Summary Research Results: Assessing CSR of Top 10 Energy Companies

Page 1

โครงการวิจัย “การประเมินระดับความรับผิดชอบต่ อสังคมและสิ่งแวดล้ อมของ บริษัทพลังงานที่ใหญ่ ท่ สี ุด 10 อันดับ” Assessing Social and Environmental Responsibility of 10 Largest Thai Energy Companies สรุปข้ อค้ นพบจากงานวิจยั โดย สฤณี อาชวานันทกุล

บริษัท ป่ าสาละ จากัด Sal Forest Co. Ltd.


วัตถุประสงค์โครงการวิจัย • เพื่อจัดทำชุดตัวชี้วัดระดับควำมรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ของบริษัทพลังงำนไทย ที่สะท้อนระดับผลกระทบของธุรกิจต่อผู้มีส่วน ได้เสียฝ่ำยต่ำงๆ ในประเทศ • เพื่อนำชุดตัวชี้วัดมำประเมินระดับควำมรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อมของบริษัทพลังงำนขนำดใหญ่ 10 แห่งในประเทศไทย วัด จำกศักยภำพในกำรผลิตไฟฟ้ำและมูลค่ำตลำด (market capitalization) ของหุ้นผู้ประกอบกำรในอุตสำหกรรมดังกล่ำวใน ตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ณ 30 มิถุนำยน 2557

2


ขั้นตอนการดาเนินโครงการ • ระยะที่ 1: ประเมินควำมครบถ้วนของรำยงำนควำมยั่งยืน ประจำปี พ.ศ. 2557 • ระยะที่ 2: สำรวจควำมคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทพลังงำน • ระยะที่ 3: สร้ำงชุดตัวชี้วัดควำมรับผิดชอบต่อสังคม และทดลอง ประเมินโดยใช้ข้อมูลปี 2557

3


ระยะที่ 1: การประเมินความครบถ้วนของ รายงานความยั่งยืน


ข้อวิจารณ์เกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลและรายงานความยั่งยืน 1. คุณภาพของข้อมูล - ควำมถูกต้อง ควำมโปร่งใส และ ควำมซื่อสัตย์ - รำยงำนผลกำรดำเนินงำนที่ดีเกิน จริง - เปิดเผยข้อมูลแง่ลบไม่เพียงพอ - ใช้กำรรำยงำนควำมยั่งยืนเพื่อ ประชำสัมพันธ์และสร้ำงภำพลักษณ์ที่ ดีสู่สำธำรณะ

2. กระบวนการตรวจสอบรับรอง - ควำมน่ำเชื่อถือและควำมเป็น อิสระขององค์กรที่ตรวจสอบรับรอง - ยังไม่ปรำกฏแบบแผนกำร ตรวจสอบหรือหลักปฏิบัติที่เป็น สำกลอย่ำงชัดเจน

5


ข้อวิจารณ์เกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลและรายงานความยั่งยืน 3. ลักษณะและองค์ประกอบของ มาตรฐาน - มีจำนวนตัวชี้วัดมำกเกินไป (เช่น GRI) องค์กรขนำดเล็กทรัพยำกร ไม่เพียงพอที่จะรำยงำนทุกข้อ - มำตรฐำนโดยสมัครใจขึ้นอยู่กับ แรงกดดันของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หำกไม่มีแรงกดดันก็ไม่มีแรงจูงใจ

4. ไม่สามารถสื่อสารถึงผู้มีสว่ นได้ส่วน เสียอย่างมีประสิทธิภาพ - กำรใช้ภำษำและตัวชี้วัดที่เป็นเทคนิค ยำกแก่กำรทำควำมเข้ำใจ - ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรู้สึกว่ำข้อมูลที่ รำยงำนนำไปใช้ไม่ได้ หรือไม่สมบูรณ์ หรือล้ำสมัยไปแล้วเมื่อถึงมือ - สำมำรถหำแหล่งข้อมูลข่ำวสำรอื่น ทดแทนได้ง่ำยไม่จำเป็นต้องรอรำยงำน ทำให้องค์กรเสียทั้งทรัพยำกรและเวลำ 6


เกณฑ์กำรประเมินระดับควำมครบถ้วนของกำรเปิดเผยข้อมูล ประเมินระดับควำมครบถ้วนอ้ำงอิงเกณฑ์มำตรฐำน Global Reporting Initiative (GRI) 1. หมวดประวัติองค์กร (organizational profile) 2. หมวดเศรษฐกิจ (economic performance) 3. หมวดสิ่งแวดล้อม (environmental performance)

4. หมวดแรงงำน (labor force) 5. หมวดสิทธิมนุษยชน (human rights)

6. หมวดสังคม (social performance) 7. หมวดควำมรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์ (product responsibility) 8. ตัวชี้วัดเพิ่มเติมสำหรับอุตสำหกรรม (sector supplement indicators) - อุตสำหกรรมน้ำมันและก๊ำซธรรมชำติ - อุตสำหกรรมไฟฟ้ำ - อุตสำหกรรมเหมือนแร่ ง และโลหะ 7


รำยงำนกำรเปิดเผยข้อมูลของบริษัทและ มำตรฐำนอ้ำงอิงที่ใช้ในกำรประเมินของแต่ละบริษัท ชื่อบริษัท

ไออาร์พีซี (IRPC) ปตท. (PTT) เอสโซ่ (ประเทศไทย) (ESSO) ไทยออยล์ (TOP) บางจากปิโตรเลียม (BCP)

รายงานการเปิดเผยข้อมูล

มาตรฐานอ้างอิงการประเมิน

GRI 4.0 อุตสำหกรรมน้ำมัน รำยงำนควำมยั่งยืน 2557 และก๊ำซธรรมชำติ GRI 4.0 อุตสำหกรรมน้ำมัน รำยงำนควำมยั่งยืน 2557 และก๊ำซธรรมชำติ GRI 4.0 อุตสำหกรรมน้ำมัน รำยงำนประจำปี แบบ 56-1 และก๊ำซธรรมชำติ GRI 4.0 อุตสำหกรรมน้ำมัน รำยงำนควำมยั่งยืน 2557 และก๊ำซธรรมชำติ GRI 4.0 อุตสำหกรรมน้ำมัน รำยงำนควำมยั่งยืน 2557 และก๊ำซธรรมชำติ 8


รำยงำนกำรเปิดเผยข้อมูลของบริษัทและ มำตรฐำนอ้ำงอิงที่ใช้ในกำรประเมินของแต่ละบริษัท ชื่อบริษัท

รายงานการเปิดเผยข้อมูล

มาตรฐานอ้างอิงการประเมิน

ผลิตไฟฟ้า (EGCO)

รำยงำนควำมยั่งยืน 2556

GRI 3.1 อุตสำหกรรมไฟฟ้ำ

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (EGAT)

รำยงำนควำมยั่งยืน 2557

GRI 4.0 อุตสำหกรรมไฟฟ้ำ

ผลิตไฟฟ้าราชบุรี (RATCH)

รำยงำนควำมยั่งยืน 2557

GRI 4.0 อุตสำหกรรมไฟฟ้ำ

โกลว์ (GLOW)

รำยงำนควำมยั่งยืน 2557

GRI 4.0 อุตสำหกรรมไฟฟ้ำ

รำยงำนควำมยั่งยืน 2557

GRI 4.0 อุตสำหกรรมเหมือง 9 แร่และโลหะ

บ้านปู (BANPU)


เกณฑ์กำรประเมินระดับควำมครบถ้วนของกำรเปิดเผยข้อมูล ระดับการ เปิดเผยข้อมูล ครบถ้วน

