายถึงการให้บริการทางการเงินเพือ่ ความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า โดยไม่มี ข้อจ�ำกัดว่าจะต้องเป็นผลิตภัณฑ์ของสถาบันการเงินเพียงอย่างเดียว ยกตัวอย่างเช่น ประเทศอินเดียที่มุ่งพัฒนาฟินเทคและแอปพลิเคชัน 27
บนสมาร์ทโฟนที่ท�ำงานร่วมกันกับระบบอื่นได้ (Interoperability) ระบบจะ เชื่อมโยงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายๆ ฝ่ายเข้าไว้ด้วยกัน และท�ำให้บริการเกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ขณะที่ทวีปอเมริกาใต้ ฟินเทคด้านการ ช�ำระและโอนเงินผ่านโทรศัพท์มือถือยังไม่สามารถเข้าถึงกลุ่มคนรากหญ้า ได้เท่าไรนัก เนื่องจากกฎระเบียบต่างๆ ไม่เอื้ออ�ำนวยให้บริษัทโทรคมนาคม สามารถเข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการให้บริการทางการเงินผ่านโทรศัพท์มอื ถือ
ตัวอย่างฟินเทคที่ให้บริการการช�ำระและ โอนเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ
bKash บริการทางการเงินบนโทรศัพท์มอื ถือสัญชาติบงั คลาเทศ ทีแ่ ข็งแกร่ง
และเข้าถึงประชากรในประเทศโดยเฉพาะคนรากหญ้าได้อย่างกว้างขวาง bKash บริษัทสัญชาติบังคลาเทศที่ก่อตั้งขึ้นในปี 2554 ท�ำธุรกิจให้ บริการทางการเงินบนโทรศัพท์มือถือแก่คนทั่วไป ซึ่งหมายรวมถึงกลุ่มคน ยากจนและคนรากหญ้า โดย bKash ถือเป็นหนึ่งในบริษัทที่เติบโตเร็วที่สุดใน แวดวงธุรกิจช�ำระและโอนเงินผ่านมือถือ 28
ปัจจุบันมีชาวบังคลาเทศกว่า 17 ล้านคนใช้บริการของ bKash และ มีธุรกรรมทางการเงินเกิดขึ้นกว่า 70 ล้านธุรกรรมต่อวัน โดยผู้ ใช้บริการ สามารถใช้มือถือเสมือนเป็นบัญชีธนาคารได้ ไม่ว่าจะเป็นการฝาก ถอน หรือ โอนเงิน รวมถึงใช้ชำ� ระค่าสาธารณูปโภคและสินค้าบางประเภท เติมเงินมือถือ และโอนเงินระหว่างประเทศได้ด้วย นอกจากนี้ ผู้ประกอบการร้านค้าปลีกใน ชุมชนท�ำหน้าทีเ่ ป็น ‘ตัวแทน’ (Agent) ในการท�ำธุรกรรมทางการเงินให้ลกู ค้า ที่ไม่มีบัญชีหรือโทรศัพท์มือถือได้ โดยลูกค้าจะจ่ายค่าธรรมเนียมให้ในอัตรา 2 เปอร์เซ็นต์ ของยอดธุรกรรม ปัจจัยที่ส่งผลให้ bKash เติบโตอย่างรวดเร็ว คือโครงสร้างแบบไมโคร ไฟแนนซ์ (บริการทางการเงินที่มุ่งให้บริการกลุ่มผู้มีรายได้น้อย) ที่แข็งแกร่ง และเข้าถึงประชากรในประเทศได้อย่างกว้างขวาง ด้วยเหตุนี้ บริการของ bKash จึงเปรียบเสมือนส่วน ‘เติมเต็ม’ ความต้องการของผู้ใช้บริการไมโคร ไฟแนนซ์ ที่สามารถผ่อนช�ำระและโอนเงินผ่านมือถือได้อย่างสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีปัจจัยเชิงโครงสร้างอื่นๆ ที่ช่วยสนับสนุนการเติบโตของ บริษทั เช่น การที่ bKash ไม่ได้เป็นธนาคารหรือบริษทั เทคโนโลยี แต่กอ่ ตัง้ ขึน้ เพื่อให้บริการทางการเงินผ่านมือถือโดยเฉพาะ แม้ bKash จะเป็นบริษัทย่อย ของธนาคารบราก (BRAC) แห่งบังคลาเทศ แต่พนักงานในบริษัทส่วนใหญ่ ก็เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในสาขาอืน่ ทีไ่ ม่ใช่การธนาคาร อีกทัง้ บริษทั ก็แยกการด�ำเนิน งานออกจากธนาคารบรากอย่างชัดเจน ส่งผลให้ bKash ให้ความส�ำคัญกับ ธุรกิจหลักได้เต็มที่ 29
ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จอีกประการหนึง่ ของ bKash คือ การสร้างเครือข่าย ความร่วมมือกับผู้ประกอบการร้านค้าปลีกในพื้นที่ชุมชน เพื่อให้คนเหล่านั้น ท�ำหน้าที่เป็นตัวแทนให้บริการลูกค้าที่ไม่มีบัญชีธนาคารหรือโทรศัพท์มือถือ ซึ่งเป็นกลยุทธ์เดียวกับ Wing ธุรกิจให้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือใน กัมพูชา ที่ให้ความส�ำคัญกับการสร้างเครือข่ายตัวแทนที่เป็นจุดให้บริการรับ และจ่ายเงินสด หรือเปรียบเสมือน ‘เครือข่ายเอทีเอ็มมนุษย์ (ATM Human Network)’ โดยนอกจากโมเดลธุรกิจนี้จะสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าฐานรากได้ในวง กว้าง และใช้ต้นทุนต�่ำกว่าการเปิดสาขาแล้ว ยังมีข้อได้เปรียบในแง่ของการ สร้างความไว้เนือ้ เชือ่ ใจทีท่ ำ� ได้งา่ ยกว่า โดยมีผปู้ ระกอบการในชุมชนท�ำหน้าที่ เป็นตัวกลางในการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้ากับบริษัท
Kashmi บริการทางการเงินออนไลน์ที่ใช้กลยุทธ์ สร้างหรือปรับเครือข่ายที่
มีอยู่เดิมในชุมชน ให้กลายเป็น ‘หน้าร้าน’ แทน ‘สาขาของธนาคาร’ แอปพลิเคชันช�ำระและโอนเงินระหว่างบุคคลต่อบุคคลบนมือถือ (Peerto-peer Mobile Payment) ในประเทศสิงคโปร์ โดย Kashmi ท�ำหน้าที่เสมือน กระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ ใช้สามารถเติมเงินผ่านบัตรเดบิต บัตรเครดิต 30
หรือโอนเงินจากธนาคาร/เอทีเอ็มเข้าบัญชีตนเองได้ ส�ำหรับการช�ำระเงินนั้น ผู้ ใช้บริการเพียงต้องทราบหมายเลขโทรศัพท์มือถือหรืออีเมล์ของผู้รับเงิน เท่านี้ก็โอนหรือช�ำระเงินผ่านแอปพลิเคชันได้ จุดเด่นของ Kashmi คือการสร้าง ‘เครือข่ายสังคม’ โดยการเปิดพื้นที่ให้ ผู้ ใช้บริการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการท�ำธุรกรรม ทางการเงินได้ รวมถึงผู้ใช้บริการสามารถแจ้งเตือนเพือ่ นทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ เดียวกัน ให้ช�ำระหรือโอนเงินได้อีกด้วย Kashmi จึงเป็นบริการที่ผสมผสานระหว่าง ระบบการช�ำระและโอนเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ และผ่านโซเชียลมีเดีย
ในอนาคต รักฮิล เฟอร์นาโด (Rakhil Fernado) ผู้ก่อตั้งและประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร Kashmi มองว่า ธุรกิจการช�ำระและโอนเงินผ่านมือถือจะ เติบโตและเข้าถึงกลุ่มคนที่ถูกกีดกันจากบริการทางการเงินในระบบได้มาก ขึน้ ด้วยวิธกี ารเป็นพันธมิตรกับผูป้ ระกอบการร้านค้ารายย่อยในพืน้ ที่ ธุรกิจจะ ประยุกต์ให้เป็น ‘หน้าร้าน’ ที่ผู้ใช้บริการสามารถเติมหรือถอนเงินจากกระเป๋า เงินอิเล็กทรอนิกส์ได้ การปรับโครงสร้างของเครือข่ายทีม่ อี ยูแ่ ล้วในพืน้ ทีช่ มุ ชน ให้กลายเป็นจุดบริการทางการเงินนัน้ มีขอ้ ได้เปรียบกว่าการสร้างสาขาบริการ ขึ้นมาใหม่ ทั้งในแง่ของการประหยัดต้นทุนของผู้ให้บริการ และประสิทธิภาพ 31
ในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าฐานราก ยกตัวอย่างเช่น การที่ Kashmi เข้าไปเป็นพันธมิตรกับร้านสะดวกซื้อ 7-11 ในประเทศอินโดนีเซีย ส่งผลให้บริษัทสามารถเพิ่มการเข้าถึงลูกค้าได้ อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว โดยทีใ่ ช้ต้นทุนไม่สงู มากนัก ทั้งนี้ เฟอร์นาโดเห็น ว่าการขยายการเข้าถึงทางการเงินนั้นไม่เพียงแต่ ‘เป็นไปได้’ แต่ยังถือเป็น ‘โอกาสงาม’ ส�ำหรับธุรกิจฟินเทคในการเข้าถึงตลาดคนรากหญ้า ซึ่งเป็นฐาน ลูกค้าขนาดใหญ่ยักษ์ได้อีกด้วย 2Kuze
