รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัย "การวิเคราะห์การจัดการห่วงโซ่อุปทานของข้าวโพดอาหารสัตว์ จ.น่าน"

Page 1

บริษัท ป่ าสาละ จากัด

โครงการวิจัย “การวิเคราะห์ การจัดการห่ วงโซ่ อุปทานของข้ าวโพดอาหารสัตว์ เพื่อส่ งเสริมการจัดการลุ่มนา้ อย่ างยั่งยืนในจังหวัดน่ าน” (Maize Supply Chain Management Analysis to Support Sustainable Watershed Management in Nan Province) โดยความร่วมมือระหว่างสานักงานโครงการพัฒนา แห่งสหประชาชาติ (UNDP) และสานักงานโครงการสิ่งแวดล้ อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP)

หัวหน้ าโครงการวิจยั : สฤณี อาชวานันทกุล นักวิจยั : ภัทราพร แย้ มละออ, กรณิศ ตันอังสนากุล, ภรตา เสนพันธุ์ และ ศศิวิมล คล่องอักขระ และ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (GISTDA) รายงานฉบับสมบูรณ์ (ฉบับพร้ อมตีพิมพ์) 15 ธันวาคม 2556


สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิ สารบัญรูปภาพ บทสรุปผู้บริหาร 1. ความสาคัญและที่มาของการศึกษาวิจยั 1.1 วัตถุประสงค์และขอบเขตของโครงการวิจยั 1.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.1.2 ขอบเขตการวิจยั 1.2 กรอบคิดในการวิจยั (Conceptual framework) 1.2.1 ระบบห่วงโซ่อปุ ทาน และกิจกรรมการผลิต 1.2.2 สภาพแวดล้ อมและบริการระบบนิเวศ 1.2.3 การบูรณาการ MA และแผนที่หว่ งโซ่อปุ ทาน 1.3 รูปแบบและเครื่ องมือในการวิจยั 1.3.1 รูปแบบการวิจยั 1.3.2 การสัมภาษณ์กลุม่ (Focus Group Interview) 1.3.3 ข้ อมูลสาคัญที่ใช้ ในงานวิจยั 2. ภาพรวมอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ 2.1 สถานการณ์และราคาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ 2.1.1 สถานการณ์อตุ สาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์โลก 2.1.2 สถานการณ์อตุ สาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ประเทศไทย 2.1.3 สถานการณ์อตุ สาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในจังหวัดน่าน 2.1.4 ราคาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในประเทศไทย 2.2 ปั จจัยที่สง่ ผลต่ออุปสงค์ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์

iv vii viii 1 6 7 7 7 7 7 9 10 11 11 12 14 17 17 17 18 21 22 24

2.2.1 อุปสงค์ของอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์ภายในประเทศ

24

2.2.2 ปริมาณผลผลิตและความต้ องการใช้ ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์ของประเทศ สหรัฐอเมริกา 2.2.3 การส่งออก 2.2.4 ราคาของวัตถุดิบทดแทน

25

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

26 26 i


2.3 ปั จจัยที่สง่ ผลต่ออุปทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ 2.3.1 สภาพอากาศและภัยธรรมชาติ 2.3.2 การชลประทาน 2.3.3 ราคาพืชแข่งขัน 2.3.4 นโยบายรัฐ 2.4 สรุปข้ อค้ นพบที่สาคัญและนัยของข้ อค้ นพบ 3. ผลกระทบของอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในจังหวัดน่าน 3.1 ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม 3.1.1 ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมจากกิจกรรมการปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ 3.2 ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมและระบบนิเวศ 3.2.1 การวิเคราะห์หาการเปลี่ยนแปลงของพื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ปลูกข้ าวโพด ของลุม่ น ้าสาขา ยาว-อวน-มวบ โดยสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิ สารสนเทศ 3.3 ผลกระทบต่อสุขภาพ 3.3.1 ผลจากการใช้ สารกาจัดวัชพืช 3.3.2 ผลการตรวจสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส (Cholonesterase enzyme) 3.4 สรุปข้ อค้ นพบที่สาคัญและนัยของข้ อค้ นพบ 4. รูปแบบและแผนผังห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จงั หวัดน่าน 4.1 รูปแบบห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ 4.1.1 ห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในจังหวัดน่าน 4.1.2 ห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในระดับประเทศและภูมิภาค 4.2 แผนที่หว่ งโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ระดับอาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอปั ว 4.2.1 ที่ของข้ อมูลและวิธีการคานวณ 4.3 สรุปข้ อค้ นพบที่สาคัญและนัยของข้ อค้ นพบ 5. วิเคราะห์แผนที่หว่ งโซ่อปุ ทาน 5.1 ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย 5.1.1 ผู้ปล่อยสินเชื่อ 5.1.2 ผู้จาหน่ายปั จจัยการผลิต 5.1.3 เกษตรกร 5.1.4 หัวสี/พ่อค้ าคนกลางระดับหมูบ่ ้ านและตาบล

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

26 26 27 27 28 32 34 34 34 40 47

56 56 60 62 66 66 66 70 72 75 81 83 83 83 84 87 89

ii


5.1.5 ไซโลระดับจังหวัดและภูมิภาค

90

5.1.6 โรงงานอาหารสัตว์

91

5.1.7 บริษัทผู้ผลิตปั จจัยการผลิต

92

5.2 กิจกรรมของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียในห่วงโซ่อปุ ทาน 5.2.1 ผู้ผลิตปั จจัยการผลิต: เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย และยาฆ่าหญ้ า 5.2.2 ผู้ปล่อยสินเชื่อ

95 95 103

5.2.3 ผู้จาหน่ายปั จจัยการผลิต

108

5.2.4 เกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์

110

5.2.5 พ่อค้ าหัวสี หรื อพ่อค้ าคนกลางระดับท้ องถิ่น

120

5.2.6 ไซโล หรื อพ่อค้ าผู้รวบรวมระดับจังหวัดและภูมิภาค

122

5.2.7 โรงงานอาหารสัตว์ และฟาร์ มเลี ้ยงสัตว์ที่ผลิตอาหารใช้ เอง

124

5.3 ผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมจากกิจกรรมของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียในห่วงโซ่อปุ ทาน

127

5.4 การวิเคราะห์อิทธิพลของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียต่อเกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ใน

129

ห่วงโซ่อปุ ทาน 6. วิธีปฏิบตั ทิ ี่เป็ นเลิศในการจัดการห่วงโซ่อปุ ทานอุตสาหกรรมเกษตร 6.1 วรรณกรรมปริ ทัศน์ว่าด้ วย “ห่วงโซ่อุปทานที่ยั่งยืน ” ในธุรกิจสินค้ าโภคภัณฑ์และ

133 133

อาหารเกษตร 6.1.1 ความหมายของห่วงโซ่อปุ ทานอาหารที่ยงั่ ยืน

134

6.1.2 ลักษณะของห่วงโซ่อปุ ทานในภาคเกษตร 6.1.3 กรณีศกึ ษา-ผลกระทบของการขยายพื ้นที่การเกษตรในเขตป่ าไม้

134 137

6.2 กรณีศกึ ษา

166

6.2.1 Starbucks และความร่วมมือด้ านการอนุรักษ์ในระดับนานาชาติ

166

6.2.2 กรณีศกึ ษา นโยบายการอนุรักษ์ป่าของ GAR

193

7. วิเคราะห์ชอ่ งว่างระหว่างวิธีปฏิบตั ทิ ี่เป็ นเลิศ กับกิจกรรมในห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์

201

จังหวัดน่าน บรรณานุกรม

207

ภาคผนวก

229 บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

iii


สารบัญตาราง ตาราง 1.1 ข้ อมูลพื ้นฐานของเกษตรกรผู้เพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในพื ้นที่ศกึ ษา ตาราง 1.2 รูปแบบการแบ่งกลุม่ ตัวอย่างสาหรับการสัมภาษณ์กลุม่ (Focus Group Interview) ตาราง 1.3 ข้ อมูลสาคัญที่ใช้ ในงานวิจยั ตาราง 2.1 ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ : เนื ้อที่ เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ของประเทศผู้ผลิต สาคัญ 10 อันดับแรก ปี 2552-2554 ตาราง 2.2 ตัวเลขทางเศรษฐกิจที่สาคัญของอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ไทย

13 14 15 18

ตาราง 2.3 สรุปผลการสารวจพื ้นที่เพาะปลูกและปริมาณข้ าวโพดปี 2554/2555 – 2555/2556

19

ตาราง 2.4 พื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์รายอาเภอ จังหวัดน่าน

22

ตาราง 2.5 ปริมาณการใช้ วตั ถุดบิ เพื่อผลิตอาหารสัตว์ไทย

24

ตาราง 2.6 ประมาณการประชากรสัตว์ ปริมาณอาหารสัตว์ และวัตถุดบิ

25

ตาราง 3.1 พื ้นที่จงั หวัดน่านจาแนกตามการใช้ ประโยชน์ที่ดนิ ปี 2550 และปี 2552

46

ตาราง 3.2 พื ้นที่ป่าไม้ จงั หวัดน่าน ระหว่างปี 2550 - 2552 ตาราง 3.3 การเปลี่ยนแปลงพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดของตาบลป่ าแลวหลวง พงษ์ ดูพ่ งษ์ และ อวน ในปี 2545, 2550 และ 2556 วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat ตาราง 3.4 การเปลี่ยนแปลงพื ้นที่ป่าเบญจพรรณของตาบลป่ าแลวหลวง พงษ์ ดูพ่ งษ์ และอวน ในปี 2545, 2550 และ 2556 วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat ตาราง 3.5 พื ้นที่ปลูกข้ าวโพดซึง่ เคยเป็ นพื ้นที่ป่าเบญจพรรณของตาบลป่ าแลวหลวง พงษ์ ดู่ พงษ์ และอวน ในปี 2545, 2550 และ 2556 วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat ตาราง 3.6 การเปลี่ยนแปลงพื ้นที่ป่าเบญจพรรณ (วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat) เปรี ยบเทียบกับพื ้นที่เขตอุทยานแห่งชาติ เขตป่ าสงวน และพื ้นที่ล่มุ น ้า ชัน้ 1A และชัน้ 2 ในพื ้นที่วิจยั 4 ตาบล ตาราง 3.7 ค่า LD50 และระดับความเป็ นพิษ ตาราง 3.8 ค่า LC50 และระดับความเป็ นพิษ ตาราง 3.9 ค่าความเป็ นพิษและอันตรายต่อสุขภาพของ ไกลโฟเสต (glyphosate) พาราควอท

46 50

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

19

50 51

51

57 57 58 iv


(paraquat) และอาทราซีน (atrazine) ตาราง 3.10 สรุปผลการคัดกรองสารเคมีของกลุม่ ตัวอย่างในอาเภอสันติสขุ โดยใช้ กระดาษ ทดสอบ (reactive paper) ตาราง 3.11 สรุปผลการคัดกรองสารเคมีของกลุม่ ตัวอย่างในตาบลอวน อาเภอปั ว โดยใช้ กระดาษทดสอบ(reactive paper) ตาราง 3.12 จานวนผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจและผู้ที่มีสารเคมีฆา่ แมลงตกค้ างในเลือด อยูใ่ นระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยระหว่างปี 2547-2554 ตาราง 5.1 จานวนเกษตรที่ก้ เู งินจากแหล่งทุนต่างๆ ตาราง 5.2 มูลค่าสินเชื่อที่ให้ แก่เกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างแยกตามแหล่งทุน

61

ตาราง 5.3 จานวนเกษตรกรที่ซื ้อสารกาจัดวัชพืชและปุ๋ยแยกตามแหล่งจาหน่าย

85

ตาราง 5.4 ปริมาณการซื ้อสารกาจัดวัชพืชแยกตามแหล่งจาหน่าย

85

ตาราง 5.5 ปริมาณการซื ้อปุ๋ยแยกตามแหล่งจาหน่าย

86

ตาราง 5.6 จานวนเกษตรกรในกลุ่มตัวอย่างที่เลือกซือ้ ปั จจัยการเกษตรชนิดต่างๆ แยกตาม

86

61 62 83 84

แหล่งจาหน่าย ตาราง 5.7 ข้ อมูลการเพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ของเกษตรกรจังหวัดน่าน ตาราง 5.8 ข้ อมูลการเพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ของเกษตรกรในพื ้นที่ตาบลพงษ์ ตาบลดูพ่ งษ์ ตาบลป่ าแลวหลวง และตาบลอวน ตาราง 5.9 ข้ อมูลการเพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ของเกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างในฤดูกาล 2555/2556 ตาราง 5.10 รายชื่อพ่อค้ าคนกลางที่รับซือ้ จากเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างในฤดูกาลเพาะปลูก

87 88 89 90

2555/56 ตาราง 5.11 สัดส่วนการรับซื ้อของไซโลระดับจังหวัด (จากการประมาณการ) ตาราง 5.12 รายชื่อพันธุ์ข้าวโพดที่ใช้ ปลูกในพื ้นที่จงั หวัดน่านปี 2554/2555 แยกตามผู้ผลิต

91 92

ตาราง 5.13 เมล็ดพันธุ์ที่เกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างเลือกใช้ ในฤดูกาลเพาะปลูก 2556/2557 ตาราง 5.14 ตราสินค้ าของสารกาจัดวัชพืชที่เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างเลือกใช้ ในฤดูกาล เพาะปลูก 2556/2557 ตาราง 5.15 ตราสิ น ค้ า ของปุ๋ยที่ เ กษตรกรกลุ่ม ตัว อย่า งเลื อ กใช้ ใ นฤดูก าลเพาะปลูก

93 94 95

2556/2557 บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

v


ตาราง 5.16 โครงสร้ างอัตราดอกเบี ้ยเงินกู้ ของ ธ.ก.ส. สาขาอาเภออวน จังหวัดน่าน ตาราง 5.17 ปฏิทินกิจกรรมการปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ของเกษตรกรบนพื ้นที่ลาดชัน (ข้ าวโพด

104 112

ดอย) ตาราง 5.18 สัดส่วนและปริมาณข้ าวโพดที่ใช้ ในการผลิตอาหารสัตว์แต่ละชนิด

126

ตาราง 5.19 ผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมจากกิจกรรมของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียต่างๆ

127

ตาราง 5.20 อิทธิ พลของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียหลัก ต่อจานวนครัวเรื อนเกษตรกรและปริ มาณ พื ้นที่เพาะปลูกที่เกี่ยวข้ อง ตาราง 6.1 ลักษณะของห่วงโซ่อปุ ทานอาหารแต่ละประเภท ตาราง 6.2 ความรับผิดชอบทัว่ ไปของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียในห่วงโซ่อปุ ทานอาหาร ตาราง 6.3 ประโยชน์และต้ นทุนของการบริ หารห่วงโซ่อุปทานแบบยัง่ ยืนที่มีส่วนได้ ส่วนเสีย หลายฝ่ าย ตาราง 6.4 หลักเกณฑ์การพิจารณาในการตรวจสอบมาตรฐาน C.A.F.E ตาราง 6.5 สถานภาพคูค่ ้ าที่ผา่ นมาตรฐาน C.A.F.E ตางราง 6.6 สรุ ป บทบาทของแต่ล ะฝ่ ายในการจัด การห่ว งโซ่อุป ทานอย่า งยั่ง ยื น ของ

130 136 164 165 181 184 192

Starbucks ตาราง 7.1 หลักเกณฑ์ด้านสิ่งแวดล้ อมของ Starbucks และ GAR สาหรับเกษตรกรรายย่อย

204

และผู้มีสว่ นได้ เสียที่สามารถกาหนดหลักเกณฑ์ดงั กล่าว ในกรณีข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ลุม่ น ้ายาว-อวน-มวบ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

vi


สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิ 1.1 ตัวอย่างการวาดแผนที่ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียในห่วงโซ่อปุ ทาน แผนภูมิ 1.2 ตัวอย่างการวาดแผนที่กิจกรรมหลักในห่วงโซ่อปุ ทาน แผนภูมิ 1.3 กรอบแนวคิดการประเมินระบบนิเวศแห่งสหัสวรรษ (Millennium Ecosystem Assessment- MA) แผนภูมิ 1.4 การบูรณาการกรอบแนวคิด MA และแผนที่หว่ งโซ่อปุ ทาน แผนภูมิ 2.1 ราคาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์

8 9 10

แผนภูมิ 2.2 ความเคลื่อนไหวด้ านราคาของพืชแข่งขัน

28

แผนภูมิ 2.3 ข้ อมูลสาคัญของอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์

31

แผนภูมิ 3.1 ความสัมพันธ์และผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อม จากการปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ใน พื ้นที่ลมุ่ น ้ายาว-อวน-มวบ จังหวัดน่าน แผนภูมิ 4.1 รูปแบบห่วงโซ่อปุ ทานในวงจรการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จงั หวัดน่าน (1) แผนภูมิ 4.2 รูปแบบห่วงโซ่อปุ ทานในวงจรการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จงั หวัดน่าน (2) แผนภูมิ 4.3 รูปแบบห่วงโซ่อปุ ทานการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในระดับประเทศ แผนภูมิ 4.4 ผลการศึกษาห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ระดับอาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอปั ว แผนภูมิ 4.5 ผลการศึกษารู ปแบบความสัม พัน ธ์ ของผู้มี ส่วนได้ ส่ว นเสี ย ในห่วงโซ่อุปทาน ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ระดับอาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอปั ว แผนภูมิ 5.1 อิทธิพลของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียหลัก ต่อครัวเรื อนเกษตรกรในลุ่มน ้าสาขา ยาวอวน-มวบ แผนภูมิ 6.1 รูปแบบของห่วงโซ่อปุ ทานของ Starbucks แผนภูมิ 6.2 ขันตอนในการตรวจสอบห่ ้ วงโซ่อปุ ทานของ Starbucks แผนภูมิ 6.3 การวิเคราะห์การทางานของ Starbucks

41

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

11 23

67 70 72 73 74 132 177 179 186

vii


สารบัญรู ปภาพ รูปภาพ 3.1 การปลูกข้ าวโพดบนพื ้นที่ลาดชัน อาเภอสันติสขุ จังหวัดน่าน รูปภาพ 3.2 เขตป่ าสงวนแห่งชาติในจังหวัดน่าน รูปภาพ 3.3 พื ้นที่ปลูกข้ าวโพดและพื ้นที่ป่าไม้ วิเคราะห์จากข้ อมูลดาวเทียม Landsat ปี 2545 ตาบลดูพ่ งษ์ ตาบลป่ าแลวหลวง ตาบลพงษ์ อาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอ ปั ว จังหวัดน่าน รูปภาพ 3.4 พื ้นที่ปลูกข้ าวโพดและพื ้นที่ป่าไม้ วิเคราะห์จากข้ อมูลดาวเทียม Landsat ปี 2550 ตาบลดูพ่ งษ์ ตาบลป่ าแลวหลวง ตาบลพงษ์ อาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอ ปั ว จังหวัดน่าน รูปภาพ 3.5 พื ้นที่ปลูกข้ าวโพดและพื ้นที่ป่าไม้ วิเคราะห์จากข้ อมูลดาวเทียม Landsat ปี 2555 ตาบลดูพ่ งษ์ ตาบลป่ าแลวหลวง ตาบลพงษ์ อาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอ ปั ว จังหวัดน่าน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

43 45 53

54

55

viii


บทสรุ ปสาหรั บผู้บริหาร การวิจัยครั ง้ นี ม้ ี ขึน้ เพื่ อจัดทา “แผนที่ ” และวิเคราะห์ ห่วงโซ่อุปทานธุ รกิ จ ข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์ ใน จังหวัดน่าน เปรี ยบเทียบกับผลกระทบด้ านสิ่งแวดล้ อมที่เกิดจากกิจกรรมการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ เพื่อ ริ เริ่ มการอภิปรายในกลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ต่อประเด็นปั ญหาการพัฒนาในจังหวัดน่าน และร่ วมค้ นหา ศักยภาพในการจัดการระบบห่วงโซ่อุปทานอย่างยัง่ ยืน และเพื่อสรุ ปหลักการและแนวปฏิบตั ิด้าน “การ จัดการห่วงโซ่อปุ ทานที่ยงั่ ยืน” จากประสบการณ์ในต่างประเทศของบริ ษัทในกลุ่มธุรกิจการเกษตร อันอาจ นามาประยุกต์เข้ ากับการผลิตข้ าวโพดอาหารสัตว์ในจังหวัดน่านเพื่อช่วยสร้ างความยัง่ ยืนในการจัดการลุ่ม น ้า ตลอดจนวิถีชีวิตของประชาชนและชุมชนในจังหวั ดน่าน โดยคณะวิจยั ดาเนินการวิจยั ทังเชิ ้ งคุณภาพ และปริ มาณ ในเขตพืน้ ที่ลุ่มน ้าสาขา ยาว-อวน-มวบ จังหวัดน่าน ซึ่งประกอบด้ วยพื ้นที่ 4 ตาบล ได้ แก่ ตาบลพงษ์ ตาบลดูพ่ งษ์ และตาบลป่ าแลวหลวงในอาเภอสันติสขุ และตาบลอวน ในอาเภอปั ว คณะวิจยั พบว่า เกษตรกรรายย่อยมีอานาจการต่อรองน้ อยที่สดุ ในห่วงโซ่อปุ ทาน โดยเกษตรกรที่ ปลูกในพื ้นที่ชนั มีอานาจการต่อรองและทางเลือกน้ อยกว่าเกษตรกรที่ปลูกในพื ้นที่ราบ เนื่องจากพื ้นที่ชนั ไม่ เหมาะสมต่อการเพาะปลูก และอยู่ห่างไกลแหล่งรับซื ้อผลผลิต ส่งผลให้ เกษตรกรในพื ้นที่ชนั มักจะประสบ ปั ญหาต้ นทุนและหนี ้สินสูงกว่าเกษตรกรในพื ้นที่ราบ ในภาพรวม บริ ษัทผู้ผลิตอาหารสัตว์ไม่สามารถนาวัตถุดิบประเภทแป้งอื่นๆ มาทดแทนข้ าวโพด เลี ้ยงสัตว์ได้ ทงหมดในช่ ั้ วงที่ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์มีราคาสูง เนื่องจากข้ าวโพดมีสารอาหารที่จาเป็ นบางชนิดซึ่ง วัตถุดบิ อื่นไม่มี แม้ วา่ ราคาของวัตถุดบิ ทดแทนจะถูกกว่าราคาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ก็ตาม นอกจากนี ้ นโยบาย จ าน า ประกั น ราคา และส่ ง เสริ ม การน าเข้ าของรั ฐ ล้ วนเป็ นไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น นั่น คื อ ส่ ง เสริ ม อุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ทังฝั ้ ่ งเกษตรกร ผ่านนโยบายจานาและประกันราคา และฝั่ งผู้ซื ้อรายใหญ่ คืออุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ผ่านนโยบายลดภาษี นาเข้ า ปั จจัยเหล่านี ้ส่งผลให้ อุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยง สัตว์มีการเติบโตต่อเนื่อง และเกษตรกรก็ยงั มีแรงจูงใจที่จะปลูกข้ าวโพดต่อไป หรื อมองว่าไม่มีทางเลือกอื่น ผู้วิ จัย พบว่ า ห่ ว งโซ่ อุ ป ทานข้ าวโพดเลี ย้ งสัต ว์ ใ นจัง หวัด น่ า น ยัง คงมี ลัก ษณะและรู ป แบบ ความสัมพันธ์คล้ ายเดิมตลอดระยะเวลา 15 ปี และผู้เล่นรายใหญ่ในแต่ละส่วนของห่วงโซ่อปุ ทานก็มิใช่ผ้ ู เล่นหน้ าใหม่ หากเป็ นผู้เล่นที่ประกอบธุรกิจนี ้มาอย่างยาวนาน โดยผลผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ราวร้ อยละ 44 จากพื น้ ที่ วิจัย ถูกขายจากเกษตรกรผู้ป ลูก ไปยัง พ่อ ค้ า คนกลาง (หัวสี ) รายใหญ่ 3 รายรวมกัน ได้ แ ก่ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

1


พ่อเลีย้ งส่ง เจ๊ คา และเกรี ยงไกร ผลผลิตข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ในพื ้นที่วิจัยราวร้ อยละ 57.5 ถูกขายต่อจาก พ่อค้ าคนกลางไปยังไซโลระดับจังหวัด 4 ราย ได้ แก่ น้ อมจิต จิรภาส จิตฟอง และใจงาม และเครื อเบทาโกร มีส่วนแบ่งตลาดในการรับซือ้ ข้ าวโพดจากพืน้ ที่ วิจยั สูงกว่าเครื อซีพีราวร้ อยละ 12.5 (40.55% เทียบกับ 27.97%) ซึ่งสอดคล้ องกับคาบอกเล่าของเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างจาก 4 ตาบล ที่ให้ สมั ภาษณ์กบั คณะวิจยั ว่า พื ้นที่บริ เวณนี ้ให้ ผลผลิตข้ าวโพดเกรดต่ากว่าบริ เวณอื่น และเครื อซีพีคดั เกรดข้ าวโพดมากกว่าเครื อเบ ทาโกร อย่างไรก็ตาม เมื่อคานึงถึงระดับอิทธิพลโดยรวมของผู้มีส่วนได้ เสียต่างๆ ที่มีต่อเกษตรกรในพื ้นที่ วิจยั คณะผู้วิจยั พบว่าเครื อซีพีมีอิทธิพลสูงกว่าเบทาโกรอย่างมีนยั สาคัญ เนื่องจากบริ ษัทในเครื อสองแห่ง ได้ แก่ บริษัท กรุงเทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จากัด และบริ ษัท เจียไต๋ จากัด เป็ นผู้จาหน่ายปั จจัยการผลิต (เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยเคมี และยาฆ่าหญ้ า) ที่เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างเลือกใช้ เป็ นอันดับต้ นๆ กล่าวคือ ร้ อยละ 80 ของเมล็ดพันธุ์ ร้ อยละ 52.5 ของปุ๋ยเคมี และร้ อยละ 17 ของยาฆ่าหญ้ าทุกยี่ห้อ ขณะที่เบทาโกรมิได้ ดาเนิน ธุรกิจที่เกี่ยวข้ องกับปั จจัยการผลิต เป็ นแต่เพียงผู้รับซื ้อข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ในพื ้นที่ไปเป็ นส่วนผสมในการ ผลิตอาหารสัตว์ เมื่อเปรี ยบเทียบกรณีศกึ ษาวิธีปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศ (best practice) ในการจัดการห่วงโซ่อปุ ทานอย่าง ยัง่ ยืนของต่างประเทศ กับห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในไทย พบว่า กิจกรรมในห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพด เลีย้ งสัตว์ในจัง หวัดน่านยังไม่มีมิ ติใดที่สอดคล้ องกับหลักความยั่งยื น โดยเฉพาะหลักความยั่งยืนด้ าน สิ่งแวดล้ อม คณะวิจยั พบว่า วิธีปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศในต่างประเทศจะประเมิน ความเหมาะสมของพื น้ ที ่เพาะปลูก เป็ นหัวใจสาคัญ โดยเฉพาะการไม่เพาะปลูกในพื ้นที่ผิดกฎหมาย อาทิ ป่ าสงวน ซึ่งนับเป็ นความรับผิดชอบ ขันพื ้ ้นฐาน ตลอดจนให้ ความสาคัญกับ การปฏิ บตั ิ ที่เป็ นธรรม ต่อเกษตรกรรายย่อยในห่วงโซ่อปุ ทาน เช่น การกาหนดราคารับซื ้อที่เป็ นธรรม การให้ ความช่วยเหลือด้ านเงินทุนและความรู้ ในการเปลี่ยนพฤติกรรม การเพาะปลูกให้ ยงั่ ยืนกว่าเดิม เป็ นต้ น กิจกรรมซึ่งมีส่วนก่อให้ เกิดปั ญหาสังคมและสิ่งแวดล้ อมสามารถเรี ยงตาม อานาจตลาด ของผู้มี ส่วนได้ เสียในห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์นา่ น ได้ ดงั ต่อไปนี ้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

2


1. เงื่อนไขการรั บซือ้ ของโรงงานอาหารสัตว์ โดยเฉพาะ เบทาโกร และซีพี สองบริ ษัทใหญ่ซึ่งรั บ ซื ้อราว 40% และ 28% ของข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ที่ผลิตในพื ้นที่วิจยั ตามลาดับ อานาจตลาดสะท้ อนจาก ข้ อเท็จจริ งที่ว่า ราคารับซื ้อของบริ ษัททังสองถู ้ กใช้ เป็ นราคาอ้ างอิงในการกาหนดราคารับซื ้อของหัวสีและ ไซโลระดับจังหวัดและภูมิภาค สอดคล้ องกับวรรณกรรมก่อนหน้ านี ้ซึง่ ระบุว่า สภาพตลาดข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ เป็ นตลาด “ผู้ซื ้อน้ อยราย” ที่ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียรายอื่นมีอานาจต่อรองน้ อยกว่ามาก ปั จจุบนั ยังไม่มีโรงงานอาหารสัตว์รายใดกาหนดเงื่อนไขที่เกี่ยวกับความยัง่ ยืนเป็ นเงื่อนไขการรับซื ้อ ข้ าวโพด เงื่อนไขด้ านความยัง่ ยืนที่สาคัญที่สดุ คือ ผลผลิ ตจะต้องไม่มาจากพืน้ ที ่ผิดกฎหมาย เนื่องจากการ บุกรุ กป่ าสงวน โดยเฉพาะป่ าในที่ดอน เป็ นกิจกรรมซึ่งจุดชนวนปั ญหาสังคมและสิ่งแวดล้ อมอื่นๆ ในน่าน แทบทังหมด ้ ตังแต่ ้ 1) ปั ญหาภัยธรรมชาติโดยเฉพาะอุทกภัยจากการมีพื ้นที่ป่าลดลง 2) ปั ญหาหมอกควัน จากการเผาเตรี ยมพืน้ ที่ เนื่องจากที่ดอนไม่สามารถใช้ วิธีไถกลบเช่นเดียวกับที่ราบได้ และ 3) ปั ญหา สุขภาพจากการใช้ สารเคมีเกินขนาด เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่มองว่าที่ดอนต้ องใช้ ยาฆ่าหญ้ ามากกว่า ปริ ม าณปลอดภัย ที่ ร ะบุบ นฉลาก (ส่ว นหนึ่ง เป็ นเพราะพื น้ ที่ ซึ่ง เคยเป็ นป่ าสงวนไม่เ หมาะสมต่อ การ เพาะปลูกตังแต่ ้ ต้น) จากการคานวณเปรี ยบเทียบภาพถ่ายดาวเทียมโดย GISTDA พบว่า การบุกรุ กป่ าสงวนเพื่อปลูก ข้ าวโพดยังดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง โดยหากเปรี ยบเทียบระหว่างปี 2545 และ 2556 พบว่าในพื ้นที่วิจยั ใน ลุ่มน ้ายาว-อวน-มวบ อันได้ แก่ ตาบลป่ าแลวหลวง พงษ์ ดู่พงษ์ และอวน พืน้ ที่ปลูกข้ า วโพดที่เพิ่มขึ ้นใน ช่วงเวลาดังกล่าวกว่าร้ อยละ 60 หรื อ 35,440 ไร่ เป็ นพื ้นที่ซงึ่ ได้ มาจากการบุกรุกป่ า 2. เงื่อนไขการปล่ อยสินเชื่อเพื่อการเพาะปลูก ของแหล่งทุนที่เกษตรกรใช้ โดยเฉพาะธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) ซึ่งมีส่วนแบ่งตลาดสินเชื่อเพื่อการเพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์สูงที่สุด ในจังหวัดน่าน เกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดแทบทุกรายต้ องกู้เงินก่อนการเพาะปลูกแต่ละฤดู เนื่องจากไม่มีเงิน เก็บเพียงพอ ดังนันเจ้ ้ าหนี ้จึงนับเป็ นผู้มีสว่ นได้ เสียที่มีผลต่อพฤติกรรมของเกษตรกร ถึงแม้ นโยบายทางการของ ธกส. คือ เกษตรกรจะต้ องมีเอกสารสิทธิก่อนได้ รับอนุมตั ิสินเชื่อ แต่จากการ สัมภาษณ์ภาคสนามของผู้วิจยั พบว่า ในทางปฏิบตั ิเกษตรกรไม่จาเป็ นต้ องมีเอกสารสิทธิแต่อย่างใดในการ ได้ รับอนุมัติสินเชื่อ เพียงแต่ต้องหาบุคคลมาค ้าประกันเงินกู้แบบกลุ่มจานวน 5 คน และสามารถกู้เป็ น ปั จจัยการผลิต (ปุ๋ย ฯลฯ) ได้ แทนที่จะกู้เป็ นเงินทุน บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

3


3. เงื่ อ นไขการรั บ ซื อ้ ของหั ว สี หัวสี นับเป็ นผู้มี ส่ว นได้ เ สี ย ที่ มี ค วามใกล้ ชิ ดสูง สุด กับเกษตรกร เนื่องจากเป็ นผู้รับซื ้อผลผลิตโดยตรงจากเกษตรกรเพื่อขายต่อไปยังไซโลและโรงงานอาหารสัตว์อีกทอดหนึ่ง แต่ในเมื่อเป็ นเพียง “ตัวกลาง” ราคารับซื ้อและเงื่อนไขการรับซื ้อของหัวสีจึงถูกกากับโดยโรงงานอาหารสัตว์ รายใหญ่ อีกทอดหนึ่ง การรั บซื อ้ ของหัวสี จึง มิ ไ ด้ ส่ง ผลต่อปั ญหาสิ่ง แวดล้ อมโดยตรง เพราะมิ ไ ด้ เป็ นผู้ กาหนดเงื่อนไขการรับซื ้อ แต่อาจส่งผลต่อ ความไม่เป็ นธรรมต่อเกษตรกร โดยเฉพาะปั ญหาความยากจน เนื่องจากหัวสีสามารถกักเก็บข้ าวโพดเพื่อเก็งกาไร และแปรรูปข้ าวโพดเพื่อเพิ่มมูลค่าก่อนขายให้ กบั โรงงาน อาหารสัตว์ แต่เกษตรกรรายย่อยมีอานาจในการต่อรองน้ อยมาก เนื่องจากจาเป็ นต้ องขายข้ าวโพดในราคา ที่หวั สีกาหนดเพื่อนาผลผลิตไปใช้ หนี ้ 4. พฤติกรรมการเพาะปลูกของเกษตรกร ปฏิเสธไม่ได้ ว่าปั ญหาด้ านความยั่งยืนทุกประการล้ วน “เกิดจาก” พฤติกรรมของเกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพด ตังแต่ ้ การบุกรุ กพื ้นที่ป่าสงวน การเผาเตรี ยมพื ้นที่ และ การใช้ ส ารเคมี เ กิ นขนาด อย่างไรก็ ตาม เกษตรกรรายย่อยมี อานาจต่อรองน้ อยที่ สุดในห่วงโซ่อุปทาน ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ อีกทังยั ้ งเผชิญกับแรงจูงใจที่สนับ สนุนพฤติกรรมดังกล่าวให้ ดาเนินต่อไป ตังแต่ ้ การไม่ บัง คับใช้ กฎหมายป่ าสงวนของกรมป่ าไม้ นโยบายจ านาหรื อประกันราคาข้ าวโพดของรั ฐซึ่ง ทาให้ การ เพาะปลูกพืชทดแทนไม่ดงึ ดูดเท่าที่ควร ตลอดจนเงื่อนไขสินเชื่อของเจ้ าหนี ้อย่าง ธกส. และเงื่อนไขการรับ ซื ้อของโรงงานอาหารสัตว์ ซึง่ ยังไม่บรรจุหลักเกณฑ์ด้านความยัง่ ยืนใดๆ เอาไว้ เมื่อเปรี ยบเทียบอานาจตลาดของผู้มีส่วนได้ เสียหลักในห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในบริ เวณ ลุ่ม นา้ ยาว-อวน-มวบ เปรี ยบเที ยบกับหลักเกณฑ์ และตัวชี ว้ ัดส าคัญด้ านสิ่ง แวดล้ อมของมาตรฐานใน โครงการ C.A.F.E ของ Starbucks และนโยบาย Forest Conservation Policy ของ GAR สาหรับเกษตรกร รายย่อย คณะวิจยั พบว่า ผู้มีส่วนได้ เสียรายสาคัญในห่วงโซ่อปุ ทาน จ. น่าน ที่สามารถกาหนดหลักเกณฑ์ ด้ านสิ่งแวดล้ อมในทางที่ส่งอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้เล่นรายอื่นๆ ได้ แก่ เครื อซีพี เบทาโกร โดยสามารถ กาหนดเกณฑ์ เช่น ห้ ามเปลี่ยนป่ าไม้ เป็ นพื ้นที่การเกษตร ห้ ามใช้ สารเคมีเกษตรในระยะเกิน 5 เมตรจาก แหล่งน ้าถาวร ไว้ ในเงื่อนไขการรับซื ้อผลผลิต นอกจากนี ้ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธ.ก.ส.) ใน ฐานะผู้ปล่อยสินเชื่อรายใหญ่ ก็สามารถระบุความเหมาะสมของพื ้นที่การเพาะปลูก เช่น ต้ องมี เอกสารสิทธิ์ ไว้ ในเงื่อนไขการปล่อยสินเชื่อ อย่างไรก็ตาม ประสบการณ์จากกรณีศกึ ษาในต่างประเทศเสนอว่า เงื่อนไขทังหมดนี ้ ้ควรพิจารณา ดาเนินการเป็ นขันเป็ ้ นตอน โดยผู้กาหนดเกณฑ์ควรให้ เวลาที่เพียงพอและอุดหนุนทรัพยากรแก่เกษตรกร บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

4


รายย่อยในการปรับตัว มิฉะนันหลั ้ กเกณฑ์ด้านความยัง่ ยืนอาจส่งผลให้ เกษตรกรที่ไม่สามารถทาตามต้ อง ประสบปั ญหาทางการเงินมากกว่าเดิม กลับกลายเป็ นว่าความยัง่ ยืนและการฟื น้ ฟูระบบนิเวศ ต้ อง “แลก” มาด้ วยฐานะทางเศรษฐกิจที่แย่กว่าเดิมได้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

5


1. ความสาคัญและที่มาของการศึกษาวิจย ั จากต้ นกาเนิดในเทือกเขาหลวงพระบาง ณ ชายแดนประเทศลาว แม่น ้าน่านคือแม่น ้าสายสาคัญ ของประเทศ และเป็ น 1 ใน 4 แม่น ้าสายหลักต้ นกาเนิดของแม่น ้าเจ้ าพระยาอันเปรี ยบเสมือนเส้ นเลือดสาย หลักที่หล่อเลี ้ยงที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทย น ้าจากแม่น ้าน่านมีปริ มาณมากถึงร้ อยละ 45 ของ ปริ ม าณนา้ ในแม่น า้ เจ้ า พระยา ลุ่ ม นา้ น่า นกิ นอาณาบริ เวณถึง 57,947 ตารางกิ โลเมตร ครอบคลุม 5 จัง หวัด ในภาคเหนื อ ของประเทศไทย อัน ประกอบด้ ว ยจัง หวัด น่ า น พิ ษ ณุโ ลก อุต รดิต ถ์ พิ จิ ต ร และ นครสวรรค์ กิ จ กรรมใดก็ ต ามที่ ส่ง ผลต่อความมั่น คงและยั่ง ยื น ของระบบนิ เ วศลุ่ม น า้ น่า น ย่อ มสร้ าง ผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป็ นอยูข่ องผู้คนที่อาศัยอยูด่ ้ านล่างตลอดลาน ้าน่านและเจ้ าพระยา หนึ่งในประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อความยัง่ ยืนของลุ่มน ้าน่านในระยะที่ผ่านมา ได้ แก่ การขยายตัว อย่า งรวดเร็ ว ของพื น้ ที่ เ พาะปลูก พื ช เศรษฐกิ จ โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง ข้ า วโพดเลี ย้ งสัตว์ ซึ่ง มี ก ารตัง้ ข้ อ สมมติฐ านว่าได้ ทาให้ เ กิดการทาลายพืน้ ที่ ป่าจ านวนมาก อัตราการลดลงของพื น้ ที่ ป่าได้ เพิ่ม ขึน้ อย่าง รวดเร็ วในระหว่างช่วง 1 ทศวรรษที่ผ่านมา พร้ อมกับอุปสงค์ความต้ องการวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เพิ่มขึน้ พื ้นที่ป่าที่ลดลงอย่างมากได้ ก่อให้ เกิดรูปแบบการใช้ ที่ดินที่ทาลายระบบนิเวศ ความเสื่อ มโทรมของพื ้นที่กกั เก็บน ้า ปริ มาณน ้าที่ลดลง มลพิษทางสิ่งแวดล้ อม รวมถึงการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งมี ความสาคัญอย่างยิ่งต่อวิถีชีวิตของผู้คนในจังหวัดน่านและผู้ที่อาศัยด้ านล่างของลาน ้า เพื่ อสนับสนุนการจัดการลุ่ม นา้ อย่างยั่ง ยื นที่ ก่อให้ เกิ ดการพัฒ นาทางเศรษฐกิ จ ต่อชุม ชนและ ประชาชนในจังหวัดน่าน สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) จึงได้ ร่วมมือกับสานักงาน โครงการสิ่งแวดล้ อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) ริ เริ่ มแผนงานความยากจนและสิ่งแวดล้ อม (PEI) โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อค้ นหาแนวทางและวิธีการก่อตังโครงการภายใต้ ้ แนวคิ ด ‘Payments for Ecosystem Services’ (PES) หรื อ ‘การจ่ายค่าตอบแทนบริ การระบบนิเวศ’ ในพื ้นที่นาร่องลุ่มน ้าสาขา ยาว-อวน-มวบ โดยประกอบด้ วยกิจกรรม และโครงการวิจยั ในหลากหลายด้ าน ไม่วา่ จะเป็ นโครงการ “รายงานการประเมิน ระบบนิ เ วศและก าหนดทางเลื อ กการพัฒ นาสู่ ก ารอยู่ ดี มี สุ ข ในจัง หวัด น่ า น” ซึ่ ง จัด ท าโดยสถาบัน สิ่ ง แวดล้ อ มไทย (TEI) รวมทัง้ ความร่ ว มมื อ กับ องค์ ก ารบริ ห ารส่ว นจัง หวัด เพื่ อ ส่ง เสริ ม การปลูก พื ช ที่ หลากหลายทดแทนการปลูกพืชเชิงเดี่ยว รวมถึงความพยายามในการก่อตังกองทุ ้ นลุม่ น ้าน่าน เป็ นต้ น

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

6


อย่างไรก็ ดี โครงการและกิ จกรรมที่ผ่านมาได้ มองข้ ามบทบาทที่ ส าคัญของภาคเอกชนต่อการ ส่งเสริ มการจัดการลุ่มน ้าอย่างยัง่ ยืน อันนอกเหนือไปจากบทบาทด้ านการเงิน แม้ ว่ากลไกของโครงการ ภายใต้ แนวคิด PES จะได้ ถกู อภิปรายกันอย่างกว้ างขวางผ่านเวทีสนทนาต่างๆ บทบาทของภาคเอกชนใน การมีสว่ นร่วมกับกิจกรรม PES ภายใต้ บริบทของการจัดการห่วงโซ่อปุ ทานของธุรกิจยังคงขาดความชัดเจน และแผนปฏิบตั ทิ ี่ใช้ ได้ จริง

1.1 วัตถุประสงค์ และขอบเขตของโครงการวิจัย 1.1.1 วัตถุประสงค์ ของโครงการ 1) เพื่อจัดทา “แผนที่” และวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานธุรกิจข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในจังหวัดน่าน และ ผลกระทบด้ านสิ่งแวดล้ อมที่เกิดจากกิจกรรมการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ 2) เพื่อริ เริ่ มการอภิปรายในกลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ต่อประเด็นปั ญหาการพัฒนาในจังหวัดน่าน และร่วมค้ นหาศักยภาพในการจัดการระบบห่วงโซ่อปุ ทานอย่างยัง่ ยืน 3) เพื่อสรุ ปหลักการและแนวปฏิบตั ิด้าน “การจัดการห่วงโซ่อุปทานที่ยงั่ ยืน ” จากประสบการณ์ ในต่างประเทศของบริษัทในกลุม่ ธุรกิจการเกษตร อันอาจนามาประยุกต์เข้ ากับการผลิตข้ าวโพดอาหารสัตว์ ในจังหวัดน่าน เพื่อช่วยสร้ างความยัง่ ยืนในการจัดการลุ่มน ้า ตลอดจนวิถีชีวิตของประชาชนและชุมชนใน จังหวัดน่าน 1.1.2 ขอบเขตการวิจัย เขตพื ้นที่ลมุ่ น ้าสาขา ยาว-อวน-มวบ จังหวัดน่าน ซึ่งประกอบด้ วยพื ้นที่ 4 ตาบล ได้ แก่ ตาบลพงษ์ ตาบลดูพ่ งษ์ และตาบลป่ าแลวหลวงในอาเภอสันติสขุ และตาบลอวน ในอาเภอปั ว

1.2 กรอบคิดในการวิจัย (conceptual framework) 1.2.1 ระบบห่ วงโซ่ อุปทาน และกิจกรรมการผลิต สารวจห่วงโซ่อุปทานและกิจกรรมในส่วนต่างๆ ของห่วงโซ่อุ ปทานที่เกี่ยวข้ องกับพื ้นที่ล่มุ น ้ายาวอวน-มวบ ด้ ว ยการสร้ างแผนที่ ห่ว งโซ่อุปทานซึ่ง ระบุผ้ ูผ ลิ ต คู่ค้ า ผู้ซื อ้ และผู้มี ส่วนเกี่ ย วข้ องอื่ น ๆ ใน อุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในพื ้นที่ หลักการสร้ างแผนที่ห่วงโซ่อุปทาน ตามแนวปฏิบตั ิธุรกิจที่ยงั่ ยืนขององค์การสหประชาชาติ UN Global Compact มีองค์ประกอบสาคัญดังต่อไปนี ้ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

7


1) ระบุประเภทสินค้ าและบริการหลักให้ ชดั เจน 2) สืบสาวเส้ นทางการไหลของสินค้ าและข้ อมูลแต่ละประเภทตลอดสายห่วงโซ่อปุ ทาน 3) รวบรวมข้ อมูลเกี่ยวกับประเด็นสิทธิมนุษยชน แรงงาน สิ่งแวดล้ อม และคอร์ รัปชัน่ ในแต่ละจุด ของห่วงโซ่อปุ ทาน เนื่องจากโครงการวิจยั นี ้มุ่งเน้ นการศึกษาไปยังระบบนิเวศเป็ นหลัก งานวิจยั จึงตีกรอบอยู่ที่การ ประเมินประเด็นสิ่งแวดล้ อมตลอดห่วงโซ่อุปทาน โดยให้ ความสาคัญกับทังการวาดแผนที ้ ่ ผู้มีส่วนได้เสี ย และ กิ จกรรมหลัก ในแต่ละจุด ดังตัวอย่างต่อไปนี ้ แผนภูมิ 1.1 ตัวอย่างการวาดแผนที่ ผูม้ ี ส่วนได้เสี ย ในห่วงโซ่อปุ ทาน

ที่มา: World Bank Group (2005), Honduras Coffee Value Chain, อ้ างใน Jaffee et al. (2008)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

8


แผนภูมิ 1.2 ตัวอย่างการวาดแผนที่ กิ จกรรมหลัก ในห่วงโซ่อปุ ทาน

ที่มา: World Bank Group (2005), Honduras Coffee Value Chain, อ้ างใน Jaffee et al. (2008) กระบวนการสร้ างแผนที่ในงานวิจยั ครัง้ นี ้จะครอบคลุมกิจกรรมหลักในแต่ละจุดของห่วงโซ่อปุ ทาน ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในจังหวัดน่าน เพื่อระบุความเชื่อมโยงระหว่างกิจกรรมดังกล่าว กับผลกระทบต่ อระบบ นิเวศและนิเวศบริการ รวมถึงระบุผ้ มู ีสว่ นได้ เสียหลัก 1.2.2 สภาพแวดล้ อมและบริการระบบนิเวศ งานวิจยั ชิน้ นี ้นับเป็ นการ “ต่อยอด” งานวิจัย “การประเมินระบบนิเวศและกาหนดทางเลือกการ พัฒนาสู่การอยู่ดีมีสุขในจังหวัดน่าน” (สถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย, 2012) โดยใช้ พื ้นที่วิจยั เดียวกัน ดังนัน้ คณะวิจยั จึงใช้ กรอบการประเมินระบบนิเวศแห่งสหัสวรรษ (Millennium Ecosystem Assessment ย่อว่า MA) เช่นเดียวกันกับงานวิจยั ดังกล่าว โดยเน้ นการประเมินระบบนิเวศย่อย (Sub-Global Assessment: SGA) ด้ าน “สภาพป่ าและพื ้นที่การเพาะปลูก” กรอบคิดทางทฤษฎีของ MA ตังอยู ้ ่บนฐานคิดว่า มนุษย์มีปฏิสมั พันธ์กบั ระบบนิเวศสองทางและมี พลวัตสูง การเปลี่ยนแปลงในชีวิตความเป็ นอยู่ของมนุษย์ส่งผลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศ และ ในทางกลับกัน การเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศเหล่านันก็ ้ ส่งผลกระทบต่อระดับความอยู่ดีมีสุขของมนุษย์

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

9


เช่นกัน การเปลี่ยนแปลงของปั จจัยที่สง่ ผลต่อระบบนิเวศทางอ้ อมอาจก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงของปั จจัย ที่ส่งผลต่อระบบนิเวศโดยตรงและส่งผลต่อความอยู่ดีมีสุขของมนุษย์ ปฏิสัมพันธ์ เหล่านีอ้ าจเกิดขึน้ ใน หลายระดับและข้ ามระดับได้ แผนภูมิ 1.3 กรอบแนวคิดการประเมินระบบนิเวศแห่งสหัสวรรษ (Millennium Ecosystem AssessmentMA)

ที่มา: Computing for Sustainability (2009) 1.2.3 การบูรณาการ MA และแผนที่ห่วงโซ่ อุปทาน ในเมื่องานวิจัยครัง้ นีม้ ุ่ง ตอบคาถามว่า กิจกรรมหลักในห่วงโซ่อุปทานมีบทบาทอย่างไรต่อการ เปลี่ ย นแปลงของระบบนิเ วศในลุ่ม นา้ น่า น ตลอดจนศึกษา “แนวปฏิ บัติอัน เป็ นเลิศ ” จากกรณี ศึก ษา บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

10


ต่างประเทศซึ่งอาจนามาประยุกต์ใช้ ในการริ เริ่ มการจัดการห่วงโซ่อุปทานข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์อย่างยัง่ ยืน คณะวิจยั จึงได้ ปรับเปลี่ยนกรอบคิดทางทฤษฎีดงั กล่าวข้ างต้ นให้ สอดคล้ องกับเป้าหมายงานวิจยั โดยเน้ นที่ การเชื่อมโยง “กิจกรรมการผลิต” ในห่วงโซ่อปุ ทาน กับ “การเปลี่ยนแปลงสภาพระบบนิเวศ” เป็ นหลัก มิได้ เชื่อมโยงไปถึง “การเปลี่ยนแปลงในนิเวศบริการ” แบบจาลองบูรณาการขันสุ ้ ดท้ ายที่จะใช้ ในงานวิจยั สามารถแสดงเป็ นแผนภาพได้ ดงั นี ้ แผนภูมิ 1.4 การบูรณาการกรอบแนวคิด MA และแผนที่หว่ งโซ่อปุ ทาน

ขอบเขตของงานวิจัยชิ้นนี้ เครือข่ายห่วงโซ่ อุปทานข้าวโพดเลียง สัตว์

กิจกรรมการผลิต

ห่วงโซ่อุปทาน

กิจกรรมการผลิต

ข้าวโพดเลียงสัตว์ ในลุ่มน้าน่าน

กิจกรรมการผลิต

การเปลี่ยนแปลงใน การเปลีย่ นแปลงใน สภาพระบบนิเวศ ลุ่มน้าน่าน ระบบนิเวศ ย่อย: สภาพป่า และพืนที่การ

นิเวศบริการ กลไกบริการ กลไกก้ากับ คุณค่าเชิงวัฒนธรรม

เพาะปลูก

กลไกสนับสนุน

ปัจจัยผลักดันการเปลี่ยนแปลงโดยตรง

การเปลี่ยนแปลง

นิเวศบริการ

สภาพระบบนิเวศ

1.3 รู ปแบบและเครื่ องมือในการวิจัย การวิจยั ครัง้ นี ้เป็ นการศึกษาข้ อมูลทังในเชิ ้ งคุณภาพและปริมาณ โดยมีรายละเอียดดังนี ้ 1.3.1 รู ปแบบการวิจัย 1) การวิจยั เชิงคุณภาพ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

11


 สภาพแวดล้อมและบริ การระบบนิ เวศ การวิจัยเอกสาร จากการรวบรวมข้ อมูลด้ าน สภาพแวดล้ อมและสภาพการบริ การของระบบนิเวศของพื ้นที่ล่มุ น ้าน่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื ้นที่ล่มุ น ้า สาขา ยาว-อวน-มวบ ประกอบด้ วย “รายงานการประเมินระบบนิเวศและกาหนดทางเลือกการพัฒนาสู่การ อยู่ดีมีสุขในจังหวัดน่าน” ซึ่งจัดทาโดย สถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย (TEI, 2012) และบทความวิจัยอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้ อง  ระบบห่วงโซ่ อุปทาน และกิ จกรรมการผลิ ต ใช้ รูปแบบการวิจยั รวบรวมเอกสาร และการ สัมภาษณ์ เชิงลึก และการสัมภาษณ์กลุ่ม (Focus Group Interview) เพื่อสร้ างแผนภาพระบบห่วงโซ่ อุปทาน ซึ่งประกอบด้ วยผู้ซื ้อ ผู้ขาย ผู้ผลิต และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียต่างๆ รวมทังรู ้ ปแบบลักษณะกิจกรรม การผลิตที่เกิดขึ ้นภายในห่วงโซ่อปุ ทาน  แนวทางการจัดการห่วงโซ่ อุปทานอย่างยัง่ ยื น การวิจยั เอกสารเพื่อรวบรวมแนวทางและ กรณีศึกษาจากทังในและต่ ้ างประเทศ เทียบเคียงกับระบบการจัดการห่วงโซ่อปุ ทานของการผลิตข้ าวโพด อาหารสัตว์ในจังหวัดน่าน ซึ่งสามารถใช้ เป็ นแนวทางพัฒนารู ปแบบการจัดการอย่างยัง่ ยืนสาหรับพื ้นที่ จังหวัดน่าน และอุตสาหกรรมผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ 2) การวิจยั เชิงปริมาณ  ข้อมู ลระบบห่ วงโซ่ อุปทานและกิ จกรรมการผลิ ต ผ่านรู ปแบบการสัมภาษณ์ กลุ่ม (Focus Group Interview) เพื่อรวบรวมข้ อมูลในเชิงปริมาณของรูปแบบกิจกรรมและลักษณะความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ผลิต ผู้ซือ้ และผู้ขาย ในระบบห่วงโซ่อุปทานของการผลิตข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ของพืน้ ที่ล่มุ น ้า ยาว-อวนมวบ  การวิ เคราะห์หาการเปลี ่ยนแปลงของพื น้ ที ่ป่าไม้และพื น้ ที ่ปลูกข้าวโพด ของลุ่มน ้าสาขา ยาวอวน-มวบ จากภาพถ่ายดาวเทียม โดย สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การ มหาชน) (GISTDA) 1.3.2 การสัมภาษณ์ กลุ่ม (Focus Group Interview) เครื่ องมือสาคัญที่ใช้ ในการเก็บข้ อมูลทังในเชิ ้ งคุณภาพและปริ มาณของการวิจยั คือการสัมภาษณ์ กลุม่ เกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในเขตลุ่มน ้าสาขา ยาว-อวน-มวบ ในจังหวัดน่าน ซึ่งครอบคลุมพื ้นที่ 4 ตาบลด้ วยกัน ได้ แก่ ตาบลพงษ์ ตาบลดูพ่ งษ์ และตาบลป่ าแลวหลวง ในเขตอาเภอสันติสุข และตาบล อวน ในอาเภอปั ว บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

12


ตาราง 1.1 ข้ อมูลพื ้นฐานของเกษตรกรผู้เพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในพื ้นที่ศึกษา (ฤดูกาลเพาะปลูก 2555/2556) จานวน ครัวเรื อน เกษตรกร

พื ้นที่

เนื ้อที่ เพาะปลูก (ไร่)

เนื ้อที่เก็บ เกี่ยวผลผลิต (ไร่)

ผลผลิตที่เก็บ เกี่ยวได้ (กิโลกรัม)

ราคาที่ ผลผลิตเฉลี่ย เกษตรกรขาย (กิโลกรัม/ไร่) ได้ เฉลี่ย (บาท/ กิโลกรัม)

พื ้นที่ทงั ้ 3 ตาบล ของ อาเภอสันติสขุ

1,352

53,274.25

30,793.00 35,107,100.00

658.99*

8.26

ตาบลอวน อาเภอปั ว

676

17,785.00

10,507.00 12,170,000.00

737.26

7.53

รวม/ค่าเฉลี่ย 2,028 71,059.25 41,300 47,277,100.00 *คานวณจากข้ อมูลผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ และเนื ้อที่เพาะปลูก

665.32*

8.02

ที่มา : ข้ อมูลสารวจจากสานักงานเกษตรจังหวัดน่าน และสานักงานเกษตรอาเภอปั ว (2556) คณะผู้วิจยั ได้ คดั เลือกเกษตรกรโดยใช้ การสุ่มในรู ปแบบ คลัสเตอร์ (Cluster Sampling) ตาม เกณฑ์ 2 ประเภท ได้ แก่ พื ้นที่ตาบลที่อาศัยอยู่ และจานวนพื ้นที่เพาะปลูกของเกษตรกร และได้ สมั ภาษณ์ เกษตรกรทังหมดจ ้ านวน 120 คน โดยแบ่งเป็ นจานวน 20 กลุม่ กลุม่ ละ 6 คน มีรายละเอียดดังนี ้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

13


ตาราง 1.2 รูปแบบการแบ่งกลุม่ ตัวอย่างสาหรับการสัมภาษณ์กลุม่ (Focus Group Interview) เกษตรกรผู้ปลูก ข้ าวโพดเลีย้ ง ตาบลพงษ์ ตาบลดู่พงษ์ สัตว์ พื ้นที่ปลูกข้ าวโพด 1 กลุม่ (6 คน) 1 กลุม่ (6 คน) 1-10 ไร่ พื ้นที่ปลูกข้ าวโพด 2 กลุม่ (12 คน) 2 กลุม่ (12 คน) 11-20 ไร่

ตาบล ป่ าแลวหลวง

รวม

1 กลุม่ (6 คน)

6 กลุม่ (36 คน) 6 กลุม่ (36 คน)

รวม

1 กลุม่ (6 1 กลุม่ (6 4 กลุม่ (24 คน) คน) คน) 1 กลุม่ (6 1 กลุม่ (6 6 กลุม่ (36 คน) คน) คน)

1 กลุม่ (6 พื ้นที่ปลูกข้ าวโพด 2 กลุม่ (12 คน) 2 กลุม่ (12 คน) คน) 21-30 ไร่ พื ้นที่ปลูกข้ าวโพด 1 กลุม่ (6 คน) 31-60 ไร่

ตาบลอวน

-

5 กลุม่ (30 คน)

1 กลุม่ (6 2 กลุม่ (12 5 กลุม่ (30 คน) คน) คน) 4 กลุม่ (24 คน)

4 กลุม่ (24 คน)

20 กลุ่ม (120 คน)

สาหรับประเด็นในการสัมภาษณ์ คณะผู้วิจยั สอบถามถึงรูปแบบกิจกรรมในการปลูกข้ าวโพดเลี ้ยง สัตว์ และความสัมพันธ์กบั ผู้มีส่วนได้ เสียฝ่ ายต่างๆ ในห่วงโซ่อปุ ทาน ครอบคลุมหัวข้ อทังเรื ้ ่ องแหล่งเงินทุน ลักษณะการใช้ ปัจจัยการผลิต วิธีการเพาะปลูก รู ปแบบการขาย ผู้รับซือ้ และเงื่ อนไขการรับซือ้ รวมถึง ต้ นทุน รายจ่าย และรายได้ ของเกษตรกร ซึ่งในการสัมภาษณ์แต่ละครัง้ มีนกั วิจยั ดาเนินการอภิปรายกลุ่ม ละ 2 คน ทาการสัมภาษณ์เป็ นระยะเวลาประมาณกลุม่ ละ 90 นาที 1.3.3 ข้ อมูลสาคัญที่ใช้ ในงานวิจัย จากการวิจยั เอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก และสัมภาษณ์กลุ่ม ในการวิจยั ครัง้ นี ้คณะวิจยั ได้ เก็บ รวบรวมข้ อมูลปฐมภูมิและทุตยิ ภูมิที่สาคัญดังต่อไปนี ้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

14


ตาราง 1.3 ข้ อมูลสาคัญที่ใช้ ในงานวิจยั วัตถุประสงค์

กรอบคิด/เครื่ องมือ

ข้ อมูล

จัด ท าแผนที่ ห่ ว งโซ่อุป ทานธุ ร กิ จ โครงสร้ างตลาด แผนที่ - โครงสร้ างตลาดข้ าวโพดเลี ย้ งสั ต ว์ ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในจังหวัดน่าน ห่วงโซ่อุปทาน จาแนก รวมถึงส่วนแบ่งตลาดของผู้เล่นรายสาคัญ ตามผู้มีสว่ นได้ เสีย - โครงสร้ างรายได้ แ ละต้ น ทุน ของผู้เ ล่ น รายสาคัญ - กิจกรรมและบทบาทของ ผู้มีส่วนได้ ส่วน เสีย 7 ประเภทหลัก ได้ แก่ เกษตรกร ผู้ผลิตปั จจัยการผลิต พ่อค้ าปั จจัยการผลิต ผู้ปล่อยสินเชื่อและสถาบันการเงิน พ่อค้ าคนกลางระดับท้ องถิ่น พ่ อ ค้ าคนกลาง ระดั บ จั ง หวั ด และ ภูมิภาค โรงงานอาหารสัตว์ วิเคราะห์กิจกรรมต่างๆ ในห่วงโซ่ แ ผ น ที่ ห่ ว ง โ ซ่ อุ ป ท า น ประเมิ น ผลกระทบภายนอกและการใช้ อุปทานธุรกิจข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ใน จ าแนกตามกิ จ กรรมการ ทรัพยากรในกิจกรรมต่างๆ อาทิ เมล็ดพันธุ์ จังหวัดน่าน ผลิต การปลูก การเก็บเกี่ยว การขนย้ าย การตากแห้ ง

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

15


วัตถุประสงค์

กรอบคิด/เครื่ องมือ

วิ เ ค ร า ะ ห์ ผ ล ก ร ะ ท บ ด้ า น MA สิ่งแวดล้ อมที่เกิดจากกิจกรรมการ ผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์

ข้ อมูล - วรรณกรรมปริ ทัศน์ งานวิจัย โดยใช้ รายงานการประเมิ น ระบบนิ เ วศและ กาหนดทางเลื อกการพัฒ นาสู่การอยู่ดีมี สุขในจังหวัดน่าน” (สถาบันสิ่งแวดล้ อม ไทย, 2012) เป็ นฐานข้ อมูล - การวิ เ คราะห์ ห าการเปลี่ ย นแปลงของ พื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ปลูกข้ าวโพด ของลุ่ม น า้ สาขา ยาว-อวน-มวบ จากภาพถ่ า ย ด า ว เ ที ย ม โ ด ย ส า นั ก ง า น พั ฒ น า เทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศ (องค์การมหาชน) (GISTDA)

ระบุผ้ ูมีส่วนได้ ส่วนเสียรายสาคัญ ส รุ ป แ ล ะ เ รี ย ง ล า ดั บ ส าหรั บ การริ เ ริ่ ม การเสวนาเรื่ อ ง อิ ท ธิ พ ลของผู้ มี ส่ ว นได้ การจัดการห่วงโซ่อปุ ทานที่ยงั่ ยืน ส่วนเสียรายสาคัญ ซึ่ง มี ต่อ เกษตรกรผู้เ พาะปลูก ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์

- ข้ อมูลพืน้ ฐานเชิงปริ มาณ ด้ านกิจกรรม การเพาะปลู ก ของเกษตรกร จากการ สัมภาษณ์กลุม่ - ข้ อมูลจากการสัมภาษณ์ผ้ มู ีส่ว นได้ ส่วน เสียรายต่างๆ ในห่วงโซ่อปุ ทาน

สรุ ปหลักการและแนวปฏิบัติด้าน หลั ก การจั ด การห่ ว งโซ่ ว ร ร ณ ก ร ร ม ป ริ ทั ศ น์ ง า น วิ จั ย แ ล ะ “การจัดการห่วงโซ่อปุ ทานที่ยงั่ ยืน” อุปทานที่ยงั่ ยืน กรณีศกึ ษาจากต่างประเทศ จากประสบการณ์ ในต่างประเทศ ของบริ ษัทในกลุ่มธุรกิจการเกษตร อันอาจนามาประยุกต์เ ข้ ากับการ ผลิตข้ าวโพดอาหารสัตว์ในจังหวัด น่าน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

16


2. ภาพรวมอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์เป็ นหนึ่งในพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทย ปลูกเพื่อรองรับความต้ องการ ทังตลาดส่ ้ งออกและการใช้ ภายในประเทศ นอกจากข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จะเป็ นวัตถุดิบหลักที่ใช้ ผลิตอาหาร สัตว์แล้ ว หลายประเทศโดยเฉพาะสหรัฐอเมริ กาก็ได้ นาข้ าวโพดไปใช้ ผลิตเอทานอล ทาให้ ความต้ องการ ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์เพิ่มสูงขึ ้นอย่างต่อเนื่อง การทาความเข้ าใจกับสถานการณ์ และราคาของตลาดข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ตลอดจนทิศทางของ นโยบายรัฐที่เกี่ยวข้ อง จาเป็ นต่อการทาความเข้ าใจกับ แรงจูงใจ ของเกษตรกรและผู้มีส่วนได้ เสียอื่นๆ ใน ห่วงโซ่อุปทาน โดยเฉพาะในเมื่อปั จจุบนั ยังไม่มีมาตรฐานการรับซื ้อที่ยงั่ ยืน (sustainable procurement standard) หรื อมาตรฐานห่วงโซ่อปุ ทานที่ยงั่ ยืน (sustainable supply chain standard) ระดับสากลใน อุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ และอุตสาหกรรมอาหารสัตว์แต่อย่างใด 2.1 สถานการณ์ และราคาข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ 2.1.1 สถานการณ์ อุตสาหกรรมข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ โลก ปริ มาณผลผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์โลกในปี พ.ศ.2554 อยู่ที่ 883.460 ล้ านตัน เพิ่มขึ ้นจากปี พ.ศ. 2553 กว่า 33 ล้ านตัน หรื อ คิดเป็ น 3.9% ทัว่ โลกมีพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดกว่า 1,064.988 ล้ านไร่ โดยมี ประเทศสหรัฐอเมริ กาเป็ นผู้ผลิตอันดับ 1 ซึ่งมีผลผลิตออกมามากกว่า 313.918 ล้ านตัน คิดเป็ น 35.53% ของผลผลิตทัง้ หมด รองลงมาคือประเทศจีน บราซิล อาร์ เจนติน่า และยูเครน ส่วนไทยอยู่อันดับที่ 22 ประเทศที่ใช้ ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์มากที่สดุ คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา รองลงมาคือจีน บราซิล และเม็กซิโก

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

17


ตาราง 2.1 ข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์ : เนื อ้ ที่เก็ บเกี่ ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ของประเทศผู้ผลิตสาคัญ 10 อันดับแรก ปี 2552-2554 เนื ้อที่ปลูกข้ าวโพด (ล้ านไร่) 2552 2553 2554 รวมทังโลก ้ 992.967 1,025.436 1,064.988 สหรัฐอเมริกา 201.055 206.003 212.414 จีน 195.023 203.237 209.754 บราซิล 85.342 79.243 82.618 อาร์ เจนตินา่ 14.707 18.142 23.424 ยูเครน 13.057 16.548 22.148 อินเดีย 51.635 53.458 45.438 เม็กซิโก 38.894 44.675 37.932 อินโดนีเซีย 26.004 25.823 24.134 ฝรั่งเศส 10.499 9.819 9.631 โรมาเนีย 14.584 13.089 16.169 ไทย* 6.905 7.268 7.207 อื่นๆ 335.262 348.131 374.119 ประเทศ

ผลผลิตข้ าวโพด (ล้ านตัน) 2552 2553 2554 820.539 850.445 883.460 332.549 316.165 313.918 164.108 177.541 192.904 50.720 55.364 55.660 13.121 22.677 23.800 10.486 11.953 22.838 16.720 21.726 21.570 20.143 23.902 17.635 17.630 18.328 17.629 15.288 13.975 15.709 7.973 9.042 11.718 4.616 4.861 5.022 167.185 175.511 185.063

ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) 2552 2553 2554 826 829 830 1,654 1,535 1,478 841 874 920 594 699 674 892 1,250 1,016 803 722 1,031 324 406 475 518 522 465 578 710 730 1,456 1,423 1,630 547 691 725 668 669 697 499 504 496

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2555) 2.1.2 สถานการณ์อตุ สาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ประเทศไทย ในปี พ.ศ.2555 ประเทศไทยผลิตข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ได้ 4,964,631 ตัน จากพืน้ ที่เพาะปลูกทั่ว ประเทศกว่า 7,366,996 ไร่ และมีปริ มาณการใช้ ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์อยู่ที่ 6,217,117.9 ตัน โดยกว่า 94% ของข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ที่ผลิตได้ ถกู ใช้ ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์ (กรมวิชาการเกษตร, 2009) ด้ าน ปริ มาณการนาเข้ า-ส่งออก ในปี พ.ศ.2555 ประเทศไทยนาเข้ าข้ าวโพด 196,860.91 ตัน จากประเทศลาว และกัม พูช า (สมาคมผู้ผ ลิ ต อาหารสัต ว์ , 2556) และประเทศไทยได้ ส่ ง ออกข้ า วโพดเลี ย้ งสัต ว์ ก ว่ า 122,354.88 ตัน ไปยัง ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ จีน เวียดนาม และ ไต้ หวัน จังหวัดที่มีพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพด

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

18


มากที่สดุ คือเพชรบูรณ์ มีพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดกว่า 968,798 ไร่ รองลงมาคือนครราชสีมา เลย น่าน และ ตาก ตาราง 2.2 ตัวเลขทางเศรษฐกิจที่สาคัญของอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ไทย ปี พ.ศ.