ไม่ครบถ้วน

ไม่เปิดเผย

นิยามของแต่ละเกณฑ์ประเมินสถานะของการเปิดเผยข้อมูล

เปิดเผยข้อมูลได้ครบถ้วน หมำยถึงสำมำรถแสดงข้อมูลได้ตำมข้อกำหนดที่ระบุ ในเกณฑ์กำรเปิดเผย (requirements หรือ compilations) กำรรำยงำนตรง ตำมสำระสำคัญของตัวชี้วัด GRI และครอบคลุมประเด็นสำคัญได้ทั้งหมด เปิดเผยข้อมูลไม่ครบถ้วน หมำยถึงสำมำรถแสดงข้อมูลได้บำงส่วน เปิดเผย ข้อมูลตำมข้อกำหนดได้เป็นส่วนใหญ่ แต่ไม่ครอบคลุมสำระสำคัญของตัวชี้วัด นั้น ไม่เปิดเผยข้อมูล หมำยถึงไม่แสดงข้อมูลหรือแสดงข้อมูลเพียงส่วนน้อยตำม ข้อกำหนดในตัวชี้วัดนั้นๆ ไม่เปิดเผยข้อมูลที่ควรจะเปิดเผยหรือไม่ตรงกับ ข้อกำหนดของตัวชี้วัด โดยกำรรำยงำนไม่ครอบคลุมสำระสำคัญในหลำย 10 ประเด็น


เกณฑ์กำรประเมินระดับควำมครบถ้วนของกำรเปิดเผยข้อมูล ระดับการ เปิดเผยข้อมูล (แจ้งว่า)ไม่ เกี่ยวข้อง

ไม่ปรากฏ

นิยามของแต่ละเกณฑ์ประเมินสถานะของการเปิดเผยข้อมูล

บริษัทไม่ทำกำรเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวชี้วัด โดยให้เหตุผลว่ำตัวชี้วัดดังกล่ำว ไม่มีนัยสำคัญต่อลักษณะธุรกิจของบริษัท ซึ่งตำมเกณฑ์ GRI บริษัทจะต้อง จัดทำคำอธิบำย (omission หรือ commentary) ลงในดัชนีเนื้อหำ GRI (GRI content index) ของรำยงำนควำมยั่งยืนบริษัท ตัวชี้วัดนั้นๆ ไม่ปรำกฏในดัชนีตัวชี้วัด GRI ของรำยงำนควำมยั่งยืนบริษัท ซึ่ง เป็นไปได้สองเหตุผล คือ 1) ตัวชี้วัดดังกล่ำวไม่ใช่ประเด็นที่มีสำระสำคัญ (material aspect) ต่อบริษัทหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง และ 2) บริษัท เลือกที่จะไม่เปิดเผยข้อมูลใดๆ เกี่ยวกับตัวชี้วัดนั้นๆ 11


ภาพรวมระดับการเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบ-รายหมวด

12


ระยะที่ 2: การสารวจความคิดเห็นของผู้มี ส่วนได้เสียของบริษัทพลังงาน


การจาแนกผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทพลังงาน ผู้นาทางความคิด ผู้บริโภค ชุมชน สิ่งแวดล้อม

แรงงาน

ได้แก่ ผู้เชี่ยวชำญด้ำนเศรษฐศำสตร์พลังงำน และผู้เชี่ยวชำญ ด้ำนธรรมำภิบำลพลังงำน ได้แก่ ตัวแทนผู้บริโภค ได้แก่ ชำวบ้ำนในชุมชนที่อำศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับสถำน ประกอบกำรหลักของบริษัท ได้แก่ เจ้ำหน้ำที่หรือผู้บริหำรองค์กรพัฒนำเอกชนด้ำน สิ่งแวดล้อม ได้แก่ ผู้แทนสหภำพแรงงำนของบริษัทที่ทำกำรศึกษำ และ เจ้ำหน้ำที่องค์กรพัฒนำเอกชนด้ำนแรงงำน 14


ข้อคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านธรรมาภิบาลพลังงาน • องค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของ “ควำมรับผิดชอบของบริษัทพลังงำน” ในไทย มีอำทิ กำรเปิดเผยข้อมูลต่อสำธำรณะ กำรเปิดเผยข้อมูลต่อชุมชน กลไกป้องกันและ เยียวยำผลกระทบ และนวัตกรรมด้ำนพลังงำนที่มีประสิทธิภำพและสอดคล้องกับ หลักกำรพัฒนำที่ยั่งยืน อำทิ กำรลงทุนในพลังงำนหมุนเวียน เป็นต้น • กิจกำรที่รัฐเป็นเจ้ำของ ได้แก่ EGAT และ PTT ควรแสดงควำมรับผิดชอบ โดยเฉพำะกำรเปิดเผยข้อมูลสำธำรณะในระดับที่ สูงกว่า บริษัทเอกชน ยกตัวอย่ำง เช่น ควำมจำเป็นของกำลังผลิตสำรองที่อยู่ในระดับสูง ทำงเลือกในกำรก่อสร้ำง โรงไฟฟ้ำและนอกเหนือกำรก่อสร้ำง เนื่องจำกมองว่ำกิจกำรสองแห่งนี้ใช้อำนำจ ผูกขำด (ระบบส่งก๊ำซธรรมชำติในกรณีของ PTT และระบบสำยส่งไฟฟ้ำในกรณี ของ EGAT) ใช้ทรัพยำกรสำธำรณะ และเป็นกิจกำรของรัฐ มีบทบำทต่อกำรกำหนด ยุทธศำสตร์และนโยบำยด้ำนพลังงำนของประเทศ และควรทำตัวให้เป็นแบบอย่ำงที่ ดีสำหรับบริษัทเอกชน 15


ข้อคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านธรรมาภิบาลพลังงาน ผู้เชี่ยวชำญเห็นตรงกันว่ำ ควำมรับผิดชอบของบริษัทพลังงำนต่อชุมชนควรมีองค์ประกอบสำคัญอย่ำง น้อยสำมประกำร ได้แก่ • การเปิดเผยข้อมูลตั้งแต่ก่อนทาโครงการ โดยเฉพำะมลพิษ ผลกระทบ และมำตรกำรป้องกันของ บริษัท ต้องเปิดเผยในทำงที่ชุมชนสำมำรถเข้ำถึงได้จริงๆ บำงบริษัทอ้ำงว่ำเปิดข้อมูลแล้ว แต่เปิด เป็นภำษำอังกฤษเท่ำนั้น ส่งผลให้ชำวบ้ำนเข้ำถึงไม่ได้ หรือจัดเวทีแสดงควำมคิดเห็น แต่กีดกัน ไม่ให้กลุ่มที่คัดค้ำนเข้ำร่วม เป็นต้น • การจัดการกรณีที่เกิดผลกระทบ ผู้เชี่ยวชำญเห็นว่ำปัญหำกำรจัดกำรผลกระทบส่วนหนึ่งเป็น ปัญหำจำกควำมย่อหย่อนของกฎหมำยไทย ซึ่งเขียนว่ำขั้นตอนแรกให้พยำยำมแก้ปัญหำเองก่อน แก้ไม่ได้แล้วจึงแจ้งเจ้ำหน้ำที่ เบื้องต้นอย่ำงน้อยทุกโรงงำนจะต้องออกแบบกระบวนกำรที่สร้ำง ควำมมั่นใจได้ว่ำ ชำวบ้ำนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจในกระบวนกำรรับมือกับอุบัติภัย วำงมำตรกำร ป้องกันสำหรับ “กรณีที่เลวร้ำยที่สุด” (worst case scenario) • การเยียวยาระยะยาว ผู้เชี่ยวชำญยังไม่เคยเห็นบริษัทพลังงำนรำยใดทำเรื่องนี้ มีแต่กำรจ่ำย ค่ำชดเชยอย่ำงเดียว หลำยบริษัทมีกำรให้ชำวบ้ำนเซ็นแบบฟอร์มว่ำ ถ้ำรับค่ำชดเชยแล้วจะสละ สิทธิ์กำรฟ้องร้องในอนำคต ทั้งที่รู้ว่ำต้องเกิดผลกระทบระยะยำว ควรต้องเยียวยำระยะยำว 16


