สรุปผลการวิจัย "การจัดทำแผนที่ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมการผลิตปลาป่นในจังหวัดสงขลา"

Page 1

สรุปผลการวิจัย

การจัดทำ�แผนที่ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรม การผลิตปลาป่นในจังหวัดสงขลา เพื่อสนับสนุน การหารือปรับปรุงมาตรฐานความยั่งยืน Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dialogue


องค์การอ๊อกแฟม ประเทศไทย จัดท�ำการศึกษาชิ้นนี้ เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงข้อมูลความรู้ ของกลุ่มประชากรชายขอบที่ได้รับผลกระทบซึ่งได้แก่ชาวประมงพื้นบ้าน และรายงานผลต่อภาค ประชาสังคม ภาครัฐ และภาคเอกชน เพื่อให้เกิดการหารือทางออกร่วมกัน งานศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่ง ของโครงการเสริมสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งอ๊อกแฟม ท�ำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งใน และนอกประเทศ สนับสนุนการสร้างศักยภาพของกลุ่มชาวประมงพื้นบ้านภาคใต้และเกษตรกรราย ย่อยภาคเหนือตอนบน ให้เข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจทีเ่ ท่าเทียม ร่วมจัดการฐานทรัพยากรของประเทศ อย่างยั่งยืน ด�ำเนินธุรกิจชุมชนให้เติบโต โดยค�ำนึงถึงโอกาส และศักยภาพของผู้หญิงเป็นส�ำคัญ องค์การอ๊อกแฟม เป็นองค์กรพัฒนานานาชาติ ที่ด�ำเนินการในประเทศต่างๆ มากกว่า 90 ประเทศทั่วโลก พันธกิจของอ๊อกแฟม คือ การท�ำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายเพื่อขจัดความยากจน และลดความเหลื่อมล�้ำในสังคม This research is part of the Economic Justice Programme of Oxfam Thailand. Oxfam is an International Development Agency that works in more than 90 countries worldwide. We have the mission to work with partners to end poverty and inequality. In Thailand, the Economic Justice Programme empowers marginalized people’s organizations with knowledge and information and partners with stakeholders in the country and regions to achieve economic justice. Two main population groups are the fisherfolk and the small scale farmers. With close consultations with Oxfam’s partners, we are working to achieve the community right to joint natural resources management, climate change adaptation and gendered enterprise and market. This research is aimed to inform the Association of Thai Fisherfolk Federations, civil society, relevant public and private sectors and springboard discussions towards sustainable marine management with national policy dialogue accountable for fisherfolk.


MAPPING SHRIMP FEED SUPPLY CHAIN IN SONGKHLA PROVINCE TO FACILITATE FEED DIALOGUE Submitted to OXFAM Thailand

Lead Researcher: Sarinee Achavanuntakul

Research Team: Srisakul Piromwarakorn

James True Pattraporn Yamla-Or Sasiwimon Klongakkara Koranis Tanangsnakool March, 2014


4

Executive Summary This research project is predicated on the premise that in order to constructively engage shrimp industry in Thailand to implement more sustainable supply chain practices, one of the most important first steps is to pinpoint the impact of fishmeal (shrimp feed) industry on the livelihood of coastal communities in Thailand, as well as map their supply chain in order to get a clearer picture of business conducts of key stakeholders for use in evaluating potentially fruitful engagement strategies.

Fishmeal is a main protein ingredient for animal feed, especially for fish and shrimp feed. During this research, we encountered many different accounts of ratio between whole fish, trimmings, and trash fish used in fishmeal production. While the global norm for fishmeal is that 75% of raw materials comprise whole fish (including “trash fish” in international definition, i.e. undesirable or unpalatable fish), and 25% trimmings, Thai Feed Mill Association claims that raw materials of fishmeal in Thailand are: 35% trimmings from canned fish manufacturers, 18% trash fish, 15% sardinellas and other fish, 20% trimmings from Surimi producers, 2% trash fish from overseas waters, and the remaining 10% are trimmings from other fish processing manufacturers. In part, this variance can be explained by the imprecision of the phrase “trash fish”. Whereas in Western countries, trash fish means undesirable or unpalatable fish, in modern Thailand, it means exclusively that fraction of product which is completely unsaleable in any other market (especially used in reference to badly damaged or putrescent products). In Thai fisheries parlance, such “trash” fish is known as “pla pet” and does not refer to low-value, but otherwise edible fish. This research finds that Thailand’s demersal fishery has been severely depleted by overfishing. Excess fishing capacity over the past four decades

has meant that Catch Per Unit Effort (CPUE) has been declining continuously since 1961 from almost 300 kilogrammes per hour to 17.8 kilogrammes in 2010. The rapid depletion, contrasts with published production figures, suggesting that Thailand has been depending on resources from other countries for a long time. It is now widely recognized that unselective fishing aimed at maximizing the total catch, such as bottom trawling which yields the kind of trash fish used in Thailand’s fishmeal production, tends to dramatically change marine ecosystem. Small fish and invertebrates such as squids that feed mainly on plankton will become over-represented in the ocean, and will quickly dominate the system. Overfishing is increasingly understood to result in changes in the structure and functions of marine habitat, especially organisms’ relative positions in the food chain (technically called “trophic level” of an ecosystem). Since populations of many small fish species depend on adding new members (“recruitment” in scientific term), overfishing has been suggested as the main reason for the declining fish stock that is available to artisanal fishermen. This of course has tremendous consequence to the livelihood and food security of artisanal fishermen who rely on natural replenishment of coastal fish stock. It also affects industrial fishermen who target adult fish population. From the statistics of small-scale fishing households, we found that the majority of the artisanal fishermen in Thailand use small outboard powered boats. In Songkhla, the percentage of artisanal fishermen who used such boats in 2000 was 63.64% or 3,930 households, and about 27.5% or 1,683 households did not use any fishing vessel. Severe overcapacity in the industrial fishing industry resulting in the depletion of near-shore marine resources, has left local artisanal fishermen with very limited choices as 1) their boats, if any, were relatively small, so they


5 could not go to fish very far from shore 2) many of them had no skill other than fishing. When the previously abundant coastal sea became barren, local artisanal fishermen faced a lot of problems, both financial and social. Financial problems include decreasing incomes and increasing costs of fisheries eventually leading to informal debts. One research in five villages in Songkhla during 1993-1999 showed that local fishermen’s income in 1999 fell 3-40 times from the 1993 level. Our field research for this project discovered that, with the exception of a single vessel interviewed in August, the vessels interviewed in September 2013 were landing around 4 tons of commercial fish per trip on Songkhla fishing port, after spending anywhere between one and two weeks at sea. This catch was supplemented by roughly 6.5 tons of pla pet. All of the skippers interviewed stated that their fishing was conducted in the vicinity of Mu Koh Kra (an offshore group of islands in Nakhorn Sri Thammarat province). The vessels were all “standard” small otter-board trawlers (24-40 metres in length, crew of 5-6, powered by 275-315 horsepower diesel engines, and deploying trawl nets with 10 metre gape), and represent a reasonable sample of the types of medium-sized commercial fishing vessels returning product to Songkhla at that time of year. The figures presented here represent an average total return on fishing effort (CPUE) of approximately 49(±17) kilogramme/hour for the vessels landing catch in August and September. The high catch rates of juvenile and trash fish in demersal trawls can be explained by inappropriately fine mesh used in the cod-ends of nets. The Thai Department of Fisheries Master Plan suggests that 40 millimetres is an appropriate mesh size for demersal trawl fisheries in the Gulf of Thailand. None of the vessels surveyed used mesh larger than 25 millimetres, and most used 20 millimetres or less. Push-net fishermen use even finer meshed nets (as little as 10 millimetres) and frequently target areas utilised as nurseries by many species of fish and crustaceans. Juveniles of commercially valuable species and those important in food security for local people are killed in large numbers, wasting their potential. The wastefulness of overly-fine mesh sizes is compounded by the use of long trawl duration, often 6 hours or more, meaning that any product captured during the first few hours of the tow

even if it is of commercially valuable species will become ruined and unsalable and will become “pla pet”. Tossapornpitakkul et al. (2008) reported that the average pla pet composition of catches in Nakhon Sri Thammarat and Songkhla averaged 42.08% of the annual capture for small otter board trawlers such as those we interviewed. These authors also suggested that the catch composition changes strongly throughout the year (with pla pet being 40% of the catch in the Northeast monsoon, 47% between the monsoons, and 40% during the Southwest monsoon). However, we found an average of 62% pla pet in catches landed in September, at the end of the Southwest monsoon. This suggests that the situation has worsened. Likewise, the volume of pla pet per vessel landing (averaging slightly more than 6 tons) coincides with Songkhla fisheries records (roughly 4,000 vessel landings, for a total of 25,000 tons of pla pet.) Theoretically, 100% of pla pet landed at Songkhla could be sold to fishmeal producers, as could any other wasted or degraded product. However, most of the pla pet was too decomposed to be used as feedstock for the high grade fishmeal preferred for shrimp food production, so they are sold to factories that produce lower-grade fishmeal at lesser value. In-depth interviews with fishmeal factories based in Songkhla found that, of the 25,000 tons total estimated pla pet amount landed every year, approximately 5,760 tons or 23% are sent to fishmeal producers based in Songkhla; the remaining 77% probably went to fishmeal producers in other provinces. The main raw materials used in fishmeal production in Songkhla are trimmings from fish-processing manufacturers e.g. surimi, tuna canning; fish ball producers as well as anchovy producers and fish retailers at the markets which accounted about 80% of the estimated total raw materials of 100,215 tons, or 79,964 tons in 2013. Fishmeal producers also buy raw materials directly from commercial fishing boats, as well as brokers who collect trash fish from local fishing boats from Songkhla and other provinces. This accounted for 20% of raw materials or 20,250 tons. Of this amount, 62% or about 12,609 tons were fish landed in Songkhla (which includes 5,760 tons of trash fish or pla pet); the remaining 38% or 7,641 tons were fish from other provinces such as Satun and Pattani, as well as imported fish.


6 Animal feed mills’ activities that cause indirect impacts are similar to those of fishmeal factories, as animal feed mills are major users of fishmeal produced from trash fish or fish caught unsustainably. In effect, they are the ones that create demands for trash fish. It starts when they set buying criteria. Many feed mills set buying criteria and prices based on the qualities of the fishmeal

traceable. Among major feed mill players, CPF, Lee Pattana, and Thaiunion Feedmill have the highest share of fishmeal produced from non-traceable sources – 74% combined. Complicating the picture is the fact that, since trash fishing is not yet considered categorically illegal in Thailand, it is possible even for traceable

% Share of Fishmeal from Songkhla Sold to Animal Feed Mills

% of Traceability

Traceable Fishmeal Amount (tons)

CPF

45%

81%

6,839

Betagro

17%

100%

3,270

Thaiunion Feedmill

11%

47%

972

Lee Pattana

9%

36%

600

Krungthai

3%

100%

600

Company

alone, not by how fish – raw materials of fishmeal – were caught. Thus, fishmeal produced from trash fish caught by trawlers and push nets that destroy marine ecosystem can be sold to animal feed mills. This encourages fishing boat owners to continue their unsustainable fishing practices. The good news is that currently several feed mills in Thailand already implement various sustainable procurement practices, to varying degrees of success, partly owing to pressures from the ultimate buyers of frozen food exports, particularly the European Union. For example, as of March 2014 both Charoen Pokphand Foods (CPF) and Thaiunion Frozen Products (TUF), two major feed mills, are certified Best Aquaculture Practices (BAP) 4-star or top level status. CPF is also certified under Global Good Agricultural Practice (Global G.A.P). CPF is far and away the largest buyer of fishmeal produced in Songkhla, with 45% market share of fishmeal sold to animal feed mills, followed by Betagro (17%), Thaiunion Feedmill (11%), Lee Pattana (9%), and Krungthai Feedmill (3%). Our analysis of biomass catch as well as fishmeal supply chain in Songkhla show that there is significant room for improvement in sustainable sourcing. Only fishmeal used by Betagro and Krungthai Feedmill is currently 100% traceable, since they both buy 100% fishmeal from one single fishmeal producer that is 100%

fishmeal (i.e. complying with the standards) to include trash fish raw material. In other words, currently there is no sustainability standard or fishmeal certificate scheme in Thailand that can ensure that no trash fish was used in fishmeal production. For example, there were 575 tons of fishmeal produced from trash fish sold to CPF, about half of this amount was traceable and got the fishmeal certification under Department of Fisheries scheme. We observe three key limitations of current sustainability standards and certificate schemes as currently practiced in Thailand: 1. There is currently no sustainable sourcing scheme or standard that all major feed mills subscribe to. Unless any scheme/standard incorporates all large feed mills, there would still be a market for fishmeal produced from irresponsibly-sourced raw materials such as trash fish, and therefore this practice will continue. 2. Most schemes rely on a self-report mechanism. Nothing can assure full traceability or guarantee that the fishermen themselves fill out the necessary documentation. More specifically, the source of fishmeal raw materials cannot be verified due to the lack of location-specific audit mechanisms, e.g. satellite-positioning tools to ascertain that the fishing boat is really fishing at the stated location. Therefore, it is currently only


