"การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม": นิยามและวาทกรรม

Page 1

“การเปลี่ยนผ่านพลังงานอย่างยุติธรรม” : นิยามและวาทกรรม “Just Energy Transition” : Definition and Discourses กิจกรรมสาธารณะ JET ครั้งที่ 1 สฤณี อาชวานันทกุล บริษัท ป่าสาละ จากัด 20 กุมภาพันธ์ 2566

ป่าสาละคือใคร?

“Sustainable Business Accelerator”

บริษัท

เป้าหมายของเราคือจุดประกายและดาเนินวาทกรรมสาธารณะเกี่ยวกับธุรกิจที่ยั่งยืน

“ปลูกธุรกิจที่ยั่งยืน” แห่งแรกในประเทศไทย
ผ่านการจัดสัมมนา อบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และออนไลน์ รวมทั้ง
2
ผลิตงานวิจัยในประเด็นความยั่งยืนในประเทศไทย และส่งเสริมการวัดผลลัพธ์ทางสังคม
งานวิจัยที่ผ่านมาเกี่ยวกับภาคพลังงาน 3 • โครงการวิจัย “ความเหลื่อมล้าในการจัดสรร ทรัพยากรสมัยใหม่: คลื่นความถี่ พลังงาน และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และ กรณีศึกษาผลกระทบจากนโยบายรัฐ” (2564) • โครงการวิจัย “การประเมินระดับความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัท พลังงานที่ใหญ่ที่สุด 10 อันดับ” (2560) • หนังสือ “มายาคติพลังงาน” (2559)

เสนอแนะแนวการพัฒนา

เพิ่มความตื่นตัวของสาธารณชนต่อประเด็นการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่

โครงการ “การพัฒนา Thailand Taxonomy ที่สอดคล้องกับหลักการเปลี่ยนผ่าน พลังงานที่ยุติธรรม และการเพิ่มความตระหนักรู้ของสังคมในประเด็นการเปลี่ยน ผ่านพลังงานที่ยุติธรรม” 4 วัตถุประสงค์ 1.
Thailand Taxonomy ของ ธปท. ในทางที่ สอดคล้องกับหลักการ “การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม” (Just Energy Transition) → จัดทารายงานวิจัยในประเด็นดังกล่าว 2.
ยุติธรรม → จัดกิจกรรมสาธารณะ 4 ครั้ง
5 Energy Transition • การเปลี่ยนผ่านภาคพลังงานโลก จากการผลิตและการบริโภคที่ใช้เชื้อเพลิง ฟอสซิลเป็นหลัก ไปใช้แหล่งผลิตคาร์บอนต่าหรือคาร์บอนเป็นศูนย์ • จาเป็นต้องเกิดขึ้นอย่างเร็วที่สุดที่ทาได้ เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมาย รับมือกับภาวะโลกรวน - อุณหภูมิเฉลี่ยโลกเพิ่มขึ้นไม่เกิน 1.5c Just Energy Transition • การเปลี่ยนผ่านภาคพลังงานตามนิยามข้างต้น ในทางที่ยุติธรรมสาหรับทุก ภาคส่วน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางที่อาจได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยน ผ่านพลังงาน (เช่น แรงงานในอุตสาหกรรมฟอสซิล ผู้มีรายได้น้อย ชุมชน)
การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม” คืออะไร?
สี่มิติของ “ความยุติธรรม” ในการเปลี่ยนผ่านพลังงาน 6 ที่มา: Sanya & Konisky (2020), https://www.nature.com/articles/s41560-020-0641-6 1. ความยุติธรรมเชิงกระจาย (Distributive Justice) – การกระจายประโยชน์และผลเสียจากการ เปลี่ยนผ่านพลังงานอย่างยุติธรรม ไม่มีคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งถูกกีดกันออกจากประโยชน์ที่ควร ได้รับ หรือแบกรับผลกระทบเชิงลบเกินควร 2. ความยุติธรรมเชิงกระบวนการ (Procedural Justice) – มีกลไกการมีส่วนร่วมที่มีความหมาย เปิดให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการ เปลี่ยนผ่านพลังงาน โดยเฉพาะผู้ที่จะได้รับผลกระทบสูงสุด 3. ความยุติธรรมเชิงการตระหนักรับรู้ (Recognition Justice) – เน้นการรับรู้ในศักดิ์ศรีของมนุษย์ มองเห็นความอยุติธรรมที่สั่งสมมาจากในอดีต โดยเฉพาะความไม่เท่าเทียมของกลุ่มเปราะบาง เมื่อเทียบกับกลุ่มอื่นๆ ในสังคม และพยายามขจัดการดูหมิ่นศักดิ์ศรี 4. ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice) – เน้นการชดเชยเยียวยาความสูญเสีย และความเสียหายที่เกิดจากภาคพลังงานในอดีต