2551

2552

2553

4,249,354

4,616,119

4,860,746

5,022,039

4,964,631

6,691,807

7,098,872

7,480,933

7,415,614

7,366,996

635

650

650

677

674

4,912,377.6

4,848,877.2

5,086,122.5

5,671,868

6,217,117.9

การส่งออก (ตัน)

339,503.78

841,719.45

393,318.87

318,961.45

122,354.88

นาเข้ า (ตัน)

425,398.17

291,863.29

367,247.35

195,552.15

196,860.91

ปริมาณผลผลิต (ตัน) เนื ้อที่เพาะปลูก (ไร่) ปริมาณผลผลิต ต่อไร่ (กิโลกรัม) ปริมาณที่ใช้ ผลิต อาหารสัตว์ (ตัน)

2554

2555

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2555)

ตาราง 2.3 สรุปผลการสารวจพื ้นที่เพาะปลูกและปริมาณข้ าวโพดปี 2554 – 2555 พื ้นที่เพาะปลูก (ไร่) 2554 2555 เพชรบูรณ์ 1,088,255 1,075,536 นครราชสีมา 829,233 816,805 เลย 830,011 825,735 ตาก 686,083 686,013 น่าน 624,949 637,475 เชียงราย 482,469 482,089 จังหวัด

ผลผลิตรวม (ตัน) 2554 2555 746,804 733,246 630,217 610,970 569,921 560,330 454,286 452,129 387,806 398,148 333,211 333,751

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

ผลผลิตต่อไร่ (ก.ก./ไร่) 2554 2555 686 682 760 748 687 679 662 659 621 625 691 692 19


จังหวัด พิษณุโลก นครสวรรค์ แพร่ พะเยา ลพบุรี สระบุรี เชียงใหม่ สระแก้ ว กาแพงเพชร อุทยั ธานี ชัยภูมิ ลาพูน กาญจนบุรี สุโขทัย อุตรดิตถ์ ลาปาง สุพรรณบุรี หนองบัวลาภู จันทบุรี พิจิตร ศรี สะเกษ ขอนแก่น ปราจีนบุรี อุดรธานี แม่ฮอ่ งสอน ชัยนาท เพชรบุรี

พื ้นที่เพาะปลูก (ไร่) 2554 2555 291,348 289,507 254,386 250,107 262,033 262,782 243,501 242,150 246,752 242,102 183,628 181,129 136,399 135,110 124,714 121,930 120,965 116,867 93,540 92,092 121,526 118,852 99,273 100,078 99,576 101,202 111,089 108,018 120,009 102,981 81,666 83,055 61,226 59,788 51,969 51,117 44,617 43,073 27,684 27,422 20,650 21,243 19,964 20,178 13,082 12,682 12,703 12,239 9,590 8,855 5,210 5,138 5,353 5,141

ผลผลิตรวม (ตัน) 2554 2555 193,792 192,051 167,022 163,053 161,109 162,779 158,668 159,363 158,662 154,219 124,133 120,994 89,631 89,332 88,957 87,424 86,699 83,586 77,632 76,031 78,020 75,724 67,109 68,153 65,354 66,793 67,176 64,986 77,041 64,569 55,064 56,248 43,287 42,569 34,313 33,307 26,663 25,758 18,695 18,423 14,296 14,560 12,030 11,972 8,404 8,078 6,593 6,230 5,120 4,667 3,235 3,160 3,192 3,049

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

ผลผลิตต่อไร่ (ก.ก./ไร่) 2554 2555 665 663 657 652 615 619 652 658 643 637 676 668 657 661 713 717 717 715 830 826 642 637 676 681 656 660 605 602 642 627 674 677 707 712 660 652 604 598 675 672 692 685 603 593 642 637 519 509 534 527 621 615 596 583 20


จังหวัด

พื ้นที่เพาะปลูก (ไร่) 2554 2555 4,163 4,292 3,819 3,739 1,323 1,362 1,613 1,659 1,212 1,184 481 475

ผลผลิตรวม (ตัน) 2554 2555 2,495 2,541 2,572 2,490 935 957 868 881 745 721 282 277

ราชบุรี ฉะเชิงเทรา อุบลราชธานี หนองคาย ชลบุรี ประจวบฯ รวมทัง้ 7,415,614 7,366,996 5,022,039 4,964,631 ประเทศ

ผลผลิตต่อไร่ (ก.ก./ไร่) 2554 2555 599 592 673 666 707 706 538 530 615 610 586 589 677

674

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2555) 2.1.3 สถานการณ์ อุตสาหกรรมข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ในจังหวัดน่ าน ในปี พ.ศ.2555 จังหวัดน่านมีพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์กว่า 637,475 ไร่ สูงเป็ นอันดับที่ 5 ของประเทศ และจังหวัดน่านมีผลผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์กว่า 398,148 ตัน คิดเป็ น 8.02% ของปริ มาณ ผลผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ทวั่ ประเทศ ในปี เพาะปลูก 2553/2554 อาเภอที่ปลูกข้ าวโพดมากที่สดุ คือ อาเภอ เวียงสา ใช้ เนื ้อที่กว่า 220,907.25 ไร่ คิดเป็ น 27.67% ของพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดทังจั ้ งหวัด รองลงมาคือ อาเภอนาน้ อย 115,921.75 ไร่ และ อาเภอเมืองน่าน 75,748.25 ไร่ ส่วนอาเภอสันติสุขและอาเภอปั วซึ่ง เป็ นพื ้นที่วิจยั ครัง้ นี ้ ปลูกข้ าวโพดมากเป็ นอันดับที่ 6 และ 9 คือ 40,806.50 ไร่ และ 35,133.25 ไร่ คิดเป็ น 5.11% และ 4.4% ตามลาดับ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

21


ตาราง 2.4 พื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์รายอาเภอ จังหวัดน่าน อาเภอ

พื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ (ไร่) 2549/2550 2550/2551 2551/2552 2552/2553 2553/2554

เมืองน่าน

38,962.00

43,632.00

57,185.00

57,185.00 75,748.25

แม่จริม

25,310.74

20,113.00

40,252.00

41,252.00 46,781.00

บ้ านหลวง

15,564.00

17,698.00

29,801.00

29,801.00 41,393.75

นาน้ อย

70,135.00

83,968.00

93,358.00

94,358.00 115,921.75

ปั ว

18,374.00

15,461.00

27,804.00

27,804.00 35,133.25

ท่าวังผา

23,723.73

16,510.00

50,310.00

50,310.00 66,325.00

เวียงสา

55,135.00

55,664.00

68,523.00 218,446.00 220,907.25

ทุง่ ช้ าง

10,882.00

13,800.00

22,292.00

22,292.00 20,378.25

เชียงกลาง

8,163.73

4,709.00

22,300.00

22,300.00 14,448.75

นาหมื่น

25,966.00

27,322.00

สันติสขุ

17,601.00

31,330.00

20,204.00

20,204.00 40,806.50

บ่อเกลือ

484.00

314.00

1,914.00

1,914.00

สองแคว

12,727.00

5,218.00

20,429.00

20,429.00 20,434.50

ภูเพียง

29,275.00

23,020.00

76,395.00

76,395.00 36,562.75

19,972.00

12,108.00

11,108.00 23,300.00

เฉลิมพระเกียรติ 7,858.00 รวมทังหมด ้

39,860.00

39,860.00

39,553.75 765.00

360,161.20 378,731.00 582,735.00 852,218.92 798,460.00

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดน่าน (2556) 2.1.4 ราคาข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ในประเทศไทย ราคาข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์มีแนวโน้ มเพิ่มสูงขึ ้นตามราคาตลาดโลกและราคานา้ มันดิบที่เพิ่มสูงขึน้ (สานักงานวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร, 2555) โดยราคาที่เกษตรกรขายได้ เพิ่มจากกิ โลกรัมละ 7.43 บาทในปี พ.ศ.2550 เป็ น 8.36 บาทในปี พ.ศ.2554 ส่วนราคาขายส่งในกรุงเทพฯ ก็ปรับตัวเพิ่มจาก 7.99 บาท (ราคา บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

22


ไซโลรับซือ้ ) และ 8.41 บาท (ราคาโรงงานอาหารสัตว์รับซือ้ ) เป็ น 8.56 บาท และ 9.74 บาทตามลาดับ ในขณะที่ราคาส่งออก F.O.B. เพิ่มจาก 8,695 บาทต่อตัน เป็ น 10,145 บาทต่อตัน ส่วนราคา ณ ตลาดชิคา โก้ เพิ่มจาก 5,942 บาทต่อตัน เป็ น 8,008 บาทต่อตัน ราคารับซื ้อข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ที่เกษตรกรขายได้ ขึ ้นอยู่กับปั จจัยต่อไปนี ้ 1) ความชื ้น 2) เชื ้อรา 3) สิ่งเจือปน 4) ราคาประกาศรับซือ้ ของโรงงานอาหารสัตว์ในเครื อเจริ ญโภคภั ณฑ์1 5) ราคาประกาศของ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) และ 6) ต้ นทุนการจัดการ (สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั , 2555, หน้ า 23) ส่วนราคารับซื ้อของโรงงานอาหารสัตว์ภายในประเทศถูกกาหนดโดย 1) ปริ มาณผลผลิต ภายในประเทศ 2) ปริ มาณความต้ องการใช้ 3) คุณภาพของผลผลิต 4) ราคาส่งออก FOB 5) ราคานาเข้ า และ 6) ราคารับซื ้อล่วงหน้ าชิคาโก้ (ศานิต เก้ าเอี ้ยน, 2552) แผนภูมิ 2.1 ราคาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์

ราคาข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์

12

ราคาต่ อกิโลกรัม (บาท)

10 8

ราคาเกษตรกรขายได้

6

ราคาโรงงานอาหารสัตว์รับซื ้อ ราคาไซโลรับซื ้อ

4

ราคาส่งออก F.O.B.

2

ราคาตลาดชิคาโก้

0 2550

2551

2552

2553

2554

ที่มา : สานักงานวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร (2555) จากกราฟราคาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ระหว่างปี 2550-2554 พบว่า ราคาปรับตัวสูงขึ ้นอย่างต่อเนื่ อง ยกเว้ นในปี 2552 ซึง่ ราคาลดลงจากปี 2551 อย่างมีนยั สาคัญ เนื่องจากราคาน ้ามันโลกที่ปรับตัวลดลง ทา 1

ข้ อมูลจากการสัมภาษณ์พอ่ ค้ าคนกลางพบว่า โรงงานอาหารสัตว์อื่นๆ จะใช้ ราคาประกาศรับซื ้อข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์เป็ นราคาอ้ างอิงเพื่อกาหนด ราคารับซื ้อของตนเอง บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

23


ให้ ราคาเอทานอลปรับตัวลดลงตามไปด้ วย ซึ่งราคาข้ าวโพดและราคาเอทานอลมีความสัมพันธ์กนั (Irwin, S. H. & Good, D. L., 2009) ประเด็นที่น่าสังเกตคือ ราคาที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื ้อปรับตัวสูงขึ ้นตังแต่ ้ ปี 2552 แต่ราคาที่เกษตรกรขายได้ และราคาไซโลรับซื ้อกลับทรงตัว ซึ่งแสดงให้ เห็นถึงอานาจต่อรองของ พ่อค้ าคนกลางขนาดใหญ่หรื อระดับภูมิภาคที่เป็ นคนรวบรวมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จากหัวสีหรื อพ่อค้ าคนกลาง ขนาดเล็ก แล้ วนามาขายต่อให้ แก่โรงงานอาหารสัตว์ ที่สามารถต่อรองตรึงราคาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ไม่ให้ ขยับ ตัวเพิ่มขึ ้นตามราคาตลาดโลก ในขณะที่สามารถนาข้ าวโพดไปขายให้ โรงงานอาหารสัตว์ในราคาที่สูงขึ ้น ตามราคาตลาด

2.2 ปั จจัยที่ส่งผลต่ ออุปสงค์ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ 2.2.1 อุปสงค์ ของอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์ ภายในประเทศ เนื่องจากข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์เป็ นวัตถุดิบหลักที่ใช้ ผลิตอาหารสัตว์ มีปริ มาณมากว่า 50% ของ ปริ มาณวัตถุดิบทังหมด ้ ทาให้ ความต้ องการใช้ อาหารสัตว์ภายในประเทศส่งผลกระทบโดยตรงต่ออุปสงค์ ข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ความต้ องการใช้ อาหารสัตว์ ภายในประเทศขึน้ อยู่กับอุตสาหกรรมการเลี ย้ งสัตว์ ใน ประเทศที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องตามความต้ องการบริ โภคเนื ้อสัตว์ที่เพิ่มสูงขึ ้น ซึ่งมีผลมาจากประชากรที่ เพิ่มขึ ้น ตาราง 2.5 ปริมาณการใช้ วตั ถุดบิ เพื่อผลิตอาหารสัตว์ไทย ปี พ.ศ. ข้ าวโพด (ตัน) ปลาป่ น (ตัน) กากถัว่ เหลือง (ตัน) ปลายข้ าว (ตัน) สัดส่วนข้ าวโพดต่อ ปริ มาณวัตถุดิบทังหมด ้ อัตราการขยายตัวของ ข้ าวโพด

2551 4,912,377.6 599,130.7 3,022,512.1 1,141,740.3

2552 4,848,877.2 555,944.9 2,937,694.7 1,086,655.0

2553 5,086,122.5 578,462.5 3,079,213.5 1,154,780.0

2554 5,671,868.0 637,695.5 3,427,941.4 1,292,435.0

2555 6,217,117.9 614,699.1 3,712,496.9 1,337,295.0

50.77%

51.42%

51.38%

51.42%

52.33%

-

-1.29%

4.89%

11.52%

9.61%

ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย (2555)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

24


ตาราง 2.6 ประมาณการประชากรสัตว์ ปริมาณอาหารสัตว์ และวัตถุดบิ

ประชากรสัตว์ ไก่เนื ้อ ไก่พอ่ แม่พนั ธุ์ ไก่ไข่รุ่นเล็ก ไก่ไข่ให้ ไข่ ไก่ไข่พอ่ แม่ พันธุ์ หมูขนุ หมูพนั ธุ์ เป็ ดเนื ้อ เป็ ดพันธุ์ เป็ ดไข่ โคนม กุ้ง (ตัน) ปลา (ตัน) รวม

จานวน (ล้ านตัว)

ปลาป่ น

ปริ มาณ อาหารสัตว์ (ตัน)

ปริ มาณ

%

1,210 13 33 44

4,925,921 678,384 717,113 1,765,200

3 3 3 5

0.6

24,000

3

14 0.8 30 0.3 2.6 0.3 540,000 374,850

4,100,500 781,200 252,000 21,900 169,000 574,875 810,000 630,476 15,450,568

3 5 6 6 8 10 10

(ตัน) 147,777.6 20,351.5 21,513.4 88,260.0

กากถัว่ เหลือง

ปลายข้ าว

% ปริ มาณ (ตัน) % ปริ มาณ (ตัน) % 30 25 25 25

720.0 25 123,015.0 39,060.0 15,120.0 1,314.0 13,520.0 81,000.0 63,047.6 614,699.1

ข้ าวโพด

20 20 20 30 15 5 20 30

1,477,776.3 169,596.0 179,278.1 441,300.0

ปริ มาณ (ตัน)

62 60 60 55

3,054,071.0 407,030.4 430,267.5 970,860.0

-

-

6,000.0 60

14,400.0

-

-

1,025,125.0 37,800.0 2,190.0 86,231.3 189,142.7 6,217,117.9

20 45 35 45 40 -

820,100.0 351,540.0 88,200.0 9,855.0 67,600.0 1,337,295.0

820,100.0 156,240.0 50,400.0 6,570.0 25,350.0 28,743.8 162,000.0 189,142.7 3,712,496.9

25 15 10 15 30

ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย (2555) 2.2.2 ปริมาณผลผลิตและความต้ องการใช้ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ของประเทศสหรัฐอเมริกา ปริ ม าณผลผลิ ตและความต้ องการใช้ ข้าวโพดสหรั ฐอเมริ กาส่ง ผลอย่างมี นัยส าคัญต่ออุปสงค์ ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในไทย เนื่องจากสหรัฐอเมริ กาเป็ นผู้ผลิตและผู้ใช้ ข้าวโพดอันดับ 1 ของโลก มีส่วนสาคัญ ในการกาหนดราคาส่งออกของไทย และกาหนดราคารับซื ้อล่วงหน้ าชิคาโก้ โดยสหรัฐอเมริ กามีปริ มาณ ผลผลิตในปี พ.ศ. 2554 รวม 313.918 ล้ านตัน คิดเป็ น 35.53% ของผลผลิตข้ าวโพดทังโลก ้ อย่างไรก็ตาม 5 ปี ที่ผา่ นมา ผลผลิตข้ าวโพดของสหรัฐฯ ลดลงอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากผลผลิตต่อไร่ลดลง ในปี พ.ศ.2554 เกิดภัยแล้ งครัง้ รุนแรงและกินพื ้นที่กว้ างที่สุดใน 25 ปี ภัยแล้ งครัง้ นี ้ส่งผลกระทบต่อพื ้นที่การเกษตร 80% และส่งผลกระทบต่อผลผลิตข้ าวโพดและถัว่ เหลือง 70-75% มีเขตที่ประสบภัยแล้ งในครัง้ นี ้กว่า 2,000 เขต

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

25


ในขณะที่ผลผลิตลดลง แต่ความต้ องการใช้ ข้าวโพดของสหรัฐฯ กลับเพิ่มสูงขึ ้น เพราะนอกจากจะนาไป ผลิตอาหารสัตว์แล้ ว รัฐบาลสหรัฐฯ ยังมีนโยบายนาข้ าวโพดไปผลิตเป็ นเอทานอลที่ใช้ เป็ นเชื ้อเพลิง โดยใน ปี พ.ศ.2554 สหรัฐฯ นาข้ าวโพดที่ผลิตได้ กว่า 40% ไปผลิตเชื ้อเพลิงเอทานอล (Brester, G. W., 2012) 2.2.3 การส่ งออก ในอดีตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์เคยเป็ นพืชเศรษฐกิจที่ส่งออกมากเป็ นอันดับ 2 รองจากข้ าว โดยมีการ ส่งออกสูงสุดในปี พ.ศ.2528/29 เป็ นปริ มาณมากถึง 3.8 ล้ านตัน (สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย , 2555, หน้ า 1) แต่ปัจจุบนั ปริ มาณการส่งออกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ลดน้ อยลง เนื่องจากความต้ องการใช้ ใน ประเทศเพิ่มสูงขึ ้นเรื่ อยๆ โดยในปี พ.ศ.2555 ประเทศไทยส่งออกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์เพียง 122,354.88 ตัน มูลค่า 1,181.72 ล้ านบาท (สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, 2556) โดยส่งออกไปยังประเทศฟิ ลิปปิ นส์ จีน เวียตนาม และไต้ หวัน มีเพียงในปี พ.ศ.2552 ที่มีปริ มาณการส่งออกกว่า 1.246 ล้ านตัน จากการระบาย สต็อกข้ าวโพดที่รัฐบาลรับจานาไว้ 2.2.4 ราคาของวัตถุดบิ ทดแทน ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์เป็ นวัตถุดิบที่นามาผลิตอาหารสัตว์เพื่อให้ คาร์ โบไฮเดรต นอกเหนือจากพืชชนิด อื่น อาทิ มันสาปะหลัง และข้ าวสาลี ดังนันหากข้ ้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์มีราคาสูงในขณะที่พืชทดแทนมีราคา ค่อนข้ างต่า ผู้ผลิตอาหารสัตว์อาจหันมาใช้ พืชทดแทนในการผลิตอาหารสัตว์แทนข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ส่งผล ให้ อปุ สงค์ของข้ าวโพดลดลง (สานักงานวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร, 2555) อย่างไรก็ตาม จากการสัมภาษณ์ บริษัทผู้ผลิตอาหารสัตว์พบว่า แม้ จะมีการนาวัตถุดิบประเภทแป้งอื่นๆ มาทดแทนข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในช่วง ที่ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์มีราคาสูง แต่ก็ไม่สามารถนามาใช้ ทดแทนได้ ทงหมด ั้ เนื่องจากข้ าวโพดมีสารอาหารที่ จาเป็ นบางชนิดซึ่งวัตถุดิบอื่นไม่มี ดังนันผู ้ ้ ผลิตจึงจาเป็ นจะต้ องใช้ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์เป็ นส่วนผสมในการ ผลิตอาหารสัตว์ แม้ วา่ ราคาของวัตถุดบิ ทดแทนจะถูกกว่าราคาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ก็ตาม 2.3 ปั จจัยที่ส่งผลต่ ออุปทานข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ 2.3.1 สภาพอากาศและภัยธรรมชาติ สภาพอากาศและภัยธรรมชาติส่งผลโดยตรงต่ออุปทานของข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ หากเกิดพายุในช่วง ที่ข้าวโพดกาลังโต พายุอาจพัดให้ ลาต้ นข้ าวโพดหักพับลง และหากเกิดภาวะแล้ งหรื อฝนทิ ้งช่วงก็จะส่งผล บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

26


ต่อปริ ม าณและคุณ ภาพผลผลิ ตข้ าวโพด ส่วนในพื น้ ที่ ซึ่ง ประสบภัย แล้ ง อาจส่ง ผลให้ เ กษตรกรผู้ปลูก ข้ าวโพดหันมาปลูกมันสาปะหลังแทนในปี ถัดไป เพราะเป็ นพืชที่ทนแล้ งมากกว่า ทาให้ ปริ มาณผลผลิต ข้ าวโพดจะลดลง (สานักงานวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร, 2555) 2.3.2 การชลประทาน พืน้ ที่ ชลประทานมีศักยภาพในการปลูกข้ าวโพดสูง กว่าพื น้ ที่ที่ปลูกด้ วยนา้ ฝน ในปี พ.ศ.2554 ผลผลิ ต ข้ า วโพดเลี ย้ งสัต ว์ เ ฉลี่ ย ต่อไร่ ทัง้ ประเทศอยู่ที่ 677 กิ โ ลกรั ม ในขณะที่ ผ ลผลิ ต เฉลี่ ย ของพื น้ ที่ ชลประทานอยูท่ ี่ 722 กิโลกรัมต่อไร่ (สานักบริหารจัดการน ้าและอุทกวิทยา, 2555, หน้ า 11) ประเทศไทยมี พื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดในพื ้นที่ชลประทานเพียง 102,227 ไร่ หรื อคิดเป็ นเพียง 1.37% ของพื ้นที่เพาะปลูก ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ทงประเทศ ั้ 2.3.3 ราคาพืชแข่ งขัน แม้ วา่ ปริมาณผลผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จะมีแนวโน้ มเพิ่มสูงขึ ้น แต่พื ้นที่เพาะปลูกทังประเทศกลั ้ บมี จานวนลดลง เนื่องจากเกษตรกรหันไปปลูกพืชแข่งขัน เช่น มันสาปะหลัง อ้ อยโรงงาน หรื อยางพารา ที่ให้ ผลตอบแทนสูง กว่า เมื่อดูพื น้ ที่เพาะปลูกข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์โดยเปรี ยบเทียบกับอ้ อย มันสาปะหลังและ ยางพารา ตังแต่ ้ ปี พ.ศ.2532 พบว่า พื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดลดลงจากกว่า 11 ล้ านไร่ เหลือเพียงประมาณ 7 ล้ านไร่ในปี พ.ศ.2553 ในขณะที่อ้อยขยายตัวเพิ่มขึ ้นจากประมาณ 4 ล้ านไร่ เป็ นประมาณ 6 ล้ านไร่ ส่วน มันสาปะหลังเพิ่มจากเดิมที่น้อยกว่า 1 ล้ านไร่ เป็ น 1.3 ล้ านไร่ และยางพาราเพิ่มจากประมาณ 6 ล้ านไร่ เป็ นกว่า 18 ล้ านไร่ (สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั , 2555)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

27


แผนภูมิ 2.2 ความเคลื่อนไหวด้ านราคาของพืชแข่งขัน

ที่มา: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (2555) 2.3.4 นโยบายรัฐ นโยบายรั ฐ ที่ ส่ง ผลกระทบต่อ อุป ทานข้ า วโพดเลี ย้ งสัต ว์ ภ ายในประเทศได้ แ ก่ นโยบายนาเข้ า ข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์ จ ากต่า งประเทศเพื่ อการส่ง ออกและการผลิต อาหารสัต ว์ ใ นประเทศ และโครงการ แทรกแซงราคาตลาดข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ เช่น นโยบายประกันราคาและนโยบายจานาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ซึ่งมี เป้าหมายรักษาระดับราคาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ไม่ให้ ตกต่า 1) นโยบายรับจานาข้ าวโพด ในปี การผลิต พ.ศ.2551/2552 รัฐบาลตังเป ้ ้ าปริ มาณการรับจานาไว้ ที่ 1.5 ล้ านตัน ในราคา 8.50 บาทต่อกิโลกรัมที่ความชื ้น 14% ราคา 7.44 บาทที่ความชื ้น 20% 6.61 บาทที่ความชื ้น 25% และ 5.95 บาทที่ความชื ้น 30% โดยเปิ ดรับจานา 2 ช่วงคือ เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม และมกราคม – มีนาคม ใน บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

28


วงเงินไม่เกิน 350,000 บาทต่อราย ในโครงการนี ้มีเกษตรกร 63,256 คน นาข้ าวโพด 874,814 ตัน มาจานา กับองค์การคลังสินค้ า ส่วนในปี การผลิต พ.ศ.2555/2556 รัฐบาลตังเป ้ ้ าปริ มาณการรับจานาไว้ ที่ 1 ล้ านตัน ในราคา กิโลกรัมละ 9 บาทที่ความชื ้น 15% (ประชาชาติธุรกิจออนไลน์, 2556) 2) นโยบายประกันราคา ในปี การผลิต พ.ศ.2552/2553 รัฐบาลดาเนินโครงการประกันราคาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ โดยกาหนด ราคาประกันไว้ ที่ 7.10 บาทต่อกิโลกรัมที่ความชื ้น 14.5% โดยรัฐบาลประกาศราคาอ้ างอิงทุกๆ 15 วัน เกษตรกรผู้เข้ าร่วมโครงการจะทาสัญ ญากับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ โดยเกษตรกรสามารถนา ข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์มาจ านาได้ ไ ม่เกินครัวเรื อนละ 20 ตัน ระยะเวลาดาเนินโครงการคือ ระหว่างเดือน กรกฎาคม 2552 ถึงเดือนเมษายน 2553 (สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์, n.d.) 3) นโยบายการนาเข้ าข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ข้ อมูลจากสานักเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี (2555) ระบุว่า รัฐบาลมีนโยบายและมาตรการนาเข้ า ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ปี พ.ศ.2556 ดังต่อไปนี ้  การนาเข้ าภายใต้ ความตกลงเขตการค้ าเสรี อาเซียน หรื อ AFTA และการลงทุนเกษตรพันธ สัญญากับประเทศเพื่อนบ้ าน (Contract Farming) ภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ ความร่วมมื อทางเศรษฐกิจอิระวดีเจ้ าพระยา-แม่โขง หรื อ ACMECS กาหนดภาษี นาเข้ าร้ อยละ 0 นาเข้ าโดยองค์การคลังสินค้ า (อคส.) สามารถนาเข้ าได้ ตลอดทัง้ ปี ส่วนผู้นาเข้ าทั่วไป นาเข้ าได้ ช่วงเดือนมีนาคม – กรกฎาคม ต่อมาในเดือน มกราคม ปี 2556 รัฐบาลอนุมตั ิให้ อคส.นาเข้ าข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จากประเทศลาวประมาณ 2 แสนตัน ใน อัตราภาษี นาเข้ าร้ อยละ 0 ในช่วงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ 2556 เพื่อการส่งออกไปประเทศที่สาม และ นาเข้ าข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จากประเทศกัมพูชาประมาณ 2.5 แสนตัน ในอัตราภาษี ร้อยละ 0 ในช่วงเดือน สิงหาคมและเดือนพฤศจิกายน 2556 – มกราคม 2557 เพื่อนามาใช้ เป็ นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์ ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ที่ปลูกในประเทศลาวและกัมพูชาส่วนใหญ่เป็ นข้ าวโพดจากประเทศไทย ซึ่งนักลงทุนไทย ไปลงทุนในรูปแบบเกษตรพันธสัญญา

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

29


 การนาเข้ าตามความตกลงองค์การการค้ าโลก หรื อ WTO ภาษี นาเข้ าภายในโควต้ าร้ อยละ 20 ปริ มาณโควต้ า 54,700 ตัน โดยให้ อคส.เป็ นผู้นาเข้ าไม่จากัดเวลา ภาษี นาเข้ านอกโควต้ าร้ อยละ 73 และ ค่าธรรมเนียมพิเศษตันละ 180 บาท  การนาเข้ าตามความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจที่ใกล้ ชิดกันยิ่งขึ ้นไทย-นิวซีแลนด์ หรื อ TNZCEP ภาษี น าเข้ า ร้ อยละ 0 ยกเว้ น การก าหนดการน าเข้ า ไม่ต้ อ งขออนุญ าตน าเข้ า และไม่ต้ อ งปฏิ บัติต าม มาตรการในการจัดระเบียบการนาเข้ า  การนาเข้ าตามความตกลงการค้ าเสรี ไทย-ออสเตรเลีย หรื อ TAFTA ภาษี นาเข้ าในโควต้ าร้ อย ละ 9.33 ปริมาณโควต้ า 8,081.68 ตัน นาเข้ าตาม WTO ภาษีนอกโควต้ าร้ อยละ 65.7  การนาเข้ าตามความตกลงการค้ าเสรี ไทย-ญี่ปนุ่ หรื อ JTEPA ภาษี ในโควต้ าร้ อยละ 0 นาเข้ า ตาม WTO ภาษีนอกโควต้ าร้ อยละ 73  การน าเข้ า ตามความตกลงการค้ า เสรี อ าเซี ย น-ญี่ ปุ่ น หรื อ AJCEP ภาษี น าเข้ า ในโควต้ า ระหว่าง 1 มกราคม – 31 มีนาคม 2556 รัอยละ 10.90 ระหว่าง 1 เมษายน – 31 ธันวาคม 2556 ร้ อยละ 9.10 นาเข้ าตาม WTO ภาษีนอกโควต้ าร้ อยละ 73  การนาเข้ าตามความตกลงการค้ าเสรี อาเซียน-เกาหลี หรื อ AKFTA ภาษี ในโควต้ าร้ อยละ 6.67 นาเข้ าตาม WTO ภาษีนอกโควต้ าร้ อยละ 73  การนาเข้ าทั่วไป (ประเทศนอกข้ อตกลง) ภาษี นาเข้ ากิโลกรัมละ 2.75 บาท ค่าธรรมเนียม พิเศษตันละ 1,000 บาท นโยบายจานา ประกันราคา และส่ ง เสริ ม การนาเข้ าของรั ฐดังสรุ ปข้ างต้ น พบว่าล้ วนเป็ นไปใน ทิศทางเดียวกัน นัน่ คือ ส่งเสริ มอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ทังฝั ้ ่ งเกษตรกร (นโยบายจานาและประกัน ราคา) และฝั่ งผู้ซือ้ รายใหญ่คืออุตสาหกรรมอาหารสัตว์ (นโยบายลดภาษี นาเข้ า) มีส่วนเพิ่มแรงจูงใจให้ เกษตรกรปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ตอ่ ไป แม้ ในปี ที่ราคาที่เกษตรกรขายได้ ตกลงไปจนเกือบเท่าทุน ดังตัวอย่าง ปี 2552 ซึง่ ราคาข้ าวโพดในตลาดโลกลดลงตามราคาน ้ามันที่ลดลง แต่พื ้นที่เพาะปลูกและปริ มาณผลผลิต

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

30


ในปี ถัดไปกลับเพิ่มสูงขึ ้นดังแสดงในกราฟ เนื่องจากในปี 2552 รัฐบาลมีนโยบายจานาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์มา ช่วยเหลือเกษตรกรไม่ให้ ขาดทุนจากการปลูกข้ าวโพด นโยบายสนับสนุนของรัฐข้ างต้ น ประกอบกับสถานการณ์ตลาดโลกและสถานการณ์ในประเทศซึ่ง มีความต้ องการข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ไปใช้ ในการผลิตอาหารสัตว์และผลิตเชื ้อเพลิงเอทานอลเพิ่มขึน้ อย่าง ต่อเนื่อง ส่งผลให้ เกษตรกรมีแรงจูงใจทางเศรษฐกิจสูงมากในการปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ตอ่ ไป เนื่องจากมี ความเสี่ยงด้ านราคาต่ามาก กล่าวคือ ความต้ องการที่สงู ขึ ้นทาให้ ราคาในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ ้น ส่งผล ให้ ราคาในประเทศปรับตัวเพิ่มขึ ้นตาม และหากราคาตกต่าลง ก็ยงั มีรัฐบาลเข้ ามาช่วยเหลือ แผนภูมิ 2.3 ข้ อมูลสาคัญของอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ 18 16 14

ราคาเกษตรกรขายได้ (บาท)

12

ต้ นทุน (บาท) ราคารับจานา/ประกัน (บาท)

10

เนื ้อที่เพาะปลูก (ล้ านไร่)

8

ปริมาณผลผลิต (ล้ านตัน)

6

ปริมาณนาเข้ า (ล้ านตัน) ปริมาณส่งออก (ล้ านตัน)

4

ผลผลิตอาหารสัตว์ (ล้ านตัน)

2 0

2551

2552

2553

2554

2555

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (ศสส./สวศ.) กรมศุลกากร กระทรวงพาณิชย์ สมาคมพ่อค้ าข้ าวโพด และพันธุ์พืชไทย Chicago Board of Trade อ้ างใน สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย (2556)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

31


2.4 สรุ ปข้ อค้ นพบสาคัญและนัยของข้ อค้ นพบในบทนี ้ ข้ อค้ นพบ

นัยสาคัญ

1. จังหวัดน่านมีพืน้ ที่เพาะปลูกข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ อาเภอสันติสุขและอาเภอปั ว พื ้นที่วิจยั ครัง้ นี ้ อยู่ใน กว่า 651,410 ไร่ สูงเป็ นอันดับที่ 4 ของประเทศ ในปี ลุ่มนา้ ยาว-อวน-มวบ ซึ่งเป็ นพืน้ ที่ป่าต้ นนา้ สาคัญ พ.ศ.2555 มีผลผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์กว่า 452,730 ในจัง หวัด น่าน การที่ ส องพื น้ ที่ ดัง กล่า วมี ผลผลิ ต ตัน คิดเป็ น 9.47% ของปริ มาณผลผลิตทั่วประเทศ ข้ าวโพดอันดับที่ 6 และ 9 ของจังหวัด ผลผลิต ในปี เพาะปลู ก 2553/2554 อ าเภอสั น ติ สุ ข และ ทังหมดถู ้ กส่งออกนอกจังหวัด เป็ นส่วนหนึ่งของห่วง อ าเภอปั ว พื น้ ที่ วิ จัย ครั ง้ นี ้ ปลูก ข้ า วโพดมากเป็ น โซ่ อุ ป ทานระดั บ ชาติ แปลว่ า พื น้ ที่ วิ จั ย ได้ รั บ อันดับที่ 6 และ 9 ของจังหวัด คือ 40,806.50 ไร่ ผลกระทบจากโครงสร้ างและสถานการณ์ ข อง และ 35,133.25 ไร่ คิดเป็ น 5.11% และ 4.4% อุตสาหกรรมโดยตรง ตามลาดับ 2. ราคารั บซื อ้ ข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์ ของผู้รับ ซื อ้ ใน ราคาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ที่เ กษตรกรขายได้ ขึ ้นอยู่กับ ท้ อ งถิ่ น หรื อ ราคาที่ เ กษตรกรขายได้ ขึน้ อยู่กับ 1) หลายปั จจัย การที่ราคาประกาศรับซือ้ ของโรงงาน ความชื ้น 2) เชื ้อรา 3) สิ่งเจือปน 4) ราคาประกาศรับ อาหารสัตว์ในเครื อเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี) เป็ นปั จจัย ซือ้ ของโรงงานอาหารสัตว์ในเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ หลัก ในการก าหนดราคาของผู้ รั บ ซื อ้ ในท้ องถิ่ น 5) ราคาประกาศของธนาคารเพื่ อ การเกษตรและ สะท้ อนว่าเครื อซี พี มี อานาจการต่อรองสูง ที่ สุดใน สหกรณ์ (ธกส.) และ 6) ต้ นทุนการจัดการ

ห่วงโซ่อปุ ทาน

3. ราคาที่ โรงงานอาหารสัตว์รับซือ้ ปรับตัวสูงขึน้ แสดงให้ เห็น ถึง อานาจต่อรองของพ่อค้ าคนกลาง ตังแต่ ้ ปี 2552 แต่ราคาที่เกษตรกรขายได้ และราคา ขนาดใหญ่ ห รื อ ระดับ ภู มิ ภ าคที่ เ ป็ นคนรวบรวม ไซโลรับซื ้อกลับทรงตัว

ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จากหัวสีหรื อพ่อค้ าคนกลางขนาด เล็ก แล้ วนามาขายต่อให้ แก่โรงงานอาหารสัตว์ ที่ สามารถต่อ รองตรึ ง ราคาข้ า วโพดเลี ย้ งสัตว์ ไ ม่ใ ห้ ขยั บ ตัว เพิ่ ม ขึ น้ ตามราคาตลาดโลก ในขณะที่ สามารถนาข้ าวโพดไปขายให้ โรงงานอาหารสัตว์ใน ราคาที่สงู ขึ ้นตามราคาตลาด

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

32


ข้ อค้ นพบ

นัยสาคัญ

4. จากการสัมภาษณ์บริ ษัทผู้ผลิตอาหารสัตว์พบว่า การที่ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์เป็ นส่วนผสมสาคัญในการ แม้ จะมีการนาวัตถุดิบประเภทแป้งอื่นๆ มาทดแทน ผลิ ตอาหารสัตว์ ไม่มี วัตถุดิบ ชนิ ดใดที่ ท ดแทนได้ ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในช่วงที่ ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์มีราคา ทังหมด ้ หมายความว่าความต้ องการข้ าวโพดเลี ้ยง สู ง แต่ ก็ ไ ม่ ส ามารถน ามาใช้ ทดแทนได้ ทั ง้ หมด สัตว์ขึ ้นอยู่กับสถานการณ์ของอุตสาหกรรมอาหาร เนื่องจากข้ าวโพดมีสารอาหารที่จาเป็ นบางชนิดซึ่ง สัตว์โดยตรง มากกว่าสถานการณ์ โดยเฉพาะด้ าน วัต ถุดิ บ อื่ น ไม่ มี ดัง นัน้ ผู้ ผลิ ต จึ ง จ าเป็ นจะต้ อ งใช้ ราคาของวัตถุดบิ ทดแทน ข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์เ ป็ นส่วนผสมในการผลิ ตอาหาร สัตว์ แม้ ว่าราคาของวัตถุดิบทดแทนจะถูกกว่าราคา ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ก็ตาม 5. นโยบายจานา ประกันราคา และส่งเสริ ม การ นโยบายสนั บ สนุ น ของรั ฐ ส่ ง ผลให้ เกษตรกรมี นาเข้ า ของรั ฐ ดัง สรุ ป ข้ า งต้ น พบว่าล้ ว นเป็ นไปใน แรงจูงใจทางเศรษฐกิจสูงมากในการปลูกข้ าวโพด ทิ ศ ทางเดี ย วกั น นั่ น คื อ ส่ ง เสริ มอุ ต สาหกรรม เลี ้ยงสัตว์ตอ่ ไป เนื่องจากมีความเสี่ยงด้ านราคาต่า ข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ทัง้ ฝั่ ง เกษตรกร (นโยบายจานา มาก กล่าวคือ ความต้ องการที่สงู ขึ ้นทาให้ ราคาใน และประกั น ราคา ) และฝั่ ง ผู้ ซื อ้ รายใหญ่ คื อ ตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ ้น ส่งผลให้ ราคาในประเทศ อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ (นโยบายลดภาษีนาเข้ า)

ปรั บตัวเพิ่มขึน้ ตาม เมื่ อใดที่ราคาตกต่าลง ก็ยั ง มี รัฐบาลเข้ ามาช่วยเหลือ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

33


3. ผลกระทบของอุตสาหกรรมข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ในจังหวัดน่ าน ในภาพรวม งานวิจยั ทุกฉบับสรุปผลในทิศทางเดียวกันว่า ถึงแม้ การปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จะเพิ่ม รายได้ ให้ กบั ประชากรน่านอย่างมีนยั สาคัญ แต่ปัญหาที่ตดิ ตามมาทางเศรษฐกิจ คือ ภาระหนี ส้ ินและความ เหลื่อมล ้าทางรายได้ ที่รุนแรงขึ ้น อันเนื่องมาจากโครงสร้ างการผลิตและการตลาดของข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ซึ่ง เป็ นตลาดผู้ซื ้อน้ อยราย (ดู 4. และ 5. รูปแบบห่วงโซ่อปุ ทานและแผนที่ห่วงโซ่อปุ ทาน) นอกจากนี ้ การปลูก ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ยงั ส่งผลอย่างร้ ายแรงต่อนิเวศบริ การ (Ecosystem Services) และสภาพสิ่งแวดล้ อม อัน เกิดจากการบุกรุ กที่ดินเพื่อเพิ่มปริ มาณพืน้ ที่ทาการเกษตร ตลอดจนปริ มาณสารเคมี ปุ๋ย และยากาจัด ศัตรูพืช ซึ่งไม่เพียงส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม แต่ยงั บ่อนทาลายสุขภาพของเกษตรกรผู้ปลูกในระยะยาว อีกด้ วย

3.1 ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม 3.1.1 ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมจากกิจกรรมการปลูกข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ งานวิจยั เรื่ อง “ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ กลไกสู่ความเหลื่อมล ้าในระดับท้ องถิ่น กรณีศกึ ษา: ห่วงโซ่การ ผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ อ.เวียงสา จ.น่าน” (เขมรัฐ เถลิงศรี & สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน, 2555) ศึกษาความ เหลื่อมล ้าทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ ้นระหว่างผู้เล่นรายต่างๆ ในห่วงโซ่อุปทานการผลิตและจาหน่ายข้ าวโพด เลี ย้ งสัต ว์ ข องอ าเภอเวี ย งสา จัง หวัด น่ า น โดยท าการศึ ก ษาเชิ งปริ ม าณทางเศรษฐมิ ติ แ ละสถิ ติ ประกอบการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อประเมินผลกระทบของการปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ตอ่ การสะสมความมัง่ คัง่ ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้ อง งานวิจัยชิน้ นีส้ รุ ปว่าการปลูกข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ไม่เพียงไม่ช่วยแก้ ปัญหาความ ยากจน แต่ยงั ดึงให้ เกษตรกรเข้ าไปติด “วงจรอุบาทว์ ” ของความยากจน และส่งเสริ มให้ ความเหลื่อมล ้า ทางรายได้ ในชนบททวีความรุนแรงยิ่งขึ ้น งานวิจัยดัง กล่าวได้ นาเสนอผลการส ารวจจาก อ.เวี ยงสา จ.น่าน และพิจ ารณาความสัมพันธ์ ระหว่างผู้เล่นที่สาคัญ 3 ราย ได้ แก่ 1) เกษตรกรรายย่อย 2) ผู้รับจ้ างสี (หัวสี) และ 3) ผู้รวบรวมข้ าวโพด (ไซโล) พบว่า ปั จจัยที่ส่งเสริ มให้ เกิดความเหลื่อมล ้า คือลักษณะโครงสร้ างการซื ้อขายข้ าวโพด ซึ่งเอื ้อให้ หัวสี และไซโล สามารถสะสมความมั่ง คั่ง ผ่านอ านาจทุน และลดความเสี่ ยงด้ านราคาขาย ในขณะที่ เกษตรกรรายย่อยต้ องเป็ นผู้แบกรับความเสี่ยงด้ านราคา ต้ นทุ นที่สูงขึ ้น และความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

34


โดยไม่สามารถเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตได้ เนื่องจากเผชิญกับข้ อจากัดทางกายภาพและโครงสร้ างของระบบการ ผลิต ซึ่งเป็ นตลาดผู้ซื ้อน้ อยรายที่ผ้ ซู ื ้อหลักคือโรงงานอาหารสัตว์มีอานาจการต่อรองสูงกว่าผู้มีส่วนได้ เสีย อื่นๆ ในห่วงโซ่อปุ ทานมาก ปั จ จัย ถัด มาที่ มี ค วามส าคัญ ต่อ ความเหลื่ อ มล า้ ทางเศรษฐกิ จ คื อ ลัก ษณะเฉพาะของพื น้ ที่ เพาะปลูก โดยผู้วิจยั ค้ นพบว่าเกษตรกรที่ปลูกข้ าวโพดบนพื ้นที่ราบอาจสามารถสะสมความมัง่ คัง่ ได้ บ้าง แต่เกษตรกรที่เพาะปลูกบนพื ้นที่ลาดชันแทบจะไม่มีโอกาสสะสมความมัง่ คัง่ หรื อซ ้าร้ ายอาจทาให้ ยิ่งปลูก ยิ่งจนลง เนื่องจากโครงสร้ างของพื ้นที่ชนั ซึง่ ไม่เอื ้ออานวยต่อการเพาะปลูก ผลักให้ เกษตรกรบนพื ้นที่ชนั ตก อยูใ่ นวงจรของหนี ้นอกระบบและมีต้นทุนที่สงู กว่าเกษตรกรในพื ้นที่ราบ ถึงแม้ เกษตรกรที่เพาะปลูกบนพื ้นที่ชนั จะครอบครองพื ้นที่เฉลี่ยมากกว่าเกษตรกรในพื ้นที่ราบ แต่ กลับมีรายได้ สทุ ธิตอ่ ไร่น้อยกว่า เพราะได้ ปริมาณผลผลิตต่อไร่ต่ากว่า จาเป็ นต้ องใช้ อปุ กรณ์การเพาะปลูก ที่ราคาแพงกว่า และมีอตั ราการพึ่งพิงเงินกู้นอกระบบผ่านระบบการให้ สินเชื่อเป็ นวัตถุดิบของผู้รับจ้ างสี และไซโลเอกชน มากกว่าเกษตรกรในพื ้นที่ราบ การที่ไม่สามารถสะสมเงินทุน และไม่สามารถเข้ าถึงเงินกู้ ในระบบ ได้ ทาให้ เกษตรกรขาดอานาจตลาดและจาเป็ นต้ องซือ้ วัตถุดิบในราคาที่สูงกว่า อีกทังต้ ้ องจ่าย ดอกเบี ้ยในปริมาณที่แพงกว่ามาก ผู้วิจยั ได้ อภิปรายถึงสาเหตุที่เกษตรกรพื ้นที่ชนั มีอตั ราการกู้ยืมเงินนอกระบบมากกว่าเกษตรกรใน พื ้นที่ราบว่า ไม่เพียงเกิดจากการไม่มีเอกสารสิทธิ์ถือครองที่ดนิ ที่ถกู ต้ องเท่านัน้ แต่อาจเกิดจากสภาพสังคม ที่ เ อื อ้ ต่อการรั กษาสถานะทางสัง คมของผู้ให้ ก้ ูนอกระบบด้ วย เพราะพื น้ ที่ ชันมักจะอยู่ห่างไกลตลาด ห่างไกลแหล่งเงินกู้ในระบบ ห่างไกลแหล่งความรู้ ขาดทักษะเทคโนโลยีรูปแบบใหม่ นาไปสู่ความเชื่อที่ว่า การมีความสัมพันธ์กบั พ่อค้ าคนกลางหรื อแหล่งเงินกู้นบั เป็ นสิ่งที่พึงปรารถนา (เขมรัฐ เถลิงศรี & สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน, 2555, p. 29) งานวิจัยฉบับนีย้ ัง ได้ ศึกษาถึง ปั จจัยต่างๆ ที่ส่ง ผลกระทบโดยตรงต่อรายได้ ของเกษตรกร โดย ปั จจัยเชิงบวก ได้ แก่ 1) ระดับการศึกษา หากการศึกษาสูง รายได้ ของเกษตรกรจะสูงขึ ้น 2) มูลค่าทรัพย์ สิน ทีใ่ ช้ดาเนิ นการ (Asset) ยิ่งมีมลู ค่าของทรัพย์สินสะสมมาก รายได้ สทุ ธิจากการเพาะปลูกก็จะยิ่งมีมากขึ ้น 3) จานวนพื ้นที ่เพาะปลูก ยิ่งมีพื ้นที่จานวนมากก็จะยิ่งมีรายได้ ดี 4) เอกสารสิ ทธิ์ การครอบครองที ่ดินที ่ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

35


ถูกต้อง หากมีโฉนดหรื อ นส.3 เกษตรกรจะสามารถเข้ าถึงแหล่งทุนในระบบและแหล่งกู้ราคาถูกมากยิ่งขึ ้น 5) ความห่างไกลจากตัวอาเภอ ยิ่งพื ้นที่เพาะปลูกห่างไกลจากอาเภอมากเท่าไร รายได้ สทุ ธิจะยิ่งเพิ่มขึ ้น โดยอาจเป็ นเพราะพืน้ ที่ซึ่งห่างไกลตัวอาเภอยังคงมีอุดมสมบูรณ์ กว่า เนื่องจากถูกใช้ เพาะปลูกมาเป็ น ระยะเวลาน้ อยกว่า ส่วนปั จจัยที่ส่งผลกระทบเชิงลบต่อรายได้ ของเกษตรกรได้ แก่ 1) ปริ มาณหนี ้นอกระบบ ซึ่งมีอตั รา ดอกเบี ้ยราคาแพงและมีสญ ั ญาผูกมัดการขายที่ส่งผลลบโดยตรงต่อปริ มาณรายได้ ยิ่งมีปริ มาณหนี ้นอก ระบบมาก เกษตรกรจะมีแนวโน้ มรายได้ และการสะสมความมัง่ คัง่ น้ อยลง 2) ระดับความชื ้นของข้าวโพด ซึง่ ยิ่งมีคา่ ความชื ้นมาก จะยิ่งขายได้ ราคาต่าลง 3) และปั จจัยสุดท้ ายซึ่งผลงานฉบับนี ้เน้ นความสาคัญมาก คือ เรื่ อง ความชันของพืน้ ที เ่ พาะปลูก หากพื ้นที่ยิ่งชันเกษตรกรจะยิ่งมีรายได้ สทุ ธิต่าลงอย่างเห็นได้ ชดั ข้ อสังเกตประการหนึ่งที่ เขมรัฐ เถลิงศรี & สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน (2555) ได้ ค้นพบจากการสารวจ ด้ วยแบบสอบถามและคานวณทางเศรษฐมิติคือ การมีเอกสารสิทธิ์ซึ่งสามารถนาไปค ้าประกันการกู้ยืมใน ระบบได้ นนั ้ ไม่สง่ ผลโดยตรงต่อการลดปริมาณหนี ้นอกระบบ เนื่องจากปั จจุบนั เกษตรกรสามารถกู้เงินผ่าน ระบบบุค คลคา้ ประกันโดยไม่จ าเป็ นต้ องมี สินทรั พ ย์ คา้ ประกัน อย่า งไรก็ ดี มี ปัจ จัยเชิ ง สถาบันอื่ นๆ ที่ โดยรวมแล้ ว ผลักดัน ให้ เ กษตรกรซึ่ ง มี เ อกสารสิ ทธิ์ ใ นที่ ดิ น ที่ ถูก ต้ อง มี ปริ ม าณหนี น้ อกระบบน้ อยกว่ า เกษตรกรที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ อีกหนึ่งปั จจัยที่ผ้ ูวิจยั ให้ ความสาคัญและพบว่าส่ง ผลต่อความเหลื่อมล ้าทางเศรษฐกิจเป็ นอย่าง มากคือ นโยบายสนับสนุนการปลูกข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์ ของภาครั ฐ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2525 ตามแผนพัฒ นา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 ซึง่ ขาดการคานึงถึงลักษณะเฉพาะของพื ้นที่และข้ อจากัดทางสถาบัน หลายนโยบายยังขาดความครอบคลุม เกษตรกรสามารถเข้ าถึงความช่วยเหลือต่างๆ อย่างไม่เท่าเทียมกัน โดยงานวิจยั ฉบับนี ้เสนอว่านโยบายด้ านราคา และนโยบายสินเชื่อ อาจส่งผลให้ เกษตรกรติดอยู่ในวงจร การเพาะปลูกข้ าวโพดซึง่ สร้ างความเหลื่อมล ้าและความยากจนต่อไปเรื่ อยๆ ยกตัวอย่างเช่น นโยบายด้ าน แหล่งเงินทุนให้ ก้ ยู ืม ที่ไม่สอดคล้ องกับราคาปั จจัยการผลิตที่สงู ขึ ้นและไม่เพียงพอต่อความต้ องการเงินทุน ผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ตลอดฤดูกาล ทาให้ เกษตรกรต้ องกู้เงินนอกระบบเพิ่มเติมมาใช้ หนี ้ ธ.ก.ส. เพื่อรักษา ประวัติการกู้ หรื อระยะเวลาเรี ยกเก็บหนี ้ที่ไม่สอดคล้ องกับลักษณะฤดูกาลเพาะปลูก ทาให้ เกษตรกรต้ อง

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

36


รี บขายข้ าวโพดมาใช้ หนี ้ทังที ้ ่ได้ ราคาต่า หรื อโครงการพักชาระหนี ้ซึ่งไม่อนุญาตให้ ขอกู้เพิ่มเติมระหว่างพัก ชาระหนี ้ ทาให้ เกษตรกรยิ่งจาเป็ นต้ องพึง่ พาเงินกู้นอกระบบมากขึ ้น เป็ นต้ น ข้ อค้ นพบด้ านผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของ เขมรัฐ เถลิงศรี & สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน (2555) สอดคล้ องกับผลการศึกษาของ มนตรี กุลเรื องทรัพย์ (2541) ถึงแม้ ว่างานวิจยั ชิ ้นนี ้จะทาการศึกษา ก่อนถึง 14 ปี ก็ตาม โดยพบว่าปั จจัยพื ้นฐานเรื่ องความสามารถในการผลิต การเพิ่มคุณภาพสินค้ า และ โครงสร้ างตลาด ได้ ผลักดันให้ เกษตรกรเกิดภาระด้ านหนี ้สินและความเหลื่อมล ้าในลักษณะคล้ ายคลึงกัน เช่น ลักษณะความจาเป็ นต้ องรี บขายผลผลิตในขณะที่ความชื ้นยังสูง หรื อขายในช่วงเวลาที่ราคายังไม่ดี เพื่อมาใช้ หนี ้ การขาดทุนสะสม หรื อการขาดความสามารถในการเก็บผลผลิตและเพิ่มคุณภาพ ทาให้ เกิด ราและมอดทาลายคุณภาพผลผลิ ต ถึงแม้ งานศึกษาฉบับนีจ้ ะไม่ได้ เน้ นคานวณเพื่ อค้ นหาปริ มาณการ สะสมความมัง่ คัง่ และวัดความเหลื่อมล ้า แต่ได้ ทาการศึกษาปั ญหาที่ส่งผลกระทบกับรายได้ และวิถีชีวิต ของเกษตรกรในเชิงสถิติ ซึ่งสรุปประเด็นให้ เห็นภาพได้ อย่างชัดเจน และข้ อสรุ ปในภาพรวมของงานชิ ้นนี ้ ยังคงเป็ นจริ งจนถึงปั จจุบนั โดย มนตรี กุลเรื องทรัพย์ (2541) ได้ เสนอปั จจัยที่ทาให้ เกษตรกรมีรายได้ น้อย และตกอยูใ่ นวงจรของหนี ้สิน ดังนี ้ 1) ด้ านการผลิต  เกษตรกรประสบปั ญหาเรื่ องราคาของปั จจัยการผลิตที่ค่อนข้ างสูง เนื่องจากเมล็ด พันธุ์ข้าวโพดราคาแพง และคุณภาพไม่ดีเท่าที่ควร ทาให้ ได้ ผลผลิตต่อไร่ ต่า นอกจากนีย้ ัง ประสบกับ ปั ญ หาการรบกวนของศัต รู พื ช ซึ่ง ท าให้ ต้ อ งใช้ จ่ า ยค่า ยาปราบศัต รู พื ช จ านวนมาก โดยค่า ใช้ จ่ า ย ประกอบด้ วยค่าเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย ยาปราบศัตรูพืช และค่าจ้ างแรงงาน  สถานการณ์ดงั กล่าวนาไปสูป่ ั ญหาขาดแคลนเงินทุนสาหรับการใช้ จ่ายด้ านปั จจัยการ ผลิต เพราะจาเป็ นต้ องใช้ เงินสดเกือบทังหมด ้ เกษตรกรจึงจาเป็ นต้ องกู้ยืมจากสถาบันการเงินเป็ นจานวน มาก ทังในและนอกระบบ ้  เมื่อเปรี ยบเทียบสัดส่วนระหว่างต้ นทุนกับกาไรแล้ ว ปรากฏว่าเกษตรกรได้ รับกาไร เพียง 0.16 บาท ต่อการลงทุน 1 บาท เนื่องจากต้ นทุนการผลิตสูงมาก บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

37


 วิเคราะห์ค้นพบว่า พื ้นที่ปลูกจะเปลี่ยนแปลงไปโดยขึ น้ อยู่กับราคาข้ าวโพดในตลาด ของปี ที่ผ่านมา และจานวนปศุสตั ว์ภายในประเทศ ซึ่งส่งผลต่อปริ มาณความต้ องการการใช้ ข้าวโพดเป็ น วัตถุดบิ อาหารสัตว์ 2) ด้ านการตลาด  เกษตรกรส่วนใหญ่ขาดความรู้ ไม่ทราบข่าวสารด้ านการตลาดและราคาล่วงหน้ า จากรัฐก่อนการตัดสินใจขายผลผลิต  เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีสถานที่ตากผลผลิตเพียงพอ และใช้ วิธีแขวนตาก ไม่มีการอบ ลดความชืน้ หรื อใช้ สารเคมีป้องกันมอดและเชือ้ รา ทาให้ เก็บผลผลิตไว้ ได้ ไม่นาน และจาเป็ นต้ องขาย ผลผลิตในขณะที่ยงั มีความชื ้นสูง จึงขายได้ ในราคาต่า 

เกษตรกรขาดแคลนเงินทุนหมุนเวียน จึงจาเป็ นต้ องเร่ งรี บ ขายผลผลิตเพื่อนาเงิน

มาหมุนเวียนใช้ จา่ ย ทาให้ เสียเปรี ยบทางการตลาด 

เกษตรกรไม่มี อ านาจในการก าหนดราคาด้ ว ยตนเอง ต้ อ งยึด ราคาจากพ่อ ค้ า

ท้ องถิ่นและพ่อค้ าท้ องที่ ซึ่งก็กาหนดราคาจากตลาดปลายทางที่กรุงเทพฯ ทาให้ เกษตรกรไม่สามารถเลือก ราคาที่จะคุมทุนเพียงพอกับต้ นทุนที่ก้ ยู ืมมาใช้ เพื่อผลิตข้ าวโพดได้ ในช่วงที่ราคาตกต่า ถึงแม้ ว่าในปั จจุบนั ปั จจัยบางข้ อจะเปลี่ยนแปลงไป เช่น เทคโนโลยีด้านการสื่อสารที่ทนั สมัยและ เข้ าถึงเกษตรกรมากยิ่งขึ ้นได้ ช่วยให้ เกษตรกรทราบข่าวสารด้ านราคาก่อนตัดสินใจขายผลผลิต และการ รวมตัวเพื่ อต่อรองให้ ภ าครัฐ เข้ า มาประกันราคาในเวลาที่ราคาข้ าวโพดในตลาดตกต่ามากๆ ได้ ทาให้ เกษตรกรมีอานาจในโครงสร้ างตลาดมากขึ ้น แต่ปัจจัยเชิงลบในด้ านอื่นๆ ก็ยงั คงส่งผลกระทบต่อสภาพ เศรษฐกิจและภาวะหนี ้ของเกษตรกรในลักษณะเดิม นอกจากนี ้ งานศึกษาของ สาวิตร มีจ้ ุย และคณะ (2551) เรื่ อง “โครงการการพัฒนาทางเลือก ระบบเกษตรที่เหมาะสมเพื่อทดแทนการปลูกข้ าวโพดบนพื ้นที่ลาดชัน โดยเกษตรกรมีส่วนร่ วมของจังหวัด

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

38


น่าน” ได้ ศกึ ษาข้ อมูลสภาพการปลูกข้ าวโพดทาง เศรษฐศาสตร์ สังคม ของอาเภอเวียงสา นาน้ อย สันติสขุ และปั ว ของจังหวัดน่าน เพื่อพัฒนาทางเลือกสาหรับทดแทนการปลูกข้ าวโพดของจังหวัดน่าน ข้ อค้ นพบจากการสารวจอาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอปั ว สรุปได้ ว่าเกษตรกรส่วนใหญ่จบ การศึกษาเพียงประถมศึกษาตอนต้ น และประถมศึกษาตอนปลาย ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ปลูกข้ าวโพด ในช่วงประมาณ 2-10 และ 20-25 ปี เกษตรกรเกือบทังหมดปลู ้ กข้ าวโพดบนพื ้นที่ลาดชัน เนื่องจากเป็ น ลักษณะพืน้ ที่ของอาเภอสันติสุขและตาบลอวน อาเภอปั ว ซึ่งเป็ นที่ทากินของตนเองมาช้ านาน แต่ไม่มี เอกสารสิทธิ์ โดยข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์คือผลผลิตที่เป็ นรายได้ สาคัญที่สดุ ของชาวบ้ าน รองลงมาคือข้ าว และ ไม้ ผลตามลาดับ นอกจากนีย้ ังมีรายได้ มาจากการรับจ้ างแรงงานทั่วไป รับจ้ างก่อสร้ างและการแปรรู ป ผลผลิต เกษตรกรบางส่วนพอใจกับรายได้ ที่ได้ รับ แต่บางรายก็กล่าวว่ารายได้ ทงหมดนี ั้ ้ยังไม่เพียงพอต่อ การดารงชีวิต สาวิ ต ร มี จ้ ุย และคณะ (2551) ค้ น พบลัก ษณะทางสัง คมที่ เ กิ ด ขึ น้ จากการปลูก ข้ า วโพดว่ า เกษตรกรยังมีความเป็ นชุมชนและความใกล้ ชิดกันสูง มีความเชื่อ ประเพณี วิถีชีวิตซึ่งยังคงรู ปแบบเดิม โดยเกษตรกรจะพึง่ พาอาศัยกันและมีการร่วมกันลงแขก ช่วยเหลือกันในหมู่บ้าน มีการจ้ างแรงงานกันเอง ในหมูบ่ ้ าน และจ้ างแรงงานภายนอกเข้ ามาเสริ มในบางพื ้นที่ รูปแบบการเกษตรของการปลูกข้ าวโพดเลี ้ยง สัตว์บนที่ลาดชันซึ่งต้ องใช้ แรงงานมาก ทาให้ สังคมลักษณะนีย้ งั คงรู ปแบบในอดีตมาจนถึงปั จจุบนั โดย เกษตรกรได้ รับข้ อมูลวิธีการปลูกข้ าวโพดจากการถ่ายทอดกันมาเป็ นอันดับแรก รองลงมาคือการบอกเล่า จากเพื่อนบ้ าน และจากเกษตรอาเภอเป็ นลาดับสุดท้ าย งานวิจัยฉบับนีค้ ้ นพบว่า ปั ญหาที่ร้ายแรงที่สุดในด้ านเศรษฐกิจและสังคม คือปั ญหาหนีส้ ิน อัน เนื่องมาจากการขาดแคลนเงินทุน ซึง่ เป็ นผลกระทบมาจากการที่วสั ดุและปั จจัยการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ราคาสูงขึ ้นเรื่ อยๆ ประกอบกับราคาผลผลิตที่พ่อค้ ารับซื ้อนันไม่ ้ แน่นอน ข้ อค้ นพบดังกล่าวสอดคล้ องกับ งานวิจยั ของ สานักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดน่าน (2555) ซึ่งสรุปว่าเกษตรกรประสบปั ญหาหลักได้ แก่ ต้ นทุนสูง ประกอบกับผลผลิ ตต่อไร่ ต่า ค่าเช่าพื น้ ที่ ปลูกสูง ค่าขนส่งไปยัง แหล่ง รั บซื อ้ สูง ราคาปุ๋ยเคมี ยากาจัด ศัตรูพืช วัชพืช ค่าเมล็ดพันธุ์ที่สูงขึ ้นเรื่ อยๆ ประกอบกับการที่เกษตรกรรายย่อยไม่มีไซโลเก็บผลผลิตทาให้ ไม่สามารถทาราคาได้ เนื่องจากมักจะถูกพ่อค้ าคนกลางกดราคาในช่วงฤดูการเก็บเกี่ยวข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

39


ซึง่ มีผลผลิตออกสูต่ ลาดพร้ อมกัน ทังยั ้ งต้ องประสบปั ญหาด้ านภัยธรรมชาติ ปริ มาณน ้าฝนที่น้อยเกินไปใน บางปี ส่งผลให้ เกษตรกรได้ รับความเดือดร้ อน ปั ญ หาเรื่ องหนี ส้ ินของเกษตรกรสะท้ อนออกมาในงานวิจัยของสานักงาน ธ.ก.ส. จัง หวัดน่าน (2555) ซึ่งค้ นพบว่าเกษตรกร 62.18% ใช้ เงินกู้ในการลงทุนปลูกข้ าวโพดทังหมด ้ เกษตรกร 35.29% ใช้ เงินกู้และเงินทุนส่วนตัวรวมกันในการลงทุน และมีเกษตรกรเพียง 2.52% เท่านันที ้ ่ใช้ เงินทุนส่วนตัวเพียง อย่างเดียวในการลงทุนเพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ โดยหากนับตามจานวนเกษตรกร ส่วนใหญ่จะพึ่งพา สินเชื่อจาก ธ.ก.ส. ถึง 87.39% รองลงมาคือกู้เงินจากนายทุนจานวน 5.88% ที่เหลือกู้เงินกองทุนอื่นๆ เช่น กองทุนหมูบ่ ้ าน เป็ นต้ น (สานักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดน่าน, 2555, p. 36)

3.2 ผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมและระบบนิเวศ การประเมินระบบนิเวศแห่งสหัสวรรษ (Millennium Ecosystem Assessment Report: MA) เป็ น กรอบการประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศต่อความเป็ นอยู่ของมนุษย์ ประกอบด้ วยการ ประเมินสถานการณ์และแนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและบริ การจากระบบนิเวศต่างๆ เพื่อ นาไปสู่การจัดการที่ยงั่ ยืน (Island Press, 2003; The MA business and industry synthesis team, 2005) รายงาน “การประเมินระบบนิเวศและกาหนดทางเลือกการพัฒนาสู่การอยู่ดีมีสุขในจังหวัดน่าน” (สถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย, 2012) เป็ นการประเมินระบบนิเวศย่อย (Sub-Global Assessment: SGA) เพื่อ ช่วยสะท้ อนแนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นในแต่ละพื ้นที่ โดยยึดกรอบ MA เป็ นแนวทางการวิเคราะห์ และประเมิน และเชื่อมโยงให้ เห็นความสัมพันธ์ระหว่างบริ การระบบนิเวศและความอยู่ดีมีสขุ โดยเชื่อมโยง แผนงานความยากจนและสิ่งแวดล้ อมเข้ าไปด้ วย การประเมิน SGA ในพื ้นที่ล่มุ น ้ายาว จังหวัดน่าน มี จุดประสงค์เพื่อตอบโจทย์เชิงนโยบายว่า “จังหวัดน่านจะขับเคลื่อนนโยบายการเกษตรท่ามกลางการส่งเสริ มการ ปลูกพืชเชิงพาณิชย์ไปพร้ อมกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม เพื่อให้ คงประสิทธิภาพในการอานวยประโยชน์ของระบบนิเวศและให้ ประชาชนอยู่ ดีมีสขุ ได้ อย่างไร” (สถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย, 2012, หน้ า 20) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

40


จากรายงาน SGA โดยสถาบันสิ่งแวดล้ อมไทยดังกล่าว สามารถสรุปความสัมพันธ์และผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้ อมจากการปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในพื ้นที่ลมุ่ น ้ายาว จังหวัดน่าน ดังแผนภาพต่อไปนี ้ แผนภูมิ 3.1 ความสัมพันธ์ และผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อม จากการปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในพืน้ ที่ล่มุ นา้ ยาว-อวน-มวบ จังหวัดน่าน ภัยธรรมชาติ

ความเสียหายจากอุทกภัย

คุณภาพดิน พื ้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ ้น พื ้นที่ป่าลดลง

ปั จจัยภายนอก

คุณภาพน ้า

ความหลากหลาย ทางชีวภาพ

การใช้ สารเคมี กิจกรรมในการเพาะปลูก

คุณภาพอากาศ เผาเพื่อเตรียม พื ้นที่เพาะปลูก

ที่มา : สรุปจาก สถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย (2012) อุปสงค์และราคาข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ที่เพิ่มขึน้ กอปรกับนโยบายภาครัฐ ในการส่ง เสริ มการปลูก ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ส่งผลให้ พื ้นที่การเกษตรขยายตัวอย่างรวดเร็ ว ขณะที่พื ้นที่ป่าลดลง จากข้ อมูลปี 25432552 พบว่า พื ้นที่ป่าไม้ ในจังหวัดน่านลดลงจากร้ อยละ 77.8 เป็ นร้ อยละ 69.98 คิดเป็ นพื ้นที่ป่าไม้ ที่ลดลง 897.592 ตารางกิโลเมตร การเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์ที่ดินจากป่ าไม้ เป็ นพื ้นที่เกษตรกรรมส่งผลต่อ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน นอกจากนี ้พืชที่มีระบบรากฝอยเช่นข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ยงั ไม่สามารถยึดเกาะดิน ไว้ ได้ ส่งผลให้ หน้ าดินถูกทาลายและถูกชะล้ างไปเป็ นตะกอนในแหล่งน ้าโดยง่าย โดยเฉพาะในฤดูฝนที่น ้า ในแหล่งน ้าจะขุน่ และมีตะกอนแดงจากการชะล้ างหน้ าดินในพื ้นที่เกษตรบริเวณต้ นน ้าและพื ้นที่สงู แม้ ว่ายัง

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

41


ไม่มีการวัดค่าที่ ชัดเจนแต่ก็พบการสะสมของตะกอนบริ เวณหลัง แนวฝายและคันกัน้ นา้ ต่างๆ (สถาบัน สิ่งแวดล้ อมไทย, 2012) สาหรับกิจกรรมในการเพาะปลูกที่ส่งผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมอย่างชัดเจนได้ แก่ การใช้ สารเคมี และการเผาเพื่อเตรี ยมพื ้นที่เพาะปลูก โดยการใช้ สารเคมีการเกษตรในจังหวัดน่านเพิ่มขึ ้นตามการขยายตัว ของพื ้นที่เพาะปลูก การปลูกข้ าวโพดเป็ นกิจกรรมที่มีสารเคมีเข้ ามาเกี่ยวข้ องในหลายขันตอน ้ ตังแต่ ้ การ คลุกเมล็ดพันธุ์กันเชือ้ ราและศัตรู พืช การใช้ ป๋ ยเคมี ุ รองพื ้น รวมถึงสารกาจัดวัชพืชและยาฆ่าหญ้ าต่างๆ โดยในปี 2552 ปริ มาณการใช้ สารเคมีในการปลูกข้ าวโพดคิดเป็ นร้ อยละ 82.8 ของการใช้ สารเคมีทาง การเกษตรทัง้ หมดในจัง หวัดน่านและส่ง ผลโดยตรงต่อคุณภาพนา้ อย่างไรก็ ตาม ยัง ไม่มี การตรวจวัด สารเคมีปนเปื อ้ นในแหล่งน ้าอย่างชัดเจน การฉีดพ่นสารเคมีทาให้ เกษตรกรจานวนมากป่ วยเป็ นโรคระบบ ทางเดินหายใจและมีสารเคมีตกค้ างในเลือดในระดับเสี่ยง (ดู 3.3 ผลกระทบต่อสุขภาพ) ขณะที่คณ ุ ภาพ อากาศได้ รับผลกระทบจากการเผาเพื่อเตรี ยมพื ้นที่เพาะปลูกมากกว่าการฉีดพ่นสารเคมี ปั ญหาหมอกควัน และฝุ่ นปรากฏชัดเจนมากขึ ้นตังแต่ ้ ปี 2548 โดยปริ มาณฝุ่ นละอองขนาดเล็ก 2 ที่วดั ในเดือนมีนาคมเกินค่า มาตรฐานทังในปี ้ 2552-2553 (ค่าเฉลี่ย 164-195 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) และ 2554 (ค่าเฉลี่ย 133.6 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)3 (สถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย, 2012) ฝุ่ นละอองขนาดเล็ กจะมีผ ลกระทบต่อสุขภาพอนามัยมากกว่าฝุ่ นละอองขนาดใหญ่ เนื่องจาก สามารถเข้ าถึงระบบทางเดินหายใจส่วนในได้ (พัชราวดี สุวรรณธาดา, 2556) จึงก่อให้ เกิดผลกระทบต่อ ปอด ระบบทางเดินหายใจ หัวใจและระบบไหลเวียนโลหิต เช่น การอักเสบและติดเชื ้อ หอบหืด สมรรถภาพ ในการแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง ความเสี่ยงหัวใจวายเพิ่มขึ ้น เป็ นต้ น โดยค่ามาตรฐานความปลอดภัย ของฝุ่ นละอองขนาดเล็กในเวลา 24 ชัว่ โมง จะต้ องไม่เกิน 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และในเวลา 1 ปี จะต้ องไม่เกิน 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (สานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง, 2546) คุณภาพดิน น ้า และอากาศที่เสื่อมโทรมลง ส่งผลต่อความหลากหลายทางชีวภาพ อันสะท้ อนให้ เห็นจากปริ มาณผลผลิตของป่ าที่ ลดลง เช่น พื ชอาหาร พื ชสมุนไพร เป็ นต้ น นอกจากนีย้ ังนามาซึ่งภัย ธรรมชาติที่รุนแรงขึ ้น โดยเฉพาะอุทกภัยน ้าหลากในพื ้นลุม่ น ้าตอนบนและน ้าท่วมในพื ้นที่ราบลุ่ม ซึ่งเป็ นผล 2 3

ฝุ่ นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน ถือว่าเป็ นฝุ่ นละอองขนาดเล็ก (respirable dust) เทียบกับค่ามาตรฐานที่ 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

42


มาจากแม่น ้าตื ้นเขินจากดินตะกอน ไม่สามารถระบายน ้าได้ ทนั ทังยั ้ งสูญเสียพื ้นที่ป่าในการกักเก็บและ ชะลอน ้าอีกด้ วย (สถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย, 2012) มีการศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์ที่ดินต่อระบบนิเวศและบริ การระบบ นิเวศอย่างกว้ างขวาง การเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์ที่ดินมิได้ ส่งผลกระทบทางลบเพียงอย่างเดียว แต่ นามาซึ่งผลกระทบทางบวกในหลายกรณี เช่น การเพิ่มผลผลิตอาหารนาไปสู่ความเป็ นอยู่ ที่ดีขึ ้น เป็ นต้ น (Lambin and others, 2003) อย่างไรก็ดี หากเป็ นการเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์ที่ดินที่ก่อให้ เกิดการตัด ไม้ ทาลายป่ าแล้ วย่อมนามาซึ่งผลทางลบต่อระบบนิเวศ บริ การระบบนิเวศ ตลอดจนความกินดีอยู่ดีของ มนุษย์ นอกจากนี ้การฟื น้ ตัวของระบบนิเวศที่เสื่อมโทรมยังเป็ นไปได้ ยากและใช้ เวลานานอีกด้ วย (Lampin and others, 2003) ซึ่งงานวิจยั หลายชิ ้นก็สนับสนุนผลทางลบดังกล่าว เช่น การตัดไม้ ทาลายป่ าส่งผลต่อ ความหลายหลายทางชีวภาพผ่านการทาลายที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต (MacDonald, 2003 ใน Lampin and others, 2003) การสูญเสียพื ้นที่ป่าส่งผลต่อความหนาแน่นของประชากรสัตว์เลี ้ยงลูกด้ วยนมขนาด ใหญ่ (Pattanavibool and others, 2004) เป็ นต้ น รูปภาพ 3.1 การปลูกข้ าวโพดบนพื ้นที่ลาดชัน อาเภอสันติสขุ จังหวัดน่าน

ที่มา : การสารวจภาคสนาม (ภาพถ่ายวันที่ 25 มิถนุ ายน 2556)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

43


สาหรับการทาลายพื ้นที่ป่าต้ นน ้านันจะน ้ ามาซึ่งผลกระทบทางลบที่รุนแรงกว่าการสูญเสียพื ้นที่ป่า ในบริ เวณอื่นๆ เนื่องจากพืน้ ที่ป่าต้ นนา้ ให้ บริ การระบบนิเวศที่สาคัญอย่างยิ่งคือ การควบคุมการดูดซับ น ้าฝนของดิน และการระบายน ้าจากชันดิ ้ นลงสู่ลาธาร ป่ าไม้ ทาหน้ าที่แบ่งน ้าฝนออกเป็ นน ้าผิวดินและน ้า ใต้ ผิวดิน โดยลักษณะภูมิประเทศจะทาหน้ าที่ควบคุมการไหลของน ้าผิวดิน ขณะที่ชนิดของดินและความ ลึกของชันดิ ้ นจะทาหน้ าที่ควบคุมการเคลื่อนตัวของน ้าใต้ ผิวดิน การทาลายป่ าต้ นน ้าเป็ นการเปลี่ยนแปลง โครงสร้ างของระบบนิเวศต้ นน ้า เพราะเมื่อความสามารถในการปกคลุมดินลดลงจะทาให้ น ้าฝนตกสู่พื ้นดิน เร็วและแรงขึ ้น ทาให้ ดินถูกอัดแน่น เมื่อโครงสร้ างระบบนิเวศเปลี่ยนไปก็ส่งผลต่อการทางานตามหน้ าที่อนั ได้ แก่ความสามารถในการดูดซับน ้าของผิวดินที่ลดลง ซึ่งส่งผลต่อเนื่องไปถึงการให้ บริ การของระบบนิเวศ ต้ นน ้า เช่น การควบคุมการพังทลายของดิน ซึ่งการทาลายป่ าต้ นน ้าทาให้ เกิดการพังทลายของหน้ าดินสูง กว่าป่ าธรรมชาติประมาณ 10 เท่า ผลกระทบต่อระบบนิเวศต้ นน ้าเป็ นสาเหตุสาคัญของนาป่ าไหลหลาก และอุทกภัยช่วงฤดูฝน การขาดแคลนน ้าในฤดูแล้ ง และเป็ นสาเหตุหนึ่งของเหตุการณ์อทุ กภัยครัง้ ใหญ่เมื่อ ปี 2554 (พงษ์ ศกั ดิ์ วิทวัสชุตกิ ลุ , 2554) ในปั จจุบนั มีพื ้นที่ต้นน ้าทังสิ ้ ้นร้ อยละ 24.18 ของพื ้นที่ทงประเทศ ั้ ภาคเหนือมีพื ้นที่ต้นน ้ามากที่สดุ คือร้ อยละ 46.3 ของพื ้นที่ต้นน ้าทังหมด ้ โดยส่วนใหญ่เป็ นพื ้นที่สงู มีความลาดชัน และสมควรรักษาไว้ เป็ น ป่ าอนุรักษ์ อย่างไรก็ดีการประเมินพื ้นที่ป่าไม้ ปี 2554 พบว่า พื ้นที่ป่าไม้ ในประเทศเหลืออยู่น้อยกว่าพื ้นที่ ต้ นน ้าที่กาหนดไว้ (พงษ์ ศกั ดิ์ วิทวัสชุติกุล, 2554) ซึ่งสะท้ อนปั ญหาการทาลายป่ าต้ นน ้าที่สอดคล้ องกับ สถานการณ์ภยั พิบตั ทิ ี่เกิดขึ ้นดังที่ได้ กล่าวมา

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

44


รูปภาพ 3.2 เขตป่ าสงวนแห่งชาติในจังหวัดน่าน

อาเภอปั ว

อาเภอสันติสขุ

ที่มา: สานักจัดการที่ดนิ ป่ าไม้ กรมป่ าไม้ (2556)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

