Summary Slides: Business Case for Sustainable Banking in Thailand

Page 1

เหตุผลทางธุรกิจของ “การธนาคารที่ยั่งยืน” ในไทย และการจัดตั้ง “เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่งประเทศไทย” สฤณี อาชวานันทกุล บริษัท ป่าสาละ จากัด 25 มีนาคม 2558 ดาเนินการภายใต้ทุนวิจัยจาก


ป่าสาละคือใคร?

“Sustainable Business Accelerator” ป่าสาละเป็นบริษัท “ปลูกธุรกิจที่ยั่งยืน” แห่งแรกในประเทศไทย ก่อตั้งเดือน ก.ค. 2556 เป้าหมายของเราคือจุดประกายและดาเนินวาทกรรมสาธารณะเกี่ยวกับธุรกิจที่ ยั่งยืน ผ่านการจัดสัมมนา อบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และออนไลน์ รวมทั้งผลิตงานวิจัยในประเด็นความยั่งยืน และส่งเสริมการวัดผลตอบแทนทางสังคม 2


เป้าหมายโครงการวิจัย  เพื่อสร้างความตระหนักในความจาเป็นของการเปลี่ยนวิถีธุรกิจของธนาคารไทยสู่ “การธนาคารที่ยั่งยืน” ในบรรดาบุคลากรทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง อาทิ หน่วยงาน ภาครัฐ องค์กรกากับดูแล นักการเงิน นักการธนาคาร รวมถึงสื่อมวลชนและ ประชาชนทั่วไป  เพื่อจัดตั้ง “เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่งประเทศไทย” (Sustainable Banking Thailand Network - SBTN) เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับวิถีการธนาคารที่ ยั่งยืน โดยสมาชิกเครือข่ายคือผู้เกี่ยวข้องในธุรกิจธนาคารไทย ที่สนใจในวิถีการ ธนาคารที่ยั่งยืนและสนใจจะเป็น “ผู้นาการเปลี่ยนแปลง” ในองค์กรของตนเอง  เพื่อรณรงค์ส่งเสริมธรรมเนียมปฏิบัติ มาตรฐาน และโครงการที่เกี่ยวข้องกับวิถีการ ธนาคารที่ยั่งยืน อาทิ ชุดหลัก Equator Principles  ดาเนินการภายใต้ทุนวิจัยจาก Rockefeller Foundation 3



ธนาคารยังคงเป็นแหล่งทุนที่สาคัญที่สุดในไทย ิ เชอ ื่ เอกชนต่อจีดพ สน ี :ี 154% ในปี 2013 สูงกว่าค่าเฉลีย ่ โลกและ ี ตะวันออก เอเชย

ทีม ่ า: World

Bank 5







กรอบคิด “การพัฒนาที่ยั่งยืน” (Sustainable Development)

“การพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง วิถีการพัฒนาที่สามารถตอบสนอง ความต้องการของปัจจุบันโดยไม่ลิดรอนความสามารถของคนรุ่น หลังในการตอบสนองความต้องการของพวกเขา” - Brundtland Report (1987) -

11


กรอบคิด “การพัฒนาที่ยั่งยืน” (Sustainable Development) • ลักษณะสาคัญบางประการของ “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” – ให้ความสาคัญกับความเท่าเทียมกัน (equity) และความ ยุติธรรม (fairness) – มีมุมมองระยะยาว (long-term view) ภายใต้หลักความ รอบคอบ (precautionary principle) ผู้เชี่ยวชาญบางคน เสนอว่า ตราบใดที่คนรุ่นหนึ่งคิดถึงคนรุ่นต่อไป (ประมาณ 50 ปี) ก็แปลว่าคนทุกรุ่นจะได้รับการดูแล – คิดแบบเป็นระบบ (systems thinking) ซึ่งต้องอาศัยความ เข้าใจในความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และ สังคม 12


(บาง)นิยามของ “การธนาคารที่ยั่งยืน”  “การเงินที่ยั่งยืน หมายถึง การจัดสรรทุนการเงินและผลิตภัณฑ์บริหาร ความเสี่ยงให้กับโครงการและธุรกิจที่ส่งเสริมและไม่บั่นทอนความเจริญ ทางเศรษฐกิจ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และความยุติธรรมทางสังคม” (Forum for the Future, 2002)  “การธนาคารที่ยั่งยืน หมายถึง การตัดสินใจของธนาคารที่จะส่งมอบ ผลิตภัณฑ์และบริการให้แต่เฉพาะกับลูกค้าที่คานึงถึงผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมและสังคมจากกิจกรรมของตน” (Bouma, Jeucken, and Klinkers, 2001)

13


องค์ประกอบของ “การธนาคารที่ยั่งยืน” ในรายงาน “Banking for Sustainability” (IFC, 2007) 1. ความมั่นคงทางการเงินของสถาบันการเงินและลูกค้า จะได้สามารถมี ส่วนร่วมในระยะยาวกับการพัฒนาประเทศ 2. ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจของโครงการและบริษัทต่างๆ ที่สถาบันการเงิน ออกทุนให้ 3. ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมผ่านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 4. ความยั่งยืนทางสังคมผ่านสวัสดิการของชุมชน