7 possible to check whether the documents are are filled out correctly, not the correctness of the document contents. 3. Currently every sustainable sourcing scheme and standard is based on the internationally accepted definition of IUU Fishing – the catch must not be Illegal, Unreported, and Unregulated (IUU) to fit under this definition. But due to Thailand’s outdated fishery law, what is widely considered destructive fishing conduct e.g. small mesh size of trawls, is not illegal in Thailand. In addition, every illegal conduct under fisheries law is considered illegal only when the fisherman is caught in the act. Therefore, destructive fishing in Thailand is not considered IUU Fishing, and therefore no standard based on IUU can effectively discourage trash fish trawling. This is exacerbated by insufficient control and monitoring systems due to limited resources. Consequently, illegally-caught marine proucts can be landed legally. Lessons that Thailand can learn from the case study of Peru’s sustainable fishing industry also show “gaps” in the current attempts toward sustainable practices as follows: 1. Since overfishing and destructive fishing are “tragedy of the commons” problem in economics parlance, where efforts of a few unscrupulous players i.e. “free riders” can ruin the resources for everyone, it is necessary to implement solutions and standards across the board, i.e. encompassing every stakeholder. Peru successfully utilizes a combination of laws (e.g. Individual Vessel Quota (IVQs), mesh size, bycatch regulation, seasonal closure, fishing rights) and industry involvement and self-regulation (participation of SNP (Peru’s National Fisheries Society) in setting quota and resolving conflicts) across the board, while Thailand still has serious gaps from the legal definition (e.g. trash fishing still not categorically illegal, practices considered only illegal when caught in the act), weak enforcement, to piecemeal participation of standards and voluntary schemes (e.g. only one feed mill is offering monetary incentives under fishmeal certificate scheme). 2. Science-based data and technology are both vital to ensure fisheries sustainability and effective enforcement. IMARPE, major government marine research agency in Peru, is recognized

globally as a world class authority, continually reporting maximum sustainable yield, ecosystem conservation, and resource sustainability considerations to the government on which to base decisions such as quota setting. On the technology front, all commercial fishing vessels in Peru are required to install satellite tracking devices to ensure enforcement of seasonal closures and individual quotas, since the government can track the movement and location of vessels in real-time. In Thailand, there is yet no sustainability standard or scheme which includes satellite tracking of fishing boats to ensure that traceability documentation is correct, and maximum sustainable yield is not yet a part of systematic decision-making at policy level. 3. The clearer the “business case for sustainability,” the more incentives players have to comply with sustainability laws/standards/ schemes. In Peru, IVQs helped encourage fleet operators to maximize their efficiency through carefully fishing trip scheduling, accounting for abundance, and proximity to shore to achieve shorter and more successful fishing trips. Consequently, the fleet receives fresher landings, providing higher-quality fishmeal production and ultimately higher profits with lower costs due to less fuel consumption. In contrast, there is as yet no clear business case for sustainability in Thailand’s fishmeal industry in Songkhla; most fishmeal producers that participate in the fishmeal certificate scheme do so only because they are paid a price premium by the buyer (currently only CPF), or they must do it as part of the buyer’s requirement. There is only one fishmeal producer that cites “competitiveness” as the reason they participate in the scheme; since they cannot compete on quality, they offer full traceability to build credibility and trustworthiness. Given the above major gaps between current practices and “best practice” in Peru, we believe it is imperative that all current efforts to move the fishmeal industry in Thailand towards a more sustainable pathway – from new fisheries law to the industry’s latest Fisheries Improvement Project – are synchronized and truly encompass all stakeholders, designed to close the above gaps as much as possible with a view toward long-term sustainability of marine ecosystems in Thailand.


8

สรุปผลการวิจัย

“การจัดทำ�แผนที่ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรม การผลิตปลาป่นในจังหวัดสงขลา เพื่อสนับสนุนการหารือปรับปรุงมาตรฐาน ความยั่งยืน”

นำ�เสนอต่อ:

องค์การอ๊อกแฟม ประเทศไทย

หัวหน้าโครงการวิจัย: สฤณี อาชวานันทกุล

คณะวิจัย: ศรีสกุล ภิรมย์วรากร

เจมส์ ทรู ภัทราพร แย้มละออ ศศิวิมล คล่องอักขระ กรณิศ ตันอังสนากุล มีนาคม 2557


9

1. ที่มาของการศึกษาวิจัย: หลักการและเหตุผล อุตสาหกรรมผลิตปลาป่นเป็นอุตสาหกรรมที่เติบโตเร็วที่สุดอุตสาหกรรมหนึ่ง เนื่องจากปลาป่นเป็นวัตถุดิบส�ำคัญใน การผลิตอาหารสัตว์ ซึง่ เติบโตอย่างมากในรอบทศวรรษทีผ่ า่ นมา อย่างไรก็ดี อุตสาหกรรมนีย้ งั มีขอ้ ถกเถียงกันมากถึงวิธกี าร ได้มาซึง่ วัตถุดบิ ส�ำคัญในการผลิตปลาป่นว่า เป็นการท�ำลายระบบนิเวศและชุมชนชาวประมงพืน้ บ้าน เนือ่ งจากวัตถุดบิ หลัก อย่างหนึ่งของการผลิตปลาป่นคือ ปลาเป็ด (trash fish) ซึ่งในบริบทประเทศไทยปัจจุบันหมายรวมถึงลูกปลาชนิดต่างๆ และ ปลาขนาดเล็กที่ชาวประมงจับโดยลากอวนไปบนพื้นทะเล ส่วนใหญ่จะถูกทิ้งไว้จนเน่าเปื่อยใต้ท้องเรือ ปลาเป็ดเป็นแหล่งโปรตีนส�ำคัญที่ใช้ส�ำหรับการผลิตปลาป่น เมื่อปลาเป็ดที่เน่าเปื่อยไม่ได้คุณภาพยังเป็นที่ต้องการ จากโรงงานผลิตปลาป่น ชาวประมงจ�ำนวนมากจึงยังคงใช้อวนลากจับปลาเป็ดต่อไป แม้วา่ จะส่งผลเสียต่อระบบนิเวศอย่าง รุนแรง นอกจากนั้นการท�ำประมงยังมีข้อจ�ำกัดในการปฏิบัติตามมาตรฐานด้านความยั่งยืนต่างๆ อีกด้วย อ๊อกแฟม เป็นองค์กรพัฒนานานาชาติทที่ ำ� งานในประเทศต่างๆ มากกว่า 90 ประเทศทัว่ โลก เพือ่ ร่วมมือกับภาคีเครือ ข่ายขจัดความยากจนและลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคม ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 อ๊อกแฟม ประเทศไทย ท�ำงาน ร่วมกับสมาคมสมาพันธ์ชาวประมงพืน้ บ้านแห่งประเทศไทย สมาคมรักษ์ทะเลไทย และหน่วยงานต่างๆ ในการศึกษาและส่ง เสริมสิทธิชุมชนในการร่วมจัดการทรัพยากรชายฝั่งตลอดมา อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมายังไม่เคยด�ำเนินการศึกษาผลกระทบของ อุตสาหกรรมปลาป่นทีม่ ตี อ่ ระบบนิเวศและความเป็นอยูข่ องชุมชนชาวประมงพืน้ บ้านมาก่อน อีกทัง้ การท�ำงานของอ๊อกแฟม นานาชาติร่วมกับ Aquaculture Stewardship Council (ASC) พบว่า ปลาเป็ดที่ใช้ส�ำหรับการผลิตปลาป่นเพื่อน�ำไปผลิต อาหารสัตว์นั้น ยังไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐาน ASC งานวิจัยชิ้นนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและสร้างแผนที่ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมการผลิตปลาป่น และศึกษาผล กระทบของอุตสาหกรรมปลาป่นที่มีต่อระบบนิเวศและวิถีชีวิตของชุมชนชาวประมงพื้นบ้านในสงขลา เพื่อให้เห็นภาพของ อุตสาหกรรมได้ชัดเจนขึ้น รวมถึงเพื่อกระตุ้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ให้เกิดการสนทนาและเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา ระบบการผลิตและยกระดับมาตรฐานต่างๆ ให้ดีขึ้น

2. โครงสร้างอุตสาหกรรมปลาป่น ผลผลิตจากการท�ำประมงของประเทศไทยลดลงอย่างต่อเนื่องในรอบครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา เนื่องจากการท�ำประมง เกินขนาด ท�ำให้อัตราการจับสัตว์น�้ำต่อการลงแรงประมง (Catch Per Unit Effort: CPUE) ลดลงจากที่เคยจับได้กว่า 300 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ในปี พ.ศ. 2504 เหลือเพียง 17.8 กิโลกรัมต่อชั่วโมงในปี พ.ศ. 2553 ปัจจัยหลักมาจากความอุดม สมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์น�้ำในทะเลลดลง ส่วนหนึ่งมาจากการใช้อวนลากและอวนรุนในการท�ำประมง เนื่องจากอวนลาก และอวนรุนจะดักจับสัตว์น�้ำและสิ่งมีชีวิตในทะเลชนิดต่างๆ ที่อาศัยอยู่บริเวณพื้นทะเล โดยกวาดสิ่งมีชีวิตทุกอย่างรวมทั้ง ลูกปลาและปลาขนาดเล็กให้เข้าไปอยู่ในอวนให้มากที่สุด รวมถึงท�ำลายแนวปะการัง พื้นที่วางไข่และถิ่นอาศัยของปลา ทัง้ หมด ท�ำลายระบบนิเวศใต้พนื้ ทะเลและท�ำให้ขาดแคลนปลาชนิดต่างๆ อย่างรุนแรง ลูกปลาและปลาขนาดเล็กทีค่ วรเติบโต เป็นปลาที่มีมูลค่ากลับถูกอวนลากขึ้นมาทั้งหมดและถูกน�ำไปขายเป็นปลาเป็ดเพื่อเป็นวัตถุดิบในการผลิตปลาป่นต่อไป อย่างไรก็ดี จากข้อมูลการผลิตปลาป่นทีเ่ พิม่ ขึน้ ในขณะทีป่ ลาในอ่าวไทยลดลงอย่างรุนแรง ท�ำให้เห็นว่าอุตสาหกรรมการผลิต ปลาป่นต้องพึ่งพาวัตถุดิบจากต่างประเทศมาอย่างยาวนาน อุตสาหกรรมปลาป่นโลกและไทย ปลาป่นเป็นแหล่งโปรตีนส�ำหรับการผลิตอาหารสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ อาหารส�ำหรับกุง้ การผลิตปลาป่นทัว่ โลกจะ ใช้ปลาตัวและปลาเป็ด (ตามความหมายสากล หมายถึง ปลาที่ยังโตไม่ได้ขนาดที่ต้องการ ปลาชนิดที่ตลาดไม่ต้องการและ ปลาที่รับประทานไม่ได้) ประมาณ 75% และเศษปลาที่มาจากโรงงานแปรรูปอีก 25% ในขณะที่การผลิตปลาป่นของไทยจะ