45


ตาราง 3.1 พื ้นที่จงั หวัดน่านจาแนกตามการใช้ ประโยชน์ที่ดนิ ปี 2550 และปี 2552 ปี 2550 จานวนพื ้นที่ (ไร่)

ปี 2552 จานวนพื ้นที่ (ไร่)

การใช้ ประโยชน์ จานวนพื ้นที่ จานวนพื ้นที่ ร้ อยละ ร้ อยละ ที่ดนิ (ตร.กม.) (ตร.กม.) พื ้นที่ 2,612.328 1,632,705.12 22.77 3,114.762 1,946,726.19 27.15 เกษตรกรรม พื ้นที่ป่าไม้ 8,525.047 5,328,154.50 74.31 8,027.908 5,017,442.21 69.98 ที่อยู่อาศัยและ 191.480 119,674.72 1.67 194.716 121,697.72 1.70 ชุมชน แหล่งน ้า 71.230 44,518.44 0.62 70.510 44,068.68 0.61 พื ้นที่อื่นๆ 71.992 44,994.71 0.63 64.180 40,112.70 0.56 รวม 11,472.076 7,170,047.500 11,472.076 7,170,047.500 ที่มา: กรมพัฒนาที่ดนิ (อ้ างใน Report on the Sub-Global Assessment for Nan, 2012)

ตาราง 3.2 พื ้นที่ป่าไม้ จงั หวัดน่าน ระหว่างปี 2550 - 2552

พื ้นที่ป่าไม้ (ตร.กม.) ร้ อยละต่อพื ้นที่จงั หวัด

ปี 2550 8,525.05 74.31

ปี 2551 8,165.68 71.18

ปี 2552 8,027.91 69.98

ที่มา: ดัดแปลงข้ อมูลจากกรมพัฒนาที่ดิน , กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (อ้ างใน สถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย, 2012) โครงการการพัฒนาทางเลือกระบบเกษตรที่เหมาะสมเพื่อทดแทนการปลูกข้ าวโพดบนพื ้นที่ลาดชัน โดยเกษตรกรมีส่วนร่วมของจังหวัดน่าน (สาวิตร มีจ้ ยุ และคณะ, 2551) ได้ เก็บข้ อมูลผลกระทบเชิงนิเวศ ของดินในแปลงปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ และแหล่งน ้าบริ เวณใกล้ เคียงพื ้นที่ปลูก ในอาเภอเวียงสา นาน้ อย สันติสุข และปั ว ระหว่างเดือนมีนาคม-สิงหาคม 2551 ด้ วยเล็งเห็นว่าพื ้นที่ดินและแหล่งน ้าเหล่านี ้น่าจะ ได้ รั บ ผลกระทบจากการใช้ ป๋ ุยและสารเคมี ใ นการปลูก ข้ า วโพดเลี ย้ งสัต ว์ ม าเป็ นระยะเวลาหลายปี บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

46


ผลกระทบทางลบจากสารเคมีเหล่านี ้ต้ องใช้ เวลานานหลายปี กว่าจะปรากฏ แต่เมื่อเกิดขึ ้นแล้ วก็ย ากที่จะ แก้ ไขให้ ระบบนิเวศกลับคืนสูส่ ภาพเดิมได้ สาวิตร มีจ้ ยุ และคณะ (2551) พบว่าพื ้นที่ศกึ ษาปี 2551 ทัง้ 4 อาเภอมีการเพาะปลูกข้ าวโพดมา เป็ นเวลานาน ซึ่งการเพาะปลูกโดยลดชนิดของพืชหรื อการปลูกพืชชนิดเดียว (monoculture) ทาให้ ความ หลากหลายของชนิดพื ช (crop diversity) ลดลง ซึ่ง ส่ง ผลโดยตรงต่อความอุดมสมบูรณ์ ของดินและ องค์ประกอบของสิ่ง มีชี วิตในระบบนิเ วศ ผลกระทบที่เกิดขึน้ ได้ แก่ มี วัช พืช และแมลงมากขึน้ เนื่ องจาก สามารถต้ านทานสารเคมีได้ ดีขึ ้น นกและสัตว์ป่าลดปริมาณลง แหล่งน ้าธรรมชาติตื ้นเขินและด้ อยคุณภาพ ส่วนผลกระทบจากการสอบถามเกษตรกรพบว่า พื ้นที่เพาะปลูกเสื่อมสภาพ ดินขาดความอุดม สมบูรณ์ ตลอดจนมีโรคระบาดและแมลงศัตรูพืชมากขึ ้น ทาให้ ต้องใช้ สารเคมีทงปุ ั ้ ๋ ยและสารกาจัดศัตรูพืช เพิ่มขึ ้น นอกจากนี ้เกษตรกรยังแสวงหาและขยายพื ้นที่เพาะปลูกออกไปในพื ้นที่ใหม่ เกิดการบุกรุกและทา ให้ พื ้นที่ป่าลดลง นาไปสูค่ วามเสื่อมโทรมของระบบนิเวศในระยะยาว 3.2.1 การวิเคราะห์ หาการเปลี่ยนแปลงของพืน้ ที่ป่าไม้ และพืน้ ที่ปลูกข้ าวโพด ของลุ่มนา้ สาขา ยาว-อวน-มวบ โดยสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (GISTDA) ได้ วิเคราะห์ หาการเปลี่ยนแปลงของพื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ปลูกข้ าวโพดของปี 2545 ปี 2550 และปี 2556 ด้ วยการนา ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) มาประยุกต์ใช้ ในการวิเคราะห์ ข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียมของพื ้นที่ศกึ ษา ได้ แก่ ตาบลพงษ์ ตาบลดูพ่ งษ์ ตาบลป่ าแลวหลวง อาเภอสันติสขุ และต าบลอวน อ าเภอปั ว โดยการน าข้ อมู ล พื น้ ที่ ป่ าไม้ และพื น้ ที่ ป ลู ก ข้ าวโพดของแต่ ล ะปี (2545/2550/2556) ที่ได้ จากการแปลตีความมาซ้ อนทับกันและวิเคราะห์ด้วยวิธียูเนียน (Union) เพื่อหา พื น้ ที่ ที่มี ก ารเปลี่ ย นแปลงของแต่ล ะปี

จากนัน้ คานวณหาพื น้ ที่ ป่ าไม้ แ ละพื น้ ที่ ป ลูกข้ าวโพดที่ มี การ

เปลี่ยนแปลงของแต่ละปี 1) ข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ใช้ ข้อมูลดาวเทียมทังหมด ้ 7 ภาพ ประกอบด้ วย บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

47


ปี 2545 ข้ อมูลดาวเทียม Landsat-7 วันที่ 09/02/2545 ข้ อมูลดาวเทียม Landsat-7 วันที่ 07/05/2545 ข้ อมูลดาวเทียม Landsat-5 วันที่ 13/04/2545 ปี 2550 ข้ อมูลดาวเทียม Landsat-5 วันที่ 31/01/2550 ข้ อมูลดาวเทียม Landsat-5 วันที่ 03/02/2550 ปี 2556 ข้ อมูลดาวเทียม Landsat-8 วันที่ 20/04/2556 ข้ อมูลดาวเทียม Landsat-8 วันที่ 29/05/2556 2) วิธีการวิเคราะห์หาพื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ปลูกข้ าวโพดจากข้ อมูลดาวเทียม ปรับแก้ ความคลาดเคลื่อนเชิงตาแหน่ง (Geometric correction) เป็ นการปรับแก้ ข้อมูลภาพถ่าย ดาวเทียมทังหมดให้ ้ มีคา่ พิกดั ถูกต้ องตามพิกดั บนพื ้นโลก เพื่อใช้ คานวณตาแหน่ง ระยะทาง และพื ้นที่ การปรับปรุ งคุณภาพข้ อมูล (Image enhancement) เป็ นการปรับปรุ งคุณภาพข้ อมูลภาพถ่าย ดาวเทียมเพื่อให้ มีความชัดเจน เหมาะสมต่อการเข้ าสู่กระบวนการจาแนกต่อไป โดยในการวิเคราะห์การ เปลี่ยนแปลงของพื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ปลูกข้ าวโพดของปี 2545 ปี 2550 และปี 2556 ได้ ใช้ วิธีการผสมช่วง คลื่น (Band) ข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียมให้ เป็ นแบบสีผสมเท็จ (False Color Composite) เพื่อนาไปจาแนก ข้ อมูลประเภทพืชพรรณต่อไป แปลตี ค วามข้ อ มูล ภาพถ่า ยดาวเที ย มด้ ว ยสายตา (Visual

Interpretation)

โดยพิจ ารณา

องค์ประกอบต่างๆ ได้ แก่ ความเข้ มของสี (Tone/Color) ขนาด (Size) รูปร่าง (Shape) เนื ้อภาพ (Texture) รูปแบบ (Pattern) ความสูงและเงา (Height and Shadow) ที่ตงั ้ (Site) และความเกี่ยวพัน (Association) เพื่อจาแนกพื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ปลูกข้ าวโพดของแต่ละปี บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

48


3) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียมถูกนามาวิเคราะห์และจาแนกการใช้ ประโยชน์ที่ดินแบ่งเป็ น 2 ประเภท ได้ แก่ พื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพด และพื ้นที่ป่าเบญจพรรณ โดยมิได้ พิจารณาการใช้ ประโยชน์ที่ดินในลักษณะ อื่นๆ 4) สรุปสถานการณ์พื ้นที่เพาะปลูก เปรี ยบเทียบกับพื ้นที่ป่า เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของพื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ปลูกข้ าวโพดในภาพรวมของทัง้ 4 ตาบล พบว่าพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดในปี พ.ศ.2550 เพิ่มขึ ้นจากปี พ.ศ.2545 ทังสิ ้ ้น 12,446 ไร่ หรื อ 23.36% โดย ตาบลดูพ่ งษ์ มีการขยายตัวของพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดมากที่สดุ 60.35% ขณะที่ตาบลป่ าแลวหลวงมีการ ขยายตัวของพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดน้ อยที่สดุ เพียง 2.07% อย่างไรก็ดีในปี พ.ศ.2556 ตาบลป่ าแลวหลวงกลับมีการขยายตัวของพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดถึง 138% หรื อเพิ่มขึ ้น 16,339 ไร่ ขณะที่อีก 3 ตาบลที่เหลือก็มีการขยายตัวของพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดไม่ตา กว่า 40% ส่วนพื ้นที่ป่าเบญจพรรณปี พ.ศ.2550 ลดลงจากปี พ.ศ.2545 ทังสิ ้ ้น 8,939 ไร่ หรื อเท่ากับ 4.26% แต่มีการสูญเสียพื ้นที่ให้ กบั การเพาะปลูกข้ าวโพดทังสิ ้ ้น 11,991 ไร่ ในปี พ.ศ.2556 พื ้นที่ป่าเบญจพรรณถูกเปลี่ยนไปเป็ นพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดทังสิ ้ ้น 23,448 ไร่ และมีการสูญเสียพื ้นที่ป่าเบญจพรรณโดยรวม 25,883 ไร่ หรื อเท่ากับลดลง 12.88% จากปี พ.ศ. 2550

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

49


ตาราง 3.3 การเปลี่ยนแปลงพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดของตาบลป่ าแลวหลวง พงษ์ ดูพ่ งษ์ และอวน ในปี 2545, 2550 และ 2556 วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat

ตาบล ป่ าแลว หลวง พงษ์ ดูพ่ งษ์ อวน รวมทังหมด ้

พื ้นที่ปี 2545 (ไร่)

พื ้นที่ปี 2550 (ไร่)

11,643 21,605 8,467 11,559 53,274

การเปลี่ยนแปลง พื ้นที่

%

พื ้นที่ปี 2556 (ไร่)

11,884

241

2.07%

26,681 13,578 13,578 65,720

5,076 5,110 2,019 12,446

23.49% 60.35% 17.47% 23.36%

การเปลี่ยนแปลง พื ้นที่

%

28,283

16,399

138.00%

42,132 19,294 21,735 111,444

15,451 5,716 8,157 45,724

57.91% 42.10% 60.08% 69.57%

ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) ตาราง 3.4 การเปลี่ยนแปลงพื ้นที่ป่าเบญจพรรณของตาบลป่ าแลวหลวง พงษ์ ดูพ่ งษ์ และอวน ในปี 2545, 2550 และ 2556 วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat ตาบล

พื ้นที่ปี พื ้นที่ปี 2550 2545 (ไร่) (ไร่)

ป่ าแลว 32,576 หลวง พงษ์ 95,994 ดูพ่ งษ์ 9,204 อวน 72,045 รวมทังหมด ้ 209,819

การเปลี่ยนแปลง พื ้นที่ %

พื ้นที่ปี 2556 (ไร่)

การเปลี่ยนแปลง พื ้นที่ %

33,254

678

2.08%

22,730

- 10,524 -31.65%

90,833 6,702 70,091 200,880

- 5,161 - 2,503 - 1,954 - 8,939

- 5.38% - 27.19% - 2.71% - 4.26%

84,921 3,793 63,552 174,997

- 5,912 - 2,908 - 6,539 - 25,883

- 6.51% -43.40% - 9.33% -12.88%

ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

50


ตาราง 3.5 พื ้นที่ปลูกข้ าวโพดซึง่ เคยเป็ นพื ้นที่ป่าเบญจพรรณของตาบลป่ าแลวหลวง พงษ์ ดูพ่ งษ์ และอวน ในปี 2545, 2550 และ 2556 วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat ตาบล ป่ าแลวหลวง พงษ์ ดูพ่ งษ์ อวน รวมทังหมด ้

พื ้นที่ปลูกข้ าวโพดปี 2550 ที่ ปลูกในพื ้นที่ป่าปี 2545 916 5,943 1,291 3,841 11,991

พื ้นที่ปลูกข้ าวโพดปี 2556 ที่ ปลูกในพื ้นที่ป่าปี 2550 7,781 8,663 1,870 5,134 23,448

ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) ตาราง 3.6 การเปลี่ยนแปลงพื น้ ที่ป่าเบญจพรรณ (วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat) เปรี ยบเทียบกับพื ้นที่เขตอุทยานแห่งชาติ เขตป่ าสงวน และพื ้นที่ล่มุ น ้าชัน้ 1A และชัน้ 2 ในพื ้นที่วิจยั 4 ตาบล หน่วย: ไร่

ตาบลป่ าแลว หลวง ตาบลพงษ์ ตาบลดูพ่ งษ์ ตาบลอวน รวม

พื ้นที่ซงึ่ เปลีย่ นจาก พื ้นที่ปลูกข้ าวโพด ป่ าเป็ นข้ าวโพด เพิม่ จาก 2545 จากปี 2545 เป็ น เป็ น 2556 2556

เขตอุทยาน แห่งชาติ

เขตป่ า สงวน

พื ้นที่ลมุ่ น ้าชัน้ 1A และ ชัน้ 2*

0

60,745

31,250

8,697

16,640

52.3%

89,726 0 67,094 156,821

138,936 30,112 103,686 333,480

120,625 13,125 91,250 256,250

14,606 3,161 8,975 35,440

20,527 10,827 10,176 58,170

71.2% 29.2% 88.2% 60.9%

ส่วนเพิ่มที่ บุกรุกป่ า

*หมายเหตุ: “พื ้นที่ลมุ่ น ้าชัน้ 1A” ห้ ามเปลี่ยนแปลงไปทาอย่างอื่น เพื่อรักษาไว้ เป็ นพื ้นที่ต้นน ้า ขณะที่ “พื ้นที่ ลุม่ น ้าชัน้ 2” ควรหลีกเลี่ยงการใช้ ที่ดนิ เพื่อการเกษตรกรรมอย่างเด็ดขาด ที่มา: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช (2556), กรมป่ าไม้ (2556), สานักนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

51


ผลการวิเคราะห์ของ GISTDA ดังสรุปในตารางที่ 3.6 บ่งชี ้ว่า มีพื ้นที่ป่าซึ่งถูกเปลี่ยนเป็ นไร่ข้าวโพด จานวนประมาณ 35,440 ไร่ ในปี 2556 นับตังแต่ ้ ปี 2545 เป็ นต้ นมา หรื อคิดเป็ นพื ้นที่ร้อยละ 23 ของเขต อุทยานแห่งชาติ ร้ อยละ 11 ของเขตป่ าสงวน และร้ อยละ 14 ของพื ้นที่ล่มุ น ้าชัน้ 1A และ 2 ตามลาดับ ซึ่ง ล้ วนแต่เป็ นพื ้นที่สงวนที่กฏหมายไม่อนุญาตให้ ทาการเกษตรทังสิ ้ ้น นอกจากนี ้ เมื่อเปรี ยบเทียบกับพื ้นที่ ปลูกข้ าวโพดทังหมดที ้ ่เพิ่มขึ ้นระหว่างปี 2545 และ 2556 พบว่า พื ้นที่กว่าร้ อยละ 60.9 ในพื ้นที่วิจยั รวมสี่ ตาบล เป็ นพื ้นที่ซงึ่ บุกรุกป่ า โดยคิดเป็ นสัดส่วนสูงถึงร้ อยละ 88.2 ในตาบลอวน ร้ อยละ 71.2 ในตาบลพงษ์ ตามด้ วยร้ อยละ 52.3 ในตาบลป่ าแลวหลวง และร้ อยละ 29.2 ในตาบลดูพ่ งษ์

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

52


รูปภาพ 3.3

ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

53


รูปภาพ 3.4

ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

54


รูปภาพ 3.5

ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

55


3.3 ผลกระทบต่ อสุขภาพ 3.3.1 ผลจากการใช้ สารกาจัดวัชพืช ศัตรูพืชที่สาคัญของข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์คือวัชพืช ดังนันสารก ้ าจัดวัชพืช (herbicide) 3 ชนิดหลักที่มี การใช้ มากที่สดุ ในการปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์คือ ไกลโฟเสต (glyphosate) พาราควอท (paraquat) และ อาทราซีน (atrazine) สาหรับผลกระทบของสารกาจัดวัชพืช ที่มีตอ่ สิ่งแวดล้ อมแบ่งได้ เป็ น 2 ลักษณะ คือ (ประเสริฐ ชิตพงศ์, 2556) 1) ผลตกค้ างในดิน (soil residue) สารเคมีที่ใช้ ทางดิน เมื่อตกค้ างจะส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในดินและทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงใน ดิน ซึ่งผลต่อการคงอยู่ในดิน (persistence) จะขึ ้นอยู่กับความสามารถในการดูดยึดโดยอนุภาคของดิน อย่างไรก็ดี สารกาจัดวัชพืชมีผลกระทบในลักษณะนี ้น้ อยมากเมื่อเทียบกับยาฆ่าแมลงและสารกาจัดโรคพืช โดยผลที่สามารถเกิดขึ ้นจากการใช้ สารกาจัดวัชพืชคือการที่สารตกค้ างสร้ างความเสียหายให้ กับพืชต่าง ชนิดที่ปลูกต่อในที่ดนิ แปลงนัน้ ซึง่ ความรุนแรงขึ ้นอยูก่ บั ความเข้ มข้ นและระยะเวลาในการสลายตัว 2) ความเป็ นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต (toxicity) สารก าจัด วัช พื ช มี ค วามเป็ นอัน ตรายต่อ สิ่ ง มี ชี วิ ต น้ อ ยกว่ า ยาฆ่า แมลงและสารก าจัด โรคพื ช ์รบกวนหรื อทาลายกระบวนการที่เกิดขึ ้นเฉพาะในพืชเท่านัน้ เนื่องจากสารกาจัดวัชพืชเกือบทังหมดออกฤทธิ ้ เช่น การสร้ างคลอโรฟิ ลล์ การสังเคราะห์แสง เป็ นต้ น แม้ ว่าผลกระทบของสารกาจัดวัชพืชต่อสิ่งแวดล้ อมจะไม่รุนแรงนัก แต่ผลกระทบที่เกิดต่อมนุษย์และ สัตว์อาจมี ความรุ นแรงหากได้ รับสารโดยตรงผ่านการสัม ผัส การสูดดม หรื อรับประทาน ซึ่ง ความเป็ น อันตรายต่อมนุษย์และสัตว์สามารถพิจารณาได้ จากค่า LD50 และ LC50 

LD50 (Lethal Dose fifty) หมายถึงปริ มาณของสารเคมีซึ่งจะทาให้ สตั ว์ทดลองที่ได้ รับสาร

นันเพี ้ ยงครัง้ เดียวตายไปเป็ นจานวนครึ่งหนึง่ ของจานวนเริ่มต้ น

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

56


LC50 (Lethal Concentration fifty) หมายถึงความเข้ มข้ นของสารเคมีในอากาศซึ่งจะทา

ให้ สตั ว์ทดลองที่สดู ดมสารนันในระยะเวลาที ้ ่กาหนดตายไปเป็ นจานวนครึ่งหนึง่ ของจานวนเริ่มต้ น ตาราง 3.7 ค่า LD50 และระดับความเป็ นพิษ ค่า LD50

ระดับความเป็ นพิษ

LD50 < 1 mg/kg

มีความเป็ นพิษร้ ายแรงมาก (Extremely Toxic)

1 < LD50 ≤ 50 mg/kg

มีความเป็ นพิษร้ ายแรง (Highly Toxic)

50 < LD50 ≤ 500 mg/kg

มีความเป็ นพิษปานกลาง (Moderate Toxic)

0.5 < LD50 ≤ 5 g/kg

มีความเป็ นพิษเล็กน้ อย (Slightly Toxic)

5 < LD50 ≤ 15 g/kg

ในทางปฏิบตั ถิ ือว่าสารนี ้ไม่เป็ นพิษ (Practical non-Toxic)

ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ http://msdsv1.pcd.go.th/word-reference.htm ตาราง 3.8 ค่า LC50 และระดับความเป็ นพิษ ค่า LC50

ระดับความเป็ นพิษ

ก๊ าซ

ฝุ่ นละออง

LC50 ≤ 1000 ppm

LC50 ≤ 0.5 mg/l

1000 < LC50 ≤ 3000 ppm

0.5 < LC50 ≤ 2 mg/l

มีความเป็ นพิษร้ ายแรง (Highly Toxic)

3000 < LC50 ≤ 5000 ppm

2 < LC50 ≤ 10 mg/l

มีความเป็ นพิษปานกลาง (Moderate Toxic)

5000 < LC50 ≤ 10000 ppm

10 < LC50 ≤ 200 mg/l

LC50 > 10000 ppm

LC50 < 200 mg/l

มีความเป็ นพิษร้ ายแรงมาก (Extremely Toxic)

มีความเป็ นพิษเล็กน้ อย (Slightly Toxic) ในทางปฏิบตั ถิ ือว่าสารนี ้ไม่เป็ นพิษ (Practical non-Toxic)

ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ http://msdsv1.pcd.go.th/word-reference.htm

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

57


ตาราง 3.9 ค่าความเป็ นพิษและอันตรายต่อสุขภาพของ ไกลโฟเสต (glyphosate) พาราควอท (paraquat) และอาทราซีน (atrazine) ไกลโฟเสต (glyphosate) ค่ามาตรฐานความเป็ นพิษ - LD50 (มก./กก.) 4873 (หนู)* - LC50 (มก./ม3) 12200/4 ชัว่ โมง (หนู) * - ค ว า ม เ ข้ ม ข้ น ต า ม พ.ร.บ.คุ้ม ครองแรงงาน พ.ศ.2541 (เฉลี่ ย 8 ชัว่ โมง)4 อันตรายต่อสิ่งแวดล้ อม - การคงอยูใ่ นดิน อาจนานถึ ง 6 เดื อ น เนื่ อ งจากถู ก ยึ ด ไว้ โดย อนุ ภ าคดิ น อย่ า งแน่ น หนา แต่ขึน้ อยู่กับสภาพ อากาศและประเภทของ ดินด้ วย** - ค่าครึ่งชีวิต (half life) 8-9 วัน** - การย่อยสลาย

โดยแบคทีเรี ยในดิน**

- การกระจายสูแ่ หล่งน ้า เนื่องจากถูกอนุภาคของ ดิ น ยึ ด ไ ว้ จึ ง ไ ม่ ค่ อ ย กระจายสู่ แ หล่ ง น า้ ใต้ ดิ น ** แต่จ ะเกาะไปกั บ เม็ ด ดิ น เมื่ อ เกิ ด การชะ

พาราควอท (paraquat)

150 (หนู) * 0.065 ppm*

อาทราซีน (atrazine)

1886 (หนู) * -

ถูกยึดไว้ โดยอนุภ าคดิน สามารถคงอยู่ในดิน 14อย่างแน่นหนา 109 วัน หรื ออาจนานถึง 4 ปี ขึ ้นอยู่กับชนิดของ ดิน***

นานกว่า 6 เดือน (ใน น ้า)*** ย่อยสลายได้ ยาก*** ย่อยสลายได้ ยากขึ ้นเมื่อ อยูใ่ นน ้า*** เนื่องจากถูกอนุภาคของ สามารถกระจายสู่แหล่ง ดิ น ยึ ด ไ ว้ จึ ง ไ ม่ ค่ อ ย น ้าใต้ ดนิ และแหล่งน ้าผิว กระจายสู่แหล่งน ้าใต้ ดิน ดินได้ *** แต่จะเกาะไปกับอนุภาค ของดิ น เมื่ อ เกิ ด การชะ

4

ตลอดระยะเวลาทางานปกติภายในสถานที่ประกอบการที่ให้ ลกู จ้ างทางาน จะมีปริมาณความเข้ มข้ นของสารเคมีในบรรยากาศของการ ทางานโดยเฉลี่ยเกินกว่าที่กาหนดไม่ได้ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

58


- ผลต่อสัตว์

ไกลโฟเสต (glyphosate) ล้ างหน้ าดินและกระจาย สูแ่ หล่งน ้าผิวดิน*** เป็ นพิ ษ เล็ ก น้ อยต่อ นก ไม่เป็ นพิษต่อปลา***

อันตรายต่อสุขภาพอนามัย - สัมผัสทางการหายใจ ท าลายเนื อ้ เยื่ อ อย่ า ง รุ นแรง กล้ ามเนื อ้ หด เกร็ ง เป็ นอั น ตรายต่ อ กล่ อ งเสี ย ง หลอดลม ใ ห ญ่ แ ล ะ ท า ง เ ดิ น หายใจส่วนบน ปอด* - สัมผัสทางผิวหนัง ระคายเคื อ ง แผลไหม้ ซึม เข้ าสู่ร่า งกายจะเกิ ด อาการเช่นเดี ยวกับการ หายใจ* (Toxicity Category3) - กินหรื อกลืน ท าลายเยื่ อ บุ ท างเดิ น อาหาร กล้ ามเนื อ้ หด เกร็ ง ไอ หายใจติ ด ขั ด กล่องเสี ยงอักเสบ ปวด ศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน* (Toxicity Category3) - สัมผัสดวงตา ระคายเคือง ทาลายเยื่อ 5

พาราควอท (paraquat)

อาทราซีน (atrazine)

ล้ าง ท าให้ กระจายสู่ แหล่งน ้าผิวดิน*** เป็ นอันตรายต่อสัตว์ บก เมื่ อ ได้ รั บ พิษ ทัน ที หาก ปล่ อ ยทิ ง้ ไว้ แ ละสารได้ ยึ ด เกาะกั บ อนุ ภ าคดิ น แล้ วความเป็ นพิ ษ จะ ลดลงมาก*** เป็ นพิ ษ อย่า งรุ น แรงต่อ ร ะ ค า ย เ คื อ ง ร ะ บ บ ระบบทางเดินหายใจ*** ทางเดินหายใจ* (Toxicity Category15)

ระคายเคือง สามารถซึม ระคายเคือง ภูมิแพ้ * สู่ ร่ า ง ก า ย ไ ด้ อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ผ่ า น แ ผ ล ที่ ผิวหนัง**** (Toxicity Category3) สามารถเสี ย ชี วิ ต จาก ค ลื่ น ไ ส้ อ า เ จี ย น การบริ โ ภค 1 ช้ อน ท้ องร่วง* ชา**** (Toxicity Category2)

ระคายเคื อ งปานกลาง ระคายเคือง*

The Environmental Protection Agency (EPA) ของสหรัฐอเมริกา จัดระดับความเป็ นพิษไว้ 4 ระดับโดยระดับ 1 มีความรุนแรงมากที่สดุ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

59


ไกลโฟเสต (glyphosate) บุตา*

พาราควอท (paraquat)

ถึงรุนแรง*** (Toxicity Category2) - อื่นๆ ท าลายปอด หั ว ใจ ไต ต่ อ ม ห ม ว ก ไ ต ตั บ ก ล้ า ม เ นื ้ อ ร ะ บ บ ประสาท**** ก๊ าซอั น ตรายจากการ คาร์ บ อนมอนนอกไซด์ คาร์ บ อนมอนนอกไซด์ สลายตัวหรื อเผาไหม้ * คา ร์ บ อน ไ ด ออ กไ ซ ด์ คา ร์ บ อน ไ ด ออ กไ ซ ด์ ไ น โ ต ร เ จ น อ อ ก ไ ซ ด์ ไนโตรเจนออกไซด์ ฟอสฟอรัส ไฮโดรเจนคลอไรด์ ซัลเฟอร์ ออกไซด์ อุ ป ก ร ณ์ ป้ อ ง กั น หน้ ากาก หน้ ากาก (PPD/PPE)* ถุงมือ ถุงมือ ชุดป้องกันสารเคมี ชุดป้องกันสารเคมี แว่นตานิรภัย แว่นตานิรภัย ที่มา: *ศูนย์ข้อมูลวัตถุอนั ตรายและเคมีภณ ั ฑ์

อาทราซีน (atrazine)

อันตรายต่อไต*

คาร์ บอนมอนนอกไซด์ ไนโตรเจนออกไซด์ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ อะซีโตรไนเตรต หน้ ากาก ถุงมือ ชุดป้องกันสารเคมี แว่นตานิรภัย

** NPIC Glyphosate general factsheet *** The Environmental Protection Agency (EPA) ****A PAN AP Factsheet Series 3.3.2 ผลการตรวจสอบเอนไซม์ โคลีนเอสเตอเรส (Cholonesterase enzyme) เอนไซม์ โคลี นเอสเตอเรสเป็ นเอนไซม์ที่เกี่ ยวข้ องกับการทางานของระบบประสาทและการสื่ อ ประสาท ซึ่งมีหลายปั จจัยที่ส่งผลกระทบต่อเอนไซม์ เช่น เพศ อายุ ภาวะ โรคบางชนิด และสารเคมีบาง ชนิด ดังนั ้ นจึ ้ งมีการใช้ การตรวจวัดระดับการทางานของเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในน ้าเลือดเพื่อตรวจสอบ การได้ รับพิษจากสารเคมีกาจัดศัตรูพืช (วารุณี จิตอารี และ ศักดิร์ ะพี อินซีอาจ, 2549)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

60


ผลการตรวจหาสารเคมีตกค้ างในเลือดด้ วยวิธีทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสระหว่างปี พ.ศ. 2552 ถึง ปี พ.ศ.2555 โดยสานักงานสาธารณสุข อาเภอสันติสขุ พบว่า กลุ่มตัวอย่างจากอาเภอสันติสขุ ที่ อยู่ในภาวะเสี่ยงและไม่ปลอดภัยมีสดั ส่วนที่เพิ่มขึ ้น ขณะที่การทดสอบโดยโรงพยาบาลส่งเสริ มสุขภาพ ตาบลอวน อาเภอปั ว ในปี 2554-2555 พบว่ามีกลุ่มตัวอย่างเพียง 8% ที่อยู่ในภาวะไม่ปลอดภัย แต่กลุ่ม ตัวอย่างในกลุม่ เสี่ยงที่อาจเลื่อนระดับไปสูภ่ าวะไม่ปลอดภัยมีสดั ส่วนมากถึง 37.48% (อ่านรายละเอียดวิธีการตรวจวัดได้ ในภาคผนวกของรายงานฉบับนี ้) ตาราง 3.10 สรุ ปผลการคัดกรองสารเคมี ของกลุ่ม ตัวอย่างในอาเภอสันติสุขโดยใช้ กระดาษทดสอบ (reactive paper) ผลการตรวจ ปี พ.ศ. ปกติ ปลอดภัย เสี่ยง คน % คน % คน % 2552 1499 166 11.07 688 45.90 474 31.62 2553 373 51 13.67 105 28.15 168 45.04 2554 1431 79 5.52 328 22.92 684 47.80 2555 526 47 8.94 121 23.00 196 37.26 ที่มา: สานักงานสาธารณสุขอาเภอสันติสขุ จานวนคัด กรอง

ไม่ปลอดภัย คน % 171 11.41 49 13.14 340 23.76 162 30.80

ตาราง 3.11 สรุปผลการคัดกรองสารเคมีของกลุ่มตัวอย่างในตาบลอวน อาเภอปั ว โดยใช้ กระดาษทดสอบ (reactive paper) ผลการตรวจ ปี พ.ศ. ปกติ ปลอดภัย เสี่ยง คน % คน % คน % 2554-2555 1438 132 9.18 652 45.34 539 37.48 ที่มา: โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลอวน อาเภอปั ว จานวนคัด กรอง

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

ไม่ปลอดภัย คน % 115 8.00

61


ตาราง 3.12 จานวนผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจและผู้ที่มีสารเคมีฆ่าแมลงตกค้ างในเลือดอยู่ในระดับ เสี่ยงและไม่ปลอดภัยระหว่างปี 2547-2554 2547 2548 2549 2550 จานวนผู้ป่วยโรคระบบหายใจ (คน) จานวนผู้ที่มีสารเคมีฆา่ แมลง ตกค้ างในเลือดอยูใ่ นระดับ 42.63 เสี่ยงและไม่ปลอดภัย (ร้ อย ละ)

2551

2552

2553

2554

115,070 120,389 122,770 130,324

57.24

60.91

ที่มา: สานักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน อ้ างใน สถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย (2012) อย่างไรก็ดี การทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสโดยกระดาษทดสอบนันไม่ ้ ได้ มีปฏิกิริยาต่อสาร ก าจัด ศัต รู พื ช ทุก ชนิ ด สารเคมี ที่ ส ามารถตรวจสอบด้ ว ยวิ ธี นี ไ้ ด้ แ ก่ ส ารเคมี ก ลุ่ม ออร์ ก าโนฟอสเฟต (organophosphate) และคาร์ บาเมต (carbamate) ซึ่งเป็ นสารกาจัดศัตรู พืชประเภทยาฆ่าแมลง สาหรับ สารกาจัดวัชพื ชที่ ใช้ อย่างแพร่ หลายในการปลูกข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์ ได้ แก่ ไกลโฟเสต (glyphosate) พา ราควอท (paraquat) และอาทราซีน (atrazine) ไม่ได้ อยู่ในกลุ่มที่กล่าวมา ดังนันจึ ้ งไม่อาจสรุปได้ จากการ ทดสอบนี ้ว่า การใช้ สารกาจัดวัชพืชส่งผลต่อปริ มาณสารเคมีตกค้ างในร่างกาย แต่เป็ นไปได้ ที่จะส่งผลต่อ สุขภาพในลักษณะอื่น เช่น โรคทางเดินหายใจ การระคายเคืองผิวหนังหรื อดวงตา เป็ นต้ น ซึ่งสอดคล้ องกับ ข้ อบ่งชี ้ต่อสุขภาพอนามัยของสารเคมีทงั ้ 3 ชนิด

3.4 สรุ ปข้ อค้ นพบสาคัญและนัยของข้ อค้ นพบในบทนี ้ ข้ อค้ นพบ

นัยสาคัญ

1. งานวิจัย ของ ส านัก งาน ธ.ก.ส. จัง หวัด น่า น เกษตรกรที่ ป ลูก ข้ า วโพดเลี ย้ งสัต ว์ มี อ านาจการ (2555) พบว่าเกษตรกรประสบปั ญ หาหลักได้ แ ก่ ต่อ รองน้ อ ยที่ สุด ในห่ ว งโซ่อุป ทาน เมื่ อ เก็ บ เกี่ ย ว ต้ นทุนสูง ประกอบกับผลผลิตต่อไร่ ต่า ค่าเช่าพื ้นที่ ผลผลิตได้ แล้ วต้ องขายในราคาที่พ่อค้ าคนกลางรับ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

62


ข้ อค้ นพบ

นัยสาคัญ

ปลูกสูง ค่าขนส่งไปยังแหล่งรับซื ้อสูง ราคาปุ๋ยเคมี ซื ้อโดยไร้ ทางเลือก เนื่องจากพืน้ ที่เพาะปลูกมักอยู่ ยากาจัดศัตรู พืช วัชพืช ค่าเมล็ดพันธุ์ที่สูงขึน้ เรื่ อยๆ ห่างไกลจากแหล่งรับซื ้อ และไม่มีไซโลเก็บผลผลิต ประกอบกับการที่ เ กษตรกรรายย่อยไม่มี ไ ซโลเก็ บ ซึง่ จาเป็ นต่อการเพิ่มคุณภาพของข้ าวโพดทาราคา ผลผลิตทาให้ ไม่สามารถทาราคาได้ ในช่วงฤดูการ เก็บเกี่ยวข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์เมื่อผลผลิตออกสู่ตลาด พร้ อมกัน ก็มักจะถูกพ่อค้ าคนกลางกดราคา ทัง้ ยัง ต้ องประสบปั ญหาด้ านภัยธรรมชาติ ปริ มาณน ้าฝน ที่น้อยเกินไปในบางปี 2. งานวิจยั ที่ผ่านมาพบว่า พื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพด เกษตรกรที่ปลูกข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์บนพืน้ ที่ลาดชัน เลี ย้ งสัต ว์ ส่ง ผลต่อ ความเหลื่ อ มล า้ ทางเศรษฐกิ จ อาทิ การปลู ก ในเขตป่ าสงวน หรื อ เขตอุ ท ยาน โดยเกษตรกรที่ ป ลู ก ข้ าวโพดบนพื น้ ที่ ร าบอาจ แห่ ง ชาติ มี แ นวโน้ มที่ จ ะมี ฐ านะยากจนและไร้ สามารถสะสมความมั่ง คั่ง ได้ บ้ าง แต่เ กษตรกรที่ อานาจต่อรองยิ่ง กว่าเกษตรกรที่ ปลูกข้ าวโพดบน เพาะปลูกบนพื ้นที่ลาดชันจะแทบไม่มีโอกาสสะสม พื น้ ที่ ราบ เนื่ องจากพื น้ ที่ ชันไม่เอื อ้ อานวยต่อ การ ความมั่ง คั่ง หรื อซา้ ร้ ายอาจทาให้ ยิ่งปลูกยิ่ง จนลง เพาะปลูกตังแต่ ้ แรก ด้ วยเหตุนี ้ เกษตรกรพื ้นที่ชนั จึง เนื่องจากโครงสร้ างของพื ้นที่ชนั ซึ่งไม่เอื ้ออานวยต่อ มีทงความสามารถและแรงจู ั้ งใจที่จะเปลี่ยนไปปลูก การเพาะปลูก ผลักให้ เกษตรกรบนพื ้นที่ชนั ตกอยู่ใน พื ช ทดแทนอื่ น นอกเหนื อ จากข้ า วโพด น้ อยกว่ า วงจรของหนี ้นอกระบบ และมีต้นทุนสูงกว่าเกษตรกร เกษตรกรพื ้นที่ราบมาก ในพื ้นที่ราบ 3. กิ จ กรรมในการเพาะปลูกที่ ส่ง ผลกระทบทาง ฝุ่ นละอองขนาดเล็กมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย สิ่งแวดล้ อมอย่างชัดเจนได้ แก่ การใช้ สารเคมี และ มากกว่าฝุ่ นละอองขนาดใหญ่ เนื่ องจากสามารถ การเผาเพื่อเตรี ยมพื ้นที่เพาะปลูก งานวิจยั ที่ผ่านมา เข้ า ถึ ง ระบบทางเดิ น หายใจส่ ว นในได้ ก่ อ ให้ เ กิ ด พบว่า คุณภาพอากาศได้ รับผลกระทบจากการเผา ผลกระทบต่อปอด ระบบทางเดินหายใจ หัวใจและ เพื่ อ เตรี ยมพื น้ ที่ เ พาะปลู ก มากกว่ า การฉี ด พ่ น ระบบไหลเวี ยนโลหิต เช่น การอักเสบและติดเชื อ้ สารเคมี ปั ญ หาหมอกควัน และฝุ่ นปรากฏชัด เจน หอบหื ด สมรรถภาพในการแลกเปลี่ ยนออกซิ เจน มากขึน้ ตังแต่ ้ ปี 2548 โดยปริ มาณฝุ่ นละอองขนาด ลดลง ความเสี่ยงหัวใจวายเพิ่มขึ ้น เป็ นต้ น

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

63


ข้ อค้ นพบ

นัยสาคัญ

เล็ กที่ วัด ในเดือ นมี น าคมเกิ น ค่ามาตรฐานทัง้ ในปี 2552-2553 (ค่ า เฉลี่ ย 164-195 ไมโครกรั ม ต่ อ ลูกบาศก์เมตร เทียบกับค่ามาตรฐาน 50 ไมโครกรัม ต่อ ลู ก บาศก์ เ มตร) และ 2554 (ค่า เฉลี่ ย 133.6 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) 4. ผลการวิเคราะห์ของ GISTDA บ่งชี ้ว่า นับตังแต่ ้ ปี การเปลี่ ย นแปลงการใช้ ประโยชน์ ที่ ดิน จากป่ าไม้ 2545 เป็ นต้ น มา มี พื น้ ที่ ป่ าซึ่ ง ถู ก เปลี่ ย นเป็ นไร่ เป็ นพื น้ ที่เกษตรกรรมส่งผลต่อความอุดมสมบูรณ์ ข้ าวโพดจานวนประมาณ 35,440 ไร่ ในปี 2556 หรื อ ของดิน นอกจากนี ้พืชที่มีระบบรากฝอยเช่นข้ าวโพด คิดเป็ นพื ้นที่ร้อยละ 23 ของเขตอุทยานแห่งชาติ ร้ อย เลี ย้ งสัตว์ยังไม่สามารถยึดเกาะดินไว้ ไ ด้ ส่ง ผลให้ ละ 11 ของเขตป่ าสงวน และร้ อยละ 14 ของพื ้นที่ล่มุ หน้ าดินถูกทาลายและถูกชะล้ างไปเป็ นตะกอนใน น ้าชัน้ 1A และ 2 ตามลาดับ ซึ่งล้ วนแต่เป็ นพืน้ ที่ แหล่งน ้าโดยง่าย โดยเฉพาะในฤดูฝนที่น ้าในแหล่ง สงวนที่กฎหมายไม่อนุญาตให้ ทาการเกษตรทัง้ สิน้ น ้าจะขุ่นและมีตะกอนแดงจากการชะล้ างหน้ าดิน นอกจากนี ้ เมื่ อเปรี ยบเที ยบกับพื น้ ที่ ปลูกข้ าวโพด ในพื ้นที่เกษตรบริ เวณต้ นน ้าและพื ้นที่สงู นอกจากนี ้ ทังหมดที ้ ่เพิ่มขึ ้นระหว่างปี 2545 และ 2556 พบว่า ยัง น ามาซึ่ง ภัย ธรรมชาติ ที่ รุ น แรงขึ น้ โดยเฉพาะ พื ้นที่กว่าร้ อยละ 60.9 ในพื ้นที่วิจยั รวมสี่ตาบล เป็ น อุทกภัยน ้าหลากในพื ้นลุ่มน ้าตอนบนและน ้าท่วมใน พื น้ ที่ ซึ่ง บุกรุ กป่ า โดยคิดเป็ นสัดส่วนสูง ถึ ง ร้ อยละ พื ้นที่ราบลุ่ม ซึ่งเป็ นผลมาจากแม่น ้าตื ้นเขินจากดิน 88.2 ในตาบลอวน ร้ อยละ 71.2 ในตาบลพงษ์ ตาม ตะกอน ไม่สามารถระบายนา้ ได้ ทัน ทัง้ ยังสูญเสี ย ด้ วยร้ อยละ 52.3 ในตาบลป่ าแลวหลวง และร้ อยละ พื ้นที่ป่าในการกักเก็บและชะลอน ้าอีกด้ วย 29.2 ในตาบลดูพ่ งษ์ 5. ปริมาณการใช้ สารเคมีในการปลูกข้ าวโพดคิดเป็ น การทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสโดยกระดาษ ร้ อยละ 82.8 ของการใช้ ส ารเคมี ท างการเกษตร ทดสอบนันไม่ ้ ได้ มีปฏิกิริยาต่อสารกาจัดศัตรู พืชทุก ทังหมดในจั ้ งหวัดน่านและส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพ ชนิ ด สารกาจัด วัช พื ช ที่ ใช้ อย่า งแพร่ หลายในการ น า้ อย่ า งไรก็ ต ามยั ง ไม่ มี ก ารตรวจวั ด สารเคมี ป ลู ก ข้ า ว โ พ ด เ ลี ย้ ง สั ต ว์ ไ ด้ แ ก่ ไ ก ล โ ฟ เ ส ต ปนเปื ้อนในแหล่ง นา้ อย่างชัดเจน ผลการตรวจหา (glyphosate) พาราควอท (paraquat) และอาทรา สารเคมีตกค้ างในเลือดด้ วยวิธีทดสอบเอนไซม์โคลีน ซีน (atrazine) ไม่ได้ อยู่ในกลุ่มที่กล่าวมา ดังนันจึ ้ ง

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

64


ข้ อค้ นพบ

นัยสาคัญ

เอสเตอเรสระหว่างปี พ.ศ.2552 ถึง ปี พ.ศ.2555 ยังไม่อาจสรุปได้ ว่า การใช้ สารกาจัดวัชพืชส่งผลต่อ พบว่า กลุ่มตัวอย่างจากอาเภอสันติสขุ ที่อยู่ในภาวะ ปริมาณสารเคมีตกค้ างในร่างกาย แต่เ ป็ นไปได้ ที่จะ เสี่ยงและไม่ปลอดภัยมีสดั ส่วนที่เพิ่มขึ ้น ขณะที่การ ส่ง ผลต่อสุขภาพในลัก ษณะอื่ น เช่น โรคทางเดิน ทดสอบในต าบลอวน อ าเภอปั ว ในปี 2554-2555 หายใจ การระคายเคืองผิวหนังหรื อดวงตา เป็ นต้ น พบว่ามี กลุ่ม ตัวอย่างเพี ยง 8% ที่ อยู่ในภาวะไม่ ปลอดภัย แต่กลุ่มตัวอย่างในกลุ่มเสี่ยงที่อาจเลื่อน ระดั บ ไปสู่ ภ าวะไม่ ป ลอดภั ย มี สั ด ส่ ว นมากถึ ง 37.48%

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

65


4. รู ปแบบและแผนผังห่ วงโซ่ อุปทานข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ จังหวัดน่ าน 4.1 รู ปแบบห่ วงโซ่ อุปทานข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ นโยบายสนับสนุนจากภาครัฐ และผู้ปล่อยสินเชื่ อ และบริ การที่มี ผ้ ูส่งมอบแก่เกษตรกร ถื อเป็ น ปั จจัยที่สาคัญที่สดุ ที่ทาให้ เกษตรกรตัดสินใจปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ และนิยมปลูกอย่างต่อเนื่องในพื ้นที่ จ. น่าน งานวิจยั ของ สานักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดน่าน (2555) ระบุว่า เกษตรกรเลือกปั จจัยด้ านความสามารถ ในการจาหน่ายผลผลิตได้ ทงหมด ั้ เป็ นปั จจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์มากที่สุด (ร้ อยละ 93.00) รองลงมาคือเรื่ องกรรมสิทธิ์ในที่ดิน (ร้ อยละ 87.96) รายได้ จากการปลูกข้ าวโพดคุ้มค่ากว่า การปลูกพืชชนิดอื่นๆ เป็ นปั จจัยที่สาคัญเป็ นอันดับ 3 (ร้ อยละ 87.39) และการสนับสนุนด้ านสินเชื่อจาก ธ. ก.ส. เป็ นอันดับที่ 4 (ร้ อยละ 85.15) 4.1.1 ห่ วงโซ่ อุปทานข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ในจังหวัดน่ าน ที่ ผ่านมามี ง านวิ จัย 2 ชิ น้ ที่ จัด ทาห่ว งโซ่อุป ทานของจัง หวัด น่านโดยตรง ได้ แ ก่ง านวิ จัย เรื่ อ ง “ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ กลไกสู่ความเหลื่อมล ้าในระดับท้ องถิ่น กรณีศึกษา: ห่วงโซ่การผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ อ.เวียงสา จ.น่าน” โดย เขมรัฐ เถลิงศรี & สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน (2555) และรายงานผลการศึกษาเรื่ อง “เศรษฐกิจการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ รุ่น 1 จังหวัดน่าน ปี เพาะปลูก 2541/42” โดย ฉกาจ สุรธรรมจรรยา (2544) งานวิจยั ของ เขมรัฐ เถลิงศรี & สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน (2555) นาเสนอรูปแบบห่วงโซ่อปุ ทานดัง รายละเอียดในแผนภูมิที่ 4.1

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

66


แผนภูมิ 4.1 รูปแบบห่วงโซ่อปุ ทานในวงจรการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จงั หวัดน่าน (1) เกษตรกรผู้ผลิตข้ าวโพด

ผู้รับจ้ างสี-ขนส่ง บริ การสีและขนส่ง ผู้รวบรวมผลผลิต ไซโลเอกชน, สกต., สหกรณ์การเกษตร

แหล่งเงินทุนใน และนอกระบบ

โรงงานผลิตอาหารสัตว์

แหล่งเงินทุน เส้ นทางข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์

ที่มา: เขมรัฐ เถลิงศรี & สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน (2555, หน้ า 9)

งานดังกล่าวพิจารณาความสัมพันธ์ใน 2 ลักษณะ คือเส้ นทางข้ าวโพดและแหล่งเงินทุน ระหว่างผู้ เล่นที่สาคัญ 3 รายได้ แก่ 1) เกษตรกรรายย่อย 2) ผู้รับจ้ างสี (หัวสี) และ 3) ผู้รวบรวมข้ าวโพด (ไซโล) จากแผนภู มิ จ ะเห็ น ได้ ว่ า พ่ อ ค้ า ผู้ร วบรวมผลผลิ ต ระดับ ที่ 2 อัน ได้ แ ก่ ไซโลเอกชน สหกรณ์ การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้ า ธ.ก.ส. (สกต.) และสหกรณ์ การเกษตร จะเป็ นกลุ่มที่มีอานาจคุมแหล่ง เงินทุนที่ปล่อยให้ กับพ่อค้ าหัวสีและเกษตรกร ส่วนมากในฤดูการเก็บเกี่ยวและขายผลผลิต เกษตรกรจะ เรี ยกใช้ บริการของพ่อค้ าหัวสี เพื่อให้ มาทาการสี รับซื ้อ และขนส่ งไปขายยังพ่อค้ าคนกลางต่อไป ซึ่งปกติ แล้ วปั จจัยในการตัดสินใจเลือกพ่อค้ าหัวสีจะพิจารณาที่ราคาเป็ นสาคัญ เนื่องจากลักษณะการให้ บริ การ ไม่มีความแตกต่างกัน เกษตรกรที่ก้ ใู นระบบจะมีอานาจตัดสินใจเลือกหัวสีที่ให้ ราคาดีที่สดุ แต่ในกรณีที่เป็ นการกู้นอกระบบในลักษณะปั จจัยการผลิตจากพ่อค้ าคนกลางหรื อหัวสี หรื อไซโล เกษตรกรจะต้ องขายผลผลิตให้ กับพ่อค้ าคนกลางที่ตนมีพนั ธะอยู่เท่านัน้ ซึ่งอาจจะถูกพ่อค้ ากดราคา แต่

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

67


หากเป็ นเกษตรกรที่มีทรัพย์สินเป็ นเงินทุน หรื อรถของตนเอง บางรายอาจเพียงจ้ างหัวสีให้ มาสีให้ แล้ วนา รถขนข้ าวโพดไปขายให้ โรงงานอาหารสัตว์ที่เคยรับซื ้อด้ วยตัวเองเลย เขมรัฐ เถลิงศรี & สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน (2555) ระบุว่าในแต่ละพื ้นที่จะมีหวั สีเพียงไม่กี่ราย การ จะก้ าวขึ ้นมาเป็ นหัวสีไ ด้ นนั ้ นอกจากต้ องอาศัยความสัมพันธ์ ทางสังคมกับเกษตรกรในพื ้นที่แล้ ว ยังต้ อง อาศัยทุนจานวนมาก ไม่ว่าจะเป็ นทุนในการรับซื ้อ หรื ออุปกรณ์ เช่น รถบรรทุก เครื่ องสี รถโม่ รถลาก หัวสี บางรายจึงจาเป็ นต้ องพึง่ พาทุนจากไซโลเอกชนในการดาเนินการ ผู้รับซื ้อในระดับถัดมาจะประกอบด้ วย สหกรณ์การตลาดของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ส.ก.ต.) สหกรณ์การเกษตรแต่ละอาเภอ และไซโลเอกชน ซึ่งจะเป็ นผู้ตรวจน ้าหนักและวัดคุณภาพ ตาม ความชืน้ ดูราดา ความสมบูรณ์ ของเมล็ด หากผู้ขายต้ องการได้ ราคาเต็มตามที่ประกาศ จะต้ องมีระดับ ความชื ้นไม่เกินปริ มาณที่ระบุไว้ ซึ่งราคาเต็มสูงสุดจะมีความชื ้นไม่เกิน 14.5% ไซโลขนาดใหญ่จะใช้ เครื่ องอบข้ าวโพดเพื่อเพิ่มเกรดคุณภาพทาราคา ส่วนไซโลขนาดเล็กจะใช้ วิธีเอาข้ าวโพดออกมาตากแดด บนลาน แล้ วนาขนใส่รถบรรทุกไปขายยังโรงงานผลิตอาหารสัตว์หรื อฟาร์ มเลี ้ยงสัตว์ที่อยูต่ ามภูมิภาคต่างๆ นอกจากนี ้ ไซโลเอกชนยังให้ เชื ้อวัตถุดิบ และดึงหัวสีจานวนมากให้ มาเป็ นขาประจาทาการซื ้อขาย กับตนเพื่อรักษาและขยายฐานลูกค้ า ประกอบกับรักษาความสัมพันธ์ทางสังคมเพื่อป้องกันผู้เล่นรายใหม่ ไม่ให้ เข้ ามาในตลาดได้ โดยง่าย ลาดับสุดท้ ายในห่วงโซ่อปุ ทานของเขมรัฐ เถลิงศรี & สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน (2555) คือโรงงานผลิต อาหารสัตว์และฟาร์ มเลี ้ยงสัตว์ ซึ่งมีโรงงานผลิตอาหารสัตว์ในเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เป็ นผู้นาในการกาหนด ราคารับซื ้อ อย่างไรก็ดี ราคารับซื ้อของแต่ละโรงงานจะไม่แตกต่างกันมาก ส่วนข้ าวโพดจะทาราคาได้ มาก น้ อยนันขึ ้ ้นอยู่กับปริ มาณความชื ้นและคุณภาพเป็ นสาคัญ ประกอบกับระยะทางการขนส่งด้ วย ปกติแล้ ว ราคาในประเทศจะสัม พัน ธ์ กับ ราคาซื อ้ ขายข้ าวโพดล่ ว งหน้ าในตลาดชิ ค าโก (CME:

Chicago

Merchandise Exchange) นอกจากงานวิ จัย ข้ า งต้ น ซึ่ง ได้ ท าภาพรวมของห่ว งโซ่อุป ทานที่ จัง หวัด น่า นแล้ ว รายงานผล การศึกษาเรื่ อง “เศรษฐกิจการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ รุ่น 1 จังหวัดน่าน ปี เพาะปลูก 2541/42” โดย ฉกาจ สุรธรรมจรรยา (2544) ได้ ศึกษาเรื่ องห่วงโซ่อุปทาน และโครงสร้ างตลาดของข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จากพื ้นที่ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

68


ทังหมด ้ 600 หมู่บ้าน ในจังหวัดน่านเช่น กัน โดยจาแนกโครงสร้ างการตลาดตามระดับการประกอบการ ธุรกิจซื ้อขายข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ออกเป็ น 3 ระดับดังนี ้ 1) ตลาดระดับท้องที ่ จะเป็ นตลาดการซื ้อขายระดับแรก ซึ่งมีความใกล้ ชิดกับเกษตรกรมากที่สดุ และสถานที่ซื ้อขายจะอยูใ่ นหมู่บ้านหรื อตาบล ผลผลิตส่วนใหญ่ของเกษตรกรจะผ่า นตลาดในระดับนี ้ และ มีพอ่ ค้ าท้ องที่เป็ นพ่อค้ าคนกลาง รับจ้ างสีและรับซื ้อผลผลิตและให้ สินเชื่อกับเกษตรกร 2) ตลาดระดับท้องถิ่ น เป็ นตลาดลาดับถัดมาซึ่งจะมีที่ทาการถาวรอยู่ในอาเภอหรื อจังหวัด มี ปริ มาณการซือ้ ผลผลิตมากขึน้ และเป็ นแหล่งซือ้ ขายของเกษตรกรผู้รวบรวมผลผลิต พ่ อค้ าท้ องที่ และ สหกรณ์การเกษตร เป็ นแหล่งที่การคมนาคมสะดวกและเป็ นศูนย์กลางการซื ้อขายในระดับจังหวัด สาหรับ พื ้นที่จงั หวัดน่านตลาดระดับนี ้ส่วนใหญ่จะอยูใ่ นอาเภอเมือง และอาเภอเวียงสา โดยพ่อค้ าระดับท้ องถิ่นจะ ขายตรงให้ กบั โรงงานอาหารสัตว์และผู้เล่นในตลาดระดับถัดไปซึ่งเรี ยกว่าระดับปลายทาง 3) ตลาดระดับปลายทาง เป็ นตลาดการซื ้อขายสุดท้ ายที่ทาหน้ าที่รับซื ้อรวบรวมผลผลิตข้ าวโพด เลี ้ยงสัตว์ เป็ นตลาดภายในประเทศที่ใหญ่ที่สุด รองรับผลผลิตทังส ้ าหรับการใช้ ภายในและการส่งออก จะ เป็ นตลาดระดับที่จัดชัน้ คุณภาพของข้ าวโพดและเป็ นตลาดที่ มีอานาจกาหนดราคารับซื อ้ โดยใช้ ข้อมูล สถานการณ์การผลิต การตลาดภายในประเทศและตลาดโลกประกอบการตังราคา ้ ผู้รับซื ้อประกอบด้ วย โรงงานอาหารสัตว์ ฟาร์ มเลี ้ยงสัตว์ขนาดใหญ่ ผู้สง่ ออก และโรงงานแป้ง

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

69


แผนภูมิ 4.2 รูปแบบห่วงโซ่อปุ ทานในวงจรการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จงั หวัดน่าน (2)

ฟาร์ มเลี ้ยงสัตว์ โรงงานอาหารสัตว์ เกษตรกร

พ่อค้ าท้ องที่

พ่อค้ าท้ องถิ่น ผู้สง่ ออก

เส้ นทางข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์

โรงงานแป้ง

ที่มา: ฉกาจ สุรธรรมจรรยา (2544, หน้ า 22) งานวิจยั ของ เขมรัฐ เถลิงศรี & สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน (2555) และฉกาจ สุรธรรมจรรยา (2544) มี ความคล้ ายคลึงกันตรงที่แบ่งตลาดการซื ้อขายออกเป็ น 4 ระดับและมีผ้ เู ล่นหลักในแต่ละระดับคล้ ายคลึง กัน แต่แตกต่างกันตรงที่งานวิจยั ของเขมรัฐ เถลิงศรี & สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน (2555) มีข้อค้ นพบว่าการคัด เกรดและจัดชันคุ ้ ณภาพของข้ าวโพดนันจะเกิ ้ ดขึ ้นในผู้รวบรวมผลผลิตลาดับที่ 2 หรื อตลาดระดับท้ องถิ่น ก่อนที่จะส่งขายไปยังตลาดปลายทาง เมื่อเปรี ยบเทียบผลการวิจยั ทังสองชิ ้ ้นข้ างต้ นกับข้ อมูลจากการทางานภาคสนามของคณะวิจยั ครัง้ นี ้พบว่า ห่วงโซ่อปุ ทานยังคงมีลกั ษณะและรูปแบบความสัมพันธ์คล้ ายเดิมตลอดระยะเวลา 15 ปี 4.1.2 ห่ วงโซ่ อุปทานข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ในระดับประเทศและภูมิภาค มนตรี กุล เรื องทรั พ ย์ (2541) ได้ ศึกษาห่วงโซ่อุปทานข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์ ในระดับภูมิภ าคในเขต เศรษฐกิจการเกษตรที่ 12 อธิบายว่า ตลาดข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์เป็ นตลาดแบบผู้ซื ้อน้ อยราย พ่อค้ าหรื อผู้รับ ซื ้อจะเป็ นผู้กาหนดราคาโดยยึดราคาตามตลาดปลายทาง โดยผู้วิจยั ยังบ่งชี ้ผลการศึกษาประการหนึ่งที่ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

70


น่าสนใจ และพบได้ ในการวิจยั ภาคสนามของคณะวิจยั ครัง้ นี ้เช่นกัน ถึงแม้ เวลาจะผ่านไปกว่า 15 ปี แล้ วก็ ตามว่า พ่อค้ าผู้รวบรวมระดับท้ องถิ่นคือบุคคลที่มีอิทธิพลมากที่สุดต่อวิถีชีวิตของเกษตรกร เพราะเป็ นผู้ที่ รับซือ้ ผลผลิตปริ มาณถึง 53% พ่อค้ าเหล่านี ้มีบทบาทสาคัญในการเผยแพร่ ข่าวสารด้ านการตลาดและ ราคา มีความสัมพันธ์ใกล้ ชิดกับเกษตรกร โดยวิธีการคือพ่อค้ าเหล่านี ้จะเข้ าไปรับซื ้อผลผลิตที่บ้านหรื อในไร่ นา ให้ บริ การเครื่ องสีข้าวโพด และขนส่งผลผลิตโดยรถยนต์บรรทุก 4 หรื อ 6 ล้ อ จากไร่ เพื่อขนถ่ายขึน้ รถยนต์บรรทุก 10 ล้ อ ขนส่งไปจาหน่ายยังตลาดปลายทางต่อไป ปั จจัยเรื่ องการขนส่งผลผลิตอาจมีส่วนทาให้ เกษตรกรเลือกขายกับพ่อค้ าผู้รวบรวมระดับท้ องถิ่น มากที่สุด งานวิจยั ของ สานักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดน่าน (2555) ค้ นพบว่าร้ อยละ 58.82 ของกลุ่มตัวอย่าง เกษตรกรผู้ผลิตข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์เ ลือกจาหน่ายผลผลิตให้ กับพ่อค้ าคนกลาง ร้ อยละ 34.17 เลือกขาย ผลผลิตด้ วยตนเอง ส่วนการขายผลผลิตให้ กบั ธ.ก.ส. เป็ นทางเลือกที่ได้ รับความนิยมน้ อยที่สดุ เพียงร้ อยละ 4.76 โดยสาเหตุที่เกษตรกรไม่เลือกขายให้ กบั ธ.ก.ส. เพราะประสบปั ญหาความล่าช้ าและไม่สะดวกจาก การพยายามขายผลผลิตให้ สกต. ซึ่งเป็ นหน่วยงานที่ทาหน้ าที่เข้ ารับซื ้อผลผลิต แทรกแซงตลาด เพื่อพยุง ราคาให้ กบั เกษตรกร ศูนย์รับซื ้อของ สกต. มีเพียงที่อาเภอเมืองน่านเพียงจุดเดียว เกษตรกรจึงต้ องหาวิธี ขนสินค้ าเข้ ามาขายถึงอาเภอเมืองและต้ องลงทุนค่าขนส่งเพิ่มเติมด้ วยตนเอง ต่างจากพ่อค้ าผู้รวบรวมที่จะ มีบริการขนส่งให้ ด้วย ในขณะที่ มนตรี กุล เรื อ งทรั พ ย์ (2541) น าเสนอส่ว นแบ่ง ตลาดของผู้เ ล่น แต่ล ะรายในตลาด ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ แผนภูมิของ ศานิต เก้ าเอี ้ยน (2552) ได้ นาเสนอห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดในระดับประเทศ โดยเน้ นข้ อมูลด้ านจานวนผู้เล่นในแต่ละช่วงของห่วงโซ่อปุ ทานซึง่ รวมถึงผู้ส่งออก ผู้นาเข้ า (อคส.) และผู้นา ผลผลิตไปแปรรูปแบบต่างๆ ดังรายละเอียดในแผนภูมิที่ 4.3

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

71


แผนภูมิ 4.3 รูปแบบห่วงโซ่อปุ ทานการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในระดับประเทศ

เกษตรกร 3 แสนราย แปรรูปเป็ นแป้ง 2 ราย อคส. นาเข้ า

ผู้ค้าท้ องถิ่น

ส่งออก 9 ราย

พ่อค้ า + สหกรณ์ (245 ราย)

ไซโล

เอกชน 7 ราย สาธารณะ 6 ราย

โรงงาน อาหารสัตว์

ผู้ใช้

57 บริ ษัท

ฟาร์ มผู้เลี ้ยง สัตว์

ที่มา : ศานิต เก้ าเอี ้ยน (2552, หน้ า 15)

4.2 แผนที่ห่ว งโซ่ อุ ป ทานข้ า วโพดเลี ย้ งสั ต ว์ ระดั บ อ าเภอสั นติสุ ข และ ต าบลอวน อาเภอปั ว จากการวิจยั เชิงคุณภาพและปริ มาณในครัง้ นี ้ คณะวิจยั สามารถวาดแผนที่ห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพด เลี ้ยงสัตว์ระดับอาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอปั ว ตามประเภทผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียหลักและส่วนแบ่ง การตลาดดังนี ้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

72


แผนภูมิ 4.4 ผลการศึกษาห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ระดับอาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอปั ว

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

73


แผนภูมิ 4.5 ผลการศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ในห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ระดับอาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอปั ว

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

74


4.2.1 ที่มาของข้ อมูลและวิธีการคานวณ 1) Tier 0 ผลผลิตในพื ้นที่ 47,277 ตัน จากข้ อมูลของสานักงานเกษตรจังหวัดน่านและสานักงานเกษตรอาเภอปั ว ผลผลิตข้ าวโพดเลี ้ยง สัตว์จากพื ้นที่ล่มุ น ้าสาขา ยาว-อวน-มวบ ซึ่งครอบคลุมตาบลพงษ์ ตาบลดู่พงษ์ ตาบลป่ าแลวหลวง ของ อาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอปั ว ในฤดูกาลเพาะปลูก 2555/2556 มีปริมาณทังสิ ้ ้น 47,277 ตัน 2) Tier 1 ผู้รับซื ้อในพื ้นที่/ท้ องถิ่น จากการสัมภาษณ์ผ้ รู ับซื ้อรายสาคัญในพื ้นที่ ได้ แก่ สหกรณ์การเกษตรสันติสขุ สหกรณ์การเกษตร สาขาอวน หัวสีเจ๊ คา หัวสีเกรี ยงไกร และพ่อเลี ้ยงส่ง ได้ ข้อมูลปริมาณการรับซื ้อดังนี ้ สหกรณ์ การเกษตรสันติสุข 6 รับซื ้อผลผลิตฤดูกาล 2555/2556 ทังสิ ้ ้น 2,400 ตัน คิดเป็ น 5.08% ของ ผลผลิตจากพื ้นที่ ซึ่งเป็ นการซื ้อจากเกษตรกรโดยตรง 2% ของ ปริ มาณรับซื ้อซึ่งเท่ากับ 48 ตัน และที่เหลือ เป็ นการรับซื ้อจากผู้รวบรวมรายย่อยระดับท้ องถิ่น 2,352 ตัน หลักจากส่งเจ๊ คา 297.5 ตัน ทาให้ เหลือผลผลิตอีก 2102.5 ตัน ที่สง่ ต่อไปยังไซโลในจังหวัดน่าน ได้ แก่ - ไซโลน้ อมจิต (Tier 2) 70% หรื อเท่ากับ 1,471.75 ตัน (คิดเป็ น 3.11% ของผลผลิตทังหมดใน ้ พื ้นที่) - ไซโลจังหวัดชัยนาท (Tier 3) 20% คิดเป็ น 420.5 ตัน หรื อ 0.89% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ - ไซโลพิจิตร (Tier 3) 10% คิดเป็ น 210.25 ตัน หรื อ 0.44% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ หัวสีเกรี ยงไกรรับซื ้อผลผลิตฤดูกาล 2555/2556 ทังสิ ้ ้น 10,867 ตัน คิดเป็ น 22.99% ของผลผลิตจาก พื ้นที่ จากนันขายผลผลิ ้ ตไปยัง - ไซโลจิตฟอง (Tier 2) 70% คิดเป็ น 7,606.9 ตัน (16.09% ของผลผลิตในพื ้นที่ทงหมด) ั้ - ไซโลใจงาม (Tier 2) 20% เท่ากับ 2,173.4 ตัน (4.60% ของผลผลิตในพื ้นที่ทงหมด) ั้ 6

สหกรณ์การเกษตรสาขาอวนไม่รับซื ้อ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

75


- ไซโลจิรภาส (Tier 2) 10% เท่ากับ 1,086.7 ตัน (2.30% ของผลผลิตในพื ้นที่ทงหมด) ั้ หัวสีเจ๊ คารับซื ้อผลผลิตฤดูกาล 2555/2556 ทังสิ ้ ้น 8,050 ตัน คิดเป็ น 17.03% ของผลผลิตจากพื ้นที่ โดย ในจานวนนี ้เป็ นการซื ้อต่อจากสหกรณ์การเกษตรสันติสขุ จานวน 297.5 ตัน (0.65%) นอกนันหั ้ วสีเจ๊ คารับ ซื ้อจากเกษตรกรโดยตรง (7,752.5 ตัน หรื อ 16.40%) จากนันขายผลผลิ ้ ตต่อไปยัง - ไซโลจังหวัดชัยนาท (Tier 3) 1,400 ตัน คิดเป็ น 2.96% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ - ไซโลจังหวัดพิจิตร (Tier 3) 700 ตัน คิดเป็ น 1.48% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ - ไซโลจังหวัดนครสวรรค์ (Tier 3) 1,750 ตัน คิดเป็ น 3.70% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ - โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อซีพี (Tier 4) 700 ตัน หรื อ 1.48% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ - โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อเบทาโกร (Tier 4) 3,500 ตัน หรื อ 7.40% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ พ่ อเลีย้ งส่ งเป็ นผู้รับซื ้อรายสาคัญในพื ้นที่จากการสอบถามเกษตรกรและผู้ประสานงานท้ องถิ่น จากการ สัมภาษณ์พอ่ เลี ้ยงส่งได้ อธิบายว่าตนเองเป็ นนายหน้ าที่ให้ บริ การสีและขนส่ง โดยให้ เกษตรกรต่อรองราคา กับผู้รับซื อ้ เอง และนายหน้ าจะคิดค่าบริ การหลังจากนัน้ พ่อเลีย้ งส่ง รับซื อ้ ผลผลิตฤดูกาล 2555/2556 ประมาณ 1,914 ตัน ซึ่งเป็ นการคานวณโดยนาสัดส่วนการรับซื ้อที่ได้ จากการสนทนากลุ่ม 4.05% คิดจาก ผลผลิตรวมของพื ้นที่ 4 ตาบล (4.05%*47,277) จากนันขายผลผลิ ้ ตไปยัง ไซโลน้ อมจิต จิตฟอง และใจงาม (Tier 2) แต่ไม่ได้ ระบุปริมาณ (คานวณโดยให้ สง่ 3 ที่เท่ากันคือ 638.24 ตัน หรื อ 1.35% ของผลผลิตรวม) หัวสีอ่ ืนๆ มีหวั สีรายเล็กอีกเป็ นจานวนมาก เท่าที่ทราบจากการสนทนากลุ่มก็มีมากกว่า 20 ราย รวมแล้ ว รับซื ้อผลผลิตจากเกษตรกร 20,853 ตัน หรื อ 44.11% จากนันขายผลผลิ ้ ตต่อไปยัง (จากการคานวณ)7 -

ไซโลน้ อมจิต 1,919 ตัน คิดเป็ น 4.06% ของผลผลิตในพื ้นที่

-

ไซโลจิตฟอง 7,497 ตัน คิดเป็ น 15.86% ของผลผลิตในพื ้นที่

7

วิธีการคานวณ อ้ างอิงจากสัดส่วนในการขายต่อของผู้รับซื ้อในพื ้นที่ (Tier1) คือ สหกรณ์การเกษตรสันติสขุ หัวสีเกรี ยงไกร หัวสีเจ๊ คา และ พ่อเลี ้ยงส่ง โดยทัง้ 4 รายมีปริ มาณผลผลิตที่รับซื ้อมารวมกัน 22,934 ตัน ขายต่อให้ ผ้ รู ับซื ้อใน Tier ต่างๆ ทังหมด ้ 7 ราย ดังนี ้ ไซโลน้ อมจิด 2,110 ตัน (9.20%) ไซโลจิตฟอง 8,245 ตัน (35.95%) ไซโลใจงาม 2,812 ตัน (12.26%) ไซโลจิรภาส 1,087 ตัน (4.74%) ไซโลระดับภูมิภาค 4,481 ตัน (19.54%) โรงงานอาหารสัตว์ในเครือซีพี 700 ตัน (3.05%) และโรงงานอาหารสัตว์ในเครือเบทาโกร 3,500 ตัน (15.26%) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

76


-

ไซโลจิรภาส 988 ตัน คิดเป็ น 2.09% ของผลผลิตในพื ้นที่

-

ไซโลใจงาม 2,557 ตัน คิดเป็ น 5.41% ของผลผลิตในพื ้นที่

-

ไซโลระดับภูมิภาค 4,074 ตัน คิดเป็ น 8.62% ของผลผลิตในพื ้นที่

-

โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อซีพี 636 ตัน คิดเป็ น 1.35% ของผลผลิตในพื ้นที่

-

โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อเบทาโกร 3,182 ตัน คิดเป็ น 6.73% ของผลผลิตในพื ้นที่ 3) Tier 2 ผู้รับซื ้อระดับจังหวัด/ไซโลจังหวัด ประกอบด้ วย สกต.จังหวัดน่าน และไซโลระดับจังหวัด 4 แห่ง ได้ แก่ ไซโลน้ อมจิต ไซโลจิรภาส

ไซโลจิตฟองและไซโลใจงาม ซึ่งทังหมดรั ้ บซื ้อจากผู้รับซื ้อท้ องถิ่นใน Tier 1 จากนันจะขายผลผลิ ้ ตต่อให้ กบั ไซโลระดับภูมิภาค (Tier 3) หรื อโรงงานอาหารสัตว์ (Tier 4) ส.ก.ต.จังหวัดน่ าน รับซื ้อผลผลิตในพื ้นที่ฤดูกาล 2555/2556 จานวน 3,490 ตัน จากนันส่ ้ งผลผลิตต่อไป ยัง - โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อเบทาโกร (Tier 4) 70% หรื อเท่ากับ 2,443 ตัน คิดเป็ น 5.17% ของ ผลผลิตรวมในพื ้นที่ - โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อซีพี (Tier 4) 20% หรื อเท่ากับ 698 ตัน คิดเป็ น 1.48% ของผลผลิตรวม ในพื ้นที่ - ฟาร์ มและผู้ซื ้อรายย่อยในจังหวัด (Tier 2) 10% หรื อเท่ากับ 349 ตัน คิดเป็ น 0.74% ของผลผลิต รวมในพื ้นที่ ผู้ซือ้ รายย่ อยในจังหวัดน่ านคือปลายทางของผลผลิตในพื ้นที่จานวน 349 ตัน (0.74%) ที่รับซื ้อจาก สกต. จังหวัดน่าน ไซโลน้ อมจิต รับซือ้ จากสหกรณ์ การเกษตรสันติสุข พ่อเลีย้ งส่งและหัวสีอื่นๆ รวมกัน 4,029 ตัน หรื อ 8.52% ของผลผลิตในพื ้นที่ จากนันขายต่ ้ อไปยัง บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