นิวเคลียร์ (Oil, Chemical and Atomic Workers

Union: OCAW)

7
ริเริ่มและผลักดันอย่างจริงจัง เป็นครั้งแรกในทศวรรษ
เคมีภัณฑ์ และ
จุดกาเนิดของแนวคิด “การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม”
• แนวคิด “just transition”
1970 เมื่อ Tony Mazzocchi ผู้นาสหภาพแรงงานอุตสาหกรรมน้ามัน
ในสหรัฐอเมริกา ขอแรงสนับสนุนจาก องค์กรประชาสังคมด้านสิ่งแวดล้อม จัดการประท้วงเพื่อ เรียกร้องให้ Shell ยกระดับมาตรการคุ้มครองสุขภาพ และความปลอดภัยของแรงงาน • ผู้นาสหภาพแรงงานสมัยนั้นมองว่าอุตสาหกรรมเหล่านี้ กาลังสร้างปัญหาสิ่งแวดล้อมมหาศาล มองเห็นความ จาเป็นที่จะต้องเปลี่ยนผ่านออกจากอุตสาหกรรมที่สร้าง ความเสียหายต่อแรงงาน ชุมชนและโลก
เมื่อขบวนการแรงงานมาทางานกับกลุ่มความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม 8 ที่มา: Just Transition Alliance, https://jtalliance.org/what-is-just-transition/
ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของ “การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม” 9 ขับเคลื่อนระดับท้องถิ่น และอุตสาหกรรม ขับเคลื่อนระดับประเทศ ขับเคลื่อนระดับโลก
ความกังวล ประเด็นสุขภาพและความปลอดภัย
แนวคิดแพร่หลายไปยังองค์กรที่ ขับเคลื่อนเรื่องแรงงานทั่วประเทศ สหรัฐอเมริกา ปัจจุบัน องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) พัฒนาต่อ, สหประชาชาติ ประกาศเป้าการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG), เริ่มเข้าสู่กระแสหลัก ทศวรรษ 1970 ผลักดันโดยสหภาพแรงงานอุตสาหกรรม เชื้อเพลิงฟอสซิล, Mazzochi (OCAW) ขบวนการสหภาพแรงงานเข้มแข็ง (unionism) ที่มา: Garcia-Garcia et. al. (2020), https://doi.org/10.1016/j.erss.2020.101664 ทศวรรษ 1990 – 2010 แนวคิดแผ่วลงในสหรัฐ, แพร่หลายไปทั่ว โลก (สหประชาชาติ & สหภาพยุโรป) ยุคหลังขบวนการสหภาพแรงงานเข้มแข็ง (post-unionism)
ทศวรรษ 1950 ขบวนการสิ่งแวดล้อมเชิงสังคม (social environmentalism),
ทศวรรษ 1990
ประเด็นที่ก้าวข้าม: “ต้องเลือกว่าจะเอางาน หรือเอาสิ่งแวดล้อม” 10 • ในอดีต ขบวนการแรงงานออกมาปกป้องอุตสาหกรรมฟอสซิล เพราะมอง ว่าต้อง “เลือก” ระหว่างการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กับการมีงานทา • ความกังวลเหล่านี้เข้าใจได้ แต่การใช้แนวคิด Just Energy Transition ช่วยพุ่งเป้านโยบายไปที่การ สร้างงานใหม่ และ เพิ่มหรือเปลี่ยนทักษะ แรงงาน (upskill / reskill) ในภาคพลังงานหมุนเวียน ระหว่างที่เปลี่ยน ผ่านออกจากพลังงานฟอสซิล • ในแง่นี้แนวคิด
Just Energy Transition ช่วยยกระดับศักยภาพของ
แรงงานและชุมชนในการวางแผนรับมือกับการเปลี่ยนผ่านพลังงานได้ (Healy and Barry, 2017: 454)
ตัวอย่างข้อเสนอจากฝั่งแรงงาน 11 ที่มา: Iron & Earth, https://www.ironandearth.org/prosperous_transition_plan • Iron & Earth องค์กรของ แรงงานในอุตสาหกรรมน้ามัน ในแคนาดา ก่อตั้งปี 2016 • เป้าหมาย: เพิ่มพลังให้ อุตสาหกรรมฟอสซิลและ แรงงานที่เป็นชนพื้นเมือง สามารถสร้างทางออกต่อภาวะ โลกรวนและนาไปปฏิบัติได้จริง • เสนอ “แผนการเปลี่ยนผ่านที่ รุ่งเรือง” (prosperous transition plan) ต่อรัฐบาล แคนาดา
เมื่อ JET เริ่มเข้าสู่กระแสหลัก ก็เริ่มมี “วาทกรรม” ที่หลากหลาย... 12 ที่มา: Wilgosh, Sorman & Barcena (2022), https://doi.org/10.1016/j.futures.2022.102903