10

ใช้เศษปลาจากโรงงานปลากระป๋อง 35% เศษปลาจากผู้ผลิตซูริมิ 20% เศษปลาจากโรงงานแปรรูปสัตว์น�้ำอื่นๆ 10% ปลา เป็ดจากการประมงนอกน่านน�้ำ 2% ปลาหลังเขียวและปลาอื่นๆ 15% และปลาเป็ด 18% ทั้งนี้ข้อมูลต่างๆ อาจแปรผันได้ ตามนิยามที่แตกต่างกันของค�ำว่า “ปลาเป็ด” ประเทศเปรูและชิลีเป็นประเทศผู้ผลิตปลาป่นรายใหญ่ของโลก ผลผลิตปลาป่นของทั้งสองประเทศนี้รวมกันคิดเป็น 41.63% ของผลผลิตรวมทั้งหมด ส่วนที่เหลือมาจากการผลิตของประเทศไทย สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่นและเดนมาร์ก ส่วนการ ผลิตปลาป่นในประเทศไทย ผลิตมากทีส่ ดุ ทีจ่ งั หวัดสมุทรสาคร ตามมาด้วยสงขลา ระนอง ภูเก็ตและปัตตานี จากสถิตพิ บว่า ปริมาณการผลิตปลาป่นที่ผ่านมาของประเทศไทยค่อนข้างคงที่ โดยในระหว่างปี พ.ศ.2551-2556 สามารถผลิตปลาป่นได้ ราว 0.43-0.50 ล้านตัน แม้วา่ ปริมาณความต้องการอาหารสัตว์จะสูงขึน้ แต่การลดลงของปริมาณปลาในทะเลท�ำให้ปริมาณ ปลาป่นที่ผลิตได้มีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ผู้ผลิตอาหารสัตว์ในไทยที่ใช้ปลาป่นเป็นวัตถุดิบมากที่สุดได้แก่ บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) (ซีพีเอฟ) โดยมีส่วนแบ่งตลาดไม่ต�่ำกว่า 45%, รองลงมา ได้แก่ บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จ�ำกัด (มหาชน), บริษัท ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์ จ�ำกัด และ บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด แต่เนื่องจากประเทศไทยสามารถผลิตปลาป่นที่มีโปรตีน สูงได้เพียง 25% ที่เหลือจึงต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศ โดยมีการน�ำเข้าจากประเทศพม่าและเวียดนาม อุตสาหกรรมปลาป่นในจังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลาเป็นผูผ้ ลิตปลาป่นรายใหญ่อนั ดับ 1 ของภาคใต้ และอันดับ 2 ของประเทศ โดยอันดับ 1 ได้แก่สมุทรสาคร จากสถิติของกรมประมง สงขลาผลิตปลาป่น 39,402 ตันในปี พ.ศ.2554 คิดเป็น 12.03% ของผลผลิตทั้งประเทศ ปัจจุบนั โรงงานผลิตปลาป่นในจังหวัดสงขลาทีย่ งั ด�ำเนินกิจการอยูเ่ ป็นของผูผ้ ลิต 9 ราย รายใหญ่ทสี่ ดุ 5 รายเรียงจาก ปริมาณการผลิตมากไปน้อย ได้แก่ บ.ไทยเจริญอาหารสัตว์ บ.อุตสาหกรรมปลาป่นแปซิฟคิ บ.แป๊ะแชสงขลา บ.สมิหลาปลา ป่น บ.จะนะ อุตสาหกรรมประมง จากการสัมภาษณ์โรงงานปลาป่น 8 โรง จาก 9 โรงในจังหวัด คณะวิจัยประเมินว่าทั้ง 9 โรง น่าจะผลิตปลาป่นรวมกันได้ราว 29,300 ตัน ในปี พ.ศ. 2556 จากข้อมูลของกรมประมงระบุว่า ในปี พ.ศ. 2554 วัตถุดิบหลักในการผลิตปลาป่น 94.95% มาจากเศษปลา ในขณะ ทีอ่ กี เพียงแค่ 5.05% มาจากปลาตัวและปลาเป็ด โดยราคาปลาป่นเกรด 1 ทีผ่ ลิตในสงขลาอยูท่ ี่ 30.43 บาทต่อกิโลกรัม ส่วน ราคาปลาเป็ดอยูท่ ี่ 4.33 บาทต่อกิโลกรัม ต�ำ่ กว่าราคาเฉลีย่ ทัว่ ประเทศซึง่ อยูท่ ี่ 8.60 บาทต่อกิโลกรัม ถึง 4.27 บาทต่อกิโลกรัม ปลาป่นจากสงขลามีราคาถูกทีส่ ดุ เป็นอันดับ 3 ของประเทศ สะท้อนว่าการใช้วตั ถุดบิ คุณภาพต�ำ่ ในการผลิต ท�ำให้ได้ปลาป่น คุณภาพต�่ำตามไปด้วย ปลาป่นในไทยสามารถจ�ำแนกตามคุณภาพและราคาออกเป็น 6 เกรดหลักๆ จากคุณภาพดีไปคุณภาพต�ำ่ ได้แก่ เกรด กุ้ง เกรด 1 เกรด 2 เกรด 3 ปลาขาย และหัวปลา โดยเกรด 1-3 แบ่งย่อยออกเป็นสูงและต�่ำ ระดับโปรตีนส�ำหรับเกรด 1-3 สูง ล้วนอยู่ระหว่าง 60-99.99% ฉะนั้นความแตกต่างหลักระหว่างเกรดเหล่านี้คือกลิ่นและความสด ซึ่งมีความสัมพันธ์กัน ปลา ป่นที่มีความสดต�่ำ โดยวัดจากค่า Total Volatile Basic Nitrogen (TVBN) มักจะมีกลิ่นแรงตามไปด้วย กลิ่นส่งผลต่อการ ดึงดูดสัตว์ (กุง้ ปลา ไก่ และหมู) ให้มากินอาหารสัตว์ ขณะทีส่ ดั ส่วนของโปรตีนส่งผลต่ออัตราการเติบโตของสัตว์ เกณฑ์หลัก ในการประเมินคุณภาพของปลาป่นได้แก่ โปรตีน กลิน่ และค่า TVBN เนือ่ งจากปลาเป็ดในสงขลามีคณ ุ ภาพและความสดต�ำ่ จึงสามารถน�ำไปผลิตเป็นปลาป่นเกรด 3 หรือต�่ำกว่าเท่านั้น ไม่สามารถใช้ผลิตปลาป่นเกรดสูงกว่านั้นได้


11

รูปที่ 1: วัตถุดิบที่ใช้ผลิตปลาป่นในจังหวัดสงขลาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542-2554

ปริมาณ (ตัน)

วัตถุดิบที่ใช้ผลิตปลาป่นในจังหวัดสงขลาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542-2554 180,000 160,000 140,000 120,000 100,000 80,000 60,000 40,000 20,000 0 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011

ปี พ.ศ. ปลาอื่นๆ

ปลาเป็ด

เศษซาก

ที่มา: กลุ่มวิจัยและวิเคราะห์สถิติการประมง, กรมประมง 2556

3. วรรณกรรมปริทัศน์: ผลกระทบต่อระบบนิเวศ การท�ำประมงของประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว อย่างในทวีปยุโรปหรืออเมริกา เมือ่ เรือประมงลากอวนขึน้ มาแล้วพบว่ามีปลา ที่ไม่ได้ขนาดติดขึ้นมาด้วย ก็จะท�ำการปล่อยปลาเหล่านั้นคืนกลับสู่ท้องทะเลให้ได้มีโอกาสเติบโตขึ้นมาเป็นปลาขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถจับและขายได้ราคาดีกว่า แต่การท�ำประมงในประเทศไทย ชาวประมงจะจับสัตว์น�้ำทุกชนิดไม่ว่าขนาดเล็กหรือ ใหญ่ทถี่ กู อวนลากขึน้ มาทัง้ หมด แม้กระทัง่ ลูกปลาทีย่ งั ไม่โตเต็มที่ โดยปลาทีไ่ ม่ได้ขนาดทัง้ หลายจะถูกเก็บไว้ใต้ทอ้ งเรือ 1-2 สัปดาห์จนกว่าเรือจะเทียบท่า ท�ำให้ปลาเหล่านั้นเน่าเสียและไม่สามารถเป็นอาหารให้คนรับประทานได้ จึงเรียกปลาเหล่านี้ ว่าปลาเป็ด (trash fish) อย่างไรก็ดี ชาวประมงยังสามารถขายปลาเป็ดคุณภาพต�่ำเหล่านี้ให้กับโรงงานน�ำไปผลิตเป็นปลา ป่น ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์ งานวิจัยก่อนหน้านี้พบว่าในการลากอวนของชาวประมงในอ่าวไทยครั้งหนึ่ง จะได้ปลาเป็ดขึ้นมาในอัตราส่วนถึง 1 ใน 3 หรือมากกว่า (กาญจนา พัฒธนานุรักษ์ และ รัตนาวลี พูลสวัสดิ์, 2546) สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการใช้อวนที่มี ตาถี่กว่าขนาดที่เหมาะสมขูดลากบริเวณพื้นทะเล ท�ำให้ลูกปลาเล็กไม่สามารถหลุดรอดออกไปได้ ส่งผลกระทบต่อระบบ นิเวศของพื้นทะเลและชายฝั่ง รวมถึงไปท�ำลายวงจรการเติบโตของลูกปลาเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบต่อความสมดุลของ ระบบนิเวศในทะเล เมื่อลูกปลาถูกจับขึ้นมามาก ท�ำให้แพลงก์ตอนซึ่งเป็นอาหารของลูกปลามีมากเกินไป สัตว์ทะเลอย่าง ปลาหมึกที่กินแพลงก์ตอนเป็นอาหารจึงเจริญเติบโตมีจ�ำนวนมากผิดปกติและยึดครองระบบนิเวศในที่สุด การจับปลาเกินขนาดเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างและการท�ำงานของถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์น�้ำใน ทะเล โดยเฉพาะอย่างยิง่ กระทบต่อห่วงโซ่อาหาร นอกจากนัน้ ยังท�ำให้ปลาชนิดต่างๆ ไม่สามารถขยายพันธุแ์ ละเติบโตได้ทนั กับอัตราที่ถูกจับไป ท�ำให้สัดส่วนปริมาณปลาเศรษฐกิจลดลงอย่างรุนแรง รวมถึงเกิดภาวะขาดแคลนสัตว์น�้ำและปลาบาง ชนิดเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ อย่างไรก็ดี การใช้อวนลากขูดพืน้ ทะเลในลักษณะนีย้ งั คงด�ำเนินต่อไป ส่วนหนึง่ มาจากการด�ำเนินนโยบายของหน่วย งานรัฐที่ไม่เหมาะสมและไม่สอดคล้องกัน แต่ปัจจัยส�ำคัญคือความต้องการของตลาด อาทิ ปลาป่นเกรดต�่ำซึ่งใช้ปลาเป็ด เป็นวัตถุดิบ สร้างแรงจูงใจให้ชาวประมงยังคงจับปลาเป็ดมาส่งโรงงานปลาป่นต่อไป