77


- ไซโลระดับภูมิภาครวม 55% หรื อเท่ากับ 2,216 ตัน (4.69% ของผลผลิตในพื ้นที่) - โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อเบทาโกร 40% เท่ากับ 1,611 ตัน (3.41% ของผลผลิตในพื ้นที่) - โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อซีพี 5% เท่ากับ 201 ตัน (0.43% ของผลผลิตในพื ้นที่) ไซโลจิรภาส รับซื ้อจากหัวสีเกรี ยงไกรและหัวสีอื่นๆรวมกัน 2,075 ตัน คิดเป็ น 4.39% ของผลผลิตรวมใน พื ้นที่ และขายต่อไปยังโรงงานอาหารสัตว์ในเครื อเบทาโกรทังหมด ้ ไซโลจิตฟอง รับซื ้อจากหัวสีเกรี ยงไกร พ่อเลี ้ยงส่ง และหัวสีอื่นๆรวมกัน 15,742 ตัน หรื อเท่ากับ 33.30% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ และขายต่อให้ โรงงานอาหารสัตว์ซีพี โรงงานอาหารสัตว์เบทาโกร และโรงงาน อาหารสัตว์อื่น (ไม่ระบุว่าสัดส่วนเป็ นอย่างไร คณะวิจยั คานวณโดยประมาณการให้ 3 ที่เท่ากัน 5,247.36 ตัน หรื อเท่ากับ 11.10% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่) ไซโลใจงาม รับซื ้อจากพ่อเลี ้ยงส่ง หัวสีเกรี ยงไกร และหัวสีอื่นๆรวมกัน 5,368 ตัน คิดเป็ น 11.35% ของ ผลผลิตรวมในพื ้นที่ และขายต่อให้ กับ โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อซีพี โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อเบทาโกร และโรงงานอาหารสัตว์อื่นๆ (ไม่ระบุว่าสัดส่วนเป็ นอย่างไร คณะวิจยั คานวณโดยประมาณการให้ 3 ที่ เท่ากันคือ 1,789,38 ตัน หรื อ 3.78% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่) 4) Tier 3 ไซโลระดับภูมิภาค ไซโลระดับภูมิภาคประกอบด้ วยไซโลในจังหวัดชัยนาท พิจิตร นครสวรรค์ อยุธยา และลพบุรี โดยรับซื อ้ จากสหกรณ์การเกษตรสันติสุข (Tier1) หัวสีเจ๊ คา (Tier1) หัวสีอื่นๆ (Tier1) และไซโลน้ อมจิต (Tier2) รวมกัน10,771 ตัน คิดเป็ น 22.78% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ จากการคานวณ ไซโลระดับภูมิภาคขาย ผลผลิตต่อไปยัง - ฟาร์ มเลี ้ยงสัตว์ในภูมิภาค 2,200 ตัน หรื อ 4.65% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ - โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อซีพี 1,877 ตัน หรื อ 3.97% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ - โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อเบทาโกร 1,400 หรื อ 2.96% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

78


- โรงงานอาหารสัตว์อื่นๆ 5,294 ตัน หรื อ 11.20% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ 5) Tier 4 โรงงานอาหารสัตว์ ผู้รับซื ้อใน Tier 4 ได้ แก่โรงงานอาหารสัตว์และฟาร์ มเลี ้ยงสัตว์ในภูมิภาค ซึ่งเป็ นปลายทางของ ผลผลิตจานวน 46,928 ตัน หรื อเกือบทังหมดของผลผลิ ้ ตในพื ้นที่ฤดูกาลเพาะปลูก 2555/2556 ฟาร์ มเลีย้ งสัตว์ ในภูมิภาค รับซื ้อจากไซโลระดับภูมิภาค จานวน 2,200 ตัน หรื อ 4.65% ของผลผลิตรวม ในพื ้นที่ โรงงานอาหารสัตว์ ในเครื อซีพี รับซื ้อจากผู้รับซื ้อท้ องถิ่น ผู้รับซื ้อระดับจังหวัด และไซโลระดับภูมิภาค รวมทังสิ ้ ้น 13,224 ตัน คิดเป็ น 27.97% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ โรงงานอาหารสัตว์ ในเครื อเบทาโกร รับซือ้ จากผู้รับซือ้ ท้ องถิ่น ผู้รับซือ้ ระดับจังหวัด และไซโลระดับ ภูมิภาค รวมทังสิ ้ ้น 19,173 ตัน คิดเป็ น 40.55% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ โรงงานอาหารสัตว์ อ่ ืนๆ รับซื ้อจากผู้รับซื ้อระดับจังหวัด และไซโลระดับภูมิภาค รวมทังสิ ้ ้น 12,331 ตัน คิดเป็ น 26.08% ของผลผลิตรวมในพื ้นที่ ผลการประเมินของคณะผู้วิจยั ว่า เครื อเบทาโกรมีส่วนแบ่งตลาดในการรับซื ้อข้ าวโพดจากพื ้นที่ วิจัยสูงกว่าเครื อซี พีราวร้ อยละ 12.5 (40.55% เทียบกับ 27.97%) นัน้ สอดคล้ องกับคาบอกเล่าของ เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างจาก 4 ตาบล ที่ให้ สมั ภาษณ์กบั คณะวิจยั ว่า พื ้นที่บริ เวณนี ้ให้ ผลผลิตข้ าวโพดเกรด ต่ากว่าบริเวณอื่น และเครื อซีพีคดั เกรดข้ าวโพดมากกว่าเครื อเบทาโกร แผนภูมิ 4.5 แสดงผลการศึกษารู ปแบบความสัมพันธ์ ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในห่วงโซ่อุปทาน ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ของ ตาบลพงษ์ ตาบลดูพ่ งษ์ และตาบลป่ าแลวหลวง ของอาเภอสันติสุข รวมทังต ้ าบล อวน อาเภอปั ว โดยพบว่ามีผ้ ูเล่นที่สาคัญ 12 รายด้ วยกัน โดยเป็ นการแลกเปลี่ยน 3 ลักษณะในห่วงโซ่ อุปทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ได้ แก่ การแลกเปลี่ยนด้ าน 1) เงินทุน 2) ปั จจัยการผลิต และ 3) ผลผลิตข้ าวโพด เลี ้ยงสัตว์

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

79


1) เงิ นทุน ผู้ที่เป็ นเจ้ าของเงินทุนปล่อยให้ เกษตรกรกู้รายแรกของห่วงโซ่อุปทาน ได้ แก่ ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์หรื อ ธ.ก.ส. จังหวัดน่าน ซึ่งทังปล่ ้ อยกู้ให้ กับเกษตรกรโดยตรงและปล่อยกู้ให้ สหกรณ์เพื่อการเกษตรประจาอาเภอต่างๆ ซึง่ สหกรณ์ฯ ก็จะทาเงินทุนไปปล่อยให้ เกษตรกรกู้อีกทีหนึง่ นอกจากนี ้เงินทุนอาจมีที่มาจากดีลเลอร์ ตวั แทนจาหน่ายปั จจัยการผลิตระดับจังหวัด ซึ่งจะไม่ได้ ให้ สินเชื่อในระบบอย่างเป็ นทางการ แต่จะปล่อยสินเชื่อระยะสันให้ ้ ร้านค้ าปั จจัยการผลิตในท้ องถิ่น และ หัวสี/พ่อค้ าผู้รวบรวมคนที่มีความสนิทสนมคุ้นเคยกัน ร้ านค้ าจะสามารถนาเอาปั จจัยการผลิตไปขายก่อน โดยที่ไม่ต้องจ่ายเงินเป็ นระยะเวลาตังแต่ ้ 1-2 อาทิตย์ จนถึง 2-3 เดือน ซึ่งขึ ้นอยู่กบั ความสัมพันธ์ ปริ มาณ การซือ้ ประวัติการชาระเงินในอดีต รวมทังลั ้ กษณะสินค้ าว่าเป็ นชนิดที่ตลาดต้ องการมากน้ อยเพียงใด หากตลาดผู้ซื ้อมีความต้ องการมาก ระยะการให้ เครดิตจะสันลง ้ ร้ านค้ าขายปั จ จัยการผลิตและหัวสีเป็ นผู้ปล่อยกู้ให้ กับเกษตรกรด้ วยเช่นกัน ซึ่ง อาจปล่อยกู้ใน รูปแบบการให้ ยืมเงินสด หรื อให้ ยืมปั จจัยการผลิต นอกจากนี ้ เกษตรกรบางรายยังใช้ เงินทุนตนเองรวมเป็ น ส่วนหนึง่ ในการลงทุนปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์แต่ละฤดูกาลด้ วย 2) ปัจจัยการผลิ ต เริ่มต้ นผู้เล่นรายแรกที่เกี่ยวข้ องคือผู้ผลิตปั จจัยการเกษตร ได้ แก่เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย และยาฆ่าหญ้ า ซึ่งจะส่งสินค้ าที่ผลิตได้ มาขายผ่านทางดีลเลอร์ ตวั แทนปั จจัยการผลิตประจาจังหวัด และ สกต. ซึง่ ในกรณีที่สง่ ผ่านสินค้ ามายังทาง สกต. ปั จจัยการผลิตจะถูกจัดส่งให้ กบั เกษตรกรผ่านจุดจาหน่าย แต่ละอาเภอ ในรูปแบบของสินเชื่อปั จจัยการเกษตรของทาง ธ.ก.ส. ในกรณีที่สินค้ าส่งผ่านมาทางดีลเลอร์ ประจาจังหวัด สินค้ าจะถูกส่งต่อไปยังสหกรณ์การเกษตร ร้ านค้ าปั จจัยการผลิตในท้ องถิ่น และหัวสี/พ่อค้ าผู้รวบรวมระดับท้ องถิ่น ซึ่งทังหมดนี ้ ้อาจซื ้อของมาจากดีล เลอร์ ด้วยเงินสด หรื อมีเครดิตระยะเวลาต่างกันไป จากนัน้ ผู้ เล่น 3 รายนีจ้ ะเป็ นผู้ส่งสินค้ าต่อให้ กับทาง เกษตรกรอีกทีหนึง่ 3) ผลผลิ ตข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์ หลังจากเก็บเกี่ยว ผลผลิตข้ าวโพดจากเกษตรกรจะกระจายไปสู่ 3 องค์กรด้ วยกัน ได้ แก่ หัวสี /พ่อค้ าผู้รวบรวมระดับท้ องถิ่น หน่วยรับซือ้ ของ สกต. และสหกรณ์ การเกษตร โดยผู้เล่นทัง้ 3 รายจะส่งข้ าวโพดไปขายต่อให้ กับผู้รับซื ้อหรื อไซโลระดับจังหวัด ซึ่งจะขายต่อให้ กับไซโล ระดับภูมิภาค ก่อนที่ข้าวโพดจะถูกส่งขายให้ กบั โรงงานอาหารสัตว์หรื อนาส่งออกต่างประเทศอีกทอดหนึ่ง บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

80


ทังนี ้ ้ผู้เล่นระดับท้ องถิ่นและระดับจังหวัดบางรายจะขายข้ าวโพดให้ กบั โรงงานอาหารสัตว์โดยตรงเลยด้ วย ขึ ้นอยูก่ บั ระดับราคารับซื ้อและคุณภาพของข้ าวโพด ทังนี ้ จ้ ากการวิจยั ภาคสนามพบว่า ผู้รับซือ้ ข้ าวโพดหรื อไซโลระดับจังหวัดจานวนมาก ประกอบ ธุรกิจเป็ นดีลเลอร์ ตวั แทนจาหน่ายปั จจัยการผลิตให้ กบั บริ ษัทผู้ผลิตต่างๆ ด้ วย ซึ่งทาให้ ไซโลระดับจังหวัด ส่งผลกระทบต่อการผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์อย่างมาก ทังในเชิ ้ งความสัมพันธ์ด้านเงินทุน การกระจายปั จจัย การผลิต และการรับซื ้อผลผลิตข้ าวโพดในห่วงโซ่อปุ ทาน คณะวิจยั จะทาการวิเคราะห์รายชื่อ ส่วนแบ่งการตลาด และกิจกรรมของผู้มีส่วนได้ เสียหลักในห่วง โซ่อปุ ทานข้ างต้ น ในบทที่ 5 ในลาดับต่อไป

4.3 สรุ ปข้ อค้ นพบสาคัญและนัยของข้ อค้ นพบในบทนี ้ ข้ อค้ นพบ

นัยสาคัญ

1. เมื่อเปรี ยบเทียบผลการวิจยั ที่ผ่านมา กับข้ อมูลที่ การที่หว่ งโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในน่านยังคงมี ได้ จ ากการท างานภาคสนามของคณะวิ จัย ครั ง้ นี ้ รูปแบบเดิมตลอดระยะเวลา 15 ปี บ่งชี ้ว่าโครงสร้ าง พบว่า ห่วงโซ่อุปทานข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์ ในจัง หวัด ตลาดมีผ้ เู ล่นจานวนมาก แต่อิทธิพลค่อนข้ างกระจุก น่ า น ยัง คงมี ลัก ษณะและรู ป แบบความสัม พัน ธ์ ตั ว อ านาจต่ อ รอง ลดหลั่ น ไ ปเป็ นชั น้ ๆ จาก คล้ ายเดิมตลอดระยะเวลา 15 ปี และผู้เล่นรายใหญ่ โรงงานผลิตอาหารสัตว์รายใหญ่ ไปถึงไซโลระดับ ในแต่ละส่วนของห่วงโซ่อปุ ทานก็มิใช่ผ้ เู ล่นหน้ าใหม่ ภูมิ ภ าค ไซโลระดับ จัง หวัด พ่อ ค้ า คนกลางระดับ หากเป็ นผู้เล่นที่ประกอบธุรกิจนี ้มาอย่างยาวนาน

ท้ องถิ่ น และเกษตรกรปลายทาง ซึ่ง มี อานาจการ ต่อรองน้ อยที่สดุ

2. งานวิจัยของ ส านักงาน ธ.ก.ส. จัง หวัดน่า น พ่อค้ าผู้รวบรวมระดับท้ องถิ่นคือบุคคลที่มีอิทธิ พล (2555) พบว่ า ร้ อยละ 58.82 ของกลุ่ ม ตัว อย่ า ง มากที่สดุ ต่อวิถีชีวิตของเกษตรกร เนื่องจากเป็ นผู้รับ เกษตรกรผู้ผ ลิ ต ข้ า วโพดเลี ย้ งสัต ว์ เ ลื อ กจ าหน่า ย ซื อ้ ผลผลิตส่วนใหญ่ โดยตรง ธ.ก.ส. มี บทบาทสูง ผลผลิ ตให้ กับพ่อค้ าคนกลาง ร้ อยละ 34.17 เลือก เฉพาะในฐานะผู้ปล่อยกู้รายใหญ่ แต่ไ ม่มีอิทธิ พ ล ขายผลผลิตด้ วยตนเอง การขายผลผลิ ตให้ กับ ธ. ต่อราคาเท่าไรนัก สาเหตุที่ เกษตรกรไม่เ ลื อกขาย ก.ส. เป็ นทางเลือกที่ได้ รับความนิยมน้ อยที่สุดเพียง ให้ กับ ธ.ก.ส. เป็ นเพราะประสบปั ญหาความล่าช้ า ร้ อยละ 4.76 การทางานภาคสนามของคณะวิจัย และไม่สะดวก ศูนย์รับซื ้อของ สกต. มีเพียงที่อาเภอ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

81


ข้ อค้ นพบ

นัยสาคัญ

พบว่า ผลผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ราวร้ อยละ 44 จาก เมืองน่านเพียงจุดเดียว เกษตรกรจะต้ องหาวิธีขน พื ้นที่วิจยั ถูกขายจากเกษตรกรผู้ปลูกไปยังพ่อค้ าคน สินค้ าเข้ ามาขายถึงอาเภอเมืองและลงทุนค่าขนส่ง กลาง (หัวสี) รายใหญ่ 3 รายรวมกัน ได้ แก่ พ่อเลี ้ยง เพิ่มเติมด้ วยตนเอง ต่างจากพ่อค้ าผู้รวบรวมที่จะมี ส่ง เจ๊ คา และเกรี ยงไกร โดยมีผลผลิตเพียงร้ อยละ บริการขนส่งให้ ด้วย 7.38 ที่ขายให้ กับ สกต. ซึ่งเป็ นหน่วยงานของ ธ. ก.ส. ซึ่งทาหน้ าที่รับซื ้อผลผลิตแทรกแซงตลาดเพื่อ พยุงราคา 3. ผลผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในพื ้นที่วิจยั ราวร้ อยละ ไซโลระดับจังหวัด โดยเฉพาะไซโล 4 รายใหญ่ มี 57.5 ถูกขายต่อจากพ่อค้ าคนกลางไปยังไซโลระดับ อิทธิ พลต่อการผลิตข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ในพืน้ ที่ วิจัย จังหวัด 4 ราย ได้ แก่ น้ อมจิต จิรภาส จิตฟอง และใจ เป็ นอย่ า งสูง และในหลายด้ า นด้ ว ยกัน ทัง้ ในเชิ ง งาม มีผลผลิตราวร้ อยละ 22.78 เท่านันที ้ ่ขายผ่าน ความสัม พัน ธ์ ด้ านเงิ น ทุน การกระจายปั จ จัย การ ไซโลระดับภูมิภาค

ผลิ ต และการรั บ ซื อ้ ผลผลิ ต ข้ าวโพดในห่ ว งโซ่

ไซโลระดับจังหวัดหลายรายประกอบธุรกิจเป็ นดีล อุปทาน เลอร์ ตวั แทนจาหน่ายปั จจัยการผลิตด้ วย 4. ผลการประเมินของคณะผู้วิจยั ว่า เครื อเบทาโกรมี ผลการประเมิ น จากพื น้ ที่ วิ จัย ครั ง้ นี ้ แตกต่า งจาก ส่วนแบ่งตลาดในการรับซื ้อข้ าวโพดจากพื ้นที่วิจยั สูง ส่วนแบ่งการตลาดระดับชาติของโรงงานผลิตอาหาร กว่าเครื อซี พี ราวร้ อยละ 12.5 (40.55% เที ยบกับ สัตว์รายใหญ่ ซึ่งเครื อซีพีเป็ นผู้ครองตลาด นับเป็ น 27.97%) ซึ่งสอดคล้ องกับคาบอกเล่าของเกษตรกร เครื่ องยืนยันถึงผลกระทบของระดับความเหมาะสม กลุ่ ม ตั ว อย่ า งจาก 4 ต าบล ที่ ใ ห้ สั ม ภาษณ์ กั บ ของพื น้ ที่ ก ารเพาะปลูก ต่อ คุณ ภาพของผลผลิ ต คณะวิจยั ว่า พื ้นที่บริ เวณนี ้ให้ ผลผลิตข้ าวโพดเกรด ข้ าวโพด ราคารับซื ้อที่เกษตรกรได้ รับ จนถึงส่วนแบ่ง ต่ า กว่า บริ เ วณอื่ น และเครื อ ซี พี คัด เกรดข้ า วโพด ตลาดของโรงงานผลิตอาหารสัตว์ ซึ่งมีนโยบายการ มากกว่าเครื อเบทาโกร

รับซื ้อที่แตกต่างกัน มิได้ รับผลผลิตเกรดเดียวกันทุก โรงงาน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

82


5. วิเคราะห์ แผนที่ห่วงโซ่ อุปทาน 5.1

ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย เมื่อพิจารณาแผนที่ห่วงโซ่อุปทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในจังหวัดน่าน คณะวิจยั สามารถแบ่งผู้มีส่วน

ได้ สว่ นเสียตามกิจกรรมในห่วงโซ่ได้ 8 กลุม่ ดังนี ้ 5.1.1 ผู้ปล่ อยสินเชื่อ บุคคลหรื อองค์กรที่ปล่อยสินเชื่อให้ เกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดที่ไม่มีทุนทรัพย์สาหรับซื ้อปั จจัยการ ผลิต จากการสัมภาษณ์กลุม่ เชิงลึกพบว่าเกษตรกรกู้ยืมเงินทุนจาก 4 แหล่งหลักดังต่อไปนี ้ 1) ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์ ( ธ.ก.ส.) 2) สหกรณ์การเกษตร 3) กองทุนต่างๆ และ 4) หัวสี/พ่อค้ าคนกลาง จากการสัมภาษณ์กลุม่ เกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง 120 คน จากอาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอ ปั ว ถึงการกู้เงินมาลงทุนเพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ฤดูกาลล่าสุด พบว่าเกษตรกรมีการกู้เงินจากแหล่งทุน ต่างๆ มากกว่า 1 แหล่ง โดย ธ.ก.ส.และสหกรณ์การเกษตรเป็ นแหล่งเงินทุนหลักของเกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง ทังในแง่ ้ ของจานวนเกษตรกรที่ได้ รับสินเชื่อและมูลค่าสินเชื่อ เกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง 84 ราย จาก 120 ราย มีการกู้จาก ธ.ก.ส. มูลค่าสินเชื่อ 6,832,811 บาท รองลงมาเป็ นสหกรณ์การเกษตร ตาราง 5.1 จานวนเกษตรที่ก้ เู งินจากแหล่งทุนต่างๆ แหล่งเงินทุน

จานวนเกษตรกร (คน)

% จาก 120

ธ.ก.ส.

84

70.00%

สหกรณ์การเกษตร

68

56.67%

กองทุนหมู่บ้าน

59

49.17%

หัวสี/พ่อค้ าคนกลาง

20

16.67%

กองทุนอื่นๆ

31

25.83%

ที่มา: การสัมภาษณ์ภาคสนาม

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

83


ตาราง 5.2 มูลค่าสินเชื่อที่ให้ แก่เกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างแยกตามแหล่งทุน แหล่งเงินทุน

มูลค่าสินเชื่อ

ธ.ก.ส.

6,832,8118

สหกรณ์การเกษตร

4,758,0009

กองทุนหมู่บ้าน

1,574,00010

กองทุนอื่นๆ

574,000

หัวสี/พ่อค้ าคนกลาง

240,00011

ที่มา: การสัมภาษณ์ภาคสนาม 5.1.2 ผู้จาหน่ ายปั จจัยการผลิต บุคคลหรื อองค์กรที่ขายเมล็ดพันธุ์ สารกาจัดวัชพืชและปุ๋ยให้ เกษตรกร โดยผู้จาหน่ายปั จจัยการ ผลิตและผู้ปล่อยสินเชื่ออาจเป็ นคนหรื อองค์กรเดียวกัน เช่น สหกรณ์การเกษตรเพื่อ การตลาดลูกค้ า (สกต.) และสหกรณ์ การเกษตร ที่นอกจากจะให้ สินเชื่อแล้ ว ยังจาหน่ายปั จจัยการผลิตด้ วย จากการสัมภาษณ์ พบว่าบางกรณีเกษตรกรที่ก้ เู งินจาก ธ.ก.ส. หรื อ สหกรณ์การเกษตร ต้ องซื ้อปั จจัยการผลิตจากที่ๆกู้เงินมา นอกจาก 2 แห่งนี ้แล้ ว ยังมีร้านค้ าจาหน่ายปั จจัยการผลิตในท้ องถิ่นและตัวแทนจาหน่ายระดับจังหวัดอีก ด้ วย จากการศึก ษาปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่อการผลิต ข้ า วโพดเลี ย้ งสัต ว์ จัง หวัด น่า น ปี 2554/2555

ของ

สานักงานเกษตรจังหวัดน่านพบว่าเกษตรกรซื ้อสารกาจัดวัชพืชจากแหล่งจาหน่าย 4 แหล่ง ประกอบด้ วย สกต. สหกรณ์การเกษตร ร้ านค้ า และพ่อค้ าคนกลาง โดยเกษตรกรซื ้อสารกาจัดวัชพืชจากร้ านค้ ามากที่สดุ 329 ราย คิดเป็ น 45.69% และร้ านค้ าจาหน่ายสารกาจัดวัชพืชไปทังสิ ้ ้น 8,246 ลิตร คิดเป็ น 40.45% และ เกษตรกรซื ้อปุ๋ยจากแหล่งจาหน่าย 5 แหล่ง ประกอบด้ วย สกต. สหกรณ์การเกษตร ร้ านค้ า สหกรณ์ ร้ านค้ า

8

เกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างจานวน 84 ราย กู้ยืมจาก ธ.ก.ส. แต่สามารถระบุจานวนสินเชื่อได้ 72 ราย เกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างจานวน 68 ราย กู้ยืมจากสหกรณ์การเกษตร สามารถระบุจานวนสินเชื่อได้ 59 ราย 10 เกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างจานวน 59 ราย กู้ยืมจากกองทุนหมูบ่ ้ าน สามารถระบุจานวนสินเชื่อได้ 56 ราย 11 เกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างจานวน 20 ราย กู้ยืมจากกองทุนหมูบ่ ้ าน สามารถระบุจานวนสินเชื่อได้ 4 ราย 9

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

84


ชุมชน และพ่อค้ าคนกลาง โดยเกษตรกรซื ้อปุ๋ยจากร้ านค้ ามากที่สดุ 260 ราย คิดเป็ น 36.72% และร้ านค้ า จาหน่ายปุ๋ยไปทังสิ ้ ้น 135,795 กิโลกรัม คิดเป็ น 34.41% ตาราง 5.3 จานวนเกษตรกรที่ซื ้อสารกาจัดวัชพืชและปุ๋ยแยกตามแหล่งจาหน่าย แหล่งจาหน่าย

สารกาจัดวัชพืช

ปุ๋ย

จานวนเกษตรกร (คน)

% (N=396)

จานวนเกษตรกร (คน)

% (N=396)

ร้ านค้ า

329

83.08

260

65.66

สหกรณ์การเกษตร

210

53.03

182

45.96

สกต.

133

33.59

161

40.66

-

-

60

15.15

48

12.12

45

11.36

สหกรณ์ร้านค้ า ชุมชน พ่อค้ าคนกลาง

ที่มา: ดัดแปลงจากสานักงานเกษตรจังหวัดน่าน

ตาราง 5.4 ปริมาณการซื ้อสารกาจัดวัชพืชแยกตามแหล่งจาหน่าย แหล่งจาหน่าย

ปริมาณการซื ้อ (ลิตร)

%

ร้ านค้ า

8,246

40.45

สหกรณ์การเกษตร

7,568

37.12

สกต.

3,352

16.44

พ่อค้ าคนกลาง

1,221

5.99

รวม

20,387

100

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดน่าน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

85


ตาราง 5.5 ปริมาณการซื ้อปุ๋ยแยกตามแหล่งจาหน่าย แหล่งจาหน่าย

ปริมาณการซื ้อ (กิโลกรัม)

%

ร้ านค้ า

135,795

34.41

สหกรณ์การเกษตร

126,260

32.00

สกต.

94,325

23.90

สหกรณ์ร้านค้ าชุมชน

23,500

5.96

พ่อค้ าคนกลาง

14,720

3.73

รวม

394,600

100

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดน่าน สาหรับเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างจานวน 120 คน ในพื ้นที่ 4 ตาบล มีการซื ้อปั จจัยการผลิต ได้ แก่ เมล็ดพันธุ์ สารกาจัดวัชพืช และปุ๋ย จากแหล่งจาหน่าย 5 ประเภท ประกอบด้ วย สกต. สหกรณ์การเกษตร ร้ านค้ าปลีก ร้ านค้ าส่ง และหัวสี /ผู้ให้ ก้ ู โดยสามารถซื ้อปั จจัยการผลิตจากแหล่งจาหน่ายได้ มากกว่าหนึ่ง แห่ง จากการสารวจพบว่าเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างกว่าครึ่ งได้ ซือ้ ปั จจัยการผลิตทัง้ 3 ชนิดจากสหกรณ์ การเกษตร รองลงมาเป็ นร้ านค้ าปลีกทัว่ ไป ตาราง 5.6 จานวนเกษตรกรในกลุม่ ตัวอย่างที่เลือกซื ้อปั จจัยการเกษตรชนิดต่างๆ แยกตามแหล่งจาหน่าย แหล่งจาหน่าย

จานวนเกษตรกร (คน) เมล็ดพันธุ์

สารกาจัดวัชพืช

ปุ๋ย

สกต.

26

24

33

สหกรณ์การเกษตร

60

65

60

ร้ านค้ าปลีก

53

38

37

ร้ านค้ าส่ง

4

3

7

หัวสี/ผู้ให้ ก้ ู

1

0

3

ที่มา: การสัมภาษณ์ภาคสนาม บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

86


5.1.3 เกษตรกร ผู้ปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ จากการรวบรวมของสานักงานเกษตรจังหวัดน่าน เกษตรกรผู้เพาะปลูก ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในฤดูกาล2555/2556 มีทงสิ ั ้ ้น 40,748 ครัวเรื อน พื ้นที่เพาะปลูกรวม 882,764.10 ไร่ เก็บ เกี่ยวผลผลิตได้ ทงหมด ั้ 517,830.5 ตัน ตาราง 5.7 ข้ อมูลการเพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ของเกษตรกรจังหวัดน่าน ปี เพาะปลูก จานวนครัวเรื อน เนื ้อที่เพาะปลูก (ไร่)

ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้

ผลผลิตเฉลี่ย

(กิโลกรัม)

(กิโลกรัม/ไร่)

2548/2549

n/a

293,336.00

234,498.70

737.61

2549/2550

n/a

360,161.20

275,707.87

789.08

2550/2551

n/a

378,731.00

279,758.03

742.00

2551/2552

n/a

582,735.00

421,766.70

790.93

2552/2553

n/a

852,218.92

644,997,317.00

758.29

2553/2554

41,226.00

798,459.75

546,114,312.00

743.00

2554/2555

40,254.00

836,613.65

459,267,848.00

940.15

2555/2556

40,748.00

882,764.10

517,830,048.95

877.48

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดน่าน สาหรับเกษตรกรในพื ้นที่ตาบลพงษ์ ตาบลดู่พงษ์ ตาบลป่ าแลวหลวง และตาบลอวน มีผลผลิตที่ เก็บเกี่ยวได้ ในฤดูกาล 2555/2556 รวมกันทังสิ ้ ้น 47,277.1 ตัน คิดเป็ น 9.13% ของผลผลิตในจังหวัดน่าน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

87


ตาราง 5.8 ข้ อมูลการเพาะปลูกข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ของเกษตรกรในพื ้นที่ตาบลพงษ์ ตาบลดู่พงษ์ ตาบล ป่ าแลวหลวง และตาบลอวน ปี เพาะปลูก

ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ (ตัน) จังหวัดน่าน

สันติสขุ

% ของผลผลิตทัง้ จังหวัด

อวน

2548/2549

234,498.70

16,191.62

n/a

6.90%

2549/2550

275,707.87

12,326.68

n/a

4.47%

2550/2551

279,758.03

17,725.57

n/a

6.34%

2551/2552

421,766.70

27,424.76

n/a

6.50%

2552/2553

644,997.32

27,424.76

n/a

4.25%

2553/2554

546,114.31

20,605.10

11,097.60

5.81%

2554/2555

459,267.85

42,341.58

13,646.96

12.19%

2555/2556

517,830.05

35,107.10

12,170.00

9.13%

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดน่าน, สานักงานเกษตรอาเภอปั ว สาหรับงานวิจยั นี ้ทาการเก็บข้ อมูลจากเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างผู้ปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จานวน 120 คน ในพื ้นที่ศึกษาคือลุ่มน ้ายาว-อวน-มวบ ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมพื ้นที่ตาบลพงษ์ ตาบลดู่พงษ์ ตาบล ป่ าแลวหลวง ของอาเภอสันติสขุ และตาบลอวน อาเภอปั ว เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างทาการเพาะปลูกข้ าวโพด เลี ้ยงสัตว์ตงแต่ ั ้ 2 ไร่ จนถึงบางรายที่มีมากกว่า 50 ไร่ โดยส่วนใหญ่ทาการเพาะปลูกบนพื ้นที่ชนั

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

88


ตาราง 5.9 ข้ อมูลการเพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ของเกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างในฤดูกาล 2555/2556 ตาบล

จานวนเกษตรกร กลุม่ ตัวอย่าง

เนื ้อที่เพาะปลูก (ไร่)

ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้

ผลผลิตเฉลี่ย

(กิโลกรัม)

(กิโลกรัม/ไร่)

พงษ์

36

822

600,577.00

730.63

ดูพ่ งษ์

36

938

1,057,132.00

1,127.01

24

601.25

501,888.00

834.74

อวน

24

659

511,399.00

776.02

รวม

120

3020.25

2,670,996.00

884.36

ป่ าแลว หลวง

ที่มา: การสัมภาษณ์ภาคสนาม 5.1.4 หัวสี/พ่ อค้ าคนกลางระดับหมู่บ้านและตาบล ผู้รวบรวมข้ าวโพดจากเกษตรกรในท้ องถิ่นเพื่อนามาขายต่อในกับไซโลระดับอาเภอ/จังหวัดอีกทอด จากการสัมภาษณ์ภาคสนามในพื ้นที่วิจยั 4 ตาบล พบว่ามีผ้ รู ับซื ้อท้ องถิ่นอยู่มากกว่า 100 ราย แต่หวั สี/ ผู้รับซื ้อรายใหญ่ระดับท้ องถิ่นมีเพียง 2 ราย คือ เจ๊ คา และเกรี ยงไกร ต้ นผึ ้ง สาหรับเกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพด เลี ้ยงสัตว์กลุ่มตัวอย่าง 120 คน ได้ ขายผลผลิตให้ หวั สี /พ่อค้ าคนกลางระดับหมู่บ้านและตาบลทังสิ ้ ้นกว่า 25 ราย

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

89


ตาราง 5.10 รายชื่อพ่อค้ าคนกลางที่รับซื ้อจากเกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างในฤดูกาลเพาะปลูก 2555/56 ปริ มาณรับซื ้อ (กิโลกรัม) ผู้รับซื ้อ

ดูพ่ งษ์

พงษ์

ป่ าแลว หลวง

อวน

ปริ มาณรับซื ้อ รวม 4 ตาบล

ส่วนแบ่ง ตลาด 4 ตาบล

เกรี ยงไกร สุทธเขต / เงิน สุทธเขต

559,600

35,300

49,688

0

644,588

24.13%

เจ๊ คา

264,400

137,500

51,200

0

453,100

16.96%

พัด มณีวรรณ

146,600

0

0

0

146,600

5.49%

สม บ้ านทุง่ ค้ อน

0

0

129,100

0

129,100

4.83%

ธัญชนก (เจ๊ ยา)

0

0

0

125,500

125,500

4.70%

พ่อเลี ้ยงส่ง

0

0

108,100

0

108,100

4.05%

อื่นๆ

86,532

427,777

163,800

385,899

1.064,008

39.84%

1,057,132 600,577

501,888

511,399

2,670,996

100.00%

รวม

ที่มา: การสัมภาษณ์ภาคสนาม 5.1.5 ไซโลระดับจังหวัดและภูมิภาค เริ่ มต้ นจากระดับจังหวัด ไซโลหรื อพ่อค้ าคนกลางผู้รับซื ้อ จะซือ้ ข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์จากหัวสีหรื อ พ่อค้ าคนกลางระดับท้ องถิ่นจากหมู่บ้านหลายแห่ง ส่งขายให้ โรงงานอาหารสัตว์หรื อไซโลระดับภูมิภาคอีก ทอด ส่วนในจังหวัดน่าน จากการสัมภาษณ์ประกอบการคานวณ พบว่านอกจาก สกต.น่าน มีไซโลเอกชน ระดับจังหวัดรายใหญ่อยู่ประมาณ 7 แห่ง ซึ่งรับซื ้อรวมกันคิดเป็ นประมาณ 81.55% ของผลผลิตในจังหวัด น่าน โดยมีสว่ นแบ่งการรับซื ้อดังนี ้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

90


ตาราง 5.11 สัดส่วนการรับซื ้อของไซโลระดับจังหวัด (จากการประมาณการ) ชื่อไซโล ใจงาม ชัยมิตร จอมพระพืชผล จิตฟอง จันทรา สวัสดีวงษา น่านพืชผล น้ อมจิตร สกต.น่าน รวม

สัดส่วนการรับซื ้อผลผลิตในพื ้นที่วิจยั 21.49% 21.49% 8.46% 7.52% 6.58% 6.58% 5.64% 3.76% 81.55%

ที่มา: สัมภาษณ์เกษตรกร ไซโล และการคานวณของผู้วิจยั ด้ านไซโลระดับภูมิ ภ าค ได้ แก่ ผู้รับซื อ้ ข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์ จ ากหัวสี หรื อพ่อค้ าคนกลางทัง้ ระดับ ท้ องถิ่นและระดับจังหวัด แล้ วนาไปขายให้ กบั โรงงานอาหารสัตว์อีกทอด จากการสัมภาษณ์พ่อค้ าคนกลาง ในพื ้นที่วิจยั และระดับจังหวัดน่าน พบว่าข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จาก 4 ตาบลบางส่วนจะถูกรวบรวมและขายให้ ไซโลระดับภูมิภาคที่อยูใ่ นจังหวัดพิจิตร นครสวรรค์และชัยนาท 5.1.6 โรงงานอาหารสัตว์ โรงงานอาหารสัตว์เป็ นผู้ใช้ ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์มากที่สดุ กว่า 94% ของข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ที่ผลิตได้ ใน ประเทศ โดยเฉพาะโรงงานผลิตอาหารไก่ เนื่องจากอาหารไก่ต้องใช้ ข้าวโพดเป็ นส่วนประกอบถึง 55-65% จากการสัมภาษณ์เกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง หัวสี และไซโลระดับจังหวัดรายใหญ่พบว่า ข้ าวโพดในพื ้นที่วิจยั ราว 30% ที่เกษตรกรขายให้ กบั หัวสีและไซโลระดับจังหวัดนัน้ ถูกขายให้ แก่บริ ษัท เบทาโกร มากที่สดุ คิด เป็ นประมาณ 17% ของผลผลิต รองลงมาคือบริ ษัทในเครื อซีพี คิดเป็ นประมาณ 9.5% ของผลผลิต เมื่อนา ข้ อมูลจากการสัมภาษณ์เกษตรกรและไซโลระดับจังหวัดมาคานวณกับข้ าวโพดอีกราว 70% ของผลผลิต ทังหมดที ้ ่ส่งไปยังไซโลระดับภูมิภาค คณะวิจยั ประเมินว่าข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในพื ้นที่วิจยั ทังหมดน่ ้ าจะถูก

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

91


ขายให้ แก่บริ ษัท เบทาโกร มากที่สดุ คิดเป็ นประมาณ 40.5% ของผลผลิต รองลงมาคือบริ ษัทในเครื อซีพี คิดเป็ นประมาณ 27.9% ของผลผลิต 5.1.7 บริษัทผู้ผลิตปั จจัยการผลิต บริ ษัทผู้ผลิตปั จจัยการผลิต หมายถึง ผู้ผลิตปั จ จัยการผลิตหลัก 3 ชนิดที่ ใช้ ในการเพาะปลูก ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ได้ แก่ เมล็ดพันธุ์ สารกาจัดวัชพืช และปุ๋ย 1) เมล็ดพันธุ์ จากการศึก ษาปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่อการผลิต ข้ า วโพดเลี ย้ งสัต ว์ จัง หวัด น่า น ปี 2554/2555

ของ

สานักงานเกษตรจังหวัดน่าน พบว่าเมล็ดพันธุ์ที่เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างใช้ ปลูกมีทงสิ ั ้ ้น 25 พันธุ์ จากผู้ผลิต 11 ราย โดยเมล็ดพันธุ์ ซีพี888 เป็ นพันธุ์ที่ได้ รับความนิยมสูงสุด โดยเกษตรกรเลือกปลูก 214 ราย คิดเป็ น 54.04% และบริ ษัท กรุ งเทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จากัด เป็ นผู้ผลิตที่เกษตรกรเลือกใช้ เมล็ดพันธุ์มาก ที่สดุ คือ 224 ราย คิดเป็ น 56.57% ตาราง 5.12 รายชื่อพันธุ์ข้าวโพดที่ใช้ ปลูกในพื ้นที่จงั หวัดน่านปี 2554/2555 แยกตามผู้ผลิต ลาดับ 1 2 3 4 5

ผู้ผลิต บริษัท กรุงเทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จากัด (เครื อซีพี) เวิลด์ซีดส์ บจก. บริษัท ไพโอเนียไฮเบรดไทยแลนด์เมล็ดพันธุ์ จากัด บริษัท แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์ จากัด บริ ษัท ซินเจนทา ซีดส์ จากัด ผู้ผลิตรายอื่น

จานวนเกษตรกร

% (N=396)

224

56.57

45

11.36

34

8.56

27 19 47

6.28 4.80 11.87

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดน่าน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

92


จากการสัมภาษณ์ภาคสนามในงานวิจยั ครัง้ นี ้พบว่า เมล็ดพันธุ์ของบริ ษัท กรุ งเทพอุตสาหกรรม เมล็ดพันธุ์ จากัด ในเครื อซีพี ได้ รับความนิยมสูงสุด โดยมีเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างจานวน 102 รายที่เลือกใช้ รองลงมาเป็ นเมล็ดพันธุ์ของบริษัท ไพโอเนียไฮเบรดไทยแลนด์เมล็ดพันธุ์ จากัด ที่เกษตรกรเลือกใช้ 71 ราย ตาราง 5.13 เมล็ดพันธุ์ที่เกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างเลือกใช้ ในฤดูกาลเพาะปลูก 2556/2557

ตาบล พงษ์ ดูพ่ งษ์ ป่ าแลวหลวง อวน รวม %จาก 120

บริษัท กรุงเทพ อุตสาหกรรมเมล็ด พันธุ์ จากัด (เครื อซี พี) 21 30 21 24 96 80.00%

บริษัท ไพโอเนีย ไฮเบรดไทย แลนด์เมล็ดพันธุ์ จากัด 33 12 9 16 70 58.33%

บริษัท แป ซิฟิคเมล็ด พันธุ์ จากัด

บริษัท ซิน เจนทา ซีดส์ จากัด

0 1 0 0 1 0.83%

1 1 0 1 3 2.50%

อื่นๆ 1 2 1 1 5 4.17%

ที่มา: การสัมภาษณ์ภาคสนาม 2) สารกาจัดวัชพืช สารกาจัดวัชพืชที่เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างเลือกใช้ มีมากกว่า 10 ยี่ห้อ จากการสัมภาษณ์ภาคสนาม พบว่า สารกาจัดวัชพืชประเภทยาคุม (atrazine) ยี่ห้อเอเทร็ก90 มีเกษตรกรเลือกใช้ ทงสิ ั ้ ้น 71 คน รองลงมา เป็ นสารกาจัดวัชพืชตาหวีทองซึ่ง ผลิตทังสารประเภทยาดู ้ ดซึม (glyphosate) และยาเผาไหม้ (paraquat) โดยมีเกษตรกรเลือกใช้ ทงสิ ั ้ ้น 42 ราย

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

93


ตาราง 5.14

ตราสิ น ค้ า ของสารก าจัด วัช พื ช ที่ เ กษตรกรกลุ่ม ตัว อย่ า งเลื อ กใช้ ใ นฤดูก าลเพาะปลูก

2556/2557

ตราสินค้ า

บริษัทผู้ผลิต

เอเทร็ก

ซินเจนทา บริษัท สหภัณฑ์ หวีทอง ส่งเสริมการเกษตร จากัด เข้ แดง โค้ วโต้ งเซ้ งเคมีเกษตร กรัมม็อกโซน ซินเจทา วันอัพ เจียไต๋ น็อกโซน เจียไต๋ เมเจอร์ โซน เมเจอร์ ฟาร์ ไกลบูม โกลบอล ครอปส์ บริษัท ป.เคมีเทค หมาแดง จากัด เมเจอร์ ฟี เมเจอร์ ฟาร์ อื่นๆ

ต. พงษ์ 20

จานวนเกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างที่เลือกใช้ ต.ดู่ ต.ป่ าแลว ต.อวน รวม % จาก 120 พงษ์ หลวง 26 12 13 71 59.17%

11

18

11

2

42

35.00%

0 17 1 0 3 6

9 5 10 5 0 1

6 0 0 5 4 0

10 2 0 0 1 1

25 24 11 10 8 8

20.83% 20.00% 9.17% 8.33% 6.67% 6.67%

0

5

1

0

6

5.00%

4 4

0 10

0 3

2 0

6 17

5.00% 12.48%

ที่มา: การสัมภาษณ์ภาคสนาม 3) ปุ๋ ย ปุ๋ยที่เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างเลือกใช้ มีทงสิ ั ้ ้น 9 ยี่ห้อ แบ่งเป็ น 2 ชนิดหลักคือปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรี ย์ สาหรับปุ๋ยเคมีสูตรหลักที่เกษตรกรเลือกใช้ ได้ แก่ ปุ๋ยเคมีสตู ร 15-15-15 ปุ๋ยยูเรี ยสูตร 46-0-0 ปุ๋ยน ้าตาล 21-0-0 ซึ่งจะนามาผสมกัน หรื อเลือกซื ้อปุ๋ยเคมีที่ผ้ ผู ลิตผสมมาเรี ยบร้ อยแล้ วเรี ยกว่าปุ๋ยผสม จากการ สัมภาษณ์ภาคสนามถึงตราสินค้ าที่เกษตรกรเลือกใช้ โดยไม่จาแนกชนิดของปุ๋ยพบว่า ปุ๋ยตรากระต่ายมี

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

94


เกษตรกรเลือกใช้ มากที่สดุ จานวน 63 ราย รองลงมาเป็ นปุ๋ยตราหัววัวคันไถ มีเกษตรกรเลือกใช้ ทงสิ ั ้ ้น 49 ราย ตาราง 5.15 ตราสินค้ าของปุ๋ยที่เกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างเลือกใช้ ในฤดูกาลเพาะปลูก 2556/2557

ตราสินค้ า

บริษัทผู้ผลิต

กระต่าย หัววัวคัน ไถ หมอดิน

เจียไต๋ (เครื อซีพี)

มงกุฎ

จานวนเกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างที่เลือกใช้ ต.ป่ าแลว ต.พงษ์ ต.ดูพ่ งษ์ ต.อวน รวม หลวง 17 15 12 19 63

% จาก 120 52.50%

ไทยเซ็นทรัลเคมี

26

8

4

11

49

40.83%

ซีพี เทอราโกร เฟอร์ ตไิ ล เซอร์

4

19

13

6

42

35.00%

2

1

3

1

7

5.83%

1

3

1

0

5

4.15%

อื่นๆ ที่มา: การสัมภาษณ์ภาคสนาม 5.2

กิจกรรมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในห่ วงโซ่ อุปทาน จากการค้ นคว้ าเอกสารและการสัม ภาษณ์ ผ้ ูมี ส่วนได้ ส่ว นเสี ยในห่วงโซ่อุป ทาน สามารถสรุ ป

รายละเอียดกิจกรรมซึ่งผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมผลิตข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ได้ ดงั แผนภูมิกิจกรรมของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย (ดูแผ่นพับแนบรายงานฉบับนี ้) 5.2.1 ผู้ผลิตปั จจัยการผลิต: เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย และยาฆ่ าหญ้ า ผู้ผลิตปั จจัยการผลิตถือเป็ นผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียกลุ่มแรกในห่วงโซ่อปุ ทานของอุตสาหกรรมข้ าวโพด เลี ้ยงสัตว์ ซึ่งประกอบด้ วย 3 ปั จจัยหลักด้ วยกันได้ แก่ 1) เมล็ดพันธุ์ข้าวโพด 2) ปุ๋ย 3) สารกาจัดศัตรู พืช โดยมีรายละเอียดและลักษณะกิจกรรมดังนี ้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

95


1) การผลิตปั จจัยการผลิต เมล็ดพันธุ์ข้าวโพด การใช้ เมล็ดพันธุ์ที่ดีเป็ นปั จจัยสาคัญอันดับแรกของการปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ เกษตรกรจะมุ่งหา เมล็ดพันธุ์ที่มีเปอร์ เซ็นต์การงอก และความแข็งแรงสูง ซึ่งเจริ ญเติบโตเป็ นต้ นพืชที่แข็งแรง ทนแล้ ง ทนฝน ทนทานต่อโรค ผลผลิตน ้าหนักสูง เมล็ดเต็ม สีสนั สวยงาม ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์จึงจาเป็ นต้ องพัฒนาให้ พนั ธุ์ดี ตรงตามความต้ องการของเกษตรกรและตลาด หัวใจสาคัญของการผลิตพันธุ์ข้าวโพดอยู่ที่การศึกษาวิจัยค้ นคว้ าพัฒนาพันธุกรรมของข้ าวโพด เลี ย้ งสัตว์ ซึ่ง มี ม าอย่างยาวนาน ตามธรรมชาตินัน้ ข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์ เป็ นพื ช ที่ ปลูกง่ าย ปรั บตัวเข้ ากับ สภาพแวดล้ อมต่างๆ ได้ ดี แต่เป็ นพืชที่มีความแปรปรวนทางพันธุกรรมสูง จึงปรากฏให้ เห็นเป็ นข้ าวโพดที่มี หลายสายพันธุ์ผสมปนเปกันอยู่ (กรมวิชาการเกษตร, 2547) พันธุ์ของข้ าวโพดสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทหลัก ดังนี ้ พันธุ์ผสมเปิ ด (open pollinated variety) คือพันธุ์ที่มีมาแต่เดิมที่และมีการผสมปนเปของ ข้ าวโพดหลากหลายสายพันธุ์ ซึ่งพันธุ์ผสมเปิ ดนี ้สามารถปรับตัวให้ เข้ ากับธรรมชาติและสภาพแวดล้ อมได้ ง่าย จึงอ่อนไหวต่อสิ่งแวดล้ อมน้ อย หากฝนแล้ ง หรื อดินไม่ดี ก็ยงั สามารถให้ ผลผลิตได้ และยังสามารถเก็บ เมล็ดพันธุ์ไปปลูกในฤดูกาลต่อไปได้ พันธุ์ลูกผสม (hybrids) เป็ นข้ าวโพดที่ได้ รับการปรับปรุงพันธุ์โดยนาสายพันธุ์ที่มีลกั ษณะเด่นและ แตกต่างด้ านพันธุกรรมมาผสมกัน ทาให้ ไ ด้ พันธุ์ ลูกผสมที่มี ลักษณะเหนือกว่าพ่อแม่ในด้ านต่างๆ เช่น ผลผลิตมากกว่า เจริ ญเติบโตได้ เร็ ว ทนทาน ขนาดใหญ่ เป็ นต้ น เมื่อค้ นพบคูท่ ี่ให้ ลกั ษณะเด่นตามต้ องการ ก็จะนาไปขยายสายพันธุ์เพื่อผลิตเมล็ดสาหรับการเพาะปลูกต่อไป ข้ าวโพดพันธุ์ลกู ผสมมีความแปรปรวนทางพันธุกรรมน้ อย ทาให้ แต่ละต้ นมีความคล้ ายคลึงกันมาก และตอบสนองต่อสภาพแวดล้ อมในลักษณะเดียวกัน ซึง่ หากสภาพแวดล้ อมไม่อานวย เช่น เกิดภัยแล้ งหรื อ ศัตรูพืช จะเกิดความเสียหายเช่นเดียวกันทุกต้ น นอกจากนี ้ข้ าวโพดลูกผสมไม่สามารถเก็บเมล็ดเพื่อใช้ ใน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

96


การเพาะปลูกต่อไปได้ เพราะเมล็ดจะกลายพันธุ์และให้ ผลผลิตลดลงอย่างมาก (สุทัศน์ ศรี วัฒนพงษ์ , 2553) ข้ าวโพดพันธุ์ลูกผสมเป็ นที่นิยมปลูกประมาณร้ อยละ 90 ของพืน้ ที่ปลูกในประเทศไทย (กรม ส่งเสริ มการเกษตร, 2549) โดยที่ผ้ ูค้นคว้ าพัฒนาพันธุ์ลูกผสมส่วนใหญ่เป็ นบริ ษัทเอกชน ได้ แก่ บริ ษัท กรุงเทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์จากัด บริ ษัท ไพโอเนียไฮเบรดไทยแลนด์เมล็ดพันธุ์ จากัด บริ ษัท ไพโอเนีย เมล็ดพันธุ์ จากัด บริษัท แปซิฟิค เมล็ดพันธุ์ จากัด บริษัท ซินเจนทา เมล็ดพันธุ์ จากัด เป็ นต้ น  การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กิจกรรมของผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ประกอบด้ วยการ สรรหาพ่อพันธุ์แม่พนั ธุ์ที่ดี มีลักษณะตรงตามที่ ต้ องการ ซึ่งอาจจะนามาจากต่างประเทศหรื อพัฒนาพันธุ์ขึ ้นจากแม่พนั ธุ์ ในประเทศไทย แล้ วนามาผสม พันธุ์ในห้ องทดลองเพื่อ วิ จัยค้นคว้าพัฒ นา ให้ ไ ด้ พันธุ์ ที่มี ลักษณะดีและที่ สาคัญคือเหมาะสมกับพื น้ ที่ เพาะปลูกแต่ละรู ปแบบที่ต่างกันไป ส่วนขัน้ ตอนการ ผลิ ตเมล็ดพันธุ์ ซึ่งนาไปขายให้ เกษตรกรนัน้ จะ ประกอบด้ วยการเลือกพื ้นที่ปลูกที่ดี มีความอุดมสมบูรณ์ ปรับพื ้นที่และสภาพดิน ลงมือปลูกเมล็ดโดยใช้ สายพันธุ์แท้ พ่อสลับกับพันธุ์แท้ แม่ตามระยะห่างที่กาหนด จากนันใส่ ้ ป๋ ยุ ใส่สารเคมีกาจัดวัชพืช ให้ นา้ เก็บเกี่ยว คัดฝั ก ตาก และกะเทาะเมล็ด ขัน้ ตอนต่อมาคือการคัดแยกเมล็ดพันธุ์เพื่อปรับปรุ งสภาพ คัด ขนาดเมล็ดด้ วยตะแกรง ทาความสะอาดเมล็ดด้ วยเครื่ องเป่ า ตากให้ มีความชื ้นไม่เกิน 12% จากนันคลุ ้ ก เมล็ดด้ วยสารเคมีเพื่อควบคุมโรคและแมลง นามาบรรจุ เก็บรักษาให้ อยู่ในระดับความชื ้นที่เหมาะสมไม่ เกินร้ อยละ 12% ห่างไกลจากสัตว์และโรค ถ่ายเทอากาศดี (กรมวิชาการเกษตร, 2547) ปุ๋ ยเคมี ปริ มาณและชนิดของปุ๋ยที่ใช้ ในการเพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์มีความแตกต่างกันในแต่ละพื ้นที่ ขึ ้นอยู่ที่ประเภทของดินเป็ นหลัก จากเอกสารวิชาการของกรมวิชาการเกษตร (2547) แม้ ปริ มาณและชนิด ของปุ๋ยที่แนะนาสาหรับดินแต่ละประเภทจะต่างกัน แต่ประกอบด้ วยปุ๋ยชนิดหลักเพียงไม่กี่ชนิด ได้ แก่ ปุ๋ย สูตร 21-0-0, 46-0-0, 20-20-20, 46-0-0, 16-20-0, 16-16-8 และ 15-15-15 ซึง่ เป็ นปุ๋ยเคมีทงสิ ั ้ ้น  การผลิตปุ๋ยเคมี บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

97


ในประเทศไทยผู้ผลิตปุ๋ยเคมีหรื อยาปราบศัตรู พืชจะนาเข้ าสารตังต้ ้ นหรื อแม่ป๋ ยเข้ ุ ามาจากต่างประเทศ ทังหมด ้ ปั จจุบนั ยังไม่มีผ้ ผู ลิตรายได้ สามารถผลิตแม่ป๋ ยหรื ุ อสารปราบศัตรูพืชได้ ด้วยตนเอง โรงงานเหล่านี ้ จะสั่งซื อ้ วัตถุดิบจากต่างประเทศใน 2 รู ปแบบ คือ 1) สั่งซื อ้ สารตังต้ ้ นแล้ วนามาผสมตามสูตรให้ ไ ด้ ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ กัน และ 2) สัง่ ซื ้อปุ๋ยและสารเคมีที่ผสมเสร็จเรี ยบร้ อยแล้ วมาใส่ลงบรรจุภณ ั ฑ์เท่านัน้ กรรมวิธีการผลิตปุ๋ยเคมี ประกอบด้ วยการนาสารตังต้ ้ นหรื อแม่ป๋ ยที ุ ่ให้ ธาตุอาหารสาคัญ ซึ่ง ส่วนใหญ่จะใช้ 3 ชนิด ได้ แก่ ธาตุไนโตรเจน (N) เรี ยกว่า ปุ๋ย N-P-K

ธาตุฟอสฟอรัส (P) และธาตุโปแตสเซียม (K) หรื อที่

มาผสมใส่ตวั เติม โดยกรรมวิธีการผลิตปุ๋ยเคมีในประเทศไทยมักเป็ นการผลิตใน

ลักษณะเชิงผสม (Physical Mixing Process) ตามสูตรที่ต้องการ กรรมวิธีนี ้เป็ นวิ ธีที่โรงงานผลิตปุ๋ยส่วน ใหญ่ในประเทศทาการผลิตอยู่ (สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2544) บางรายอาจนาเข้ าสารตังต้ ้ นมา เพื่อผสมเอง หรื อโรงงานที่มีความสามารถในการผลิตต่า อาจน ้าเข้ าปุ๋ยที่ผสมเสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ วมาบรรจุ ลงถุงเท่านัน้ ยกตัว อย่างเช่น ปุ๋ยสูต ร 15–15–15 หมายความว่า จะน าแม่ป๋ ุยมาค านวณให้ ใ นเนื อ้ ปุ๋ย 100 กิโลกรัม มี ไนโตรเจน(N) อยู่ 15 กิโลกรัม ฟอสฟอรัส (P) อยู่ 15 กิโลกรัม และมีโปแตสเซียม (K) อยู่ 15 กิโลกรัม รวมเป็ น 45 กิโลกรัม และอีก 55 กิโลกรัมที่เหลือจะเป็ นสารเติมแต่ง (ฟิ ลเลอร์ ) เพื่อให้ ได้ ปริ มาณ ครบจานวน 100 กิโลกรัม ซึ่งฟิ ลเลอร์ ที่เติมเข้ าไปก็คือ ดินขาว (Clay) นันเอง ้ ดังนันปุ ้ ๋ ยเคมีที่เกษตรกรซื ้อ ส่วนใหญ่แล้ วจะเป็ นฟิ ลเลอร์ หรื อดินขาวอย่างน้ อย 50 เปอร์ เซ็นต์ ซึ่งดินขาวจะช่วยในการปั น้ เม็ดให้ กลม สวย ทาให้ เม็ดปุ๋ยมีความแข็ง ไม่แตกร่วนในขณะเก็บไว้ นานๆ รวมถึงช่วยเหนี่ยวรัง้ ไนโตรเจน (N) ซึ่งเป็ น ธาตุอาหารหลักตัวหนึง่ ในเนื ้อปุ๋ยไม่ให้ สลายตัวไปกับอากาศเร็ วเกินไป แต่ดินขาวไม่ได้ เป็ นประโยชน์ตอ่ พืช และอาจจะแทรกตัวไปอัดแน่นอยู่ในช่องว่างของดิน ทาให้ เม็ดดินยึดเกาะจับตัวกันแน่นขึน้ และขับไล่ อากาศที่มีอยูใ่ นดินออกไป ดังนันดิ ้ นที่ใช้ ป๋ ยเคมี ุ ตดิ ต่อกันมาโดยตลอด จะมีแนวโน้ มเกิดสภาพเป็ นกรดและ แข็งกระด้ าง (สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2544)  การกาหนดราคาปุ๋ยเคมี ประเทศไทยไม่มีแหล่งวัตถุดิบที่จะใช้ ในการผลิตปุ๋ยเชิงพาณิชย์ จึงอาศัยการนาเข้ าจากต่างประเทศเป็ น หลัก ราคาปุ๋ยเคมีสตู รหลักที่ใช้ กนั อย่างแพร่หลายในประเทศไทยมีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้น โดยราคาปุ๋ยที่พ่งุ สูงใน บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

98


ปี 2551 นันเป็ ้ นผลจากราคาน ้ามันที่เพิ่มสูงขึ ้น (กรมวิชาการเกษตร, N/A) สาหรับตลาดปุ๋ยเคมีในประเทศ ไทยนันมี ้ ลกั ษณะกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition) มีผ้ ปู ระกอบการนาเข้ าและจาหน่าย จานวนมาก สินค้ ามีความแตกต่างกันตามสูตรและตราสินค้ า แต่มีให้ เลือกมากมายและสามารถใช้ ทดแทน กันได้ ดี แม้ วา่ ผู้ซื ้อและผู้ขายจะมีอิสระในการซื ้อขาย แต่ผ้ ขู ายมีการรวมกลุม่ ในการกาหนดราคาได้ แม้ จะไม่ สามารถผูกขาดได้ อย่างเต็มที่ก็ตาม (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2553) สารกาจัดศัตรู พืช ปั จจุบนั มีการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพืชอย่างแพร่หลายในเกษตรกรรมของไทยเพื่อป้องกันความเสียหายต่อ ผลผลิตทางการเกษตร ศัตรูพืชที่สาคัญของข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด ได้ แก่ แมลงซึ่งกาจัดโดย ยาฆ่าแมลง (insecticide) และวัชพืชซึง่ กาจัดโดยสารกาจัดวัชพืช (herbicide) อย่างไรก็ดีการปลูกข้ าวโพด เลี ้ยงสัตว์ในปั จจุบนั ไม่ได้ ถกู คุกคามโดยแมลงมากนักจึงไม่จาเป็ นต้ องใช้ ยาฆ่าแมลง เหลือเพียงการใช้ สาร กาจัดวัชพืชเป็ นหลัก12 สารกาจัดวัชพืชที่ใช้ โดยทัว่ ไปในการเพาะปลูกข้ าวโพดมี 3 ชนิดหลัก ได้ แก่ ไกลโฟ เสต (glyphosate) พาราควอท (paraquat) และอาทราซีน (atrazine)  การผลิตยาฆ่ าหญ้ า ประกอบด้ วยการนาเข้ าสารเคมีตงต้ ั ้ น มาผสมด้ วยตัวทาละลายตามสูตรให้ ได้ ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ กัน ตัวทาละลายที่โรงงานผลิตยาปราบศัตรูพืชใช้ มกั จะผสมกลิ่นเพื่อให้ ทราบว่าเป็ นสารเคมีอนั ตราย และ อาจผสมสี หรื อสารที่ทาให้ อาเจียนหากกลืนกินเข้ าไปด้ วย โดยจะแตกต่างกันไปแล้ วแต่ผ้ ูผลิตแต่ละราย ส่วนตัวสารเคมีหลักจะมีลกั ษณะเหมือนกันทุกยี่ห้อ แต่อาจมีจดุ แตกต่างกันตรงแหล่งที่นาเข้ าสารเคมีตงั ้ ต้ นเหล่านี ้ ซึง่ อาจมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา หรื อจากประเทศจีนซึง่ ราคาถูกกว่า เป็ นต้ น ปั จจุบนั ประเทศไทยไม่มีการผลิตสารตังต้ ้ น และพึ่งพาการนาเข้ าจากต่างประเทศทั ง้ หมด จาก ข้ อมูลสถิติที่รวบรวมโดยสานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตรพบว่า ประเทศไทยนาเข้ าวัตถุอนั ตรายทาง การเกษตรจากประเทศจีนมากที่สดุ โดยคิดเป็ นกว่าครึ่งของปริ มาณและมูลค่าการนาเข้ าวัตถุอนั ตรายทาง การเกษตรทังหมดตั ้ งแต่ ้ ปี พ.ศ.2550 ถึง พ.ศ.2556 (ม.ค.-มิ.ย.) โดยไกลโฟเสตและพาราควอทเป็ นวัตถุ 12

ข้ อมูลจากการสัมภาษณ์ ศ.ดร.เจริ ญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์ และการสัมภาษณ์เกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดในพื ้นทีส่ ารวจ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

99


อันตรายที่มีการนาเข้ ามากเป็ นอันดับ 1 และ 2 ทังในแง่ ้ มลู ค่าและปริ มาณตังแต่ ้ ปี พ.ศ.2550 ถึงปี พ.ศ. 2556 (ม.ค.-มิ.ย.) ขณะที่อาทราซีนนันมี ้ การนาเข้ าอยูใ่ นลาดับต้ นๆ เช่นกัน 2) การจัดจาหน่ ายปั จจัยการผลิต จากการสัม ภาษณ์ เ ชิ ง ลึก เกษตรกรและผู้มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ ง พบว่ารู ปแบบการจัด จ าหน่า ย และ ส่งเสริมการขายปั จจัยการผลิตประกอบด้ วยกิจกรรมและขันตอนต่ ้ างๆ ดังนี ้ จัดหาผูแ้ ทนจาหน่าย (ดีลเลอร์ ) ดีลเลอร์ จะมี สิทธิ์ ผูกขาดในการขายสินค้ าในแต่ละพื ้นที่ ยกตัวอย่างเช่น เมล็ดพันธุ์และปุ๋ยของ เครื อบริ ษัทเจริ ญโภคภัณฑ์ จะมี ตวั แทนจาหน่ายผูกขาดในพื ้นที่จงั หวัดน่านเพียง 2 ราย ได้ แก่ บริ ษัท ใจ งาม จากัด และห้ างหุ้นส่วนจากัด น่านพืชผล โดยผู้แทนจาหน่าย 2 รายนี ้จะไม่สามารถจาหน่ายสินค้ าอื่นที่ เป็ นคูแ่ ข่งได้ เช่นกัน ซึง่ รายละเอียดเงื่อนไขจะขึ ้นอยูก่ บั การตกลงกันระหว่างบริษัทกับดีลเลอร์ แต่ละราย ส่วนพ่อค้ าร้ านขายปั จจัยการเกษตรทัง้ หมดในจังหวัดน่าน รวมทังสหกรณ์ ้ การเกษตรในอาเภอ ต่างๆ ที่ต้องการผลิตภัณฑ์ในเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จะต้ องมาซื ้อของจากดีลเลอร์ 2 รายนี ้เท่านัน้ โดยอาจ สั่งของผ่านพนักงานขาย (เซลล์ ) ของบริ ษัทก็ไ ด้ ซึ่ง จากการสัมภาษณ์ พบว่า ร้ าน ช. การเกษตร และ สหกรณ์การเกษตรอาเภอสันติสุข ซึ่งเป็ นแหล่งกระจายปั จจัยการผลิตทีสาคัญของอาเภอสันติสุข จังหวัด น่าน จะต้ องมารับสินค้ าจากร้ านน่านพืชผลและร้ านใจงามเช่นกัน ดีลเลอร์ จะผ่านการอบรมกับบริ ษัทผู้ผลิต และฟั งการให้ ความรู้ เกี่ยวกับข้ อมูลสินค้ าต่างๆ รวมถึง วิธีการใช้ ที่ถกู ต้ องและปริ มาณที่เหมาะสม ดีลเลอร์ แต่ละรายอาจมีเครื อข่ายของพ่อค้ าที่รับของไปขายต่อ ในแต่ละท้ องถิ่น หรื อซับดีลเลอร์ ซึ่งพื ้นที่การขายจะไม่ทบั ซ้ อนกัน หรื ออาจจะซ ้ากันแต่มีจานวนน้ อยราย แล้ วแต่เงื่อนไขที่ตกลงกับบริษัทผู้ผลิต ส่งเสริ มการขาย บริ ษัทผู้ผลิตปั จจัยจะจัดทากิจกรรมส่งเสริ มการขายรู ปแบบต่างๆ เพื่อให้ สินค้ าได้ รับความนิยม และเพิ่มยอดขาย โดยลักษณะกิจกรรมที่พบจากการสัมภาษณ์ ได้ แก่ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

100


 โฆษณาทางโทรทัศน์ และวิ ทยุ ตัวอย่างเช่น โฆษณาทางโทรทัศน์ของปุ๋ยยี่ห้อหัววัวคันไถซึ่ง เน้ นภาพเกษตรกรที่มีฐานะร่ ารวย มีบ้าน รถ และหญิงสาวรายล้ อม ยืนยันว่าใช้ แล้ วได้ ผลดี หรื อโฆษณาปุ๋ย ตรากระต่ายที่พยายามเน้ นว่า ปุ๋ยตรากระต่ายนันดี ้ กว่าและแตกต่างจากยี่ห้ออื่นๆ หากเป็ นโฆษณาของยา ฆ่าหญ้ า เช่น กรัมม็อคโซน จะมีข้อความระบุให้ เกษตรกรอ่านและปฏิบตั ิตามข้ อความที่ระบุบนฉลากอย่าง เคร่งครัด แต่มิได้ มีการกล่าวย ้าเรื่ องความปลอดภัยในคาพูดของตัวละครแต่อย่างใด โฆษณาต่างๆ เหล่านี ้ จะเริ่ มฉายในช่วงระยะก่อนฤดูกาลเพาะปลูก หรื อช่วงเริ่ มต้ นของการเพาะปลูกตังแต่ ้ เดือนเมษายน – มิถนุ ายน (ดูรายละเอียดตัวอย่างในภาคผนวก)

 แผ่นพับ บริ ษัทต่างๆ จะจัดทาแผ่นพับเพื่อแสดงวิธีการเพาะปลูกและบรรยายสรรพคุณ โดย วิธีการมักใช้ ดารา นักดนตรี นักแสดงตลกที่เป็ นที่ร้ ูจกั ของเกษตรกรมาเป็ นพรี เซ็นเตอร์ หรื อใช้ นกั วิชาการ เกษตรผู้มีตาแหน่งทางวิชาการมายืนยัน โดยบางยี่ห้อจะใช้ รูปและคาให้ สมั ภาษณ์ของเกษตรกรที่ซื ้อสินค้ า ไปใช้ แล้ วได้ ผลดีมายืนยันในแผ่นพับด้ วย (ดูตวั อย่างในภาคผนวก)

 จัดหาพนักงานส่งเสริ มการขาย แต่ละบริ ษัทจะจ้ างพนักงานส่งเสริ มการขาย หรื อเซลล์ ซึ่ง ร้ านค้ าต่างๆ จะไม่ได้ สงั่ ซื ้อสินค้ าจากเซลล์โดยตรง เนื่องจากจะต้ องสัง่ จากดีลเลอร์ ในแต่ละพื ้นที่เท่านัน้ แต่ เซลล์จะทาหน้ าที่อธิบายสินค้ าให้ กับดีลเลอร์ พ่อค้ า สหกรณ์การเกษตร ธ.ก.ส. และเกษตรกร พร้ อมรับ เรื่ องร้ องเรี ยนจากเกษตรกร ลงสารวจพืน้ ที่ตรวจแปลงเพาะปลูก นาของแถมพรี เมียมต่างๆ มามอบให้ พ่อค้ า และชักชวนให้ สงั่ ซื ้อสินค้ าจากดีลเลอร์ ของบริษัทตนเอง เป็ นต้ น บริ ษัทจะมีการจัดประชุมก่อนการขาย เซลล์จะต้ องเข้ ารับการอบรม 1-2 ครัง้ ต่อปี ก่อนเริ่ มฤดูกาล เวลาที่มีผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ออกมา ฝ่ ายวิจยั และพัฒนาของบริ ษัทก็จะต้ องมาอบรมให้ กบั เซลล์ ทังในส่ ้ วน ของสารเคมีและเมล็ดพันธุ์ เซลล์สง่ เสริมการขายจะให้ คาแนะนากับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องตามที่ได้ รับการอบรม มา และแนะนาตามฉลากที่ระบุไว้ บนบรรจุภณ ั ฑ์ แต่จะปรับแนวคาพูดให้ เข้ าใจง่ายขึ ้น และเหมาะสมกับ ผู้ฟั ง โดยส่วนมากจะเป็ นการแนะนาปริ ม าณและอัตราการใช้ เนื่ องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ จ ะทราบ วิธีการใช้ อยูแ่ ล้ ว

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

101


 กิ จกรรมลด แลก แจก แถม ทดลองใช้ฟรี ส่วนใหญ่แล้ วกิจกรรมลักษณะนี ้จะจัดผ่านดีลเลอร์ และเซลล์ ซึ่งจะส่งต่อกิจกรรมส่งเสริ มการขายให้ กบั ร้ านค้ าในท้ องถิ่นต่างๆ อีกทอดหนึ่ง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในช่วงที่มีการแนะนาสินค้ าชนิดใหม่เข้ าสู่ตลาด มักจะมีการจัดโปรโมชั่นดึงดูดใจให้ เกษตรกรหันมา เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ของตนเอง เช่น การแถมของใช้ ของที่ระลึก บางร้ านอาจจัดรายการซื ้อ 10 แถม 1 หรื อ แจกเมล็ ดพันธุ์ 1 กิ โลกรั ม ให้ ทดลองใช้ ฟรี โดยบริ ษัทผู้ผลิตปั จ จัยการเกษตรจะเป็ นผู้กาหนดนโยบาย กิจกรรมโปรโมชัน่ และของแจก

 จัดงานมหรสพบันเทิ ง จากการสัมภาษณ์ พ บว่าในบางพื น้ ที่จะมี การจัดการแสดงบันเทิง ดนตรี คอนเสิ ร์ต เพื่ อ ดึง ดูด ให้ เ กษตรกรเข้ า มาร่ ว มงาน โดยบริ ษั ทผู้ขายปั จ จัย การผลิตต่างๆ จะเป็ น ผู้สนับสนุนและมาออกร้ านขายสินค้ าด้ วยเงินสด หรื อพร้ อมรับสัง่ จองในงาน และโฆษณาสรรพคุณของ สินค้ าให้ กบั เกษตรกรได้ รับทราบ โดยจะจัดปี ละ 1 ครัง้ หรื อ 2 ปี ต่อครัง้ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม

 เข้าร่ วมงานประชุมให้ความรู้ เกษตรกรประจาปี ซึ่งจัดโดย สกต. และ สหกรณ์ การเกษตร ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ -มีนาคม ของทุกปี ก่อนเริ่ มฤดูกาลเพาะปลูกทางสหกรณ์การเกษตรและ สกต. จะ เชิญตัวแทนผู้ขายปั จจัยการผลิตยี่ห้อต่างๆ มาโฆษณาและอธิบายวิธีการใช้ สินค้ าให้ กบั เกษตรกร อย่างไรก็ ดี จากการสัมภาษณ์เกษตรกรกล่าวว่า ผู้ขายมักโฆษณาแต่สรรพคุณและวิธีการว่าต้ องใช้ สินค้ าอย่างไรถึง จะได้ ผลดี โดยที่ไม่ได้ เน้ นเรื่ องความปลอดภัยหรื อการป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมแต่อย่างใด

 การทาแปลงสาธิ ตในพืน้ ที ่ เป็ นกิจกรรมที่จะจัดเฉพาะบริ ษัทผู้ขายเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเท่านัน้ วิธีการคือทางบริษัทจะจ้ างเกษตรกรรายที่มีพื ้นที่แปลงปลูกอุดมสมบูรณ์ อยู่ในบริ เวณที่พบเห็นได้ ง่าย หรื อ จ้ างเกษตรกรที่ขึ ้นชื่อว่าเป็ นเกษตรกรดีเด่น ให้ เป็ นผู้ปลูกข้ าวโพดโดยใช้ เมล็ดพันธุ์ของบริ ษัท และปลูก ตามวิธีการที่ทางบริ ษัทวางไว้ เพื่อแสดงให้ เกษตรกรในหมู่บ้านและตาบลเห็นว่าเมล็ดพันธุ์ของบริ ษัทใช้ ได้ ผลดี ข้ าวโพดต้ นแข็งแรง ฝั กใหญ่ เมล็ดสวย น ้าหนักดี เพื่อจูงใจให้ เกษตรกรรายอื่นๆ หันมาเลือกใช้ เมล็ดพันธุ์ยี่ห้อนัน้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

102


5.2.2 ผู้ปล่ อยสินเชื่อ จากการสัมภาษณ์พบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่จ ะเลือกกู้จาก ธ.ก.ส. และสหกรณ์การเกษตรประจา อาเภอมากที่สุด รองลงมาคือการกู้กองทุนหมู่บ้าน การกู้พ่อค้ าคนกลางหรื อหัวสี และการกู้กองทุนอื่นๆ ผสมรวมกันไป โดยมีเกษตรกรน้ อยรายที่ใช้ เงินทุนของตนเองในการปลูกข้ าวโพด 1) การกู้ในระบบธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร ( ธ.ก.ส.) เกษตรกรจะเป็ น ลูกหนี ้ ธ.ก.ส. ในปริ มาณแตกต่างกัน โดยจากการสัมภาษณ์ พบว่า แต่ละรายมียอดสินเชื่อ (ของหลาย สัญญากับ ธ.ก.ส.) รวมกัน ตังแต่ ้ 10,000 – 300,000 บาท ซึง่ เงื่อนไขของสัญญากู้มีลกั ษณะต่างกันไป เช่น สินเชื่อโครงการ Value Chain (ข้ าวโพด) หรื อโครงการเพิ่มมูลค่าข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ครบวงจรให้ แก่เกษตรกร ได้ ก้ เู งินเพื่อการผลิตในอัตราดอกเบี ้ยต่า ควบคูก่ บั การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต โดยจะมีการจัดประชุม เพื่ อให้ ความรู้ ด้ านการผลิ ต และการจัดการผลผลิตแก่ลูกค้ าในโครงการควบคู่ด้วย โดยคุณสมบัติผ้ ูก้ ู จะต้ องเป็ นลูกค้ าที่มีลกั ษณะตามข้ อบังคับประจาสาขาพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดที่ยื่นขอกู้ (ธ.ก.ส., 2012) จากการสัมภาษณ์สานักงาน ธ.ก.ส. อาเภอปวน พบว่าคุณสมบัตขิ องผู้ขอยื่นกู้ประกอบด้ วย 1. เป็ นเกษตรกร 13 2. ต้ องบรรลุนิตภิ าวะ 3. มีสญ ั ชาติไทย 4. มีความชานาญ หรื อได้ รับการฝึ กอบรมในด้ านเกษตรกรรมมาแล้ วพอสมควร 5. มีถิ่นที่อยู่และประกอบอาชีพเกษตรกรรมของตนในท้ องที่ดาเนินงานของสาขาซึ่งตนขอขึน้ ทะเบียนเป็ นลูกค้ าประจาสาขามาแล้ วติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึง่ ปี 6. โดยปกติเ ป็ นผู้ก่อให้ เ กิ ดผลิ ตผลการเกษตรเพื่ อขายหรื อมี รายได้ อื่นในปี หนึ่ง ๆ เป็ นมูลคา พอสมควร 7. เป็ นผู้มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีชื่อเสียงดี ขยันขันแข็งในการประกอบอาชีพ และรู้จกั ประหยัด 8. ไม่เป็ นคนวิกลจริต หรื อจิตฟั่ นเฟื อนไม่สมประกอบ 9. ไม่เป็ นบุคคลล้ มละลาย หรื อเป็ นผู้มีหนี ้สินล้ นพ้ นตัว 13

ด้ วยการยืนยันจากกานันและคณะกรรมการในหมูบ่ ้ าน บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

103


10. ไม่เคยถูกออกจากการเป็ นลูกค้ าประจาสาขาของธนาคารมาก่อน โดยวงเงินกู้ของลูกค้ าแต่ล ะรายไม่เกิ น 200,000 บาท และเงิ นจานวนนี จ้ ะต้ องไม่เกินกว่า การ ประเมินค่าใช้ จ่ายเพื่อผลผลิตข้ าวโพด รวมกับค่าใช้ จ่ายในครัวเรื อนบางส่วน นอกจากนีแ้ ล้ ว จากการ สัมภาษณ์ เกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง ยังพบว่าหลักประกันเงินกู้ของสินเชื่อประเภทนี ้ จะใช้ บุคคลค ้าประกัน เงินกู้แบบกลุม่ จานวน 5 คน โดยไม่จาเป็ นต้ องมีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินเพาะปลูกแต่อย่างใด ยกเว้ นในกรณีที่ กู้เงินเพื่อเป็ นค่าลงทุน เกษตรกรจะต้ องนาทรัพย์สินมาจานองเป็ นหลักประกัน ซึ่งอาจเป็ นที่ดิน สิ่งปลูก สร้ าง และเครื่ องจักรอุปกรณ์ และใช้ ค ้าประกันเงินกู้ได้ ไม่เกินหนึ่งเท่าของราคาประเมินวงเงินตามสัญญา จานอง ( ธ.ก.ส., 2012) นอกจากนี ้ยังพบว่าเกษตรกรสามารถเลือกได้ ว่าจะกู้เป็ นเงินทุ น หรื อเป็ นปั จจัยการผลิต ซึ่งจะทา สัญญาแตกต่างกัน ดอกเบี ้ยของการกู้เป็ นเงินทุนจะสูงกว่าการกู้เป็ นปั จจัยการผลิตเพื่อปลูกข้ าวโพด และ ดอกเบี ้ยอาจมากกว่านี ้หากประวัตกิ ารชาระหนี ้ของเกษตรกรไม่ดี ตาราง 5.16 โครงสร้ างอัตราดอกเบี ้ยเงินกู้ ของ ธ.ก.ส. สาขาอาเภออวน จังหวัดน่าน ชันลู ้ กค้ า

สัญลักษณ์

ลูกค้ าชันดี ้ เลิศ (PRIME PLUS) ลูกค้ าชันดี ้ เยีย่ ม (PRIME) ลูกค้ าชันดี ้ มาก (VERY GOOD) ลูกค้ าชันดี ้ (GOOD) ลูกค้ าผิดนัดชาระ (DEFAULT)

AAA+ AAA AA A B

ลักษณะของลูกค้ า ลูกค้ าสามารถชาระหนี ้ได้ ตาม กาหนดติดต่อกัน 4 ปี ขึ ้นไป ลูกค้ าสามารถชาระหนี ้ได้ ตาม กาหนดติดต่อกัน 3 ปี ขึ ้นไป ลูกค้ าสามารถชาระหนี ้ได้ ตาม กาหนดติดต่อกัน 2 ปี ขึ ้นไป ลูกค้ าสามารถชาระหนี ้ได้ ตาม กาหนดติดต่อกัน 1 ปี ขึ ้นไป ลูกค้ าไม่สามารถชาระหนี ้ได้ ตาม กาหนด

อัตราดอกเบี ้ยร้ อย ละ (ต่อปี )

อัตราดอกเบี ้ยร้ อยละ (ต่อปี )

MRR + 0

7.00

MRR + 0.75

7.75

MRR + 1.50

8.25

MRR + 2.50

9.25

MRR + 3.00

10.00

ที่มา : การสัมภาษณ์เจ้ าหน้ าที่ ธ.ก.ส.