14


15


ห้าระดับของ “ธนาคารที่ยั่งยืน” (Kaeufer, ongoing) 1. ระดับ 1: Unfocused corporate activities – ทากิจกรรมซีเอสอาร์ การกุศล สปอนเซอร์อีเวนท์ ฯลฯ ที่เน้นการประชาสัมพันธ์ ไม่เกี่ยวข้อง ใดๆ กับการดาเนินธุรกิจหลักของธนาคาร 2. ระดับ 2: Isolated business projects or business practices – มีโครงการ กิจกรรม หรือผลิตภัณฑ์ที่ยั่งยืน อาทิ “สินเชื่อเขียว” มาเสริม ผลิตภัณฑ์หลัก แต่ทั้งหมดยังมีสัดส่วนน้อยมากเมื่อเทียบกับกิจกรรมทาง ธุรกิจทั้งหมดของธนาคาร ผลิตภัณฑ์หรือบริการเหล่านี้อาจเป็นปฏิกิริยา ต่อเสียงสะท้อนจากสาธารณะ ไม่ใช่ผลลัพธ์ของการนาหลักความ รับผิดชอบต่อสังคมมาใช้ทั่วทั้งธนาคาร 16


ห้าระดับของ “ธนาคารที่ยั่งยืน” (Kaeufer, ongoing) (ต่อ) 3. Level 3: Systemic business practices – หลักการและธรรมเนียม ปฏิบัติเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นรากฐานของผลิตภัณฑ์และ กระบวนการต่างๆ ของธนาคาร ผลกระทบเชิงบวกต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เป็นมิติหลักของกิจกรรมทางธุรกิจทุกชนิด 4. Level 4: Strategic ecosystem innovation – จับมือเป็นแนวร่วมกับ ธนาคารอื่นและสื่อสารกับสาธารณะ สนับสนุนนักลงทุนที่รับผิดชอบและการ แก้ไขกฎเกณฑ์กากับดูแลภาคธนาคารให้มุ่งสู่ความยั่งยืน 5. Level 5: Intentional (purpose-driven) eco-system innovation – เป้าหมายไม่ใช่ “หลีกเลี่ยงสถานการณ์เชิงลบ” อีกต่อไป แต่เน้นการสร้าง นวัตกรรมเพื่อสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 17


Source: Scharmer (2009)

18


แนวร่วม รางวัล และเครือข่ายที่เกี่ยวกับการธนาคารที่ยั่งยืน

 The Global Alliance for Banking on Values (GABV): สมาชิก 25 แห่ง 19


แนวร่วม รางวัล และเครือข่ายที่เกี่ยวกับการธนาคารที่ยั่งยืน  UNEP Statement of Commitment by Financial Institutions (UNEP FI): สถาบันการเงินลงนาม 200+ แห่งทั่วโลก, ไทยมี ธนาคารทิสโก้ และ บ.กรุงเทพ ประกันภัย

20


แนวร่วม รางวัล และเครือข่ายที่เกี่ยวกับการธนาคารที่ยั่งยืน  FT/IFC Sustainable Bank of the Year: มอบรางวัลทุกปีตั้งแต่ปี 2006 ตัดสินจาก ผลงาน 7 ด้าน ได้แก่sustainability strategy, financial indicators, sustainability indicators, communications strategy, sustainability reporting, opportunities, risk management.

21


หลักเกณฑ์บางส่วนของรางวัล FT/IFC Sustainable Bank of the Year L3 Operationalizing L2 Reputational Risk Sustainability Management Assess and effectively Reputational risk manage ESG risks in management. Screen out transactions. Selective high-risk transactions. transactions into ESG beneficial sectors.

L1 Financial Risk Management Minimum focus on sustainability as a nonbusiness related issue.

Financial Indicators: Financial What is the FI’s outperformance overall financial performance?

Strong financial performance

Inconsistent financial performance

Financial underperformance

Sustainability Indicators: How does the FI assess sustainability performance?

Consistent indicators around risk/policy compliance

Indicators around risk/policy No systematic sustainability compliance indicators

Strategic Approach Sustainability Strategy: What is the current top management approach to sustainability?

L4 Mainstreamed Sustainability mainstreamed as a core driver of long term performance.