12

4. วรรณกรรมปริทัศน์: การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนชาวประมงพื้นบ้าน การท�ำประมงขนาดใหญ่ที่ใช้อวนลากและเครื่องมือทันสมัย นอกจากจะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศแล้ว ยังส่งผล กระทบต่อวิถีการท�ำประมงพื้นบ้านอีกด้วย เมื่อทรัพยากรสัตว์น�้ำลดน้อยลง ปลาเศรษฐกิจขาดแคลน ท�ำให้ชาวประมงพื้น บ้านที่มีแต่เรือประมงและอุปกรณ์จับปลาขนาดเล็ก มีทางเลือกในการท�ำประมงลดลง เพราะเรือประมงพื้นบ้านไม่สามารถ ออกไปหาปลาได้ไกลเหมือนกับเรือประมงขนาดใหญ่ นอกจากนัน้ ชาวประมงพืน้ บ้านส่วนใหญ่ยงั ไม่มที ดี่ นิ ท�ำกินเป็นของตัว เองหรือทักษะอื่นๆ ที่นอกเหนือจากการจับปลา จึงได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงต่อวิถีชีวิตการท�ำประมงและความมั่นคงทาง ด้านอาหาร เนื่องจากวิถีชีวิตของชาวประมงพื้นบ้านขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรทางทะเลเป็นอย่างมาก และ ไม่สามารถปรับตัวจากความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ ความอุดมสมบูรณ์ของทะเลลดน้อยถอยลง นอกจากนัน้ ยังส่งผลกระ ทบถึงเรือประมงพาณิชย์ที่ต้องการจับปลาเศรษฐกิจที่โตเต็มวัยอีกด้วย จากงานวิจยั ทีผ่ า่ นมา (ปิยะ กิจถาวร, 2000) พบว่าระหว่างปี พ.ศ. 2536-2542 รายได้ของชาวประมงพืน้ บ้านจังหวัด สงขลาใน 5 หมูบ่ า้ น ลดลง 3-40 เท่า ในปี พ.ศ. 2536 เคยมีรายได้วนั ละ 600-2,000 บาท แต่ในปี พ.ศ. 2542 รายได้ลดเหลือ เพียงวันละ 50-400 บาท ในขณะที่ต้นทุนการท�ำประมงค่อนข้างคงที่มาตลอด 7 ปี ท�ำให้ก�ำไรของชาวประมงพื้นบ้านลดลง อย่างมาก ชาวประมงบางรายถึงขั้นต้องเลิกอาชีพชาวประมง ขายเรือ กู้หนี้ยืมสินและหันไปประกอบอาชีพอื่น การลงพืน้ ทีส่ มั ภาษณ์เรือประมงในงานวิจยั ครัง้ นีพ้ บว่า การออกเรือแต่ละเทีย่ วนาน 1-2 สัปดาห์ จะได้ปลาเศรษฐกิจ กลับมาราว 4 ตัน และปลาเป็ดอีก 6.5 ตัน เท่ากับได้ปลาเป็ดราว 62% ของสัตว์น�้ำที่จับได้ทั้งหมด ชาวประมงที่ให้สัมภาษณ์ ต่างบอกว่าส่วนใหญ่ออกไปหาปลารอบๆ หมู่เกาะกระ (หมู่เกาะที่อยู่ใกล้กับจังหวัดนครศรีธรรมราช) เรือทั้งหมดเป็นเรือ อวนลากแผ่นตะเข้ (ยาว 24-40 เมตร เครื่องยนต์ดีเซล 275-315 แรงม้า ปากอวนลากกว้าง 10 เมตร และใช้ลูกเรือ 5-6 คน) ซึ่งเป็นเรือพาณิชย์ขนาดกลางมาตรฐานที่ชาวประมงใช้ในช่วงเดือนสิงหาคมถึงกันยายน อัตราการจับสัตว์น�้ำต่อการลงแรง ประมงเฉลีย่ ในช่วงเดือนสิงหาคมถึงกันยายนอยูท่ ี่ 49(±17) กิโลกรัมต่อชัว่ โมง การใช้อวนลากตาถีไ่ ปตามพืน้ ทะเลเป็นสาเหตุ หลักที่ท�ำให้ลูกปลาและปลาเป็ดถูกจับขึ้นมามาก แม้ว่าแผนแม่บทการจัดการประมงทะเลไทยจะแนะน�ำว่าขนาดตาอวนที่ เหมาะสมควรอยู่ที่ 40 มิลลิเมตร แต่การลงพื้นที่พบว่าอวนที่ใช้กันอยู่ส่วนใหญ่มีขนาดตาอวนเล็กกว่า 20 มิลลิเมตร และไม่ พบเรือที่ใช้อวนที่มีขนาดตาอวนใหญ่กว่า 25 มิลลิเมตร เลย ส่วนอวนรุนที่ชาวประมงใช้ยิ่งเล็กกว่านั้น โดยขนาดตาอวนเล็ก กว่า อยูท่ รี่ าว 10 มิลลิเมตร อวนเหล่านีท้ ำ� ลายแหล่งเพาะพันธุแ์ ละอนุบาลลูกปลาขนาดเล็ก ซึง่ ส�ำคัญยิง่ ต่อความมัน่ คงทาง อาหารของคนท้องถิ่น ท�ำลายศักยภาพของชุมชนประมงพื้นบ้าน ทั้งนี้ นอกจากการใช้อวนลากปลาเป็ดจะส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนชาวประมงพื้นบ้านแล้ว ยังมี ปัจจัยอืน่ ๆ ทีส่ ง่ ผลต่อระบบนิเวศและฐานทรัพยากรในทะเล อาทิ เรือล่อไฟจับปลากะตัก ดังนัน้ การศึกษาผลกระทบต่อประมง พื้นบ้านจึงต้องประเมินปัจจัยต่างๆ อย่างรอบด้าน

5. กฎระเบียบและมาตรฐานเกี่ยวกับการผลิตปลาป่นและการบังคับใช้ในประเทศไทย ผลกระทบต่อระบบนิเวศและสังคมที่เกิดขึ้นจากการท�ำประมงแบบท�ำลายล้าง ท�ำให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกิดความ พยายามจัดการกับปัญหา โดยการก�ำหนดกฎหมาย กฎระเบียบ รวมถึงมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการจับปลาอย่างยั่งยืนมาก ขึ้น โดยพัฒนาจากการป้องกันการท�ำประมงแบบไอยูยูหรือการท�ำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม (ไอยูยู - IUU: Illegal, Unreported and Unregulated) ซึ่งเป็นอันตรายต่อมาตรการอนุรักษ์และจัดการสิ่งแวดล้อม การ ป้องกันและปราบปรามการประมงแบบไอยูยูถูกน�ำไปใช้เป็นรากฐานส�ำคัญของมาตรฐานที่เกี่ยวกับการประมงอย่างยั่งยืน จ�ำนวนมาก


13

มาตรฐานสากลที่เกี่ยวกับการประมงอย่างยั่งยืน ปัจจุบันมาตรฐานหลักเกี่ยวกับการประมงอย่างยั่งยืนที่ใช้กันแพร่หลายทั่วโลกมี 6 มาตรฐาน ซึ่งล้วนเป็นมาตรฐาน โดยสมัครใจ มีกลไกการตรวจสอบรับรอง (audit) มิใช่รายงานด้วยตนเอง (self-report) มาตรฐานเหล่านี้ได้แก่ 1. Marine Stewardship Council (MSC) เป็นมาตรฐานทีเ่ ป็นทีร่ จู้ กั อย่างกว้างขวางและยิง่ ใหญ่ทสี่ ดุ ของโลกในเรือ่ ง การท�ำประมงจากแหล่งธรรมชาติอย่างยั่งยืน ผู้บริโภคจะสามารถตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ทางทะเลที่ได้มาอย่างยั่งยืน และมี การจัดการที่ดีได้ โดยการสังเกตใบรับรองและฉลากสีฟ้าของ MSC มาตรฐานของ MSC ประกอบด้วย 2 มาตรฐานหลัก หนึง่ มาตรฐานด้านสิง่ แวดล้อมส�ำหรับการท�ำประมงอย่างยัง่ ยืน ซึ่งจะใช้กับการท�ำประมงจากแหล่งธรรมชาติเท่านั้น โดยจะประเมินจากเกณฑ์ 3 เกณฑ์ คือ มวลปลาที่ยั่งยืน การลดผล กระทบทางสิง่ แวดล้อมให้เหลือน้อยทีส่ ดุ และการจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เมือ่ ผ่านการประเมินรับรองแล้ว บริษทั จ�ำเป็นต้อง มีมาตรฐานทีส่ องก่อนทีจ่ ะขอใช้ฉลากสีฟา้ โดยมาตรฐานทีส่ องคือ มาตรฐานการคุม้ ครองการตรวจสอบทีม่ าของอาหารทะเล (traceability) ซึ่งบริษัทจะต้องผ่านการประเมินเรื่องการตรวจสอบที่มาของวัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบการจัดเก็บ สินค้าและระบบการจัดเก็บข้อมูล เพื่อป้องกันมิให้ปลาที่ถูกจับอย่างผิดกฎหมาย ถูกใช้ในการผลิตสินค้าในห่วงโซ่อุปทาน และเพื่อยืนยันและรับรองว่าปลาที่ขายภายใต้ฉลากสีฟ้านั้น มาจากการท�ำประมงอย่างยั่งยืน ปัจจุบันยังไม่มีผู้ผลิตสินค้าและวัตถุดิบรายใดในประเทศไทยได้รับการรับรองจากมาตรฐานนี้ 2. Aquaculture Stewardship Council (ASC) เป็นมาตรฐานที่พัฒนาขึ้นโดยกองทุนสัตว์ป่าโลก (World Wildlife Fund: WWF) ร่วมกับ Sustainable Trade Initiative โดยมีจุดมุ่งหมายหลักในการส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำอย่าง รับผิดชอบผ่านชุดมาตรฐานระดับโลก และเพื่อส่งเสริมข้อปฏิบัติอันดีเยี่ยมของฟาร์มในการเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเลที่ค�ำนึงถึง สิง่ แวดล้อมและสังคม มาตรฐานนีค้ รอบคลุมถึงฟาร์มปลาและฟาร์มกุง้ ซึง่ แต่ละประเภทก็จะมีมาตรฐานของตัวเอง เมือ่ ปลา และกุง้ เหล่านีม้ าจากฟาร์มทีไ่ ด้รบั การรับรองจาก ASC เข้าไปสูห่ ว่ งโซ่อปุ ทานก็สามารถมัน่ ใจได้วา่ ผ่านการรับรองแล้ว ปัจจุบนั ยังไม่มีฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเลรายใดในประเทศไทยได้รับการรับรองจากมาตรฐานนี้ นอกจากนั้นในปัจจุบัน ASC ก�ำลัง พัฒนามาตรฐานที่ส่งเสริมการใช้อาหารสัตว์ที่ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและรับผิดชอบต่อสังคมในหมู่ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ ซึ่งจะ น�ำไปใช้กับการผลิตอาหารสัตว์น�้ำทุกประเภททั่วโลก 3. มาตรฐานใบรับรองอุปทานที่มีความรับผิดชอบของปลาป่นและน�้ำมันปลา (The certification standard for the responsible supply of fishmeal and fish oil: IFFO RS) มาตรฐานนี้ถูกออกแบบขึ้นเพื่อรับรองวิธีปฏิบัติที่มีความ รับผิดชอบในการจัดหาวัตถุดิบ ปลาป่นและน�้ำมันปลาที่ใช้ส�ำหรับการผลิตอาหารคนและอาหารสัตว์ มาตรฐานมีส่วน ประกอบส�ำคัญ 3 อย่างคือ แหล่งที่มาที่มีความรับผิดชอบ การผลิตที่มีความรับผิดชอบ และการตรวจสอบแหล่งที่มาอย่าง มีความรับผิดชอบโรงงานปลาป่นและโรงงานผลิตน�้ำมันปลาจะต้องแสดงว่าวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตในโรงงานได้มาอย่าง มีความรับผิดชอบอย่างไรบ้าง โรงงานจะต้องสามารถพิสูจน์ได้ว่ามีระบบการตรวจสอบแหล่งที่มาที่มีประสิทธิภาพ ในส่วน ของการผลิต โรงงานจะต้องสามารถแสดงว่าได้ใช้ระบบทีเ่ อือ้ ให้เกิดวิธปี ฏิบตั ใิ นการผลิตสินค้าทีด่ ี เช่น FEMAS และ GMP+ อย่างไรก็ดี มีโรงงานเพียง 103 แห่งใน 9 ประเทศเท่านั้นที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน IFFO RS ส�ำหรับประเทศไทยยังไม่มี โรงงานใดที่ได้มาตรฐานนี้ โดยบริษัทไทยที่เป็นสมาชิก IFFO ได้แก่ ซีพีเอฟและทีซียูเนี่ยนอะโกรเทค 4. วิธปี ฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศในการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ (Best Aquaculture Practice: BAP) BAP เป็นมาตรฐานทีพ่ ฒ ั นาโดย Global Aquaculture Alliance (GAA) ส�ำหรับรับรองสถานที่เพาะพันธุ์วางไข่ ฟาร์ม โรงงานแปรรูปและโรงงานผลิตอาหาร สัตว์ เพื่อส่งเสริมวิธีปฏิบัติที่มีความรับผิดชอบในการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ ซึ่งมาตรฐานนี้จะเน้นเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิง่ แวดล้อม สวัสดิการของสัตว์ ความปลอดภัยของอาหารและระบบการตรวจสอบหาแหล่งทีม่ าส�ำหรับฟาร์มและ โรงงานเหล่านั้น ซึ่งจะมีมาตรฐานแตกต่างกันไปในแต่ละอัน ส�ำหรับโรงงานผลิตอาหารสัตว์จะต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนด เกีย่ วกับปลาป่นและน�ำ้ มันปลา ก่อนจะได้รบั การรับรองโดยโรงงานจะต้องชีแ้ จงส่วนผสมของอาหารสัตว์บนฉลากผลิตภัณฑ์ หีบห่อ เอกสารในการขนส่งหรือใบเสร็จภายใต้โครงการ BAP นอกจากนั้นยังต้องแจ้งแหล่งที่มาของวัตถุดิบนั้นๆ ด้วย