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

104


โดยหากขอกู้เป็ นปั จจัยการผลิตเกษตรกรจะต้ องไปยื่นสัง่ ซื ้อและรับสินค้ าจากทางจุดจาหน่ายของ สกต. อีกครัง้ หนึ่ง นอกจากนีเ้ กษตรกรบางรายยังขอยื่นกู้เป็ นเงินฉุก เฉิ น (ดอกเบี ้ยร้ อยละ 8 ต่อปี ) หรื อ เงิ นกู้เ พื่ อใช้ ส ร้ างบ้ าน แต่เ งินกู้หลากหลายประเภทเหล่านี เ้ กษตรกรจะไม่ไ ด้ แยกบัญชี และบางครั ง้ ก็ นามาใช้ สาหรับใช้ จา่ ยในครัวเรื อน หรื อใช้ ในการเพาะปลูกข้ าวโพดด้ วย สหกรณ์ การเกษตรอาเภอสันติสุข และอาเภอปั ว เป็ นหนึ่งในตัวเลือกที่ได้ รับความนิยมมาก ที่สุดจากเกษตรกร โดยจะให้ สินเชื่อในรู ปแบบโควต้ าซื ้อปั จจัยการผลิตจากร้ านค้ าของสหกรณ์ คิดอัตรา ดอกเบี ้ยร้ อยละ 8.5 ต่อปี (สหกรณ์สนั ติสขุ ) และร้ อยละ 6 ต่อปี (สหกรณ์ปัว) สหกรณ์การเกษตรอาเภอสันติสขุ : เริ่ มต้ นเกษตรกรจะต้ องสมัครเป็ นสมาชิกโดยใช้ บตั รประชาชน และทะเบียนบ้ าน และแสดงหลักฐานการเป็ นเกษตรกร โดยไม่จาเป็ นต้ องใช้ เอกสารสิทธิ์ ที่ดินในการ เพาะปลูกแต่อย่างใด และกู้โดยการค ้าประกันแบบกลุ่ม 3 คน โดยทางสหกรณ์จะหักยอดเงินกู้เข้ าเป็ นค่า หุ้น 5% และหากเกษตรกรชาระเงินคืนช้ าจะต้ องเสียค่าปรับ โดยขึ ้นอัตราดอกเบี ้ยเป็ น 12% ระยะเวลาการ กู้เป็ นรอบ 1 ปี และต้ องส่งเงินกู้ประมาณเดือนมีนาคม

คณะกรรมการจะเป็ นผู้พิจารณาเงื่อนไขวงเงิน

โดยทัว่ ไปจะให้ วงเงินคิดเป็ นอัตราข้ าวโพด 1 ถุงต่อวงเงินกู้ 10,000 บาท โดยจะให้ เป็ นปั จจัยการผลิตจาก ร้ านค้ าของสหกรณ์ และ 1 ครัวเรื อนมีสิทธิ์ก้ เู พื่อปลูกข้ าวโพดได้ 1 สัญญาสินเชื่อเท่านัน้ สหกรณ์การเกษตรอาเภอปั ว : สินเชื่อระยะสัน้ 1 ปี สาหรับเพาะปลูกข้ าวโพดของที่สหกรณ์ จะให้ วงเงินสูงสุดไม่เ กิน 150,000 บาท หากเป็ นสมาชิกใหม่ เริ่ มกู้ครัง้ แรก จะกู้เป็ นปั จจัยการผลิตได้ ไม่เกิ น 20,000 บาท เงื่อนไขคือจะต้ องเป็ นสมาชิกของสหกรณ์ และต้ องเป็ นประชากรในพื ้นที่ ต.อวน อาเภอปั ว ใช้ บัตรประชาชนและทะเบียนบ้ าน และแสดงหลักฐานการเป็ นเกษตรกร โดยไม่จาเป็ นต้ องใช้ เอกสารสิทธิ์ ที่ดินเพาะปลูก ขันตอนในการยื ้ ่นเรื่ องขอกู้ คือภายหลังเกษตรกรแจ้ งความจานง เจ้ าหน้ าที่จะตรวจสอบ ความเป็ นสมาชิก และเริ่มทาสัญญากู้ในเดือนเมษายน จากนันเกษตรกรจะได้ ้ รับอนุมตั ิเป็ นโควต้ าวงเงินที่ เกษตรกรสามารถใช้ ซือ้ ของจากที่ร้านค้ าของสหกรณ์ ได้ และต้ องชาระหนีใ้ นวันที่ 31 มีนาคมของทุกปี โดยหากเกษตรกรต้ องการกู้เป็ นเงินสด จะต้ องจัดชันตามประวั ้ ตกิ ารชาระเงิน ดอกเบี ้ยจะเริ่ มต้ นที่ราคาร้ อย ละ 7 ต่อปี มีการบันทึกพื ้นที่ปลูกจากกรรมการที่แต่งตังในหมู ้ ่บ้าน (เป็ นการใช้ คณะกรรมการยืนยันโดยไม่ พิจารณาเอกสารสิทธิ์ที่ดนิ ) และหาคนค ้าประกันเป็ นกลุม่ 5 คนขึ ้นไป

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

105


กองทุนอื่นๆ เช่น กองทุนหมู่บ้าน โครงการแก้ ไขปั ญหาความยากจน (กขคจ. กองทุนกู้ยืมเพื่อ ส่งเสริ มการประกอบอาชีพ และกองทุน อสม. เป็ นต้ น ซึ่งกองทุนเหล่านี ้จะไม่ใช่แหล่งเงินกู้หลักเพราะ สามารถกู้ในวงเงินจานวนน้ อย 2) การกู้นอกระบบ ญาติพี่น้อง จากการสัมภาษณ์ พบว่าเกษตรกรบางรายจะขอหยิบยืมญาติพี่น้องก่อนเป็ น ลาดับแรก หากต้ องการเงินในปริ มาณไม่มากนัก และระยะเวลาในการยืมไม่นานมาก หัวสีหรือพ่ อค้ าคนกลาง เกษตรกรจะขอกู้เงินจากหัวสีหรื อพ่อค้ าคนกลาง ในกรณีดงั ต่อไปนี ้  เงิ นกู้ที่ได้มาจาก ธ.ก.ส. และ สหกรณ์ ฯ ไม่เพียงพอ เป็ นกรณีที่พบบ่อยที่สดุ ซึ่งเกิดขึ ้นตังแต่ ้ ช่วงการใส่ป๋ ยุ ช่วงระหว่างรอการเก็ บเกี่ ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงระหว่างการเก็บเกี่ ยว เนื่องจาก เกษตรกรได้ ใช้ วตั ถุดิบปั จจัยการผลิตที่ก้ ยู ืมมาจาก สหกรณ์ และสกต. ไปหมดแล้ ว ส่วนเงินทุนที่ได้ จาก การทาสัญญากู้เป็ นเงินสดก็ได้ นาไปใช้ จ่ายในครัวเรื อน จ้ างแรงงานปลูกและแรงงานใส่ป๋ ยไปหมดแล้ ุ ว เช่นกัน หากปั จจัยการผลิตไม่เพียงพอ เช่น มีหญ้ าขึ ้นรกอีก ต้ องฉีดยาฆ่าหญ้ าเพิ่มเติม ปุ๋ยที่ใส่ลงไปไม่ พอ เกษตรกรจะไปขอกู้ยืมปั จจัยการผลิตมาจากพ่อค้ าคนกลางหรื อหัวสีเพื่อแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า ในช่วงระยะการเก็บเกี่ยว จะต้ องจ้ างแรงงานหักข้ าวโพดจานวนมาก เป็ นเงินรวมตังแต่ ้ 7,000 67,500 บาท (ขึ ้นอยู่กบั ปริ มาณจานวนไร่เพาะปลูก ) ซึ่งจาเป็ นต้ องจ่ายเป็ นเงินสด ในกรณีนี ้หากมีเงินทุน ไม่พอ เกษตรกรจาเป็ นต้ องไปขอกู้จากพ่อค้ าหัวสีเป็ นเงินสดแทน  ขอพักชาระหนี ้อยู่กบั ทาง ธ.ก.ส. หรื อ สหกรณ์ เนื่องจากหากเจอภัยพิบตั ิในฤดูกาลเพาะปลูก ที่ผ่านมา แล้ วไม่มีผลผลิตมาขายเพื่อชาระหนี ้ เกษตรกรจะขอพักชาระหนี ้กับทาง ธ.ก.ส. และ สหกรณ์ฯ ซึง่ ระหว่างที่พกั ชาระหนี ้อยู่ เกษตรกรจะไม่สามารถทาสัญญากู้ใหม่ได้ จึงจาเป็ นต้ องกู้พ่อค้ าคนกลางมาใช้ ลงทุนเพาะปลูกใหม่

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

106


 ไม่มีคณ ุ สมบัติเป็ นผู้กู้ของสหกรณ์ จากการสัมภาษณ์พบว่าเกษตรกรบางรายมีทะเบียนบ้ าน อยู่ที่พื ้นที่อื่น ทาให้ ไม่สามารถสมัครเป็ นสมาชิกกู้ยืมของสหกรณ์การเกษตรอาเภอปั วได้ และเลือกกู้ยืม จากพ่อค้ าหัวสีมาใช้ ในการเพาะปลูกแทน  มี จานวนพืน้ ที เ่ พาะปลูกมาก ในกรณีที่มีจานวนพื ้นที่เพาะปลูกมาก เช่น 30 ไร่ขึ ้นไปในพื ้นที่ไม่ มีเอกสารสิทธิ์ หรื อเช่าพื ้นที่เพาะปลูกของผู้อื่นมาปลูกข้ าวโพดเพิ่มเติม วงเงินกู้ที่ได้ รับมาจากสหกรณ์ และ ธ.ก.ส. จะไม่เพียงพอ และโดยปกติแล้ วยิ่งจานวนพื ้นที่เพาะปลูกมาก จะยิ่งมีค่าใช้ จ่ายต่อไร่ในการ เพาะปลูกสูงขึ ้นเพราะยิ่งต้ องจ้ างแรงงานเพิ่มขึ ้น เมื่อเงินทุ นไม่เพียงพอ เกษตรกรจึงจาเป็ นต้ องกู้ยืมปั จจัย การผลิตและเงินทุนจากพ่อค้ าหัวสีมาใช้ ปลูกข้ าวโพด 3) การกู้เป็ นปั จจัยการผลิต ร้ านค้ าปั จจัยการเกษตร จากการสัมภาษณ์ร้านค้ าปั จจัยการเกษตร พบว่ามีบริ การปล่อยสินเชื่อ ให้ กบั เกษตรกรเช่นกันในลักษณะให้ ยืมปั จจัยการผลิตไปก่อน แล้ วค่อยนาเงินมาจ่ายทังในรู ้ ปแบบระยะ สัน้ ยืมไม่นาน 1-2 เดือน หรื อยืมระยะยาวซึง่ มาชาระหนี ้หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ ว ร้ านค้ าจะพิจารณา คุณสมบัติผ้ ขู อกู้ในลักษณะเดียวกับพ่อค้ าหัวสี กาหนดดอกเบี ้ยที่ อตั ราร้ อยละ 3 ต่อเดือนเช่นกัน แต่ไม่มี บริการในรูปแบบให้ ยืมเป็ นเงินสด จากการสัมภาษณ์ภาคสนาม เกษตรกรส่วนใหญ่กล่าวว่า การยืมเงินจากพ่อค้ าคนกลางหรื อหัวสี นันจะกู ้ ้ ได้ ง่ายกว่า ขันตอนการขอกู ้ ้ น้อยกว่า แต่เนื่องจากดอกเบี ้ยราคาแพง เกษตรกรจึงพิจารณาเป็ น แหล่งเงินกู้ลาดับรองจากเงินกู้ในระบบ เงื่อนไขการให้ ก้ ขู องพ่อค้ าหัวสี คือจะคิดดอกเบี ้ยราคาร้ อยละ 3 บาทต่อเดือน สาหรับการกู้ในรูปแบบปั จจัยการผลิต และราคาร้ อยละ 4-5 บาทต่อเดือน สาหรับการกู้เป็ น เงินสด นอกจากนี ้ผู้ที่ก้ เู ป็ นปั จจัยการผลิตจะต้ องจ่ายค่าปั จจัยการผลิตราคาแพงกว่าราคาท้ องตลาดทัว่ ไป ยกตัวอย่างเช่น หากเมล็ดพันธุ์ Pioneer B80 ในท้ องตลาดราคา 1,600-1,700 บาท พ่อค้ าหัวสีจะให้ ก้ ยู ืม เมล็ดพันธุ์ที่ราคาถุงละ 1,800 บาท เป็ นต้ น นอกจากนี ้ยังมีเงื่อนไขคือเกษตรกรที่ก้ ยู ืมปั จจัยการผลิตจากหัว สีบางราย จะต้ องสีข้าวโพดและขายให้ กบั หัวสีที่เป็ นเจ้ าหนี ้ ซึ่งราคาขายข้ าวโพดของเกษตรกรที่เป็ นลูกหนี ้ จะเท่ากับราคาขายในท้ องตลาด แต่อาจจะได้ คิวสีหลังเกษตรกรรายอื่นๆ หากหัวสีไม่ว่าง หรื อได้ รับเงิน หลังการขายช้ ากว่าคนอื่นๆ เป็ นต้ น บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

107


วิธีพิจารณาปล่อยกู้ของพ่อค้ าหัวสี จะพิจารณาเรื่ องความสัมพันธ์ก่อนเป็ นลาดับแรก เช่นว่ารู้จกั เกษตรกรรายนัน้ หรื อไม่ มีความคุ้นเคยกันมากเพียงใด เกษตรกรมีแปลงเพาะปลูกอยู่ในบริ เวณใด อีก ปั จจัยหนึ่งที่มีความสาคัญไม่น้อยไปกว่ากันคือ พ่อค้ าหัวสีจะประเมินความสามารถและพฤติกรรมการ ชาระเงิน ดูว่าเกษตรกรรายดังกล่าวจะมีความสามารถและมีแนวโน้ มว่าจะคืนเงินหรื อไม่ ในอดีตเคยยืม เงินแล้ วไม่ชาระคืนหรื อชาระไม่ตรงเวลาหรื อไม่ เป็ นต้ น 5.2.3 ผู้จาหน่ ายปั จจัยการผลิต ผู้เล่นลาดับถัดมาในห่วงโซ่อุปทานของเกษตรกร คือผู้จาหน่ายปั จจัยการผลิตให้ กับเกษตรกร ประกอบด้ วย 1) ร้ านค้ าปั จจัยการเกษตรระดับตาบลหรื ออาเภอ 2) พ่อค้ าหัวสี หรื อผู้รับซื ้อข้ าวโพดระดับ ตาบล 3) ร้ านค้ าของสหกรณ์การเกษตร จากการสัม ภาษณ์ พ บว่า ผู้จ าหน่ายปั จ จัยการผลิ ตส่วนใหญ่ จ ะเป็ นผู้ปล่อยสิน เชื่ อ ด้ วย โดย ให้ บริ การปล่อยสินเชื่อทังในรู ้ ปแบบปั จจัยการผลิตและเงินสด แต่ในขณะเดียวกันก็ขายปั จจัยการผลิตให้ เกษตรกรในลักษณะที่จ่ายเป็ นเงินสดชาระเงินทันทีด้วยเช่นกัน นอกจากนี ้แล้ วผู้จาหน่ายปั จจัยการผลิต บางรายจะเป็ นผู้รับซื ้อผลผลิตด้ วย กล่าวคือมีความสัมพันธ์ครบวงจร เป็ นทังผู ้ ้ ปล่อยเงินกู้ จาหน่ายปั จจัย การผลิต และรับซื ้อผลผลิต ซึ่งผู้เล่นที่เป็ นครบทัง้ 3 บทบาทในอาเภอสันติสขุ ประกอบด้ วย ธ.ก.ส. (ผ่าน การทางานของ สกต.) สหกรณ์การเกษตร และพ่อค้ าหัวสี 1) การสัง่ ซื ้อสินค้ า ผู้จาหน่ายปั จจัยการผลิต ได้ แก่ ร้ านค้ า สหกรณ์การเกษตร หรื อพ่อค้ าคนกลาง จะติดต่อสัง่ ของกับ ดีลเลอร์ หรื อซับดีลเลอร์ ในอาเภอเมือง หรื ออาเภอเวียงสา ผู้จาหน่ายปั จจัยการผลิตในระดับตาบลและ อาเภอสามารถสัง่ ซื ้อสินค้ าได้ สองทาง ได้ แก่ ผ่านทางเซลล์ และสัง่ ซื ้อทางดีลเลอร์ โดยตรง โดยหากเป็ น สินค้ าชนิดใหม่พึ่งเข้ าสู่ตลาด เซลล์จะมาส่งสินค้ าให้ แต่หากเป็ นสินค้ าที่ได้ รับความนิยมในตลาดอยู่แล้ ว ผู้จาหน่ายจะต้ องไปรับสินค้ าที่ร้านของดีลเลอร์ รายต่างๆ เหล่านี ้ด้ วยต้ นเอง ร้ านค้ าบางรายจะมีการกักตุนสินค้ าเนื่องจากราคาปั จจัยการผลิตจะขึ ้นลงตามอุปสงค์และอุปทาน ราคาจะสูงขึ ้นในช่วงก่อนเริ่ มฤดูกาลเพาะปลูก และถูกลงในช่วงใกล้ ระยะการเก็บเกี่ยว ซึ่งร้ านค้ าบางราย บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

108


จะซือ้ ปุ๋ยและยาฆ่าหญ้ าเก็บไว้ ในช่วงที่ราคาถูกเพื่อเก็งกาไร ยกเว้ นเมล็ดพันธุ์ซึ่งไม่นิ ยมซือ้ เก็บไว้ นาน เพราะมีอายุการใช้ งาน 1 ปี เท่านัน้ และหากเก็บไว้ เกินวันหมดอายุ หรื อไม่เก็บในที่แห้ งลมถ่ายเทดี เมล็ด พันธุ์จะเก่า เสีย นาไปปลูกแล้ วไม่งอกเป็ นต้ นข้ าวโพด 2) กิจกรรมส่งเสริมการขาย และให้ ข้อมูลกับเกษตรกร ร้ านค้ า สหกรณ์ และผู้จาหน่ายรายใหญ่ จะจัดงานประจาปี ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม ก่อน เริ่มฤดูกาลเพาะปลูก เพื่อให้ เกษตรกรได้ พบกับพนักงานขายของบริษัทต่างๆหรื อมาสัง่ ซื ้อสินค้ า ซึ่งกิจกรรม ส่งเสริ มการขายและการให้ ข้อมูลของผู้จั ดจาหน่ายแต่ละรายจะแตกต่างกันไป ยกตัวอย่างเช่นหากเป็ น สหกรณ์การเกษตรจะให้ ข้อมูลผลิตภัณฑ์และวิธีการใช้ เพียงอย่างเดียว แต่สาหรับร้ านค้ าจะเน้ นกิจกรรม ส่งเสริมการขายอื่นๆ ด้ วย เช่น การแจกของแถม จับรางวัลชิงโชครถมอเตอร์ ไซค์ หรื อเครื่ องใช้ ไฟฟ้า นอกจากการจัดงานในเดือนกุมภาพันธ์ -มีนาคมแล้ ว ในช่วงตลอดทังปี ้ ร้ านค้ าปั จจัยการเกษตร จะทากิจกรรมส่งเสริ มการขายรู ปแบบต่างๆ กัน เช่น การลดราคา หรื อการแถมของพรี เมียมต่างๆ เช่น นาฬิกา เสื ้อ วิทยุ กระติกน ้า ของแถมเหล่านี ้ส่วนใหญ่ทางดีลเลอร์ จะได้ รับมาจากบริ ษัทผู้ผลิตปั จจัยการ ผลิต และส่งมอบให้ กับทางร้ านค้ าปั จจัยการผลิตในท้ องถิ่นอี กทีหนึ่ง หรื อเซลล์ จะเป็ นผู้ มาติดต่อแจ้ ง รายละเอียดและมอบของให้ กับทางร้ านค้ าโดยตรง แต่ในบางครัง้ ทางร้ านค้ าอาจจะจัดหาของหรื อคิด กิจกรรมของตนเองเสริมเพิ่มเติมเข้ าไปด้ วย จากการสัมภาษณ์เกษตรกรและร้ านค้ าในท้ องถิ่นพบว่า ผู้ขายและเกษตรกรไม่ได้ รับคาแนะนาที่เน้ นด้ าน ความปลอดภัยหรื อการป้องกันผลกระทบด้ านสุขภาพและสิ่งแวดล้ อม โดยส่วนใหญ่แล้ วจะได้ รับข้ อมูล วิธีการใช้ วา่ ต้ องทาอย่างไรจึงจะได้ ผลผลิตดีเท่านัน้ 3) การขายและบริการจัดส่ง หากเป็ นการซื ้อจากทางร้ านค้ า ส่วนใหญ่แล้ วเกษตรกรจะต้ องซื ้อปั จจัยการเกษตรด้ วยเงินสด แต่ จะได้ สินค้ าในราคาที่ถูกกว่า ส่วนการกู้ยืมปั จจัยการผลิตจาก ธ.ก.ส. นันเกษตรกรจะต้ ้ องไปรับของที่จุด จาหน่ายสินค้ าของ สกต. ในช่วงที่มี การสั่ง ซือ้ และเบิกสินค้ า ส่วนการสั่งซื อ้ กับสหกรณ์ การเกษตรนัน้ เกษตรกรจะได้ รับอนุมตั ิเป็ นวงเงินเครดิต ที่สามารถเบิกของและสัง่ ซื ้อจากทางร้ านค้ าของสหกรณ์เมื่อไรก็ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

109


ได้ แล้ วแต่สะดวก นอกจากนี ้หากพื ้นที่เพาะปลูกของลูกค้ าติดถนนลาดยางหรื อที่ชาวบ้ านเรี ยกว่า “ถนน ดา” ทางร้ านค้ าและสหกรณ์การเกษตรปั วจะมีบริ การจัดส่งสินค้ าให้ ถึงแปลงเพาะปลูกของเกษตรกรด้ วย ส่วนหัวสีบางรายนันจะบริ ้ การส่งของให้ ถึงไร่ แม้ วา่ พื ้นที่จะเข้ าถึงยากและไม่อยู่ตดิ ถนนดาก็ตาม 5.2.4 เกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ภายหลังที่ได้ ก้ เู งินและได้ รับปั จจัยการผลิตมาเรี ยบร้ อยแล้ ว ขันตอนในการเพาะปลู ้ กของเกษตรกร จะประกอบด้ วย  เตรี ยมพืน้ ที ่ : เกษตรกรจะเริ่ มตัดหญ้ าในช่วงเดือนมีนาคม และเผาในเดือนมีนาคม-เมษายน จากนันจะฉี ้ ดยาฆ่าหญ้ าชนิดดูดซึม คลุมทับก่อนเริ่มการเพาะปลูก  ปลูก : พอฝนเริ่ มลงเม็ดในต้ นเดือนพฤษภาคม เกษตรกรจะเริ่ มหยอดเมล็ดพันธุ์ เพื่อทาการ เพาะปลูก หลังจากหยอดเมล็ดพันธุ์เสร็จแล้ ว จะพ่นยาฆ่าหญ้ าชนิดเผาไหม้ พาราควอททับซ ้าอีกครัง้  ใส่ปยุ๋ : หลังจากปลูกเสร็จประมาณ 25 วันขึ ้นไป ไม่เกิน 45 วัน เกษตรกรจะนาปุ๋ยซึ่งซื ้อมา 23 สูตรผสมกัน แล้ วใส่ป๋ ยบริ ุ เวณโคนต้ นข้ าวโพดซึ่งสูงประมาณหัวเข่า เสร็ จแล้ วจะพ่นยาฆ่าหญ้ าทับ ตาม ชนิดหญ้ า บางรายอาจใช้ พาราควอท หรื อยาคุมอาทราซีน  รอเก็บเกี ่ยว : เกษตรกรจะรอเก็บเกี่ยวประมาณ 100-120 วันหลังจากใส่ป๋ ยุ ระหว่างนี ้จะไป ตรวจแปลงเพาะปลูกเป็ นระยะ หากพบว่ามีหญ้ าขึ ้นอาจจะถอนด้ วยมือ ดายหญ้ า หรื อหากรกมากอาจจะ พ่นยาฆ่าหญ้ าซ า้ อี ก ครั ง้ และหากประสบภัยพิ บัติ เช่น ลมพายุพัดข้ าวโพดล้ ม น า้ ท่วม หรื อฝนแล้ ง เกษตรกรจะรี บเก็บหลักฐาน และดาเนินการยื่นเรื่ องเพื่อขอความช่วยเหลือหรื อขอผัดผ่อนการชาระหนี ้  เก็บเกี ่ยว : เกษตรกรจะหักฝั กข้ าวโพดจากต้ นเก็บใส่ถงุ โดยใช้ ระยะเวลา 15 วัน – 2 เดือน ขึน้ อยู่กับ ปริ ม าณพื น้ ที่ และการจ้ า งแรงงานมาช่ว ยเก็ บ เกี่ ย ว จากนัน้ หากยัง ไม่ ถึ ง ก าหนดช าระหนี ้ เกษตรกรจะนาข้ าวโพดมาตากในยุ้งฉางเพื่อลดความชื ้น ซึง่ จะทาให้ ขายได้ ราคาดีขึ ้น

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

110


 ขายข้าวโพด : เกษตรกรจะเรี ยกพ่อค้ าหัวสี ซึ่งมีเครื่ องกะเทาะเมล็ดข้ าวโพด (หรื อที่ชาวบ้ าน เรี ยกว่าหัวสี ) มาสีข้าวโพดจากฝั กเป็ นเมล็ด แล้ วขายให้ พ่อค้ าเลย หรื อนาขนขึน้ รถบรรทุกไปขายไซโล ขนาดใหญ่ด้วยตนเอง

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

111


ตาราง 5.17 ปฏิทินกิจกรรมการปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ของเกษตรกรบนพื ้นที่ลาดชัน (ข้ าวโพดดอย) กิจกรรม

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ระยะเวลา ก.ค. ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

กู้ยมื เงินทุน เตรียมพืน้ ที่ ตัดหญ้ า เผา พ่นยาฆ่าหญ้ าไกลโฟเสต ปลูก หยอดเมล็ดพันธุ์ พ่นยาฆ่าหญ้ าพาราควอท/ยาคุม ใส่ ป๋ ุย ผสมและใส่ป๋ ยุ พ่นยาฆ่าหญ้ าพาราควอท/ยาคุม รอเก็บเกี่ยว กาจัดวัชพืชหากหญ้ าขึ ้นรก เก็บเกี่ยว หักฝั กข้ าวโพด เก็บและตากในยุ้งฉาง ขายข้ าวโพด สีเป็ นเมล็ดและขายให้ พอ่ ค้ า บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

112


1) เตรี ยมพื้นที่ การเตรี ยมพื ้นที่ขนแรกจะเริ ั้ ่ มจากการตัดหญ้ าที่ขึ ้นสูงให้ สนลงด้ ั ้ วยเครื่ องตัดหญ้ า หรื อใช้ วิธีดาย หญ้ าด้ วยแรงงานคน จากนันจะ ้ เผาพืน้ ที่แปลงเพาะปลู ก เพื่อกาจัดหญ้ าและศัตรู พืช ซึ่งเกษตรกร กล่าวว่าส่วนใหญ่แล้ วหากพื ้นที่ลาดชันจะจาเป็ นต้ องเผา เนื่องจากไม่ สามารถไถกลบได้ เหมือนพื ้นที่ราบ อย่างไรก็ดีปัจจุบนั เกษตรกรมีแนวโน้ มที่จะเผาพื ้นที่น้อยลงเรื่ อยๆ เนื่องจากพื ้นที่ปลูกยางพาราเพิ่มจานวน มากขึ ้น หากเกษตรกรปลูกยางพารา พื ้นที่แปลงปลูกและแปลงโดยรอบจะไม่สามารถเผาได้ เพราะหาก ไฟลุกลามมาใกล้ ต้ นยางที่ลงทุนปลูกและใส่ป๋ ยมาหลายปี ุ จะตาย ทาให้ สวนยางเสียหาย ซึ่งเกษตรกรจะมี ระบบความสัมพันธ์ที่ร้ ูจกั กันทัว่ ถึงและคอยช่วยกันเฝ้าระวังไม่ให้ ไฟลามมาทาลายต้ นยาง หากรู้ ล่วงหน้ า ก่อนว่าไฟกาลังจะลามไปแนวสวนยางหรื อแนวป่ า เกษตรกรจะรวมตัวกันไปช่วยทาแนวกันไฟ ในกรณีที่มี ความเสียหายเกิดขึ ้น เกษตรกรจะรู้วา่ ไฟลามมาจากใคร เจ้ าของสวนยางจะตามไปปรับเก็บเงินเกษตรกรผู้ เป็ นต้ นเหตุทาให้ ไฟลามมาทาลายต้ นยาง นอกจากนี ้เกษตรกรบางราย เริ่ มเห็นประโยชน์ของการไม่เผาที่ หลังจากหลายฝ่ ายเริ่ มรณรงค์ให้ หยุดเผาและหันมาใช้ วิธีการปล่อยให้ ต้นหญ้ าเน่าสลายเองแทน สาเหตุที่เกษตรกรนิยมการเผาเนื่องจากจะช่วยเคลียร์ พื ้นที่ให้ โล่งเตียน ช่วยกาจัดหนูและแมลงที่ จะมากัดกินต้ นข้ าวโพด และที่สาคัญคือทาให้ สะดวกต่อการหยอดเมล็ด พื ้นที่ซึ่งไม่ได้ เผาจะหยอดเมล็ด พันธุ์ยาก เนื่องจากจะมีเศษซากหญ้ าปกคลุม เกษตรกรจะมองไม่เห็นแนวแถวหยอดข้ าวโพด ต้ องค่อยๆ เขี่ยหญ้ าแหวกให้ ถึงพื ้นดินเพื่อหยอดเมล็ด ทาให้ ต้องใช้ เวลาเพิ่มขึ ้นมากและทาให้ หาคนรับจ้ างหยอดเมล็ด ยาก คนรับจ้ างจะขอต่อรองเพิ่มราคาเป็ นพิเศษ ดังนันปกติ ้ แล้ วถ้ าพื ้นที่ไม่ติดสวนยาง หรื อเจ้ าของไม่ได้ ระบุเป็ นพิเศษว่าห้ ามเผา คนที่มารับจ้ างหยอดเมล็ดพอเห็นว่าพืน้ ที่รกก็จะจุดไฟเผาให้ กับเจ้ าของที่เลย เพราะจะทาให้ ทางานง่ายขึ ้น เร็ วขึ ้น และบางครัง้ ไฟก็จะลามข้ ามมาจากแปลงรอบๆ ทาให้ เกษตรกรส่วน หนึง่ ไม่ได้ เผาด้ วยตนเอง

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

113


ส่วนผลดีของการไม่เผาคือหน้ าดินจะไม่เสีย และดินอุ้มน ้าได้ ดี มีเศษหญ้ าช่วยเก็บความชื ้นไว้ อีก หนึ่งชัน้ เวลาฝนแล้ ง หรื อฝนตกน้ อยข้ าวโพดแปลงที่ไม่เผาจะไม่เหี่ยวแห้ ง ถ้ าดูแลใส่ป๋ ยอย่ ุ างดี ข้ าวโพด จากแปลงที่ไม่เผาจะสวยกว่าแปลงที่เผา ภายหลังที่เผาเสร็ จแล้ ว เกษตรกรจะพ่ นยาฆ่ าหญ้ าชนิดดูดซึม (ไกลโฟเสต - glyphosate) เพื่อ กาจัดวัชพืชก่อนการเพาะปลูก และบางรายอาจจะใช้ ยาขวดแก้ วฉีดพ่นด้ วยเพื่อฆ่าหญ้ าให้ ได้ ครอบคลุม หลายชนิดมากขึ ้น ยาฆ่าหญ้ าชนิดไกลโฟเสตนี ้จะทาลายวัชพืชถึงราก ซึ่งจะต้ องฉีดก่อนปลูก เพราะหาก ฉีดหลังปลูก แล้ วฉี ดไปโดนโคนต้ นข้ าวโพด จะทาให้ ข้าวโพดเฉาตายได้ เกษตรกรจึงนิยมฉี ดยาฆ่าหญ้ า ชนิดนี ้ก่อนเริ่ มเพาะปลูก โดยส่วนใหญ่เกษตรกรจะผสมยาฆ่าหญ้ าเข้ มข้ นกว่าอัตราที่ระบุบนฉลาก เพราะ เชื่อว่าหากใส่ตามฉลากจะไม่เพียงพอ หญ้ าไม่ตาย ซึ่งทาให้ ต้องย้ อนกลับมาพ่นยาซ ้าพื ้นที่เดิม สิ ้นเปลือง ปั จจัยการผลิตมากกว่า เสียเวลา และค่าจ้ างแรงงานเพิ่มขึ ้น เกษตรกรจึงมักจะต้ องการให้ มนั่ ใจ ด้ วยการ ผสมให้ เกินไว้ เลย 2) ปลูก ภายหลังที่เกษตรกรฉีดยาฆ่าหญ้ าแล้ ว ในช่วงปลายเดือนเมษายนหรื อต้ นเดือนพฤษภาคม ซึ่งฝน เริ่ มตกลงมาอย่างต่อเนื่อง เกษตรกรจะเริ่ ม หยอดเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด โดยสามารถทาได้ 2 แบบคือใช้ แรงงานคนหยอด หรื อใช้ รถพ่วงเครื่ องจักรหยอดเมล็ดพันธุ์ ซึ่งในพื ้นที่ราบหรื อพื ้นที่ซึ่งไม่ชนั มากจนเกินไป เกษตรกรจะสามารถใช้ รถหยอดได้ และเสียค่าบริการต่ากว่า คือเสียค่าหยอดเมล็ดพันธ์ถงุ ละ 1,200-1,300 บาท ส่วนพื ้นที่ชนั จะต้ องจ่ายค่าหยอดแพงกว่าพื ้นที่ราบ คือราคาถึงละ 1,500 บาท เนื่องจากหยอดยาก กว่าและต้ องขับอ้ อมเนินเขา สาหรับพื ้นที่ซงึ่ ลาดชันมากจะต้ องใช้ แรงงานคนเพียงอย่างเดียว ซึง่ ค่าบริ การหยอดด้ วยแรงงานคน จะคิดราคาจ้ างรายวันที่วนั ละ 170-220 บาท หรื อคิดเป็ นราคาเหมาถุงละ 1,300 – 2,200 บาท ตามระดับ ความยากง่ายของพื ้นที่ ในความเป็ นจริ งแล้ ว เกษตรกรจะไม่ได้ หยอดเมล็ดตามหลักการวิธีการที่แนะนาข้ างถุง แต่มกั จะ ปรับระยะห่างตามความลาดชันของพื ้นที่และการเรี ยนรู้จากการทดลองด้ วยตนเอง หากพื ้นที่ลาดชันมาก อาจจะต้ องปลูกให้ หา่ งขึ ้น แต่หากพื ้นที่ลาดชันน้ อย เกษตรกรอาจจะปลูกเป็ นแถวแน่นขึ ้นเพื่อเพิ่มปริ มาณ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

114


ผลผลิ ต ต่ อ ไร่ ท าให้ อัต ราการใช้ เมล็ ด พัน ธุ์ ต่อ ไร่ ข องเกษตรกรไม่ แ น่ น อน แต่ค่ า เฉลี่ ย กลางตาม ความคุ้นเคยจะอยูท่ ี่ปริมาณ 1 ถุงต่อ 3 ไร่ หรื อไร่ละ 3.33 กิโลกรัม โดยเกษตรกรจะหยอดเมล็ด 2-3 เมล็ดต่อหลุม เผื่อว่าเมล็ดไม่งอกหรื องอกออกมาแล้ วโดนหนูหรื อ กระต่ายกัดกิน แต่หากงอกออกมาหลุมละมากกว่า 1 ต้ น จะต้ องถอนออกเพื่อให้ ข้าวโพดไม่แย่งพื ้นที่และ สารอาหารกัน ปั จจุบนั เกษตรกรจะเลือกใช้ เมล็ดพันธุ์ลูกผสม จากผู้ผลิตบริ ษัทเอกชน เนื่องจากเชื่อว่ามีความ ทนทาน และให้ ผลผลิตที่ดีกว่า แต่ลกั ษณะสาคัญประการหนึ่งของเมล็ดพันธุ์ลูกผสมคือ เกษตรกรจะไม่ สามารถคัดพันธุ์เก็บไว้ ใช้ ในปี ต่อไปได้ เพราะผลผลิตต่อไร่ของข้ าวโพดลูกผสมจะสูงก็ตอ่ เมื่อปลูกในฤดูกาล แรกเท่านัน้ จึงต้ องซื ้อเมล็ดพันธุ์ใหม่ทกุ ปี เมล็ดพันธุ์ผสมของบริษัทเอกชนยังมีราคาแพง โดยเฉพาะในช่วง ก่อนเริ่มต้ นฤดูกาลเพาะปลูก ซึง่ เมล็ดพันธุ์เป็ นที่ต้องการของเกษตรกร ทาให้ ราคาจะขึ ้นไปตามอุปสงค์ของ ตลาดในช่วงภายหลังที่เกษตรกรได้ รับอนุมตั วิ งเงินกู้ยืม โดยราคาเมล็ดพันธุ์ยี่ห้อที่ได้ รับความนิยมจะขึ ้นไป สูงมากถึงราคาถุงละ 1,900 บาท จากปกติราคาประมาณ 1,250 บาท เป็ นต้ น จากการสัมภาษณ์ ในฤดูกาลเพาะปลูกล่าสุด (2556/57) เกษตรกรส่วนใหญ่มักเลือกใช้ เมล็ด พันธุ์ย่ ีห้อซีพี888 คลุกผสมกับ Pioneer B80 ทุกราย โดยอธิบายสาเหตุที่ใช้ ซีพี 888 เป็ นหลักว่า เพราะมี ความคงทน ต้ นข้ าวโพดจะแข็งแรง ทนแล้ ง ทนลมพายุได้ ดี ส่วนสาเหตุที่ใช้ Pioneer B80 ผสมเพิ่มเข้ าไป เพื่อเพิ่มน ้าหนักของผลผลิตให้ มากขึ ้น เพราะต้ นข้ าวโพดของ Pioneer ให้ ฝักใหญ่ เมล็ดขนาดใหญ่ เต็ม สวย ผลผลิตเมื่อสีออกมาแล้ วจะนาหนักดี แต่มีข้อเสียคือต้ นข้ าวโพดของ Pioneer จะไม่แข็ง หักล้ มง่าย นอกจากนี ้เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดยังแยกเป็ นชนิดสาหรับข้ าวโพดพื ้นที่ราบกับพื ้นที่ลาดชัน ซึ่งพันธุ์ซีพี 888 จะเป็ นข้ าวโพดซึ่งเหมาะกับพืน้ ที่ลาดชัน หรื อที่ชาวบ้ านเรี ยกว่า “ข้ าวโพดปี นดอย” ปลูกในที่ชันจะ ได้ ผลดีกว่า ในด้ า นปริ ม าณเมล็ ด พั น ธุ์ ที่ ใ ช้ แต่ล ะรายใช้ ข้ า วโพด 7-14 ถุง (ค่า เฉลี่ ย อยู่ที่ ป ระมาณ 2-7 กิ โ ลกรั ม ต่อ ไร่ ) ขึ น้ อยู่กับ สภาพพื น้ ที่ เพราะถ้ า ที่ สูง ชัน ก็ จ ะใส่เ มล็ ด ได้ ไ ม่ม าก เกษตรกรแต่ล ะรายมี แหล่ งที่มาของเมล็ดพันธุ์ที่หลากหลาย ไม่เฉพาะเจาะจงที่ใดที่หนึ่ง แต่หลักๆ แล้ วจะเอาเมล็ดพันธุ์มาจาก

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

115


สหกรณ์ และ ธ.ก.ส. ประกอบกับการซื ้อจากร้ านค้ า แต่หากเมล็ดที่ได้ รับมาจาก สหกรณ์และ ธ.ก.ส. ไม่ เพียงพอ ก็จะกู้ยืมจากหัวสี ส่วนเรื่ องความรู้ และวิธีการปลูกข้ าวโพดนัน้ เกษตรกรส่วนมากจะได้ ความรู้จากการทดลองปลูก ด้ วยตนเอง เรี ยนรู้ จากประสบการณ์ ประกอบกับการสอบถามเพื่อนบ้ านใกล้ เคียงที่ปลูกแล้ วได้ ผลผลิตดี และบอกต่อๆ กัน หลังจากหยอดเมล็ดเสร็ จแล้ ว เกษตรกรจะฉีดพ่ นยาฆ่ าหญ้ าชนิดพาราควอททับลงไปบนแปลง เพาะปลูก และฉีดยาคุมกาจัดวัชพืชชนิดอาทราซีน ด้ วย และบางรายอาจเลือกใช้ ไกลโฟเซตฉีดพ่นอีก ครัง้ หนึง่ 3) ใส่ ป๋ ุย ภายหลังจากปลูกและพ่นยาฆ่าหญ้ าเสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ ว เกษตรกรจะรอให้ ต้นข้ าวโพดงอกจาก เมล็ดขึ ้นเป็ นต้ นอ่อนความสูงประมาณหัวเข่าหรื อ 30 เซนติเมตร ซึ่งใช้ เวลาประมาณ 25-45 วัน จากนันจะ ้ เริ่มนาปุ๋ย 2-4 สูตรมาผสมกัน ได้ แก่ สูตร 15-15-15 และปุ๋ยยูเรี ยสูตร 46-0-0 ปุ๋ยสารอาหารธาตุรองมิกซ์ โอดี (คือปุ๋ยผสมแร่ ธรรมชาติ ที่ประกอบไปด้ วย แคลเซียม แม็กนีเซียม ซิลิกา โบรอน สังกะสี โมลิบดินมั่ เฟอร์ ริก ซึ่งเป็ นธาตุอาหารรองและเสริ มเพิ่ มเติมจากธาตุ NPK) และบางรายอาจใช้ ป๋ ยสู ุ ตร 21-0-0 ผสม รวมด้ วยอัตราส่วนที่แตกต่างกันไป ยกเว้ นเกษตรกรรายที่ใช้ ป๋ ยผสมซึ ุ ่งผสมมาให้ เสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ ว เช่น ปุ๋ยยี่ห้อหมอดิน จะสามารถหยอดปุ๋ยได้ เลยโดยไม่ต้องนาหลายชนิดมาผสมกัน หลังจากผสมเสร็จแล้ วเกษตรกรจะ ใส่ ป๋ ุยให้ ข้าวโพดบริเวณโคนต้ น โดยมีเกษตรกรจานวนน้ อย มากที่เลือกใช้ ป๋ ยอิ ุ นทรี ย์ และหากเลือกใช้ ก็จะใช้ เพื่อปรับปรุงดินอย่างเดียวเท่านัน้ เพราะไม่สามารถใช้ ป๋ ยุ อินทรี ย์เพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตโดยตรงได้ โดยส่วนใหญ่แล้ วการใส่ป๋ ยจะเป็ ุ นการช่วยเหลือแรงงงานภายในชุ มชน ลักษณะเอาแรงลงแขกกัน คือผลัดกันไปช่วยใส่ป๋ ยุ ทาให้ บางแปลงอาจเริ่ มใส่เมื่อต้ นข้ าวโพดอายุประมาณ 25 วัน และแปลงที่เวียน ไปช่วยกันลาดับท้ ายๆ ต้ นข้ าวโพดอาจมีอายุมากถึง 45 วัน ในระหว่างช่วงที่ใส่ป๋ ยนี ุ ้เองเกษตรกรจะพ่ น ยาฆ่ า หญ้ า ชนิ ด พาราควอทหรื อ อาทราซี น ตามลงไปด้ ว ย เพื่ อ ก าจัด วัช พื ช ที่ อ าจขึน้ แทรกมาอี ก บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

116


ส่วนมากแล้ วเกษตรกรจะพ่นยาฆ่าหญ้ ารวมทังหมด ้ 3 ครัง้ ได้ แก่ ก่อนหยอดเมล็ด หลังหยอดเมล็ด และ หลัง ใส่ป๋ ุย ยาฆ่า หญ้ าที่ เ กษตรกรเลื อกใช้ นัน้ มี หลากหลายยี่ ห้อ เลื อกตามความคุ้นเคยและราคาใน ท้ องตลาด เนื่องจากเป็ นสินค้ าที่ทดแทนกันได้ ง่าย เกษตรกรจะไม่ยึดติดกับยี่ห้อของยาฆ่าหญ้ าเหมือนกับ ยี่ห้อเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด ซึ่งยี่ห้อของยาฆ่าหญ้ าที่เลือกใช้ จะสัมพันธ์ กับแหล่งที่ซื ้อยาฆ่าหญ้ า เช่น หาก สัง่ ซื ้อจากทาง สกต. ในบางปี จะมีเพียงสองยี่ห้อให้ เลือกในใบสัง่ ซื ้อ เกษตรกรก็จะเลือกยี่ห้อ ที่ค้ นุ เคยมาก ที่สดุ หรื อยี่ห้อซึ่งราคาถูกกว่า ดังนันเกษตรกรที ้ ่ก้ ยู ืมปั จจัยมาจากแหล่งเดียวกัน หรื ออาศัยอยู่ในหมู่บ้าน เดียวกัน จะเลือกใช้ ผลิตภัณฑ์คล้ ายๆ กัน เกษตรกรกล่าวว่าปั จจุบนั ต้ องใช้ ยาฆ่าหญ้ าหลายประเภท เพราะหญ้ าจะดื ้อยาและฆ่ายากขึน้ เรื่ อยๆ และมีหญ้ าชนิดใหม่เพิ่มขึ ้น ปั จจุบนั บางรายจึงจาเป็ นต้ องใช้ ยาชนิดโพรพานิล (Propanil) และ บิว ตาคลอร์ (Butachlor) หรื อที่เกษตรกรมักเรี ยกว่า “ยาขวดแก้ ว” ซึ่งเหม็นฉุนกลิ่นแรงมาก ประกอบกับการ ใช้ ยาคุมเข้ าไปด้ วย โดยยาขวดแก้ วนี ้เกษตรกรเพิ่งเริ่ มใช้ กนั มาในระยะประมาณ 2-3 ปี ที่ผ่านมา เกษตรกร บางรายยังใช้ ยาฆ่าหญ้ าผสมกับสารจับใบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของยาฆ่าหญ้ าด้ วย จากการสัมภาษณ์ เกษตรกรทุกรายทราบถึงวิธีการที่ถูกต้ องในการใช้ ยาฆ่าหญ้ าและการป้องกัน ตนเอง เพราะเขียนระบุไว้ ชดั เจนที่ข้างแกลลอน แต่วา่ เคยใช้ สารเคมีตามปริมาณที่ระบุแล้ วหญ้ ายังไม่ตาย ทาให้ ต้องใช้ เกินกว่าปริมาณที่แนะนาในฉลาก เมื่อถามถึงเรื่ องวิธีการป้องกันตนเองและการใส่หน้ ากากขณะฉีดพ่นยาฆ่าหญ้ า เกษตรกรส่วนมาก จะกล่าวว่าไม่ได้ ป้องกันตนเอง เพราะการปลูกข้ าวโพดในที่ลาดชันเดินยาก เหนื่อยและร้ อนมาก ปกติก็ หายใจไม่คอ่ ยสะดวกอยูแ่ ล้ ว ไม่สามารถใส่ผ้าปิ ดปากหรื อหน้ ากากได้ เพราะจะทาให้ เป็ นลม และอาจจะ พลัดตกเขาบาดเจ็บเสียชีวิตได้ เกษตรกรจึงเลือกที่จะไม่ป้องกันตนเองขณะฉีดพ่นยาฆ่าหญ้ า ยิ่งไปกว่า นันเกษตรกรบางคนสู ้ บบุหรี่ ขณะพ่นยาไปด้ วย เมื่อพ่นเสร็ จก็กลับมาดื่มน ้าโดยไม่ได้ ล้างมือ เสื ้อผ้ า เปี ยก เหงื่อเปี ยกยา บางคนมือเปื อ้ นสารเคมีเป็ นสีเขียวก็มารับประทานอาหารเลยโดยไม่ล้างมือ บางคนก็พ่นยา ฆ่าหญ้ าโดยไม่ใส่รองเท้ า เนื่องจากพื ้นที่ชนั มาก หากใส่รองเท้ าบูทจะเดินยากเพราะพื ้นรองเท้ าแข็งไม่จบั พื ้นดิน และมีน ้าหนักมาก ทาให้ ปีนเขาลาบาก

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

117


4) รอเก็บเกี่ยว หลังจากใส่ป๋ ยและพ่ ุ นยาฆ่าหญ้ าครัง้ ที่ 3 แล้ ว เกษตรกรจะรอให้ ต้นข้ าวโพดมีอายุประมาณ 120 วัน หรื อนับจากวันใส่ป๋ ุยประมาณ 3 เดือน ถึง จะเก็ บเกี่ ยว ซึ่ง ในระยะนี จ้ ะไม่มี กิจ กรรมมากนัก แต่ เกษตรกรจาเป็ นจะต้ องหมัน่ ตรวจดูแปลงข้ าวโพดอยู่เสมอ เพราะอาจเกิดโรคโคนเน่า มี ลมพายุทาให้ ต้น ข้ าวโพดล้ มเสียหาย บางปี อาจจะเกิดภัยแล้ ง หรื อบางแปลงอาจมีวชั พืชขึ ้นรกอีก แม้ ว่าจะพ่นยาฆ่าหญ้ า 3 ครัง้ แล้ วก็ตาม หากเห็นว่าหญ้ าขึ ้นรกมากอาจใช้ ยาคุมหรื อยาพาราควอทฉีดซ ้าเพื่อกาจัดวัชพืชด้ วย ในกรณีที่ประสบภัยแล้ งหรื อวาตภัย เกษตรกรจะเรี ยกคณะกรรมการของหมู่บ้าน เช่น ผู้ใหญ่หรื อ กานันมาถ่ายรูปเก็บไว้ เป็ นหลักฐาน เพื่อใช้ สาหรับยื่นเรื่ องกับทางเกษตรอาเภอขอเงินช่วยเหลือเมื่อประสบ ภัยพิบตั ิ และยื่นเรื่ องขอผ่อนผันการชาระหนี ้กับทาง ธ.ก.ส. และสหกรณ์ตอ่ ไป 5) เก็บเกี่ยว เมื่อข้ าวโพดมีอายุครบประมาณ 120 วัน เกษตรกรจะเริ่ มหักฝั กข้ าวโพดเก็บใส่ในถุง การเก็บเกี่ยว นี ้เป็ นกิจกรรมที่ต้องใช้ แรงงานจานวนมาก และต้ องจ้ างคนมาช่วยเก็บเกี่ยวรายวัน เป็ นระยะเวลา 30-60 วัน บางรายมีคา่ ใช้ จา่ ยสูงถึงกว่า 60,000 บาท หากมีพื ้นที่ปลูกมาก หลัง จากหัก ฝั ก ข้ าวโพดแล้ ว เกษตรกรจะน าข้ า วโพดที่ เ ก็ บ เป็ นฝั ก มาตากไว้ ใ นยุ้ง ฉางเพื่ อ ลด ความชื ้น ยกเว้ นเกษตรกรที่จาเป็ นต้ องรี บใช้ หนี ้ หรื อเก็บเกี่ยวช้ า ใกล้ ช่วงระยะเวลาชาระหนี ้ของสหกรณ์ และ ธ.ก.ส. จะไม่สามารถเก็บให้ แห้ งรอราคาได้ ต้ องรี บขายทันทีเพื่อนาเงินไปคืนหนี ้ที่ขอกู้ยืมมา ในแต่ละปี เกษตรกรจะได้ รับจดหมายเรี ย กเก็บหนี ้ในระยะเวลาไม่เท่ากัน ขึ ้นอยู่กับนโยบายของ สถาบันการเงินแต่ละแห่ง แต่สว่ นใหญ่จะเริ่มได้ รับจดหมายทวงหนี ้จากแหล่งเงินกู้ตา่ งๆ ตังแต่ ้ ประมาณต้ น เดือนธันวาคม ที่ชาวบ้ านเรี ยกเล่นๆ ว่า “ธันวามหาโหด” ทาให้ เกือบทุกคนต้ องรี บสีข้าวโพดขายในช่วง เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ช่วงนี ้จึงเป็ นช่วงที่มีคนต้ องการสีข้าวโพดขายจานวนมาก ทาให้ ราคารับซื ้อจะ ไม่ขยับขึ ้นมาก ดังนันหากไม่ ้ มีภาระหนี ้สินมาก เกษตรกรมักจะเก็บข้ าวโพดไว้ ในยุ้งฉางให้ นานขึ น้ เพื่อรอ ไปขายตอนที่ราคาตลาดดี หรื อช่วงที่ข้าวโพดในตาบลเหลือน้ อย ของจะขาดตลาด เพราะพ่อค้ าหั วสีจะ ขยับราคาขึ ้นให้ มากเนื่องจากต้ องการซื ้อข้ าวโพดไปขายทากาไร บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

118


ปั ญหาและอุปสรรคของเกษตรกร ความเสี่ยงและปั ญหาของเกษตรกรนันมี ้ ในทุกขันตอนการเพาะปลู ้ ก โดยสามารถสรุปได้ ดงั นี ้  ความเสี่ยงด้ านเงินทุน : เพราะการปลูกข้ าวโพดลงทุนสูงมาก เกษตรกรจึงเสียงกับการเป็ นหนี ้ ขาดทุน จนต้ องติดอยูใ่ นวงจรของการกู้ยืมมาใช้ หนี ้เพิ่มขึ ้นเรื่ อย  ความเสี่ ย งด้ า นสุข ภาพ : เกษตรกรต้ อ งสัม ผัส กับ ยาฆ่า หญ้ าไม่ต่ า กว่า 3 รอบต่อ 1 การ เพาะปลูก ในปริมาณที่เข้ มข้ นมาก และไม่มีการป้องกันตนเอง ทาให้ มีความเสี่ยงด้ านสุขภาพสูงมาก  ปั ญหาโรคและการเจริญเติบโตของข้ าวโพด - ปั ญหาเมล็ดพันธุ์ไม่งอกออกมาเป็ นต้ น เนื่องจากเมล็ดเก่า หมดอายุ หรื อเป็ นเมล็ดพันธุ์ ปลอมแอบนามาขายในช่วงที่สินค้ าราคาสูง ขาดตลาด - ศัตรูพืช ได้ แก่ หนู ตัก๊ แตน กระต่าย แมลง เพลี ้ย - โรคโคนเน่า : เมื่อข้ าวโพดอายุประมาณ 60 วันหรื อ 2 เดือน ซึ่งเป็ นช่วงที่ข้าวโพดกาลัง ออกดอก ไปจนถึงช่วงติดฝั ก ระยะนี ้จะเป็ นช่วงที่ฝนตกหนัก มีความชื ้นสูง น ้าขังโคนต้ น บางรายอาจเจอกับปั ญหาโรคโคนเน่า ซึ่งจะทาลายลาต้ นให้ เน่า ส่วนรายที่อาการรุนแรง ข้ าวโพดอาจจะยืนต้ นแห้ งตายในที่สดุ  ภัยธรรมชาติ : ได้ แก่ภัยแล้ ง อุทกภัย ดินถล่ม และวาตภัย ซึ่งจะทาให้ ต้นข้ าวโพดล้ ม และ จาเป็ นต้ องเก็บเกี่ยวทันทีถึงแม้ ยงั ไม่เติบโตเต็มที่ก็ตาม  ราคาตกต่า : เนื่องจากราคาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ขึ ้นอยู่กบั อุปสงค์ อุปทาน และราคาตลาดโลก ทาให้ บางปี อาจจะราคาสูงมาก และบางปี ก็ราคาต่ามาก ซึ่งเกษตรกรไม่มีทางรู้ล่วงหน้ าได้ เ ลยว่า ราคาใน ท้ องตลาดเมื่อตอนเก็บเกี่ยวจะเป็ นเท่าใด จึงมีความเสี่ยงเรื่ องราคาขายสูงมาก

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

119


 ความเสี่ยงขณะเก็บข้ าวโพดเพื่อทาราคา : ระหว่างที่เก็บข้ าวโพดในยุ้งฉางเพื่อตากแห้ งและ ทาราคาขาย เกษตรกรต้ องเสี่ยงกับทังหนู ้ ที่จะมากัดกิน และราดาที่จะทาให้ ผลผลิตเสีย นอกจากนี ้ยัง อาจมีการลักขโมยผลผลิต ทาให้ เกษตรกรบางคนถึงขันต้ ้ องไปนอนเฝ้าข้ าวโพดที่ย้ งุ ฉาง 5.2.5 พ่ อค้ าหัวสี หรือพ่ อค้ าคนกลางระดับท้ องถิ่น “พ่อค้ าหัวสี” เป็ นคาเรี ยกที่เกษตรกรในจังหวัดน่านใช้ เรี ยกพ่อค้ าคนกลางที่รับซือ้ ข้ าวโพดจาก เกษตรกรไปขายให้ กับไซโลหรื อผู้ร วบรวมระดับอื่นๆ ต่อไป การให้ บริ การลาดับแรกของพ่อค้ าหัวสีคือ จะต้ องมีเครื่ องกะเทาะเมล็ดหรื อที่ชาวบ้ านเรี ยกว่าหัวสี เพื่อสีฝักข้ าวโพดให้ ออกมาเป็ นเมล็ด และมีรถ 6 ล้ อเพื่อใช้ ขนส่งข้ าวโพดไปขายต่อ ณ ลานรับซื ้อ จากการสัมภาษณ์พบว่าเกษตรกรทุกคนใช้ บริ การหัวสีใน 2 ลักษณะที่แตกต่างกัน บางรายอาจขายผลผลิตข้ าวโพดและตกลงราคารับซื ้อที่ไร่กบั หัวสีโดยตรง แต่บาง รายใช้ บริการหัวสีในลักษณะนายหน้ า กล่าวคือใช้ บริการสีและขนส่งจากพ่อค้ าหัวสี แต่ไม่ตกลงราคาก่อน ขนส่งไปจากไร่ พ่อค้ าหัวสีและเกษตรกรจะนาข้ าวโพดไปขายที่ลานรับซื ้อ แล้ วเกษตรกรจะแบ่งรายได้ ส่วน หนึ่งเป็ นค่าบริ การให้ กบั พ่อค้ าหัวสี เช่น 0.30 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งราคาค่าบริ การนี ้อาจเพิ่มขึ ้นหรื อลดลง ตามระยะทางระหว่างพื ้นที่ไร่ข้าวโพดกับถนนลาดยาง และระยะทางไปยังลานรับซื ้อข้ าวโพดที่เกษตรกร ต้ องการจะไปขาย เป็ นต้ น แต่โดยส่วนใหญ่แล้ วพบว่าเกษตรกรจะขายสินค้ าให้ กบั พ่อค้ าหัวสีโดยตรง และ ตกลงราคากันที่หน้ าไร่ข้าวโพดก่อนจะทาการสีเลย 1) รั บซื้อ เมื่ อ ตัด สิ น ใจว่าถึ ง ช่วงเวลาที่ ต้อ งการขายผลผลิ ต เกษตรกรจะติด ต่อ ไปหาหัวสี เพื่ อเรี ย กมา กะเทาะเมล็ด พ่อค้ าหัวสีก็จะเดินทางไปที่ย้ ุงฉางซึ่งอยู่ใกล้ กับไร่ เพาะปลูก ดูคุณภาพประมาณการชัน้ คุณภาพโดยใช้ ความชานาญและประสบการณ์ และตกลงราคารั บซือ้ เป็ นราคาเหมาไม่แบ่งเกรดชัน้ คุณภาพสินค้ า จากนันจะน ้ ารถไถลากเครื่ องกะเทาะเมล็ดไปที่ย้ ุงฉาง ทาการสี ชัง่ วัดนา้ หนักโดยจะ บรรจุเมล็ดข้ าวโพดที่สีแล้ วใส่กระสอบ กระสอบละ 100 กิโลกรัม และขนเมล็ดข้ าวโพดขึ ้นรถ เกษตรกรจะ ยังไม่ได้ รับเงินทันที แต่จะได้ รับเงินในระยะเวลา 3-7 วันภายหลังการซื ้อขาย หรื อบางรายต้ องรอ 15-30 วัน ขึ ้นอยูก่ บั การบริ หารจัดการของหัวสีแต่ละราย ซึ่งรายที่ให้ เงินกับเกษตรกรเร็ ว จะได้ รับความนิยมจาก เกษตรกรมากกว่า บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

120


หากเป็ นในหมูบ่ ้ านพื ้นที่เดียวกัน และในระยะเวลาใกล้ เคียงกัน หัวสีจะจาเป็ นต้ องรับซื ้อข้ าวโพด ของเกษตรกรที่ราคาเท่ากันทังหมด ้ เนื่องจากเกษตรกรจะไม่ยอมหากรู้สกึ ว่าได้ ราคาต่ากว่า และปั จจุบนั มี พ่อค้ าหัวสีจานวนมากเข้ ามาตัดราคาซื ้อ ทาให้ พอ่ ค้ าต้ องยอมซื ้อในราคาเหมาเท่ากันหมดทุกคุณภาพ แต่ ราคาอาจจะต่างกัน 0.10-0.20 บาทขึ ้นอยูร่ ะยะห่างระหว่างพื ้นที่ไร่ข้าวโพดกับถนนลาดยาง หรื อความลาด ชันความยากลาบากในการนาเครื่ องกะเทาะเมล็ดเข้ าไปที่ไร่ การเลื อ กใช้ บ ริ ก ารพ่อค้ า หัว สี ข องเกษตรกรนัน้ จะขึน้ อยู่กับ พื น้ ที่ แ ละความสัม พัน ธ์ จากการ สัม ภาษณ์ พบว่า เกษตรกรในหมู่บ้านเดียวกันจะขายให้ พ่อค้ าหัวสี คนเดียวกัน และหมู่บ้านที่อยู่ห่าง ออกไปก็จะใช้ พ่อค้ าหัวสีคนอื่นซึ่งมีอิทธิพลและความสัมพันธ์กับเกษตรกรในหมู่บ้านนันๆ ้ ทังนี ้ ้เนื่องจาก เกษตรกรจะไม่ได้ รับเงินในทันทีที่ขายและจะต้ องเชื่อใจว่าพ่อ ค้ าคนที่ขายข้ าวโพดให้ จะนาเงินมาคืนให้ ใน ภายหลัง ดังนันการเลื ้ อกพ่อค้ าจึงพิจารณาจากความคุ้นเคยและความสนิทสนมแบบพึง่ พาอาศัยกัน ส่วนพ่อค้ าหัวสีเองก็ต้องสร้ างบุญคุณและความสัมพันธ์ที่ดีกบั เกษตรกร เพราะกลัวว่าเกษตรกรจะ ไปขายให้ กบั ผู้รับซื ้อเจ้ าอื่นๆ เนื่องจากปั จจุบนั มีผ้ รู ับซื ้อเกิดขึ ้นเป็ นจานวนมาก ทังที ้ ่เกิดขึ ้นใหม่จากภายใน ตาบลเอง และจากคนนอกตาบลที่เดินทางเข้ ามาตัดราคารับซื ้อในราคาสูงกว่า แต่กลุ่มตัวอย่างเล่าว่าไม่ กล้ าขายให้ คนนอกหมูบ่ ้ าน เพราะนอกจากรู้สกึ เกรงใจพ่อค้ าหัวสีคนที่มีความสนิทสนมด้ วยแล้ ว ก็ยงั กลั ว ว่าจะได้ เงินช้ า หรื อจะตามทวงเงินยาก เพราะเป็ นคนนอกหมูบ่ ้ าน เป็ นต้ น 2) แบ่ งเกรดคุณภาพและขายต่ อ เวลารับซื ้อพ่อค้ าจะไม่คดั เกรด จะรับซื ้อเป็ นราคาเหมาะรวมทุกคุณภาพ แต่จะมีวิธีการแบ่ งเกรด และเพิ่ม คุ ณภาพ ข้ าวโพดเพื่ อท าก าไร โดยพ่อ ค้ าหัวสี คนที่ มี ลานเก็ บ ข้ า วโพด จะแยกเมล็ ดที่ มี ชัน้ คุณ ภาพแต่ล ะประเภทไว้ ออกจากกัน โดยคุณ ภาพเหล่านี จ้ ะพิจ ารณาจากความชื น้ เป็ นอัน ดับแรก รองลงมาคือ เปอร์ เ ซ็ นต์ เ มล็ ดเสี ย เมล็ ดแตก เมล็ดที่ เ ป็ นราดา และสุดท้ ายคื อความสวย ขนาด และ ลักษณะของเมล็ดที่เต็มโต สีสวยงาม บางคนจะคอยสังเกตและแยกเก็บเมล็ดส่ว นที่สวยและแห้ งไว้ ใส่ กระสอบต่างหาก เอาไว้ ขายต่อกับไซโลที่รับซื ้อเกรดคุณภาพดีให้ ราคาสูง นอกจากนี ้พ่อค้ าในแต่ละพื ้นที่ จะรู้วา่ แปลงใครข้ าวโพดสวย ยุ้งฉางของใครที่ข้าวโพดดี ก็จะมาจองขอซื ้อไว้ ก่อนล่วงหน้ า

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

121


พ่อค้ าจะนาข้ าวโพดทังหมดมาคั ้ ดแบ่งเกรดคุณภาพที่ลานของตนเอง แล้ วค่อยบรรทุกขนนาไป ขายที่ลานไซโลรับซื ้อระดับจังหวัดน่าน หรื อลานไซโลรับซื ้อต่างจังหวัด และอาจส่งขายโรงงานผลิตอาหาร สัตว์โดยตรงสาหรับพ่อค้ าหัวสีท้องถิ่นรายใหญ่ 5.2.6 ไซโล หรื อพ่ อค้ าผู้รวบรวมระดับจังหวัดและภูมิภาค “ไซโล” เป็ นคาที่เกษตรกรในจังหวัดน่านใช้ เรี ยกพ่อค้ าคนกลางรายใหญ่ระดับจังหวัด ซึ่งจะมีไซโล และลานตากข้ าวโพดขนาดใหญ่ และบางรายอาจมีเครื่ องอบเพื่อลดความชื ้นเพิ่มคุณภาพเมล็ดข้ าวโพด โดยในจังหวัดน่านจะแบ่งเป็ นไซโลทางเขตเหนือ และทางเขตใต้ ทางฝั่ งใต้ ได้ แก่ผ้ รู วบรวมรายใหญ่ใน อาเภอเมือง และอาเภอเวียงสา ส่วนทางเหนือจะได้ แก่ทางแถบอาเภอท่าวังผา และอาเภอปั ว เป็ นต้ น กิจกรรมสาคัญที่ไซโลหรื อพ่อค้ าระดับจังหวัดทาได้ แก่ 1) การรั บซื้อ ในช่วงการรับซื ้อ กิจกรรมลาดับแรกที่ไซโลทาคือการตรวจวัดคุณภาพ ซึ่งลักษณะการตรวจของ ไซโลจะวัด 2 ลักษณะ ได้ แก่ เปอร์ เซ็นต์ความชื ้น และเปอร์ เซ็นต์เมล็ดเสีย โดยใช้ เครื่ องตรวจวัดความชื ้น และเครื่ อ งชั่ ง น า้ หนัก เมล็ ด เสี ย แล้ วคิ ด ค่ า ออกมาเป็ นเปอร์ เ ซ็ น ต์ ต่ า งจากระดับ พ่ อ ค้ า หั ว สี ที่ ใ ช้ ประสบการณ์กะเกณฑ์คณ ุ ภาพด้ วยสายตา (รายละเอียดวิธีการตรวจวัดสามารถดูได้ ในภาคผนวก) โดยส่วนใหญ่แล้ วข้ าวโพดของเกษตรกรจากจังหวัดน่านจะอยู่ในชันคุ ้ ณภาพเกรดเบอร์ 2-5 ส่วน ความชื ้นที่รับซื ้อนันก็ ้ ขึ ้นอยูก่ บั ช่วงระยะเวลา หากเป็ นช่วงกลางปี ลานข้ าวโพดจะรับซื อ้ ที่ความชื ้นสูง แต่ให้ ราคาต่า ส่วนในช่วงปลายปี จะรับซื ้อที่ความชื ้นต่า และให้ ราคาสูงกว่า ราคาในตลาดซึ่งไซโลให้ กบั พ่อค้ าหัวสี นนจะตั ั้ งตามผู ้ ้ กาหนดราคารายใหญ่ ได้ แก่ โรงงานอาหาร สัตว์ในเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ และโรงงานอาหารสัตว์ในเครื อเบทาโกร รวมถึงลานข้ าวโพดไซโลขนาดใหญ่ ซึ่งไซโลก็จะคิดคานวณต้ นทุนของตนเองในด้ านค่าอบตากเพื่อเพิ่มคุณภาพ ค่าขนส่ง ค่าแรงคนงาน ค่า บริ หารจัดการต่างๆ แล้ วบอกราคารับซื ้อของตนเองให้ ต่ากว่าซีพี และคานวณให้ ได้ กาไรส่วนต่าง แจ้ งแก่ พ่อค้ าหัวสีที่มาขาย