Sustainability measured systematically as a core driver of transaction performance

22


งานวิจัย Sustainable Banks (สมาชิก GABV) vs. Global Systemetically Important Banks (2013)

23


งานวิจัย Sustainable Banks (สมาชิก GABV) vs. Global Systemetically Important Banks (2013) (ต่อ)

24


แนวโน้มโลกที่ทาให้วิถีธนาคารที่ยั่งยืนมี “ประโยชน์ทางธุรกิจ” สูงขึ้น

1. วิถี “ธุรกิจที่ไม่ยั่งยืน” มีความชัดเจนมากขึ้น ต้นทุนที่เคยตกอยู่กับ สังคม สิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่ธุรกิจ (ลูกค้าธนาคาร) ต้องแบกรับมากขึ้น 25


แนวโน้มโลกที่ทาให้วิถีธนาคารที่ยั่งยืนมี “ประโยชน์ทางธุรกิจ” สูงขึ้น

2. ข้อตกลงระหว่างประเทศ กฎหมาย และแรงจูงใจจากภาครัฐ อาทิ ภาษี คาร์บอน สิทธิประโยชน์ทางภาษี ฯลฯ กาลังเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจให้กับ “ธุรกิจที่ยั่งยืน” อาทิ พลังงานหมุนเวียน ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เกษตรอินทรีย์ ฯลฯ เพิ่มแรงจูงใจทางธุรกิจให้กับธนาคาร 26


แนวโน้มโลกที่ทาให้วิถีธนาคารที่ยั่งยืนมี “ประโยชน์ทางธุรกิจ” สูงขึ้น 3. องค์กรพัฒนาเอกชน (เอ็นจีโอ) หันมา ให้ความสนใจธนาคารมากขึ้นในฐานะผู้ มีบทบาทสาคัญในการสร้างหรือลด ผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อม เริ่มเรียกร้องให้เปลี่ยนนโยบายและ ธรรมเนียมปฏิบัติ 4. ธนาคารจานวนมากขึ้นเรื่อยๆ กาลัง พิสูจน์ว่า “ความยั่งยืนสร้างกาไร”

27



XacBank (มองโกเลีย) : ตัวอย่างบริการที่ยั่งยืน • ก่อตั้งหลังวิกฤตต้มยากุ้ง ปี 1997 ปัจจุบันเป็น ธนาคารใหญ่อันดับสามในมองโกเลีย • บัญชีออมทรัพย์ระยะยาว ควบการอบรมทักษะการ จัดการเงินสาหรับเด็ก - “Future Millionaire” ปัจจุบันมียอดเงินฝากกว่า 80,000 บัญชี เงินออม รวมกันกว่า 24 ล้านเหรียญสหรัฐ (ลูกค้าของ ธนาคารกว่า 1 ใน 3 เป็นเยาวชนอายุ 18-35 ปี) ถ้า จัดการเงินไม่เป็นก็จะส่งผลให้ใช้หนี้ไม่ได้ด้วย ด้วย เหตุนี้ ตั้งแต่ปี 2008 เป็นต้นมา ธนาคารจึงจัดอบรม ทักษะการจัดการเงิน (financial literacy) ให้กับ เด็กวัย 14-18 ปี ในโรงเรียนมัธยมกว่า 130 แห่งทั่ว ประเทศ

29


XacBank (มองโกเลีย) : ตัวอย่างบริการที่ยั่งยืน • สินเชื่อกลุ่มเพื่อการพัฒนาสตรี – แซค แบงก์ลงนามในปฏิญญาของเครือข่ายการ ธนาคารสาหรับสตรีโลก (Women’s World Banking) เครือข่ายไมโครเครดิต ชั้นนา ให้สินเชื่อกลุ่มกับสตรียากจนใน ชนบทตั้งแต่ปี 2007 (ปัจจุบันลูกค้าเกือบ ร้อยละ 60 ของธนาคารเป็นผู้หญิง)

30


XacBank (มองโกเลีย) : ตัวอย่างบริการที่ยั่งยืน (ต่อ) • ธนาคารผ่านมือถือ – ริเริ่มในปี 2009 เรียกว่าระบบ AMAR (“ง่าย” ในภาษา มองโกเลีย) เพื่อให้บริการธนาคารแก่ลูกค้าคนจน บริการด้านการตลาดและความ ช่วยเหลือทางเทคนิคสาหรับลูกค้าเกษตรกรในชนบท ร่วมกับบริษัทโทรคมนาคมราย ใหญ่ในประเทศ ณ ปี 2013 สามารถเข้าถึงประชากรกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ • ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม – ในปี 2009 ก่อตั้งฝ่าย Eco-Product เป็น ธนาคารแห่งแรกในมองโกเลียที่ปล่อยสินเชื่อเพื่อการประหยัดพลังงาน ทางานอย่าง ใกล้ชิดกับพันธมิตรสถาบันการเงินอื่น อาทิ MicroEnergy Credits (MEC) นา คาร์บอนที่ลดได้จากการประหยัดพลังงานไปขายคาร์บอนเครดิตมาขยายโครงการต่อ • แรงจูงใจให้ลูกค้ายั่งยืน – ลูกค้าที่เป็นลูกค้าเกิน 180 วัน และเปิดเผยข้อมูลด้าน ความยั่งยืนตามเกณฑ์ของ Global Reporting Initiative ได้เกินร้อยละ 50 ของ ตัวชี้วัดทั้งหมด จะได้รับส่วนลดดอกเบี้ยเงินกู้จากธนาคาร 31