(Mastercard) แก้ปัญหาพ่อค้าคนกลางเรื่องความโปร่งใสด้านการ ตั้งราคาในแอฟริกา ด้วยบริการเชื่อมต่อเกษตรกรรายย่อย พ่อค้าคนกลาง และผู้บริโภคเข้าด้วยกัน มาสเตอร์การ์ด ภายใต้การสนับสนุนจากมูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ (Bill & Melinda Gates) ได้นำ� เสนอแอปพลิเคชันใหม่ทมี่ ชี อื่ ว่า 2Kuze (ภาษา สวาฮิลีแปลว่า เติบโตไปด้วยกัน) มุ่งให้บริการเกษตรกรรายย่อยในประเทศ เคนยา อูกันดา และแทนซาเนีย แอปพลิเคชันดังกล่าวสามารถท�ำงานได้ทั้ง บนมือถือทั่วไป สมาร์ทโฟน และคอมพิวเตอร์ เพราะข้อเท็จจริงด้านการเกษตรในภูมภิ าคแอฟริกาส่วนใหญ่มขี นาดเล็ก และกระจายตัวสูง เกษตรกรจึงมักต้องเผชิญกับความยุ่งยากในการจ�ำหน่าย และรับช�ำระเงิน รวมถึงบางครั้งก็อาจถูกพ่อค้าคนกลางเอาเปรียบและไม่ได้ ราคาทีเ่ ป็นธรรม ด้วยเหตุนี้ 2Kuze จึงสามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้โดยท�ำ 32
หน้าทีเ่ ปรียบเสมือนช่องทางในการเชือ่ มต่อเกษตรกรรายย่อย พ่อค้าคนกลาง และผู้บ ริโ ภคเข้าด้วยกันผ่านระบบออนไลน์แทนการท�ำธุรกรรมเงินสด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกระจายผลผลิตทางการเกษตรและเพิ่มความ โปร่งใสในการตั้งราคา หลักการท�ำงานของ 2Kuze คือ เมื่อผู้บริโภคมีค�ำสั่งซื้อผลผลิตเข้ามา ระบบจะส่งข้อความไปยังกลุ่มเกษตรกร ซึ่งมีสิทธิเลือกว่าจะขายผลผลิตใน ปริมาณเท่าไร จากนั้นพ่อค้าคนกลางที่ท�ำงานร่วมกับมาสเตอร์การ์ด จะท�ำ หน้าทีต่ กลงราคาระหว่างผูซ้ อื้ และผูข้ าย เมือ่ ได้ราคาทีท่ งั้ สองฝ่ายพึงพอใจแล้ว ระบบก็จะท�ำการซื้อขายและเป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการ ปัจจุบันมาสเตอร์ การ์ดได้ ให้บริการน�ำร่อง 2Kuze ในประเทศเคนยา และมีแผนจะขยายไป ประเทศอื่นในภูมิภาคแอฟริกาในอนาคต หากเริ่มนับการให้บริการเมื่อเดือน มกราคม 2560 ภายในครึ่งปีพบว่า มีเกษตรกรชาวเคนยากว่า 2,000 คนที่ ใช้บริการดังกล่าวแล้ว
2. การช�ำระและโอนเงินผ่าน ‘โซเชียลมีเดีย’ (Social Media Payment and Transfer Platform)
ปัจจุบันแนวโน้มการใช้แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียยังคงขยายตัวอย่าง รวดเร็วทัว่ โลก โดยคาดการณ์วา่ ภายในปี 2560 จะมีผู้ใช้บริการโซเชียลมีเดีย กว่า 2,550 ล้านคน ด้วยความสามารถในการเข้าถึงและเชือ่ มโยงผูค้ นได้อย่าง 33
มหาศาล ประกอบกับข้อดีของโซเชียลมีเดียที่เสมือนแหล่งรวบรวมข้อมูลเชิง ลึกของผู้ใช้บริการ ซึ่งเอื้อต่อการน�ำไปประมวลผลพฤติกรรมและใช้วิเคราะห์ ความต้องการของลูกค้าได้อย่างแม่นย�ำและรวดเร็ว จึงส่งผลให้โซเชียลมีเดีย เริ่มมีบทบาทมากขึ้นอย่างต่อเนื่องในแวดวงธุรกิจ ตัวอย่างแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียที่ให้บริการโอนและช�ำระเงิน เช่น Dwolla, Azimo และ Wrapp ที่เปิดให้ผู้ ใช้บริการสามารถโอนเงินให้เพื่อน หรือคนรู้จักผ่านทางแอปพลิเคชันโซเชียลมีเดียได้ ในขณะที่ Facebook ก็ มีการพัฒนาระบบการช�ำระเงิน ‘ระหว่างบุคคลต่อบุคคล’ ในแอปพลิเคชัน Messenger ระบบการช�ำระและโอนเงินผ่านโซเชียลมีเดียนอกจากจะท�ำให้การท�ำ ธุรกรรมมีความสะดวกรวดเร็วมากขึน้ แล้ว ยังมีสว่ นช่วยเพิม่ การเข้าถึงบริการ ทางการเงินได้อีกด้วย ยกตัวอย่างเช่น MyPAY บริษัทที่ให้บริการช�ำระเงินทางโทรศัพท์มือถือ ในเมียนมาร์ โดย MyPAY เป็นพันธมิตรทางธุรกิจกับ MySQUAR แพลตฟอร์ม โซเชียลมีเดียทีม่ ฐี านผู้ใช้บริการชาวเมียนมาร์กว่า 1.5 ล้านคน จนกระทัง่ ปี 2558 Fastacash แพลตฟอร์มสัญชาติสิงคโปร์ที่ท�ำระบบการช�ำระและโอนเงินผ่าน โซเชียลมีเดีย ได้มาร่วมลงทุนและเป็นพันธมิตรทางเทคโนโลยีกบั MyPAY เพือ่ ให้ผู้ใช้บริการของ MyPAY สามารถโอนเงินระหว่างกันได้แทนการช�ำระด้วย เงินสด นอกจากนี้ MyPAY ยังพัฒนาระบบการช�ำระและโอนเงินแบบ ‘บุคคลสู่ พ่อค้า (Person-to-merchant)’ โดยบริษัทได้ร่วมมือกับ Fastacash ในการ 34
พัฒนาแอปพลิเคชันบนมือถือที่ท�ำให้ผู้ ใช้บริการ MyPAY สามารถช�ำระและ โอนเงินตามร้านค้าปลีกที่ร่วมโครงการในประเทศได้อีกช่องทางหนึ่ง ลูกค้าที่ ไม่มีบัญชีธนาคารหรือบัตรเครดิตจึงสามารถใช้บริการของ MyPAY ในการท�ำ ธุรกรรมการเงินขั้นพื้นฐานได้
3. สินเชื่อระหว่างบุคคลกับบุคคล (Peer-to-Peer (P2P) Lending)
ธุรกรรมสินเชื่อระหว่างบุคคลกับบุคคลเป็นการกู้ยืมเงินระหว่างผู้กู้และ นักลงทุนโดยตรง ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์หรือแพลตฟอร์มออนไลน์ ซึง่ อาจ เป็นแอปพลิเคชันบนมือถือหรือเว็บไซต์ ผู้ด�ำเนินการแพลตฟอร์ม (Platform Operator) จะเสมือนตัวกลางในการท�ำธุรกรรม และให้ข้อมูลแก่ผู้ขอกู้และ นักลงทุน โดยทีผ่ ใู้ ช้บริการไม่จำ� เป็นต้องท�ำเรือ่ งผ่านสถาบันการเงินหรือธนาคาร ธุรกรรมสินเชื่อระหว่างบุคคลกับบุคคลนี้มีความส�ำคัญในการขยายการ เข้าถึงบริการทางการเงินในแง่ทวี่ า่ ในอดีต ถ้าผูต้ อ้ งการเงินทุนโดยเฉพาะกลุม่ คนด้อยโอกาสหรือกลุ่มฐานรากไม่สามารถเข้าถึงธนาคารหรือสถาบันการ เงินในระบบได้ คนกลุ่มนี้มักต้องไปขอกู้เงินจากคนรู้จัก หรือพึ่งพาเงินกู้นอก ระบบ สินเชื่อระหว่างบุคคลกับบุคคลจึงเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ช่วยให้ผู้คนเข้า ถึงแหล่งเงินทุนได้ง่ายขึ้น เพราะระบบจะท�ำหน้าที่ ‘จับคู่’ และเชื่อมต่อคนที่ มีเงินเหลือกับคนที่ต้องการเงินทุนเข้าด้วยกันผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ ซึ่ง 35
นอกจากเป็นการอ�ำนวยความสะดวกต่อผู้กู้และนักลงทุนแล้ว ระบบดังกล่าว ยังช่วยประหยัดต้นทุนด�ำเนินการได้อย่างมหาศาล รวมทัง้ ท�ำให้อตั ราดอกเบีย้ เงินกู้ลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญอีกด้วย *ดูตัวอย่างกรณีศึกษา Lending Club บริการ P2P ที่ใหญ่เป็นอันดับ ต้นๆ ของโลก ได้ในบทที่ 5
4. ร้านจ�ำน�ำออนไลน์ (Online Pawnshop)
PawnHero.ph เป็นร้านจ�ำน�ำออนไลน์แห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ เริ่มกิจการในปี 2558 ที่ประเทศฟิลิปปินส์ PawnHero.ph มุ่ง ตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ต้องการเงินด่วน แต่ไม่มีบัญชีธนาคาร และบัตรเครดิต โดยบริษัทจะคิดดอกเบี้ยรายเดือนในอัตราคงที่ และรับจ�ำน�ำ ของหลากหลายประเภท ตั้งแต่ของใช้ส่วนตัว เครื่องใช้ไฟฟ้า มือถือ และอื่นๆ นอกจากนี้ บริษัทได้เป็นพันธมิตรกับบริษัทโลจิสติกส์ 2GO เพื่ออ�ำนวยความ สะดวกในการรับส่งของให้ลกู ค้า และเพิม่ อัตราการเข้าถึงกลุม่ คนผูด้ อ้ ยโอกาส ทางการเงินให้มากขึ้น ในอนาคต บริษัทมีแผนให้บริการการช�ำระและโอนเงินออนไลน์ และจะ ร่วมมือกับ LoanSolutions เพื่อให้ลูกค้ามีทางเลือกในการขอเงินทุนเพิ่มมาก ขึ้น หมายความว่าลูกค้าจะเลือกจ�ำน�ำของ หรือเลือกขอสินเชื่อผ่านเว็บไซต์ ของบริษัทก็ได้ ในกรณีการขอสินเชื่อ เว็บไซต์จะจับคู่ลูกค้ากับสถาบันการ 36