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

122


2) เพิ่มเกรดคุณภาพ หลักการเพิ่มเกรดคุณภาพของไซโลจะทากิจกรรม 2 แบบด้ วยกัน ได้ แก่ การลดความชื ้น และการ ผสมเพิ่มเกรด การลดความชืน้ จะทาได้ 2 ลักษณะคือ  การตากแดด : เป็ นวิธีที่นิยมใช้ กนั ทัว่ ไป โดยเฉพาะการตากเมล็ดบนลานคอนกรี ต เนื่องจากมี ค่าใช้ จา่ ยต่า ในวันที่แดดดี จะสามารถลดความชื ้นได้ ถึง 7 เปอร์ เซ็นต์ (กรมวิชาการเกษตร, 2547) แต่จะ ไม่สามารถทาได้ ตลอดเวลา และมีความไม่แน่นอนสูง เนื่องจากมักจะเจอปั ญหาฝนที่ตกอยู่เสมอในช่วงต้ น ฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้ าวโพด  การอบด้ วยเครื่ องลดความชื ้น : ไซโลในจังหวัดน่านจะมีเพียงไม่กี่แห่งเท่า นันที ้ ่มีเครื่ องอบเพื่อ ลดความชื ้น โดยหลักการแล้ วเครื่ องลดความชื ้นจะเป่ าลมที่ถูกปรับสภาพให้ มีความชื ้นสัมพัทธ์ ต่า โดย การเพิ่มอุณหภูมิของอากาศให้ ผา่ นเข้ าไปในกองเมล็ดพืช เพื่อให้ น ้าระเหยออกมาจากเมล็ด ผสมเกรดเพื่อลดเปอร์ เซ็นต์ เมล็ดเสีย สาหรับข้ าวโพดที่มีเปอร์ เซ็นต์เมล็ดเสียเมล็ดแตกมาก ไซโลบางรายจะใช้ วิธีนาข้ าวโพดที่เปอร์ เซ็นต์เมล็ดเสียน้ อยมาผสมเพื่อลดเปอร์ เซ็นต์เมล็ดเสียโดยเฉลี่ย หากพบว่าในช่วงนันโรงงานอาหารสั ้ ตว์ให้ ข้าวโพดเกรดกลางในราคาที่สงู ซึ่งการผสมเพิ่มเกรดจะต้ องใช้ ประสบการณ์และการคานวณดูปริมาณและราคาเพื่อให้ ค้ มุ ค่ากับการนาข้ าวโพดเกรดดีมาผสมกับข้ าวโพด เกรดต่า 3) ขายต่ อ สาหรับการขายต่อ ไซโลในจังหวัดน่านจะส่งให้ ผ้ ซู ื ้อ 3 กลุม่ ด้ วยกัน ได้ แก่  โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี) จะรับซื ้อเฉพาะข้ าวโพดเกรดสูง ความชื ้นและ เมล็ดเสียน้ อย มักรับซื ้อเกรดเบอร์ 2 และให้ ราคาสูงที่สดุ ในตลาด แต่มีข้าวโพดจานวนไม่มากนักจาก จ. น่าน ที่ไปขายยังซีพีเนื่องจากชันคุ ้ ณภาพไม่ถึงตามเกณฑ์ที่ซีพีตงไว้ ั้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

123


 โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อเบทาโกร จะรับซือ้ ข้ าวโพดเกรดสูงเช่นกัน แต่คดั คุณภาพระดับ รองลงมาจากซีพี โดยรับซื ้อเกรดเบอร์ 3 และให้ ราคารองลงมาจากซีพี แต่จะรับเปอร์ เซ็นต์เมล็ดเสียและ ความชื ้นมากกว่า  ไซโลระดับภูมิภาค ในจังหวัดพะเยา ชัยนาท พิจิตร นครสวรรค์ อยุธยา ลพบุรี ฯลฯ ซึ่งจะรับซื ้อ ข้ าวโพดในเกรดคุณภาพที่ต่ากว่าเบอร์ 4 และ เบอร์ 5 โดยจะให้ ราคาต่ากว่าซีพีและเบทาโกร แต่รับ เปอร์ เซ็นต์เมล็ดเสียและความชื ้นมากกว่า พ่อค้ าในจังหวัดน่านจะดูตามลักษณะสินค้ าที่ตวั เองมีอยู่ว่าเป็ นเกรดคุณภาพใด แล้ วส่งขายตาม โรงงานอาหารสัตว์หรื อไซโลต่างจังหวัดที่ให้ ราคาดีที่สดุ หรื ออาจขายกับไซโลเจ้ าประจาซึ่งมีความสัมพันธ์ กันต่อเนื่อง 5.2.7 โรงงานอาหารสัตว์ และฟาร์ มเลีย้ งสัตว์ ท่ ผี ลิตอาหารใช้ เอง โรงงานอาหารสัตว์ นับเป็ นปลายทางของอุตสาหกรรมการผลิตข้ าวโพดเลี ย้ งสัตว์ ก่อนที่จะนา ข้ าวโพดไปผสมเป็ นอาหารสัตว์และส่งขายแก่ผ้ ซู ื ้อทังในและนอกประเทศต่ ้ อไป ผู้เล่นอีกรายหนึ่งซึ่งถือเป็ น ปลายทางของห่วงโซ่อุปทานข้ าวโพดอาหารสัตว์ คือ ฟาร์ มเลีย้ งสัตว์ขนาดใหญ่ที่ผลิตอาหารใช้ เอง ซึ่ง อาหารเหล่านี ้จะนาไปใช้ เลี ้ยงสัตว์ตามประเภทและลักษณะของฟาร์ มแต่ละชนิด 1) การตั้งราคารั บซื้อ การตังราคาอาหารสั ้ ตว์ของโรงงานจะดูปัจจัย 4 ประการด้ วยกัน ได้ แก่ คุณภาพของข้ าวโพดที่ ต้ องการใช้ สาหรับสูตรอาหารสัตว์ของแต่ล ะโรงงาน ปริ มาณอุปทานผลผลิตข้ าวโพดในประเทศ อุปสงค์ ความต้ องการข้ าวโพดเพื่อใช้ ผลิตเป็ นอาหารสัตว์ และราคาในตลาดโลกซึ่งอ้ างอิงกับตลาดสินค้ าล่วงหน้ า ที่ มี ชื่ อ เสี ย งและเป็ นที่ ร้ ู จัก ของผู้ค้ า โดยทั่ว ไป เช่ น ตลาดล่ ว งหน้ าในสหรั ฐ อเมริ ก า อาทิ Chicago Mercantile Exchange (CME) เป็ นต้ น ทังนี ้ ้โรงงานอาหารสัตว์และฟาร์ มเลี ้ยงสัตว์ โดยผู้เล่นในห่วงโซ่ อุปทานรายใหญ่ที่มีอานาจซื ้อมาก หรื อต้ องการซื ้อในคุณภาพชันพิ ้ เศษ จะสามารถกาหนดราคาได้ เอง ตามความต้ องการข้ าวโพดของโรงงาน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

124


2) การตรวจคุณภาพ โรงงานอาหารสัตว์จ ะตรวจคุณ ภาพในลักษณะเดี ยวกับไซโลขนาดใหญ่ แต่จะใช้ เครื่ องวัดที่ มี คุณภาพและเทคโนโลยีสงู กว่า เช่น การตรวจวัดเมล็ดแตกเมล็ดเสียด้ วยเครื่ องวิเคราะห์คณ ุ ภาพแทนการใช้ แรงงานคนนับและวัดคานวณน ้าหนัก นอกจากนี ้บางรายอาจมีการตรวจวัดปริ มาณสารอื่นๆ เช่น ยาฆ่า แมลงในข้ าวโพด ซึ่งมีวตั ถุประสงค์เพื่ อควบคุมระดับสารเคมีไม่ให้ เกินเกณฑ์ที่กาหนด แต่จะไม่ได้ นามา เป็ นเกณฑ์ในการกาหนดราคารับซื ้อดังเช่นความชื ้นและเมล็ดเสียแต่อย่างใด 3) ผลิตอาหารสัตว์ กรรมวิธีการผลิตเริ่มต้ นคือจะนาข้ าวโพดมาอบเพื่อลดความชื ้น ใช้ เครื่ องเป่ าลดเศษพืชที่ปนมากับ ข้ าวโพด คัดแยกเมล็ดเสี ย แล้ วนามาบด ผสมเป็ นอาหารสัตว์ ตามสัดส่วนสูตรอาหารสัตว์ของแต่ละ บริษัท ซึ่งจาเป็ นต้ องใช้ ปริ มาณข้ าวโพดเป็ นเปอร์ เซ็นต์แตกต่างกันไป ข้ าวโพดอาหารสัตว์นนเป็ ั ้ นวัตถุดิบ กลุ่มให้ พลังงาน เช่นเดียวกับปลายข้ าว ต่างจากปลาป่ นและกากถั่วเหลือง ซึ่งเป็ นวัตถุดิบในกลุ่ มให้ โปรตีน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

125


ตาราง 5.18 สัดส่วนและปริมาณข้ าวโพดที่ใช้ ในการผลิตอาหารสัตว์แต่ละชนิด

ประเภทสัตว์ ไก่เนื ้อ ไก่พอ่ แม่พนั ธุ์ ไก่ไข่รุ่นเล็ก ไก่ไข่ให้ ไข่ ไก่ไข่พอ่ แม่พนั ธุ์ หมูขนุ หมูพนั ธุ์ เป็ ดเนื ้อ เป็ ดพันธุ์ เป็ ดไข่ โคนม กุ้ง (ตัน) ปลา (ตัน)

สัดส่วนปริมาณน ้าหนักของวัตถุดบิ แต่ละชนิดโดยประมาณ ข้ าวโพด ปลายข้ าว ปลาป่ น (%) กากถัว่ เหลือง (%) (%) (%) 3 30 62 3 25 60 3 25 60 5 25 55 3 25 60 3 20 25 20 5 20 45 6 20 15 35 6 30 10 45 8 15 40 5 15 10 20 10 30 30 -

ที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย (2555) จากตารางข้ างต้ น จะเห็นได้ ว่าโรงงานอาหารสัตว์ซึ่งเน้ นผลิตอาหารสัตว์เพื่อใช้ เลีย้ งสัตว์ บาง ประเภท เช่น ไก่และหมูขนุ รวมทังปลา ้ จะจาเป็ นต้ องใช้ ข้าวโพดอาหารสัตว์เพื่อใช้ เป็ นพลังงานจานวนมาก ต่างจากเป็ ด กุ้ง และโคนม รวมทัง้ หมูพันธุ์ ซึ่ง ใช้ ข้ าวโพดในสูตรอาหารสัตว์ น้อยมาก หรื อไม่ใช้ เลย นอกจากนี ้ปริ มาณการซื ้อข้ าวโพดในแต่ละปี ยังขึ ้นอยู่กบั ราคาข้ าวโพดในปี นันๆ ้ ด้ วย เช่น บางปี ที่ข้าวโพด ราคาแพง ผู้ประกอบการโรงงานอาหารสัตว์อาจเลือกใช้ ปลายข้ าว หรื อมันสาปะหลัง ซึ่งเป็ นพืชให้ พลังงาน ประเภทคาร์ โบไฮเดรททดแทนข้ าวโพดได้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

126


อย่างไรก็ดี การทดแทนนันสามารถท ้ าได้ อย่างจากัด จึงไม่สามารถใช้ มนั สาปะหลังแทนข้ าวโพด ได้ อย่างสิ ้นเชิง โดยปริ มาณสูงสุดที่ใช้ ทดแทนได้ นนขึ ั ้ ้นอยู่กับปริ มาณสารอาหารที่วัตถุดิบนัน้ มีอยู่ และ เปอร์ เซ็นต์ส่วนผสมของสูตรอาหารแต่ละชนิ ด เช่นสูตรอาหารไก่ที่ใช้ ข้าวโพดประมาณ 55-62% อาจใช้ ปลายข้ าวและมันสาปะหลังมาทดแทน โดยปริมาณข้ าวโพดต่าที่สดุ ที่เป็ นไปได้ สาหรับสูตรอาหารไก่จะอยู่ที่ ประมาณ 20% เป็ นต้ น ซึ่งผู้ผลิตจะควบคุมค่าปริ มาณสารอาหารของอาหารสัตว์ที่ผลิตสาเร็ จให้ คงที่เท่า เดิม ด้ วยเครื่ องคานวณอัตโนมัติ ถึงแม้ จะใช้ ข้าวโพดเป็ นเปอร์ เซ็นต์มากขึ ้นหรื อน้ อยลงก็ตาม

5.3

ผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมจากกิจกรรมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในห่ วงโซ่ อุปทาน จากการน าข้ อ มูล ภาคสนามมาวิ เ คราะห์ แ ละสัง เคราะห์ ป ระกอบกับ ข้ อ ค้ น พบในบทก่ อ นๆ

คณะวิจัยสามารถเชื่อมโยงผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมเข้ ากับกิจกรรมของผู้มีส่วนได้ เสียต่างๆ ในห่วงโซ่ อุปทาน ดังรายละเอียดในตารางที่ 5.19 ตาราง 5.19 ผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมจากกิจกรรมของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียต่างๆ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย กิจกรรม ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ พัฒนาสายพันธุ์ให้ ได้ พนั ธุ์ที่ ข้ าวโพด ผลผลิตต่อไร่สงู ขึ ้น นาเข้ าแม่ป๋ ยจากต่ ุ างประเทศมา ผู้ผลิตปุ๋ยเคมี ผสมและ/หรื อบรรจุขาย ผู้ผลิต ปั จจัยการ ผลิต นาเข้ าวัตถุดบิ มาผลิตสารกาจัด ผู้ผลิตสารกาจัด วัชพืชช่วยป้องกันความเสียหาย วัชพืช ของผลผลิต ผู้ผลิตปั จจัยการผลิต ตัวแทนจาหน่าย (ดีลเลอร์ ) ผู้จาหน่ายปั จจัยการผลิต (ราย ย่อย)

ใช้ มาตรการส่งเสริมการขาย ให้ ข้อมูลการใช้ โดยเน้ นการให้ ผลผลิตเพิ่ม ไม่เน้ นด้ านความ ปลอดภัยของเกษตรกร (ดู

ผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อม กิจกรรมไม่เชื่อมโยงกับผลกระทบทาง สิ่งแวดล้ อมใดๆ โดยตรง แต่อาจส่งผล กระทบ ทางอ้อม ผ่าน 1) การไม่ ออกแบบฉลากที่ระบุผลเสียจากการใช้ ปั จจัยการผลิตเกินขนาด (ดู รายละเอียดในภาคผนวก) และ 2) การ ไม่กาชับตัวแทนจาหน่าย (ดีลเลอร์ ) อย่างเพียงพอให้ สื่อสารกับเกษตรกรถึง ผลเสียจากการใช้ ปัจจัยการผลิตเกิน ขนาด ใช้ สารเคมีเกษตรเพิ่มขึ ้น ส่งผลต่อ คุณภาพดินและคุณภาพน ้า กระทบ สิ่งมีชีวิตและความหลากหลายทาง ชีวภาพ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

127


ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย

ผู้ปล่อยสินเชื่อ

เกษตรกร

กิจกรรม รายละเอียดในภาคผนวก) ให้ สินเชื่อสาหรับการเพาะปลูก ทังในรู ้ ปเงินและปั จจัยการผลิต โดยไม่กาหนดความเหมาะสม ของพื ้นที่ (เช่น ต้ องมีเอกสาร สิทธิ์ เพื่อให้ มนั่ ใจว่าไม่ใช่พื ้นที่ บุกรุกป่ า) ไว้ ในเงื่อนไขในการ อนุมตั สิ ินเชื่อ ใช้ สารเคมีเกษตรในการ เพาะปลูกมากเกินควร เผาเตรี ยมพื ้นที่

รับซื ้อผลผลิต อานวยความ สะดวกและเชื่อมห่วงโซ่อปุ ทาน โดยไม่ระบุ 1) ความเหมาะสม พ่อค้ าหัวสี/พ่อค้ าคนกลาง ของพื ้นที่การเพาะปลูก (พื ้นที่ ท้ องถิ่น/ไซโล ผู้รวบรวมระดับ บุกรุกหรื อไม่) 2) ความ จังหวัด เหมาะสมของการเตรี ยมพื ้นที่ (เผาหรื อไม่) และ 3) ขีดการใช้ สารเคมีเกษตร เป็ นเงื่อนไขการ รับซื ้อ ตังราคารั ้ บซื ้อตามเกรดคุณภาพ โดยไม่ระบุ 1) ความเหมาะสม ของพื ้นที่การเพาะปลูก (พื ้นที่ โรงงานอาหารสัตว์ขนาดใหญ่ บุกรุกหรื อไม่) 2) ความ (ผู้กาหนดราคา) เหมาะสมของการเตรี ยมพื ้นที่ (เผาหรื อไม่) และ 3) ขีดการใช้ สารเคมีเกษตร เป็ นเงื่อนไขการ

ผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อม

สนับสนุนให้ เกิดการขยายพื ้นที่ เพาะปลูกเพิ่มขึ ้น พื ้นที่ป่าลดลง หน้ า ดินถูกชะล้ าง คุณภาพดินเสียจากการ เพาะปลูก ดินไม่อ้ มุ น ้า น ้าไหลเร็วทาให้ อุทกภัยรุนแรง ส่งผลต่อคุณภาพดินและคุณภาพน ้า กระทบสิ่งมีชีวิตและความหลากหลาย ทางชีวภาพ คุณภาพอากาศลดลง ปั ญหามลพิษ ฝุ่ นละออง สนับสนุนให้ เกิดการขยายพื ้นที่ เพาะปลูกเพิ่มขึ ้น พื ้นที่ป่าลดลง คุณภาพอากาศลดลง ปั ญหามลพิษ ฝุ่ นละออง ส่งเสริมให้ มีการใช้ เคมีเกษตรเพิ่มขึ ้น เพื่อให้ ได้ ผลผลิตคุณภาพดี

สนับสนุนให้ เกิดการขยายพื ้นที่ เพาะปลูกเพิ่มขึ ้น พื ้นที่ป่าลดลง คุณภาพอากาศลดลง ปั ญหามลพิษ ฝุ่ นละออง ส่งเสริมให้ มีการใช้ เคมีเกษตรเพิ่มขึ ้น เพื่อให้ ได้ ผลผลิตคุณภาพดี

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

128


ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย

กิจกรรม

ผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อม

รับซื ้อ 5.4

การวิเคราะห์ อิทธิพลของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ต่ อเกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดเลีย้ ง สัตว์ ในห่ วงโซ่ อุปทาน การวิเคราะห์ในหัวข้ อนี ้ได้ ใช้ รูปแบบการวิ เคราะห์ผ้ มู ีส่วนได้ ส่วนเสียโดยการพิจารณา “อิทธิพล”

(influence) ซึ่งผู้เล่น 3 อันดับแรกในแต่ละประเภทของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อปุ ทาน ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในพื ้นที่ลมุ่ น ้าสาขา ยาว-อวน-มวบ เมื่อพิจารณาจากตาราง 5.19 ซึ่งวิเคราะห์ลกั ษณะผลกระทบทางสิ่ งแวดล้ อมจากกิจกรรมของผู้มี ส่วนได้ ส่วนเสีย จะเห็นว่าผู้ที่ก่อผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมโดยตรงคือเกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ อย่างไรก็ดีผ้ เู ล่นรายอื่นๆ ได้ สร้ างกิจกรรมซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกร และส่งอิทธิพลทางอ้ อม ทางสิ่งแวดล้ อม จากเหตุผลดังกล่าว การวิเคราะห์ในหัวข้ อนี ้จึงพิจารณาระดับอิทธิพลที่ผ้ เู ล่นแต่ละรายส่ง อิทธิพลต่อจานวนครัวเรื อนเกษตรกรที่เกี่ยวข้ องเป็ นสาคัญ โดยได้ ใช้ ผลการสารวจจากบทที่ 4 และหัวข้ อ 5.1 ประกอบกับข้ อมูลพืน้ ฐานของเกษตรกร (ตาราง 1.1) และข้ อมูลพืน้ ที่เพาะปลูกที่แท้ จริ งจากการ วิเคราะห์ของ GISTDA (ตาราง 3.6) เพื่อคานวณหาตัวเลขประมาณการจานวนครัวเรื อนเกษตรกรและ ปริ ม าณพื น้ ที่ เ พาะปลูกที่ เ กี่ ย วข้ องหรื อได้ รั บผลกระทบจากกิ จ กรรมของผู้มี ส่ว นได้ ส่ว นเสี ยรายต่างๆ สามารถสรุปผลได้ ดงั ในตาราง 5.20

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

129


ตาราง 5.20 อิทธิพลของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียหลัก ต่อจานวนครัวเรื อนเกษตรกรและปริ มาณพื ้นที่เพาะปลูกที่ เกี่ยวข้ อง ประเภทของ จานวนครัวเรื อนเกษตรกรที่ ผู้มีสว่ นได้ รายชื่อผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย เกี่ยวข้ อง/ได้ รับอิทธิพล ส่วนเสีย (ครัวเรื อน) ** 1. ผู้ผลิต เมล็ด บริษัท กรุงเทพอุตสาหกรรม 1,622.40 ปั จจัยการ พันธุ์ : เมล็ดพันธุ์ จากัด (เครื อซีพี) ผลิต บริษัท ไพโอเนียไฮเบรดไทย 1,182.93 แลนด์เมล็ดพันธุ์ จากัด บริษัท ซินเจนทา ซีดส์ จากัด 50.70 สาร บริษัท ซินเจนทา ครอป โปร 1,199.97 กาจัด เทคชัน่ จากัด วัชพืช : บริษัท สหภัณฑ์สง่ เสริม 709.80 การเกษตร จากัด หจก. โค้ วโต้ งเซ้ งเคมีเกษตร 422.43 ปุ๋ย : บริษัท เจียไต๋ จากัด (เครื อซี 1,064.70 พี) บริษัท ไทยเซ็นทรัลเคมี 828.03 จากัด ซีพีครอป กลุม่ ธุรกิจพืชครบ 709.80 วงจร 2. ผู้ปล่ อย ธ.ก.ส. 1,419.60 สินเชื่อ สหกรณ์การเกษตร 1,149.27 กองทุนหมู่บ้าน 997.17 3. ผู้ สหกรณ์การเกษตร 1,042.17 จาหน่ าย ร้ านค้ าปั จจัยการผลิตท้ องถิ่น 721.07 ปั จจัยการ สกต. 467.57 ผลิต 4. พ่ อค้ าหัว หัวสีรายย่อยต่างๆ ในพื ้นที่ 894.51 *** บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

ปริมาณพื ้นที่ เพาะปลูกที่ได้ รับ ผลกระทบ (ไร่) * 89,155.20 65,005.29 2,786.10 65,941.41 39,005.40 23,213.79 58,508.10 45,502.59 39,005.40 78,010.80 63,155.31 54,797.01 57,269.83 39,624.53 25,694.03 49,155.94

130


ประเภทของ จานวนครัวเรื อนเกษตรกรที่ ปริมาณพื ้นที่ ผู้มีสว่ นได้ รายชื่อผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย เกี่ยวข้ อง/ได้ รับอิทธิพล เพาะปลูกที่ได้ รับ ส่วนเสีย (ครัวเรื อน) ** ผลกระทบ (ไร่) * สี เกรี ยงไกร 466.15 *** 25,616.25 เจ๊ คา 345.31 *** 18,975.87 5. ไซโล จิตฟองไซโล (นางจุฑารักษ์ สีต๊ะสาร) 675.27 *** 37,108.04 ระดับ บริษัท ใจงาม จากัด 230.27 *** 12,654.05 จังหวัด น้ อมจิตร (หจก. ธัญชนกพืชผล) 172.81 *** 9,496.21 6. โรงงาน โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อ Betagro 822.45 *** 45,196.05 อาหารสัตว์ โรงงานอาหารสัตว์ในเครื อ CP 567.27 *** 31,173.04 โรงงานอาหารสัตว์อื่นๆ 528.95 *** 29,067.26 * คานวณจากปริ มาณพื ้นที่เพาะปลูกที่วิเคราะห์โดย GISTDA (พื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ปี 2556 ใน 4 ตาบลเท่ากับ 111,444 ไร่) ** คานวณจากร้ อยละของเกษตรกรในกลุ่มตัวอย่าง 120 คน คูณด้ วยจานวนครัวเรื อนเกษตรกรจาก สานักงานเกษตรจังหวัดน่านและสานักงานเกษตรอาเภอปั ว (เกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ใน 4 ตาบล 2,028 ครัวเรื อน) *** คานวณจากผลการศึกษาในแผนภูมิที่ 4.4 หารด้ วยปริมาณผลผลิตเฉลี่ยต่อครัวเรื อนเกษตรกร

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

131


แผนภูมิ 5.1 อิทธิพลของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียหลัก ต่อครัวเรื อนเกษตรกรในลุม่ น ้าสาขา ยาว-อวน-มวบ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

132


6. วิธีปฏิบัตท ิ ่ ีเป็ นเลิศในการจัดการห่ วงโซ่ อุปทานอุตสาหกรรมเกษตร 6.1 วรรณกรรมปริ ทัศน์ ว่าด้ วย “ห่ วงโซ่ อุปทานที่ย่ ังยืน” ในธุรกิจสินค้ าโภคภัณฑ์ และ อาหารเกษตร จากการค้ นหาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้ องกับ “ห่วงโซ่อุปทานที่ยงั่ ยืน” โดยเฉพาะในส่วนของข้ าวโพด อาหารสัตว์พบว่าไม่มีวรรณกรรมจากต่างประเทศที่มีเนื ้อหาตรงกับเรื่ องนี ้โดยเฉพาะ แต่ก็พบวรรณกรรม บางชิ ้นที่มีเนื ้อหาของห่วงโซ่อุปทานคล้ ายคลึงกันในหลายประเด็น อาทิ ลักษณะของสินค้ า ความซับซ้ อน ของห่วงโซ่อปุ ทาน ความเชื่อมโยงระหว่างผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียจากบริ ษัทขนาดใหญ่ไปถึงเกษตรกรรายย่อย ผ่านการกระจายสินค้ าจากผู้ค้าปลีกและตัวกลางอื่นๆ และปั ญหาที่เกิดขึ ้นต่อสิ่งแวดล้ อมอันเนื่องมาจาก การเพาะปลูก ดังนี ้ 1) สินค้ าเกษตรโภคภัณฑ์ที่ปลูกในพื ้นที่ป่าเขตร้ อนและผลกระทบกับความยัง่ ยืนของป่ าไม้ จาก รายงาน “Interventions for Achieving Sustainability in Tropical Forest and Agriculture Landscapes” ตีพิมพ์ในค.ศ. 2013 โดย Collective Actions and Property Rights - CAPRi (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013) 2) ข้ อเสนอเพื่อความยัง่ ยืนในการปลูกข้ าวโพดในประเทศเคนยา จากรายงาน “Sustainability of Maize Production in Kenya” โดย Kenya Agricultural Research Institute (Wokabi, N/A) 3) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างเพื่อความยัง่ ยืนของอาหารเกษตร จากรายงาน “The Chains of Agriculture: Sustainability and the Restructuring of Agri-food Markets” ตีพิมพ์ในค.ศ. 2001 โดย International Institute for Environment and Development (Vorley, 2001) 4) การสร้ างความยัง่ ยืนในห่วงโซ่อปุ ทานอาหาร จากรายงาน “Developing Sustainable Food Supply Chains” ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 2007 โดย Unilever Research and Development (Smith, 2007) 5) การสร้ างคุณค่าจากต้ นสู่ปลายห่วงโซ่อปุ ทานระดับโลก การสร้ างพันธมิตรระหว่างบริ ษัทข้ าม ชาติและเอ็นจีโอจากรายงาน “Building Value at the Top and Bottom of the Global Supply Chain:

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

133


MNC-NGO Partnerships and Sustainability” ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 2008 โดย Mcgill University and Carleton University (Perez-Aleman & Sandilands, 2008) 6.1.1 ความหมายของห่ วงโซ่ อุปทานอาหารที่ย่ งั ยืน จากคานิยามของ UK Sustainable Development Commission (SDC: DEFRA, 2002 หน้ า 51) ได้ รวบรวมมุม มองของผู้มี ส่วนได้ ส่วนเสี ยต่อการผลิตสินค้ าในระดับนานาชาติที่เกี่ ยวข้ องกับ “ห่วงโซ่ อุปทานอาหารที่ยงั่ ยืน” ไว้ ดงั นี ้ 1) ผลิ ตภัณฑ์ ปลอดภัย ดีต่อสุขภาพ ตรงกับอุปสงค์ของตลาด และทาให้ ผ้ ูบริ โภคสามารถเข้ าถึง อาหารที่มีคณ ุ ค่าทางโภชนาการและได้ รับข้ อมูลที่ถกู ต้ องเกี่ยวกับอาหาร 2) สนับสนุนการดารงอยู่ การพัฒนาและคงความหลากหลายของชุมชนชนบท และชุมชนเมืองทัง้ ในทางเศรษฐกิจและความเป็ นชุมชน 3) ส่งเสริ มการดารงชีวิตในชุมชนให้ ใช้ ที่ดินอย่างยัง่ ยืน โดยผ่านกลไกตลาดและการสนับสนุนทาง การเงินเพื่อประโยชน์สาธารณะ 4) เคารพและปฏิบตั ิงานโดยคานึงถึงข้ อจากัดของทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะดิน น ้า และความ หลากหลายทางชีวภาพ 5) ปฏิบตั ิงานเพื่อให้ ได้ มาตรฐานสิ่งแวดล้ อมขันสู ้ ง (Achieve consistently high standard of environmental performance) โดยลดการใช้ พลังงาน จากัดการใช้ ทรัพยากร และใช้ พลังงาน หมุนเวียนในส่วนที่สามารถใช้ ได้ 6) ทาให้ สภาพแวดล้ อมในการทางานมีความปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ มีสวัสดิการสังคมที่ดี และให้ การอบรมพนักงานทังหมดที ้ ่เกี่ยวข้ องกับห่วงโซ่อปุ ทาน 7) รั ก ษาแหล่ง ทรั พ ยากรที่ ใ ช้ ในการเพาะปลูก อาหารและใช้ เ พื่ อประโยชน์ ส าธารณะในอนาคต ยกเว้ นเมื่อต้ องใช้ แหล่งที่ดนิ นันเพื ้ ่อตอบสนองความต้ องการของสังคม 6.1.2 ลักษณะของห่ วงโซ่ อุปทานในภาคเกษตร ห่วงโซ่อปุ ทานในภาคการเกษตรจะขับเคลื่อนโดยผู้ซื ้อ (buyer-driven) เป็ นหลัก มีความซับซ้ อนใน การทางานร่ วมกัน มีการบูรณาการ (Integration) และมีกฎในการเข้ าร่ วม ห่วงโซ่อุปทานซึ่งมีการ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

134


ประสานงานกันในแนวดิ่ง (vertical co-ordinated supply chains) นับเป็ นอุปสรรคสาคัญของเกษตรกร รายย่อย เพราะมีมาตรฐานต่างๆ ที่ตงโดยภาคเอกชน ั้ มี การทาสัญญามากขึ ้น ใช้ “ตัวกลาง” ซึ่งมีความ เชี่ยวชาญเฉพาะด้ านที่เกษตรกรไม่มี ปั จจัยทังหมดนี ้ ้ทาให้ เกษตรกรถูกกีดกันออกจากห่วงโซ่อปุ ทาน จาก การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานและบริ บททางการเมืองและเศรษฐกิจพบว่า การเป็ นเจ้ าของและการควบคุม สินทรัพย์ทางปั ญญา (intangible assets) โดยเฉพาะการเป็ นเจ้ าของข้ อมูล ตราสินค้ า และสิทธิบตั ร มัก เป็ นอุปสรรคที่กีดกันผู้แข่งขันรายอื่นๆ ออกจากห่วงโซ่อปุ ทาน ส่งผลให้ ผ้ คู รองตลาดสามารถสะสมทุนจาก ห่วงโซ่อปุ ทาน และแปลงทุนนันให้ ้ เป็ นทุนทางการเงิน เมื่อคานึงถึง “ห่วงโซ่อปุ ทานอาหาร” ที่มาจากผลผลิตทางการเกษตรพบว่า ปั จจุบนั อาหารแปรรูป ได้ กลายมาเป็ นส่วนสาคัญในการกินของผู้บริ โภคทัว่ โลก ขณะที่วตั ถุดิบหลักในการผลิตอาหารยังถูกซื ้อ ขายเป็ นสินค้ าโภคภัณฑ์ในระดับนานาชาติ ถึงแม้ ว่าสินค้ า เงินทุน และความรู้จะได้ รับการถ่ายโอนไปทัว่ โลก แต่ขนตอนต่ ั้ างๆ และความซับซ้ อนของห่วงโซ่อุปทานกลับมีมากขึ ้น โดยแตกต่างกันไปตามห่วงโซ่ อุปทานแต่ละประเภท ความสามารถและอิทธิพลของผู้มีสว่ นได้ ส่วนเสียจึงแตกต่างกันไปตามประเภทของ ห่วงโซ่อปุ ทานและเครื อข่ายที่เกี่ยวข้ อง เช่น การผลิตน ้ามันปาล์มในอินโดนีเซียประกอบไปด้ วยสหกรณ์ราย ใหญ่เพียง 2-3 แห่ง ในขณะที่ตลาดโกโก้ ในโกตดิววั ร์ (Cote d'Ivoire) มาจากเกษตรกรรายย่อยจานวนมาก (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 17) การออกแบบกลไกเพื่อสร้ างการเปลี่ยนแปลงจึงต้ องคานึงถึงจุดที่จะเข้ าไปกระตุ้น โดยตัวแทนจาก รัฐ หรื อชุม ชนควรเข้ าหาบริ ษัทรายใหญ่ ที่มีอานาจ ซึ่ง เป็ นเรื่ องที่ ทาได้ ยาก เพราะพวกเขาต่อต้ านการ เปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อกาไร แต่ถ้าหากทาได้ ก็จะสร้ างผลกระทบให้ กับตลาดโดยรวมอย่างรวดเร็ วและมี นัยสาคัญ ในทางตรงกันข้ ามการสร้ างกลไกที่พงุ่ เป้าไปที่ผ้ ผู ลิตรายย่อยซึง่ มีจานวนมากอาจส่งผลให้ ต้นทุน ทางธุรกรรมเพิ่มสูงขึ ้น ในกรณีของการทาลายป่ านัน้ เมื่อสร้ างกลไกได้ ประสบความสาเร็ จแล้ ว ประโยชน์ ส่วนใหญ่จะตกอยู่ที่เกษตรกรรายย่อยที่มีต้นทุนในการเปลี่ยนแปลงไม่มาก และเป็ นกลุ่มที่มีการต่อต้ าน นโยบายน้ อย ในขณะที่อุตสาหกรรมการแปรรู ปอาหารมักใช้ วตั ถุดิบจากหลายพื ้นที่เพาะปลูกหรื อพื น้ ที่แปรรู ป และมีระบบการผลิตหลายแบบ ผสมผสานและแปรรูปเป็ นสินค้ า ซึ่งการมีส่วนผสมจานวนมากและมีสินค้ า ทดแทนหลายชนิดที่เกี่ยวข้ องในเครื อข่ายอันซับซ้ อนทาให้ การสืบค้ นแหล่งกาเนิด (Traceability) และการ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

135


ไหลเวียนของข้ อมูล (the flow of information) ตลอดทังห่ ้ วงโซ่อปุ ทานมีความยุ่งยาก เพราะส่วนผสมของ อาหารเหล่านี ้ผ่านมาตรฐานเฉพาะหลายประเภทจากทัว่ โลก และมักจะถูกขายรวมกันเป็ นล็อตใหญ่เพื่อทา ให้ ต้นทุนต่า ง่ายต่อการขนส่ง และจัดเก็บ ตาราง 6.1 ลักษณะของห่วงโซ่อปุ ทานอาหารแต่ละประเภท (x ระดับต่า, xx ระดับปานกลาง และ xxx ระดับสูง) ประเภทของห่ วงโซ่ อุปทาน

ท้ องถิ่น

แปรรู ป

ความซับซ้ อนโดยรวมของห่วงโซ่อปุ ทาน ระยะทางในการขนส่ง ขันตอนในการแปรรู ้ ป การจัดเก็บสินค้ าที่ผลิตเสร็จแล้ ว ขนาดตลาดของสินค้ าที่เสร็จแล้ ว ฤดูกาลของสินค้ าในตลาด ความไม่มนั่ คงของราคา อุปสงค์ในการแปรรูปเพิ่มของผู้ใช้ ผลผลิตในขัน้ สุดท้ าย

X X X X/XX X XXX X/XX

XXX XX/XXX XXX XX/XXX XX X X

สินค้ าโภค ภัณฑ์ X/XX XXX X XXX XXX XX XXX

XX

X

XX/XX

ที่มา: Smith (2007) ผลกระทบของห่ วงโซ่ อุปทานแบบขับเคลื่อนโดยผู้ซ้ือ (buyer-driven) ที่มีต่อเกษตรกร ขนาด (size) เป็ นตัวกาหนด (confer) คุณสมบัติและอานาจของผู้เล่นในห่วงโซ่อปุ ทาน ฝ่ ายที่มี ขนาดใหญ่กว่าจะมีอานาจในการควบคุมด้ านต่างๆ ดัง นี ้ การควบคุมโลจิสติกส์ การลดต้ นทุนธุรกรรม (Transaction cost) การประหยัดเนื่องมาจากขนาด (Economies of Scale) การพัฒนาตลาด การเข้ าถึง ข้ อมูลด้ านอุตนุ ิยมวิทยา การเข้ าถึงทรัพย์สินทางปั ญญาและเครื อข่ายการกระจายสินค้ า ความได้ เปรี ยบ ด้ านต้ นทุน (Absolute Cost Advantage) หรื อความสามารถที่สงู กว่า (outbid) ต่อเกษตรกรรายย่อยหรื อ บริษัทอื่นๆ ในการเข้ าถึงทรัพยากร การลงทุนเพื่อการวิจยั และพัฒนา การปกป้องทรัพย์สินทางปั ญญา การ กาหนดราคาเพื่อขจัดคูแ่ ข่งขัน (predatory price) การโอนความเสี่ยงไปสู่ภายนอก (externalize risk) การ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

136


จัดหาทุนจากภายนอกและการทาการส่งเสริ มการขายอย่างฟุ่ มเฟื อย การเข้ าถึงข้ อมูลจากภาครัฐที่เอือ้ ประโยชน์ตอ่ บริษัท และการสร้ างสภาพทางการเมืองและสังคมให้ เอื ้อประโยชน์ตอ่ บริษัท ขนาดที่กล่าวมานี ้สามารถสร้ างได้ จากการซื ้อกิจการหรื อการสร้ างพันธมิตรทางธุรกิจ ซึ่งพบเห็นได้ เสมอในห่วงโซ่อุปทานแบบขับเคลื่อนโดยผู้ซื ้อ (Buyer-driven) ซึ่งกลุ่มต่างๆ และพันธมิตรทางธุรกิจใน อุตสาหกรรมอาหารเกษตรเป็ นตัวอย่างของการรวมตัวกันของบริ ษัท (corporate convergence) ซึ่ง กลายเป็ นบรรทัดฐานในระดับโลก ผู้ค้าปลีกในสหรัฐอเมริ กาและสหภาพยุโรปเป็ นผู้กาหนดความต้ องการ และตัดสินว่าผู้แปรรู ปอาหารต้ องการวัตถุดิบอะไรจากเกษตรกร ผู้ค้าปลีกเป็ นตัวกลางระหว่างผู้บริ โภคใน ประเทศ OECD และเศรษฐกิจในชุมชนชนบท ในยุโรป ซูเปอร์ มาร์ เก็ตมีการควบรวม (concentrated) มาก ที่สดุ ในขณะที่ธุรกิจค้ าปลีกของสหรัฐอเมริ กามีการรวมตัว (consolidate) เพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ เช่นกัน (Vorley, 2001 หน้ า 3) ในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารก็มีการรวมตัวกันมากขึ ้น ทังด้ ้ านเศรษฐกิจและอานาจตลาด ใน ค.ศ. 2000 Nestle, Philipp Morris และ Unilever เป็ นสามกลุ่มที่ใหญ่ที่สดุ ในตลาดโลก (Vorley, 2001 หน้ า 3) นอกจากนี ้เรายังเริ่ มมองเห็นการเติบโตของเครื อข่ายและการร่ วมเป็ นเจ้ าของกิจการระหว่างธุรกิจแปรรู ป อาหารและเมล็ ดพันธุ์ ซึ่ง เป็ นสาเหตุที่ทาให้ เกษตรกรถูกบีบจากทัง้ สองด้ าน เช่น Heinz ในประเทศ ออสเตรเลี ยท าสัญ ญากับเกษตรกรว่าจะรั บซื อ้ เฉพาะมะเขื อเทศที่ ป ลูกด้ วยเมล็ด ที่ เป็ นสายพัน ธุ์ จ าก ทรัพย์สินทางปั ญญาของบริษัทเท่านัน้ โดยในปี ค.ศ.1990 บริ ษัทขายเมล็ดพันธุ์ประเภทนี ้ในราคากิโลกรัม ละมากกว่า 2,000 เหรี ยญออสเตรเลีย ในขณะที่ราคาโดยเฉลี่ยของเมล็ ดทัว่ ไปอยู่ที่กิโลกรัมละ 70 เหรี ยญ ออสเตรเลีย (Pritchard, 2000 and pers comm.) 6.1.3 กรณีศึกษา - ผลกระทบของการขยายพืน้ ที่การเกษตรในเขตป่ าไม้ งานวิจยั “Interventions for Achieving Sustainability in Tropical Forest and Agriculture Landscapes” ศึกษาอุปสรรคที่เกิดจากการทาลายป่ าฝนเขตร้ อนอันเนื่องมาจากการทาการเกษตรสินค้ า โภคภัณฑ์ (Commodity) กรณีศกึ ษาจากทัว่ โลกคือ การเลี ้ยงวัวและการปลูกถัว่ เหลืองเป็ นสาเหตุหลักของ การทาลายป่ าในอเมริ กาใต้ การปลูกปาล์มน ้ามันและยางพาราเป็ นสาเหตุหลักของการทาลายป่ าในเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และการปลูกโกโก้ เป็ นต้ นเหตุของการทาลายป่ าในแอฟริ กา โดยการเกษตรทังหมด ้ นี ้เป็ นสาเหตุให้ ป่าถูกทาลายอย่างรวดเร็ วในช่วงเวลา 20 ปี ที่ผ่านมา (Monfreda, Ramankutty, and บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

137


Foley, 2008; Rudel et al., 2009) เพราะการทาลายป่ าทัว่ โลกประมาณ 80% มาจากการขยายตัวของ พื ้นที่การเกษตร (Kissinger, Herold and De Sy 2012; Fig.1) การปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกจากภาค การเกษตรคิดเป็ น 10-12 % และการทาลายป่ าที่เกิดจากการขยายตัวทางการเกษตรปล่อยก๊ าซเป็ น 12-15 % ของกิจกรรมที่ปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกทังหมด ้ (van der Werf et al., 2009) ด้ วยปริ มาณประชากรที่เพิ่มขึ ้น ทาให้ ต้องผลิตอาหารเพิ่มขึ ้นอีก 70% ภายใน ค.ศ.2050 เพื่อดูแล ประชากร 9.1 พันล้ านคนที่มีฐานะดีขึ ้นกว่าคนในปั จจุบนั 2-4 เท่า (FAO, 2009) อุปสงค์ของสินค้ าเกษตร โภคภัณฑ์จะเติบโตอย่างต่อเนื่องตามปริ มาณประชากรที่เพิ่มขึ ้น ปริ มาณการบริ โภคอาหารต่อหัวที่เพิ่มขึ น้ โดยอุปนิสยั ในการรับประทานอาหารจะเป็ นเนื ้อสัตว์และอาหารแปรรูป ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี ้จะมีผล ต่ออุปสงค์สินค้ าเกษตรโภคภัณฑ์ ซึง่ ต้ องการพื ้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ ้น ทาให้ ป่าไม้ ที่เหลืออยู่ตกอยู่ในอันตราย (Nelson et al., 2010; Wirsenius, Azar and Berndes, 2010) อุปสรรคในการอนุรักษ์ป่าและการพัฒนาพื ้นที่การเกษตรในเขตร้ อนมีอยูห่ ลายด้ าน ได้ แก่ 1) การอนุรักษ์ พื ้นที่ป่าต้ องมีการรักษาความสมดุลด้ านความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบ นิเวศบริ การ การลดการปล่อยคาร์ บอนจากการทาลายป่ าและการดูแลการใช้ ทรัพยากรจากป่ าเพื่อสร้ าง รายได้ ให้ แก่ชมุ ชนโดยรอบ 2) การผลิตอาหารเพื่อรองรับประชากรโลกที่เพิ่มขึ ้นและฐานะดีขึ ้น ซึ่งเป็ นโอกาสสร้ างรายได้ จาก การเกษตรชุมชน และการผลิตสินค้ าเกษตรโภคภัณฑ์เพื่อการซื ้อขายในระดับประเทศ 3) การสร้ างและบังคับใช้ กฎการถือครองที่ดนิ เป็ นสิ่งสาคัญในทางกฎหมาย การใช้ ทรัพยากร และ การใช้ ที่ดนิ กฎเหล่านี ้เป็ นสิ่งสาคัญยิ่งโดยเฉพาะต่อชุมชนและชนกลุม่ น้ อย การขยายตัวของพื ้นที่การเกษตรโดยไม่ส่งผลกระทบต่อการทาลายป่ าเพิ่มเติม สามารถทาได้ โดย การเพิ่มความหนาแน่นในการเพาะปลูก เพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื ้นที่เพาะปลูก สิ่งเหล่านี ้สามารถทาได้ โดย การลงทุนด้ านแรงงาน ด้ านเทคโนโลยี การใช้ ป๋ ยุ การใช้ เมล็ดพันธุ์ที่ดีและการชลประทาน อย่างไรก็ตาม การได้ ผ ลผลิตเพิ่ม ขึน้ ต่อหน่วยจะช่วยเพิ่ม รายได้ และอาจกลายเป็ นตัวกระตุ้นให้ เกิ ดการขยายพื น้ ที่ การเกษตร โดยเฉพาะเมื่ออุปสงค์ของสินค้ าโภคภัณฑ์เพิ่มขึ ้นและท้ องถิ่นมีความพร้ อมในเรื่ อ งแรงงาน (Angelson, 2010; Rudel et al., 2009) เช่น เหตุการณ์ในประเทศเปรู ที่การปลูกปาล์มน ้ามันโดยใช้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

138


เทคนิคเพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื ้นที่ไม่ได้ ช่วยลดการบุกรุกหรื อทาให้ พื ้นที่การปลูกน้ อยลง แต่กลับส่งเสริ มให้ มีการทาลายป่ ามากขึ ้น (Gutierrez-Velez et al., 2011) วิธีแก้ ปัญหาอีกอย่างที่อาจจะทาควบคูก่ นั ไปคือ การกระจายพื ้นที่เพาะปลูกไปยังพื ้นที่เสื่อมโทรม โดยอาศัยการกาหนดเกณฑ์ที่แน่ชดั และมีกลไกการสร้ างแรงจูงใจให้ เกษตรกรปฏิบตั ิตาม เนื่องจากพื ้นที่ เสื่อมโทรมอาจให้ ผลผลิตต่าและมีต้นทุนสูง เช่น การปลูกถัว่ เหลืองในเขต Mato Grosso ในบราซิลในช่วง ปี ค.ศ. 2001-2010 ที่ผลผลิตเพิ่มขึ ้น 22% แต่มีการทาลายป่ าน้ อยลง (Macedo et al., 2012) ซึงการจะทา เช่นนี ้ได้ ต้องมีการนานวัตกรรมเข้ ามาใช้ ในการเพิ่มผลผลิต และการสร้ างแรงจูงใจในการไม่ทาลายป่ าเพื่อ ขยายพื ้นที่ รวมถึงอาศัยความร่ วมมือจากหลายฝ่ ายที่อยู่ในห่วงโซ่อุปทาน ไม่ว่าจะเป็ นการออกเอกสาร สิ ท ธิ การบัง คับ ใช้ ก ฎจากภาครั ฐ ทัง้ ประเทศผู้ ผลิ ต และประเทศผู้ บริ โ ภค และจากภาคประชาชน (Wollenberg et. Al, 2011) 1) กลไกเพิ่มความยั่งยืนในห่ วงโซ่ อุปทานโดยภาครัฐ รัฐสามารถสร้ างกลไกทางสถาบันและนโยบาย (Institutions and policies) ทังกลไกที ้ ่เกิดขึ ้นอย่าง เป็ นทางการและไม่เ ป็ นทางการ เพื่ อบริ หารความคาดหวัง พฤติก รรม และปฏิ สัม พันธ์ ของสัง คมหรื อ รายบุคคล นโยบายนี ้อาจเป็ นนโยบายที่ออกโดยหน่วยงานระดับท้ องถิ่น ภูมิภาคหรื อระดับชาติ อาจจะ เป็ นนโยบายที่ มี ผ ลต่อการผลิ ต เช่น การห้ ามเพาะปลูก แบบบุกรุ ก ป่ าโดยการออกกฎหมายที่ ส่ง เสริ ม ทางเลือกด้ านความยัง่ ยืนหรื อการบริ โภค เช่น การลดอุปสงค์ของสินค้ าโภคภัณฑ์ที่มาจากพืน้ ที่ที่มีการ ทาลายสิ่งแวดล้ อม ซึ่งนโยบายนี ้อาจจะใช้ รูปแบบการสร้ างแรงจูงใจ เช่น การชดเชยทางการเงินเพื่อการ เปลี่ยนการใช้ พื ้นที่ หรื อใช้ การลงโทษคือ การออกมาตรการทางภาษี การสร้ างค่าปรับที่ทาให้ การเพาะปลูก ที่ละเมิดพื ้นที่ป่าสร้ างกาไรน้ อยลง  นโยบายป่ าไม้ สามารถทาได้ ทงในระดั ั้ บท้ องถิ่นและระดับชาติ ลดการทาลายป่ าและการ ขยายพืน้ ที่การเกษตร เช่น กฎหมายป่ าไม้ ในบราซิลข้ อ 4.771 บังคับให้ ผ้ ูมีที่ดินในพืน้ ที่ ป่าอเมซอนต้ อง รักษาพื ้นที่ไม่ต่ากว่า 8% ของตนให้ เป็ นเขตป่ าไม้ หรื อรัฐบาลอินโดนีเซียระงับการออกใบอนุญาตใหม่ ให้ กับการสัมปทานปาล์มน ้ามันและไม้ สกั ในปี ค.ศ.2011 เพื่อลดการทาลายป่ าในเขตป่ าพรุ (peatland) (Austin, Sheppard, and Stolle, 2012; Clements et. Al, 2010; Sloan, Edwards and Laurence, 2012) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

139


 นโยบายการเกษตร นโยบายด้ านการเพาะปลูกเพื่อเพิ่มความหนาแน่นต่อหน่วยพื ้นที่ (yield) นโยบายด้ านการเกษตรมีผลโดยตรงต่อพื ้นที่ป่าไม้ เช่น การทาลายป่ าเขตอเมซอนในบราซิลช่วงระหว่างปี ค.ศ.1960-1980 มีสาเหตุบางส่วนมาจากโครงการของรั ฐที่เอื ้อภาษี การเข้ าถึงเครดิต และการอุดหนุนเงิน ให้ การทาฟาร์ ม ขนาดใหญ่ และการทาปศุสัตว์ วัว (Fearnside, 2005) หรื อนโยบายระดับชาติของ อินโดนีเซียที่สนับสนุนการปลูกปาล์มน ้ามัน ทาให้ เกิดความขัดแย้ งกับกลุ่มที่ปฏิบตั ิตามนโยบายต่อต้ าน การทาลายป่ าและการปล่อยก๊ าซเรื อนกระจก (Colchester et al, 2006)  ความร่ วมมือระหว่ างภาคส่ วน นโยบายจากแต่ละหน่วยงานรัฐมีผลกระทบต่อการทาลาย หรื ออนุรักษ์ ป่า เช่น หน่วยงานรัฐชื่อ State of Acre ในประเทศบราซิลได้ ทาโครงการนาร่ องเพื่อลดการ ปล่อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกจากการท าลายป่ าและท าให้ ป่ าเสื่ อ มโทรม (Reducing

Emissions

from

Deforestation and forest Degradation – REDD+) จนกลายเป็ นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาที่ดินอย่าง ยั่งยืนที่เสนอแรงจูงใจและการสนับสนุนการใช้ ที่ดินในทุกรู ปแบบ ไม่ว่าจะเป็ นการทาป่ าไม้ หรื อการทา เกษตรให้ เกษตรกรทุกระดับ (Kissinger, 2011) และโครงการ ProAmbiente ที่สนับสนุนให้ ผ้ ถู ือครองที่ดิน ขนาดเล็กวางแผนและทาบัญชีในการใช้ ที่ดินเพื่อนามาใช้ ในการวางนโยบายด้ าน REDD+ ร่วมกันของแต่ ละภาคส่วน (Moutinho et al., 2011)  การระงับการค้ าหรือการออกใบอนุญาต (Moratoriums) มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ผลิตและ ผู้แปรรูปสินค้ าโภคภัณฑ์เกษตรในระยะยาว หรื อเป็ นเครื่ องมือช่วยซื ้อเวลาเพื่อรอให้ กลไกอื่นๆ ของรัฐส่งผล ตัวอย่างของการระงับการออกใบอนุญาตที่เกิดผลดีตอ่ การใช้ ที่ดินในห่วงโซ่อปุ ทาน (Austin et al., 2012) เช่น ใน ค.ศ. 2006 บริ ษัทถัว่ เหลืองทาข้ อตกลงในการระงับการขายถัว่ เหลืองที่ มาจากการปลูกในเขตพื ้นที่ ทาลายป่ าอเมซอนในบราซิล โครงการนี ้เริ่ มประสบความสาเร็ จหลังจากดาเนินงานผ่านไป 5 ปี (Boucher et al., 2011; Rudorff et al., 2011) หรื อใน ค.ศ.2009 โรงฆ่าสัตว์และผู้จดั จาหน่ายเนื ้อสัตว์รายใหญ่หยุด การซื ้อผลิตภัณฑ์จากปศุสตั ว์ที่ถกู เลี ้ยงบนที่ ราบสูงซึ่งเปลี่ยนสภาพจากป่ ามาเป็ นฟาร์ ม ทังสองโครงการ ้ เกิดขึ ้นจากการกดดันของภาคประชาสังคม โดยเฉพาะจาก Greenpeace (2006 and 2009) ส่วนใน อุตสาหกรรมปาล์มนา้ มันนัน้ สมาคมนาเข้ าน ้ามันปาล์มของเบลเยียมและเนเธอร์ แลนด์จะรับซือ้ เฉพาะ ปาล์มน ้ามันแบบยัง่ ยืนภายในปี ค.ศ.2015 (Task Force Sustainable Palm Oil, 2010)  การเปลี่ยนสิทธิการถือครองที่ดิน การที่เกษตรกรประสบปั ญหาความไม่แน่นอนในการถือ ครองที่ดิน และขาดสิทธิในการเข้ าถึงทรัพยากรถือเป็ นอุปสรรคหลักในการรักษาป่ าไม้ และพัฒนาชุมชน บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

140


(Sunderlin, Larson, and Cronkleton, 2009) การแบ่งการถือครองที่ดินที่ชดั เจนเป็ นเครื่ องมือสาคัญใน การวางแผนกลยุทธ์ของโครงการที่ต้องการสร้ างแรงจูงใจอย่าง REDD+ แต่ทาได้ ยาก โดยเฉพาะพื ้นที่ป่าที่ ถือครองโดยคนยากจนหรื อคนกลุ่มน้ อย เพราะการถือครองที่ดินแบบเป็ นทางการเป็ นเรื่ องยุ่งยาก หรื อมี ต้ นทุนที่สูงเกินไปในการดูแลรักษาสาหรับเกษตรกรกลุ่มนี ้ นี่คืออุปสรรคสาคัญในการจ่ายค่าตอบแทน คุณค่าระบบนิเวศอย่างเป็ นรูปธรรม (Payment for Environmental Services) ในป่ าเขตร้ อนหลายแห่งทัว่ โลกมี การแบ่ง เขตอย่า งคลุม เครื อ ระหว่า งป่ าไม้ ที่ ยัง มี คุณภาพกับ ป่ าที่ ถูก ท าลายจากการเกษตรจน กลายเป็ นที่ดนิ เสื่อมโทรมไปแล้ ว การปรับพื ้นที่ให้ กลับไปเป็ นพื ้นที่การเกษตรอีกครัง้ จึงเป็ นเรื่ องยาก เพราะ การกาหนดการถือครองที่ดนิ ที่ไม่ชดั เจน  การกาหนดภาษีและมาตรการทางการค้ า ประเทศที่เป็ นผู้บริ โภคสามารถสร้ างอานาจใน ห่วงโซ่อปุ ทานด้ วยมาตรการยกเว้ นภาษี หรื อให้ เงินชดเชยแก่ผลิตภัณฑ์ที่มีความยัง่ ยืนและได้ รับการรับรอง หรื อเก็บภาษี เพิ่มกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้ รับการรับรอง เช่น ใน ค.ศ. 2011 สหภาพยุโรปเสนอให้ ยกเลิกภาษี นาเข้ า แก่นา้ มันปาล์ ม ที่ ผ ลิ ตแบบยั่ง ยื นและได้ รับการรั บรอง เพื่ อ ส่ง เสริ ม การผลิตนา้ มันประเภทนี ใ้ น ประเทศผู้ผลิต และสร้ างอุปสงค์ที่เพิ่มขึ ้นในตลาด (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 13)  การจ่ ายค่ าตอบแทนคุณค่ าระบบนิเวศอย่ างเป็ นรู ปธรรม (Payment for Environmental Services) หมายถึง การให้ รางวัลในรูปตัวเงินกับการปรับปรุงการใช้ ที่ดินเพื่อการอนุรักษ์ (Wunder, 2005) เช่น ตัวอย่างโครงการ REDD+ ที่เป็ นความร่วมมือระหว่างประเทศในการลดก๊ าซเรื อนกระจกที่เกิดจากการ ทาลายป่ า โดยประเทศที่สามารถลดการปล่อยคาร์ บอนจากการแผ้ วถางป่ าจะได้ รับเงินชดเชย (Angelson, 2008; Parker et al., 2009) มีงานวิจยั จานวนมากที่สารวจว่าจะนาเรื่ องการเข้ าตลาดคาร์ บอนด้ วยความ สมัค รใจเพื่ อลดการท าลายป่ าและให้ ผ ลตอบแทนรายบุคคล ชุม ชน ภูมิ ภ าคเข้ ามาเป็ นส่วนหนึ่ง ของ โครงการ REDD+ ในระดับชาติได้ อย่างไร งานวิจยั บางชิ ้นวิพากษ์ วิจารณ์ REDD+ ว่าเป็ นวาทกรรมที่ ยืดเยื ้อ ทาให้ การนามาใช้ ในปั จจุบนั ยังจากัดอยู่แค่ในวงแคบ อย่างไรก็ต ามการใช้ REDD+ ในบางชุมชน ป่ าไม้ เริ่ มได้ ผลชัดเจน เช่น กรณี ที่ป่าไม้ ในเขตฟื ้นฟูป่าพรุ Katingan และเขตอนุรักษ์ Kalimantan ใน อินโดนีเซียที่กาลังถูกรุกรานพื ้นที่เพื่อใช้ เพาะปลูกปาล์มน ้ามัน โครงการให้ ชาวบ้ านเข้ าไปมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ โดยช่วยหาโอกาสในการทารายได้ จากทางอื่นเพื่อ สนับสนุนการจัดการป่ าแบบยัง่ ยืน (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 13) โครงการนี ้และโครงการอื่นๆ ในลักษณะเดียวกันมีเป้าหมาย เพื่อให้ เกษตรกรเข้ าใจว่า การอนุรักษ์ พื ้นที่ป่ามีประโยชน์มากกว่าเมื่อเปลี่ยนพื ้นที่เพื่อใช้ ในการเกษตร การ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

141


สร้ างทัศนคติเช่นนี ้และการสร้ างสิ่งจูงใจต่างๆ จะทาให้ ผ้ มู ีส่วนได้ ส่วนเสียในห่วงโซ่อปุ ทานสินค้ าโภคภัณฑ์ ลดการเปลี่ยนพื ้นที่ป่าเป็ นพื ้นที่เกษตรกรรม  แรงกดดันจากข้ อตกลงที่จะให้ ทุนสนับสนุนระหว่ างประเทศ รัฐบาลบางประเทศมีกองทุน สนับสนุนการหยุดทาลายป่ า และใช้ กองทุนนี ้ในการกดดันประเทศผู้ผลิต เช่น นอรเวย์ตกลงที่จะจ่ายเงิน สนับสนุนมูลค่า 0.25 ล้ านเหรี ยญสหรัฐให้ กบั ประเทศกายอานา (Guyana) และ 1 พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ ให้ กบั กองทุนป่ าอเมซอนของบราซิลและป่ าของอินโดนีเซีย เพื่อแลกกับการทาลายป่ าลดลงแบบมีหลักฐาน และสามารถตรวจสอบได้ (Clements et al., 2010; Donovan, Clarke, and Sloth, 2010; Tollefson, 2009) หรื อใน ค.ศ. 2010 UNDP ทาข้ อตกลงกับรัฐบาลเอควาดอร์ ให้ ยกเลิกการขุดเจาะนา้ มันในเขต อนุรักษ์ Amazonion Yasuni เพื่อแลกกับการจัดหาทุนมูลค่า 7 พันล้ านเหรี ยญสหรัฐในกองทุนคาร์ บอน (Finer, Moncel and Jenkins, 2010)  การบริหารจัดการข้ อมูล การปรับปรุงการบริหารจัดการการเกษตรต้ องอาศัยการเข้ าถึงข้ อมูล ใหม่ๆ ในเรื่ องเทคโนโลยี ข้ อมูล เทคนิคการเกษตร ซึ่งเกษตรกรรายย่อยมีโอกาสในการเข้ าถึงน้ อยกว่า เกษตรกรรายใหญ่ และการเข้ าไม่ถึงข้ อมูลเหล่านี ้ทาให้ เกษตรกรรายย่อยขาดความรู้เกี่ยวกับขันตอนในแต่ ้ ละกระบวนการผลิตที่มีความแตกต่างกันไป ขาดโอกาสทางธุรกิจในตลาด การประหยัดเนื่องมาจากขนาด (Economy of Scale) และไม่ทราบข้ อดีข้อเสียในระยะสันหรื ้ อระยะยาวจากการตัดสินใจใช้ ที่ดิน ดังนัน้ การแก้ ปัญหาการเข้ าถึงข้ อมูลจึงช่วยให้ เกษตรกรเพิ่ มผลผลิต และส่งผลดีต่อการรักษาสิ่งแวดล้ อม เช่น การเสริ มสร้ างขีดความสามารถ (Capacity Building) ส่วนการศึกษาและการสร้ างการตระหนักรู้ในเรื่ อง สิ่งแวดล้ อมก็ชว่ ยให้ เกษตรกรนาวิธีปฏิบตั ทิ ี่ดีไปใช้ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม และสร้ างกระบวนการผลิต ที่ยงั่ ยืนขึ ้น เช่น The Brazilian Agricultural Research Corporation (EMBRAPA) รัฐวิสาหกิจที่ม่งุ สร้ าง การพัฒนาที่ยั่งยืนในธุรกิจการเกษตรของบราซิล ใช้ วิธีการถ่ายทอดความรู้ และเทคโนโลยีให้ เกษตรกร EMBRAPA ที่ทาโครงการกับปศุสตั ว์ขนาดเล็กในเขตอเมซอน ซึ่งเกษตรกรมักจะแผ้ วถางป่ าเป็ นวงกว้ าง เพื่อการเลี ้ยงสัตว์ ทังๆ ้ ที่จริงๆ แล้ วผลการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ พบว่า เกษตรกรจะได้ ประโยชน์เพิ่มขึ ้นจาก การเหลือต้ นไม้ ยืนต้ นไว้ เพราะช่วยสร้ างร่มเงาให้ ฝงู สัตว์ รักษาเสถียรภาพหน้ าดิน ยืดอายุการใช้ งานทุ่ง เลี ้ยงสัตว์ และไม้ ยืนต้ นเป็ นแหล่งทรัพยากรสาคัญของการผลิ ตไม้ ฟืน ซึ่งทังหมดเป็ ้ นองค์ประกอบที่สาคัญ ในการเพิ่มผลผลิตเนื ้อวัวและลดผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อม Roundtable on Sustainable Livestock

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

142


(GTPS) จึง พยายามขยายแนวความคิด นี ไ้ ปสู่เ กษตรกร แต่การที่ จ ะท าความเข้ า ใจและให้ ค วามรู้ กับ เกษตรกรหลายร้ อยรายที่อยูท่ วั่ เขตอเมซอนทาได้ ยาก (N. Walker pers. Comm.) นอกจากนี ้รัฐยังสามารถพัฒนาความสามารถของเกษตรกรในการเข้ าสู่ห่วงโซ่อปุ ทาน โดยเฉพาะ ในด้ านการปฏิบตั ิตามมาตรฐาน เช่น บางประเทศมีการเพิ่มมาตรฐานตลาดภายในประเทศ ดังนันหน้ ้ าที่ หลักของรัฐก็คือให้ ข้อมูลตลาดแก่เกษตรกร สร้ างระบบข้ อมูลสื่อ สารที่สมดุลและไม่ทาให้ เกษตรกรในพื ้นที่ ห่างไกลต้ องเสียเปรี ยบในการทาธุรกรรม หรื อช่วยสร้ างทางเลือกอื่นในห่วงโซ่อปุ ทาน เช่น การจัดตลาดนัด เกษตรกร หรื อส่งเสริมอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงเกษตร  การเปิ ดเผยข้ อมูลเพื่อประโยชน์ สาธารณะ การสังเกต การติดตามผลการวิเคราะห์ และ การนาเสนอผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมจะเป็ นไปได้ ง่ายขึ ้น ถ้ ารัฐทาให้ ข้อมูลที่ได้ จากภาพถ่ายดาวเทียม เทคโนโลยีภ าพถ่ายระยะไกล และข้ อมูลที่ เก็บมาจากระบบฐานข้ อมูลระดับชาติสามารถเข้ าถึง ได้ ง่าย เพราะข้ อมูลเหล่านี ้ โดยเฉพาะที่มีความแม่นยาสูงสามารถนาไปใช้ ในการออกแบบกลไกเพื่อลดการทาลาย ป่ าได้ เช่น องค์การวิจยั ทางอวกาศของบราซิลได้ เปิ ดเผยข้ อมูลพื ้นที่ป่าไม้ ที่ถกู ทาลายตังแต่ ้ ค.ศ. 2003 ต่อ สาธารณะโดยไม่มีค่าใช้ จ่าย ทาให้ เกิดการวิจยั และการเผยแพร่ ข้อมูลอิสระของการทาลายป่ าเพื่อทาปศุ สัตว์และปลูกถัว่ เหลืองเพิ่มขึ ้น (Greenpeace 2006, 2009)  การออกกฎหมายการให้ ข้อมูลกับผู้บริโภค การรับรู้ข้อมูลของผู้บริ โภคมีผลต่อการตัดสินใจ ซื ้อผลิตภัณฑ์ ซึง่ การเข้ าถึงข้ อมูลโดยไม่มีต้นทุนเลยหรื อมีต้นทุนต่าจะทาให้ ผ้ บู ริ โภคเข้ าถึงข้ อมูลได้ ง่ายขึ ้น และนวัตกรรมในการให้ ข้อมูลบนฉลากจะช่วยให้ ผ้ บู ริ โภคเข้ าใจถึ งสาระและผลกระทบของการซื ้อสินค้ า ดังนันรั ้ ฐอาจจะออกกฎหมายหรื อขอความร่วมมือจากบริ ษัทก็ได้ เช่น ใน ค.ศ. 2011 สหภาพยุโรปได้ ออก กฎข้ อ 1169/2011 เพื่อบังคับใช้ กับบริ ษัทที่จาหน่ายนา้ มันพืช เพื่อให้ แจงรายละเอียดของส่วนผสมของ ผลิตภัณฑ์บนฉลาก รวมถึงน ้ามันปาล์ม (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 20) นอกเหนือจากบทบาทของภาครัฐในการสนับสนุนความยัง่ ยืนในภาคเกษตร โดยการสร้ างกลไกที่ ไม่ทาให้ การเกษตรสินค้ าโภคภัณฑ์สร้ างผลกระทบต่อการทาลายป่ าแล้ ว ในรายงานวิจยั The Chains of Agriculture: Sustainability and the Restructuring of Agri-food Markets ยังได้ กล่าวถึงผลกระทบของ นโยบายการปล่อยเสรี (Liberalisation) ว่า เป็ นอุปสรรคสาคัญในการทาให้ เกษตรกรสูญเสียความสามารถ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

143


ในการแข่งขันในตลาดโลก และยิ่งเป็ นปั จจัยที่ผลักดันให้ เกษตรกรเข้ าไม่ถึงหลักปฏิบตั ิของการเกษตรแบบ ยัง่ ยืน โดยได้ นาเสนอบทบาทที่เหมาะสมของรัฐไว้ ดงั นี ้  การควบคุ มตลาด การดูแลการปล่ อยเสรี (Liberalisation)

(IIED) องค์การเพื่อความ

ร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ และการพัฒ นาของประเทศกลุ่ม ยุโ รป (OECD) ควรยกเลิ ก กลไกทุก ประเภทที่ บิดเบือนราคาสินค้ าในตลาดโลกและตัดโอกาสของประเทศกาลัง พัฒนา โดยเฉพาะกับชุ ม ชนชนบทที่ ยากจน (Vorley, 2001) ในหลายประเทศ ภาคเกษตรกรรมได้ รับการปล่อยเสรี (Liberalisation) ด้ วยการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (privatization) และใช้ แนวทางการลดการกากับและการควบคุม (deregulation) หรื อใช้ นโยบายเพื่อปรับ โครงสร้ างทางเศรษฐกิจ เงื่อนไขของผู้ให้ ทุน และการยอมทาตามข้ อตกลงทางการค้ า การที่ภาครัฐลด บทบาทจากภาคการผลิตและหน้ าที่ในตลาด ทาให้ สินค้ าเกษตรหลายรายการต้ องเข้ าสู่มาตรฐานราคา ของตลาดโลกอย่างรวดเร็ว เป็ นเหตุให้ เกษตรกรรายย่อยได้ รับผลกระทบจากการลดบทบาทของรัฐโดยการ ตัดการสนับสนุนสินค้ าเกษตรและการขายสินค้ าโภคภัณฑ์ รวมถึงเสียประโยชน์จากหลักการได้ เปรี ยบโดย เปรี ยบเทียบ (Comparative Advantage) อย่างไม่เป็ นธรรม และถูกบังคับให้ เข้ าสูก่ ลไกตลาดโดยตรง การปล่อยเสรี (Liberalisation) หมายถึง ตลาดนานาชาติเ ป็ นผู้กาหนดราคา คุณภาพ และ ประเภทสินค้ าของตลาดภายในประเทศ ทาให้ สินค้ าการเกษตรซึ่งมักจะเป็ นสินค้ าที่ทงส่ ั ้ งออกและขาย ภายในต้ อ งรั ก ษาต้ น ทุน และคุณ ภาพให้ ส ามารถขายได้ ใ นตลาดโลก และระวัง มาตรการทุ่ม ตลาด (dumping) จากประเทศอื่นที่ทาให้ ราคาถูกบิดเบือน อุปสรรคที่เกิดขึ ้นต่อเกษตรกรรายย่อยจากการเปิ ดเสรี คือ รัฐยกเลิกการลงทุนเพื่อการขยายภาค เกษตร การทาวิจยั สาธารณะ การสร้ างโครงสร้ างพื ้นฐานในชนบท และการให้ เครดิตและสนับสนุนทาง การเงิน ทาให้ เกษตรกรไม่สามารถเข้ าถึงเทคโนโลยี ข้ อมูล และตลาด ในขณะที่ตลาดมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ วด้ วยระบบห่วงโซ่อุปทานแบบวงปิ ด (closed supply chain) ที่เข้ ามาแทนที่ต ลาดซือ้ ขาย แบบปจจุบนั (spot market) อย่างรวดเร็ ว การเปิ ดเสรี ตลาดการเกษตรเป็ นการถ่ายโอนความเสี่ยงที่เคยมี ต่อภาครัฐไปสู่รายบุคคล (McDonald, 1999) และยกระดับความสาคัญของภาคเอกชนและทุนนอกภาค เกษตร ซึง่ ทังหมดนี ้ ้ส่งผลกระทบต่อความยัง่ ยืนในภาคเกษตร