14

ปัจจุบันในประเทศไทยมีโรงงานแปรรูปที่ได้รับการรับรองอยู่ 29 โรง ฟาร์มที่ได้รับการรับรอง 34 ฟาร์ม โรงเพาะพันธุ์ ทีไ่ ด้รบั การรับรอง 8 โรง และโรงงานผลิตอาหารสัตว์ 6 โรง ซีพเี อฟและไทยยูเนีย่ นเป็นสองบริษทั ทีป่ ระกาศว่าได้รบั การรับรอง ระดับ 4 ดาวจาก BAP ส่วนบริษัทอื่นๆ ที่ได้รับการรับรองระดับ 3 ดาวมี 7 บริษัท และ 2 ดาวอีก 6 บริษัท 5. Global Good Agricultural Practices (Global G.A.P.) มาตรฐานนีม้ จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ ให้ผบู้ ริโภคมัน่ ใจว่าอาหารทีซ่ อื้ ได้รบั การผลิตอย่างยัง่ ยืน โดยส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม น้อยทีส่ ดุ ลดการใช้สารเคมีและปฏิบตั ติ อ่ สัตว์และความปลอดภัยของคนงานอย่างรับผิดชอบ ส�ำหรับประเทศไทยในปี พ.ศ. 2556 มีโรงงานผลิตอาหารสัตว์ 3 รายได้รบั การรับรอง ได้แก่ กรุงไทยอาหารสัตว์ ซีพเี อฟ และไทยยูเนีย่ น แต่ในปี พ.ศ. 2557 มีเพียงซีพีเอฟรายเดียวเท่านั้นที่ได้รับการรับรอง (ข้อมูล ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2557) 6. Friend of the Sea ฉลาก Friend of the Sea มีเพื่อรับรองว่าผลิตภัณฑ์นี้มีแหล่งที่มาและผลิตขึ้นอย่างยั่งยืน อย่างไรก็ดี มาตรฐานนี้ ครอบคลุมแค่อาหารทะเลเท่านั้น ปลาป่นจึงไม่จัดอยู่ในข่ายที่จะได้รับการรับรอง ส่วนในประเทศไทยมีผู้ผลิตอาหารทะเล เพียงรายเดียวเท่านั้นที่ได้รับการรับรองฉลาก Friend of the Sea นั่นคือบริษัท ไทย สปริง ฟิช กฎหมายไทยและแผนแม่บทการจัดการการประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม ประเทศไทยอยูใ่ นระหว่างการร่างแผนแม่บทการจัดการการประมงทีผ่ ดิ กฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม (NPOA-IUU) ซึ่งยังไม่แล้วเสร็จ แต่ปัจจุบันก็มีข้อบังคับตามกฎหมายประมงที่บังคับใช้อยู่ เช่น การปิดพื้นที่การท�ำประมง ตามฤดูกาลเพื่อเปิดโอกาสให้ทรัพยากรสัตว์น�้ำได้ฟื้นฟู การจ�ำกัดอุปกรณ์การท�ำประมงบางชนิด และการจ�ำกัดจ�ำนวนใบ อนุญาตการท�ำประมง เพื่อควบคุมปริมาณการท�ำประมง อย่างไรก็ดี กฎหมายการท�ำประมงของไทยยังมีชอ่ งว่างในการบังคับใช้กฎหมาย เอือ้ ให้ชาวประมงสามารถใช้อวนลาก ขูดพื้นทะเล เพื่อจับปลาเป็ดโดยไม่ผิดกฎหมาย อีกทั้งการระบุว่าต้องจับกุมผู้กระท�ำความผิดได้ซึ่งหน้า จึงจะถือว่าเป็นการ กระท�ำความผิดตามกฎหมาย ก่อให้เกิดความยากล�ำบากในการจับกุม นอกจากนี้ กฎหมายนี้ยังไม่อนุญาตให้ชาวประมงที่ ถือเป็นผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียส�ำคัญมีสว่ นร่วมในการจัดการทรัพยากรประมงและการออกกฎหมาย จึงท�ำให้กฎหมายฉบับนีไ้ ม่ ได้รับการยอมรับเท่าที่ควร อย่างไรก็ดี ภาครัฐก�ำลังพยายามแก้ไขปัญหาการท�ำประมงแบบไอยูยู โดยมุง่ แก้ไขพระราชบัญญัตกิ ารประมง พ.ศ. 2490 ให้ทันสมัยและแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนั้น ภาคเอกชนเองก็พยายามยกระดับมาตรฐาน การผลิตปลาป่นให้ดีขึ้น โดยการออกแบบและเริ่มใช้ระบบรับรองปลาป่น (fishmeal certificate) ซึ่งปัจจุบันเป็นมาตรฐาน แรกและมาตรฐานเดียวของไทยที่มีเจตนามุ่งเป้าไปที่ผู้ผลิตวัตถุดิบโดยตรง ในขณะที่ผ่านมา มาตรฐานระดับโลกส่วนใหญ่ จะเน้นไปที่ปลายทางของห่วงโซ่อุปทานหรือฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ระบบรับรองปลาป่น ผู้เล่นแทบทุกฝ่ายในห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่เรือประมงจนถึงผู้ผลิตอาหารสัตว์ มีส่วนเกี่ยวข้องในระบบรับรองปลาป่น ระบบนีเ้ ริม่ ใช้อย่างเป็นทางการเมือ่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 (แต่มกี ารตรวจสอบย้อนหลังกลับไปถึง 10 มิถนุ ายน พ.ศ. 2556) ด้วยความร่วมมือของ 5 องค์กร ประกอบด้วย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย กรมประมง กรม ปศุสตั ว์ และสมาคมการประมงแห่งประเทศไทย โดยมีกรมประมงเป็นเจ้าภาพหลักในการอ�ำนวยความสะดวกในการปฏิบตั ิ ตามระบบและตรวจสอบเอกสาร ในระบบนีเ้ รือประมงและอุปกรณ์การท�ำประมงจะต้องลงทะเบียนอย่างถูกกฎหมาย นอกจาก นัน้ ชาวประมงจะต้องบันทึกข้อมูลประเภทของปลาทีจ่ บั ขึน้ มาได้ แหล่งทีม่ าประเภทของอุปกรณ์ทงั้ หมดลงในสมุดบันทึก การท�ำการประมง และส่งข้อมูลให้กับโรงงานผลิตปลาป่นต่อไป


15

ผูผ้ ลิตปลาป่นจะต้องเก็บเอกสาร 5 ประเภทจากผูส้ ง่ วัตถุดบิ ประกอบด้วย หนังสือก�ำกับการซือ้ ขายสินค้าสัตว์นำ�้ กรณี การซื้อขายปลาเป็ด (MCPD-FM) หนังสือก�ำกับการซื้อขายสินค้าสัตว์น�้ำ (MCPD) ใบรับรองการจับสัตว์น�้ำ ฟอร์มเอ และ ฟอร์มบี ผู้ผลิตปลาป่นต้องเก็บแยกตามประเภทวัตถุดิบและผู้ผลิตสินค้าและวัตถุดิบ ดังนี้ หนึ่ง ปลาตัว (จากเรือประมง พ่อค้าคนกลางและแพปลา) ต้องเก็บหนังสือก�ำกับการซื้อขายสินค้าสัตว์น�้ำ-ปลาป่น (MCPD-FM) ที่ระบุรายละเอียดกิจกรรมการจับปลา รวมถึงประเภท จ�ำนวนของปลาและแหล่งจับปลา สอง เศษปลา (ซูริมิ) ต้องเก็บหนังสือก�ำกับการซื้อขายสินค้าสัตว์น�้ำ (MCPD) และฟอร์มเอ ที่ระบุรายละเอียดเกี่ยว กับผู้ผลิตสินค้าและวัตถุดิบประเภทและจ�ำนวนของปลา สาม เศษปลา (ทูน่า) ต้องเก็บใบรับรองการจับสัตว์น�้ำหรือใบรับรองการน�ำเข้าทูน่าจากไต้ก๋งและฟอร์มบี ที่มีราย ละเอียดเกี่ยวกับโรงงานแปรรูป ประเภทและจ�ำนวนของปลา แหล่งที่จับปลา เรือประมงและอุปกรณ์การท�ำประมงที่ใช้ หลังจากนัน้ ผูผ้ ลิตปลาป่นจะออกหนังสือรับรองปลาป่น ภายใต้การก�ำกับของสมาคมผูผ้ ลิตปลาป่นแห่งประเทศไทย และจะส่งเอกสารทั้งหมดไปให้กับผู้ผลิตอาหารสัตว์ ซึ่งจะส่งให้กรมประมงตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง เนื่องจากระบบนี้เป็นแบบสมัครใจ มิได้มีการบังคับจากภาครัฐ กรมประมงก็เป็นเพียงหน่วยงานที่ช่วยเหลือในการ ตรวจสอบข้อมูลเท่านั้น ผู้ผลิตอาหารจึงมองว่าจ�ำเป็นจะต้องเสนอแรงจูงใจเป็นตัวเงินให้เรือประมงและผู้ผลิตปลาป่นเข้า ร่วม ปัจจุบนั มีเพียง บ.ซีพเี อฟ เท่านัน้ ทีส่ ง่ หนังสือรับรองปลาป่นให้กรมประมงช่วยตรวจสอบความถูกต้อง ทัง้ นีใ้ บรับรองปลา ป่นที่ บ.ซีพีเอฟ ส่งให้กรมประมงตรวจสอบ ตั้งแต่ 10 มิถุนายน ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 มีจ�ำนวน 1,752 ใบ จากโรงงาน ปลาป่น 26 รายทั่วประเทศ ครอบคลุมปลาป่น 29.7 ล้านกิโลกรัม

6. ผลการประเมินชีวมวลที่ขึ้นฝั่งจากเรือประมงในสงขลา ปลาเป็ดในบริบทของประเทศไทย หมายถึง ลูกปลาหรือปลาที่ไม่ได้ขนาดหรือสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณพื้นทะเลที่ ถูกอวนลากขึน้ มา จากงานวิจยั พบว่า ปลาเป็ดทัง้ หมดทีล่ ากขึน้ มาได้ มีปลาเป็ดแท้ (ในความหมายสากล นัน่ คือ ปลาโตเต็ม วัยที่ตลาดไม่ต้องการ) อยู่ประมาณ 61.5% ส่วนที่เหลือเป็นลูกปลาเศรษฐกิจ ท�ำให้จ�ำนวนปลาเศรษฐกิจลดลงอย่างรุนแรง สะท้อนปัญหาการจับปลาเกินขนาดและความเสื่อมถอยของทรัพยากรสัตว์น�้ำในทะเล แม้ว่าชาวประมงจะทุ่มเทพลังและ เวลาในการจับปลาให้มากขึน้ แต่ปริมาณปลาทีจ่ บั ได้กลับลดลงเรือ่ ยๆ ทุกปี ส่งผลระยะยาวไปถึงความสมดุลของระบบนิเวศ และกระทบต่อชาวประมงพื้นบ้านในสองทางด้วยกัน หนึ่ง การเสื่อมถอยของการท�ำประมงพื้นบ้าน ท�ำให้การจ้างงานชาว ประมงลดลง และสอง สัดส่วนของปลามูลค่าสูงที่จับได้ลดลง ท�ำให้รายได้ของชาวประมงลดลง การจับปลาโดยทัว่ ไปจะใช้เวลาในการลากอวนนาน 6 ชัว่ โมงหรือมากกว่านัน้ หมายความว่าลูกปลา หรือปลาเศรษฐกิจ ที่ถูกลากเข้าไปอยู่ในอวนจะตายตั้งแต่ชั่วโมงแรกๆ และกลายเป็นปลาเป็ด จากงานวิจัยก่อนหน้านี้พบว่าสัดส่วนของปลา เป็ดที่จับได้โดยเรืออวนลากแผ่นตะเข้ในจังหวัดนครศรีธรรมราชและสงขลามีประมาณ 42.08% ในแต่ละปี นอกจากนั้นยัง พบว่าสัดส่วนปลาที่จับได้เปลี่ยนแปลงไปในรอบปี (สัดส่วนปลาเป็ดที่จับได้ในช่วงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะอยู่ที่ราวๆ 40% ช่วงไม่มีมรสุม 47% และช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ 40%) (ที่มา: สุวรรณทนา ทศพรพิทักษ์กุล, 2551) แต่จากผลการ ส�ำรวจภาคสนาม ณ ท่าสะอ้าน จังหวัดสงขลา ของการวิจัยครั้งนี้พบว่า ในเดือนกันยายน ช่วงใกล้หมดมรสุมตะวันตก เฉียงใต้ สัดส่วนปลาเป็ดทีจ่ บั ได้เฉลีย่ 62% โดยปลาเป็ดทัง้ หมดราว 25,000 ตันต่อปี สามารถขายให้ผผู้ ลิตปลาป่นได้ 100% ซึ่งอัตราส่วนปลาเป็ดที่เพิ่มขึ้นอาจเป็นเครื่องบ่งชี้ว่าสถานการณ์ในปัจจุบันนี้ก�ำลังแย่ลง