32


Deutsche Bank 33


Triodos Bank (ยุโรป) : สินเชื่อเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

34


Root Capital (US) : สินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการรากหญ้า

35



โครงสร้างปกติของการปล่อยสินเชื่อโครงการ (Project Finance) (project sponsors)

37


ชุดหลัก Equator Principles คืออะไร? • กรอบการบริหารความเสี่ยง (risk management framework) สาหรับสินเชื่อ โครงการขนาดใหญ่ (project finance) บุกเบิกโดย IFC ร่วมกับธนาคารพาณิชย์ ขนาดใหญ่ในปี 2002 • ณ สิ้นปี 2014 มีสถาบันการเงินเข้าร่วมเป็นสมาชิก 75 แห่งทั่วโลก ปล่อยสินเชื่อ รวมกันกว่า 3 ใน 4 ของสินเชื่อโครงการใหญ่ทั่วโลก • หลักการชุดปัจจุบัน (EPIII) ใช้สาหรับโครงการขนาด $10 ล้านขึ้นไป ครอบคลุมทุก อุตสาหรรม โดยใช้หลักเกณฑ์เชิงสังคมในการกลั่นกรองโครงการ (social screening criteria) ของ IFC, ระบุเงื่อนไขด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมในสัญญาเงินกู้ (เช่น ผู้ขอกู้ จะต้องทาตาม Action Plan ที่บริหารจัดการความเสี่ยงด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม) และมีกลไกรับเรื่องร้องเรียนและเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ 38


จานวนสถาบันการเงินที่ลงนาม (EPFIs) รายประเทศ ปี 2013

39


การจัดประเภทสินเชื่อโครงการตามหลัก Equator Category

Risk Level

Definition

A

High

Projects with potential significant adverse social or environmental impacts, which are diverse, irreversible or unprecedented.

B

Medium

Projects with potential limited adverse social and environmental impacts, which are few in number, generally site specific, largely reversible and readily addressed through mitigation measures.

C

Low/None

Projects with minimal or no social or environmental impacts.

40


เงื่อนไขตามหลัก Equator สาหรับโครงการประเภท A และ B Requirement

Category A Category B

Environmental and Social Impact Assessment

All Category A

All Category B

Action Plan and Management System

All Category A

Category B*

Public Consultation

All Category A

Category B*#

Grievance Procedures

All Category A

Category B*#

Independent Expert Review

All Category A

Category B#

Independent Monitoring

All Category A

Category B#

Annual Reporting Obligations

All Category A

All Category B

Loan Covenants: — Materially comply with applicable social and environmental laws, regulations, and permits — Materially comply with the Action Plan and Monitoring/Management Systems — Compliance and enforcement mechanisms — Decommissioning Plan — Compliance with Decommissioning Plan

All Category A

Category B*#

Key: * Non-OECD countries and non High-Income OECD countries. # Considered appropriate to subject the Category B project to the requirement. 41


จาก EPI สู่ EPIII

42


ปัญหาด้านกลไกกากับ (governance) ของชุดหลัก Equator • ยังเน้นแค่วิธีการประเมินและบรรเทาความเสียหาย (reactive approach) ไม่ใช่ proactive approach แบบบูรณาการที่สนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืน • ยังไม่มีกลไกกาหนดความรับผิด (accountability) ต่อผู้ได้รับผลกระทบ • ยังขาดการตระหนักว่าใครเป็นผู้เชี่ยวชาญที่รู้จริงและเป็นกลางจริงๆ ในแต่ละสาขา ไม่ใช่ “ลูกขุนพลอยพยัก” ของ sponsors เท่านั้น • การหารือกับผู้ได้รับผลกระทบตามหลักสากล “FPIC” (Free, Prior & Informed Consent) ยังขาดการติดตามผลอย่างแท้จริง • ธนาคารที่ลงนามบางแห่งยังอ้าง “ความลับของลูกค้า” เป็นเหตุผลที่ไม่เปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับการประเมินผลกระทบทางสังคม/สิ่งแวดล้อม ตามเกณฑ์ Equator • ธนาคารยังขาดความรู้ความเชี่ยวชาญในการประเมินผลกระทบทางสังคม/สิ่งแวดล้อม 43


อุปสรรคสาคัญๆ ของชุดหลัก Equator ในปัจจุบัน • ยังขาดการนาปทัสถานกฎหมายระหว่างประเทศ (international law norms) มา ประยุกต์ใช้ • ความไม่เพียงพอของกฎหมายในประเทศที่ตั้งของโครงการ • การข่มขู่ คัดค้าน หรือบอยคอตที่ปรึกษา องค์กรกากับดูแล และหน่วยงานของรัฐ โดย sponsors หรือธนาคาร (หรือในทางกลับกัน) • มุมมองของธนาคารบางแห่งว่าจะสูญเสียลูกค้าและ/หรือธุรกิจให้กับคู่แข่ง ถ้าหากนา ชุดหลัก Equator มาใช้ • การหลีกเลี่ยงไม่ใช้ชุดหลัก Equator โดยหันไปใช้การระดมทุนแบบอื่นแทนการกู้เงิน จากธนาคารที่ลงนามรับหลัก Equator

44


คาถามใหญ่ : จะบังคับใช้ชุดหลัก Equator ได้อย่างไร? ธนาคารที่ลงนามพึ่งพา ผู้เชี่ยวชาญของ project sponsors มากเกินไปหรือไม่?