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

144


 นโยบายการแข่ งขั น เป็ นนโยบายที่มีความส าคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่า “ความยั่งยืน ” ที่เป็ น นโยบายในการอนุรักษ์ น ้าและที่ดิน นโยบายการแข่งขันถือเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการพัฒนาการเกษตร และชนบท การที่รัฐสร้ างมาตรการลงโทษในการรวมตัวกันของผู้ผลิต (collusion) และปกป้องอานาจที่เกิด จากการรวมตัวเพื่อเพิ่มพลังทางเศรษฐกิจ นโยบายต่อต้ านการผูกขาด (antitrust) จะต้ องเน้ นถึงการอานาจ ของผู้ซื ้อ เพื่อป้องกันภาวะการตลาดที่มีผ้ ซู ื ้อเพียง 2-3 ราย (oligopsony) และผลกระทบที่จะเกิดขึ ้นกับ ความกินดีอยู่ดีของคู่ค้า รวมถึงต้ องดูการกระจายกาไรและสัดส่วนของกาไรในตลาดอาหารเกษตร โดย เครื่ องมืออื่นๆ ที่รัฐควรนามาใช้ คือ กฎหมายและมาตรการ เช่น การอนุญาตการต่อรองทางการเกษตร การ ตรวจสอบเพื่อปกป้องผู้ผลิต การยึดหลักการยุติธรรม การให้ ข้อมูลที่สมบูรณ์และการมีส่วนร่วมในห่วงโซ่ อุปทาน (Boehlje and Doering 1999; Harl, 2001)  การขจัดการบิดเบือนตลาด (market distortion) รัฐควรขจัดการทุ่มตลาดสินค้ าเกษตรทัง้ รู ปแบบที่เห็นได้ ชดั หรื อแฝงมาในรู ปแบบอื่น ถ้ า “ความยัง่ ยืน” ของประเทศหนึ่งจะเกิดขึ ้นจากการที่อีก ประเทศต้ องเสียค่าใช้ จ่ายแล้ ว (โดยเฉพาะจากการตังมาตรการกี ้ ดกัน และผลักภาระค่าใช้ จ่ายส่วนเกินใน การผลิตไปให้ อีกฝ่ าย) การกระทานี ้ไม่ถือเป็ น “ความยัง่ ยืน” เลย (Vorley, 2001) ประเทศต่างๆ ไม่ควร สร้ างนโยบายการเกษตรและการพัฒนาชนบทที่ขึ ้นอยูก่ บั สมมติฐานในการส่งออกสินค้ าเกษตรจานวนมาก ถ้ าตลาดพวกนันไม่ ้ มีอยู่จริ ง หรื อการที่จะเป็ นผู้ส่งออกได้ โดยต้ องอาศัย ปั จจัยนาเข้ าที่สามารถนากลับมา หมุนเวียนได้ (non-renewable inputs) จานวนมหาศาล (Einarsson, 2000) กรณี ศึกษา: การผลิ ตข้าวโพดในประเทศเคนยาและคาแนะนาต่อบทบาทของรัฐ ในกรณี ของประเทศเคนยาที่พยายามเพิ่มพื ้นที่การปลูกข้ าวโพดซึ่งเป็ นอาหารหลักของประเทศ (Mantel & Van Engelen, 1997) แต่พื ้นที่เพียง 17% มีปริ มาณน ้าฝนเพียงพอและมีคณ ุ ภาพดีพอต่อการ ปลูกข้ าวโพด (Wokabi, N/A หน้ า 1) ปริ มาณอุปสงค์ข้าวโพดจึงสูงกว่าอุปทานหลายเท่า ทาให้ เคนยาต้ อง นาเข้ าข้ าวโพดจากต่างประเทศเป็ นจานวนมาก Kenya Agricultural Research Institute จึงได้ เสนอกลไก ในการแก้ ปัญหานี ้ด้ วยการใช้ เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื ้นที่ เช่น การเพิ่มศักยภาพการผลิตใน พื ้นที่ที่มีสภาพดินเสื่อมโทรมหรื อยากต่อการเพาะปลูก โดยการปรับปรุ งความหลากหลายของประเภท ข้ าวโพด เพื่อเลือกใช้ ให้ เหมาะสมกับสภาพดินในท้ องที่และเอือ้ ต่อการขยายการผลิต การเพาะเพื่อเก็บ รั ก ษาความหลากหลายของพัน ธุ์ (germplasm) ที่ ท นต่อ สภาพดิ น กรดและใช้ ฟอสฟอรั ส ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ การนาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการใช้ น ้าฝนและการจัดการของเหลือจากการเก็บเกี่ยว บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

145


เข้ า มาใช้ รวมถึ ง กลไกอื่ น ๆ ที่ รั ฐ บาลควรมี ส่ว นร่ ว ม อย่า งการวิ จัย และค้ น คว้ า เพื่ อ หาประเภทปุ๋ยที่ เหมาะสมกับสภาพดินและสภาพอากาศของประเทศ การจัดการวัชพืช การเพิ่มช่องทางในการเข้ าถึง เครดิตเพื่อที่จะซื ้อปั จจัยนาเข้ าต่างๆ ที่จาเป็ น และกาหนดนโยบายการตังราคาข้ ้ าวโพดเพื่อเพิ่มจานวน ผลิตให้ มีความยัง่ ยืน 2) กลไกเพิ่มความยั่งยืนในห่ วงโซ่ อุปทานโดยผู้บริโภค เมื่อผู้บริ โภคเกิดความตระหนักในเรื่ องผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้ อมของสินค้ าโภคภัณฑ์ พวกเขาอาจเป็ นส่วนหนึง่ ที่ทาให้ อปุ สงค์ของตลาดเปลี่ยนไปโดยมองหาผลิตภัณฑ์ที่มีความยัง่ ยืนมากขึ ้นได้

 การตระหนักรู้ ของผู้บริ โภค ผู้บริ โภคจะตัดสินใจซื ้อผลิตภัณฑ์โดยใช้ ข้อมูลที่พวกเขามีอยู่ หากผู้บริโภคมีความตระหนักรู้ถึงปั ญหาด้ านความยัง่ ยืน และรับทราบทางเลือกในการซื ้อสินค้ าที่ทาให้ พวก เขามีสว่ นร่วมในการลดปั ญหาสังคมหรื อสิ่งแวดล้ อม หรื อมีโอกาสที่จะสนับสนุนบริ ษัทที่มีความยัง่ ยืนแล้ ว ผู้บริ โภคก็จะเพิ่มโอกาสในการซื ้อสินค้ าเหล่านัน้ บริ ษัทค้ าปลีกรายใหญ่ของอังกฤษ Tesco มีโครงการใน ค.ศ. 2007 ที่จะติดฉลากผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดว่าสร้ างรอยเท้ าคาร์ บอนเท่าไร เพื่อเป็ นการให้ ข้อมูลด้ าน ความยัง่ ยืนแก่ผ้ บู ริ โภค แต่โครงการได้ ถกู ยกเลิกไป (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 20) เพราะมีความซับซ้ อนเมื่อลงมือปฏิบตั ิจริ ง ในการศึกษาหนึ่งพบว่า การให้ ข้อมูลบนบรรจุภัณฑ์มีผลกับ ผู้บริโภคมาก เช่น มีฉลากสินค้ าที่อธิบายข้ อมูลทาให้ ผ้ บู ริโภคเชื่อมโยงการผลิตมาการี นเข้ ากับน ้ามันปาล์ม ที่เป็ นวัตถุดบิ และเชื่อมโยงความคิดให้ นกึ ไปถึงการทาลายป่ าที่ ส่งผลกระทบต่อสัตว์ใกล้ สญ ู พันธุ์อย่างเสือ ที่ถูกแสดงภาพและเรื่ องราวไว้ บนบรรจุภัณฑ์ เมื่อผ่านกระบวนการรับทราบข้ อมูลเหล่านี ้แล้ ว ผู้บริ โภคก็ พร้ อมจะจ่ายเงินแพงขึ ้นเพื่อผลิตภัณฑ์ทางเลือกที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมน้ อยกว่า (Bateman et al. 2010)  การคว่าบาตรจากผู้ บริ โภค การที่ผ้ ูบริ โภคมีสิทธิ แสดงความคิดเห็นเพื่อจูงใจให้ รัฐหรื อ ตลาดเปลี่ยนแปลงนโยบายหรื อการดาเนินงานเป็ นอีกกลไกหนึ่ง แต่ในทางปฏิบตั ิแล้ วมี กรณี ที่ประสบ ความสาเร็จไม่มาก เพราะการที่ประชาชนจานวนมากจะเคลื่อนไหวจนส่งผลกระทบต่อยอดขายของบริ ษัท ยักษ์ ใหญ่เป็ นเรื่ องยาก เช่น ใน ค.ศ. 2010 Nestle ออกมาประกาศว่าภายในค.ศ. 2015 จะใช้ น ้ามันปาล์ม ประเภทที่มีความยัง่ ยืนเท่านัน้ (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 15) โดยการเปลี่ยนวิธี บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

146


ปฏิบตั นิ ี ้เป็ นผลมาจากการปล่อยวิดีโอของ Greenpeace ที่กล่าวหา Nestle ว่าใช้ น ้ามันปาล์มที่มาจากการ ทาลายป่ าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเรี ยกร้ องให้ ผ้ บู ริ โภคคว่าบาตร Nestle จากโครงการนี ้ ถึงแม้ ว่าการกระทาของ Greenpeace จะไม่กระทบกับยอดขายหรื อราคาหุ้นของ Nestle โดยตรง แต่ Nestle น่าจะกลัวผลกระทบต่อภาพลักษณ์ และแรงกดดันที่มาจากสังคมออนไลน์ จึงยอมเปลี่ยนวิธีปฏิบตั ิ ถึงแม้ ว่าการตัดสินใจเลือกซื ้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริ โภคจะเป็ นกลไกหนึ่งที่สร้ างความเปลี่ยนแปลง ให้ กับระบบห่วงโซ่อุปทานได้ แต่ก็ยังเป็ นไปอย่างจากัด เมื่อเทียบกับภาพกว้ างของตลาดทัง้ หมด เช่น ผู้บริโภคที่ใช้ น ้ามันปาล์มในอังกฤษและสหภาพยุโรปคิดเป็ นเพียง 1% และ 22% ของการใช้ น ้ามันปาล์มใน ตลาดโลกตามลาดับ (DFID, 2012) ในขณะที่ประเทศบริ โภคหลักคือจีนและอินเดีย ที่มีอตั ราการบริ โภค เกิน 50 % (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 18) ยังไม่ได้ แสดงความมุ่งมัน่ ในการสร้ าง มาตรการถึงผลิตภัณฑ์ที่มีความยัง่ ยืน แต่ให้ ความสนใจเรื่ องราคาถูกเป็ นหลัก 3) กลไกในการเพิ่มความยั่งยืนในห่ วงโซ่ อุปทานโดยผู้ผลิต ผู้แปรรู ปอาหารหรื อผู้ค้าปลีก ถึงแม้ ว่าการสร้ างความยัง่ ยืนในห่วงโซ่อปุ ทานอาหารจะต้ องเกิดจากความเปลี่ยนแปลงที่ผ้ มู ีส่วน ได้ ส่วนเสียแต่ละฝ่ ายสร้ างขึ ้น โดยในส่วนของบริ ษัทอาหารนัน้ ความรับผิดชอบเบื ้องต้ นของพวกเขาก็คือ กระบวนการผลิตของตนเอง เช่น การอบรมพนักงานและให้ สวัสดิการที่เหมาะสม การสร้ างประสิทธิภาพ เชิงนิเวศเศรษฐกิจ (eco - efficiency) การสร้ างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ดีตอ่ สิ่งแวดล้ อม การจัดการของเสีย และ การจัดการกับผลิตภัณฑ์ เช่น คุณภาพ ความปลอดภัยของอาหาร การติดฉลาก ในปั จจุบนั พวกเขาถูก คาดหวังมากขึ ้นว่าจะเป็ นผู้สร้ างผลกระทบทางบวกต่อผู้บริ โภคที่อยู่ส่วนปลายน ้าของห่วงโซ่อปุ ทาน และคู่ ค้ าที่อยู่ส่วนต้ นน ้า รวมไปถึงสิ่งที่พวกเขาซื ้อทุกอย่าง (Baldock et al., 1996 หน้ า 143; NZBCSD, 2003 หน้ า 52; Nordic Partnership 2004; table 2) ค.ศ. 2004 Fox & Vorley ในสหราชอาณาจักรระบุว่า ซูเปอร์ มาร์ เก็ตทาหน้ าที่เป็ นผู้รักษาประตู (gate keeper role) ในห่วงโซ่อปุ ทานอาหาร ซึ่งถือเป็ นบทบาทที่ สามารถสร้ างทางลัดและการเข้ าถึงการเปลี่ยนแปลงในทางบวก และสร้ างโอกาสที่จะทาให้ ผ้ คู ้ าปลีกและผู้ แปรรู ปอาหาร “ส่งต่อ” ความรับผิดชอบและต้ นทุนไปยังผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียที่มีอานาจน้ อยกว่าในห่วงโซ่ อุปทาน เช่น เกษตรกร ธุรกิจ ในอุตสาหกรรมอาหารมี หน้ าที่ความรับผิดชอบเหมือนบริ ษัทในอุตสาหกรรมอื่ นๆ ที่ต้อง อธิบายเหตุผลการลงทุนให้ ผ้ ถู ือหุ้นและผู้บริ หารได้ รับทราบ ดังนันการที ้ ่บริ ษัทจะลงทุนในส่วนที่เกี่ยวข้ อง บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

147


กับ “ความยัง่ ยืน” ในห่วงโซ่อปุ ทานอาหาร บริ ษัทต้ องมีเหตุผลทางธุรกิจมาสนับสนุน ซึ่งเหตุผลที่บริ ษัทให้ ความสนใจมากที่ สุดคือ เพื่ อเพิ่ม ผลกาไรโดยการสร้ างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าเพิ่มให้ กับผู้บริ โภคมากขึน้ เหตุผ ลอื่ น ๆ คื อ การลงทุน เพื่ อ การบริ ห ารความเสี่ ย ง การปกป้ องภาพลักษณ์ ข องบริ ษั ท การสร้ าง วัฒนธรรมองค์กร และความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR)  การสร้ างผลิตภัณฑ์ ที่มี“คุณค่ าเพิ่ม”มากขึ้นเพื่อผู้บริ โภค ผู้บริ โภค 80% ในยุโรปคิดว่า การรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพเป็ นเรื่ องยุ่งยาก (HealthFocus International, 2005 หน้ า 12-13) 90% ของคนอังกฤษจึงต้ องการให้ ผ้ คู ้ าปลีกทาให้ เป็ นเรื่ องง่ายขึ ้น (Smith, 2007 หน้ า 851) เป้าหมายทาง เทคโนโลยี ที่ ส าคัญ คื อ การพัฒ นาอาหารแปรรู ปโดยยัง คงความอร่ อยและถูก ปาก การผลิ ต อาหารที่ ปลอดภัยต่อสุขภาพและตอบสนองต่ออุปสงค์ของตลาดจึงเป็ นสิ่งที่ควรทาควบคู่ไปกับการพัฒนาห่วงโซ่ อาหารที่ มีความยั่งยื น ผู้บริ โภคมีสิทธิ์ ที่จะได้ รับทราบข้ อมูลที่ติดอยู่บนฉลากอย่างเพี ยงพอและถูกต้ อง รวมถึงสามารถเข้ าถึงข้ อมูลโภชนาการทางอาหาร ไม่ว่าจะผ่านทางศูนย์บริ การลูกค้ า เว็บไซต์ หรื อใบปลิว ภายในร้ านค้ า เพื่อที่พวกเขาจะได้ มีสิทธิ์เลือก  การสร้ างคุณค่ าให้ ลูกค้ าโดยผ่ านการจัดซื้ออย่ างยั่งยืน (Sustainable Procurement) บางวรรณกรรมมีการวิพากษ์ วิจารณ์ว่า ในทางธุรกิจไม่มีเหตุผลใดที่เหมาะสมในการลงทุนเพื่อให้ เกิดการ จัดซื ้ออย่างยัง่ ยืน (Draæk & Brinch-Pederson, 2004) มากไปกว่าการป้องกันตัวจากเอ็นจีโอ การ เรี ยกร้ องของผู้ถือหุ้นเพื่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบฉับพลัน (Assadourian, 2005 หน้ า 22-25) หรื อเพื่อ แก้ ปัญหาการคว่าบาตรจากผู้บริ โภค ธุรกิจกระแสหลักโดยเฉพาะผู้ค้าปลีกและผู้แปรรู ปที่พึ่งพาห่วง โซ่ อุป ทานและสิ น ค้ า โภคภัณ ฑ์ ห ลายทอดแย้ ง ประเด็นนี ว้ ่า คุณ ค่าที่ ส ร้ างให้ ผ้ ูบ ริ โ ภคนัน้ เกิ ด จากความ ปลอดภัยและคุณภาพของสินค้ า ส่วนความสนใจของผู้บริ โภคต่อ “ปั จจัยคุณภาพภายในกระบวนการ” (process quality attributes) (Hooker & Caswell, 1999 หน้ า 57-71) หรื อ “ส่วนขยายคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์” (extended product quality) (Knight, 2002 หน้ า 14-16) ที่มาจากการผลิตที่มีความยัง่ ยืนนัน้ ไม่เพียงพอในการอธิบายต่อผู้ถือหุ้นและผู้บริหารถึงต้ นทุนที่เพิ่มขึ ้น  การแสดงความรั บผิดชอบต่ อสังคมของธุรกิจ (Corporate Social Responsibility: CSR) แม้ ในช่วงที่ไม่มีการกดดันจากชุมชน รัฐ หรื อผู้บริ โภค บริ ษัทก็สามารถสร้ างการเปลี่ยนแปลงในห่วงโซ่ อุปทานได้ ด้วยตนเอง โดยใช้ การรับผิดชอบต่อสังคมหรื อ CSR ในการลดผลกระทบเชิงลบต่อสิ่งแวดล้ อม ของสินค้ าโภคภัณฑ์ โดยเฉพาะเมื่อผู้ผลิตรายใหญ่ในห่วงโซ่อุปทานให้ ความร่วมมือ และมองเห็นความ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

148


ยั่ง ยื น เป็ นความรั บ ผิ ดชอบที่ มี ความส าคัญ มากกว่า เป็ นเพี ย งการตอบสนองต่อ ความกดดันในตลาด (Kissinger, 2012) เช่น โครงการ Unilever’s Sustainable Living Plan (Unilever, 2010) Unilever มุ่งมัน่ ที่จะจัดหาวัตถุดิบด้ านการเกษตรแบบยัง่ ยืน (Kissinger, 2012) และโครงการ Forest Footprint Disclosure ที่ ทางานร่ วมกับบริ ษัทข้ ามชาติหลายแห่ง เพื่ อประเมิ นผลกระทบของบริ ษัทเหล่านัน้ ต่อ ทรัพยากรป่ าไม้ หรื อสมาชิกของ Consumer Goods Forum ลงมติใน ค.ศ. 2010 เพื่อจะจัดซื ้อแต่ถวั่ เหลือง น ้ามันปาล์ม เนื ้อสัตว์ กระดาษ และไม้ บอร์ ด ที่มีความยัง่ ยืนเท่านันภายใน ้ ค.ศ. 2020 (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 16) การได้ รับความยอมรับว่าเป็ นต้ นแบบของ “การเป็ นพลเมืองดี ” ของธุรกิจ หรื อเป็ นผู้นาในด้ าน สัง คมและสิ่ ง แวดล้ อม เป็ นสิ่ ง ส าคัญ ต่อการด าเนิน ธุ รกิ จ ขณะที่ ชื่ อ เสี ยงในด้ านคุณธรรมแล ะความ รับผิดชอบเป็ นสิ่งสาคัญในการคัดเลือกและสร้ างแรงจูงใจให้ พนักงาน เพราะคนทัว่ ไปจะใส่ใจใน “คุณค่า” และหลักการของนายจ้ าง (WBCSD, 2004 หน้ า 39) และเป็ นสิ่งที่สาคัญใน “การสร้ างการยอมรับ” เมื่อ ต้ องการขยายกิจการไปยังตลาดบางท้ องถิ่นหรื อบางประเทศ บางครัง้ ห่วงโซ่อุ ปทานที่ปลอดภัยและยัง่ ยืน อาจเป็ นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ตอ่ ความอยู่รอดของธุรกิจในระยะยาว เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณปลา และธุรกิจที่ต้องพึ่งพาการใช้ ปลา (Unilever, 2004; Howes, 2005 หน้ า 79-81) การทาธุรกิจและการ พิจารณาห่วงโซ่เป็ นส่วนสาคัญในการตรวจสอบความถู กต้ องในการทางานของบริ ษัท บริ ษัทควรจัดการ อย่างไร และสิ่งที่ทาไปเป็ นการบริ หารความเสี่ยงหรื อเป็ นเป้าหมายทาง CSR สิ่งที่สาคัญในการพิจารณา คือดูวา่ ห่วงโซ่อปุ ทานใดที่เกี่ยวข้ อง ความชัดเจนที่บริษัทมีตอ่ ลูกค้ า ผู้บริโภค และภาคสังคม อย่างไรก็ตาม ผู้ผลิต ผู้แปรรู ป และเกษตรกรในหลายภูมิภาคทัว่ โลกที่ยังไม่ได้ สร้ างเหตุผลทาง ธุรกิจที่ยงั่ ยืนอาจจะต้ องถูกบังคับให้ ทาในภายหลัง ไม่วา่ จะจากลูกค้ าเอ็นจีโอหรื อกฎหมายใหม่จากภาครัฐ ในบางประเทศ รัฐบาลไม่ได้ เป็ นเพียงผู้ออกกฎ ภาษี และสร้ างแรงจูงใจ แต่ยงั เป็ นลูกค้ าสาคัญ เช่น ในส หราชอาณาจักรรัฐบาลมีการใช้ บริ การจัดอาหารคิดเป็ น 7% ของการบริ โภคอาหารในประเทศ (Sustain, 2002 หน้ า 9) ขณะที่ในสวีเดนคิดเป็ น 10% (Jedvall, 1999 หน้ า 59-62) รัฐบาลแบบนี ้จึงเป็ นลูกค้ าที่มี อานาจต่อรองสูง (เช่น สหราชอาณาจักร; DEFRA, 2003)  การใช้ มาตรฐาน ถึงแม้ ว่าจะมีผ้ ูค้าปลีกและผู้จัดจาหน่ายน้ อยรายในห่วงโซ่อุปทานของ ธุรกิจโภคภัณฑ์ที่เป็ นเจ้ าใหญ่ในตลาดและมีอิทธิ พลในการปกป้องชื่อเสียงและส่วนแบ่งการตลาด แต่ บริ ษัทเหล่านี ้ก็อ่อนไหวต่อแรงกดดันจากผู้บริ โภค บริ ษัทเหล่านี ้จึงควรใช้ หลักการปฏิบตั ิที่ดีและให้ ความ เชื่ อ มั่น ในการเลื อ กจัด ซื อ้ แต่ สิ น ค้ า โภคภัณ ฑ์ ที่ มี ค วามยั่ง ยื น เช่ น โครงการ Sustainable บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

Land 149


Management Commitment ของแมคโดนัลด์ที่จะรับซื ้อสินค้ าโภคภัณฑ์ 5 รายการที่มีความยัง่ ยืนเท่านัน้ รวมถึงเนื ้อวัวและน ้ามันปาล์ม (Mongabay, 2011) หรื อ Nestle, Unilever และ P&G ที่จะซื ้อแต่น ้ามัน ปาล์มจากแหล่งที่มีความยัง่ ยืนภายในปี ค.ศ. 2015 (Laurence et al., 2010 หน้ า 377-381) มาตรฐานของสินค้ าโภคภัณฑ์และการออกใบรับรองผลิตภัณฑ์เป็ นกระแสที่กาลังเติบโตขึ ้นอย่าง รวดเร็ว โดยมาตรฐานมักเป็ นส่วนผสมระหว่างเป้าหมายทางสังคมและสิ่งแวดล้ อม เช่น การหลีกเลี่ ยงการ ทาลายป่ า สภาพการทางานของลูกจ้ าง (NWF, 2011) หรื อเทคนิคในการรักษาคุณภาพดินและการจัดการ ศัตรูพืช เป็ นต้ น ส่วนการออกใบรับรองโดยหน่วยงานภายนอกหรื อองค์กรอิสระ เช่น ISEAL ก็มีการใช้ แนว ปฏิ บัติที่ ถูกนาไปใช้ ทั่วโลกในการพัฒ นามาตรฐานของสินค้ าโภคภัณ ฑ์

(Newton, Agrawal &

Wollenberg, 2013 หน้ า 19) ใบรับรองมาตรฐานบางประเภทประสบความสาเร็ จและมีการวัดผลกระทบที่ชัดเจน เช่น น ้ามัน ปาล์มที่ได้ รับการรับรองโดย Roundtable on Sustainable Palm Oil (RSPO) ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดโลก ที่มากถึง 52% ใน ค.ศ. 2012 (RSPO, 2013) หรื อมาตรฐาน Rainforest Alliance ที่ออกใบรับรองแก่พื ้นที่ การเกษตรมากกว่า 100 รอบการเพาะปลูกและมีผลบังคับใช้ ในพื ้นที่ป่าเขตร้ อนกว่า 25 แห่งทั่วโลก (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 14) โดยการออกใบรับรองผลิตภัณฑ์สร้ างผลกระทบให้ กบั ทังต้ ้ นน ้าและปลายน ้าของห่วงโซ่อุปทาน ในการสร้ างแรงจูงใจให้ ผ้ ผู ลิตเพื่อเข้ าถึงตลาดได้ ในวงกว้ างขึ ้น ขายในราคาสูงขึน้ หรื อปกป้องชื่ อเสียงของตนเอง และช่วยเพิ่ม ความมั่นใจให้ ผ้ ูบริ โภคในการเลื อกซื อ้ ผลิตภัณฑ์ที่สร้ างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมน้ อยกว่า บริ ษัทควรคานึงถึงการใช้ มาตรฐานขันพื ้ ้นฐานและมาตรฐานในขัน้ “สูงกว่า” ปั จจุบนั แต่ละบริ ษัท ตีความมาตรฐานแบบพื ้นฐาน (baseline) และแบบมากกว่า (higher-level) และคุณภาพส่วนขยายของ ผลิตภัณฑ์ (extended product quality) แตกต่างกันไป ในยุคก่อน “มาตรฐานพื ้นฐาน”และ “การรับรอง คุณภาพ” ช่วยให้ บริ ษัทไม่ต้องเก็บห่วงโซ่อปุ ทานทังหมดไว้ ้ เองในองค์กร (Coase, 1937 หน้ า 384-405) เช่น ในอดีต Unilever เคยบริ หารการปลูกปาล์มและมะพร้ าวเอง และมีสายเรื อของตัวเองเอาไว้ ขนส่ง น ้ามันพืชไปยังโรงงานเพื่อควบคุมคุณภาพ มาตรฐานคุณภาพพื ้นฐานและระบบการจัดการที่เกี่ยวข้ อง (เช่น ISO 9002 และ HACCP, WHO 2005) ที่ใช้ เป็ นตัวอย่างในสินค้ าโภคภัณฑ์เป็ นกระบวนการเริ่ มต้ นก่อนเข้ าสู่การแข่งขัน (pre-competitive) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

150


และการลดกระบวนการผลิต การขนส่ง และค่าใช้ จา่ ยในการทาธุรกรรมทังห่ ้ วงโซ่อปุ ทาน เพื่อตอบสนองต่อ ข้ อเรี ยกร้ องเรื่ องความปลอดภัย การทาตามกฎหมาย และความน่าเชื่อถือ ของอุปทาน แต่ในทางตรงกัน ข้ าม มาตรฐานที่“สูงกว่า” (higher level standard) เป็ นสิ่งที่ใช้ ในการแข่งขันและการสร้ างคุณค่าแก่ ผู้บริ โภค และนาไปใช้ ในการสื่อสารว่าเป็ นผลิตภัณฑ์หรื อตราสินค้ าที่เหนือกว่า โดยเฉพาะในตลาดสินค้ า สาหรับคนเฉพาะกลุม่ (niche market) (Smith, 2007 หน้ า 851) วรรณกรรมวิจยั หลายชิ ้นชี ้ว่า แนวความคิดเรื่ องความยัง่ ยืนพื ้นฐานดูจะเป็ นเรื่ องที่ไม่มีสาระสาคัญ อีกต่อไป เพราะบริ ษัทใหญ่แทบทุกบริ ษัทสามารถบรรลุมาตรฐานคุณภาพพื ้นฐานได้ แล้ ว ความยัง่ ยืนจึง เป็ นคุณสมบัติในการแข่งขันที่ “เหนือกว่า” และแสดงให้ เห็นว่าบริ ษัทมีความมุ่งมัน่ ที่จะทาตามเป้าหมาย มีการคานึงถึงการได้ อย่างเสียอย่าง (Trade-offs) และพร้ อมรับความขัดแย้ งมากมาย และต้ องจัดลาดับ ความสาคัญต่างๆ ในขณะที่ต้องปฏิบตั ิตามกฎหมายและบรรทัดฐานของท้ องถิ่น และในระดับนานาชาติ ควบคู่ไป การสมัครใจทาตามมาตรฐานด้ านสั งคมและสิ่งแวดล้ อมอาจจะเป็ นข้ อได้ เปรี ยบในด้ านการ แข่ง ขัน (ในขณะที่ คู่แข่ง แค่ปฏิ บัติตามกฎหมาย) รวมถึง บริ ษัทจะได้ ประสบการณ์ และมุม มองใกล้ ชิ ด เพิ่มขึ ้นในการสร้ างพันธมิตร เพื่อประโยชน์ร่วมกันกับคูค่ ้ าในอนาคต ผลกระทบของการสร้างมาตรฐานและแนวปฏิ บตั ิ ต่อเกษตรกร บริ ษัท ด้ านอาหารมักจะเริ่ ม นามาตรฐานหรื อแนวปฏิ บัติม าใช้ เมื่ อได้ รั บแรงกดดันจากองค์ก ร พัฒนาเอกชน (เอ็นจีโอ) หรื อต้ องปฏิบตั ิตามกฎของภาครัฐ การสร้ างมาตรฐานเป็ นส่วนหนึ่งของกระแสที่ ย้ ายความสาคัญจาก “ผลงาน” ไปสู่ “มาตรฐานของกระบวนการ” โดยที่มาตรฐานเหล่านีส้ ร้ างขึ ้นแบบ ภายใน (private) บริษัทมากกว่าจะเกิดจากปั จจัยภายนอก “ความยั่งยืน ” ซึ่งเป็ นเครื่ องมือหนึ่งของมาตรฐาน ช่วยเพิ่มคานงัดแก่กิจการขนาดใหญ่ในการ ควบคุมตลาดและสร้ างอุปสรรคในการแข่งขัน เมื่อผู้แปรรู ปและผู้ค้าปลีกอาหารสร้ างกลยุทธ์ เพื่อจัดหา สินค้ าที่มีความยัง่ ยืนมากขึ ้น พวกเขาจะควบคุมห่วงโซ่อุปทาน ผลักต้ นทุนและความเสี่ยงในการทาตาม มาตรฐานและการใช้ แ นวปฏิ บัติไ ปสู่คู่ค้ า ซึ่ ง จะเอื อ้ ประโยชน์ แ ต่กับ คู่ค้ า ขนาดใหญ่ ที่ มี เ งิ น ทุน มาก เกษตรกรเข้ าใจว่า “ความยั่ง ยืน ” เป็ นการตัดสินจากคนนอกที่บอกพวกเขาว่าต้ องทาอะไรบ้ างในพืน้ ที่ เกษตรของตนเอง การทาตามข้ อกาหนดต่างๆ เช่น ข้ อกาหนดจากประเทศนาเข้ า การสอบทานธุรกิจ และ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

151


ทาตามมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (phytosanitary) เป็ นต้ นทุนที่เพิ่มขึ ้นเมื่อเกษตรกรต้ องทา ตามเพื่อให้ ได้ ทาสัญญากับผู้ซื ้อที่มีอานาจมหาศาล (Vorley, 2001 หน้ า 5) จากการที่ ผ้ ูแ ปรรู ป และผู้ค้ า ปลี ก ในอุต สาหกรรมอาหารมี อ านาจมากในห่ว งโซ่ อุป ทานแบบ ขับเคลื่อนโดยผู้ซื ้อ (Buyer-driven) ทังสามารถรวบรวมและควบคุ ้ มอุปทานและอุปสงค์ สามารถเรี ยกร้ อง คุณ ภาพของสิ น ค้ า ตามที่ ต้ อ งการ ใช้ แ นวปฏิ บัติแ ละมาตรฐานอย่ า งเข้ ม งวดกับ คู่ค้ า รวมไปถึ ง การ ตรวจสอบหลักฐานอื่ นๆ ถึ ง แม้ ว่าการเป็ นส่วนหนึ่ง ของห่วงโซ่อุปทานจะช่วยเชื่อมโยงเกษตรกรเข้ ากับ เศรษฐกิจยุคใหม่และตลาดใหม่ที่เกิดขึ ้นมากมาย แต่การเข้ าร่วมนี ้เกินความสามารถของเกษตรกรที่เป็ นผู้ เล่ น ขนาด “เล็ ก มาก” พวกเขาขาดความสามารถในการเพิ่ ม ปั จ จัย น าเข้ า และหาแหล่ง เงิ น ทุน เพื่ อ พัฒนาการผลิตให้ ตรงกับความต้ องการ การควบคุมห่วงโซ่อปุ ทานอาหารเกษตรโดยผู้แปรรูปและผู้ค้าปลีก สร้ างผลกระทบมหาศาลต่อการเกษตร ทาให้ ราคาสินค้ าเกษตรที่เป็ นวัตถุดิบและราคาอาหารปลายทางที่ ผู้บริ โภคซือ้ ไร้ การเชื่อมโยงกัน การที่อานาจไปอยู่ที่การแปรรู ปอาหารซึ่งถื อว่าเป็ นปลายนา้ ของห่วงโซ่ อุปทาน ทาให้ คณ ุ ค่าเพิ่ม (value added) กลับสู่ชมุ ชนท้ องถิ่นน้ อยมาก โดยคุณค่าเพิ่ม 78-85% ในห่วงโซ่ ในสหรัฐอเมริ กาและสหราชอาณาจักรไม่ได้ มาจากการเกษตร (Vorley, 2001 หน้ า 4) เกษตรกรจึงได้ เงิน เพียงเสี ้ยวเล็กๆ ของราคาตะกร้ าอาหารเกษตรที่อยู่ในร้ านค้ า ปลีก และเมื่อได้ เงินมาก็หายไปอย่างรวดเร็ ว เมื่อต้ องจ่ายค่าเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย อาหารสัตว์ ดอกเบี ้ย แรงงาน ค่าเช่าที่ดิน ในขณะที่เกษตรกรต้ องเพิ่มการ ผลิ ตให้ ตรงกับความต้ องการและมาตรฐานของผู้ซือ้ โดยได้ เงิ นน้ อยลง ผู้บริ โภคกลับต้ องจ่ายเงิ นเพิ่ม (surplus) เพราะมีการแข่งขันอย่างรุนแรงในตลาดค้ าปลีกซึง่ เป็ นผู้กาหนดราคา การทาการเกษตรแบบพันธสัญญา (contract farming) เป็ นวิธีหนึ่งในการเชื่อมโยงเกษตรกรเข้ า กับห่วงโซ่อปุ ทาน แต่กลับถูกวิพากษ์ วิจารณ์ว่าเป็ นวิธีที่ “เปลี ่ยนเกษตรกรให้กลายเป็ นแรงงานที ่รับค่าจ้าง โดยที ่ยัง ทางานในพื ้นที ่เ กษตรกรรมของตัวเอง” ทัง้ ที่ พ วกเขาสามารถมี บทบาทเป็ นผู้เล่นรายหนึ่ง ใน ตลาดโลกมากกว่าที่จะตกเป็ นเหยื่ออย่างถาวรจากปั จจัยและการบังคับจากการค้ าโลก (eg Bebbington and Batterbury, 2001 หน้ า 369-380; Eaton and Shepherd, 2001) ด้ วยอานาจของผู้ซือ้ ที่เพิ่มขึน้ ดัง ได้ กล่าวมาข้ างต้ น การถูกบังคับให้ ทาตามความต้ องการและ มาตรฐานเพื่อความยัง่ ยืนอื่นๆ ถือเป็ นอุปสรรคอันใหญ่หลวงของเกษตรกรรายย่อย โดยเฉพาะเกษตรกร รายย่อยจากประเทศกาลังพัฒนา เพราะพวกเขายากจน มีเงินทุนจากัด และมีพื ้นที่การเกษตรน้ อย ดังนัน้ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

152


การลงทุนเพิ่มเพื่อให้ ได้ คณ ุ ภาพ มาตรฐาน และประสิทธิภาพที่ตรงกับความต้ องการของผู้ซื ้อ จึงให้ คณ ุ ค่า น้ อยมากต่อพวกเขา ถึงแม้ ว่าพวกเขาจะหาแหล่งทุนมาลงทุนกับเรื่ องนี ้ได้ ก็ตาม (McDonald, 1999 หน้ า 274-284) เพราะต้ นทุนต่อหน่วยสินค้ าที่สูงมาก ทาให้ เกษตรกรรายย่อยประสบปั ญหาอย่างหนักในการ ผลิตสินค้ าที่มีคณ ุ ภาพสูง และมีความปลอดภัยตามความต้ องการ (Reardon and Barrett, 2000) ในทางกลับกัน แรงกดดันด้ านราคาเป็ นตัวผลักดันให้ เกษตรกรหันไปหาวิถีที่ไม่ยงั่ ยืนในการใช้ ที่ดิน การซื ้อปั จจัยนาเข้ าเก็บไว้ มากเกินไป (overstocking) และการละเลยกระบวนการรักษาความหลากหลาย ทางชีวภาพ ทังนี ้ ้เพื่อทาให้ รายได้ ของครอบครัวมีความยัง่ ยืนมากขึ ้น (Norwicki, 2000) ถึงแม้ ต้นทุนในการรับรองมาตรฐานและการสร้ าง “ความยัง่ ยืน” จะไม่สงู มากสาหรับบริ ษัทอาหาร ขนาดใหญ่ แต่จะเห็นได้ ว่าภาระต้ นทุนที่เกิดขึ ้นในห่วงโซ่อุปทานส่วนใหญ่จะถูกผลักกลับไปยั งคู่ค้า เช่น เกษตรกร (UK Competition Commission, 1999; quoted in Fox & Vorley, 2004 หน้ า 33 ) การต้ องทา ตามมาตรฐานจึงอาจกลายเป็ นปั ญหาที่ร้ายแรงของเกษตรกรและคู่ค้าอื่นๆ ในห่วงโซ่อปุ ทาน เช่น ความ ต้ อ งการของซู เ ปอร์ ม าร์ เ ก็ ต และผู้แ ปรรู ป อาหารที่ แ ตกต่า งกัน ไปตามปั จ จัย หลายด้ า น ทัง้ วงจรชี วิ ต ผลิ ตภัณ ฑ์ ความเสี่ ยง การจัดล าดับความส าคัญผ่านลูกค้ าและความคิดเห็นของผู้มี ส่วนได้ ส่วนเสี ย (Hamprecht et al, 2005 หน้ า 7-10) ทาให้ โรงสีข้าวแห่งหนึ่งในสหราชอาณาจักรต้ องสร้ างโรงเก็บสินค้ า ถึง 3 แบบ เพื่อที่จะใช้ สาหรับ “ตราสินค้ าสิ่งแวดล้ อม” 3 ประเภท (Smith, 2007 หน้ า 856) แต่เกษตรกร ส่วนใหญ่ไม่สามารถสร้ างความพึงพอใจต่อความต้ องการ“เฉพาะ” ของลูกค้ าจานวนมาก เพราะเขาต้ อง ลงทุนทังเวลาและเงิ ้ น หรื อบางครัง้ ก็เป็ นความต้ องการที่เกษตรกรทาไม่ได้ ขณะที่การขอรับการตรวจสอบ และออกเอกสารต่างๆ ก็มีราคาแพง เกษตรกรที่ฐานะยากจนในประเทศกาลังพัฒนาไม่มีเงินพอจ่าย แต่ พวกเขากลับเป็ นกลุ่มที่ต้องการ “การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน” มากที่สดุ ทังๆ ้ ที่พวกเขาต้ องการตลาดที่มีความ มั่นคง ต้ อ งการการศึกษา การดูแลสุขภาพ การอบรม และการให้ การศึกษาในพื น้ ที่ เกษตร มากกว่า ข้ อกาหนดมากมายด้ านมาตรฐานจากผู้ค้าปลีกและผู้ผลิต แม้ ว่าการพัฒนาแหล่งความรู้ การเกษตรโดยใช้ เทคโนโลยีฟืน้ ฟู เช่น การจัดการที่ดินเพื่อลดการ ระบาดของโรคและศัตรูพืช (Pretty, 1995 หน้ า 320; Pretty & Hine, 2001) จะเป็ นเรื่ องนอกเหนือขอบเขต ของธุรกิจอาหารส่วนใหญ่ แต่การช่วยจัดหาเทคโนโลยีและเสนอราคารับซื ้อที่น่าดึงดูดสาหรับเกษตรกร ถือ เป็ นวิธี หนึ่งที่ ธุ รกิ จอาหารสามารถทาให้ ห่วงโซ่อุปทานมีความยั่งยื นขึน้ ธุ รกิ จ อาหารข้ ามชาติที่สรรหา บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

153


วัตถุดบิ มาจากส่วนต่างๆ ของโลก มักให้ ความสาคัญและทาความเข้ าใจกับกระบวนการผลิตแค่กบั คูค่ ้ าใน ส่วนใดส่วนหนึ่งของโลก บริ ษัทจึงควรขยายการพัฒนาการวิจยั ไปยังภูมิภาคอื่นๆ ด้ วย ในหลายประเทศ เงินทุนจากธุรกิจอาหารขนาดใหญ่ได้ ถกู นามาใช้ สนับสนุนการวิจยั ทังแบบประยุ ้ กต์ (e.g. The Douwe Egberts Foundation, 2005) และการวิจยั ทัว่ ไปในด้ านการเกษตร เช่น Unilever สนับสนุนการวิจยั เรื่ อง “การผสมเกสรด้ วยลมในปาล์มน ้ามัน ” ช่วยให้ ผ้ เู พาะปลูกในประเทศมาเลเซียนาไปศึกษาเพิ่มเติม ก่อน ปฏิบตั ิใช้ จริ ง และทาให้ ผลผลิตต่อหน่วยพื ้นที่สูงขึ ้นในเขตเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (Corley & Tinker, 2003 หน้ า 784) ในหลายกรณี ธุ ร กิ จ อาหารให้ เ ครดิต หรื อ เงิ น กู้ใ นระยะยาวแก่ เกษตรกรด้ ว ยอัต ราดอกเบี ย้ ที่ เหมาะสม หรื อลงทุนโดยตรงด้ วย บริ ษัทอาจให้ การอบรมเกษตรกร ให้ คาแนะนาด้ านการจัดการที่ดินเพื่อ เพาะปลูก เครื่ อ งมื อในการเพาะปลูก ปั จ จัย นาเข้ าและแหล่ง ทุน เช่น ผู้บรรจุหีบห่อ มันฝรั่ ง ในสหราช อาณาจักรเสนอบริ การจัดหาเมล็ดพันธุ์และให้ คาแนะนาในการฟื น้ ฟูที่ดิน (Willcockson, 2004 หน้ า 8398) แก่เกษตรกร บริ ษัท Tico Fruit ในประเทศคอสตาริ ก้า สนับสนุนด้ านเทคโนโลยีตอ่ เกษตรกรผู้ปลูกส้ ม เพื่อเพิ่มผลผลิต รวมถึงรับซื ้อสินค้ าจากเกษตรกรในปริ มาณมาก และให้ เครดิตที่เหมาะสม (Clay, 2004) กลุม่ บริษัท Danone ให้ การอบรมเกษตรกรและสนับสนุนทางการเงินเพื่อซื ้อตู้เย็นสาหรับเก็บนมในประเทศ ตุรกี (Danone, 2004 หน้ า 30) เกษตรกรผู้ปลูกมะเขือเทศให้ Unilever ในประเทศบราซิล ได้ รับความ ช่วยเหลือจากบริ ษัทในการเปลี่ยนมาใช้ เทคโนโลยีระบบชลประทานน ้าหยด เพื่ออนุรักษ์ น ้า (Smith, 2007 หน้ า 856) จะเห็นได้ ว่า บริ ษัทที่ต้องการใช้ มาตรฐานเพื่อความยัง่ ยืนควรเปิ ดโอกาสให้ เกษตรกรได้ มีส่วนร่วม ในการตังมาตรฐานและการใช้ ้ แนวปฏิบตั ิ มีการทางานร่วมกันกับเกษตรกรในท้ องถิ่น รับฟั งความคิดเห็น เพราะจะประสบความสาเร็ จมากกว่าการบังคับกฎจากผู้ที่ไม่ได้ อยู่ในท้ องถิ่ น ดังบริ ษัทหลายรายที่ประสบ ความสาเร็ จในด้ านการใช้ มาตรฐานกับเกษตรกร โดยการนับสนุนเกษตรกรในหลายๆ ด้ าน เช่น การอบรม การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การนาเทคโนโลยีเข้ ามาช่วยเพิ่มผลผลิต เพิ่มโอกาสในการเข้ าถึง แหล่งทุน ฯลฯ  การสร้ างความสัมพันธ์ และความไว้ เนื้อเชื่อใจกับคู่ค้า ในการใช้ มาตรฐานกับคูค่ ้ า การ ที่ผ้ ผู ลิตและผู้ค้าปลีกอาหารขอให้ ค่คู ้ าต้ องได้ รับมาตรฐานขันต ้ ่าถือเป็ นส่วนหนึ่งของการตรวจสอบ และ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

154


วิเคราะห์สถานะ หรื อเพื่อช่วยรักษาชื่อเสียงขององค์กรหรื อตราสินค้ า การให้ คคู่ ้ าจากภายนอกทางานแทน ต้ องมีการพึ่งพาอาศัยกันระหว่างผู้ผลิตและคู่ค้า ซึ่งการสร้ างความสัมพันธ์ แบบเข้ าอกเข้ าใจ การทางาน ร่ ว มกัน บนพื น้ ฐานของความเชื่ อ ใจ และการรั ก ษาสมดุล ของอ านาจในความสัม พัน ธ์ อ าจกลายเป็ น ความสามารถในการแข่งขันก็ได้ (Christopherson and Coath, 2002; Duffey & Ferne, 2004 หน้ า 136152; Klapwijk, 2004) การที่บริ ษัทพัฒนาข้ อตกลงในการทางานร่วมกัน และมีความสัมพันธ์ในระยะยาว ได้ ต้ องมีพื ้นฐานมาจากความเชื่อใจในการรับความเสี่ยงร่วมกัน และการให้ รางวัลตลอดทังห่ ้ วงโซ่อปุ ทาน (Allinson, 2004 หน้ า 136-152) เมื่อความสัมพันธ์ นี ้เกิดขึ ้นแล้ วก็จะไม่ถูกยกเลิกโดยง่ าย (Robin and Roberts, 2000 หน้ า 120) เมื่อมีปัญหาเกิดขึ ้นในห่วงโซ่อปุ ทานที่มีความสัมพันธ์ใกล้ ชิดและต้ องพึ่งพา อาศัยกัน ผู้ซื ้อมักจะช่วยเหลือคูค่ ้ าไปตลอดกระบวนการเปลี่ยนแปลงอีกหลายๆ ปี ก่อนจะยกเลิกสัญญา (Harris-Pascal et al., 1998; Knight 2002) ถ้ าเกษตรกรถือเป็ นคูค่ ้ าที่ใกล้ ชิดในธุรกิจอาหารแล้ ว ก็มีโอกาสที่จะได้ ประโยชน์และการสนับสนุน ในการปฏิบตั ิตามมาตรฐานเกษตรแบบยัง่ ยืนในระดับ ”สูงกว่า” จากบริ ษัทผู้ผลิตหรื อแปรรู ปอาหาร เช่น Nestle ขอให้ เ กษตรกรโคนมในประเทศสวิ ส เซอร์ แ ลนด์ ค านวณปริ ม าณสารอาหารในดิน เป็ นรายปี (Hamprecht et al, 2005) เกษตรกรปศุสตั ว์ที่ทางานกับ Danone ต้ องทางานตามข้ อปฏิบตั ิ “ข้ อแนะนาใน การปฏิ บัติที่ดีเ พื่ อผู้ผ ลิ ตนม” ซึ่ง ครอบคลุม ถึง คุณภาพ ความปลอดภัย มาตรฐานสวัสดิการต่อสัต ว์ สิ่งแวดล้ อม และการสืบมาตรฐาน (Group Danone, 2005 หน้ า 3) เกษตรกรผู้ปลูกถัว่ กลุ่ม Birds Eye ของ Unilever ทางานโดยอิงกับคู่มือ “คุณภาพและความยัง่ ยืน ” ซึ่งเป็ นมาตรฐานและความต้ องการใน ระดับ”สูงกว่า” ต่อการเกษตร การจัดการศัตรูพืชอย่างมีระบบแบบ Integrated Pest Management (IPM) (Smith, 2007 หน้ า 855) ความสัมพันธ์ ทางการค้ าระหว่างเกษตรกรและบริ ษัทอาหารที่พวกเขาส่งสินค้ าให้ โดยตรงมักจะ เกิดขึ ้นเมื่อเวลาผ่านไปหลายปี โดยเกษตรกรได้ ประโยชน์จากตลาดที่น่าเชื่อถื อ และความสามารถที่จะ เจรจาถึงกฎเกณฑ์ในการเป็ นพันธมิตร ในขณะที่ธุรกิจอาหารได้ ประโยชน์จากการจัดส่งสินค้ าที่เชื่อถือได้ ได้ วตั ถุดบิ ที่มีคณ ุ ภาพสูง และสามารถเข้ าใจข้ อมูลของระบบเกษตร รวมถึงลดความกังวลของเกษตรกร ลด ความเสี่ยงด้ านสังคมและสิ่งแวดล้ อม ตัวอย่างเช่น Bulmers ทาสัญญายาว 30 ปี กับผู้ปลูกต้ นแอปเปิ ล้ ไซเดอร์ (apply cider) ในเขต Herefordshire ซึ่งสร้ างคุณค่าให้ กบั เกษตรกรและครอบครัว เพราะบริ ษัท รั บประกันว่าจะรับซื อ้ ผลผลิตทัง้ หมด โดยมี การรับรองราคาขัน้ ต่า ในระยะยาวเกษตรกรสามารถโอน กรรมสิทธิ์จากสัญญานี ้ไปยังลูกหลานหรื อเจ้ าของใหม่ได้ หากพื ้นที่การเกษตรนันถู ้ กขายต่อ ความไว้ วางใจ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

155


เหล่านี ้เกิดมาจากการสร้ างจากรุ่นสูร่ ุ่น และเป็ นคุณค่าสาคัญต่อ Bulmers เมื่อต้ องมีการเปลี่ยนแปลงทาง โครงสร้ างธุรกิจครัง้ ที่ผา่ นมา (C. Fairs, 2005, personal communication) บริ ษัทสามารถเริ่ มสร้ างความสัมพันธ์ที่มนั่ คง และสร้ างความมัน่ ใจให้ ทงเกษตรกรและคู ั้ ่ค้า โดย การลงทุนด้ านการพัฒนาความรู้ (เช่น การสนับสนุนการวิจยั ) การพัฒนาประสิทธิ ภาพทางสิ่งแวดล้ อม หรื อการจัดการของเสียร่ วมกัน และเมื่อเกิดความไว้ เนื ้อเชื่อใจแล้ ว การใช้ บริ การการรับรองคุณภาพจาก ภายนอกก็จะลดลง เช่น การวิเคราะห์สารเคมีตกค้ างซึ่งมีราคาแพง และต้ องมีการตรวจสอบบ่อยๆ โดย คาถามสาคัญที่บริ ษัทควรต้ องหาคาตอบก่อนใช้ มาตรฐานและกฎเกณฑ์ ด้านความยัง่ ยืนกับคูค่ ้ าคือ “คุณ ยิ นดีจะจ่ายเงิ นเพิ่มให้เกษตรกรเท่าไร เพือ่ ให้พวกเขาทาตามวิ ธีของคุณ” (Smith, 2007 หน้ า 855)  การสร้ างความน่ า เชื่ อ ถื อ สิน ค้ าที่ ไ ม่ส่ง ผลกระทบต่อ สัง คมและสิ่ง แวดล้ อมในห่วงโซ่ อุปทานเป็ นคุณลักษณะที่ดีของสินค้ าที่ผ้ บู ริ โภคชื่นชม ความสาเร็ จของผลิตภัณฑ์เฉพาะกลุ่ม (niche) จึง มาจากการทาเกษตรอย่างยัง่ ยืน คุณภาพที่ดีอย่างแท้ จริ ง และได้ รับการรับรองความยัง่ ยืนในระดับที่ “สูง กว่า” โดยหน่วยงานที่เชื่อถือได้ ความน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์อาจได้ มาจากความสัมพันธ์ ที่มีต่อห่วงโซ่อุปทานในท้ องถิ่น เช่ น “ไม่มีซูเปอร์ มาร์ เก็ตไหนจะแข่งกับตลาดเกษตรกรท้ องถิ่นได้ ในเรื่ องของความสด สุนทรี ยภาพในการจับจ่าย และการเชื่อมโยงกับชุมชน” (Haiweil, 2004 หน้ า 237) หรื อการสื่อสารที่ได้ เห็นหน้ าค่าตาของผู้คนที่ดู น่าเชื่อถือ เช่น ภาพผู้เลี ้ยงโคนม หรื อผู้ปลูกกาแฟที่ทาให้ ผ้ บู ริ โภคเชื่อมโยงได้ ว่าเมื่อซื ้อสินค้ าแฟร์ เทรดแล้ ว เงินส่วนนี ้จะทาให้ พวกเขาส่งลูกๆ ไปเรี ยนหนังสือได้ ที่ปรากฎบนบรรจุภณ ั ฑ์ ในสื่อ หรื ออินเตอร์ เน็ต เช่น บนเว็บไซต์ของ Nature & More ที่จาหน่ายผักและผลไม้ ออแกนิกส์ (http://www.natureandmore.com/) หรื อการที่ผ้ บู ริ โภคสามารถค้ นหาข้ อมูลของผลไม้ ที่ซื ้อมาและข้ อมูลของเกษตรกรผู้ปลูกได้ ในเว็บไซต์ โดย การใส่รหัสที่มาจากบรรจุภณ ั ฑ์ ความน่าเชื่อถืออาจจะได้ มาจากการรับรองจากเอ็นจีโอ เช่น กาแฟที่เป็ นมิตรต่อนกที่มีตรารับรอง จาก the Royal Society for the Protection of Birds ในสหราชอาณาจักร หรื อ the Audubon Society/Rainforest Alliance ในสหรัฐอเมริ กา ในบางประเทศ ผู้บริ โภคจานวนมากสามารถจดจาตรา รับรองด้ านสิ่งแวดล้ อมขนาดจิ๋วบนบรรจุภณ ั ฑ์ได้ เช่น รูป “หงส์” ในเขตสแกนดิเนเวีย รูป “นางฟ้าสีฟ้า” ใน เยอรมนี หรื อจดจาตราสินค้ าหรื อผู้ค้าปลีกบางราย เช่น ในกลุ่มของธุรกิจที่มีจริ ยธรรมมีตราแฟร์ เทรดที่ใช้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

156


ในหลายๆ ประเทศ หรื อ ตรา “Max Havelaar” ในเนเธอร์ แลนด์ และ Co-operative Retail Organization ในสหราชอาณาจักร (Smith, 2007 หน้ า 852) นักการตลาดมืออาชีพหลายท่านโต้ เถียงว่า แนวความคิดที่ซบั ซ้ อนมากอย่าง “ความยัง่ ยืน” ซึ่ง เกี่ยวโยงกับปั ญหาสังคมและสิ่งแวดล้ อมจานวนมหาศาล การต้ องคานึงถึงแบบได้ อย่างเสียอย่าง (tradeoffs) การใช้ เวลาในการทาความเข้ าใจ และการจัดลาดับความสาคัญก่อนหลัง ดังนันการที ้ ่จะใช้ กลยุทธ์ การตลาดอย่าง “การผลิตนี ้ใช้ วตั ถุดิบจากสินค้ าเกษตรที่มีความยัง่ ยืนมากขึ ้น” หรื อ “การส่งสินค้ านี ้ใช้ ห่วง โซ่อุปทานที่ยั่งยืนขึน้ ” จึงเป็ น “คุณค่า” ที่เป็ นไปไม่ได้ ที่จะสื่อสารให้ ประสบความสาเร็ จ เพราะการจะ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ ผู้บริ โภคต้ องรู้สึกเกี่ยวข้ องและรู้สึกถึงความมีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนแปลง (Dawney &Shah, 2005 หน้ า 20) แต่ด้วยความที่ปัญหาสังคมหรื อสิ่งแวดล้ อมส่วนมากมีขนาดใหญ่ (เช่น การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ) หรื อไกลตัวพวกเขาเกินไป (เช่น ป่ าฝน) หรื อซับซ้ อนเกินกว่าที่ผ้ บู ริ โภค จะรู้สกึ ว่าการเลือกซื ้อสินค้ าของพวกเขาสามารถสร้ างผลกระทบได้ (Clarke, 2001) ดังนันบริ ้ ษัทจึงควรเน้ น สื่อสารด้ วยปั ญหาในขนาดเล็กลงมาเพียงไม่กี่อย่าง เพื่อให้ ผ้ บู ริโภครู้สกึ เกี่ยวข้ องและมีสว่ นร่วมมากขึ ้นได้ ส่วนความเชื่อมโยงระหว่าง “ปั ญหา” และวัตถุดิบในกิจกรรมของห่วงโซ่อุปทานนัน้ ผู้บริ โภค มักจะให้ ความสนใจไปที่เรื่ องการกระทา เช่น ปั ญหาสิทธิมนุษยชนและแรงงานในธุรกิจที่ต้องใช้ โกโก้ (e.g. Cadbury-Schweppes, 2004) หรื อการปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์จากอาหาร เพราะต้ องพึ่งการใช้ ตู้เย็น การขนส่งและการจัดจาหน่าย (e.g. Ben & Jerry’s, 2005) ซึ่งโดยทัว่ ไปแล้ วผู้บริ โภคจะได้ เห็นภาพ เพียงเสี ้ยวเดียวของทังห่ ้ วงโซ่ที่มีความเคลื่อนไหวตลอดเวลา และด้ วยความซับซ้ อนของสายห่วงโซ่อปุ ทาน อาหารที่มีค่คู ้ าเกี่ยวข้ องเป็ นจานวนมาก จากพื ้นที่เกษตรไปสู่การขนส่ง การแปรรูป การผลิต และการค้ า ปลีก ผู้บริ โภคจึงไม่สามารถมองเห็นและเชื่อมโยงกับความรู้ สึกได้ ทุกขัน้ ตอน การสื่อสารการตลาดถึง คุณ ค่าของ “ความยั่ง ยื น ” ให้ ออกมาเข้ าใจง่ า ยและน่าเชื่ อถื อจึง ทาได้ ย ากกับผลิต ภัณฑ์ ที่มี ส่วนผสม มากมายเช่นนี ้ ดังนัน้ ประโยชน์จาก “การทาให้ ห่วงโซ่อุปทานมีความยั่งยืนขึน้ ” ในการแปรรู ปหรื อผลิต อาหารจึงเป็ นเรื่ องที่เข้ าใจยากและอาจมีต้นทุนในการปรับเปลี่ยนสูงมาก ด้ วยเหตุนี ้ถ้ าการผลิตหรื อแปรรูป อาหารมีส่วนผสมของสินค้ าโภคภัณฑ์ ผู้ผลิตอาจจะต้ องแยกสายห่วงโซ่อุปทานออกมาเป็ นอีกสายที่ มี ขนาดเล็กกว่า ราคาแพงกว่า มีทรัพย์สินทางปั ญญา และทาคู่ขนานไปกับห่วงโซ่อุปทานหลัก ก่อนที่จะ กล่าวถึงว่าเป็ น “ความยัง่ ยืน” ในระดับสูง เพราะถ้ าการรับรองหรื อการประยุกต์ใช้ มาตรฐานระดับสูงไม่

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

157


สร้ าง “คุณค่า” ให้ ผ้ บู ริโภค และการแข่งขันในตลาดและเศรษฐกิจโลกแล้ ว การปรับเปลี่ยนเพื่อให้ เกิดความ ยัง่ ยืนจะเป็ นตัวทาลายธุรกิจนี ้แทน ดังนันจึ ้ งยังเป็ นที่ถกเถียงว่า คุณค่าทางการตลาดของห่วงโซ่อปุ ทานที่มีความยัง่ ยืนควรจะเน้ นไป ที่ตลาดเฉพาะกลุม่ หรื อควรทากับตราสินค้ าในตลาดกระแสหลัก เพราะแต่ละธุรกิจมีกลยุทธ์ในการทางาน ที่ แตกต่างกันและยัง มี ความสับสนในการทาความเข้ าใจว่าแต่ละมาตรฐานนัน้ เป็ นแค่ม าตรฐานแบบ พื ้นฐานหรื อถือเป็ นมาตรฐานแบบ”สูงกว่า” เช่น ใบรับรองสินค้ าออแกนิกส์ที่ยงั สร้ างความสับสันให้ กับ ผู้บริ โภค เพราะยังมีการถกเถี ยงกันถึงคุณค่าที่แท้ จริ ง และคุณสมบัติที่แตกต่างกันของใบรับรองแต่ละ ประเภท แม้ จ ะเป็ นตลาดเฉพาะกลุ่ม คื อ เป็ นการบริ โภค 1-3%

ของตลาดอาหารและเครื่ อ งดื่ม ใน

สหรัฐอเมริ กา ญี่ปนุ่ และยุโรป (IFST, 2005) แต่ก็ยงั มีการถกเถียงกันถึงคุณค่าที่แท้ จริ ง และคุณสมบัติที่ แตกต่างกันของใบรับรองแต่ละประเภท ที่สร้ างความสับสนให้ กบั ผู้บริโภค บริ ษัทอาหารขนาดใหญ่ที่ผลิตอาหารสดหรื อถนอมอาหารบางแห่งใช้ การรับรองแบบมาตรฐาน “สูงกว่า”และมีทรัพย์สินทางปั ญญากับ ทังห่ ้ วงโซ่อุปทาน เช่น กล้ วยหอม Chiquita เป็ นพันธมิตรกับ the Rainforest Alliance (Rainforest Alliance, 2000) ในขณะที่บางบริ ษัทเลือกที่จะสร้ างสรรค์ผลิตภัณฑ์เพื่อ ตลาดเฉพาะกลุ่ม เช่น กาแฟ “Fairtrade ‘Partners’” ของ Nestle (Nescafe, 2005) และกาแฟ Kraft Rainforest Alliance (Kraft Foods, Inc, 2005) โดยทัว่ ไปผู้บริโภคตัดสินใจซื ้อสินค้ าจากปั จจัยหลายๆ ด้ าน คือ ลักษณะนิสยั คุณภาพ ความคุ้ม ค่าเงิน ค่านิยม (personal values) และความเห็นชอบจากคนที่อยู่รอบตัว (Holdsworth & Steadman, 2005 หน้ า 60) เมื่อผู้บริโภคได้ รับการกระตุ้นให้ “ทาสิ่งที่ถกู ต้ อง” และคิดว่าตนเองสามารถจ่ายเพิ่มได้ เพื่อ เป็ นส่วนหนึ่งในการสนับสนุน “ความยั่งยืน” ก็จะให้ ความร่ วมมือมากขึน้ เช่น 80% ของคนในสหราช อาณาจักรบอกว่าพวกเขาเต็มใจจะจ่ายเงินเพิ่มขึ ้นเล็กน้ อยเพื่อซื ้อสินค้ าที่มีจริ ยธรรม (Co-op, 2004 หน้ า 24) โดยผู้บริ โภคมีทางเลือก 2 ด้ าน คือ 1) ซื ้อสินค้ าที่มีความยัง่ ยืนและน่าเชื่อถือที่มีคณ ุ ลักษณะพิเศษ เหนือกว่าสินค้ าทัว่ ไป และผลิตขึ ้นมาตรงกับรสนิยมของพวกเขา หรื อ 2) มองหาหลักฐานการรับรองว่า ผู้ค้าปลีกหรื อผู้ผลิตสินค้ ายี่ห้อที่พวกเขานิยมมีส่วนร่วมในการพัฒนา“ห่วงโซ่อุปทานอาหารที่ยงั่ ยืน” แทน พวกเขา  จริ ยธรรมบริ ษั ทและนโยบาย นโยบายของผู้ค้าปลี กและผู้แปรรู ปส่ง ผลกระทบต่อการ ดารงชีวิตและสภาพสิ่งแวดล้ อมตลอดห่วงโซ่อปุ ทานมากกว่าแค่ ณ จุดซื ้อหรื อจุดขาย ภาระรับผิดรับชอบ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

158


(Accountability) เป็ นกลไกขับเคลื่อนตลาดอาหารเกษตร ซึ่ งควรครอบคลุมมากกว่าด้ านของผู้บริ โภค และรวมวัตถุประสงค์ด้านการพัฒนาความยัง่ ยืนในระดับชาติเข้ าไปด้ วย เช่น การพัฒนาการเกษตรและ เศรษฐกิจในพื ้นที่ชนบท มาตรฐานและแนวปฏิบตั ิจะต้ องทาควบคูไ่ ปกับการอบรมและการเสริ มสร้ างขีด ความสามารถ เพื่อที่จะนาเกษตรกรรายย่อยโดยเฉพาะในประเทศกาลังพัฒนาให้ เข้ ามามีส่วนร่วมมากกว่า จะกี ดกันพวกเขาออกไป ต้ นทุนที่เกิดขึ ้นจากการปฏิบตั ิตามมาตรฐานเป็ นต้ นทุนที่ไม่มากนัก และเป็ น กลไกที่บริษัทจะได้ แสดงออกถึงความจริงใจในการทางานร่วมกัน  การสร้ างความร่ วมมือกันของธุรกิจ บริษัทต่างๆ ที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ถึงแม้ จะถือ ว่าเป็ นคูแ่ ข่งกัน แต่ก็สามารถร่วมมือกันเพื่อสนับสนุนห่วงโซ่อปุ ทานที่เกิดการผลิตที่ยงั่ ยืนและสร้ างคุณค่า ให้ ผ้ บู ริโภค (โดยเฉพาะตลาดเฉพาะกลุม่ ) อย่างไรก็ตาม ธุรกิจแต่ละรายไม่มีอานาจเพียงพอในการเปลี่ยน ระบบเกษตรกรรมหรื อปรับปรุงความยัง่ ยืนให้ กบั ห่วงโซ่อปุ ทานของสินค้ าโภคภัณฑ์หลัก การรวมตัวกันใน รูปแบบสมาคมจะช่วยเพิ่มความสามารถในการเปลี่ยนแปลงได้ เช่น สมาคมธุรกิจบางแห่งสนับสนุนการ วิจยั ผลิตภัณฑ์ในช่วงก่อนสร้ างสินค้ าสูต่ ลาด โดยเฉพาะในประเด็นด้ านวัตถุดิบ เช่น the United Kingdom Associations of Cider Manufacturers พัฒนาระบบ IPM ให้ สวนผลไม้ หรื ออุตสาหกรรมน ้าตาลในส หราชอาณาจักร โดยให้ ทุนสนับสนุนการวิจยั เรื่ องการพัฒนาคุณภาพ ภูมิค้ มุ กันโรค การขยายพันธุ์ การ ยับยังการชะหน้ ้ าดิน การใส่ป๋ ยและการเกษตรแบบยั ุ ง่ ยืนในหัวบีท (beet) (CIAA, 2002 หน้ า 63) ธุรกิจต่าง ๆ อาจจะร่ วมมือกันเพื่อรับรองคุณภาพด้ านความยัง่ ยืน โดยยกระดับคุณภาพพื ้นฐาน และพิจารณาผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้ อม Klapwijk (2004) แย้ งว่า ผู้นาทางธุรกิจสามารถตกลงที่ จะสร้ าง”หลักธรรมาภิบาล” ของห่วงโซ่อุปทาน ถ้ ามีบริ ษัทอยู่ในตลาด 3 ถึง 6 ราย มีส่วนแบ่งการตลาด รวมกันได้ 50-70 % มีส่วนประกอบและวัตถุดิบที่ต้องใช้ จานวนมาก การสร้ างหลักธรรมาภิบาลร่ วมกันจะ เกิดขึ ้นได้ เมื่อบริ ษัทคานึงถึงจานวนและความหลากหลายของบริ ษัทอาหาร ความยุ่งยากที่ผ้ แู ข่งขันแต่ละ รายมีในการทางานร่วมกัน และการทาความเข้ าใจ คาจากัดความ คุณค่า และความจาเป็ นในเรื่ องความ ยัง่ ยืนของกันและกัน เพื่อสร้ างแรงจูงใจให้ บริ ษัท พวกเขาจะต้ องเห็นถึงตัวอย่างของการร่วมมือทางธุรกิจที่ นามาซึ่ง การรั บรองคุณ ภาพด้ านความยั่ง ยื นที่ไ ด้ ผล เช่น the Eurepgap retailer-led initiative (Eurepgap, 2005) ในธุรกิจค้ าปลีก และมาตรฐานด้ านกาแฟ เช่น the CCCC (Common Code for the Coffee Community, CCCC, 2005) และมาตรฐานอื่นๆ ที่พฒ ั นาโดย the Sustainable Agriculture

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

159


Initiative Platform (SAI Platform, 2005) ที่เกิดขึ ้นจากความร่ วมมือระหว่าง Unilever, Nestle และ Danone รวมไปถึงบริษัทอื่น ๆ ในอุตสาหกรรมอาหารในปั จจุบนั หนึ่ง ในกรณี ค วามร่ วมมื อกันที่ น่าสนใจ อันเกิ ดมาจากการรวมตัว กันของภาคเอกชน คือ The Roundtable for Sustainable Palm Oil (RSPO) ซึ่งเกิดจากความร่วมมือและจัดตังโดยผู ้ ้ มีส่วนได้ ส่วนเสีย หลายฝ่ าย คือ Unilever (ผู้ผลิตอาหาร) Migros, Sainsbury’s (ผู้ค้าปลีก) the WWF (NGO) และ the Malaysian Palm Oil Association (สมาคมผู้เพาะปลูก) ข้ อมูลจาก ค.ศ. 2012 RSPO มีสมาชิกกว่า 1,300 รายทัว่ โลก มีสว่ นแบ่งการตลาดเป็ น 52% ทัว่ โลก โดยเพิ่มขึ ้นจากเพียง 3% ใน ค.ศ. 2008 (RSPO, 2013) ไม่ว่าจะเป็ นผู้เพาะปลูก ผู้กระจายสิ นค้ า ผู้ผลิตและแปรรู ปอาหาร สถาบันการเงิ น และเอ็นจี โอด้ าน สิ่งแวดล้ อม RSPO ประสบความสาเร็ จอย่างมากในการพัฒนานิยามของ “น ้ามันปาล์มที่ยงั่ ยืน” ให้ เป็ นที่ รู้จกั และยอมรับในระดับโลก สร้ างผลกระทบทางบวกทังในแง่ ้ สงั คมและสิ่งแวดล้ อม และมุ่งที่จะพลิกห่วง โซ่อปุ ทานของสินค้ าโภคภัณฑ์ขนาดใหญ่ให้ มีความยัง่ ยืน (RSPO, 2005) บริ ษัทเองก็ได้ รับประโยชน์จาก การใช้ มาตรฐานของ RSPO มากกว่าการที่จะต้ องไปสร้ างมาตรฐานของตัวเอง  การทางานร่ วมกับเอ็นจีโอ เป็ นกระบวนการทางานหนึ่งในภาคประชาสังคมที่ช่วยผลักดัน ให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในห่วงโซ่อปุ ทานอย่างยัง่ ยืน การรวมตัว (concentration) และการขยายขนาดของ อุตสาหกรรมอาหารเกษตร ในแง่ หนึ่ง แล้ ว ก่อให้ เกิ ด ผลดีต่อความยั่ง ยื นเช่นกัน เพราะบริ ษัทมี ความ “อ่อนไหว” ต่อการตรวจสอบจากภาคประชาสังคม (‘stakeholder value’ – see Koechlin and Wittke, 1998 หน้ า 107-135) บริษัทต้ องการปกป้องมูลค่าของตราสินค้ าและคุณค่าของผู้ถือหุ้นเพื่อไม่ให้ เกิดความ เสียหายต่อบริษัทที่อาจจะเกิดจากการตรวจสอบแบบของเอ็นจีโอ การตรวจสอบจากภาคประชาสังคมเป็ นกลไกหนึ่งที่ช่วยยกระดับธรรมาภิบาลของธุรกิจอาหาร เกษตร การรณรงค์ของเอ็นจี โอช่วยสร้ างความคาดหวัง จากสาธารณะต่อภาคธุ รกิ จ ในการสนับสนุน การเกษตรแบบยัง่ ยืน รวมถึงช่วยดึงความสนใจจากผู้บริ โภคและนักลงทุนไปยังวิถีปฏิบตั ิที่ดีที่สุด (best practices) ซึ่งอาจจะกลายเป็ นโอกาสในการให้ ความรู้แก่ผ้ มู ีส่วนได้ ส่วนเสียฝ่ ายต่างๆ บทบาทของเอ็นจี โอในการลอบบี ก้ ารพัฒ นามาตรฐานของบริ ษั ท และแนวปฏิ บัติเ ป็ นปั จ จัย ส าคัญ ในการเพิ่ ม การออก ใบรับรอง (Perez-Aleman & Sandilands, 2008)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

160


ความสัมพันธ์ ระหว่างเอ็นจีโอและบริ ษัทมักจะแบ่งได้ เป็ น 2 ขัน้ ตอน ขัน้ แรก เอ็นจีโอมักกดดัน บริ ษัทข้ ามชาติ ผ่านโครงการรณรงค์ที่ม่งุ เป้าไปยังลูกค้ าและตลาดของบริ ษัทเหล่านันโดยตรง ้ เพื่อกระตุ้น ให้ เกิดการพัฒนา “หลักการจัดซื ้ออย่างมีคณ ุ ธรรม” เพื่อนาไปใช้ ในห่วงโซ่อปุ ทาน โครงการในลักษณะนี ้มี เพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ ในอุตสาหกรรมประเภทที่มีการยอมรับมาตรฐานด้ านคุณภาพ โดยมุ่งไปที่สภาพในการผลิต และจัด หาวัต ถุดิบ เช่น สิ่ ง ทอ รองเท้ า การแปรรู ปอาหาร ผลิต ภัณฑ์ จ ากป่ า การทาเหมื อ งและอื่ น ๆ (Locke, 2005) ขันตอนต่ ้ อมาคือบริษัทและเอ็นจีโอสร้ างความสัมพันธ์และพันธมิตรร่วมกัน โดยทัว่ ไปแล้ วเป็ นการ ตกลงร่ ว มกัน ระหว่า งองค์ ก รอิ ส ระ 2-3

รายขึ น้ ไป เพื่ อ ท างานด้ ว ยกัน ในโครงการร่ ว มเฉพาะ ซึ่ ง

ความสัม พันธ์ ในลักษณะนี บ้ างทีเ รี ยกว่าพันธมิ ตรทางสังคมแบบข้ ามภาคส่วน (cross-sector social partnership) ที่รวมทังองค์ ้ กรแสวงหาและไม่แสวงหากาไรเข้ าด้ วยกันในโครงการที่ต้องการแก้ ไขปั ญหา เช่น ความยากจน การป้องกันโรคและสิ่งแวดล้ อม (Perez-Aleman and Sandilands, 2008) จากการวิจยั พบว่า แรงจูงใจหลักในการสร้ างพันธมิตรคือ บริ ษัทต้ องการเปลี่ยนประเด็นของการเรี ยกร้ องความชอบ ธรรมจากภายนอก (external legitimacy) ที่สร้ างแรงกดดันกับบริ ษัทให้ กลายเป็ นการแสดงความ รับผิดชอบต่อสังคม (Argenti; Austin; Berger, Cunningham, and Drumwright) วรรณกรรมในปั จจุบนั ยังเน้ นถึงบทบาทอิสระของเอ็นจีโอในการติดตามผลการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานของบริ ษัท บทบาทของเอ็นจี โอในฐานะองค์กรอิสระภายนอก และเป็ นบุคคลที่สามในการออกใบรับรองเป็ นเครื่ องมือที่น่าเชื่อถือที่สดุ ที่ บริษัทจะใช้ เปลี่ยนวิธีปฏิบตั ขิ ององค์กร ด้ วยความนิยมที่เพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ ในการใช้ มาตรฐานและแนวปฏิบตั ิทงแบบมาตรฐานพื ั้ ้นฐานในด้ าน คุณภาพกับด้ านความยัง่ ยืน ทาให้ เกิดการสร้ างพันธมิตรระหว่างบริ ษัทและเอ็นจีโอเพิ่มขึ ้น โดยเฉพาะ ความร่วมมือระหว่างบริ ษัทข้ ามชาติยกั ษ์ ใหญ่ (MNCs) และเอ็นจีโอ(Bartley, op.cit หน้ า 433-464) จน เกิดเป็ นปรากฏการณ์ “NGO – Industrial Complex” หรื อ“ส่วนอุตสาหกรรม NGO” (Gereffi, GarciaJohnson, and Sasser, 2001 หน้ า 56-65) ในโครงการบางประเภทเอ็นจี โอท้ องถิ่นกลับเป็ นฝ่ ายที่มีความเข้ าใจลึกซึง้ ในปั ญหาสังคมและ สิ่งแวดล้ อม และเป็ นผู้บริหารจัดการความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพในพื ้นที่การเกษตร เอ็นจีโอมี ทัก ษะในการสร้ างความเปลี่ ย นแปลงโดยใช้ วิ ธี ก ารอยู่ร่ ว มกับ ชุม ชนระยะหนึ่ ง ก่ อ นจะลงมื อ ปฏิ บัติ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