16

รูปที่ 2: สภาพ “ปลาเป็ด” ที่ขึ้นฝั่ง ณ ท่าสะอ้าน จ. สงขลา

ปลาเป็ดที่จับได้แบ่งเป็นหลายเกรดและหลายราคา ขึ้นกับระดับที่ย่อยสลาย สัดส่วนโปรตีน และกลิ่น แม้ว่าผู้ผลิต ปลาป่นจะต้องการปลาเป็ดเกรดดีเพือ่ น�ำไปผลิตปลาป่นคุณภาพดี แต่ปลาเป็ดทีข่ นึ้ ฝัง่ ในจังหวัดสงขลาอยูใ่ นสภาพทีเ่ น่าเสีย เกินกว่าจะน�ำมาผลิตปลาป่นคุณภาพสูง เพือ่ เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตอาหารสัตว์คณ ุ ภาพสูงอย่างอาหารกุง้ ได้ ผูผ้ ลิตปลาป่น จึงต้องรับซื้อปลาเป็ดคุณภาพต�่ำไปผลิตเป็นปลาป่นเกรดต�่ำ นอกจากนี้ การลดลงของปริมาณปลาตามธรรมชาติ ท�ำให้ผผู้ ลิตปลาป่นประสบปัญหาขาดแคลนวัตถุดบิ ในการผลิต จึงผลิตได้แค่ ณ วันที่สามารถซื้อปลาเป็ดและยังซื้อได้แค่ปลาเป็ดเกรดต�่ำเท่านั้น การลดลงของปริมาณและคุณภาพของ ปลาเป็ด ท�ำให้ยากจะจินตนาการได้ว่าอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์จะยังสามารถพึ่งพาวัตถุดิบจากท้องถิ่นได้อย่างต่อ เนื่องในอนาคต


17

7. โครงสร้างห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปลาป่นในจังหวัดสงขลา รูปที่ 3 โครงสร้างห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปลาป่นในจังหวัดสงขลา

ที่มา: ข้อมูลจากการลงพื้นที่ของคณะวิจัย, 2556

หมายเหตุ: 1. ปลาโรงงาน คือ ปลาที่ส่งเข้าโรงงานแปรรูปสัตว์น�้ำ 2. ปลาเหยื่อ คือ ปลาที่ขายไปเป็นเหยื่อให้ฟาร์มปลา 3. ปลาเป็ด คือ ปลาที่ไม่ได้ขนาดหรือลูกปลาที่ได้จากเรืออวนลากและเน่าเสียจนไม่สามารถขายในตลาดอื่นได้ 4. ปลาเศรษฐกิจ คือ ปลาที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจที่คนนิยมบริโภค 5. เศษปลา คือ ชิ้นส่วนปลา เช่น หัว ไส้ หาง ก้างปลา เป็นต้น

ห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปลาป่นในสงขลา ประกอบด้วยความสัมพันธ์ระหว่างผู้เล่น 6 ราย ได้แก่ หนึง่ ธุรกิจประมงซึง่ เป็นแหล่งวัตถุดบิ โดยเรือประมงพืน้ บ้านจะขายปลาให้กบั พ่อค้าคนกลาง ส่วนเรือประมงพาณิชย์ อาจขายให้กับพ่อค้าคนกลางหรือผู้ผลิตปลาป่นโดยตรง สอง พ่อค้าคนกลางที่แพปลา จะเป็นคนรับซื้อปลาจากเรือประมงหลายล�ำ เพื่อน�ำไปขายต่อ สาม ผู้ผลิตปลาป่น จะรับซื้อปลาเป็ดและเศษปลาทั้งจากเรือประมงโดยตรง พ่อค้าคนกลางและโรงงานแปรรูป


18

สัตว์น�้ำ ทั้งนี้ผู้ผลิตปลาป่นมีอ�ำนาจต่อรองน้อยกว่าผู้ผลิตอาหารสัตว์ โดยผู้ผลิตรายใหญ่ 5 รายได้แก่ ไทยเจริญอาหารสัตว์ ปลาป่นแปซิฟคิ แป๊ะแชสงขลา สมิหลาปลาป่น และจะนะอุตสาหกรรมประมง รวมผลิตได้ 81% ของผลผลิตปลาป่นทัง้ หมด ราว 29,300 ตัน คณะวิจัยค�ำนวณจากการตรวจสอบชีวมวลพบว่า ทุกปีน่าจะมีปลาเป็ดประมาณ 25,000 ตัน ที่เทียบท่าที่สงขลา มี เพียง 5,760 ตัน หรือประมาณ 23% เท่านั้นที่ถูกส่งไปผลิตปลาป่นภายในจังหวัด อีก 77% ที่เหลือน่าจะส่งไปขายให้กับ โรงงานปลาป่นในจังหวัดอื่น วัตถุดิบหลักในการผลิตปลาป่นในสงขลาคือเศษปลาที่ได้จากโรงงานแปรรูปสัตว์น�้ำ เช่น โรงงานซูริมิ โรงงานผลิต ทูนา่ กระป๋อง โรงงานผลิตลูกชิน้ ปลา และผูผ้ ลิตปลาเค็มและผูค้ า้ ปลีกในตลาด ซึง่ คิดเป็น 79,965 ตัน หรือ 80% ของวัตถุดบิ ทั้งหมด วัตถุดิบที่เหลือเป็นปลาเรืออีก 20% หรือ 20,250 ตัน รับซื้อจากเรือประมงหรือพ่อค้าคนกลางจากทั้งในสงขลาเอง และจังหวัดอื่นๆ โดยจากปริมาณปลาเรือ (ปลาที่ไม่ได้ขนาด) ทั้งหมด มีประมาณ 7,641 ตัน หรือ 38% ที่น�ำเข้ามาจาก ต่างประเทศ และจังหวัดอื่นๆ เช่น สตูล ปัตตานี เป็นต้น ส่วนที่เหลืออีก 12,609 ตัน หรือ 62% มาจากสงขลา ในจ�ำนวนนี้ เป็นปลาเป็ด 5,760 ตัน เมื่อผลิตปลาป่นเสร็จแล้ว ผู้ผลิตจะขายปลาป่นให้กับผู้ผลิตอาหารสัตว์หรือพ่อค้าคนกลางต่อไป สี่ ผู้ผลิตอาหารสัตว์ จะรับซื้อปลาป่นจากผู้ผลิต คัดเกรดและตั้งราคาตามเกณฑ์การซื้อ เพื่อน�ำไปผลิตอาหารสัตว์ และขายให้ฟาร์มต่อไป โดยที่เกณฑ์การซื้อและราคาจะขึ้นอยู่กับคุณภาพเพียงอย่างเดียว ผู้ผลิตอาหารสัตว์โดยรวมยังไม่ สนใจวิธใี นการจับปลามาเป็นวัตถุดบิ ผลิตปลาป่น ดังนัน้ ปลาป่นทีผ่ ลิตจากปลาเป็ดทีถ่ กู จับมาด้วยอวนลากและอวนรุนทีข่ ดู พื้นทะเลและท�ำลายระบบนิเวศต่างๆ จึงยังคงขายได้ ท�ำให้เรือประมงบางส่วนยังคงจับปลาอย่างไม่ยั่งยืนต่อไป อย่างไรก็ดี ผู้ผลิตอาหารสัตว์หลายรายเริ่มหันมาให้ความส�ำคัญกับการจัดซื้อวัตถุดิบที่ยั่งยืนมากขึ้น จากแรงกดดัน ของผู้ซื้ออาหารแช่แข็ง โดยเฉพาะในทวีปยุโรป ยกตัวอย่างเช่น ณ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2557 ทั้ง บ.ซีพีเอฟ และ ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) (ทียูเอฟ) ได้รับการรับรองระดับสูงหรือ 4 ดาวจาก BAP นอกจากนั้น บ.ซีพีเอฟ ยังได้รับ การรับรองจาก Global G.A.P. อีกด้วย ผลผลิตปลาป่นทั้งจังหวัดถูกขายต่อไปยังฟาร์มเลี้ยงสัตว์ 10% โบรกเกอร์ 24% และโรงงานอาหารสัตว์ 66% โดยใน บรรดาโรงงานอาหารสัตว์ บ.ซีพีเอฟเป็นผู้รับซื้อรายใหญ่ที่สุด โดยรับซื้อ 29.7% ของผลผลิตทั้งจังหวัด รองลงมาได้แก่ บ.เบทาโกร 11.5% บ.ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์ 7.2% บ.ลีพัฒนาอาหารสัตว์ 5.9% และ บ.กรุงไทยอาหารสัตว์ 2.1% ปลาเป็ด 5,760 ตันที่เข้าสู่โรงงานปลาป่นในจังหวัดสงขลาถูกน�ำไปผลิตเป็นปลาป่นเกรด 3 ได้ประมาณ 1,527 ตัน ในจ�ำนวนนี้ ซีพีเอฟรับซื้อไป 37.6% หรือ 575 ตัน พ่อค้าคนกลาง 42.7% หรือ 652 ตัน และฟาร์ม 19.7% หรือ 300 ตัน กิจกรรมของผู้ผลิตอาหารสัตว์ได้ส่งผลกระทบทางอ้อมต่อระบบนิเวศและชุมชนเช่นเดียวกับกิจกรรมของผู้ผลิต ปลาป่น เนือ่ งจากผูผ้ ลิตอาหารสัตว์เป็นผูก้ ำ� หนดราคาและมาตรฐานการรับซือ้ ปลาป่นทีผ่ ลิตจากปลาเป็ดหรือปลาทีจ่ บั อย่าง ไม่ยั่งยืน ห้า ฟาร์มเลี้ยงสัตว์และสัตว์น�้ำ จะซื้ออาหารสัตว์หรืออาจจะซื้อวัตถุดิบมาผสมเอง หก การบริโภคภายในประเทศและการส่งออก ทั้งนี้การส่งสินค้าไปยังตลาดยุโรป ผู้ผลิตสินค้าจะต้องผ่านการรับรอง มาตรฐานใบรับรองการจับสัตว์น�้ำ ซึ่งส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมปลาป่นในแง่ที่ว่า ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำจะ ต้องไม่เลีย้ งสัตว์นำ�้ ด้วยอาหารทีผ่ ลิตจากปลาเป็ดทีไ่ ด้มาจากการท�ำประมงแบบไอยูยู ท�ำให้ผผู้ ลิตอาหารสัตว์ตอ้ งตรวจสอบ ข้อมูลการจับปลาจากเรือประมงด้วย รายงานฉบับนี้เน้นไปที่กิจกรรมของผู้เล่น 4 ประเภทแรกเป็นหลัก