โครงสร้างอานาจและการผลิตยังคง

ยอมให้รัฐมาชี้นาตลาดไปสู่อนาคตที่ยั่งยืนและไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลังมากขึ้น

วาทกรรม “การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม” 13 ที่มา: Wilgosh, Sorman & Barcena (2022), https://doi.org/10.1016/j.futures.2022.102903 1. วาทกรรมปฏิกิริยา (Reactionary Discourses) เน้นการตั้งรับต่อสิ่งที่มองว่าเป็นภัยคุกคามทาง เศรษฐกิจหรือสังคม พยายามปกป้องสถานะเดิม (status quo) ระหว่างรับมือกับภาวะโลกรวน เน้นการเชิดชูการแข่งขันและพึ่งพากลไกตลาดในการแก้ปัญหา ไม่มีกลไกให้ภาคส่วนต่างๆ เข้า มามีส่วนร่วม 2. วาทกรรม “การเติบโตสีเขียว” และ “งานสีเขียว” (Green Growth and Green Jobs Discourses) สนับสนุนการปฏิรูปการจ้างงานและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมผ่านแรงจูงใจทาง ตลาดและเทคโนโลยี พุ่งเป้าการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย
เหมือนเดิม
ปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสีย 3. วาทกรรม “เคนเซียนสีเขียว” (Green Keynesian Discourses) เน้นการพัฒนาที่ยั่งยืนผ่าน การแทรกแซง กฎระเบียบ และการประกันสังคมโดยรัฐ เช่น พุ่งเป้าเงินอุดหนุน การเก็บภาษี อย่างมีกลยุทธ์ การจ้างงานในภาครัฐ และระบบสวัสดิการที่เข้มแข็ง อุดมการณ์ของวาทกรรมนี้ สอดคล้องกับแนวคิดรัฐสวัสดิการ เน้นความเป็นประชาธิปไตยและเพิ่มการมีส่วนร่วมของ ประชาชน สนับสนุนการเจรจาต่อรองและอภิปรายสาธารณะเพื่อกระจายประโยชน์อย่างทั่วถึง

Transition Towns (https://transitionnetwork.org/)