ข้อคิดเห็นของชุมชนหลัก • ปัญหำจำกกำรดำเนินงำนของบริษัทพลังงำน10 แห่ง (ผลรวมทุกชุมชน) ควำมร้อน 7.01% ไม่มีปัญหำ 41.99%

มลพิษทำงอำกำศ 18.79%

มลพิษทำงน้ำ 6.11%

อื่นๆ 2.44% ธรรมำภิบำลและ กำรจัดกำร 2.43%

ปัญหำสังคม 10.96%

เสียงและกลิ่น 10.28%

ผู้เข้ำร่วมสัมภำษณ์กลุ่มทั้งสิ้น 337 คน

17


ข้อคิดเห็นของชุมชนหลัก • ข้อกังวลจำกกำรดำเนินงำนของบริษัทพลังงำน 10 แห่ง (ผลรวมทุก ชุมชน) ไม่มีข้อกังวล 36.73%

อื่นๆ 1.81%

การมีส่วนร่วมและ ตรวจสอบ 5.66%

ความปลอดภัย 25.90%

ผลกระทบต่อ สุขภาพ 27..38% ผลกระทบต่อการประกอบ อาชีพ 2.52%

ผู้เข้ำร่วมสัมภำษณ์กลุ่มทั้งสิ้น 337 คน

18


ข้อคิดเห็นของผู้แทนสิ่งแวดล้อม • ควำมรับผิดชอบของบริษัทในทัศนะของผู้แทนด้ำนสิ่งแวดล้อม 1) แนวทางการปฏิบัติตามหลัก CSR

คืนกำไรให้สังคมแบบกำรทำบุญ (philanthropy หรือ charity-based) แต่ไม่ได้แตะ กำรดำเนินธุรกิจหลักของบริษัท (core business)

2) การเปิดเผยข้อมูลบริษัทต่อ สาธารณะ

ข้อมูลแสดงให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเห็นถึงธรรมำภิบำลกับควำมโปร่งใสของบริษัทและ เป็นพื้นฐำนในกำรตรวจสอบกำรดำเนินงำน ได้แก่ ข้อมูลงบประมำณค่ำใช้จ่ำยในกำร ประชำสัมพันธ์ กิจกรรมซีเอสอำร์ ล็อบบี้ภำครัฐ ค่ำปรับ ข้อมูลอุบัติเหตุจำกกำร ดำเนินกำร และข้อมูลกำรปล่อยมลพิษหรือ Pollutant Release and Transfer Register (PRTR)

3) การส่งเสริมการตรวจสอบบริษัท

ในกรณีที่ชำวบ้ำนที่ได้รับผลกระทบหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเรียกร้องให้มีกำรตรวจสอบ ข้อมูลหรือกำรปฏิบัติงำนของบริษัท บริษัทสมควรที่ส่งเสริมสนับสนุนให้มีกำร ตรวจสอบ เพื่อแสดงควำมโปร่งใสและซื่อสัตย์ในกำรดำเนินกิจกำร

4) มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม

บริษัทควรที่จะแสดงควำมรับผิดชอบโดยกำรปฏิบัติกำรโดยใช้มำตรฐำนเดียว (ในกำร ดำเนินกิจกำรปฏิบัติงำนในต่ำงประเทศ) และต้องเป็นตัวเลือกมำตรฐำนที่ดีที่สุด

5) การชดเชยความเสียหายให้กับ ชุมชน

กำรชดเชยของบริษัทยังคงขำดควำมรับผิดชอบในหลำยแง่มุม เช่น กำรจ่ำยค่ำชดเชย ด้วยวิธี “เกลี่ย” ให้เท่ำกัน กำรจ่ำยค่ำชดเชยผ่ำนหน่วยงำนของรัฐ ซึ่งล่ำช้ำและ 19 ก่อให้เกิดควำมขัดแย้ง


ข้อคิดเห็นของแรงงาน • ประเด็นควำมรับผิดชอบด้ำนแรงงำน 1) การปฏิบัติที่เป็นธรรม กำรได้ค่ำตอบแทนตำมที่กฎหมำยกำหนด และกำรได้รับสวัสดิกำรที่พงึ ได้ ลูกจ้ำง sub-contract พึงได้รับกำรปฏิบัติเช่นเดียวกับพนักงำน/ลูกจ้ำงของ บริษัท อย่ำงไรก็ดีปัญหำที่ลูกจ้ำง sub-contract ประสบนั้นไม่ใช่ควำม รับผิดชอบของบริษัทพลังงำนโดยตรงเนื่องจำกไม่ใช่ “นำยจ้ำง” ของแรงงำน เหล่ำนี้

2) การส่งเสริมการมีส่วน ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดสหภำพแรงงำน หรือกำรรวมกลุ่มของพนักงำนใน ร่วมและความสัมพันธ์ที่ดี รูปแบบอื่น กำรมีสหภำพแรงงำนช่วยปกป้องผลประโยชน์ของพนักงำน มี ภายในองค์กร ควำมสำคัญต่อกำรจัดกำรกับกำรปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม 3) การพัฒนาบุคลากร

มีโครงกำรอบรมพนักงำนอย่ำงสม่ำเสมอ รวมถึงกำรให้ควำมรู้แก่ลูกจ้ำง subcontract

4) ความปลอดภัยในการ องค์กรแต่ละแห่งล้วนให้ควำมสำคัญเรื่องควำมปลอดภัยในกำรปฏิบัติงำน กำร ปฏิบัติงาน รักษำควำมปลอดภัยจึงเป็นไปตำมกฎหมำย ซึ่งบำงบริษัทรำยงำนว่ำมีเกณฑ์ที่ สูงกว่ำข้อกำหนดของกฎหมำย 20


ระยะที่ 3: การสร้างชุดตัวชี้วัดความ รับผิดชอบต่อสังคม และทดลองประเมิน โดยใช้ข้อมูลปี 2557


ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียให้ความสาคัญ เปรียบเทียบกับ GRI

22


ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียให้ความสาคัญ เปรียบเทียบกับ GRI

23


ผลการสร้างชุดดัชนีตัวชี้วัด เกณฑ์การสร้างตัวชี้วัด 1. แบ่งระดับควำมรับผิดชอบในแต่ละประเด็นออกเป็นสำมระดับ ได้แก่ “สูงกว่ำปำนกลำง” “ปำนกลำง” และ “ต่ำกว่ำปำนกลำง” 2. ประเด็นใดก็ตำมที่เกณฑ์ GRI กำหนดให้เปิดเผยข้อมูล แต่บริษัทไม่ เปิดเผย จะถือว่ำระดับควำมรับผิดชอบในประเด็นนั้นๆ “ต่ำกว่ำปำน กลำง” โดยอัตโนมัติ 3. สำหรับประเด็นที่มีกฎหมำยรองรับอย่ำงชัดเจน และไม่มีบริษัทใดละเมิด กฎหมำย เช่น รำยงำนอีไอเอ บริษัทที่เปิดเผยข้อมูลตำมกฎหมำยจัดเป็น “ปำนกลำง” ส่วนระดับ “ดีกว่ำปำนกลำง” กำหนดจำกระดับกำรจัดกำร หรือกำรเปิดเผยข้อมูลที่ดีกว่ำที่กฎหมำยกำหนด