เงินที่มีสินเชื่อที่เหมาะสมให้ รวมถึงลูกค้าจะใช้สินทรัพย์ที่มีอยู่ไปค�้ำประกัน สินเชื่อแทนการจ�ำน�ำกับบริษัทก็ได้ ทั้งนี้เพื่อให้ลูกค้าได้รับสินเชื่อที่มีเงื่อนไข ที่ดีและตรงกับความต้องการของลูกค้ามากที่สุด
5. การพิจารณาคะแนนเครดิต (Credit Scoring)
ธุรกิจฟินเทคในกลุ่มนี้ไม่ได้ ให้บริการสินเชื่อหรือเงินทุนโดยตรง แต่ เสมือน ‘ตัวกลาง’ ทีท่ ำ� หน้าทีว่ เิ คราะห์ประวัตแิ ละประเมินความสามารถในการ ช�ำระหนี้ของผู้กู้ เพื่อเป็นข้อมูลส�ำหรับใช้พิจารณาสินเชื่อต่อไป ตัวอย่างธุรกิจฟินเทคกลุ่มนี้ เช่น Lenddo ในประเทศฟิลิปปินส์ ที่มีจุดริเริ่มมาจากการเห็น โอกาสของตลาดสินเชื่อส�ำหรับคนชนชั้นกลาง ซึ่งเป็นกลุ่มที่เข้าถึงสินเชื่อของสถาบันการเงินใน ระบบได้ยาก บริษทั จึงเริม่ จากการพัฒนาแพลตฟอร์มและอัลกอริธมึ ทีส่ ามารถ รวบรวมข้อมูลและท�ำนายความน่าเชื่อถือทางเครดิตของลูกค้ารายย่อยได้ ปัจจุบันบริษัทพัฒนาและจ�ำหน่ายแพลตฟอร์มวิเคราะห์ความสามารถในการ ช�ำระหนี้ให้แก่องค์กรอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นธนาคาร บริษัทโทรคมนาคม ธุรกิจ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือธุรกิจบัตรเครดิต จุดเด่นอย่างหนึ่งของ Lenddo คือ การน�ำข้อมูลในมิติอ่ืนๆ ที่ไม่ใช่ 37
ข้อมูลทางการเงินมาวิเคราะห์ความสามารถในการช�ำระหนี้ โดยรวบรวม จากพฤติกรรมการใช้โซเชียลมีเดียของผู้กู้ การท�ำเช่นนี้ส่งผลให้ผู้ให้บริการ ทางการเงินสามารถประเมินความสามารถในการช�ำระหนี้ของกลุ่มลูกค้า ยากจนได้ เนื่องจากโดยทั่วไปแล้ว ลูกค้ากลุ่มนี้มักไม่มีข้อมูลทางการเงินมาก นัก (เช่น ประวัติการฝาก-ออมเงิน เครดิตบูโร ฯลฯ) การใช้ข้อมูลมิติอื่นใน การพิจารณาสินเชื่อ จึงเป็นการเปิดโอกาสให้คนยากจนสามารถเข้าถึงสินเชือ่ ได้มากขึน้ นอกจากนี้ ข้อมูลเหล่านีส้ ว่ นใหญ่จะอยูใ่ นรูปดิจทิ ลั ซึง่ ระบบสามารถ ดึงมาประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว และท�ำให้กระบวนการวิเคราะห์สินเชื่อ มีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดต้นทุนในการด�ำเนินงาน เพิ่มคุณภาพในการ ให้บริการแก่ลูกค้า รวมทั้งขยายขอบเขตการให้บริการได้มากขึ้น
38
-4M-Pesa: ระบบการเงินเพื่อคนฐานราก
หลั ง จากเปิ ด ให้ บ ริ ก ารไม่ น านนั ก ลู ก ค้ า ก็ เ ริ่ ม มอง M-Pesa เป็นช่องทางในการรับส่งเงินทั่วไป และใช้ บริการ M-Pesa เพือ ่ ส่งเงินกลับไปให้ครอบครัวทีอ ่ ยู่ ในชนบทมากขึ้น
$
$
$
39
ในปี 2550 ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มอื ถือสองค่ายใหญ่ ได้แก่ Vodafone จากอังกฤษ และ Safaricom จากเคนยา ได้ร่วมมือเป็นพันธมิตรและสร้าง แพลตฟอร์มมือถือทางการเงินที่มีชื่อว่า ‘M-Pesa’ โดย M มาจาก mobile ที่ แปลว่ามือถือ และ pesa ที่แปลว่าเงินในภาษาสวาฮิลี M-Pesa เป็ น โครงข่ า ยธุ ร กรรมทางการเงิ น ผ่ า นโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ วัตถุประสงค์ด้ังเดิมคือเพื่อให้ผู้กู้ยืมไมโครไฟแนนซ์สามารถรับเงินและผ่อน ช�ำระหนี้ได้สะดวกยิ่งขึ้น ผ่านเครือข่ายผู้จ�ำหน่ายเงินที่ใช้เติมมือถือของ Safaricom ซึ่งจะกระจายตัวอยู่ทั่วประเทศเคนยา อย่างไรก็ดี หลังจากเปิดให้ บริการไม่นานนัก ลูกค้าก็เริม่ มอง M-Pesa เป็นช่องทางในการรับส่งเงินทัว่ ไป และใช้บริการ M-Pesa เพื่อส่งเงินกลับไปให้ครอบครัวที่อยู่ในชนบทมากขึ้น ปัจจุบัน กลุ่มลูกค้าหลักของ M-Pesa คือผู้ท่ีมีโทรศัพท์มือถือแต่ไม่มี บัญชีธนาคาร หรือผู้ที่เข้าถึงบริการทางการเงินในระบบได้อย่างจ�ำกัด ลูกค้า สามารถโอน รับเงิน เติมเงินมือถือ และช�ำระค่าสินค้าและบริการพื้นฐานผ่าน M-Pesa ได้ ลูกค้าสมัครเพือ่ ใช้บริการ M-Pesa ได้ที่ ‘ตัวแทน’ (Agent) ทีไ่ ด้รบั อนุญาต จากบริษทั ส่วนมากคือผูป้ ระกอบการรายย่อยหรือตัวแทนผู้ให้บริการโทรศัพท์ มือถือในท้องถิ่น หลังจากที่ลูกค้าแจ้งเลขประจ�ำตัวประชาชน และส่งเอกสาร ประกอบการสมัครครบถ้วนแล้ว ลูกค้าสามารถฝากเงินสดกับตัวแทนเพื่อ แลกเป็นสกุลเงินอิเล็กทรอนิกส์และโอนให้ผู้อื่นได้ การท�ำธุรกรรมแต่ละครั้ง จะต้องใช้รหัส PIN ของลูกค้า และเมื่อธุรกรรมเสร็จสิ้นแล้ว จะมีข้อความ 40
ที่นี่ประเทศเคนยา
ผู้ทเี่ ข้าถึง บริการทางการเงิน ในระบบได้อย่างจํากัด
ผู้ทม ี่ ีโทรศัพท์มือถือ แต่ไม่มี สมุดบัญชีธนาคาร
กลุ่ม ชาวบ้านยากจน ในชนบท
ใช้โทรศัพท์มือถือ แทนสมุดบัญชี
ยืนยันส่งไปยังผู้ท�ำธุรกรรมและผู้รับเงินปลายทาง ทั้งนี้ ผู้รับเงินปลายทาง ไม่จำ� เป็นต้องใช้เครือข่ายโทรศัพท์มอื ถือเดียวกับผูท้ ำ� ธุรกรรม และจะสามารถ รับเงินอิเล็กทรอนิกส์ได้ทันที และผู้รับเลือกได้ว่าจะเก็บเงินให้คงอยู่ในบัญชี อิเล็กทรอนิกส์ หรือน�ำไปแลกเป็นเงินสดได้จากตัวแทนในพื้นที่ก็ได้ ค่าบริการของ M-Pesa เป็นแบบ ‘จ่ายเมื่อใช้งาน (Pay-as-you-go)’ ลูกค้าจึงไม่ตอ้ งกังวลว่าจะถูกคิดค่าบริการอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ได้ใช้งาน และเมือ่ ดูในแง่ ของความปลอดภัย การด�ำเนินงานของ M-Pesa จะอยูภ่ ายใต้การควบคุมของ หน่วยงานก�ำกับดูแลของแต่ละประเทศที่ M-Pesa ให้บริการอยู่ ซึ่งส่วนใหญ่ 41
มักเป็นธนาคารกลางของประเทศนั้นๆ รวมถึงทุกธุรกรรมที่เกิดขึ้นผ่าน M-Pesa ก็จะถูกบันทึกอยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์และอยู่ภายใต้การเฝ้าสังเกต ของ Vodafone เพื่อป้องกันมิให้เกิดการฟอกเงิน ด้วยธุรกรรมทางการเงินที่สามารถท�ำได้ทุกที่ทุกเวลา มีต้นทุนต�่ำ ปลอดภัย และที่ส�ำคัญคือเข้าถึงได้ง่าย M-Pesa จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มลูกค้า ฐานราก ท�ำให้ลกู ค้าจ�ำนวนมากเข้าถึงบริการทางการเงินขัน้ พืน้ ฐานได้ ปัจจุบนั M-Pesa มีสมาชิกที่เป็นลูกค้ากว่า 25.3 ล้านคน และตัวแทนกว่า 261,000 คนใน 10 ประเทศ1 เฉพาะช่วงปี 2558-2559 M-Pesa ได้ทำ� ธุรกรรมการเงิน ไปแล้วกว่า 4,500 ล้านธุรกรรม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นธุรกรรมที่เกิดขึ้นในประเทศ เคนยา ทีพ่ บว่าธุรกรรมทีท่ ำ� ผ่าน M-Pesa คิดเป็นมูลค่าถึง 25 เปอร์เซ็นต์ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GNP) บริการของ M-Pesa ได้แก่ • การโอนเงิน ลูกค้าโอนเงินจากมือถือของตนไปยังมือถือของผูร้ บั หรือ เข้าบัญชีธนาคารโดยตรงได้ • การถอน-รับเงิน ลูกค้าถอนเงินสดได้จากตัวแทน M-Pesa ในพื้นที่ หรือถอนเงินจากตู้เอทีเอ็มได้โดยตรง รวมถึงรับเงินโอนจากต่าง ประเทศ หรือรับค่าจ้างผ่านโทรศัพท์มือถือได้ • เติมเงินค่าโทรศัพท์มือถือ • ช�ำระค่าโทรศัพท์ ค่าน�้ำ ค่าไฟ ค่าโทรทัศน์ และค่าการศึกษา • ช�ำระค่าสินค้าและบริการของร้านค้าที่ร่วมโครงการ 1 ปัจจุบัน M-Pesa ให้บริการในประเทศอินเดีย เคนยา เลโซโท โมซัมบิก โรมาเนีย แทนซาเนีย อัลบาเนีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก อียิปต์ และกานา 42