No State Enforcement

Self-Appointed Regulatory Standards

ใครดูแล ผู้ดูแล?

‘Soft Law’

45


แม้ยังมีอุปสรรค ธนาคารที่ลงนามก็ยืนยันว่า EP มีประโยชน์ • ช่วยระบุ “ความเสี่ยง” และ “ประเด็นร้อน” ตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบโครงการ • ช่วยเกลี่ยผลประโยชน์จากโครงการอย่างเป็นธรรมมากขึ้น • ช่วยให้ธนาคารได้พูด “ภาษา” เดียวกันเกี่ยวกับประเด็นด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม จากที่ก่อนหน้านี้ไม่มีมาตรฐานกลางใดๆ แต่ละธนาคารใช้วิจารณญาณของตัวเอง • ช่วยลด “ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง” เพราะหลักอีเควเตอร์เป็นมาตรฐานระดับสูง การ นาไปใช้โดยเฉพาะในประเทศที่กฎหมายประชาพิจารณ์และธรรมาภิบาลยังไม่ได้ มาตรฐานสากล ทาให้ธนาคาร “ดูด”ี ยิ่งขึ้นในสายตาประชาคมโลก • ธนาคารบางแห่งนาวิธีแบบ Equator ไปใช้กับการประเมินสินเชื่อประเภทอื่น อาทิ HSBC, ABN Amro, Bank of America, JPMorgan Chase, Citigroup, WestLB

46


ตัวอย่าง: ความเสี่ยงทางการเงินของโครงการเขื่อนไซยะบุรี • • • • •

ไม่มีสถาบันการเงินรายใดในไทยลงนามรับหลัก Equator ไทยยังมีแต่ “บริษัทรับเหมาก่อสร้าง” ไม่มี “บริษัทผู้เชี่ยวชาญไฟฟ้าพลังน้า” ต้นทุนเพิ่มจากประมาณการเดิมแล้วกว่า 100 ล้านเหรียญสหรัฐ มาตรการตักตะกอนสุ่มเสี่ยงที่จะลดรายได้และเพิ่มค่าใช้จา่ ย ไม่เคยได้รับความเห็นชอบจากกัมพูชาและเวียดนาม ประเทศท้ายน้าที่จะได้รับ ผลกระทบสูงสุด กระบวนการปรึกษาหารือล่วงหน้าตามข้อตกลงไม่เคยแล้วเสร็จ • ความเสี่ยงที่จะไม่ได้รับเงินกู้คืน จากความเสี่ยงทางกฎหมาย – ประเทศสมาชิกคณะกรรมาธิการแม่น้าโขงมีสิทธิหยุดการก่อสร้างได้ ตามข้อตกลงว่าด้วยความ ร่วมมือว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนของลุ่มน้าโขง เมื่อใดก็ตามที่มีหลักฐานว่าเกิด “ความเสียหาย ในสาระสาคัญ” (substantial damage) – คดีขอให้ศาลปกครองยกเลิกโครงการซื้อไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. และลาว 47



ฉากทัศน์ (scenario) ที่เป็นไปได้ และนัยต่อเจ้าหนี้ 1. ศาลปกครองสั่งคุ้มครอง ยกเลิกหรือชะลอสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับ ลาว - อาจเป็นเหตุให้ต้องระงับสินเชื่อโดยปริยาย 2. รัฐบาลไทย (ปัจจุบันคือ คสช.) สั่งระงับสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ด้วยเหตุผลตามคาร้อง ต่อศาลปกครอง (ไม่ชอบด้วยกฎหมาย อาทิ ไม่ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญมาตรา 57 และมาตรา 58 ว่าด้วยเรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารและกระบวนการรับฟังความ คิดเห็นของประชาชน มาตรา 66 เรื่องสิทธิชุมชน ฯลฯ) – เหมือนข้อ 1. 3. มีหลักฐานให้เชื่อได้ว่า ลูกหนี้คือบริษัทผู้ดาเนินโครงการแจ้งเท็จ (misrepresentation) อาทิ แจ้งเจ้าหนี้ว่าผ่านกระบวนการทั้งหมดตามข้อตกลงลุ่ม น้าโขงแล้ว – เจ้าหนี้มีสิทธิระงับสินเชื่อ / คณะกรรมการธนาคารควรทบทวน 4. ธนาคารเจ้าหนี้รายใดรายหนึ่งถอนตัวไป – เป็นไปได้ยาก เนื่องจาก “ลงเรือลา เดียวกัน” กับลูกหนี้ในฐานะลูกค้ามาแล้ว ประสงค์จะรักษาความสัมพันธ์ 49