24


ผลการสร้างชุดดัชนีตัวชี้วัด 4. สำหรับประเด็นที่มีกฎหมำยรองรับอย่ำงชัดเจน และระบุอยู่ในเกณฑ์ ตัวชี้วัด GRI แต่บริษัทเปิดเผยไม่ครบถ้วน เช่น มลพิษทำงอำกำศ บริษัท ที่เปิดเผยข้อมูล แต่ไม่ครบตำมข้อกำหนดที่กฎหมำยและตัวชี้วัด GRI มี ร่วมกัน จัดเป็น “ปำนกลำง” ส่วนระดับ “ดีกว่ำปำนกลำง” กำหนดจำก ระดับกำรจัดกำรหรือกำรเปิดเผยข้อมูลที่ครบตำมข้อกำหนดที่กฎหมำย และเกณฑ์ GRI มีร่วมกัน 5. สำหรับประเด็นที่ถูกหยิบยกโดยผู้มีส่วนได้เสียที่มีประสบกำรณ์ตรง เช่น เสียงรบกวน กำรซ้อมอุบัติภัย แบ่งช่วงคะแนนโดยใช้สัดส่วนของผู้มีส่วน ได้เสียที่ระบุว่ำได้รับผลกระทบ 25


ผลการสร้างชุดดัชนีตัวชี้วัด 6. สำหรับประเด็นที่ถูกหยิบยกโดยตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียว่ำเป็นควำม คำดหวังสำหรับบริษัทพลังงำน เช่น กำรลดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก กำรลงทุนในพลังงำนหมุนเวียน แบ่งช่วงคะแนนโดยใช้กำรเปิดเผยข้อมูล ของบริษัทเป็น “ค่ำปำนกลำง” และกำรประกำศเป้ำหมำยที่ชัดเจนเป็น “สูงกว่ำปำนกลำง”

26


ผลการสร้างชุดดัชนีตัวชี้วัด 7. สำหรับประเด็นที่ไม่มีกฎหมำยกำหนดอย่ำงชัดเจน เช่น งบประมำณซี เอสอำร์ กำรลงทุนในพลังงำนหมุนเวียน และกำรจัดกำรขยะด้วยวิธี Recycle, Reuse, Recover ใช้วิธีเปรียบเทียบแต่ละบริษัท กับบริษัทอื่น อีก 9 บริษัทในงำนวิจัยชิ้นนี้ (relative ranking) โดยใช้ค่ำมัธยฐำน (median) บวกลบค่ำเบี่ยงเบนมำตรฐำน (standard deviation) เพื่อ กำหนดระดับ “ปำนกลำง” หรือกำหนดให้บริษัทที่ดีที่สุด 3 อันดับ “ดีกว่ำปำนกลำง” สำมอันดับรองลงมำ “ปำนกลำง” และสี่อันดับ สุดท้ำย “ต่ำกว่ำปำนกลำง” 27


ผลการสร้างชุดดัชนีตัวชี้วัด • ชุดตัวชี้วัด: สิ่งแวดล้อม เกณฑ์ มลพิษทำงอำกำศ

มลพิษทำงน้ำ ก๊ำซเรือนกระจก

สูงกว่าปานกลาง (คะแนน = 2) เปิดเผยครบถ้วนตำมข้อกำหนดที่ กฎหมำยและตัวชี้วัด GRI มีร่วมกัน เปิดเผยตัวเลขและอธิบำยกระบวนกำร จัดกำร เปิดเผยปริมำณก๊ำซเรือนกระจกที่ ปล่อย อย่ำงน้อย scope 1 และ ประกำศเป้ำหมำยกำรลดเป็นตัวเลข

ปานกลาง (คะแนน = 1) ต่ากว่าปานกลาง (คะแนน = 0) เปิดเผย แต่ไม่ครบถ้วนตำมข้อกำหนดที่ ไม่เปิดเผย กฎหมำยและตัวชี้วัด GRI มีร่วมกัน เปิดเผยตัวเลข ไม่เปิดเผยกระบวนกำร ไม่เปิดเผย จัดกำร เปิดเผยปริมำณก๊ำซเรือนกระจกที่ปล่อย ไม่เปิดเผย อย่ำงน้อย scope 1 มีปริมำณจัดกำรด้วยกำร Recycle + Recover + Reuse อยู่ระหว่ำง 64% < x < 79% มีปริมำณจัดกำรด้วยกำร Recycle + Recover + Reuse อยู่ระหว่ำง 54% < x < 86%

ขยะอันตรำย

มีปริมำณจัดกำรด้วยกำร Recycle + Recover + Reuse > 79%

ขยะไม่อันตรำย

มีปริมำณจัดกำรด้วยกำร Recycle + Recover + Reuse > 86%

กำรลงทุนในพลังงำน หมุนเวียน

เปิดเผยกำรลงทุนในพลังงำนหมุนเวียน เปิดเผยกำรลงทุนในพลังงำนหมุนเวียน และประกำศเป้ำกำรลงทุนเป็นตัวเลข

คะแนนรวมในหมวดนี้

12

ไม่เปิดเผย หรือ มีปริมำณจัดกำร ด้วยกำร Recycle + Recover + Reuse < 64%

ไม่เปิดเผย หรือ มีปริมำณจัดกำร ด้วยกำร Recycle + Recover + Reuse < 54% ไม่เปิดเผย

6

28

0


ผลการสร้างชุดดัชนีตัวชี้วัด • ชุดตัวชี้วัด: ชุมชน - ผลกระทบ เกณฑ์

สูงกว่าปานกลาง (คะแนน = 2)

ปานกลาง (คะแนน = 1)

ต่ากว่าปานกลาง (คะแนน = 0)

เสียงรบกวน

ปัญหำ < 5% (จำกสัมภำษณ์กลุ่มชุมชน) ปัญหำ < 10%

ปัญหำ > 10%

กำรแย่งใช้น้ำ

ปัญหำ < 5% (จำกสัมภำษณ์กลุ่มชุมชน) ปัญหำ < 10%

ปัญหำ > 10%

ปัญหำสังคม

ปัญหำ < 5% (จำกสัมภำษณ์กลุ่มชุมชน) ปัญหำ < 10%

ปัญหำ > 10%

อุบัติภัยสำรเคมี

ไม่มีเหตุฉกุ เฉิน

เกิดเหตุฉกุ เฉินอย่ำงน้อย 1 ครั้ง

ซีเอสอำร์

(ไม่มีระดับนี้)

บริษัทที่ % งบต่อรำยได้สูงสุดอันดับที่ 1- บริษัทที่ % งบต่อรำยได้สูงสุดอันดับที่ 4- บริษัทที่ % งบต่อรำยได้สูงสุดอันดับ 3 ในบรรดำ 10 บริษัท 6 ในบรรดำ 10 บริษัท ที่ 7-10 ในบรรดำ 10 บริษัท / ไม่ เปิดเผยข้อมูล กำรรับเรื่องร้องเรียนและ รำยงำน 1) ช่องทำงรับเรื่องร้องเรียน รำยงำน 1) ช่องทำงรับเรื่องร้องเรียน ไม่เปิดเผย กระบวนกำรเยียวยำ และ 2) กระบวนกำรรับเรื่องและกำร และ/หรือ 2) กระบวนกำรรับเรื่องและ จัดกำร และ 3) สถิติข้อร้องเรียนและกำร กำรจัดกำร และ/หรือ 3) สถิติข้อร้องเรียน จัดกำร ภำยในปีนั้นๆ ครบทั้ง 3 ข้อ และกำรจัดกำร ภำยในปีนั้นๆ ได้เพียง 12 ข้อ จำกสำมข้อข้ำงต้น 29 0 คะแนนรวมในหมวดนี้ 12 5


ผลการสร้างชุดดัชนีตัวชี้วัด • ชุดตัวชี้วัด: ชุมชน - กำรป้องกัน เกณฑ์ รำยงำนอีไอเอ

กำรซ้อมรับมืออุบัติภัย กำรให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ผลกระทบ