เพราะผู้ใช้บริการ M-Pesa สามารถโอนเงินได้ทุกที่ ทุกเวลา และมีต้นทุนในการโอนเงินต่ำ� ลูกค้าของ M-Pesa จึงมีพฤติกรรมการโอนเงินเปลี่ยนไปจาก เดิมที่จะส่งเงินให้ครอบครัวเป็นรายเดือนหรือทุก สองเดือน กลายเป็นโอนเงินทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง มากขึ้น เช่น โอนเงินรายสัปดาห์ นั่นหมายถึงระดับ รายได้ของครัวเรือนในชนบทเพิ่มสูงขึ้นตาม
ที่ผ่านมา M-Pesa ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นแพลตฟอร์มที่มีศักยภาพ ในการขยายการเข้าถึงทางการเงิน และก่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกในด้าน ต่างๆ ดังเช่นประเด็นต่อไปนี้
1. อัตราการบริโภคของครัวเรือนสูงขึ้น
จากการศึกษาในประเทศเคนยาช่วงปี 2551-2557 พบว่าการใช้บริการ M-Pesa ช่วยเพิม่ ระดับการบริโภคของครัวเรือนอย่างมีนยั ส�ำคัญ และส่งผลให้ ประชากรกว่า 186,000 ครัวเรือน หรือคิดเป็น 2 เปอร์เซ็นต์ ของครัวเรือนทั่ว ประเทศสามารถหลุดพ้นจากความยากจนได้ ทัง้ นีพ้ บว่าหากหัวหน้าครอบครัว 43
เป็นผู้หญิงแล้ว ระดับการบริโภคก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น
2. โอนน้อยๆ แต่ถี่ เพิ่มเงินออมในครัวเรือน
ก่อนหน้าการปรากฏตัวของ M-Pesa พบว่ากว่าหนึ่งในสี่ของประชากร เคนยามีแหล่งรายได้หลักคือ เงินโอนที่ได้รับจากสมาชิกในครอบครัวและ ผูอ้ นื่ และเนือ่ งจากประชากรจ�ำนวนมากไม่สามารถเข้าถึงบริการทางการเงินใน ระบบ การโอนเงินส่วนใหญ่จึงต้องท�ำผ่านกลไกนอกระบบ เช่น การส่งเงินไป กับรถโดยสาร หรือส่งทางไปรษณีย์ ซึ่งมักเป็นวิธที ี่มปี ระสิทธิภาพต�ำ่ และอาจ ถูกโกงได้ง่าย อย่างไรก็ดี หลังจากที่ M-Pesa เปิดให้บริการ พบว่าภายในปี 2552 M-Pesa ก็สามารถเข้ามาทดแทนกลไกการโอนเงินแบบดัง้ เดิมได้อย่าง มีนัยส�ำคัญ โดยมีผู้โอนเงินกว่า 40 เปอร์เซ็นต์ ได้หันมาใช้บริการ M-Pesa เพราะผู้ใช้บริการ M-Pesa สามารถโอนเงินได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา และมีตน้ ทุน ในการโอนเงินต�ำ่ ลูกค้าของ M-Pesa จึงมีพฤติกรรมการโอนเงินเปลีย่ นไปจาก เดิมที่จะส่งเงินให้ครอบครัวเป็นรายเดือนหรือทุกสองเดือน กลายเป็นโอนเงิน ทีละน้อยแต่บอ่ ยครัง้ มากขึน้ เช่น โอนเงินรายสัปดาห์ นัน่ หมายถึงระดับรายได้ ของครัวเรือนในชนบทเพิม่ สูงขึน้ ตาม จากการศึกษาพบว่ารายได้ของครัวเรือน ที่ใช้บริการ M-Pesa เพิ่มขึ้น 5-30 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้เป็นเพราะการโอนเงิน ครั้งละน้อยแต่ถี่ครั้งนั้นท�ำให้จ�ำนวนเงินรวมสุทธิที่หัวหน้าครอบครัวส่งให้ สมาชิกในชนบทมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 44
M-Pesa คืออะไร
Before
After
$ $
$
$ $
$
$
$ $ $ $
ใช้โทรศัพท์มือถือ ส่งเงินกลับบ้าน ชาวบ้านส่งเงินกับรถโดยสาร หรือส่งทางไปรษณีย์
จากผลสํารวจปี 2552
40% ของผู้ใช้ธุรกรรม การโอนเงินในเคนยา โอนผ่าน M-Pesa
นอกจากรายได้ครัวเรือนทีเ่ พิม่ ขึน้ แล้ว ผู้ใช้บริการ M-Pesa ยังมีแนวโน้ม ออมเงินมากขึ้นด้วย เนื่องจากไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปธนาคาร หรือตูเ้ อทีเอ็มทีอ่ ยูห่ า่ งไกล ท�ำให้พวกเขามีเงินเหลือออมเพิม่ ขึน้ ผลการศึกษา ชีว้ า่ ครัวเรือนทีใ่ ช้บริการ M-Pesa ออมเงินมากกว่าครัวเรือนทีไ่ ม่ได้ใช้บริการ 22 เปอร์เซ็นต์ โดยเฉลี่ย
45
3. เมื่อคุณภาพชีวิตดีขึ้น คุณภาพสังคมและธุรกิจก็ดีดตัวตาม
เพราะผู้ใช้บริการ M-Pesa สามารถรับและโอนเงินได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา ลูกค้า จึงใช้ชวี ติ ประจ�ำวันและท�ำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพและสะดวกสบายมาก ยิ่งขึ้น ยกตัวอย่างเช่น แม่บ้านในเคนยาไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการ เดินทางเพือ่ ไปถอนเงินจากสาขาธนาคารหรือตูเ้ อทีเอ็ม ท�ำให้พวกเขาสามารถ ไปประกอบอาชีพเสริมเพื่อหารายได้เพิ่มเติม หรือในประเทศในอินเดีย ผู้บริโภคสามารถใช้ M-Pesa ในการซื้อของทาง Ebay ช�ำระค่าแท็กซี่ หรือ แม้แต่จองตัว๋ รถไฟได้ ในขณะภาคธุรกิจอย่าง Walmart ก็ใช้ M-Pesa มาพัฒนา การบริหารจัดการเงินสดและเพิ่มประสิทธิภาพในการด�ำเนินธุรกิจได้
4. ครอบครัวฐานรากมีก�ำลังรับมือกับ ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
เนื่องจากครัวเรือนที่ใช้บริการ M-Pesa มีแนวโน้มได้รับเงินจากหัวหน้า ครอบครัวอย่างสม�่ำเสมอ และมักได้จ�ำนวนเงินรวมสุทธิมากกว่า ครัวเรือน ดังกล่าวจึงสามารถรับมือกับผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัย ภายนอกได้ดีกว่า จากการศึกษาพบว่าเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง (Economic shocks) ครัวเรือนทีใ่ ช้บริการ M-Pesa จะมีอตั ราการบริโภคต่อหัว สูงกว่าครัวเรือนทีไ่ ม่ได้ใช้บริการโดยเฉลีย่ และจะยิง่ มีคา่ สูงขึน้ หากครัวเรือนนัน้ 46
อาศัยอยู่ใกล้ตัวแทนของ M-Pesa
5. ผู้หญิงมีอิสระและอ�ำนาจต่อรองมากขึ้น
การที่ผู้หญิงในชนบทรับเงินที่ส่งมาจากหัวหน้าครอบครัว และฝากไว้ ในบัญชีของ M-Pesa ได้ ส่งผลให้พวกเธอมีอ�ำนาจและอิสระในการบริหาร จัดการเงินมากขึ้น นอกจากนี้ พบว่าผู้หญิงในครัวเรือนที่ใช้บริการ M-Pesa มีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนอาชีพจากการท�ำเกษตรไปสู่การท�ำธุรกิจมากขึ้น ท�ำให้ เกิดการจัดสรรแรงงานที่มีประสิทธิภาพและผลิตภาพมากขึ้น
6. การสนับสนุนการด�ำเนินนโยบายภาครัฐ
ที่ผ่านมา M-Pesa มีส่วนช่วยให้ภาครัฐด�ำเนินนโยบายอุดหนุนหรือให้ ความช่วยเหลือแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ยกตัวอย่างเช่น Vodafone ได้เป็นพันธมิตรกับกระทรวงการพัฒนาสังคม ในประเทศเลโซโท ทวีปแอฟริกาใต้ เพือ่ พัฒนาระบบการจ่ายเงินสวัสดิการแบบ ให้เปล่าผ่าน M-Pesa ส่วนกระทรวงการเกษตรของเคนยาก็ใช้ M-Pesa เป็น ช่องทางให้เงินสนับสนุนส�ำหรับการซื้อปุ๋ยแก่เกษตรกรในประเทศ ในขณะที่ โครงการอาหารโลก (World Food Programme) ในเคนยาได้ใช้ M-Pesa ใน การส่งเงินค่าช่วยเหลือด้านอาหารไปยังค่ายผู้ลี้ภัยที่อยู่ห่างจากตัวเมือง 47
7. การส่งเสริมระบบสาธารณสุข