World Bank Good Practices : ระบบคุ้มครองผู้บริโภคการเงิน • อานาจการกากับดูแลไม่ควรกระจายอยู่ในหลายหน่วยงาน • การเปิดเผยข้อมูลที่รับผิดชอบ: ข้อมูลทั้งหมดต้องเปิดเผยในภาษาที่ เข้าใจง่าย เพียงพอ ให้ผู้บริโภคสามารถเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ • ใช้วิธีขายที่เป็นธรรมและเหมาะสม: ไม่ยัดเยียด ให้เวลาเปลี่ยนใจ (cooling-off period) ขายผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับผู้บริโภคแต่ละคน ไม่ใช้วิธีขู่กรรโชกหรือวิธีอื่นๆ ที่ละเมิดสิทธิลูกหนี้ในการติดตามหนี้ • คุ้มครองความเป็นส่วนตัวของผู้บริโภค • มีกลไกเยียวยาและรับเรื่องร้องเรียน • ควรส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินและความตระหนักรู้เรื่องการเงิน 51


ตัวอย่างการบูรณาการความรู้เรื่องทางการเงินเข้าไปในผลิตภัณฑ์ทาง การเงิน: Wells Fargo “Debt Pay Down Solution”

52


สถานการณ์หนี้ครัวเรือนในไทย

53


เรื่องร้องเรียนมายังศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ปี 2013 1385

Loans

Staffs' behaviors

2536 499 224 407 607

Deposits and B/E

Cross sell

etc.

211 151 98 103

2556 2555

ที่มา: ศคง. ธปท. 2013 54


เปรียบเทียบการเปิดเผยข้อมูลในใบสมัครบัตรเครดิต ธนาคาร

กรุงไทย

บัตรเครดิต

KTC Credit Card ไม่มี มี มี มี 4 ไม่มี

แสดงวิธีคานวณอัตราดอกเบี้ย แจงค่าธรรมเนียมชัดเจน แจงค่าปรับชัดเจน แสดงกาหนดการชาระรายงวด ขนาดตัวอักษร (1=ใหญ่ที่สุด) กาหนดระยะเวลาที่ผู้บริโภค สามารถเปลี่ยนใจได้โดยไม่มี ค่าปรับ (cooling-off period) ใช้ภาษาเข้าใจง่าย (1=ดีที่สดุ ) คุ้มครองข้อมูลเป็นความลับ

3 มี

ไทย กสิกรไทย ทหารไทย พาณิชย์ SCB Credit K-Credit TMB Credit Card Card Card ไม่มี ไม่มี ไม่มี มี มี มี มี มี ไม่มี มี มี ไม่มี 4 3 2 ไม่มี ไม่มี ไม่มี

4 ไม่มี

2 ไม่มี

2 ไม่มี

กรุงศรี อยุธยา Krungsri First Choice ไม่มี มี มี มี 1 ไม่มี

3 มี

กรุงเทพ ซีไอเอ็มบี ธนชาติ ไทย BBL CIMB THAI Thanach Credit Credit art Credit Card Card Card ไม่มี ไม่มี ไม่มี มี มี ไม่มี ไม่มี มี ไม่มี มี มี มี 5 5 1 ไม่มี ไม่มี ไม่มี

3 ไม่มี

3 ไม่มี

3 มี

ที่มา: รวบรวมโดยคณะวิจัย, 2015 55


ข้อค้นพบบางประการจากผลการสารวจ FinScope (2013)

• ครัวเรือนร้อยละ 44 มีหนี้ ในจานวนนี้ร้อยละ 38 เชื่อว่า “มีหนี้มากเกินไป” • เงินกู้ร้อยละ 12 ของหนี้ทั้งหมดถูกกู้ยืมเพื่อ “หมุนหนี”้ (ชาระหนีอ้ ื่น) ครัวเรือนยากจนมีภาระหนี้มากที่สุด ผู้มีรายได้ต่ากว่า 3,000 บาทต่อเดือนมี ภาระหนี้เกือบ 3 เท่าของรายได้ทั้งปี และในจานวนนี้เกือบทั้งหมดเป็นหนี้ เพื่อการอุปโภคบริโภค 56


ข้อค้นพบบางประการจากผลการสารวจ FinScope (2013)

• เกษตรกรเป็นกลุ่มที่มีหนี้สูงสุดในไทย (ร้อยละ 62 ของเกษตรกรทั้งหมด รายงานว่าเป็นหนี้) ตามมาด้วยข้าราชการ (ร้อยละ 59) • ครัวเรือนไทยร้อยละ 45 หรือ 9.09 ล้านครัวเรือน ระบุว่าไม่สามารถออม เงินได้อย่างเป็นกิจลักษณะ ปัจเจกร้อยละ 64 ระบุว่าสามารถออมได้น้อย กว่า 2,000 บาทต่อเดือน 57