กำรมีส่วนร่วมในกำร ดำเนินกิจกำร

คะแนนรวมในหมวดนี้

สูงกว่าปานกลาง (คะแนน = 2) ดีกว่ำกฎหมำย (เช่น เปิดเผยต่อ สำธำรณะ เปิดร่ำงรำยงำนอีไอเอต่อ ชุมชน) ซ้อมกับชุมชนอย่ำงทั่วถึงและ สม่ำเสมอ/ชุมชนพอใจ ชำวบ้ำนได้รับข้อมูล / บริษัท proactive ในกำรให้ข้อมูล (เช่น ติดตั้ง เครื่องมือตรวจวัด เยี่ยมชมโรงงำน คุย กับหัวหน้ำชุมชนอย่ำงสม่ำเสมอ) ชำวบ้ำนได้เข้ำประชุมรับฟังควำม คิดเห็นอย่ำงสม่ำเสมอ ได้แสดงควำม คิดเห็น บริษัทรับฟังควำมคิดเห็นและ นำไปปรับปรุง 8

ปานกลาง (คะแนน = 1) ทำตำมกฎหมำย

ต่ากว่าปานกลาง (คะแนน = 0) ต่ำกว่ำกฎหมำย

(ส่งรำยงำนอีไอเอให้ สผ. ซึ่งเป็น หน่วยงำนที่รับผิดชอบ) ซ้อมกับชุมชนอย่ำงทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง/ ชุมชนระบุให้ปรับปรุง

ชำวบ้ำนได้รับข้อมูล / บริษัท passive ในกำรให้ข้อมูล (เช่น แจกวำรสำร กำร เยี่ยมชมหรือเข้ำมำพูดคุยเฉพำะเวลำที่มี โครงกำร) ชำวบ้ำนได้เข้ำประชุมรับฟังควำมคิดเห็น ก่อนเริ่มทำโครงกำร และได้แสดงควำม คิดเห็น

ชำวบ้ำนไม่รู้ข้อมูล

ชำวบ้ำนไม่ได้เข้ำประชุมกับบริษัท หรือได้เข้ำประชุม แต่ไม่มีโอกำส ได้แสดงควำมคิดเห็น

4

0 30


ผลการสร้างชุดดัชนีตัวชี้วัด • ชุดตัวชี้วัด: ผู้บริโภค เกณฑ์

ต่ากว่าปานกลาง (คะแนน = 0) บริษัทที่ % ปั๊ม "ทอง" สูงสุด อันดับ บริษัทที่ % ปั๊ม "ทอง" อันดับ 3-4 สุดท้ำย 2 1 0

สูงกว่าปานกลาง (คะแนน = 2)

ปั๊มน้ำมันระดับ "ทอง" บริษัทที่ % ปั๊ม "ทอง" สูงสุด และ "เงิน" อันดับที่ 1-2 คะแนนรวมในหมวด นี้

ปานกลาง (คะแนน = 1)

31


ผลการสร้างชุดดัชนีตัวชี้วัด • ชุดตัวชี้วัด: แรงงำน เกณฑ์ สูงกว่าปานกลาง (คะแนน = 2) กำรปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อ บริษัท proactive ในกำรดูแลลูกจ้ำง ลูกจ้ำง โดยตรง (ได้คำชมจำก FGD เกี่ยวกับ นโยบำย หรือ practice ของบริษัทที่ ต่อต้ำนกำรเลือกปฏิบัติอย่ำงชัดเจน) กำรปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อ บริษัท proactive ในกำรดูแล subsub contract contract (เช่น มีกลไกกำรคัดเลือก supplier โดยมีเกณฑ์กำรปฏิบัติต่อ sub-contract, มีกระบวนกำร audit คู่ค้ำตลอดสำย) กำรมีส่วนร่วมของ บริษัท proactive ในกำรดูแลลูกจ้ำง แรงงำน โดยตรง (ได้คำชมจำกพนักงำน) คะแนนรวมในหมวดนี้

ปานกลาง (คะแนน = 1) ไม่พบปัญหำ / พบปัญหำกำรเลือก ปฏิบัติ (เพศ อำยุ คนกลุ่มน้อย) แต่มีกำร จัดกำรแก้ไข

ต่ากว่าปานกลาง (คะแนน = 0) มีปัญหำ / กรณีร้องเรียนกำรเลือก ปฏิบัติ (เพศ อำยุ คนกลุ่มน้อย) แต่ไม่มีกำรอธิบำยกำรจัดกำร แก้ไข หรือ ไม่ได้รับกำรแก้ไข มี initiative/innovation ในกำรจัดกำร ไม่มีกลไกกำรจัดกำรกำรปฏิบัติที่ กำรปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมต่อพนักงำน ไม่เป็นธรรม โดยอ้ำงว่ำไม่มีข้อ ประเภท sub-contract ผูกพันตำมกฎหมำย

ไม่พบปัญหำ (ปฏิบัติตำมกฏหมำย)

6

มีปัญหำ / กรณีร้องเรียน (หรือ กีดกัน/ไม่สนับสนุนไม่ให้ตั้ง สหภำพ, ไม่รับเรื่องร้องเรียน) 3

0 32


ผลการสร้างชุดดัชนีตัวชี้วัด • ชุดตัวชี้วัด: สิทธิมนุษยชน เกณฑ์

กำรคุ้มครองสิทธิ มนุษยชน

สูงกว่าปานกลาง (คะแนน = 2)

ปานกลาง (คะแนน = 1)

มีกำรประเมินควำมเสี่ยงด้ำนสิทธิ มีกำรประเมินควำมเสี่ยงด้ำนสิทธิ มนุษยชนในองค์กรและห่วงโซ่ มนุษยชนในองค์กรและห่วงโซ่ อุปทำน กลไกรับเรื่องร้องเรียน อุปทำน และกลไกตรวจสอบและติดตำมผล คะแนนรวมในหมวด 2 1 นี้

ต่ากว่าปานกลาง (คะแนน = 0) ไม่เปิดเผย

0

33


ผลการทดสอบชุดดัชนีตัวชี้วัดกับข้อมูลปี 2557

34


ผลการทดสอบชุดดัชนีตัวชี้วัดกับข้อมูลปี 2557 (ต่อ)

35


ผลการทดสอบชุดดัชนีตัวชี้วัดกับข้อมูลปี 2557 (ต่อ)

36


ผลการทดสอบชุดดัชนีตัวชี้วัดกับข้อมูลปี 2557 (ต่อ)

37


สรุปผลการทดสอบตัวชี้วัด และข้อเสนอแนะ


สรุปผลการทดสอบตัวชี้วัดและข้อเสนอแนะ ข้อสังเกตจากการทดสอบตัวชี้วัด 1. ประเด็นที่บริษัทโดยรวมได้คะแนนสูงที่สุด โดยทั้ง 10 บริษัทได้คะแนน “สูงกว่ำ ปำนกลำง” คือ กำรใช้น้ำ เนื่องจำกสมำชิกในชุมชนรอบสถำนประกอบกำรหลัก ของแต่ละบริษัทในพื้นที่วิจัยเชิงคุณภำพต่ำงพูดเป็นเสียงเดียวกันว่ำ ไม่ประสบ ปัญหำกำรแย่งใช้น้ำจำกโรงงำน ถึงแม้ประเด็นนี้จะเป็นข้อกังวลอันดับต้นๆ ก็ ตำม 2. ประเด็นที่บริษัทโดยรวมได้คะแนนสูงเป็นอันดับสอง คือ อุบัติภัยสำรเคมี โดย บริษัทแปดแห่งไม่มีกำรรั่วไหลในระดับที่มีนัยสำคัญ (significant spill หมำยถึง มีกำรรั่วไหลมำกกว่ำ 150 ลิตร หรือ 100 บำร์เรล) ในปี พ.ศ. 2557 มีสองบริษัท ที่มีกำรรั่วไหลระดับที่มีนัยสำคัญ คือ PTT และ BANPU 39