ทีป่ ระเทศเลโซโท Vodafone ได้พฒ ั นาบริการให้ลกู ค้าสามารถแปลงยอด ค่าโทรศัพท์มือถือเป็นเครดิต M-Pesa เพื่อส�ำรองเป็นค่าใช้จ่ายในยามฉุกเฉิน ได้ นอกจากนี้ แรงงานสาธารณสุขกว่าร้อยชุมชนในเครือข่ายโรงพยาบาลและ คลินิกก็ได้รับเงินเดือนผ่าน M-Pesa ท�ำให้พวกเขาไม่ต้องเสียเวลาในการ ท�ำงานเพื่อเดินทางไปรับเงิน ในประเทศเคนยา Safaricom ได้เป็นพันธมิตรกับมูลนิธิ PharmAccess และ Carepay ในการให้บริการ ‘M-Tiba’ ซึ่งเป็นกระเป๋าเงินสุขภาพบนมือถือ ทีท่ ำ� หน้าทีเ่ ป็นช่องทางรับเงินบริจาคด้านสาธารณสุขจากผูบ้ ริจาคและภาครัฐ และโอนเงินนั้นให้ผู้รับบริจาค ทั้งนี้ ผู้รับบริจาคสามารถน�ำเงินใน M-Tiba ไป ใช้ชำ� ระค่ารักษาพยาบาลทีค่ ลินกิ หรือร้านขายยาทีร่ ว่ มโครงการทัว่ ประเทศได้ โดยไม่ต้องแลกเป็นเงินสด
8. การสนับสนุนการใช้พลังงานสะอาด
ระบบการผ่อนช�ำระเงินผ่าน M-Pesa มีส่วนช่วยให้คนยากจนในชนบท เข้าถึงพลังงานสะอาดได้มากขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต ของพวกเขาในระยะยาว ตัวอย่างเช่น ธุรกิจพลังงานสะอาดในแทนซาเนีย เช่น Mobisol, Off-Grid Electric และ M-kopa ได้ใช้ M-Pesa ในการให้บริการ 48
พลังงานสะอาดแก่คนในชนบทที่ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง โดยลูกค้าสามารถซื้อบริการ พลังงานสะอาด เช่น อุปกรณ์พลังงานแสงอาทิตย์ และผ่อนช�ำระรายเดือนให้ บริษัทพลังงานผ่าน M-Pesa แทนการจ่ายงวดเดียว เมื่อลูกค้าช�ำระเงินราย เดือนแล้ว การ์ด SIM มือถือจะส่งสัญญาณให้อุปกรณ์นั้นๆ ท�ำงาน และจะตัด การท�ำงานโดยอัตโนมัติเมื่อครบเวลาการใช้งาน
ขั้นตอนการใช้บริการ
1
ลูกค้าฝากเงินกับตัวแทน เพื่อแลกเป็นสกุลเงินอิเล็กทรอนิกส์ มีเครือข่ายผู้จําหน่ายเงิน กระจายอยู่ทัว ่ ไปในชุมชน
$
AGENT
49
2
AGENT แปลงเงินสดเป็นเงินอิเล็กทรอนิกส์
ได้เงินอิเล็กทรอนิกส์
3
ผู้ส่งเงินเป็นคน กดรหัส PIN
วิธีการรับและส่งเงิน
PIN NUMBER
1 9 8 4
ผู้รับจะต้องกดรหัส PIN ก็ต่อเมื่อ ต้องการกดถอนเงิน (withdraw) ซึง ่ จะเป็นคนละรหัส PIN กับของผู้ส่ง
PIN NUMBER
2 5 2 7
50
4
เงินถึงผู้รับ โดยผู้รับไม่ต้องใช้เครือข่ายเดียวกับผู้โอน
$
$
$
ปั จจัยแห่งความส�ำเร็จของ M-Pesa
ระยะเวลากว่า10 ทีผ่ า่ นมา M-Pesa ได้รบั การพิสจู น์แล้วว่าเป็นโครงข่าย ธุรกรรมทางการเงินผ่านโทรศัพท์มอื ถือทีป่ ระสบความส�ำเร็จมากทีส่ ดุ แห่งหนึง่ โดยปัจจัยที่ส่งผลให้ M-Pesa ในเคนยาประสบผลส�ำเร็จสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. อัตราการเข้าถึงโทรศัพท์ และการกระจายตัวของสมาชิกครอบครัว
สาเหตุหนึง่ ทีบ่ ริการธุรกรรมการเงินผ่านโทรศัพท์มอื ถือประสบผลส�ำเร็จ ในการเข้าถึงคนรากหญ้าในประเทศเคนยาได้นนั้ เป็นเพราะเคนยามีโครงสร้าง 51
เครือข่ายโทรศัพท์มอื ถือทีค่ อ่ นข้างครอบคลุม และประชากรมีอตั ราการเข้าถึง โทรศัพท์สงู ความพร้อมด้านโครงสร้างพืน้ ฐานและประชากรดังกล่าวจึงท�ำให้ M-Pesa สามารถเจาะตลาดลูกค้าฐานรากได้อย่างรวดเร็วและมหาศาล อีกปัจจัยหนึง่ คือ ลักษณะครอบครัวของชาวเคนยาทีส่ มาชิกมักอาศัยอยู่ อย่างกระจัดกระจาย เช่น หัวหน้าครอบครัวมักประกอบอาชีพในเมือง ขณะที่ สมาชิกคนอืน่ จะอาศัยในชนบท ท�ำให้มคี วามต้องการโอนเงินภายในประเทศสูง ซึ่ง M-Pesa เล็งเห็นตลาดดังกล่าว และสามารถพัฒนาบริการที่ตอบโจทย์นี้ ได้เป็นอย่างดี
2. สังคมที่ตั้งอยู่บน ‘ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล’
การที่ M-Pesa ประสบความส�ำเร็จอย่างงดงามในเคนยาส่วนหนึ่งเป็น เพราะสังคมในภูมิภาคแอฟริกาเป็นสังคมที่ขับเคลื่อนด้วยความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลเป็นหลัก ด้วยเหตุนี้ เมือ่ มีคนจ�ำนวนหนึง่ ใช้บริการ M-Pesa แล้ว พึงพอใจ คนกลุ่มนี้ก็จะแนะน�ำต่อและเกิดการตลาดแบบ ‘ปากต่อปาก (Word of mouth)’ ท�ำให้คนทีร่ บั รูแ้ ละใช้บริการขยายวงกว้างขึน้ จนเกิดเป็นเครือข่าย ของผู้ใช้บริการ และส่งผลให้บริการของ M-Pesa น่าดึงดูดยิง่ ขึน้ เนือ่ งจากยิง่ มี ผู้ใช้บริการจ�ำนวนมากเท่าไร ก็จะยิง่ มีการเชือ่ มต่อกันมากขึน้ เท่านัน้ และท�ำให้ ลูกค้าสามารถท�ำธุรกรรมทางการเงินผ่าน M-Pesa ได้อย่างทั่วถึง
52
3. สภาพแวดล้อมของการก�ำกับดูแล
ธนาคารกลางเคนยามีบทบาทส�ำคัญในการสนับสนุนและผลักดันให้ M-Pesa ออกสู่ตลาดได้จริง รวมถึงช่วยสร้างความเชื่อมั่นของผู้ใช้บริการที่มี ต่อระบบ ธนาคารกลางเคนยาได้เข้ามามีสว่ นร่วมอย่างจริงจังตัง้ แต่ชว่ งน�ำร่อง การใช้บริการ M-Pesa ในปี 2547 โดยธนาคารฯ ก�ำหนดให้ M-Pesa ฝากกองทุน ของลูกค้าไว้ที่สถาบันการเงินที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น รวมทั้งทบทวนระบบ รักษาความปลอดภัยของแพลตฟอร์ม และก�ำหนดยอดสูงสุดในการท�ำธุรกรรม เพือ่ ป้องกันปัญหาการฟอกเงิน ในอีกทางหนึง่ การทีห่ น่วยงานก�ำกับดูแลเข้ามา มีส่วนร่วมดังกล่าวท�ำให้ผู้บริโภคเกิดความเชื่อมั่นที่จะใช้บริการทางการเงิน ในรูปแบบใหม่ๆ
4. เครือข่ายของตัวแทน M-Pesa
เครือข่ายตัวแทนของ M-Pesa มีบทบาทส�ำคัญในการท�ำให้ลกู ค้าเข้าถึง บริการทางการเงินได้อย่างแท้จริง เนื่องจากตัวแทนของ M-Pesa ส่วนใหญ่ เป็นผู้ประกอบการรายย่อยที่ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือในพื้นที่ ซึ่งมี จ�ำนวนมากและกระจายตัวอยู่ทั่วประเทศ การมีเครือข่ายตัวแทนที่หนาแน่น และครอบคลุมนี้ท�ำให้บริการรับและโอนเงินของ M-Pesa ไม่เกิดปัญหา ‘ไมล์ สุดท้าย’ (ปัญหาที่บุคคลปลายทาง โดยเฉพาะผู้ที่อาศัยในชนบท ไม่สามารถ 53
หรือมีความล�ำบากในการแปลงเงินอิเล็กทรอนิกส์ให้กลายเป็นเงินสดเพื่อน�ำ ไปใช้ตอ่ ได้) โดยปัจจุบนั เครือข่ายตัวแทนในเคนยามีจำ� นวนกว่า 110,000 คน ซึ่งมากกว่าจ�ำนวนตู้เอทีเอ็มถึง 40 เท่า
54
-5กรณีศึกษา Lending Club: ขวัญใจมวลชน อันดับหนึ่ง ‘P2P’
รู้จักกับ
LENDING CLUB บริการสินเชื่อออนไลน์ แบบ peer-to-peer อันดับหนึ่งของโลก
Peer-to-Peer หรือ P2P Lending คือ การให้บริการสินเชือ่ /เงินกูอ้ อนไลน์ ระหว่าง ‘บุคคลกับบุคคล’ โดยผู้กู้ไม่ต้องท�ำเรื่องผ่านธนาคาร ดอกเบี้ยน้อย 55
เข้าถึงง่าย และอนุมัติเร็วภายใน 7 วัน ข้อดีของ P2P Lending อาจสรุปได้เช่นนั้น แต่จะเป็นไปได้อย่างไร ใคร จะกล้าเอาเงินมาให้กู้ และท�ำไมจึงให้กู้ในดอกเบี้ยราคาถูกขนาดนั้น ทั้งหมด นี้จะเป็นจริงได้อย่างไรกัน?! ผู้ให้บริการ P2P Lending ในสหรัฐอเมริกาที่ชื่อ ‘Lending Club’ ตั้งแต่ ก่อตัง้ ขึน้ ในปี ค.ศ. 2007 ปัจจุบนั ได้อนุมตั สิ นิ เชือ่ ให้ลกู ค้ารวมกว่า 1.5 ล้านคน เป็นมูลค่าเกือบกว่า 24,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ลองมาดูกนั ว่ากลไกในการท�ำงาน ปัจจัยทีท่ ำ� ให้ประสบความส�ำเร็จ รวม ทั้งปัญหาของ Lending Club ที่เรายังต้องจับตามอง คืออะไร? Lending Club คือใคร และ key success ของธุรกิจ ทําไม Lending Club จึงชนะใจมวลชน ก้าวขึน ้ เป็ นธุรกิจ P2P
อันดับ 1 ของโลก!