นัยจากพฤติกรรมทางการเงินของคนไทย • ค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ที่เป็น “ปัญหา” คือประเภทที่เกิดกะทันหัน และอาศัย ทุนทางสังคมไม่ได้ + คนไทยโดยรวมยังไม่ออมเงินระยะยาว  ต้องบูรณา การการให้ความรู้ทางการเงินในการออกแบบผลิตภัณฑ์เงินออมระยะยาว • หนี้ที่สร้าง “ปัญหา” จริงๆ คือหนี้ที่กาหนดยอดชาระสูง และเงินต้นไม่ลดลง ระหว่างทาง + คนจานวนมาก “กลัว” การเป็นหนี้  ต้องปรับปรุง มาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลสินเชื่อ และให้ความรู้เรื่องวิธีจัดการหนี้ • คนไทยโดยรวมรู้สึก “เครียด” กับการทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย  ลาพังการ แจกแบบฟอร์มบัญชี สอนทาบัญชี และสร้างเครื่องมือให้ความรู้ทางการเงิน ไม่เพียงพอ ต้อง ‘ฝัง’ การให้คาแนะนาอย่างสร้างสรรค์ และให้กาลังใจด้วย เพื่อสร้างแรงจูงใจให้คนใช้เครื่องมือจริงๆ 58



ระดับการเข้าถึงบริการทางการเงินในไทย เทียบกับทั่วโลก

ที่มา: ศคง. ธปท. 2013

60


การเข้าถึงบริการในระบบ เปรียบเทียบ 2013 กับ 2010

ที่มา: ธปท. 2013

61


โลกของ “ลูกค้าธนาคาร” ค่อนข้างเป็นเอกเทศจากโลกอื่น

62


ที่มา: FinScope 2013

63



รูปธรรมของธนาคารที่ยั่งยืนในไทย?

• การธนาคารที่ยั่งยืนในภาคปฏิบัติวันนี้จะต้องพิสูจน์ผ่าน การดาเนินธุรกิจในสองด้านหลักด้วยกัน 1) การปล่อยสินเชื่ออย่างรับผิดชอบ ทั้งสินเชื่อสาหรับลูกค้า ธุรกิจ และสินเชื่อสาหรับลูกค้ารายย่อย และ 2) การเสริมสร้างการเข้าถึงบริการทางการเงินของประชากรที่ ยังเข้าไม่ถึง

65


รูปธรรมของธนาคารที่ยั่งยืนในไทย? • คณะวิจัยพบว่า วงการธนาคารพาณิชย์ไทยโดยรวมยัง ค่อนข้างล้าหลังทั้งสองด้าน แต่ธนาคารพาณิชย์ที่นา วิถีปฏิบัติของธนาคารที่ยั่งยืนไปประยุกต์ใช้น่าจะมี โอกาสทางธุรกิจหลายประการ โดยเฉพาะเมื่อคานึงถึง ความสนใจของธนาคารหลายแห่งทีจ่ ะก้าวขึ้นเป็นผู้นา ในระดับภูมิภาค ภายหลังการเปิดตัวของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ประกอบกับสภาพแวดล้อมที่ เอื้ออานวยต่อการบุกตลาดผู้มีรายได้น้อย โดยเฉพาะ การเติบโตอย่างก้าวกระโดดของการใช้สมาร์ทโฟน และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 66


เหตุผลทางธุรกิจของการปล่อยสินเชื่อลูกค้าธุรกิจอย่างรับผิดชอบ ปรับปรุงการบริหารจัดการความเสี่ยง เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด / ขยายฐาน ลูกค้าเดิม มี – การบูรณาการเกณฑ์ด้าน N/A ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเข้า ไปในกระบวนการกลั่นกรองสินเชื่อ อาทิ ด้วยการรับชุดหลักการอีเควเตอร์ สามารถช่วยลด 1. ความเสี่ยงจากการถูกฟ้องร้องหรือ ดาเนินคดี 2. ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง และ 3. ความเสี่ยงทางการเงิน ที่เกิดจากความเสี่ยงด้านสังคมและ สิ่งแวดล้อมของโครงการที่มีแนวโน้มจะ ก่อผลกระทบเชิงลบสูง และไม่ถูกจากัด หรือรับมืออย่างเพียงพอในขอบเขตของ กฎหมายและกฎระเบียบภาครัฐ

เข้าสู่ตลาดใหม่ / ได้ฐานลูกค้าใหม่ มี – ด้วยการเน้นผลิตภัณฑ์และบริการ ทางการเงินสาหรับกิจการใหม่ๆ ที่สร้าง ประโยชน์สุทธิด้านสังคมและ สิ่งแวดล้อม อาทิ • พลังงานหมุนเวียน • เกษตรอินทรีย์ • การพัฒนาชุมชน