สรุปผลการทดสอบตัวชี้วัดและข้อเสนอแนะ (ต่อ) 3. ประเด็นที่บริษัทโดยรวมได้คะแนนต่ำที่สุด โดยไม่มีบริษัทใดได้คะแนน “ปำน กลำง” คือ กำรคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เนื่องจำกเกณฑ์ “ปำนกลำง” คือ กำร ประเมินควำมเสี่ยงด้ำนสิทธิมนุษยชน (human rights risk assessment) ทั้ง ในบริษัทเองและในห่วงโซ่อุปทำนของบริษัท ซึ่งไม่มีบริษัทใดระบุว่ำมีกำรจัดทำ ในปี พ.ศ. 2557 ยกเว้น PTT ซึ่งระบุว่ำจะจัดทำในปี พ.ศ. 2558 และตั้งเป้ำจะ ดำเนินกำรตำมผลกำรประเมินในปี พ.ศ. 2559 บำงบริษัทเปิดเผยว่ำ กำรคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนกำร คัดกรองคู่ค้ำ (supplier screening) แต่ไม่ระบุอย่ำงชัดเจนว่ำบริษัทมี กระบวนกำรตรวจสอบ (due diligence) หรือไม่ บำงบริษัทระบุแต่เพียงกว้ำงๆ ว่ำ บริษัทเคำรพและปฏิบัติตำมปฏิญญำสำกลว่ำด้วยสิทธิมนุษยชน และ/หรือ บริษัทกำหนดให้คู่ค้ำต้องปฏิบัติตำมกฎหมำย

40


สรุปผลการทดสอบตัวชี้วัดและข้อเสนอแนะ (ต่อ) 4. ประเด็นที่บริษัทโดยรวมได้คะแนนต่ำเป็นอันดับสอง คือ กำรปฏิบัติที่เป็นธรรม ต่อลูกจ้ำงรับเหมำช่วง (sub-contract) ซึ่งเป็นประเด็นที่ตัวแทนผู้มีส่วนได้เสีย ด้ำนแรงงำนให้ควำมสำคัญ ประเด็นนี้บำงบริษัทมองว่ำ เป็นควำมรับผิดชอบของผู้รับเหมำที่ว่ำจ้ำงลูกจ้ำง เหมำช่วงโดยตรง มิใช่ควำมรับผิดชอบของบริษัท บำงบริษัทเมื่อได้รับทรำบเหตุ ละเมิดสิทธิลูกจ้ำงเหมำช่วงก็เข้ำไปกดดันให้คู่ค้ำปฏิบัติอย่ำงเป็นธรรม แต่ยัง มิได้วำงกลไกกำรจัดกำรอย่ำงเป็นระบบ สหภำพแรงงำนบำงบริษัทระบุว่ำ มี แผนที่จะนำลูกจ้ำงเหมำช่วงมำอยู่ในบริษัทในเครือ เพื่อให้บริษัทสำมำรถดูแล เรื่องสวัสดิกำรและกำรปฏิบัติอย่ำงเท่ำเทียมได้ดีขึ้น 41


สรุปผลการทดสอบตัวชี้วัดและข้อเสนอแนะ (ต่อ) 5. คะแนนในหมวดผลกระทบต่อชุมชน (ค่ำเฉลี่ยร้อยละ 60.8 จำกคะแนนเต็ม) สูง กว่ำหมวดกำรป้องกันผลกระทบต่อชุมชน (ค่ำเฉลี่ยร้อยละ 44.8) อย่ำงมี นัยสำคัญ และมีเพียงบริษัทเดียวเท่ำนั้นที่ได้คะแนนในหมวดกำรป้องกัน ผลกระทบต่อชุมชนสูงกว่ำหมวดผลกระทบต่อชุมชน (ค่ำเฉลี่ยร้อยละ 88 เทียบ กับร้อยละ 83) คือ BCP ข้อมูลดังกล่ำวสะท้อนว่ำ บริษัทโดยรวมในงำนวิจัยชิ้นนี้สำมำรถควบคุม ปฏิบัติกำรระดับโรงงำน (โรงกลั่นหรือโรงไฟฟ้ำ) ให้มีควำมปลอดภัยและไม่ส่งผล กระทบในสำระสำคัญต่อชุมชนใกล้เคียง แต่อำจยังไม่ให้ควำมสำคัญอย่ำง เพียงพอกับกำรเปิดให้ชุมชนมีส่วนร่วมกับกำรดำเนินกำรเชิงรุก (proactive) เช่น กำรเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบจำกโรงงำนในภำษำที่ชำวบ้ำนเข้ำใจ ง่ำย เข้ำถึงได้ เป็นต้น

42


สรุปผลการทดสอบตัวชี้วัดและข้อเสนอแนะ (ต่อ) 6. ด้ำนกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก ซึ่งเป็นประเด็นที่เกณฑ์ GRI และผู้เชี่ยวชำญ ด้ำนสิ่งแวดล้อม ผู้บริโภค และธรรมำภิบำลสิ่งแวดล้อมให้ควำมสำคัญเป็นอันดับ ต้นๆ บริษัทส่วนใหญ่รำยงำนปริมำณกำรปล่อยก๊ำซคำร์บอนไดอ็อกไซด์ เทียบเท่ำของบริษัทในปี พ.ศ. 2557 (scope 1 และ scope 2) มีเพียง ESSO ที่ ไม่รำยงำน ส่วน EGAT เลือกรำยงำนเพียงโรงไฟฟ้ำหลัก มิได้รำยงำนปริมำณ กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกของทั้งองค์กร อย่ำงไรก็ดี มีเพียง PTT และ BANPU เท่ำนั้นที่ประกำศเป้ำกำรลดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกเป็นตัวเลขในรำยงำนปี 2557 ซึ่งเป็นระดับที่เข้ำข่ำย “สูงกว่ำปำนกลำง” ในชุดตัวชี้วัดของคณะวิจัย

43


สรุปผลการทดสอบตัวชี้วัดและข้อเสนอแนะ (ต่อ) ข้อเสนอแนะ 1. บริษัทพลังงำนขนำดใหญ่ควรให้ควำมสำคัญกับกำรปรึกษำหำรือกับผู้มีส่วนได้เสียที่ รอบด้ำนและอย่ำงสม่ำเสมอมำกขึ้น โดยเฉพำะตัวแทนองค์กรพัฒนำเอกชนด้ำน สิ่งแวดล้อม แรงงำน และผู้บริโภค เพื่อทำควำมเข้ำใจกับประเด็นกังวล ควำมต้องกำร และควำมคำดหวังจำกผู้มีส่วนได้เสีย เนื่องจำกสภำพปัญหำและสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่ เกี่ยวข้องกับกำรดำเนินกิจกำรของบริษัทพลังงำนมีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเร็ว ส่งผลให้ระดับควำมคำดหวังของผู้มีส่วนได้เสียเปลี่ยนแปลงตำมไปด้วย

44


สรุปผลการทดสอบตัวชี้วัดและข้อเสนอแนะ (ต่อ) 2. คณะวิจัยพบว่ำ กำรกำหนดและเปิดเผยนโยบำย กลยุทธ์ และเป้ำหมำยด้ำนควำม ยั่งยืนที่ชัดเจน โดยตั้งต้นจำกกำรมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย ประกอบกับกำร ประเมินควำมเสี่ยงด้ำนสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทนั้น มีควำมสัมพันธ์อย่ำงมี นัยสำคัญกับระดับควำมรับผิดชอบของบริษัท กล่ำวคือ บริษัทที่เปิดเผยนโยบำย กล ยุทธ์ และเป้ำหมำยควำมยั่งยืนอย่ำงชัดเจนเป็นเหตุเป็นผล สอดคล้องกับโอกำสและ ควำมเสี่ยงด้ำนควำมยั่งยืนที่บริษัทวิเครำะห์ และผลจำกกำรปรึกษำหำรือกับผู้มีส่วน ได้เสีย มีแนวโน้มที่จะมีระดับควำมรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมสูงกว่ำบริษัท ที่ไม่เคยกำหนดนโยบำยหรือกลยุทธ์ด้ำนควำมยั่งยืน หรือกำหนดแบบเป็นนำมธรรม กว้ำงๆ โดยอ้ำงอิงหลักกำรสำกล แต่มิได้ระบุรูปธรรมที่ชัดเจนและเกี่ยวข้องกับ บริบทกำรดำเนินธุรกิจของบริษัท 45