19

การใช้มาตรฐานความยั่งยืนในการรับซื้อปลาป่น จากการวิเคราะห์หว่ งโซ่อปุ ทานอุตสาหกรรมปลาป่นพบว่า มีการยกระดับวิธกี ารได้มาซึง่ วัตถุดบิ ให้ยงั่ ยืนมากขึน้ โดย ในตารางที่ 1 แสดงบริษทั ผูผ้ ลิตอาหารสัตว์รบั ซือ้ ปลาป่นทีส่ ามารถตรวจสอบทีม่ าของวัตถุดบิ ได้ (traceable) เรียงล�ำดับตาม เปอร์เซ็นต์ของการตรวจสอบจากมากไปหาน้อย โดยที่ บ.เบทาโกร และ บ.กรุงไทย รับซือ้ ปลาป่นทีต่ รวจสอบทีม่ าของวัตถุดบิ ได้ 100% บ.ซีพเี อฟตรวจสอบได้ 81% บ.ไทยยูเนีย่ นฟีดมิลล์ตรวจสอบได้ 47% และ บ.ลีพฒ ั นาผลิตภัณฑ์ตรวจสอบได้ 36% ตารางที่ 1: บริษทั ผูผ้ ลิตอาหารสัตว์รบั ซือ้ ปลาป่นทีส่ ามารถตรวจสอบทีม่ าของวัตถุดบิ ได้ เรียงล�ำดับตามเปอร์เซ็นต์ ของการตรวจสอบจากมากไปหาน้อย บริษัท

% ที่สามารถ ตรวจสอบย้อน กลับได้

ปริมาณ (ตัน)

หมายเหตุ

เบทาโกร

100%

3,270

ซื้อปลาป่นจากผู้ผลิตปลาป่นเพียงรายเดียว ซึ่งเป็นปลาป่นที่สามารถตรวจสอบย้อน กลับได้ทั้งหมด

กรุงไทยอาหารสัตว์

100%

600

ซื้อปลาป่นจากผู้ผลิตปลาป่นเพียงรายเดียว ซึ่งเป็นปลาป่นที่สามารถตรวจสอบย้อน กลับได้ทั้งหมด

ซีพีเอฟ

81%

6,839

ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์

47%

972

ลีพัฒนาอาหารสัตว์

36%

600

ที่มา: การสัมภาษณ์ของคณะวิจัย, 2557 แม้ว่าในทางทฤษฎีระบบรับรองปลาป่นของไทยจะออกโดยสมาคมผู้ผลิตปลาป่น แต่ในทางปฏิบัติ ผู้ผลิตปลาป่น เป็นผู้กรอกข้อมูลและออกใบรับรองปลาป่นเองภายใต้ชื่อของสมาคมผู้ผลิตปลาป่น ส่วนกรมประมงมีหน้าที่เพียงตรวจสอบ ความถูกต้องเท่านั้น จึงท�ำให้ไม่สามารถยืนยันความถูกต้องของข้อมูลได้สมบูรณ์ ปัจจุบันซีพีเอฟเป็นผู้ผลิตอาหารสัตว์ราย เดียวทีเ่ ข้าร่วมระบบมาตรฐานรับรองปลาป่น โดยมีมาตรการให้คา่ พรีเมียมกิโลกรัมละ 3 บาทส�ำหรับปลาป่นทีม่ เี อกสารตรวจ สอบที่มาของวัตถุดิบได้อย่างถูกต้องเพื่อเป็นแรงจูงใจให้ผู้ผลิตปลาป่นเข้าร่วมมาตรฐานนี้ ผู้ผลิตปลาป่นที่ไม่ได้ท� ำการค้า กับซีพเี อฟจึงไม่มแี รงจูงใจทางการเงินในการตรวจสอบทีม่ าของวัตถุดบิ ขณะทีผ่ ผู้ ลิตปลาป่นส่วนใหญ่แม้สามารถตรวจสอบ ที่มาของวัตถุดิบได้ แต่จะเตรียมเอกสารแสดงที่มาของวัตถุดิบเมื่อได้รับค่าพรีเมียมเท่านั้น อย่างไรก็ดี มีผผู้ ลิตหนึง่ รายทีย่ นิ ดีแสดงเอกสารรับรองทีม่ าของวัตถุดบิ แม้ไม่ได้รบั ค่าพรีเมียม (ขายให้แก่ผผู้ ลิตอาหาร สัตว์รายอื่น) เนื่องจากการแสดงที่มาของวัตถุดิบท�ำให้โรงงานมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น ส่งผลดีต่อการค้า ขณะที่ตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า บ.ซีพเี อฟ ใช้ปลาป่นทีผ่ ลิตจากปลาตัวซึง่ ตรวจสอบแหล่งทีม่ าได้ 24% แต่ใช้ปลาป่นทีผ่ ลิตจากวัตถุดบิ ซึง่ ไม่ สามารถตรวจสอบแหล่งที่มาได้มาราว 16% เมื่อรวมกับผู้ผลิตอาหารสัตว์รายใหญ่อย่าง บ.ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์และ บ.ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์ พบว่าทั้ง 3 บริษัทรับซื้อปลาป่นที่ผลิตจากปลาที่ไม่สามารถตรวจสอบวิธีการได้มารวมมากถึง 74% บ่งชี้ว่าการตรวจสอบแหล่งที่มาและวิธีการได้มาของวัตถุดิบยังมีข้อบกพร่องอยู่มาก


20

ตารางที่ 2: ปลาป่นทีผ่ ลิตจากปลาตัวทีต่ รวจสอบย้อนทีม่ าได้และปลาป่นทีผ่ ลิตจากปลาตัวทีไ่ ม่สามารถตรวจสอบ ที่มาได้ สัดส่วนการรับซื้อปลาป่นที่ผลิตจาก ปลาตัว (%)

สัดส่วนการรับซื้อปลาป่นที่ผลิตจาก ปลาตัวที่ไม่สามารถตรวจสอบย้อน กลับได้ (%)

ซีพีเอฟ

24

16

ลีพัฒนาอาหารสัตว์

19

29

ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์

19

29

กรุงไทยอาหารสัตว์

1

0

เบทาโกร

0

0

ผู้ผลิตอาหารสัตว์รายอื่นๆ

7

0

พ่อค้าคนกลาง

19

18

ฟาร์ม

11

8

รวม

100

100

ที่มา: คำ�นวณจากข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้ผลิตปลาป่น 8 รายในจังหวัดสงขลา นอกจากนี้ การจับปลาเป็ดยังถือว่าไม่ผดิ กฎหมายส�ำหรับประเทศไทย หรืออาจกล่าวได้วา่ ประเทศไทยยังไม่มมี าตรฐาน ความยัง่ ยืนใดๆ ทีห่ า้ มผู้ผลิตปลาป่นใช้ปลาเป็ดเป็นวัตถุดิบในการผลิตอย่างสิ้นเชิง ยกตัวอย่างเช่น ปลาป่นจ�ำนวน 575 ตัน จากสงขลาที่ บ.ซีพเี อฟรับซือ้ ซึง่ ใช้ปลาเป็ดเป็นวัตถุดบิ มีเพียงครึง่ เดียวเท่านัน้ ทีส่ ามารถตรวจสอบแหล่งทีม่ าของวัตถุดบิ ได้ และจ�ำนวนนี้ยังได้รับการรับรองมาตรฐานปลาป่นที่ตรวจสอบโดยกรมประมงอีกด้วย ข้อจ�ำกัดส�ำคัญ 3 ประการที่คณะวิจัยพบ จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบมาตรฐานความยั่งยืนและระบบรับรองปลา ป่นที่ใช้ในประเทศไทย กับข้อค้นพบจากภาคสนามและกิจกรรมในห่วงโซ่อุปทานในสงขลา ได้แก่ หนึ่ง ปัจจุบันยังไม่มีกลไกรับซื้อที่ยั่งยืน (sustainable sourcing scheme) หรือมาตรฐานใดที่ผู้ผลิตอาหารสัตว์ราย ใหญ่ทุกรายปฏิบัติตาม แม้ว่าบริษัทผู้ผลิตอาหารสัตว์จะรวมตัวกันพัฒนามาตรฐานรับรองปลาป่นขึ้นมาในนามสมาคมผู้ ผลิตอาหารสัตว์ แต่ระบบนี้ปัจจุบันยังมีผู้ผลิตอาหารสัตว์เข้าร่วมเพียงรายเดียว คือ บ.ซีพีเอฟ ขณะที่ผู้ผลิตอาหารสัตว์ราย อื่นก็ท�ำตามมาตรฐานอื่นที่แตกต่างกัน และมีข้อบกพร่อง ส่งผลให้ยังคงมีตลาดรับซื้อปลาป่นคุณภาพต�่ำที่ใช้วัตถุดิบจาก การประมงที่ไม่ยั่งยืน ตราบใดที่ตลาดยังมีความต้องการ การประมงที่ไม่ยั่งยืนก็จะยังคงด�ำรงอยู่ต่อไป สอง มาตรฐานทั้งหมดที่ใช้อยู่ในไทย รวมถึงระบบรับรองปลาป่น เป็นระบบที่เรือประมงและผู้ผลิตปลาป่นรายงาน ข้อมูลเอง ไม่มอี ะไรมายืนยันได้วา่ เอกสารทุกชิน้ จะระบุขอ้ มูลทีแ่ ท้จริง วิธกี ารได้มาซึง่ วัตถุดบิ ไม่อาจตรวจสอบได้จริงเนือ่ งจาก ขาดแคลนเครือ่ งมือตรวจสอบ เช่น เครือ่ งมือระบุพกิ ดั ผ่านดาวเทียม ทีจ่ ะบอกว่าเรือประมงจับปลาตรงจุดที่ รายงานจริงหรือ ไม่ ดังนั้น ระบบปัจจุบันจึงท�ำได้เพียงตรวจสอบว่าการกรอกข้อมูลท�ำได้อย่างถูกต้อง แต่ไม่สามารถตรวจสอบความถูกต้อง ของข้อมูลได้


21

สาม ปัจจุบนั กลไกและมาตรฐานความยัง่ ยืนต่างๆ ล้วนพัฒนาจากนิยามการท�ำประมงทีผ่ ดิ กฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (ไอยูยู - IUU) แต่เนื่องจาก พ.ร.บ. การประมงของประเทศไทยล้าสมัย การท�ำประมงอย่างท�ำลายล้าง เช่น การใช้อวนลากตาถี่ จึงยังไม่ผิดกฎหมายการประมงไทย นอกจากนั้น การกระท�ำใดๆ จะผิดกฎหมายก็ต่อเมื่อเจ้าหน้าที่ สามารถจับกุมได้ขณะก�ำลังกระท�ำความผิดเท่านัน้ ทัง้ หมดนีแ้ ปลว่าการท�ำประมงทีก่ อ่ ให้เกิดความเสียหายในไทยบางกรณี ยังไม่เข้าข่ายการท�ำประมงแบบไอยูยู และไม่มีมาตรฐานใดที่สามารถระบุได้ว่าการใช้อวนลากจับปลาเป็ดเป็นการกระท�ำ ความผิด นอกจากนี้ การควบคุมและระบบตรวจสอบทีย่ งั ไร้ประสิทธิภาพก็สง่ ผลให้ปลาทีจ่ บั โดยผิดกฎหมายสามารถน�ำขึน้ ฝั่งมาอย่างถูกกฎหมายได้

8. กรณีศึกษา: การท�ำประมงอย่างยั่งยืนในประเทศเปรู เปรูเป็นประเทศที่ส่งออกปลาป่นที่ผลิตจากปลากะตักรายใหญ่ที่สุดของโลก ในช่วง 50 ปีที่ผ่าน การท�ำประมงในเปรู ได้ผ่านการลองผิดลองถูกมามากมายกว่าจะได้รับการยอมรับว่ายั่งยืนที่สุดแห่งหนึ่งในโลกในทุกวันนี้ ประวัติศาสตร์การท�ำประมงปลากะตักในเปรู ประวัติศาสตร์การท�ำประมงปลากะตักในเปรูสามารถแบ่งออกได้เป็นสี่ยุค ตามระดับผลผลิตดังภาพต่อไปนี้