67


เหตุผลทางธุรกิจของการปล่อยสินเชื่อลูกค้ารายย่อยอย่างรับผิดชอบ ปรับปรุงการบริหารจัดการความเสี่ยง เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด / ขยายฐาน เข้าสู่ตลาดใหม่ / ได้ฐานลูกค้าใหม่ ลูกค้าเดิม เป็นไปได้ – ถ้าหากธนาคารผนวกกลไก มี – ผ่านการผนวกผสานโครงการให้ N/A คุ้มครองผู้บริโภคทางการเงินเข้ากับ การศึกษาหรือความรู้เรื่องทางการเงิน โครงการให้การศึกษาทางการเงินเพื่อ (financial literacy) เข้าไปในการนาส่ง ลดความเสี่ยง อาทิ ความเสี่ยงที่จะผิด ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ณ จุดขาย นัดชาระหนี้ของลูกหนี้ที่มีหนี้สินเกินตัว ในทางที่ทาให้ความรู้ดังกล่าวเป็น “จุด หัวข้อที่น่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริโภค ขาย” ที่ดึงดูดผู้บริโภค ยกตัวอย่างเช่น ทางการเงินไทยเป็นพิเศษ ได้แก่ การรี ด้วยการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและ ไฟแนนซ์หนี้ส่วนบุคคล และการเพิ่ม ลดอัตราดอกเบี้ยสินเชื่อสาหรับลูกค้าที่ ความโปร่งใสของการเปิดเผย ฝากเงินอย่างสม่าเสมอ ค่าธรรมเนียมสินเชื่อ

68


เหตุผลทางธุรกิจของการขยายการเข้าถึงบริการทางการเงินในระบบ ปรับปรุงการบริหารจัดการความเสี่ยง เพิ่มส่วนแบ่งการตลาด / ขยายฐาน ลูกค้าเดิม N/A N/A

เข้าสู่ตลาดใหม่ / ได้ฐานลูกค้าใหม่ มี – ผลิตภัณฑ์ไมโครไฟแนนซ์ โดยเฉพาะสินเชื่อและเงินโอน ยังเป็นที่ ต้องการอย่างสูงสาหรับผู้มีรายได้น้อย ในประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ สามารถก้าวข้ามข้อจากัดของโมเดล ธุรกิจแบบดั้งเดิมของธนาคารกระแส หลักด้วยการใช้ช่องทางการขายใหม่ๆ อาทิ 1. การธนาคารผ่านมือถือ (mobile banking) ที่มีจุดแปลง e-money เป็ นเงินสดได้ 2. การร่วมมือกับกลุ่มการเงินฐาน รากในชุมชน อาทิ สหกรณ์ออม ทรัพย์ สถาบันการเงินชุมชน กลุ่ม ออมทรัพย์ ฯลฯ 69


ตลาดสินเชื่อที่น่าสนใจ

70



72



เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่งประเทศไทย คืออะไร?

• การรวมตัวกันของนักการเงิน นักการธนาคาร และบุคลากรในภาค การเงิน รวมถึงนักวิชาการด้านการเงินการธนาคาร ผู้มีความสนใจ ร่วมกันที่จะขับเคลื่อนภาคธนาคารกระแสหลักในไทย ให้เปลี่ยนผ่าน ไปสู่ “การธนาคารที่ยั่งยืน” (sustainable banking) ได้อย่างเป็น รูปธรรม 74


วัตถุประสงค์ของเครือข่ายฯ • เป็นแหล่งเรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการธนาคารที่ยั่งยืนของ สมาชิก และระหว่างสมาชิกกับบุคคลภายนอก ผ่านการจัดประชุม ประชุมเชิงปฏิบัติการ และ/หรืองานสัมมนารายไตรมาส • เป็นเวทีกลางในการค้นคว้าวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการธนาคารที่ ยั่งยืน • เป็นสถาบันกลางในการติดต่อประสานงานกับองค์กรระหว่างประเทศที่ ทางานเกี่ยวข้องกับการธนาคารที่ยั่งยืน อาทิ BSR, Global Alliance of Banking on Values (GABV), Equator Principles, International Finance Corporation 75


คุณสมบัติของผู้ประสงค์เป็นสมาชิก • ประกอบอาชีพเกี่ยวข้องกับภาคการเงินการธนาคารในประเทศไทย อาทิ นายธนาคาร นักวิเคราะห์ เจ้าหน้าที่องค์กรกากับดูแล กรรมการกลุ่ม องค์กรการเงินชุมชน หรือนักวิชาการด้านการเงิน • มีความสนใจในแนวคิด วิถีปฏิบัติ และเหตุผลทางธุรกิจของ “การธนาคาร ที่ยั่งยืน” • สามารถสละเวลามาร่วมกิจกรรมของเครือข่ายฯ ได้ไม่น้อยกว่าปีละ 2 ครั้ง

76


ดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ และ/หรือสมัคร เป็นสมาชิก “เครือข่ายการธนาคารที่ยั่งยืนแห่ง ประเทศไทย” ได้ที่ www.salforest.com info@salforest.com 02 258 7383


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.