1 56
P2P
• ประเมินเร็ว อนุมัติเร็วภายใน 7 วัน • ผู กู ไม ต องเดินทางไปธนาคาร ไม ต องเตร�ยมเอกสาร จํานวนมหึมา • ที่คิดดอกเบี้ยตํ่า ส วนหนึ่งเป นเพราะไม มี ‘หน าร าน’ หร�อ ‘สาขาธนาคาร’ ทําให ต นทุนตํ่ากว า ธนาคารพาณิชย ราวคร�่งหนึ่ง และกําหนดอัตราดอกเบี้ย ที่จ�งใจทั้งผู กู และนักลงทุนได • ข อมูลทั้งหมดบันทึกในรูปดิจ�ตอล ดึงมาใช ง ายไม ต อง เส�ยเวลาเป ดตู เอกสารหา • พลังเคร�อข ายโซเชียล ทําให ใครๆ ก็รู จัก Lending Club พอมีคนขอกู มาก นักลงทุนก็ยิ�งมีตัวเล�อกในการลงทุน และอยากมาลงทุนกับ Lending Club มากตาม • ฐานลูกค าก็จะใหญ ข�้นๆ พอลูกค ามากข�้น ดอกเบี้ย ก็ยิ�งตํ่าลงได อีก
Lending Club เป็น P2P Lending ที่เชื่อมโยงผู้ต้องการเงินทุนเข้ากับ นักลงทุนอิสระผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ เริ่มกิจการในปี ค.ศ. 2007 ที่ สหรัฐอเมริกา ปัจจุบนั ได้อนุมตั สิ นิ เชือ่ ให้ลกู ค้ารวมเป็นจ�ำนวนกว่า 1.5 ล้านคน คิดเป็นมูลค่าเกือบ 24,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ บริการสินเชื่อหลักๆ ของ Lending Club ได้แก่ สินเชื่อส่วนบุคคล (Personal Loans), สินเชื่อเพื่อรีไฟแนนซ์รถยนต์ (Auto Refinancing) และ สินเชื่อเพื่อประกอบธุรกิจ (Business Loans)
หลักการทํางานของ
Lending Club 1
ใบหลักการประเมินส�นเชื่อ โดย WebBank/ ธนาคารพาณิชย พันธมิตร กรอกใบสมัคร ขอส�นเชื่อ
จํานวนเง�น วัตถุประสงค ในการกู เง�นเดือน ข อมูลจากเครดิตบูโร ประวัติระยะเวลาการใช เครดิต ประวัติการใช งานบัญชีธนาคาร อื่นๆ
นี่คือดําเกิง
57
2
ทําหน้าที่ประเมิน ด้วยหลักการประเมินสินเชื่อ
2.1 ส่งใบสมัครขอสินเชื่อ
2.2
ผ่าน
2.3 WebBank ขายสินเชื่อ ให้กับ Lending Club
3
ตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note)
A B C D เอาใบสมัครสินเชื่อ ที่ผ่านการพิจารณา มาจัดไฟล์ใหม่
E F G
58
4
LENDING CLUB A
BUY
B
BUY
C
BUY
7 วันหลังดําเกิง ยื่นใบสมัครขอสินเชื่อ
BUY
D E
BUY
F
BUY
G
BUY
มีเงินโอนเข้าบัญชี 3,000,000 บาท จาก Lending Club
1
นักลงทุน สามารถเลือกซื้อ ตั๋วสัญญาใช้เงิน ตามความพึงพอใจ
5 นักลงทุนจะทยอยได้รับเงินสดคืน ผ่านบัญชีธนาคารที่ผูกไว้
+$
+$
ดําเกิงทํางาน ได้กําไร
$ ดําเกิงโอนเงินคืน
นักลงทุนได้ทุน และกําไรคืน
59
LENDING CLUB:
ใครเป็นผู้แบกรับความเสี่ยง
บร�ษัทบร�หารจัดการส�นทรัพย มีหน าที่นําเง�นทุนของลูกค า มาบร�หารเพ�่อให ได ผลตอบแทน อยู ภายใต กฎเกณฑ ต างๆ ในฐานะที่เป นผู ให คําปร�กษา ทางการเง�น
ธุรกิจธนาคารพาณิชย มีบร�การฝากเง�นและใช เง�นทุนนั้น เพ�่อปล อยส�นเชื่อต อ ธนาคารจ�ง เป นผู แบกรับความเส�่ยง ที่อาจเกิดข�้นโดยตรง
60
Lending Club
ไม ได จดทะเบียนธุรกิจ เป นธนาคารพาณิชย หร�อ บร�ษัทบร�หารจัดการส�นทรัพย บร�ษัทจ�งไม ต องอยู ภายใต กรอบกฎเกณฑ
ด้วยสถานะอันคลุมเครือของ Lending Club ทีไ่ ม่ใช่ทงั้ ธนาคารและบริษทั บริหารจัดการสินทรัพย์ ท�ำให้บริษัทสามารถแปลงสินเชื่อให้เป็นหลักทรัพย์ (ตั๋วสัญญาใช้เงิน) แล้วจ�ำหน่ายให้แก่นักลงทุน โดยที่ตัวบริษัทเองไม่ได้แบก รับความเสี่ยง (Skin in the game) ว่าผู้กู้จะมีความสามารถในการช�ำระหนี้ และดอกเบี้ยได้หรือไม่ แต่ความเสี่ยงจะตกอยู่กับนักลงทุนรายย่อย ด้วยเหตุนี้ บริษัทจึงมีแรงจูงใจที่จะปล่อยกู้แบบ ‘นักล่า’ (Predatory Lending) หรือก็คอื การระดมเงินกู้ให้ได้มากทีส่ ดุ โดยไม่สนใจคุณภาพเครดิต ของผู้กู้ยืมมากนัก (ไม่สนว่าผู้กู้เสี่ยงที่จะไม่สามารถคืนหนี้ได้)
แล้วนักลงทุนจะมั่นใจได้อย่างไรว่าจะไม่ถูกโกง?
¡Åä¡ LC ÊØ´¤ÅØÁà¤Ã×Í ÊØ´·ŒÒÂã¤Ã໚¹¤¹ÃѺ¤ÇÒÁàÊÕ觡ÒÃŧ·Ø¹? FIN TECH
¿ ¹¹ÔÇÊ ¡Ç‹Ò 30 ÊÑÞÞÒ CEO ¢Í§ LC ´Ñ¹ÂÍ´¡ÙŒ
LC ¼‹Í¹à¡³±
¡ÒûŋÍ¡ٌ
(อานตอยอหนา 2)
ËÇѧãËŒÂÍ´ÊÔ¹àª×èÍ´ÙÊÙ§
´Ö§´Ù´¹Ñ¡Å§·Ø¹
(อานตอยอหนา 1)
à¼Â¼Å»ÃÐ⪹ · º Ñ «Œ Í ¹ LC ºÔ´àº×͹¢ŒÍÁÙÅÊÔ¹àª×èÍ¡Ç‹Ò 22,000 Ōҹ´ÍÅÅÒÃ
(อานตอยอหนา 3)
61
เมือ่ ปี ค.ศ. 2016 ทีผ่ า่ นมา อดีต CEO ของบริษทั LC Renaud Laplanche รับสารภาพว่าในปลายเดือนธันวาคม ค.ศ. 2009 เขาและสมาชิกในครอบครัว อีกสามคนได้ทำ� เรือ่ งขอกูเ้ งินจาก Lending Club เป็นจ�ำนวน 32 สัญญา คิดเป็น มูลค่า 722,800 ดอลลาร์สหรัฐ เพือ่ ทีจ่ ะ ‘เพิม่ ตัวเลขยอดสินเชือ่ ทีบ่ ริษทั ปล่อยกู’้ ให้ดูสูงกว่าความเป็นจริง บริษัทเริ่ม ‘ผ่อน’ กฎเกณฑ์ในการปล่อยกู้ เช่น ยกเลิกการตรวจสอบ ระดับรายได้ของผู้กู้ รวมทั้งอนุญาต (แบบลับๆ) ให้ผู้กู้ที่ขอสินเชื่อได้ไม่ครบ จ�ำนวนในครั้งแรก สามารถแบ่งสินเชื่อเดิมออกเป็นหลายส่วน และขอกู้ใหม่ ได้ เพื่อให้สินเชื่อ ‘แลดู’ มีการกระจายความเสี่ยง และดึงดูดนักลงทุนได้มาก ยิง่ ขึน้ ซึง่ ในความเป็นจริงแล้วสินเชือ่ นัน้ ๆ ไม่ได้มคี วามเสีย่ งลดลงแต่อย่างใด เนื่องจากสินเชื่อทั้งหมดยังคงถูกผูกไว้กับลูกหนี้คนเดียวกัน นอกจากนี้ Lending Club ยังมีปญ ั หาเรือ่ งผลประโยชน์ทบั ซ้อนของอดีต CEO โดยในช่วงมีนาคมถึงเมษายน ปี ค.ศ. 2016 บริษัทได้ขายพอร์ตสินเชื่อ มูลค่ากว่า 22,000 พันล้านให้แก่บริษัทวาณิชธนกิจ Jefferies แต่ภายหลัง พบว่าพนักงานของ Lending Club มีการบิดเบือนข้อมูลสินเชื่อดังกล่าวเพื่อ ให้พอร์ตผ่านเกณฑ์การพิจารณา ขณะเดียวกัน Laplanche ก็ได้โน้มน้าวให้ Lending Club ลงทุนในกองทุน Cirrix Capital ซึ่งเป็นกองทุนที่เขาได้ลงทุนโดยส่วนตัวอยู่ โดยที่ Laplanche ก็ไม่ได้เปิดเผยข้อมูลนี้ให้คณะกรรมการบริษัททราบแต่อย่างใด ในที่สุด Laplanche ก็ถูกบีบบังคับให้ลาออกจากต�ำแหน่งในเดือน 62
พฤษภาคม ค.ศ. 2016 มูลค่าหุ้นของบริษัทตกฮวบพร้อมกับความเชื่อมั่น ของลูกค้าและนักลงทุน หลังจากนั้นบริษัทก็ถูกตรวจสอบการด�ำเนินงานโดย คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และมีการแต่งตั้ง Scott Sanborn ให้เป็นประธาน CEO คนใหม่ ถึงแม้คนธรรมดาจะเข้าถึงเงินกู้ได้มากกว่าที่เคย และนักลงทุนก็ได้ผล ตอบแทนงามๆ กลับไป ปัญหาผลประโยชน์ทบั ซ้อนทีล่ กุ ลามเป็นการหลอกลวง ก็ท�ำให้เกิดค�ำถามถึง ‘เส้นแบ่ง’ ที่เหมาะสม ระหว่างการก�ำกับดูแลจากรัฐ กับ การมอบอิสระให้ฟินเทคสามารถคิดค้นนวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนโลกการเงิน ไปข้างหน้า Lending Club จึงเป็นกรณีศึกษาที่น่าจับตาอย่างยิ่งส�ำหรับไทย!