วาทกรรม “การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม” (ต่อ) 14 ที่มา: Wilgosh, Sorman & Barcena (2022), https://doi.org/10.1016/j.futures.2022.102903 4. วาทกรรม “สาธารณสมบัติ” และ “ประชาธิปไตยพลังงาน” (Public Ownership and Energy Democracy Discourses) เน้นการสนับสนุนให้ประชาชนหรือชุมชนร่วมเป็นเจ้าของ และควบคุมระบบพลังงาน เพื่อเปลี่ยนผ่านออกจากเชื้อเพลิงฟอสซิลในระดับลึก (deep decarbonization) วาทกรรมนี้มักถูกผลักดันโดย “พลังสังคม” ของขบวนการแรงงานที่จับมือ กับชุมชน พยายามดึงกริดไฟฟ้าออกจากระบบตลาด แนวคิด “ประชาธิปไตยพลังงาน” คาดหวัง การเปลี่ยนผ่านของพลังงานจาก “สินค้า” เป็น “สิทธิ” ของชุมชน ย้ายอานาจการจัด การพลังงานมาอยู่ในมือของประชาชนโดยตรง 5. วาทกรรม “การปฏิวัติสีเขียว” (Green Revolution Discourses) เรียกร้องการปฏิรูปเชิง โครงสร้างของปฏิสัมพันธ์ทางการเมืองและสังคม เลิกใช้เป้าหมายการเติบโตที่ทาลายธรรมชาติ และเบียดเบียนกลุ่มเปราะบาง วาทกรรมนี้ปฏิเสธระบบทุนนิยมปัจจุบัน พุ่งเป้าไปที่การ เปลี่ยนแปลงมโนทัศน์และรื้อฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติที่เลิกมองธรรมชาติ เป็นสินค้า วาทกรรมแนวนี้โดยนิยามมีจุดยืน “เหนือ” หรือ “นอก” ระบบเศรษฐกิจ สังคม และ การเมืองในปัจจุบัน ถึงแม้ยังเป็นวาทกรรมเชิงอุดมคติค่อนข้างมาก ปัจจุบันก็มีการทดลอง เช่น
และการคิดค้นเงินตราท้องถิ่น เป็นต้น
แนวคิด “
15 ที่มา: https://climatejusticealliance.org/wp-content/uploads/2019/11/CJA_JustTransition_highres.pdf
การเปลี่ยนผ่านที่ยุติธรรม” ของ Climate Justice Alliance

การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม: เริ่มจากการถกกรณี “ไม่ยุติธรรม”

1. การปลดระวางโรงไฟฟ้าถ่านหินและเหมืองถ่านหินโดยไม่มีแผนรองรับสนับสนุน แรงงาน ส่งผลให้แรงงานจานวนมากตกงานไม่มีที่ไป

? 16
2. รัฐบาลยังใช้มาตรการอุดหนุนเชื้อเพลิงฟอสซิล (subsidies) แม้ในช่วงเปลี่ยนผ่าน 3. โครงการพลังงานหมุนเวียนอ้างว่า “เขียว” เพราะปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่า โครงการพลังงานฟอสซิล แต่ส่งผลกระทบมหาศาลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น – เขื่อนขนาดใหญ่ที่ไม่เคยประเมินผลกระทบข้ามพรมแดน บังคับให้ชุมชนท้องถิ่นโยกย้ายโดยไม่ปรึกษาหารือ – โครงการโซลาร์ฟาร์มขนาดใหญ่ที่ใช้เนื้อที่มหาศาล เบียดขับทาให้เกษตรกรรายย่อยและกลุ่มชาติพันธุ์สูญเสีย แหล่งที่อยู่อาศัยและวิถีชีวิต – โครงการโรงไฟฟ้าขยะที่ก่อมลพิษ สร้างความเดือดร้อนต่อชุมชนใกล้เคียง 4. การตัดสินใจลงทุนด้วยเม็ดเงินมหาศาลในเทคโนโลยีดูดจับและกักเก็บคาร์บอน (CCS) ที่มีราคาแพงมาก ใช้พลังงานมหาศาล และยังเต็มไปด้วยความไม่แน่นอน
สามารถส่งต่อต้นทุนนี้มาอยู่ในค่าไฟฟ้าของผู้บริโภค
และ
ที่ไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.