รูปที่ 4 ประวัติศาสตร์การทำ�ประมงปลากะตักในเปรู ตั้งแต่ ค.ศ. 1959-2009

ที่มา: ปรับจาก Freon และอื่นๆ, 2551 ในยุคแรกระหว่างปี ค.ศ. 1950-1972 การท�ำประมงปลากะตักเติบโตอย่างสูงแต่ไม่ยั่งยืน การเติบโตอย่างรวดเร็ว ของตัวเลขเรือประมงและโรงงานผลิตปลาป่น การท�ำประมงอย่างไม่ยงั่ ยืน รวมถึงผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนีโญ ท�ำให้ มีการจับปลาเกินขนาด ส่งผลให้เข้าสู่ยุคล่มสลายระหว่างปี ค.ศ. 1972-1984 เมื่อประชากรปลากะตักลดลงอย่างรุนแรง


22

ยุค ค.ศ. 1985-1993 ยุคฟืน้ ฟูและเติบโตอีกครัง้ ประชากรปลากะตักเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว ท�ำให้สามารถจับปลากะตัก ได้ถงึ 10 ล้านตันในปี ค.ศ. 1994 รวมทัง้ มาตรการทางกฎหมายหลายๆ อย่างได้มผี ลบังคับใช้ เพือ่ ให้การประมงเป็นไปอย่าง ยั่งยืนมากขึ้น เช่น การควบคุมการจับลูกปลา และการออกใบอนุญาตส�ำหรับเรือประมงพื้นบ้าน เป็นต้น ยุค ค.ศ. 1993ปัจจุบัน การท�ำประมงอย่างยั่งยืน จ�ำนวนผลผลิตที่จับได้ค่อนข้างคงที่อยู่ที่ 5-9 ล้านตันต่อปี กฎทีช่ ่วยส่งเสริมการท�ำประมง อย่างยั่งยืนได้รับการปรับปรุงและมีผลบังคับใช้อย่างต่อเนื่อง ก้าวไปสู่การท�ำประมงอย่างยั่งยืน รัฐบาลเปรูแก้ไขปัญหาการท�ำประมงผิดกฎหมาย ด้วยการออกกฎให้เรือทุกล�ำต้องติดตั้งระบบจีพีเอสติดตามเรือ ประมง ซึ่งท�ำให้รัฐสามารถติดตามเรือทุกล�ำว่าขณะนี้อยู่ที่ใด ตรวจสอบว่าไม่มีการจับปลาเกินโควตาที่รัฐก�ำหนดให้หรือจับ ปลานอกน่านน�้ำที่ก�ำหนด โดยเจ้าของเรือต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบเอง ด้านการแก้ไขปัญหาความเสือ่ มโทรมของสิง่ แวดล้อม รัฐบาลก�ำหนดให้ใช้อวนทีม่ ขี นาดตาอวนไม่ตำ�่ กว่า 13 มิลลิเมตร และก�ำหนดเขตรักษาพันธุ์สัตว์น�้ำ ส่วนปัญหามลพิษทางน�้ำและอากาศที่เกิดจากกระบวนการผลิตปลาป่น รัฐบาลก็ได้ออก มาตรการแก้ไขด้วยการออกกฎควบคุมความเป็นกรดด่างของน�้ำเสียและของเสียจากโรงงาน และกฎควบคุมการปล่อยก๊าซ มลพิษ รวมถึงสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสะอาดด้วย ปัจจัยความส�ำเร็จของความยั่งยืนแบบเปรู การประมงที่ยั่งยืนของเปรูเป็นผลมาจากกระบวนการเปลี่ยนผ่านทางประวัติศาสตร์ที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง ใช้ ทางออกที่ดึงเอาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วม ความส�ำเร็จของเปรูมาจากหลายปัจจัย ปัจจัยหลักๆ ได้แก่ 1. การด�ำเนินกลยุทธ์การจัดการที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ยืดหยุ่น 2. ความร่วมมือกันอย่างแข็งแกร่งระหว่างกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตั้งแต่ภาครัฐ อุตสาหกรรมประมง อุตสาหกรรม ปลาป่น และสถาบันวิจัย 3. ความสอดคล้องกันของสภาพแวดล้อมท้องถิ่น ต้นทุน และผลประโยชน์ 4. ความชัดเจนของกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ 5. การจัดการแบบบนลงล่างจากส่วนกลาง โดยน�ำบทเรียนจากอดีตมาปรับปรุงตลอดเวลา 6. การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการติดตามตรวจสอบ คณะวิจัยเสนอว่า การท�ำประมงในประเทศไทยสามารถเรียนรู้จากเปรูได้ดังนี้ หนึ่ง เนื่องจากในทางเศรษฐศาสตร์ ”การจับปลาเกินขนาด” เป็นปัญหา “โศกนาฏกรรมของสาธารณสมบัติ” ที่ผู้เล่น แต่ละคนสามารถตักตวงทรัพยากรส่วนรวมเกินขนาด จึงจ�ำเป็นทีต่ อ้ งแก้ไขหรือใช้มาตรฐานทีส่ ามารถก�ำกับดูแลผูเ้ ล่นได้ทกุ คน การท�ำประมงอย่างยั่งยืนในเปรูประสบความส�ำเร็จในการใช้ส่วนผสมระหว่างกฎหมาย (เช่น การก�ำหนดโควตาการจับ ปลา การก�ำหนดขนาดตาอวน กฎระเบียบการจับปลา การปิดพื้นที่ตามฤดูกาล และสิทธิในการตกปลา) ควบคู่ไปกับการมี ส่วนร่วมและการก�ำกับดูแลกันเองของอุตสาหกรรม (เช่น การมีส่วนร่วมในการก�ำหนดโควตาและแก้ไขปัญหา) อย่างทั่วถึง ขณะทีป่ ระเทศไทยยังมีชอ่ งโหว่ในนิยามของกฎหมาย (เช่น การจับปลาเป็ดไม่ถอื ว่าผิดกฎหมายไทยและสามารถจับผูก้ ระท�ำ ความผิดได้ในขณะที่กระท�ำการเท่านั้น) การขาดแคลนทรัพยากรและประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมาย ตลอดจนขาด การมีสว่ นร่วมในการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานและระบบอย่างสมัครใจ (เช่น มีผผู้ ลิตอาหารสัตว์เพียงรายเดียวเท่านัน้ ทีเ่ สนอแรง จูงใจทางการเงินกับผู้ผลิตปลาป่นให้ปฏิบัติตามระบบรับรองปลาป่น)


23

สอง ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเอื้อให้เกิดการท�ำประมงอย่างยั่งยืนและบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี IMARPE หน่วยงานวิจัยทางทะเลส�ำคัญของรัฐบาลเปรู ซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะหน่วยงานที่มีอ�ำนาจระดับโลกในการ ประกาศระดับการจับปลาทีย่ งั่ ยืน ส่งเสริมการอนุรกั ษ์ระบบนิเวศ และน�ำเสนอข้อพิจารณาเกีย่ วกับความยัง่ ยืนให้กบั รัฐบาล เพื่อก�ำหนดโควตาการจับปลาในแต่ละปี นอกจากนั้นเรือประมงพาณิชย์ทุกล�ำในเปรูจ�ำเป็นต้องติดตั้งเครื่องติดตามผ่าน ดาวเทียมบนเรือ เพือ่ ให้สามารถตรวจสอบปริมาณการจับปลาว่าเป็นไปตามโควตาทีก่ ำ� หนดหรือไม่ รวมทัง้ ตรวจสอบว่าไม่มี การละเมิดกฎการปิดพื้นที่จับปลาตามฤดูกาลเพื่อการฟื้นฟูสัตว์น�้ำ ในขณะที่ประเทศไทยยังไม่มีมาตรฐานด้านความยั่งยืน หรือระบบตรวจสอบผ่านดาวเทียม ทีจ่ ะสามารถตรวจสอบว่าข้อมูลในเอกสารทีก่ รอกให้ทางการนัน้ ถูกต้องเพียงใด นอกจาก นัน้ ในระดับผูด้ ำ� เนินนโยบายก็ยงั ไม่มกี ารค�ำนวณระดับการจับปลาทีย่ งั่ ยืน (sustainable yield) และน�ำไปก�ำหนดเป็นนโยบาย อย่างต่อเนื่อง สาม ยิง่ การท�ำประมงอย่างยัง่ ยืนมี “เหตุผลทางธุรกิจ” ทีช่ ดั เจนเพียงใด ผูเ้ ล่นยิง่ มีแรงจูงใจในการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย มาตรฐานและระบบที่ยั่งยืนมากขึ้นเพียงนั้น ยกตัวอย่างเช่น การก�ำหนดโควตาการจับปลาของเรือแต่ละล�ำ (Individual Vessel Quota – IVQs) ในเปรู ช่วยให้เรือประมงสามารถวางแผนการออกเรือได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าเดิม ท�ำให้เรือประมง สามารถจับปลาและน�ำขึ้นเทียบท่าได้ในขณะที่ปลายังคงความสด สามารถน�ำไปผลิตปลาป่นคุณภาพสูง นอกจากนี้ต้นทุน ยังลดลงจากการประหยัดน�้ำมัน ท�ำให้ได้อัตราก�ำไรสูงขึ้น ในทางกลับกัน อุตสาหกรรมการผลิตปลาป่นในสงขลายังมองไม่เห็น “เหตุผลทางธุรกิจ” ทีช่ ดั เจนจากการปรับเปลีย่ น เงือ่ นไขการรับซือ้ ให้สนับสนุนการประมงทีย่ งั่ ยืน ผูผ้ ลิตปลาป่นส่วนใหญ่ทปี่ ฏิบตั ติ ามระบบรับรองปลาป่น ท�ำไปเพียงเพราะ ได้เงินเพิ่มพิเศษจากผู้ผลิตอาหารสัตว์ (ซีพีเอฟ) หรือเพราะข้อก�ำหนดของผู้ซื้อเท่านั้น มีผู้ผลิตปลาป่นเพียงรายเดียวเท่านั้น ที่บอกว่าตนปฏิบัติตามระบบนี้เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มความน่าเชื่อถือและความไว้วางใจให้กับผู้ซื้อ เมื่อพิจารณาช่องว่างระหว่างการท�ำประมงที่ยั่งยืนในประเทศเปรู เปรียบเทียบกับสถานการณ์ปัจจุบันในไทย คณะ วิจัยเห็นว่าสมควรอย่างยิ่งที่ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนจะช่วยกันเร่งพัฒนาลดช่องว่างดังกล่าวข้างต้น ตั้งแต่การปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย โดยเฉพาะ พ.ร.บ. การประมง จนถึงการพัฒนามาตรฐานการรับซื้อของภาคอุตสาหกรรมให้รัดกุมและตรวจ สอบได้อย่างแท้จริง จุดเริ่มต้นของการแก้ปัญหาน่าจะอยู่ที่การเชิญชวนให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายในห่วงโซ่อุปทานเข้ามามีส่วนร่วม ตั้งแต่ประมงพื้นบ้าน ประมงพาณิชย์ ผู้ผลิตปลาป่น ผู้ผลิตอาหารสัตว์ และฟาร์มเลี้ยงสัตว์ เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ระบบ นิเวศทางทะเลให้ยั่งยืนสืบไปในระยะยาว


ติดต่อหรือขอรับรายงานฉบับเต็ม องค์การอ๊อกแฟม ประเทศไทย เลขที่ 38 อาคารคิวเฮาส์คอนแวนต์ ชั้น 4 ถนนคอนแวนต์ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 02 632 0033 ต่อ 104, 111 Email: KLimsamarnphun@oxfam.org.uk www.oxfam.org/thailand Contact or request for full report: Oxfam Thailand 38 Q House Convent Bldg., 4th Fl. Convent Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500 Tel. 02 632 0033 Ext. 104, 111 Email: Klimsamarnphun@oxfam.org.uk www.oxfam.org/thailand


ติดต่อหรือขอรับรายงานฉบับเต็ม องค์การอ๊อกแฟม ประเทศไทย เลขที่ 38 อาคารคิวเฮาส์คอนแวนต์ ชั้น 4 ถนนคอนแวนต์ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 02 632 0033 ต่อ 104, 111 Email: KLimsamarnphun@oxfam.org.uk www.oxfam.org/thailand Contact or request for full report: Oxfam Thailand 38 Q House Convent Bldg., 4th Fl. Convent Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500 Tel. 02 632 0033 Ext. 104, 111 Email: Klimsamarnphun@oxfam.org.uk www.oxfam.org/thailand


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.