63
-6E-Banking ธนาคารใด ปลอดภัยที่สุด? ฟินเทคไทยพุ ่งเป้าไปที่ ลูกค้าฐานรากหรือยัง? ยิ่งฟินเทคเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการให้บริการ ผู้ให้บริการเก็บข้อมูล ดิจทิ ลั จากผู้ใช้มากเพียงใด ระดับความปลอดภัยและมาตรการคุม้ ครองความ เป็นส่วนตัวก็จะยิง่ ทวีความส�ำคัญเพียงนัน้ จากการส�ำรวจของคณะวิจยั พบว่า ระบบ E-banking ของธนาคารโดยรวมรักษาความปลอดภัยค่อนข้างดี แต่ นโยบายรักษาความเป็นส่วนตัวของลูกค้าและแสดงความรับผิดชอบในกรณี ที่เกิดปัญหายังไม่เพียงพอ
ในบรรดาผู้ เ ล่ น ฟิ น เทคทั้ ง หมดในไทยที่ ค ณะวิ จั ย รวบรวมได้ 66 ราย ยังไม่มีรายใดที่ประกาศเจตจำ�นง อย่างชัดเจนว่ามีเป้าหมายอยู่ที่ตลาดผู้มีรายได้น้อย ซึ่งเป็นกลุ่มที่ยังเข้าไม่ถึงการเงินในระบบ
65
ฟินเทคจะสามารถเพิ่มการเข้าถึงบริการทางการเงินในประเทศได้อย่าง ยั่งยืนหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย รวมถึงความโปร่งใส การก�ำกับดูแล ที่ได้ ‘สมดุล’ ระหว่างการก�ำกับมิให้ผู้ ให้บริการฉวยโอกาสเอาเปรียบผู้มี รายได้นอ้ ย และเปิดพืน้ ทีใ่ ห้เกิดนวัตกรรมและการทดลองใหม่ๆ เพือ่ ยกระดับ บริการทางการเงิน นอกจากนี้ ยิง่ ฟินเทคเข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ของการให้บริการ ผู้ ให้บริการเก็บข้อมูลดิจิทัลจากผู้ ใช้มากเพียงใด ระดับความปลอดภัยและ มาตรการคุ้มครองความเป็นส่วนตัวก็จะยิ่งทวีความส�ำคัญเพียงนั้น จากการ ส�ำรวจของคณะวิจยั พบว่า ระบบ E-banking ของธนาคารโดยรวมรักษาความ ปลอดภัยค่อนข้างดี แต่นโยบายรักษาความเป็นส่วนตัวของลูกค้าและแสดง ความรับผิดชอบในกรณีที่เกิดปัญหายังไม่เพียงพอ เบื้องต้นอาจดูเหมือนว่าการท�ำธุรกรรมออนไลน์ช่วยลดขั้นตอนในการ ท�ำธุรกรรมที่ธนาคารด้วยตนเองเท่านั้น แต่ความจริงแล้วธุรกรรมออนไลน์ ยังเกี่ยวข้องกับอีกหลายส่วน โดยเฉพาะการส่งต่อข้อมูลส่วนบุคคลจ�ำนวน มากไปยังบุคคลที่สาม ตัวอย่างเช่น ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ ผู้ให้ บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แพลตฟอร์มโทรศัพท์มือถือ ฯลฯ ซึ่งต่างส่งผล ต่อการท�ำธุรกรรม รวมถึงระดับความรับผิดชอบของแต่ละฝ่ายด้วย อย่างไร ก็ตามส�ำหรับผู้ใช้โดยทัว่ ไป การเข้าถึงข้อมูลเหล่านีไ้ ม่งา่ ยนัก ซึง่ อาจมีสาเหตุ มาจากวิธีการเปิดเผยข้อมูลของผู้ให้บริการและข้อจ�ำกัดเกี่ยวกับความรู้ทาง เทคนิค ทั้งที่เป็นข้อมูลส�ำคัญ คณะวิจัยได้ส�ำรวจ ‘มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยและความเป็น 66
ส่วนตัวของบริการธนาคารออนไลน์’ ซึ่งได้แก่ บริการธุรกรรมออนไลน์ผ่าน เว็บไซต์ (E-banking) และผ่านแอปพลิเคชัน (Mobile Banking) เพื่อเป็น ข้อมูลเบื้องต้นแก่ผู้ ใช้ทั่วไปได้พิจารณาว่าธนาคารปกป้องความปลอดภัย พืน้ ฐานของลูกค้าอย่างไร พร้อมกับแสดงให้เห็นถึงประเด็นความปลอดภัยและ ความเป็นส่วนตัวที่ส�ำคัญ ซึ่งผู้ใช้ธนาคารออนไลน์ควรค�ำนึงถึงในการใช้งาน คณะวิจัยได้ส�ำรวจบริการออนไลน์ทั้งการให้บริการผ่านเว็บไซต์ และ แอปพลิเคชันของธนาคารพาณิชย์ไทยจ�ำนวน 12 แห่งจากทั้งหมด 14 แห่ง ตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย โดยไม่ได้ประเมินธนาคาร 2 แห่งคือ ธนาคารทิสโก้ เนือ่ งจากไม่มกี ารท�ำธุรกรรมทางการเงินออนไลน์ และธนาคาร ไอซีบีซี ซึ่งมีกลุ่มลูกค้าในวงจ�ำกัด ธนาคารที่คณะวิจัยเข้าเก็บส�ำรวจ 1. ธนาคารกรุงเทพ (BBL) 2. ธนาคารกรุงไทย (KTB) 3. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (Krungsri) 4. ธนาคารกสิกรไทย (Kbank) 5. ธนาคารเกียรตินาคิน (KK) 6. ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย (CIMB) 7. ธนาคารทหารไทย (TMB) 8. ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) 9. ธนาคารธนชาต (Thanachart) 10. ธนาคารยูโอบี (UOB) 11. ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์ (LH Bank) 12. ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) (Standard Chartered) 67
E- B a n k i n g
ธนาคารใด
ปลอดภัยที่สุด? สํารวจโดย: Sustainable Banking Thailan d
*
E-Banking ที่ปลอดภัยที่สุด คือ... สํารวจโดย: Sustainable Banking Thailand
12 7.5 1.5
6
0
7.0 2.5
4.5
6.5
3
3
3.5
3.5
?
?
?
?
Standard Chartered
CIMB THAI
TMB
Thanachart
A
68
6.5
B
กระบวนการรักษาความปลอดภัย ของธนาคาร ‘ผ านเว็บไซต ’
C
มาตรการเกี่ยวกับ ข อมูลส วนบุคคล
ความรับผิดชอบ ของธนาคาร
Ch nda art rd ere d
g Kb sri an k Kia tna CIM kin B TM Thai B SC B Th an a UO char B t LH Ba Sta nk
un
Kr
KT
BB
B
กระบวนการรักษาความปลอดภัยของธนาคาร ‘ผ่านเว็บไซต์’
L
A
= ใช Forward Secrecy = ใช โปรโตคอล TLS 1.2 เข ารหัสแบบ 256 บิต = ไม มีการเข ารหัส
การเข ารหัส การเชื่อมต อ
เง�่อนไขรหัสผ าน (ที่ดีควรเป น พยัญชนะ 8 ตัวอักษรข�้นไป ใช พยัญชนะ พ�มพ ใหญ /เล็ก และตัวเลข)
การยืนยันตัวตน ด วย OTP
(OTP มาทาง SMS ให เรายืนยันตัวชั้นที่สอง)
ขั้นตอนการ ขอรหัสผ านใหม รัดกุม
N/A
N/A
= รหัสผ าน 8 ตัวอักษรข�้นไป ใช พยัญชนะพ�มพ ใหญ /เล็ก และตัวเลข = รหัสผ าน 8 ตัวอักษรข�้นไป แต ไม บังคับพยัญชนะตัวพ�มพ ใหญ /เล็ก และตัวเลข = รหัสผ านมีความยาว ตํ่ากว า 8 ตัวอักษร
= ไม ใช OTP ยืนยันตัวตน = ยังใช OTP ยืนยันตัวตน
= ผู ใช บร�การแสดงตนที่ธนาคาร เมื่อลืมรหัสผ าน = ใช รหัสผ าน ATM ยืนยันตัวตน = ใช ข อมูลส วนตัวที่เข าถึงได ง าย ในการยืนยันตัวตน เช น วันเกิด เลขประจําตัวประชาชน
69
มาตรการเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
Ch nda art rd ere d
BB L KT B Kr un g Kb sri an k Kia tna CIM kin B TM Thai B SC B Th an a UO char B t LH Ba Sta nk
B
= แจ งนโยบายข อมูลส วนบุคคล เป นภาษาไทย ที่หน าแรก ของเว็บไซต อย างชัดเจน = แจ งนโยบายข อมูลส วนบุคคล เป นภาษาอังกฤษ ไว ที่หน าแรก ของเว็บไซต = ไม แจ งนโยบายข อมูลส วนบุคคล ไว บนเว็บไซต หร�อลิงก ใช งานไม ได
การแจ งนโยบาย ข อมูลเข าถึงข อมูล (ซึ่งควรอยู ที่หน าแรก ของเว็บไซต และเป นภาษาไทย)
การแจ งให ผู ใช บร�การ ทราบว าธนาคาร เก็บข อมูลใดบ าง
= ให รายละเอียดอย างเฉพาะเจาะจง ว าเก็บข อมูลใดบ าง = ระบุว าเก็บข อมูลส วนบุคคล เท าที่จําเป น = ไม ระบุว าเก็บข อมูลใดบ าง
แจ งวัตถุประสงค ของการรวบรวมข อมูล โดยละเอียด
= แจ งวัตถุประสงค โดยละเอียด = แจ งวัตถุประสงค กว างๆ เช น ใช เพ�่อพัฒนาผลิตภัณฑ ของธนาคาร = ไม แจ งวัตถุประสงค
ระบุระยะเวลา ในการเก็บข อมูล
ระบุแนวทาง การส งต อข อมูล ไปยังบุคคลที่สาม
70
มีนโยบายให ลูกค า เลือก ‘ไม ยอมรับ’ ให ส งต อข อมูล ให กับบุคคลที่สาม (opt-out)
= ระบุระยะเวลา = ไม ระบุระยะเวลา
N/A
N/A
= ระบุแนวทางโดยละเอียด = ระบุแนวทางอย างกว าง เช น ใช เพ�่อพัฒนาผลิตภัณฑ ของธนาคาร = ไม แจ งแนวทาง
= มีนโยบายให ลูกค าเลือก ‘ไม ยอมรับ’ = ไม มีนโยบายให เลือก ‘ไม ยอมรับ’
มาตรการรับผิดชอบของธนาคาร
Ch nda art rd ere d
BB L KT B Kr un g Kb sri an k Kia tna CIM kin B TM Thai B SC B Th an a UO char B t LH Ba Sta nk
C
ธนาคารรับผิดชอบ เมื่อข อมูลที่จัดเก็บไว รั่วไหล
= ระบุจะรับผิดชอบ กรณีที่ข อมูลรั่วไหล = ไม ระบุจะรับผิดชอบ กรณีที่ข อมูลรั่วไหล
ธนาคารรับผิดชอบ เมื่อข อมูลรั่วไหล ระหว างการเชื่อมต อ
= ระบุจะรับผิดชอบ กรณีข อมูลรั่วไหล = ไม ระบุจะรับผิดชอบ กรณีที่ข อมูลรั่วไหล
รวม
(A+B+C)
6.0 6.0 5.0 6.0 5.0 7.0 6.5 5.0 6.5 3.5 4.0 7.5
71
‘Sustainable Banking Thailand’ ชี้ ข้อสังเกตเบื้องต้นจากการประเมิน
$
• ‘แอปพล�เคชัน’ ของธนาคาร มีการเปล�่ยนแปลงว�ธี ตรวจสอบตัวตนเพ�่อให ทัน ต อภัยคุกคาม
1 • ธนาคารส วนใหญ ใช ‘การแจ งเตือนอัตโนมัติ’ ผ านอีเมล และ SMS
• ธนาคารประกาศว า ‘จะไม รับผิดชอบต อการรั่วไหลของข อมูล’ แต ภัยคุกคาม จากระบบอินเตอร เน็ตนั้นมากข�้นเร�่อยๆ คําถามคือ แล วใครจะเป นคนรับผิดชอบ? • ข อมูลด านการคุ มครอง ความปลอดภัยของลูกค า เข�ยนไว ไม ชัดเจน และมักใช คํากว างๆ เช น ง ายๆ ปลอดภัย • ในทางปฏิบัติ ลูกค าจํานวนมาก ไม ได รับการบร�การที่เหมาะสม ล าช า ซับซ อน และใจเย็นเกินไป
72
คิวที่
567
• จะดีกว าไหมถ าธนาคาร ออกมาตรการบังคับ เพ�่อให การทําธุรกรรม มีความปลอดภัย • เป าหมายของธนาคารออนไลน คือทําที่ ไหนและเวลาใดก็ ได แต การออกแบบมาตรการคุ มครอง ความปลอดภัยบางครั้งไม สอดคล อง กับเป าหมายดังกล าว
สรุปข้อสังเกตของคณะวิจัยจากผลการประเมินได้ดังต่อไปนี้ 1.