สรุปผลการทดสอบตัวชี้วัดและข้อเสนอแนะ (ต่อ) 3. ทุกบริษัทควรปรับปรุงนโยบำยและกระบวนกำรคุ้มครองสิทธิมนุษยชน โดยอำจ เริ่มต้นจำกกำรประเมินควำมเสี่ยงด้ำนสิทธิมนุษยชน (human rights risk assessment) ทั้งองค์กรและตลอดสำยห่วงโซ่อุปทำน เนื่องจำกสิทธิมนุษยชนเป็น ประเด็นพื้นฐำนของมำตรฐำนควำมรับผิดชอบต่อสังคมทุกมำตรฐำน และเป็น ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียมีแนวโน้มจะให้ควำมสำคัญมำกขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพำะในยุคที่ บริษัทพลังงำนขนำดใหญ่ของไทยข้ำมพรมแดนไปลงทุนในต่ำงประเทศ ประเด็นกำร คุ้มครองสิทธิแรงงำนและสิทธิชุมชนในห่วงโซ่อุปทำนนอกประเทศ และกำรปฏิบัติ ต่อลูกจ้ำงรับเหมำช่วง (sub-contract) อย่ำงเป็นธรรม (ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกำร คุ้มครองสิทธิมนุษยชนเช่นกัน) จะยิ่งมีควำมเสี่ยงและต้องอำศัยกระบวนกำรจัดกำร ที่เป็นระบบมำกขึ้น มำกกว่ำลำพังกำรกำหนดให้คู่ค้ำรำยงำนคุณสมบัติของตนเอง โดยสมัครใจ 46


สรุปผลการทดสอบตัวชี้วัดและข้อเสนอแนะ (ต่อ) 4. บริษัททั้ง 10 แห่งในกำรศึกษำครั้งนี้สร้ำงผลกระทบต่อชุมชนค่อนข้ำงน้อยในรอบปี รำยงำน พ.ศ. 2557 โดยผลกระทบที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นเรื่องของกำรก่อควำม รำคำญให้กับชำวบ้ำน เช่น ปัญหำกำรจรำจร เสียงรบกวน และกลิ่น มำกกว่ำ ผลกระทบขั้นรุนแรงที่ส่งผลต่อสุขภำพหรือคุณภำพน้ำและอำกำศในชุมชน อย่ำงไร ก็ดี บริษัทส่วนใหญ่ควรให้ควำมสำคัญมำกขึ้นกับกำรป้องกันผลกระทบต่อชุมชน โดยเฉพำะกลไกกำรมีส่วนร่วมเชิงรุก เช่น กำรสื่อสำรผลกระทบในภำษำที่เข้ำใจง่ำย เพื่อบรรเทำควำมกังวลของชำวบ้ำนและเสริมสร้ำงควำมไว้วำงใจระหว่ำงกัน

47


สรุปผลการทดสอบตัวชี้วัดและข้อเสนอแนะ (ต่อ) 5. บริษัทบำงแห่งอ้ำงอิงกำรได้ “รำงวัล” ต่ำงๆ อำทิ CSR Award หรือกำรได้รับเลือก เข้ำเป็นสมำชิกของ Dow Jones Sustainability Index (DJSI) รำวกับเป็น “ข้อ พิสูจน์” ถึงควำมเป็นบริษัทที่ยั่งยืน บำงบริษัทอ้ำงอิงกำรได้รับรำงวัลเหล่ำนี้อย่ำง เดียว แทนที่จะนำเสนออรรถำธิบำยผลกระทบของบริษัทต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โอกำสและควำมเสี่ยงด้ำนสิ่งแวดล้อม วิธีจัดกำรควำมเสี่ยง ตลอดจนกลยุทธ์ด้ำน ควำมยั่งยืน บริษัทลักษณะนี้น่ำจะสำมำรถปรับปรุงกำรเปิดเผยข้อมูลและกำร ดำเนินงำนเกี่ยวกับควำมรับผิดชอบต่อสังคมได้อย่ำงตรงต่อข้อกังวลและควำม คำดหวังของผู้มีส่วนได้เสียขององค์กรมำกขึ้น ถ้ำหำกเพิ่มควำมตระหนักว่ำรำงวัล เหล่ำนี้โดยมำกมิใช่ “ข้อพิสูจน์” ถึงระดับควำมยั่งยืนหรือระดับควำมรับผิดชอบของ บริษัท หำกแต่เป็นเครื่องมือสร้ำงแรงจูงใจให้บริษัทมีกำรพัฒนำไปสู่ธุรกิจที่ยั่งยืน อย่ำงต่อเนื่อง และสำมำรถใช้เป็นแนวทำงสำหรับกำรดำเนินกิจกำรของบริษัท 48


สรุปผลการทดสอบตัวชี้วัดและข้อเสนอแนะ (ต่อ) 6. ในฐำนะบริษัทขนำดใหญ่ ทุกบริษัทในรำยงำนชิ้นนี้สำมำรถท้ำทำยองค์กรให้ก้ำวเข้ำ สู่ระดับ “ก้ำวหน้ำ” ในทัศนะของผู้มีส่วนได้เสีย ด้วยกำรริเริ่มโครงกำรอย่ำงเช่น กำรผลักดันนวัตกรรมพลังงำน กำรส่งมอบเครื่องมือให้ชำวบ้ำนในชุมชนใช้ติดตำม ผลกระทบด้วยตนเอง กำรเปิดเผยรำยงำนผลกระทบสิ่งแวดล้อม (อีไอเอ) ต่อ สำธำรณะ หรือกำรผลักดันภำครัฐในกำรทบทวนทำงเลือกต่ำงๆ ในกำรสร้ำง โรงไฟฟ้ำแห่งใหม่ เป็นต้น

49


ไฮไลต์การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ จาก 2557 ถึง 2559 BANPU - เปิดเผยกระบวนกำรมีสว่ นร่วมของผู้มีสว่ นได้เสียและกระบวนกำรจัดอันดับควำมสำคัญ ของประเด็นด้ำนควำมยั่งยืนที่ชัดเจนมำกขึ้น - เปิดเผยกระบวนกำรระบุโอกำสและควำมท้ำทำยด้ำนควำมยั่งยืนในรำยงำนเพื่อกำร พัฒนำที่ยั่งยืน BCP - จัดทำ code of conduct สำหรับคู่ค้ำ ซึ่งประกอบด้วยเรื่อง จริยธรรม แรงงำน สิทธิ มนุษยชน ควำมปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และกำรพัฒนำชุมชน/สังคม เป็นเกณฑ์ในกำร ประเมินคู่ค้ำ - คัดเลือกเป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ยั่งยืนของสหประชำชำติ (UN SDG) มำกำหนดเป็น โครงกำรเพื่อร่วมแก้ปัญหำสิ่งแวดล้อมและสังคมของประชำคมโลก ประกอบด้วยด้ำน สิ่งแวดล้อม (Climate action, Responsible production & Consumption, Sustainability cities & Communities) พลังงำน (Affordable and clean energy ) และสังคม (Education, Clean water and Sanitation, Peace, Justice and strong institution, Decent work and economic growth, Innovation) 50


ไฮไลต์การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ จาก 2557 ถึง 2559 EGAT

- ประกำศนโยบำยกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืนของกลุ่ม เพื่อใช้เป็นกรอบในกำรดำเนินงำนใน ทิศทำงเดียวกัน ยกระดับกำรเปิดเผยข้อมูลของรำยงำนเพื่อกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน ตำม ตัวชี้วัด GRI-G4 ระดับ Comprehensive เป็นปีแรก และมีกำรจ้ำงหน่วยงำนภำยนอกตรวจ รับรองให้ควำมเชื่อมัน่ รำยงำน โดยมีกำรทวนสอบข้อมูลกำรรำยงำน นอกจำกนี้ ยังมีกำร เปิดเผยข้อมูลเพิ่มขึ้น เช่น กำรเชื่อมโยงผลกำรดำเนินงำนกับเป้ำหมำยกำรพัฒนำอย่ำง ยั่งยืนของสหประชำชำติ (UN Sustainable Development Goals: UNSDGs) เช่น กำร ลดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกตำมมำตรกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตไฟฟ้ำ และมำตรกำร ผลิตไฟฟ้ำจำกพลังงำนทดแทน ปี 2558 ได้ 2.2 ล้ำน tCo2e มำกกว่ำเป้ำหมำย - ด้ำนสิทธิมนุษยชนและกำรปฏิบัตดิ ้ำนแรงงำน ได้มีกำรเปิดเผยประเด็นปัญหำเกี่ยวกับ ลูกจ้ำงเหมำ ประเภทงำนธุรกำรและรับส่งเอกสำร และแนวทำงกำรแก้ไขให้ลูกจ้ำงเหมำ ได้รับกำรปฏิบัตติ ำมกฎหมำยแรงงำนจำกผูร้ ับจ้ำง รวมถึงกำรอบรมเรื่องควำมปลอดภัย อำ ชีวอนำมัย ให้แก่ลูกจ้ำงของคู่ค้ำ (Contractor & Subcontractor) 51


ไฮไลต์การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ จาก 2557 ถึง 2559 GLOW - เริ่มจัดทำกำรประเมินและเปิดเผยข้อมูลตำมหลัก GRI G4 (ประเภท Core) ในรำยงำน ควำมยั่งยืนปี 2557 (แจ้งต่อสำธำรณะเมือ่ ต้นปี 2558) ต่อเนื่องมำจนถึงฉบับล่ำสุด คือปี 2559 โดยมีกำรระบุและคัดเลือกหัวข้อสำคัญด้ำนควำมยั่งยืน ผ่ำนกำรประเมินควำม คำดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตลอดห่วงโซ่คุณค่ำ ฯลฯ ด้วย - กำหนดนโยบำยด้ำนสิง่ แวดล้อม กลยุทธ์ด้ำนควำมยั่งยืน และเป้ำหมำยด้ำนควำมยั่งยืน รำยปี ตั้งแต่ปี 2557 รวมถึงได้สรุปพันธสัญญำในกำรยุติกำรขยำยกิจกำรโรงไฟฟ้ำถ่ำนหิน นับตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมำ และหันไปมุ่งเน้นโครงกำรที่ใช้เชื้อเพลิงอื่นๆ รวมถึงพลังงำน ทดแทนต่ำงๆ แทน โดยพันธสัญญำนี้เปิดเผยอยู่ในรำยงำนควำมยั่งยืนประจำปี 2558 และ โกลว์ได้ย้ำพันธสัญญำดังกล่ำวอีกครั้งในรำยงำนฉบับปี 2559 ซึ่งจะแจ้งต่อสำธำรณะภำยใน สิ้นเดือนเมษำยน 2560

52


ไฮไลต์การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ จาก 2557 ถึง 2559 IRPC

PTT

- ปี 2558 กำหนดนโยบำยควำมยั่งยืน และมีกระบวนกำรลำดับควำมสำคัญของประเด็น ควำมยั่งยืนต่ำงๆ อย่ำงชัดเจน โดยคำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกด้ำน เปิดเผยกำรมีส่วนร่วมของ ชุมชนผ่ำนกระบวนกำรทำรำยงำนอีไอเอ กำรให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบ และกำรซ้อม รับมือกับกำรหกรั่วไหลของน้ำมันและสำรเคมี - ปี 2559 เปิดเผยกระบวนกำรในกำรจัดทำระบบกำรประเมินสิทธิมนุษยชน - ขอบเขตรำยงำน – ปี 2558 ขยำยขอบข่ำยรวม บริษัท โกลบอล เพำเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำกัด (มหำชน) เป็นปีแรก ซึ่งทำให้กำรนำเสนอผลกำรดำเนินงำนด้ำนควำมปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อมมีควำมครอบคลุมเพิ่มขึ้นจำกรำยงำนฉบับทีผ่ ่ำนมำ - แนวทำงกำรรำยงำน – ปี 2558 นำเสนอผลกำรปฏิบัตติ ำม Integrated Reporting (IR) และเป้ำหมำยกำรพัฒนำทีย่ ั่งยืนของสหประชำชำติ (UN Sustainable Development Goals – SDG) ด้วย เพื่อแสดงให้เห็นว่ำกำรดำเนินงำนของ ปตท. สอดคล้องกับ มำตรฐำนสำกลที่เกีย่ วข้อง 53


ไฮไลต์การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ จาก 2557 ถึง 2559 RATCH - ปี 2559 บริษัทฯ จัดให้มีกำรอบรมทำควำมเข้ำใจประเด็นสิทธิมนุษยชนแก่ผบู้ ริหำร ระดับกลำงและระดับสูง เพื่อให้เกิดควำมตระหนักในกำรพัฒนำโครงกำรต่ำงๆ - ปรับปรุงกำรบริหำรจัดกำรก๊ำซเรือนกระจก โดย 1) เข้ำร่วมโครงกำรขยำยผลกำรส่งเสริม กำรจัดทำคำร์บอนฟุตพริน้ ท์ขององค์กรในภำคอุตสำหกรรมระยะที่ 5 เพื่อนำมำจัดทำ ฐำนข้อมูลก๊ำซเรือนกระจกของโรงไฟฟ้ำรำชบุรีและโรงไฟฟ้ำไตรเอนเนอจี้ 2) กำหนด เป้ำหมำยกำรลดก๊ำซเรือนกระจกของบริษัทโดยใช้ข้อมูลจำกกำรประเมิน CFO และ 3) ขยำยขอบเขตกำรรำยงำนกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกไปครอบคลุม Scope 3 TOP - ด้ำนสิทธิมนุษยชน มีกำรประเมินควำมเสี่ยงเบื้องต้นด้ำนสิทธิมนุษยชน และประกำศ นโยบำยพร้อมทั้งสื่อสำรนโยบำยสิทธิมนุษยชนแก่คู่ค้ำ - ด้ำนกำรบริหำรจัดกำรห่วงโซ่อปุ ทำน ให้คู่ค้ำประเมินควำมเสีย่ งด้ำนสังคม สิ่งแวดล้อม และธรรมำภิบำล และนำผลที่คู่ค้ำประเมินตนเองมำวิเครำะห์ และเตรียมจัดทำโครงกำร ทวนสอบควำมเสี่ยงด้ำนสิง่ แวดล้อม สังคม และจริยธรรม 54


-- ขอบคุณ – ดำวน์โหลดเอกสำรสรุปสำระสำคัญได้ที่ www.salforest.com ผู้สนใจรำยงำนฉบับสมบูรณ์ กรุณำติดต่อฝ่ำยนโยบำยชำติและควำมสัมพันธ์ข้ำมชำติ (ฝ่ำย 1) สำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย ชั้น 14 อำคำร เอส เอ็ม ทำวเวอร์ 979/17-21 ถนนพหลโยธิน แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์: 02 278 8200 โทรสำร: 02 298 0476


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.