แอปพลิเคชันของธนาคารมีการเปลีย่ นแปลงวิธตี รวจสอบตัวตนเพือ่ ให้ทันต่อภัยคุกคาม นอกจากวิธีการพืน้ ฐานที่ใช้ร่วมกันกับธนาคาร อืน่ ๆ แล้ว แต่ละธนาคารมีวธิ กี ารของตนเอง เช่น ธนาคารทหารไทย ใช้รหัสลับ 8 ตัวเพิม่ ขึน้ จากรหัสผ่าน 6 หลัก การก�ำหนดให้ใช้บริการ เฉพาะโทรศัพท์มือถือและหมายเลขโทรศัพท์มือถือที่ลงทะเบียนไว้ กับธนาคารเท่านั้น ต่างกับบริการธนาคารผ่านเว็บไซต์ที่ขั้นตอน การตรวจสอบตัวตนทีไ่ ม่มกี ารพัฒนาให้รดั กุมขึน้ มากนัก ส่วนใหญ่ เป็นการปรับปรุงทางเทคนิค เช่น การเข้ารหัสการเชื่อมต่อ
2.
บริการแจ้งเตือนอัตโนมัตผิ า่ นอีเมล์และข้อความทางโทรศัพท์มอื ถือ เมือ่ มีการท�ำรายการบัญชีเป็นวิธกี ารทีห่ ลายธนาคารใช้เพือ่ ให้ลกู ค้า สามารถตรวจสอบความเคลือ่ นไหวในบัญชีได้ เช่น ธนาคารกรุงเทพ อย่างไรก็ดี ธนาคารส่วนใหญ่ไม่มีการแจ้งเตือน
3.
ในกรณีที่เกิดความเสี่ยงว่าข้อมูลของผู้ใช้บริการอาจรั่วไหลได้ ซึ่ง ผู้ใช้บริการโดยทัว่ ไปไม่สามารถตรวจสอบสาเหตุของความผิดพลาด ได้ การประกาศว่าธนาคารจะไม่รับผิดชอบในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย ที่ธนาคารไม่สามารถควบคุมได้ ซึ่งรวมถึงการรบกวนจากไวรัส คอมพิวเตอร์ การกระท�ำไม่ชอบด้วยกฎหมาย รวมทัง้ ความบกพร่อง ที่เกิดจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต สะท้อนให้เห็นว่าผู้ใช้บริการไม่ สามารถมัน่ ใจว่าจะมีผรู้ บั ผิดชอบ เมือ่ มีการรัว่ ไหลของข้อมูลตลอด การท�ำธุรกรรม ขณะที่ความเสี่ยงจากภัยคุกคามระบบอินเทอร์เน็ต ทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ
4.
ขณะที่ธนาคารเรียกร้องให้ลูกค้าต้องรับผิดชอบต่อความปลอดภัย 73
ของตนเองหลายประการ แต่การให้ข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการโดยเฉพาะ มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยและข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า กลับไม่ชัดเจนนัก เช่น หน้าเว็บเกี่ยวกับความปลอดภัยเข้าถึงไม่ ได้ ธนาคารไม่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการด�ำเนินการความปลอดภัยของ ธนาคารมากพอหรือไม่ให้ความส�ำคัญมากนัก เช่น การเข้ารหัส ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ แต่มกั ใช้ถอ้ ยค�ำเพือ่ โน้มน้าวใจแบบกว้างๆ เช่น ง่าย ปลอดภัย
74
5.
ธนาคารพยายามให้ลกู ค้าตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้บริการ มากขึ้น ดังเห็นได้จากการที่หลายธนาคารมีค�ำแนะน�ำด้านความ ปลอดภัยแก่ผู้ใช้บริการ อย่างไรก็ตามธนาคารสามารถมีมาตรการ บังคับเพือ่ ให้การท�ำธุรกรรมมีความปลอดภัยมากขึน้ ได้แทนแนวทาง สมัครใจ เช่น บังคับให้การตัง้ รหัสผ่านเพือ่ เข้าสูร่ ะบบซับซ้อนมากขึน้
6.
แม้ทุกธนาคารจะจัดให้มีช่องทางติดต่อกับธนาคารหลายรูปแบบ เช่น โทรศัพท์ อีเมล์ แต่ในทางปฏิบัติพบว่ามีลูกค้าจ�ำนวนมาก ไม่ได้รับการบริการที่เหมาะสมจากธนาคาร เช่น ขณะที่ผู้ใช้บริการ รายหนึ่งก�ำลังโทรศัพท์เพื่อแจ้งให้ธนาคารทราบว่ามีความผิดปกติ ขึ้ น ในบั ญ ชี ข องตน แต่ ต ้ อ งผ่ า นระบบตอบรั บ อั ต โนมั ติ ท� ำ ให้ ไม่สามารถพูดคุยกับพนักงานได้ทันที ระหว่างที่รอการติดต่อนี้มี การถอนเงินออกจากบัญชีไปแล้ว โดยที่ไม่ได้รับความยินยอมจาก ผู้ใช้บริการตัวจริง
7.
มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยของธนาคารหลายอย่างอาจไม่ สอดคล้องกับเป้าหมายของธนาคารออนไลน์ ในด้านการข้ามพ้น ข้อจ�ำกัดด้านเวลาและสถานที่ของการท�ำธุรกรรมทางการเงิน เช่น การยืนยันตัวตนด้วยการส่งรหัสผ่านทาง SMS ท�ำให้ลูกค้าไม่
สามารถด�ำเนินธุรกรรมได้ หากไม่สามารถเข้าถึงสัญญาณโทรศัพท์ มือถือได้ หรือการยืนยันตัวตนเพื่อขอรหัสผ่านใหม่ที่ธนาคารด้วย ตนเอง
โอกาสและความท้าทายของฟินเทค ในการขยายการเข้าถึงบริการทางการเงินในไทย
ในบรรดาผูเ้ ล่นฟินเทคทัง้ หมดในไทยทีค่ ณะวิจยั รวบรวมได้ 66 ราย ยัง ไม่มรี ายใดทีป่ ระกาศเจตจ�ำนงอย่างชัดเจนว่ามีเป้าหมายอยูท่ ตี่ ลาดผูม้ รี ายได้ น้อย ซึ่งเป็นกลุ่มที่ยังเข้าไม่ถึงการเงินในระบบ ผูเ้ ล่นเกินกึง่ หนึง่ หรือจ�ำนวน 41 ราย (62 เปอร์เซ็นต์) ไม่นา่ จะมีสว่ นใน การขยายบริการทางการเงิน เนือ่ งจากประกอบธุรกิจซึง่ อยูห่ า่ งไกลจากความ ต้องการของตลาดผูม้ รี ายได้นอ้ ย เช่น การลงทุนรายย่อย (ตลาดหลักทรัพย์), การช�ำระเงินหรือโครงสร้างการช�ำระเงิน หรือเครื่องมือทางธุรกิจของ SMEs ขณะผู้เล่นที่เหลืออีก 25 ราย เป็นไปได้ว่าจะคิดค้นบริการบางส่วนที่ มุ่งเน้นตลาดผู้มีรายได้น้อย เนื่องจากประกอบธุรกิจที่มีความสามารถ มีส่วน สัมพันธ์ หรือตอบสนองต่อความต้องการของตลาดนี้ เช่น การเงินส่วนบุคคล การให้กู้ยืมรายย่อย และ Crowdfunding เป็นต้น อย่างไรก็ดี ณ ปลายเดือนมิถุนายน 2560 เมื่อผู้เล่นส่วนใหญ่ยังมีอายุ ไม่ถึง 1-2 ปี นับว่ายังเร็วเกินไปที่จะประเมินหรือระบุอย่างจ�ำเพาะเจาะจงว่า ผูเ้ ล่นเหล่านีจ้ ะมีสว่ นขยายการเข้าถึงบริการทางการเงินในไทยหรือไม่ เพียงใด 75
ฟินเทควันนีไ้ ม่เพียงแต่เป็นกุญแจส�ำคัญทีจ่ ะขยายบริการทางการเงินใน แต่ละประเทศ โดยเฉพาะประเทศก�ำลังพัฒนาอย่างไทยเท่านั้น หากแต่การ ใช้ฟินเทคในการขยายบริการทางการเงินยังเป็น ‘โอกาสทางธุรกิจ’ ที่มีมูลค่า มหาศาลส�ำหรับทั้งสถาบันการเงินดั้งเดิม และผู้ประกอบการรายใหม่ โดย สามารถสรุปโอกาสทางธุรกิจและความท้าทายในไทยได้ดังต่อไปนี้
76
โอกาสทางธุรกิจและความท้าทายของฟินเทคในประเทศไทย โอกาส
ความท้าทาย
ความพร้อมใช้เทคโนโลยีและ ความเชื่อมั่นต่อธนาคาร ขณะที่อัตราการใช้ธนาคาร ผ่านมือถือยังต�่ำในกลุ่มฐานราก
การคุ้มครองความเป็น ส่วนตัวของลูกค้าและ ความปลอดภัยของข้อมูล
พฤติกรรมการใช้โซเชียลมีเดีย อย่างเข้มข้น
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน
ความต้องการบริการทางการเงิน พื้นฐานยังไม่ได้รับการเติมเต็ม และขนาดของตลาดที่น่าดึงดูด
ความกระจัดกระจายของ หน่วยงานก�ำกับดูแล
ฟินเทคเอื้อต่อการเสริมสร้าง ความรู้ทางการเงินส�ำหรับ กลุ่มฐานราก
การบิดเบือนกลไกตลาด ของรัฐ และการด�ำเนิน นโยบายที่ขัดแย้งกันเอง
โอกาสจากช่องว่างการปล่อย สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์
ความน่าเชื่อถือของ ผู้ประกอบการรายใหม่
โอกาสของฟินเทคในการร่วมมือ กับองค์กรการเงินฐานราก
77
ดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ที่ เว็บไซต์โครงการวิจัย ‘ธนาคารที่ยั่งยืน’ www.salforest.com/banking ติดตามบทความ ข้อมูล และอินโฟกราฟิกเกี่ยวกับ ‘ธนาคารที่ยั่งยืน’ ได้จาก เฟซบุ๊คเพจ Sustainable Banking Thailand https://www.facebook.com/SustainableBankingThailand/
Fintech สู่ประชาธิปไตยทางการเงิน
ISBN 978-616-329-085-4
บรรณาธิการเล่ม สฤณี อาชวานันทกุล กองบรรณาธิการ เสรี ปวีณชนา จินต์ หวังตระกูลดี ธิติมา อุรพีพัฒนพงศ์ ณิชากร ศรีเพชรดี บรรณาธิการศิลปกรรม ณขวัญ ศรีอรุโณทัย ภาพประกอบ ชิน เอกก้านตรง พิสูจน์อักษร คีรีบูน วงษ์ชื่น พิมพ์ครั้งแรก: กันยายน 2560
ด�ำเนินการผลิต เปนไท พับลิชชิ่ง โทรศัพท์ 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 e-mail: waymagazine@yahoo.com website: www.waymagazine.org facebook: www.facebook.com/waymagazine twitter: www.twitter.com/way_magazine