161


(Participatory Approach) สถาบันการศึกษาท้ องถิ่นเองก็เป็ นแหล่งข้ อมูลด้ านการวิจยั ประยุกต์และเป็ นที่ เชื่อมโยงเครื อข่าย การดึงฝ่ ายต่างๆ เหล่านี ้ให้ เข้ ามามีสว่ นร่วมจะช่วยเพิ่มความเป็ นไปได้ ของโครงการด้ าน ความยัง่ ยืน ในระดับประเทศ ระดับนานาชาติ และระดับองค์กร ทักษะของเอ็นจีโอมีประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ มาก ไม่ใช่แค่เพียงการนาเสนอมุมมองที่สร้ างสรรค์ในการสร้ างห่วงโซ่อุปทานที่มีความยัง่ ยืนเท่านัน้ แต่ รวมไปถึงการสร้ างความเชื่อใจในการอ้ างถึงข้ อมูลความยัง่ ยืนของผลิตภัณฑ์ เช่น Marks & Spencer ผู้ค้า ปลีกในสหราชอาณาจักรเป็ นพันธมิตรห่วงโซ่อุปทานกับองค์กรหลายแห่ง เช่น WWF-UK

และ The

National Federation of Fishermen’s Organisations ในโครงการ “ลงทุนกับปลา” (‘Invest in Fish’) ที่ สร้ างกลยุทธ์ในการประมงที่ยงั่ ยืน (Marks & Spencer, 2005) การร่ วมมื อกันระหว่างภาคสาธารณะ ภาคเอกชน และเอ็นจีโอมี ความส าคัญในการยกระดับ มาตรฐานของห่วงโซ่อปุ ทานสินค้ าโภคภัณฑ์ อย่าง The Ethical Tea Partnership (ETP, 2005) เป็ นผู้ ตรวจสอบมาตรฐานจริยธรรมในการทาธุรกิจเบื ้องต้ นแก่เกษตรกรผู้ปลูกชาหลายพันรายทัว่ โลก องค์การนี ้ ได้ รับการสนับสนุนทางการเงินจากบริ ษัทบรรจุชา 17 ราย ทัง้ ที่เป็ นบริ ษัทข้ ามชาติขนาดใหญ่ไปจนถึง บริ ษัทขนาดเล็ก และโครงการนี ้ก็เป็ นพันธมิตรกับ the Ethical Trading Initiative (ETI, 2000) ใน อุตสาหกรรมโกโก้ มี the International Cocoa Initiative (ICI) ที่ทางานร่วมกับบริ ษัทชอคโกแลต รัฐบาล เอ็นจีโอรายอื่น และ International Labour Organisation ในการแก้ ปัญหาการใช้ แรงงานเด็กและการข่ม เหงแรงงานในเขตแอฟริ กาตะวันตก (CIAA, 2002; ICI, 2005) และได้ สร้ างโครงการต่างๆ เพื่อพัฒนา เศรษฐกิจการเกษตร รายได้ ของเกษตรกร การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม และสร้ างระบบที่เหมาะสมในการตัง้ ราคาในห่วงโซ่อปุ ทานโกโก้ 4) กลไกการเพิ่มความยั่งยืนในห่ วงโซ่ อุปทานโดยเกษตรกร เมื่อต้ องเข้ าร่วมเป็ นส่วนหนึง่ ของห่วงโซ่อปุ ทานและปฏิบตั ิตามมาตรฐานของบริ ษัทต่างๆ อุปสรรค ของเกษตรกรรายย่อยและครอบครัวต่อส่วนอื่นๆ ในห่วงโซ่อุปทานคือ การเข้ าถึงตลาด และการตังราคา ้ (Vorley, 2001) การขาดเงินทุนในการปรับเปลี่ยนพื ้นที่ วิถีการเกษตร และการเข้ าถึงข้ อมูล

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

162


การรวมตัวกันของเกษตรกรในรูปองค์กร เช่น สหกรณ์ ทาให้ เกิ ดการพัฒนาและข้ ามขีดจากัดแก่ เกษตรกรรายย่อย ช่วยสร้ างประโยชน์ และลดความเสี่ยงในการทาการเกษตรแบบมีสัญญา (Contract Farming) เช่น กรณีของผู้เพาะปลูกมันฝรั่งในภาคเหนือของประเทศไทยที่ตาบลสันทราย จ.เชียงใหม่ ซึ่ง เกษตรกรรายย่อยที่มีที่ดินไม่เกิน 1 เฮคเตอร์ ได้ สร้ างระบบผลิตข้ าวและมันฝรั่งที่มีความยัง่ ยืน และสร้ าง การต่อรองกับตลาดอย่างได้ ผล ด้ วยนโยบายของประเทศในช่วงปี ค.ศ. 1987 และ 1995 ที่สนับสนุน ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพสูงจากการสร้ าง“คุณค่าเพิ่ม ”เพื่อการส่งออกเป็ นนโยบายที่เกิดจากความร่ วมมือกัน ระหว่างบริ ษัทอุตสาหกรรม เกษตรกร และสถาบันการเงิน โดยเจ้ าหน้ าที่ท้องถิ่นทุ่มเทช่วยเหลือในการทา สัญญาระหว่างบริ ษัทและเกษตรกร รวมถึงให้ การสนับสนุนทังกระบวนการโดยสร้ ้ างนโยบายที่เหมาะสม และส่งเสริมความไว้ เนื ้อเชื่อใจระหว่างบริษัทกับเกษตรกร เกษตรกรพบว่าการปลูกมันฝรั่งทัง้ 2 ประเภท คือ 1) ประเภทที่นาไปแปรรู ปภายใต้ สญ ั ญากับ บริษัทแปรรูป และ 2)ประเภทที่นาไปทาอาหารโดยตรงภายในประเทศ ช่วยลดความเสี่ยงและลดการพึ่งพา พันธมิตรเพียงรายเดียว เกษตรกรป้อนสินค้ าให้ ทงตลาดที ั้ ่ต้องมีการทาสัญญาและตลาด“เปิ ด”ทัว่ ไป การ ทางานร่วมกันเป็ นองค์กรในรูปสหกรณ์การเกษตร ทาให้ พวกเขาสามารถใช้ ทรัพยากร และการช่วยเหลือ ของรั ฐ กับ นัก การเมื อ งท้ อ งถิ่ น ได้ สหกรณ์ เ หล่า นี เ้ ป็ นผู้บ ริ ห ารอุป ทานและก าหนดราคามัน ฝรั่ ง ที่ ใ ช้ ทาอาหาร การทาการเกษตรแบบมีสญ ั ญา (Contract Farming) ช่วยสนับสนุนให้ มีการผลิตสินค้ าที่มี คุณภาพและมีปริ มาณรองรับที่แน่นอน อย่างไรก็ตาม การพัฒนาการรวมตัวของเกษตรกรในลักษณะนี ้ ต้ อ งผ่า นกระบวนการที่ ย าวนาน โดยกรณี ใ นภาคเหนื อ ของประเทศไทยใช้ เ วลาอย่ า งน้ อ ย 30

ปี

(Gypmatasiri et al, 2001) จากการแนะนากลไกที่เกิดจากผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียภายในห่วงโซ่อุปทานพบว่า การได้ มาซึ่งความ ยัง่ ยืนต้ องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียหลายฝ่ าย ทังภาครั ้ ฐ เกษตรกร ภาคการศึกษา เอ็นจี โอ รวมทังธุ ้ รกิจอาหาร การที่ทุกฝ่ ายเข้ ามาร่ วมสานเสวนาและสร้ างแผนปฏิบตั ิร่วมกันจะมีประสิทธิภาพ ดีกว่าการทางานแยกกัน (Sustainable Food Laboratory, 2005)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

163


ตาราง 6.2 ความรับผิดชอบทัว่ ไปของผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียในห่วงโซ่อปุ ทานอาหาร (x รับผิดชอบน้ อย, xx รับผิดชอบปานกลาง, xxx รับผิดชอบสูง) ภายในห่ วงโซ่ อุปทาน

ภายนอกห่ วงโซ่ อุปทาน

การ การลาดับความสาคัญ (priorities) ขนส่ ง การแปร ผู้บริโภค งานวิจัย การค้ า โดย UK Sustainable เกษตรกร และการ รูปและ และ รัฐบาล และ ปลีก Development Commission กระจาย การผลิต พลเมือง พัฒนา สินค้ า ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ มี xx xx xxx xxx x xx xx คุณค่าทางอาหาร เศรษฐกิจในชนบท ในเมืองและ x x x xxx ความเป็ นชุมชน ความกินดีอยูด่ ีอนั เกิดจากการ x xx xx xxx x จัดการที่ดินอย่างยัง่ ยืน การปฏิบตั ิการภายใต้ ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากร xx x xxx xxx ชีวภาพที่จากัด การลดการใช้ พลังงาน ปั จจัยนาเข้ า xx xxx xxx xx x xxx x และการใช้ พลังงานหมุนเวียน สวัสดิการพนักงาน การอบรม x x xxx xxx xxx x ความปลอดภัยและสุขภาวะ มาตรฐานสุขภาพและสวัสดิการสัตว์ xxx xx xx xx xxx x การใช้ ทรัพยากรอย่างยัง่ ยืน x xxx xx

ที่มา: Smith (2007)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

164


ตาราง 6.3 ประโยชน์และต้ นทุนของการบริหารห่วงโซ่อปุ ทานแบบยัง่ ยืนที่มีสว่ นได้ สว่ นเสียหลายฝ่ าย (ใช้ ตวั อย่างจากกรณี RSPO ข้ อมูลบางส่วนจาก Tennyson & Wilde, 2000 หน้ า 116) ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ผู้ผลิต ผู้ค้าปลีกใน ประเทศนาเข้ า

ประโยชน์ จากการเข้ าร่ วม  จัดหาสินค้ าที่นา่ เชื่อถือได้ โดยไม่ต้อง เสียค่าใช้ จ่ายเพิ่มในการสร้ างห่วงโซ่ อุปทานที่มีทรัพย์สนิ ทางปั ญญาใหม่ แต่จะได้ ประโยชน์จากห่วงโซ่อปุ ทานที่ มีความยัง่ ยืนและมัน่ คง

ต้ นทุนและความเสี่ยงในการเข้ าร่ วม  ไม่มีคณ ุ ค่าเกิดขึ ้นกับผู้ผลิตและผู้ค้าปลีกถ้ า ความยัง่ ยืนไม่ใช่ปัญหา  ความยุง่ ยากในการยอมรับมาตรฐาน โดยเฉพาะถ้ ามาตรฐานนันได้ ้ รับการพัฒนา มาจากคูแ่ ข่ง  การอ้ างว่าผลิตภัณฑ์มาจากการพิจารณา เลือกแหล่งป้อนสินค้ าทีด่ ีไม่ใช่ทางเลือกอีก ต่อไป

เอ็นจีโอด้ านสังคม

 พัฒนาการเข้ าถึงและผลกระทบที่จะ ไปถึงคนในวงกว้ าง เช่น โครงการ ราคาสาหรับเกษตรกรรายย่อยและ สวัสดิภาพพนักงาน

 ถูกมองว่า “สร้ างมิตรกับศัตรู ” และยอม ประนีประนอมเพื่อให้ ได้ มาซึง่ ข้ อตกลง

เอ็นจีโอด้ านสิง่ แวดล้ อม

 ช่วยเพิ่มโอกาสในการอนุรักษ์ ป่าไม้ และสัตว์ป่าโดยเป็ นผู้เชื่อมโยงแต่ละ ภาคส่วนเข้ าด้ วยกัน ช่วยผลักดันให้ เกิดระบบปฏิบตั ิด้านสิง่ แวดล้ อม เช่น terracing, cover crops และเกิด ประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ จน กลายเป็ นบรรทัดฐานธุรกิจ

 มีความยุง่ ยากในการเข้ าร่วมมาตรฐานที่ สร้ างมาโดยองค์กรอื่นที่ไม่ได้ มีความสนใจ และไม่มีการลาดับความสาคัญทีค่ ล้ ายคลึง กัน

เกษตรกรรายย่อย

 มีความเป็ นไปได้ ที่จะเพิ่มโอกาสใน การมีสว่ นร่วม ด้ านความยัง่ ยืนและ ผลงานทางธุรกิจ

 การมี “เสียง” โดยตรงในกระบวนการมี ความยุง่ ยาก ต้ นทุนในการทาเอกสารและ ดาเนินการมีราคาแพง

รัฐและผู้กาหนด นโยบาย

 มาตรฐานที่นาไปใช้ จะสนับสนุน กฎหมายท้ องถิ่นและกฎเกณฑ์ใน ประเทศผู้ผลิต  การมีสว่ นร่วมในกระบวนการทาให้ เห็นถึงความรับผิดชอบและการเปิ ด โอกาสให้ เข้ าถึงได้

 อาจเป็ นการลดอานาจของเจ้ าหน้ าที่ท้องถิ่น

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

165


6.2 กรณีศึกษา 6.2.1 Starbucks และความร่ วมมือด้ านการอนุรักษ์ ในระดับนานาชาติ Starbucks เป็ นบริ ษัทกาแฟยักษ์ ใหญ่ของโลก ร้ านค้ าปลีก Starbucks ให้ บริ การลูกค้ าทัว่ โลกวัน ละหลายล้ านคน มีสาขากว่า 18,000 แห่ง ใน 60 ประเทศ มีพนักงาน 200,000 คน ใน ค.ศ. 2012 มี รายได้ สทุ ธิ 13.3 พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ (Starbucks 2012, Annual Report) แหล่งเม็ดกาแฟที่ Starbucks รับซื ้อมาจากพื ้นที่เกษตรในลาตินอเมริ กา แอฟริ กาและเอเชีย การคัว่ และผสมกาแฟให้ ออกมาเป็ นสูตร ต่างๆ จะทาที่ Starbucks ในค.ศ. 2011 บริ ษัทซื ้อกาแฟจานวน 194 ล้ านกิโลกรัม (Starbucks 2011, Global Responsibility Report Scorecard) และรายได้ 75% ของบริ ษัทมาจากการจาหน่ายกาแฟ (Starbucks 2012, Annual Report) ในเอกสารแนะนาบริ ษัท Starbucks ระบุถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและการสร้ างสมดุลระหว่าง การสร้ างกาไรและสังคมใน 3 ด้ านคือ การจัดซื ้อสินค้ าอย่างมีจริ ยธรรม (ethical sourcing) การดูแล สิ่งแวดล้ อม และการมีสว่ นร่วมของชุมชน การจัดซื ้อสินค้ าอย่างมีจริ ยธรรม (ethical sourcing) คือ กระบวนการจัดหาสินค้ าแบบองค์รวม (holistic) เพื่อจัดซื ้อกาแฟอย่างเป็ นธรรม คือการจัดซื ้ออย่างมีความรับผิดชอบ การสนับสนุนเงินกู้ให้ เกษตรกร และโครงการอนุรักษ์ ป่า บริ ษัทมีเป้าหมายที่จะให้ กาแฟทังหมดที ้ ่รั บซื ้อผ่านกระบวนการจัดซื ้อ สินค้ าอย่างมีจริยธรรมภายในปี ค.ศ. 2015 (Kissinger ,Brasser & Gross, 2013 หน้ า 2) Conservation International หรื อ CI เป็ นเอ็นจีโอนานาชาติที่ก่อตังขึ ้ ้นใน ค.ศ. 1987 ด้ วยพันธ กิจ “ต้ องการรักษามรดกทางธรรมชาติของโลก ความหลากหลายทางชีวภาพของโลก และเพื่อสาธิตให้ เห็น ว่าสังคมมนุษย์สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้ อย่างราบรื่ น ” (Perez-Aleman & Sandilands, 2008 หน้ า 11) CI ต้ องการสร้ างการเปลี่ยนแปลงทางสัง คมโดยการสนับสนุนการใช้ ม าตรฐานทางสิ่ง แวดล้ อม กิจกรรมที่ทาจะเป็ นทังด้ ้ านการเคลื่อนไหวเพื่อผลักดันการเปลี่ยนแปลงด้ านนโยบาย (advocacy) และการ ปฏิบตั ิการสนับสนุนชุมชนในพื ้นที่ที่มีความสาคัญด้ านความหลากหลายทางชีวภาพโดยตรง CI เป็ นหนึ่ง ในสามเอ็นจีโอที่ทางานด้ านอนุรักษ์ ที่ใหญ่ที่สดุ ในโลก อีกสององค์กรคือ the World Wildlife Fund และ The Nature Conservancy (Perez-Aleman & Sandilands, 2008 หน้ า 12) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

166


หนึ่งในกลยุทธ์ที่สาคัญของ CI คือ การทางานเป็ นพันธมิตรกับภาคธุรกิจเพื่อนาหลักการด้ านการ ผลิ ตที่คานึงถึง การอนุรักษ์ สิ่ งแวดล้ อมไปใช้ ง าน CI ทางานในกว่า 40 ประเทศ (Conservation International, 2005) และมีความร่วมมือกับบริ ษัทข้ ามชาติหลายแห่งในการหาวิธีแก้ ปัญหาสิ่งแวดล้ อม ระดับโลกซึ่งแตกต่างกันไปตามบริ บทของอุตสาหกรรมนัน้ นอกเหนือจาก Starbucks แล้ ว CI ยังเป็ น พันธมิตรกับบริ ษัทจากหลายอุตสาหกรรม เช่น McDonald’s, Shell, Rio Tinto, Wal-mart, CEMEX และ Aveda (www.celb.org) ความร่ วมมือระหว่าง Starbucks และ Conservation International (CI) เป็ นกรณีศึกษาเชิง ประจักษ์ ที่ดี เพราะเป็ นโครงการที่ตงต้ ั ้ นมาจากการระบุปัญหา แล้ วพยายามสร้ างและใช้ มาตรฐานด้ าน ความยัง่ ยืนที่เหมาะสมกับการจัดการห่วงโซ่อปุ ทาน โดยใช้ กิจกรรมของบริ ษัทในประเทศกาลังพัฒนาเป็ น ตัวตังต้ ้ น และมุง่ เป้าหมายไปที่เกษตรกรรายย่อยเป็ นหลัก รายงานวิจยั “Building Value at the Top and Bottom of the Global Supply Chain: MNCNGO Partnerships and Sustainability” ค.ศ. 2008 วิเคราะห์ความร่ วมมือของสององค์กรที่ทางาน ร่วมกันอย่างต่อเนื่องในระยะเวลากว่า 10 ปี ซึ่ง Starbucks และ CI ได้ พฒ ั นาและตังมาตรฐานร่ ้ วมกันโดย คานึงถึงบริ บทของชุมชนที่มีรายได้ น้อย รายงานนี ้ได้ ใช้ การวิจัยเชิงคุณภาพโดยอาศัยข้ อมูลจากหลาย แหล่งเพื่อสร้ างเป็ นกรณีศกึ ษา (Yin, 2003) โดยขันแรกเริ ้ ่ มจากการรวบรวมข้ อมูลกิจกรรมที่เกิดขึ ้นจาก ความร่ ว มมื อของทัง้ สององค์ กร โดยรวบรวมจากรายงานของทัง้ Starbucks และ CI บัน ทึก ข้ อ ความ เว็บไซต์ และรายงานประเมินโครงการจากองค์กรระหว่างประเทศ ในขันที ้ ่ 2 ผู้วิจยั ได้ ใช้ เอกสารที่เป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรของการพัฒนา การใช้ มาตรฐาน ระบบการออกใบรับรองที่ใช้ โดย Starbucks และมาตรฐาน อื่ นๆ ด้ านกาแฟที่ อ อกโดย CI และองค์กรไม่แสวงหากาไรอื่ น ๆ เพื่ อท าความเข้ า ใจสาระส าคัญและ วิวฒ ั นาการของมาตรฐาน ขันที ้ ่ 3 ผู้วิจยั ได้ ใช้ ข้อมูลที่มาจากงานวิจยั ด้ านห่วงโซ่อปุ ทานกาแฟที่มีข้อมูล ด้ านการผลิต การกระจายสินค้ า กิจกรรมของเอ็นจีโอ และสถานการณ์ของเกษตรกรรายย่อย ข้ อมูลส่วนนี ้ มาจากการทบทวนวรรณกรรมทังที ้ ่ได้ ตีพิมพ์และไม่ได้ ตีพิมพ์ ซึ่งผู้วิจยั ให้ ความเห็นว่าข้ อมูลส่วนนี ้หาได้ ไม่ ยาก และได้ รับการจัดเอกสารเป็ นอย่างดี และขันตอนที ้ ่ 4 เป็ นข้ อมูลจากการสัมภาษณ์ผ้ มู ีส่วนได้ ส่วนเสีย 3 กลุ่ม คือ เกษตรกรรายย่อยในอเมริ กากลาง องค์กรอิสระที่ ทาหน้ าที่ออกใบรั บรองให้ แก่องค์กรที่ ปฏิบตั ิงานในอเมริ กากลางและให้ บริ การกับเกษตรกร ซึ่งเป็ นข้ อมูลสาคัญในการทาความเข้ าใจกิจกรรมที่

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

167


เกิดขึน้ จากความร่ วมมือของ Starbucks และ CI และกลุ่มที่ 3 คือ ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ ยวข้ องกับกิจกรรม เหล่านี ้แต่มีความเป็ นอิสระจากทัง้ Starbucks และ CI พันธมิตรของทัง้ Starbucks และ CI เชื่อมโยงกับห่วงโซ่อุปทานระดับโลก (Bacon, 2005) และ เกษตรกรรายย่อยก็ถือเป็ นส่วนสาคัญ โดยเฉพาะในประเทศเม็กซิโกและอเมริ กากลาง มีการประมาณว่า 85% (Bacon, 2005 หน้ า 497-511) ของเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟในเขตอเมริ กากลาง และ 92% ในเม็กซิโก เป็ นเกษตรกรรายย่อย (Jafee, op.cit) ขันตอนจากอุ ้ ตสาหกรรมผลิตไปสู่การบริ โภคกาแฟเป็ นการเชื่อมโยง ระหว่างบริ ษัทข้ า มชาติที่มี เ ทคโนโลยี ชัน้ สูง ผู้บริ โภค และเกษตรกรรายย่อยในประเทศกาลัง พัฒ นา (Ponte, 2004) Starbucks เป็ นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานระดับโลกที่รวมเกษตรกรรายย่อย เกษตรกร รายใหญ่ ผู้แปรรูป ผู้ควั่ กาแฟ และผู้ค้าปลีก (Ponte, 2002 หน้ า 1099-1222) โดยเกษตรกรที่เป็ นคูค่ ้ าของ Starbucks มีพื ้นที่ปลูกกาแฟตังแต่ ้ ขนาดเล็กมากคือ ต่ากว่า 1 เฮคเตอร์ ไปจนถึงเขตสหกรณ์การเกษตร ขนาดใหญ่ ซึง่ มีที่ดนิ ในการเพาะปลูกจานวนมาก (Perez-Aleman & Sandilands, 2008 หน้ า 10) เกษตรกรรายใหญ่จะแปรรู ปและส่งออกเม็ดกาแฟไปต่างประเทศเอง แต่เกษตรกรรายย่อยขาย เม็ดกาแฟสดไปยังผู้แปรรูปหรื อตัวแทนจาหน่าย ซึ่งพวกเขาจะขายต่อไปยังผู้ส่งออก หลังจากนันผู ้ ้ ส่งออก จะขายไปยังผู้นาเข้ าหรื อผู้ควั่ เม็ดในประเทศที่มีการบริ โภค ปกติแล้ วการคัว่ จะเกิดขึ ้น ณ จุดที่มีการบริ โภค ในสายห่วงโซ่อปุ ทานนี ้ Starbucks ทาหน้ าที่เป็ นผู้ควั่ และผู้ค้าปลีก โดยซื ้อเม็ดกาแฟสด (ยังไม่ผ่านการคัว่ ) เป็ น 2% ของห่วงโซ่อุปทานกาแฟโลกจากผู้ส่งออก (Starbucks, “Starbucks Corporate Social Responsibility Annual Report 2005”, 2005) เกษตรกร สหกรณ์ และจากผู้นาเข้ าในบางกรณี Starbucks ควบคุมทุกขัน้ ตอนของการซือ้ เม็ดกาแฟสด ดังนัน้ จึงถื อว่าควบคุมขัน้ ตอนทัง้ หมดในห่วงโซ่ อุปทานในส่วนต้ นน ้า ความเสี่ยง: แรงกดดันจากเอ็นจีโอต่ อ Starbucks Starbucks เริ่ มใช้ หลักการห่วงโซ่อปุ ทานแบบยัง่ ยืนตังแต่ ้ ค.ศ.1995 โดยมีเหตุผลหลักในการเข้ า ร่วมโครงการเหมือนกับบริ ษัทส่วนใหญ่คือ เป็ นกลยุทธ์ลกั ษณะ“นโยบายเชิงรับ-เปลี่ยนแปลง-นโยบายเชิง รุก” (reactive-turned-proactive) ซึ่งเกิดมาจากแรงกดดันของนักกิจกรรมในภาคเอ็นจีโอที่ทาให้ บริ ษัท ค่อ ยๆ เปลี่ ย นจากพฤติ ก รรมต่อ ต้ า นหรื อ แค่ยิ น ยอมท าตามกฎ ไปเป็ นการใช้ คุณ ค่า ทางสัง คมและ สิ่งแวดล้ อมเป็ นกลยุทธ์ (Argenti; Linton; Spar and LaMure, 2004 sหน้ า 91-116) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

168


Starbucks ถูกต่อต้ านครัง้ แรกจากเอ็นจีโอในปี ค.ศ.1994 เรื่ องนโยบายห่วงโซ่อุปทาน โดยนัก กิจกรรมจาก U.S./Guatemalan Labour Education Project (US/GLEP) ยืนแจกใบปลิวเรี ยกร้ องที่ร้านค้ า ปลีกของ Starbucks ถึงแม้ ว่าการรณรงค์นี ้จะมาจากเอ็นจีโอขนาดเล็กและเป็ นโครงการขนาดเล็ก แต่ Starbucks ก็เริ่ มใช้ แนวปฏิบตั ิสาหรับคู่ค้าที่ ออกแบบมาเพื่อกาหนดค่าจ้ าง สวัสดิการ ที่พกั อาศัยและ มาตรฐานสุขอนามัยของคูค่ ้ า (Pendergrast, 1999) Starbucks หารื อกับเอ็นจีโอที่ทางานในหลายๆ ด้ าน เช่น CARE และ ANACAFE (The Guatemalan Coffee Producers’ Association) ต่อมาใน ค.ศ.1995 Starbucks ตีพิมพ์แนวปฏิบตั ิตอ่ คูค่ ้ าคือ the Starbucks’ Commitment to Do our Part เพื่อเผยแพร่ความ มุง่ มัน่ ของบริษัทที่ต้องการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้ปลูกและผลิตกาแฟ (Shultz and Yang, 1997) ในปี ต่อๆ มา Starbucks ก็ยัง ถูกกดดันเพื่ อให้ รับซือ้ กาแฟ Fair Trade (FT) จากเอ็นจีโอ เช่น Global Exchange ผู้ประท้ วงปรากฏตัวที่ งานประชุม ประจาปี ของบริ ษัท ร้ านค้ าปลีก และเดินขบวนประท้ วง หลังจากนัน้ บริ ษัทจึงเซ็นสัญญาตกลงกับ Transfair เพื่อซือ้ กาแฟ Fair Trade มาขายในร้ านค้ าปลีก (Perez-Aleman & Sandilands, 2008 หน้ า 13) แรงกดดันจากเอ็นจีโอต่อ Starbucks ยังเกิดขึ ้นต่อเนื่องมาอีกหลายปี จากวิกฤตการณ์ผลิตกาแฟที่ ทาให้ ราคากาแฟโลกตกลงมาอย่างรุ นแรงใน ค.ศ.1998-2002 วิกฤตการณ์นี ้ส่งผลให้ เกิดการทาลายป่ า มากขึ ้น และเกิดความเสี่ยงต่ออุปทานกาแฟจากที่ราบสูง ซึ่งนอกจากจะไม่สามารถคาดเดาปริ มาณการ ผลิตได้ แล้ วยังเป็ นที่ต้องการมากของตลาดเฉพาะ การเพาะปลูกโดยทาลายสิ่งแวดล้ อมของเกษตรกรราย ย่อยที่ยากจนและอยู่ในพืน้ ที่ห่างไกลมักพบเห็นได้ ในห่วงโซ่อุปทานในประเทศกาลังพัฒนา รวมถึงการ เพาะปลูกกาแฟ ด้ วยเหตุนี ้เมื่อเกษตรกรประสบปั ญหาราคากาแฟ ณ หน้ าฟาร์ ม (farm-gate pricing) ต่า กว่าต้ นทุนในการผลิต (Ponte, 2002) เกษตรกรรายย่อยในลาตินอเมริ กาที่อยู่ในเขตที่ราบสูงก็ยากจนลง เมื่อราคากาแฟตกต่า วิกฤตการณ์ราคาผลักดันให้ พวกเขาต้ องหาวิธีอยู่รอด เกษตรกรหลายพันคนจึงเลิก ปลูกกาแฟและอพยพไปหางานในสหรัฐอเมริ กา (Murray, Raynolds, Taylor, 2006) หรื อเลือกปลูกพืชอื่ น ที่ต้องแผ้ วถางพื ้นที่เพื่อการเพาะปลูกมากขึ ้น การบุกรุกป่ าจึงเพิ่มขึ ้น (Lewis and Runsten, 2007) ความร่ วมมื อระหว่าง Starbucks และ CI เกิ ดมาจากการผลักดันของ CI ในการคัดเลื อก Starbucks เข้ าร่วมโครงการอนุรักษ์ กาแฟ หรื อ Coffee Conservation Project (CCP) ในทางใต้ ของ ประเทศเม็กซิโกที่ต้องการสร้ างแนวคิดด้ านการอนุรักษ์ ธรรมชาติกับเกษตรกรรายย่อย โดยการสนับสนุน ให้ พวกเขาปลูกกาแฟใต้ ร่มไม้ ใหญ่ (shade-grown coffee) ซึ่งเป็ นแนวความคิดที่เชื่อมโยงการอนุรักษ์ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

169


ระบบนิเวศและการปลูกกาแฟไว้ ด้วยกัน (Millard, 2005) เพราะจากการวิจัยพบว่า การปลูกกาแฟใต้ ร่มไม้ ใหญ่ชว่ ยคงความหลากหลายทางชีวภาพของป่ าเดิม เช่น ชนิดของพืชและแมลง และการเป็ นที่อาศัยของ นกพันธุ์ต่างๆ แตปกติเกษตรกรรายย่อยที่อยู่ติดชายป่ าและได้ รับผลกระทบจากราคาตกต่ามักจะสร้ าง รายได้ เพิ่มขึ ้นโดยการตัดต้ นไม้ เพิ่ม หันไปทาฟาร์ มปศุสตั ว์ ซึง่ สร้ างมลพิษทางน ้าและรุกล ้าพื ้นที่ป่ามากขึ ้น (Millard, op.cit) การปลูกกาแฟใต้ ร่มไม้ ใหญ่จงึ เป็ นวิธีสร้ างความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ ป่ากับความอยู่ รอดของเกษตรกร CI เริ่ มโครงการนีใ้ น ค.ศ.1996-1997 ในเขต Chiapas ประเทศเม็กซิโก (Millard, Zettelmeyer and Maddison) โดยสาธิตให้ เกษตรกรเห็นว่าการปลูกกาแฟลักษณะนี ้สามารถสร้ างกาไรให้ เกษตรกรและยังเพิ่มคุณค่าทางสังคมและสิ่งแวดล้ อมด้ วย โครงการเริ่ มต้ นกับสหกรณ์ 6 แห่งโดยใช้ เงินทุน จาก Ford Foundation และ the US Agency for International Development (USAID) (Zettelmyer and Maddison, 2004) อุปสรรคที่สาคัญของโครงการคือ สิ่งจูงใจที่ทาให้ เกษตรกรหันมาหาการเกษตรที่มี ความยัง่ ยืนและหาวิธีการสร้ างอุปสงค์ที่มนั่ คงและต่อเนื่องจากตลาด ความเสี่ยง: ปั ญหาสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ราคาผันผวนและชุมชนท้ องถิน่ งานวิจยั “Reducing Risk – Landscape Approaches to Sustainable Sourcing, Starbucks and Conservation International Case Study” ปี 2013 โดย Landscapes for People, Food and Nature ระบุว่า Starbucks เผชิญความเสี่ยงด้ านการปฏิบตั ิการ (operational risk) จากการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศที่สง่ ผลต่ออุปทานจากเขตเพาะปลูกที่มีความสาคัญ และคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่ยากจน ในอุตสาหกรรมกาแฟ เพราะราคาเม็ดกาแฟที่ตกต่า ปริ มาณการบริ โภคกาแฟทัว่ โลกเพิ่มสูงขึน้ ในรอบ 20 ปี ที่ผ่านมา แต่การผลิตกาแฟตัวสาคัญๆ กลับมีความเสี่ยงด้ านผลผลิตสูง สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงมีผลมากต่อจานวนผลผลิต (International Coffee Organization, 2009) ของกาแฟพันธุ์หลักทังอราบิ ้ กา (55-58% ของปริ มาณการผลิตทัว่ โลก) และ โรบัสตา (42-45% ของปริ มาณการผลิตทัว่ โลก) เกษตรกรมีการเปลี่ยนที่เพาะปลูก การกาจัดแมลง และ เปลี่ ยนวิธี ช ลประทานมากขึน้ ซึ่ง ปั จ จัยทัง้ หมดมี ผ ลต่อคุณภาพกาแฟที่ ต่าลง (International Trade Center, 2010) และเพิ่มความผันแปรของราคา การผลิตและผลผลิตกาแฟที่ไม่แน่นอนกลายเป็ นปั ญหา สาคัญในรอบสิบปี ที่ผา่ นมา ทังๆ ้ ที่ปริมาณการผลิตทัว่ โลกเพิ่มสูงขึ ้น การผลิตกาแฟในบราซิลยังคงไปได้ ดี ในปี ที่ผา่ นมา แต่สภาพอากาศที่เย็นขึ ้นจะทาให้ ยอดการผลิตลดลงในปี นี ้ ในอินโดนีเซียผลผลิตลดลง 5% บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

170


เพราะราคาสินค้ าอย่างโกโก้ ปาล์มน ้ามัน และยางพาราเพิ่มขึ ้น ทาให้ เกษตรกรเปลี่ยนไปปลูกพืชประเภท อื่นทดแทน การผลิตในโคลัมเบียตกต่าที่สุดในรอบ 40 ปี โดยเฉพาะในรอบห้ าปี ที่ผ่าน เนื่องจากได้ รับ ผลกระทบอย่างหนักจากศัตรู พืชและสภาพอากาศ (Kissinger ,Brasser & Gross, 2013 หน้ า 3) Starbucks ยังตระหนักถึงความเสี่ยงด้ านชื่อเสียง เพราะการปลูกกาแฟมักก่อให้ เกิดการบุกรุ กป่ า นี่คือ เหตุผลสาคัญของการพัฒนาการออกใบรับรองและกระบวนการตรวจสอบกาแฟ โดยเป็ นข้ อกาหนดนี ้ได้ ระบุไว้ ในมาตรฐานของบริษัทว่าจะไม่มีการยกเว้ น Starbucks กังวลถึงอนาคตของการเพาะปลูกกาแฟ เพราะความผันแปรของสภาพอากาศ และ ราคาที่ลดลงในตลาดสินค้ าโภคภัณฑ์ ทาให้ เกษตรกรคิดทบทวนว่าจะปลูกกาแฟต่อหรื อไม่ การทาให้ เกษตรกรและชุมชนยังยึดมัน่ ในอาชีพปลูกกาแฟจึงเป็ นปั จจัยสาคัญต่อบริ ษัท รวมถึงการที่ประชากรในวัย ทางานที่ทางานเกษตรในประเทศกาลังพัฒนาลดลงจาก 81.8% ใน ค.ศ.1950 เป็ น 49.4% ใน ค.ศ.2010 (FAO and ILO Statistics Divisions, 2000) โดยทัว่ ไป ถ้ าเกษตรกรโค่นต้ นกาแฟทิ ้งเพื่อใช้ ที่ดินทาอย่าง อื่นไปแล้ ว แม้ วา่ ราคากาแฟจะกลับมาดีขึ ้น พวกเขาก็จะไม่กลับมาปลูกกาแฟอีก เพราะการปลูกกาแฟต้ อง ใช้ เวลานาน และการที่เกษตรกรแผ้ วถางที่ดินเพื่อปลูกพืชใหม่ก็ทาให้ เกิดความเสี่ยงด้ านสิ่งแวดล้ อมจาก การปล่อยก๊ าซเรื อนกระจก วิธีแก้ ปัญหาของบริ ษัทคือการจ่ายเงินให้ เกษตรกรสูงกว่าราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ รวมถึงมีวิธีปฏิบตั ิเพื่อดูแลผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้ อมที่ดีควบคูไ่ ปด้ วย Starbucks ตระหนักดีว่า ถึงแม้ วา่ บริษัทจะเป็ นผู้รับซื ้อรายสาคัญในตลาดโลก แต่ห่วงโซ่อปุ ทานทังหมดใหญ่ ้ มาก บริ ษัทต้ องทางาน นอกเหนือจากห่วงโซ่อปุ ทานของตนเองเพื่อสนับสนุนการปลูกกาแฟในชุมชนต่อไป Chiapas เป็ นพืน้ ที่ เพาะปลูกที่ มีความสาคัญต่อบริ ษัทในการนาเข้ ากาแฟและป้อนสินค้ าต่อ ร้ านค้ าปลีกของ Starbucks ในประเทศเม็กซิโก รวมถึงเป็ นพื ้นที่ป่าที่ยงั สมบูรณ์และมีความหลากหลาย ทางชีวภาพ โดยเฉพาะพื ้นที่ 121,400 เอเคอร์ ในเขตอนุรักษ์ El Triunfo ที่เป็ นที่อาศัยของเสือจากัวร์ ลิง สมเสร็ จ และสัตว์ ป่าอื่นๆ ในขณะเดียวกันก็ เป็ นพื น้ ที่ เพาะปลูกที่ ได้ รับผลกระทบอย่างมากจากสภาพ อากาศที่เปลี่ยนแปลงและมีพื ้นที่การเพาะปลูกลดลง พื ้นที่เพาะปลูกกาแฟอราบิกาได้ รับการคาดการณ์ว่า จะลดลงจาก 265,400 เฮคเตอร์ เ ป็ น 60,500 เฮคเตอร์ ภ ายใน ค.ศ.2050 (Schorth, Ladderach, Damperwolf, Eakin, Castillejos, Moreno, Pinto, Hernandez, Eitzinger, Raminez-Villegas, 2009 หน้ า 600-625) การเปลี่ยนแปลงนี ้มาจากอุณหภูมิที่คาดว่าจะสูงขึ ้น 2.2 องศาเซลเซียส และปริ มาณฝนที่ ลดลงประมาณ 80-85 มิลลิเมตร จนทาให้ พื ้นที่ที่สงู จากระดับน ้าทะเล 600 เมตรไม่สามารถเพาะปลูกได้ ดี บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

171


เกษตรกรจะต้ องย้ ายที่ดนิ ทากินไปยังพื ้นที่สงู ขึ ้นไปในระดับ 850-900 เมตร (Kissinger ,Brasser & Gross, 2013 หน้ า 9) การต้ องย้ ายที่เพาะปลูกนี ้ส่งผลกระทบต่อการขนส่งและประสิทธิภาพตลาด ความร่ วมมือระหว่ าง Starbucks กับ CI ในช่วงแรกของโครงการ Starbucks นามาตรฐานด้ านความยัง่ ยืนมาใช้ อนั เป็ นผลมาจากการริ เริ่ ม ของ CI และความตังใจของบริ ้ ษัทที่ต้องการสร้ างคุณค่าทางสังคมและสิ่งแวดล้ อม

และเพื่อลดความ

กดดันจากภาค NGO (Perez-Aleman & Sandilands, 2008 หน้ า 12) CI เริ่ มทางานร่วมกับ Starbucks ใน ค.ศ.1997 เพื่อสร้ างความมัน่ คงของอุปทานการปลูกกาแฟ แบบยั่ง ยื น โดย CI

พยายามหาระบบแรงจูง ใจที่ ม าจากตลาด เพื่ อสร้ างผลกระทบทางสัง คมและ

สิ่งแวดล้ อมที่ดีขึ ้นจากการเพาะปลูก การแปรรูป และการกระจายสินค้ า CI มองว่าหาก Starbucks ซึ่งเป็ น ผู้รับซื ้อขนาดใหญ่รับซื อ้ สินค้ าจากโครงการนี ้เกษตรกรจะมีรายได้ มากขึ ้น และสร้ างอุปทานที่มนั่ คงควบคู่ กันไปกับการอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ (Zettelmyer and Maddison, 2004) CI เป็ นพันธมิตร กับบริ ษัทกาแฟรายใหญ่หลายราย เช่น Green Mountain Coffee, Frontier Organic Coffee นอกเหนือไปจาก Starbucks (Linton, 2005) ในช่วงแรกเริ่ ม CI ทาหน้ าที่ให้ ข้อมูลกับเกษตรกรเพื่อให้ พวกเขาเปลี่ยนวิธีปลูกกาแฟเป็ นการปลูก แบบใต้ ร่มไม้ ใหญ่ ในขณะที่ Starbucks ตกลงรับซือ้ ผลิตภัณฑ์ที่มาจากโครงการใน Chipapas ต่อมา Starbucks ให้ เงินสนับสนุนจานวน 150,000 เหรี ยญสหรัฐ แต่ยงั ไม่ได้ ตกลงรับซื ้อกาแฟอย่างเป็ นทางการ ในปี ค.ศ.1999 Starbucks ได้ สร้ างผลิตภัณฑ์ใหม่ในชื่อ “Organic Shade Grown Mexico” ซึ่งเป็ นกาแฟ ที่มาจากโครงการอนุรักษ์ ของ CI ในปี ต่อมาทังสององค์ ้ กรก็ขยายความสัมพันธ์ ในการขยายพื ้นที่ของ เกษตรกรที่ เข้ าร่ วมโครงการและสายผลิ ตภัณฑ์ถาวรของ Starbucks ที่ เป็ นกาแฟที่มีความยั่งยืน และ พัฒนามาตรฐานร่ วมกันในการจัดหากาแฟ รวมทังชั ้ กชวนให้ ผ้ นู ารายอื่นๆ ในอุตสาหกรรมกาแฟเข้ าร่ วม โครงการเพื่อขยายวิธีปฏิบตั ินี ้ไปในวงกว้ าง (Zettelmyer and Maddison; Austins and Reavis, 2001) จะ เห็นว่าความสัมพันธ์ของทังคู ้ เ่ ติบโตขึ ้นเรื่ อยๆ ใน ค.ศ.2003 Starbucks ให้ ทุนสนับสนุนจานวน 2.5 ล้ านเหรี ยญสหรัฐแก่ CI ในการเริ่ มต้ น กิจการใหม่ คือ กองทุน Verde Ventures ที่จดั หาเงินกู้ให้ เกษตรกรทังที ้ ่รวมกลุ่มในรูปสหกรณ์หรื อธุรกิจ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

172


ขนาดกลางและขนาดย่อยแบบอื่น (Starbucks, “Starbucks Corporate Social Responsibility Annual Report”, 2003) ใน ค.ศ.2011 มูลค่าเงินกู้ของ Verde Ventures อยู่ที่ 14.7 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ ผ่านการ สนับสนุนจาก Root Capital และ Calvert Foundation และสามารถช่วยเหลือเกษตรกร 45,000 รายใน 7 ประเทศ Starbucks ตังใจที ้ ่จะเพิ่มจานวนเงินกู้ให้ เป็ น 20 ล้ านเหรี ยญสหรัฐภายใน ค.ศ.2015 (PerezAleman & Sandilands, 2008 หน้ า 8) เป้าหมายหลักในการทางานร่วมกันของ Starbucks และ CI คือการสร้ างแบบจาลองทางธุรกิจ ใหม่แก่กาแฟที่ มี ความยั่ง ยื น โดยการสร้ างมาตรฐานใหม่ Starbucks ไม่มี ประสบการณ์ ในการสร้ าง มาตรฐานทางสิ่ งแวดล้ อมมาก่อน ถึงแม้ ว่าจะมีการปฏิ บตั ิง านโดยใช้ ม าตรฐานอย่าง Fair Trade แต่ Starbucks ไม่เคยได้ เข้ าร่วมกาหนดมาตรฐานของ Fair Trade ในเขต Chiapas

จุดเด่นของโครงการพัฒนามาตรฐาน

คื อ การสร้ างวิ ธี ป ฏิ บัติที่ ดี ที่สุด ในการปลูก กาแฟในท้ องถิ่ น นี ้ (Zettelmyer

and

Maddison, op.cit) เป้าหมายนี ้เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาหลักการ Conservation Principles for Coffee Production ที่ตีพิมพ์ในค.ศ. 2001 โดยกลุ่มเอ็นจีโอที่รวมตัวกันคือ CI, the Rainforest Alliance และ the Smithsonian Migratory Bird Center ด้ วยการสนับสนุนจาก Starbucks หลักการนี ้กล่าวถึงบรรทัดฐาน และวิธีปฏิบตั ิทวั่ ไปที่เกษตรกรและผู้แปรรู ปควรจะทา เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้ อมในพื ้นที่เพาะปลูกกาแฟคือ การอนุรักษ์ชีวิตสัตว์ป่า ดิน น ้า พลังงาน ระบบนิเวศ ทางเดินน ้า การจัดการศัตรูพืช การกาจัดเชื ้อโรค และ ของเสีย หลักการนี ้ได้ รับการพัฒนาขึ ้นมาโดยตระหนักถึงความยากจนของผู้ปลูกกาแฟและมีในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของพวกเขาโดยการใช้ ห่วงโซ่อุปทานแบบยั่งยืน หลักการนีต้ งใจจะใช้ ั้ เป็ นแม่แบบในการ พัฒนามาตรฐานสิ่งแวดล้ อมเฉพาะท้ องถิ่น และแนวปฏิบตั ิของบริ ษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมกาแฟ รวมถึง เพื่อเป็ นต้ นแบบด้ านนโยบายสาธารณะ CI พยายามที่จะดึงบริ ษัทต่างๆ เข้ าร่ วมเป็ นพันธมิตร แต่ก็พบอุปสรรคในการเชิญชวนบริ ษัทให้ เปลี่ยนวิถีการจัดหาสินค้ า Starbucks ถือเป็ นบริ ษัทแรกที่เข้ าร่วม the Conservation Principles ในการ สร้ างบรรทัดฐานนี ้ CI ได้ ร่วมมื อกับองค์กรท้ องถิ่น เช่น มหาวิทยาลัยในเม็กซิโก EI Colegio de la Fronterla Sur (ECOSUR) และ Universidad Autonoma de Chiapas (UNACH) ตัวแทนรัฐบาลที่ทางาน ด้ านอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม The Government Agency Commission for Natural Protected Areas (CONANP) และธนาคารแห่ง เม็กซิ โก (BANAMEX) เพื่ อกาหนดและปรั บเปลี่ ยนแนวปฏิ บัติร่วมกัน โดยเฉพาะในบริ บทที่เหมาะสมกับ Chiapas การดึงพันธมิตรท้ องถิ่นจากหลายๆ ด้ านมาทางานร่ วมกัน บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

173


นอกจากจะทาให้ CI ได้ ข้อมูลจากท้ องถิ่น และทราบปั ญหาในการที่เกษตรกรเปลี่ยนมาเป็ นปลูกกาแฟใน ร่มแล้ ว ภาคเอกชนและรัฐท้ องถิ่นยังให้ การสนับสนุนด้ านตลาดและบริ การทางการเงิน เพื่อสร้ างแรงจูงใจ ให้ เกษตรกรเปลี่ยนพฤติกรรม (Humphrey; Reardon, Codron, Busch, Bingen and Harris, 2001 หน้ า 421-435) จากโครงการที่ Chiapas Starbucks ใช้ หลัก Conservation Principles for Coffee Production ในการพัฒนาหลักปฏิบตั ิของตนเองในการเลือกซือ้ เม็ดกาแฟ ใน ค.ศ.2001 Starbucks เริ่ มทดลอง โครงการคู่ค้า Preferred Supplier Program (PSP) ด้ วยความร่ วมมื อกับ CI หลักเกณฑ์ของ Conservation Principles ดัดแปลงมาจากการทางานร่วมกันของ CI และเอ็นจีโอด้ านสิ่งแวดล้ อมเจ้ าอื่นๆ ผู้ผลิต และองค์กรท้ องถิ่น (Millard) วัตถุประสงค์คือเพื่อขอความร่วมมือจากคูค่ ้ าปั จจุบนั และรายอื่นๆ เพื่อ เป็ นพันธมิตรในการพัฒนาแหล่งป้อนสินค้ ากาแฟที่มีความยัง่ ยืนอย่างแท้ จริ ง เพื่อการผลิตกาแฟที่ดีที่สุด ของโลก (Starbucks’ Green Coffee Purchasing Pilot Program for Preferred Supplier) คูค่ ้ าที่ได้ คะแนนในการทางานมากกว่า 60% จะมีโอกาสได้ รับคัดเลือกให้ ทาสัญญาและรับซื ้อสินค้ าก่อน (Millard) บริษัทได้ ใช้ หลักการนี ้ในการวางแผนกลยุทธ์การจัดซื ้ออย่างยัง่ ยืนในระยะยาว โดยใช้ แบบจาลองทางธุรกิจ ที่เน้ นถึงคุณค่าต่อสังคมและสิ่งแวดล้ อมโดยรวม รวมถึงความต้ องการของทุกฝ่ ายในห่วงโซ่อุปทานเข้ า ด้ วยกัน ตังแต่ ้ ผ้ ปู ลูกไปถึงผู้บริโภค หลังจากทดลองโครงการอยู่ 2 ปี ปี ค.ศ. 2004 Starbucks ได้ จดั เวทีแสดงความคิดเห็นเพื่อรับฟั งผู้ มีส่วนได้ ส่วนเสียในซีแอตเติล เพื่อพัฒนาหลักการ PSP ไปสู่ขนั ้ ตอนต่อไป ผู้ที่เข้ าร่ วมมีทงภาควิ ั้ ชาการ องค์กรเอ็นจีโอนานาชาติ และผู้แทนของสหกรณ์เกษตรท้ องถิ่นจากเม็กซิโก ซึ่งผู้เข้ าร่วมได้ วิพากษ์ วิจารณ์ หลักการ PSP ว่าไม่ใส่ใจบริ บททางสังคมมากพอ แต่เน้ นเฉพาะด้ านสิ่งแวดล้ อม (Lee, 2004) และ มาตรฐานนี ้ไม่เหมาะสมกับเกษตรกรรายย่อยที่ทางานกันในลักษณะครอบครัวหรื อสหกรณ์ เช่น กฎเรื่ อง แรงงานและค่าจ้ างไม่สามารถนาไปปฏิบตั ไิ ด้ ในการจ่ายเงินให้ สมาชิกภายในครอบครัว เพราะปกติสมาชิก ครอบครัวมักจะไม่จ่ายค่าแรงกันเอง สมาชิกรุ่ นใหม่ในครอบครัวมีหน้ าที่ที่จะกลายมาเป็ นเสาหลักต่อไป และได้ รับการปฏิบตั ิแตกต่างจากแรงงานทัว่ ไป ผู้เข้ าร่ วมแสดงความคิดเห็นขอให้ Starbucks ผ่อนผัน เกณฑ์ให้ สามารถนามาใช้ ได้ กบั ผู้ปลูกกาแฟหลายๆ ประเภท เนื่องจากเกษตรกรรายย่อยไม่ได้ ขายกาแฟให้ Starbucks โดยตรง แต่มกั ผ่านคนกลาง มาตรฐานที่สร้ างขึ ้นจึงควรจะปรับให้ เข้ ากับคูค่ ้ าในห่วงโซ่อปุ ทาน ที่มีบทบาทต่างกัน เช่น ผู้ปลูก สหกรณ์ พ่อค้ าคนกลาง นอกจากนี ้ยังมีความเห็นเรื่ องแรงจูงใจที่จะให้ คคู่ ้ า บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

174


ปรั บเปลี่ ยนเพื่ อให้ เข้ ากับมาตรฐานว่าไม่ม ากพอกับต้ นทุนที่เกิดขึน้ และสุดท้ ายแล้ วมาตรฐานอาจจะ กลายเป็ นตัวทาร้ ายเกษตรกรายย่อยหรื อผลักพวกเขาให้ ออกจากตลาด (Ibid) ในโครงการของ Starbucks การใช้ การเงินคาร์ บอนเป็ นอีกกลไกที่นามาใช้ สร้ างแรงจูงใจเพื่อเพิ่ม รายได้ ให้ เกษตรกร และให้ พวกเขายังปลูกกาแฟต่อไป Starbucks และ CI ทางานร่ วมกับ Ambio และ Plan Vivo ใน ค.ศ.2008 เพื่อหาอุตสาหกรรมที่สมัครใจ (voluntary sector) ที่จะรับซื ้อคาร์ บอน โครงการนี ้ ประสบผลสาเร็ จใน Chiapas เม็กซิโก (Perez-Aleman & Sandilands, 2008 หน้ า 11) และใน ค.ศ.2010 CI ได้ ทาข้ อตกลงกับ Global Environment Facility (GEF) เพื่อขยายและทาซา้ การจัดการลุ่มนา้ (watershreds) 10 แห่งในเขต Sierra-Coast ของ Chiapas นอกจากนี ้ Starbucks ได้ จ่ายค่าตอบแทน คุณค่าระบบนิเวศอย่างเป็ นรูปธรรม (payments for ecosystems services – PES) (Perez-Aleman & Sandilands, 2008 หน้ า 12) เพื่อสนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ เป็ นตัวเพิ่มรายได้ และปกป้องระบบนิเวศ การทางานร่ วมกับ CI ทาให้ Starbucks มีโอกาสลงทุนและสนับสนุนชุมชนในพืน้ ที่หลายๆ ประเทศที่เกษตรกรมีวิถีเกษตรที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม มีการรักษาป่ า พัฒนาที่ดินเสื่อมโทรม และลดการ ปล่อยคาร์ บอน CI และ Starbucks ทางานร่วมกันใน Chiapas เม็กซิโก สุมาตราในอินโดนีเซีย และกาลัง เริ่ มโครงการใหม่ในบราซิลใน ค.ศ. 2013 (Perez-Aleman & Sandilands, 2008 หน้ า 16) โดยความ ร่วมมือของ CI และ Starbucks ได้ รับการปรับไปตามสถานการณ์ เช่น ความกังวลของสภาพอากาศที่ เปลี่ยนแปลงที่ถือเป็ นความเสี่ยงสาคัญ โครงการในช่วงหลังๆ จึงมีการนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เข้ ามา ประกอบด้ วย และใช้ เป็ นตัวประกอบการจัดการโครงการ CI ยังเป็ นพันธมิตรที่ช่วยเสริ มความสัมพันธ์กบั รัฐ บาลและผลักดันในเชิ ง นโยบาย ความร่ วมมื อกันของทัง้ สององค์กรได้ รับการทบทวนใน ค.ศ.2011 ก่อนที่จะต่อสัญญากันอีก 2 ปี (Perez-Aleman & Sandilands, 2008 หน้ า 18) มาตรฐาน C.A.F.E หลังจากเปิ ดเวทีรับฟั งความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียใน ค.ศ.2004 Starbucks แก้ ไขและ ปรับโครงการ PSP ให้ กลายเป็ น the Coffee and Farmer Equity Practices (C.A.F.E) โดยมีการประเมิน 4 ด้ านเพื่อให้ คะแนนรวม คือ คุณภาพสินค้ า ความรับผิดชอบต่อเศรษฐกิจ (Economic Accountability) ความรับผิดชอบต่อสังคม และความเป็ นผู้นาสิ่งแวดล้ อม (Environmental Leadership) (การปลูกและ การแปรรูปกาแฟ) (C.A.F.E Practices Overview Starbucks, 2006) หลักเกณฑ์นี ้มีขึ ้นเพื่อใช้ กับคูค่ ้ า บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

175


ปั จจุบนั ของ Starbucks เช่น ในด้ านความรับผิดชอบต่อเศรษฐกิจ คู่ค้า จะต้ องแสดงให้ เห็นความโปร่ งใส ของกรรมสิทธิ์ ห้ นุ (equity) และความยัง่ ยืนทางการเงินของเครื อข่ายจัดหาสินค้ า เช่น แสดงให้ เห็นว่า เกษตรกรได้ รับรายได้ ที่เป็ นธรรมในการเพาะปลูก คู่ค้า (ที่เป็ นสหกรณ์ ผู้แปรรู ปหรื อผู้ส่งออก) ต้ องแสดง เอกสารที่จะถูกตรวจสอบย้ อนไปได้ ถึงที่ มาของกาแฟและค่าตอบแทนที่จ่ายให้ เกษตรกร (จาก Starbucks “C.A.F.E. Practices Generic Evaluation Guidelines” ปี 2004) ในหมวดความรับผิดชอบต่อสังคมนัน้ กล่าวถึงการจ้ างงานและสภาพในการทางาน ส่วนหมวด “ความเป็ นผู้นาด้ านสิ่งแวดล้ อม” พูดถึงน ้า ดิน การใช้ พลังงาน การจัดการของเสียและความหลากหลายทางชีวภาพในแต่ละขันตอนของการเพาะปลู ้ ก และแปรรูป มาตรฐาน C.A.F.E มีความยืดหยุน่ และการสนับสนุนทางด้ านเทคนิคเพื่อช่วยเหลือให้ เกษตรกรรับ มาตรฐานไปใช้ ซึ่งเป็ นการปรับจากอุปสรรคที่เผชิญในโครงการ PSP ซึ่งทาให้ Starbucks ได้ เรี ยนรู้ว่า เกษตรกรขาดความช่วยเหลือทางด้ านเทคนิคและการเงิน ซึ่งเป็ นปั จจัยสาคัญต่อการรับมาตรฐานไปใช้ Starbucks จึงเพิ่มแผนการพัฒนาใน 2 ด้ าน คือ 1) การให้ องค์กรภายนอกเข้ ามามีส่วนร่วม คือ Scientific Certification Systems (SCS) เป็ นผู้ประสานงานด้ านกระบวนการตรวจสอบ เริ่ ม ใน ค.ศ.2004 (Starbucks, “Starbucks Coffee Agronomy Company Opens in Costa Rica to Help Farmers Improve Their Coffee Quality”, 2004) 2) สร้ างมาตรฐานเพิ่มเติมเพื่อให้ เหมาะสมกับบริ บทและข้ อจากัด ของเกษตรกร มาตรฐาน C.A.F.E. ที่ Starbucks สร้ างขึ ้นนันมี ้ ตวั บ่งชี ้กว่า 200 ข้ อ โดยด้ านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้ อมและวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับพื ้นดินเพาะปลูกสาหรับเกษตรกรรม (agronomics) อยู่ภายใต้ เครื่ องมือเดียว C.A.F.E. เป็ นวิธีปฏิบตั ิที่เฉพาะเจาะจงและเหมาะสมที่จะใช้ ทงกั ั ้ บพื ้นที่เกษตร (farm-level) และ โรงบ่ม (mill-level) และมีตวั บ่งชี ้ที่นอกเหนือไปจากระดับพื ้นที่เกษตร (Perez-Aleman & Sandilands, 2008 หน้ า 4) มาตรฐานนี ้จะถูกประเมินโดยหน่วยงานภายนอก คือ SCS Global Services จากคูม่ ือตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน C.A.F.E ของ Starbucks version 5.1 เดือนมีนาคม ค.ศ. 2013 (C.A.F.E. Practices Verifier and Inspector Operations Manual) ระบุถึงการตรวจสอบและการ รับรองมาตรฐานโดย SCS Global Services ดังนี ้ 1) การสมัครเข้ าร่วมโครงการ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

176


มีเงื่อนไข 2 ประการที่ไม่วา่ เกษตรกร ผู้แปรรูปหรื อคูค่ ้ าของ Starbucks ต้ องผ่านก่อนสมัครเข้ าร่วม โครงการมาตรฐาน C.A.F.E คือ คุณภาพเม็ดกาแฟที่ยงั ไม่ผ่านการคัว่ (green coffee) และผู้สมัครต้ อง แสดงหลักฐานด้ านความรับผิดชอบ (accountability) ทางเศรษฐกิจในสายห่วงโซ่อุปทาน คือ ระบบ เอกสารการจ่ายเงินและระบบการปฏิบตั กิ ารที่สามารถอยูร่ อดได้ ทางเศรษฐกิจ (economics viability) เมื่อ ผ่านการพิจารณาทัง้ สองเรื่ องแล้ วเกษตรกร ผู้แปรรู ป หรื อคู่ค้าถึงจะสมัครเข้ าร่ วมโครงการมาตรฐาน C.A.F.E ได้ โดยต้ องกรอกใบสมัครและส่งผลแบบประเมินตนเองก่อน โครงการ C.A.F.E กาหนดว่าทุกฝ่ ายในห่วงโซ่อปุ ทานตังแต่ ้ ผ้ เู พาะปลูก ผู้แปรรูป ผู้บรรจุกาแฟ ไป จนถึงคู่ค้าผู้ส่งออก ต้ องเข้ ารั บ การประเมินและตรวจสอบ คู่ค้าหลักที่สมัครเข้ าร่ วมโครงการต้ องแสดง รายชื่อทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องที่ครอบครองตังแต่ ้ ผลกาแฟสดหรื อเชอร์ รี่ (cherry) กาแฟกะลา (Parchment Coffee) เม็ดกาแฟที่ยงั ไม่ผ่านการคัว่ (green coffee) คะแนนที่ให้ จะเป็ นคะแนนรวม (aggregate score) ของทัง้ ห่วงโซ่อุปทานนัน้ Starbucks ถื อว่าทุกฝ่ ายมี ส่วนสาคัญในการสร้ างผลลัพธ์ ด้านความยั่งยื น ถึงแม้ ว่าจะมีการสร้ างผลกระทบทางสังคมหรื อสิ่งแวดล้ อมในรู ปแบบที่แตกต่างกันไป การประเมินแต่ละ ฝ่ ายจะมีการให้ น ้าหนักของคะแนนไม่เท่ากัน โดยพิจารณาจากจานวนการผลิตหรื อแปรรู ปเม็ดกาแฟที่ยงั ไม่ ผ่านการคัว่ ว่า แต่ละฝ่ ายมีการผลิตหรื อแปรรูปอยูใ่ นปริมาณเท่าไร แผนภูมิ 6.1 รูปแบบของห่วงโซ่อปุ ทานของ Starbucks

ที่มา: SCS Global Services (2013). Starbucks Coffee Company, C.A.F.E. Practices Verifier and Inspector Operations Manual, หน้ า 12

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

177


Starbucks สร้ างมาตรฐาน C.A.F.E ด้ วยความเข้ าใจขนาดของธุรกิจที่แตกต่าง และข้ อจากัดของ แต่ละฝ่ ายในห่วงโซ่อุปทานโดยเฉพาะกับเกษตรกรรายย่อย ดังนันมาตรฐานการตรวจสอบไร่ ้ กาแฟขนาด ใหญ่ (พื ้นที่มากกว่า 50 เฮกเตอร์ ) และขนาดกลาง (12-49.9 เฮกเตอร์ ) จึงมีข้อกาหนดหลายข้ อที่แตกต่าง กับไร่ กาแฟขนาดเล็ ก (น้ อยกว่า 12 เฮกเตอร์ ) เช่น ไร่ ขนาดกลางและขนาดใหญ่จ ะมี ตวั ชี ว้ ัดที่ต้องถูก ตรวจสอบอยู่ 181 ข้ อ แต่ไร่ ขนาดเล็กจะมีเพียง 123 ข้ อ โดยมี 42 ข้ อที่กาหนดขึ ้นมาเฉพาะสาหรับไร่ กาแฟขนาดเล็ ก แต่ เ ป็ นตัว ชี ว้ ัด ที่ ส ร้ างขึ น้ ส าหรั บ ใช้ ป ระเมิ น องค์ ก รที่ ท าหน้ า ที่ ส นับ สนุน เกษตรกร (producer support organization – PSO) ซึ่งองค์กรที่ทาหน้ าที่สนับสนุนเกษตรกรอาจเป็ นคู่ค้าของ Starbucks โรงแปรรูป หรื อสหกรณ์ เป็ นต้ น เกณฑ์ด้าน PSO ถูกสร้ างขึ ้นเพื่อให้ เกษตรกรรายย่อยเข้ ารับ การช่วยเหลือจากองค์กรเหล่านี ้เพื่อเตรี ยมความพร้ อมเข้ าโครงการ C.A.F.E องค์กรที่ทาหน้ าที่ตรวจสอบและรับรองมาตรฐานมักจะเป็ นองค์กรภายนอกที่ทางานในภูมิภาคที่มี ความคุ้นเคยและมีประสบการณ์ทางานกับกระบวนการผลิตกาแฟในท้ องถิ่น โดย SCS Global Services ได้ แสดงรายชื่อขององค์กรภายนอกในแต่ละประเทศไว้ บนเว็บไซต์ (SCS Global Services, 2013c) ซึ่งคู่ ค้ าของ Starbucks สามารถติดต่อเพื่อขอรั บการตรวจสอบได้ การขอตรวจสอบและรั บรองมาตรฐาน C.A.F.E นันท ้ าในช่วงไหนของปี ก็ได้ แต่ช่วงที่ดีที่สดุ คือช่วงเก็บเกี่ยว เพราะจะได้ การรับรองด้ วยช่วงเวลาที่ ยาวกว่า เมื่อใบสมัครผ่านการพิจารณาจาก Starbucks แล้ วองค์กรที่ขอรับการตรวจสอบจะต้ องทาสัญญา การตรวจสอบและรับผิดชอบค่าใช้ จ่ายที่เกิดขึ ้นจากการตรวจสอบ ค่าใช้ จ่ายนี ้เป็ นอัตราคงที่และขึ ้นอยู่กบั จานวนวันที่ ต้องใช้ ดาเนินการตรวจสอบ การรับรองมาตรฐาน และการติดตามผล ที่ ทงั ้ สองฝ่ ายตกลง ร่วมกัน 2) ขันตอนในการตรวจสอบ ้ เริ่ มจากการวางแผนก่อนลงพืน้ ที่ (pre-onsite planning) การตรวจสอบในพืน้ ที่จริ งและการ รายงานเพื่อพิจารณาหลังการลงพื ้นที่ โดยแสดงเป็ นแผนภาพดังนี ้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

178


แผนภูมิ 6.2 ขันตอนในการตรวจสอบห่ ้ วงโซ่อปุ ทานของ Starbucks

การวางแผนก่อนลงพื ้นที่ •เสนอขอบเขตโครงการ

การตรวจสอบในพื ้นที่จริ ง •เปิ ดประชุมกับผู้มีสว่ นได้

และทาสัญญา

ส่วนเสีย

•คัดเลือกทีมตรวจสอบ

•ตรวจสอบพื ้นที่จริ ง

•อ้ างอิงข้ อมูลการสมัคร

•รวบรวมผล

จากระบบ

•ประชุมสรุ ปกับผู้มีสว่ นได้

•เตรี ยมแผนการลงพื ้นที่

ส่วนเสีย

การรายงานผล •ส่งผลรายงานผ่านระบบ •ทาการประเมินผลภายใน •ส่งผลให้ ลกู ค้ ารับรอง •ส่งผลรายงานสุดท้ ายให้ Starbucks และ SCS

ที่มา: SCS Global Services (2013, หน้ า 17) a. การขอเอกสารล่วงหน้ า - ผู้ตรวจสอบจะขอเอกสารล่วงหน้ าจากคู่ค้าที่สมัครเข้ าโครงการเพื่อ ตรวจสอบตามหัวข้ อหลัก ตัวอย่างเช่น  เอกสารด้ านความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ (Economic Accountability) เช่น ใบเสร็ จหรื อ บันทึกทางบัญชีของการซื ้อขายกาแฟในห่วงโซ่อปุ ทาน  เอกสารด้ านความรับผิดชอบทางสังคม (social responsibility) เช่น เอกสารการจ่าย ค่าแรงพนักงาน คู่มื อนโยบายด้ านพนักงาน ข้ อมูลของพนักงานแต่ละคนรวมถึง พนักงานที่ ถูกให้ ออก นโยบายเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเรื่ องการไม่เลือกปฏิบตั ิต่อพนักงานและเรื่ องแรงงาน เอกสารเรื่ องแผนเงิน บานาญ แผนการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน รายงานด้ านอุบตั เิ หตุและการบาดเจ็บ ฯลฯ  เอกสารด้ านความเป็ นผู้นาด้ านสิ่งแวดล้ อม (environmental leadership) ในการปลูก กาแฟ เช่น แผนบริ หารจัดการไร่ กาแฟ แผนที่ล่าสุดของถนน พื ้นที่เพาะปลูก พื ้นที่อนุรักษ์ ที่เกี่ยวข้ องกับ พื ้นที่เพาะปลูก แผนการใช้ สารเคมีเกษตร แผนกาจัดศัตรู พืช หลักฐานการวิเคราะห์ดินและพืช (foliar) แผนจัดการดินและพืช แผนการจัดการร่มเงาให้ กาแฟ จานวนต้ นไม้ ที่สร้ างร่มเงาและต้ นกาแฟ รายนาม

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

179


สัตว์ป่าที่อยู่ในพื ้นที่ หลักฐานทางกฎหมายหากเป็ นพื ้นที่สงวน เอกสารการใช้ น ้า เอกสารการประเมิน ความเสี่ยงและการลดผลกระทบจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ฯลฯ  เอกสารด้ านความเป็ นผู้นาด้ านสิ่งแวดล้ อม (environmental leadership) ในการแปรรู ป กาแฟ เช่น ระบบเอกสารในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ย้อนกลับ (traceability) เอกสารการทดสอบน ้า แผน จัดการน ้าเสีย แผนจัดการของเสีย บันทึกการใช้ พลังงาน บันทึกการใช้ น ้า บันทึกการซื ้อขายคาร์ บอนและ อื่นๆ  เอกสารขององค์กรที่สนับสนุนเกษตรกร (producer support organization) เช่น ระบบ เอกสารในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ย้อนกลับ (traceability) รายชื่อเกษตรกรรายย่อยที่ลงทะเบียนเข้ าร่วม โครงการ C.A.F.E เอกสารและบันทึกการอบรม หลักฐานการวิเคราะห์ดินและพืช (foliar) แผนจัดการดิน และพืช รายชื่อสัตว์ป่าที่อยูใ่ นพื ้นที่ ฯลฯ b. การวางแผนก่อนลงพื ้นที่ (pre-onsite planning) ก่อนที่ผ้ ตู รวจสอบจะลงพื ้นที่จริ งต้ องมีการสรุป กิจกรรมในการตรวจสอบว่าไปที่ไหน เมื่อไร พบปะใคร ห่วงโซ่อปุ ทานแต่ละสายมีความซับซ้ อนและขนาด ที่แตกต่างกัน เช่น คูค่ ้ าของ Starbucks หลายรายทางานกับทังเกษตรกรรายใหญ่ ้ ขนาดกลาง รายย่อย และโรงเพาะบ่มหลายแห่ง มาตรฐาน C.A.F.E จึงมีข้อกาหนดการเลือกขนาดกลุ่มตัวอย่าง (sampling size) ที่มีสตู รคานวณและหลักกาหนดเฉพาะ เพื่อให้ แน่ ใจว่าผลของการตรวจสอบเป็ นข้ อมูลใช้ แทนกลุ่ม ประชากรทังหมดในห่ ้ วงโซ่อปุ ทานได้ เมื่ อลงพื น้ ที่ ผู้ต รวจสอบจะเริ่ ม ต้ นขัน้ ตอนด้ วยการเปิ ดประชุม กับผู้มี ส่วนได้ เสี ยเพื่ อจะได้ เข้ า ใจความคาดหวัง อธิ บายขัน้ ตอนต่างๆ ในการตรวจสอบและรับรอง ตรวจเอกสาร ถามคาถามและทา ความเข้ า ใจสถานที่ และบริ บทแวดล้ อม ผู้ตรวจสอบต้ องบันทึกตาแหน่ง GPS ของทุกสถานที่ ที่ไ ป ตรวจสอบ เพื่อระบุตาแหน่งและขนาดของพื ้นที่ที่แน่นอน c. การลงพื ้นที่ตรวจสอบ เจ้ าหน้ าที่ใช้ หลักเกณฑ์ในการพิจารณาตามตารางต่อไปนี ้ หลักเกณฑ์แต่ ละข้ อมีน ้าหนักของคะแนนแตกต่างกัน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

180


ตาราง 6.4 หลักเกณฑ์การพิจารณาในการตรวจสอบมาตรฐาน C.A.F.E เกณฑ์ เกณฑ์ยอ่ ย 1. ความรับผิดชอบต่อเศรษฐกิจ  สิ่งจูงใจเพื่อความยัง่ ยืน (economic accountability) - หลักฐานที่แสดงความ เป็ นเกณฑ์ที่ได้ รับการ โปร่งใสทางการเงิน พิจารณาก่อนที่จะผ่าน - ความเที่ยงธรรมในการ คุณสมบัตใิ นการสมัครเข้ า กระจายกาไร (equity of ร่วมโครงการ premium distribution)

วิธีที่ใช้ ตรวจสอบ  การตรวจสอบเอกสาร  การสัมภาษณ์เกษตรกร

 ความอยูร่ อดทางการเงิน (financial viability) 2. ความรับผิดชอบทางสังคม (social responsibility)

 ระเบียบปฏิบตั ิและนโยบายด้ าน  การสัมภาษณ์พนักงาน การจ้ างงาน ปริมาณพนักงานที่ - ค่าแรงและสิทฺธิประโยชน์ สัมภาษณ์ต้องเป็ นไปตาม - ความเป็ นอิสระในการ ข้ อกาหนดการสัมภาษณ์ รวมกลุม่ และการร่วมมือกัน เช่น เลือกขนาดกลุม่ เพื่อต่อรอง ตัวอย่าง (sampling size) - จานวนชัว่ โมงทางาน คือ ไม่น้อยกว่า 15% ของ - การใช้ แรงงานเด็ก การ พนักงาน และไม่ทาการ เลือกปฏิบตั ิ และการบังคับ สัมภาษณ์แบบกลุม่ ใช้ แรงงาน เท่านัน้ จะต้ องมีการ สัมภาษณ์เดี่ยว ใน  สภาพในการทางาน ระหว่างการสัมภาษณ์ - การเข้ าถึงด้ านที่พกั อาศัย จะต้ องไม่มีผ้ บู ริหารเข้ า และสิ่งอานวยความสะดวก ร่วม เป็ นต้ น ด้ านน ้าและสุขอนามัย - การเข้ าถึงการศึกษา  การตรวจสอบเอกสาร - การเข้ าถึงบริการทาง  การสังเกตการณ์ การแพทย์ - การอบรมและความ ปลอดภัยในการทางาน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

181


3. ความเป็ นผู้นาด้ าน สิ่งแวดล้ อม (environmental leadership) ในการปลูก กาแฟ

 การปกป้องรักษาแหล่งน ้า - การรักษาปริมาณน ้า - การชลประทานและแหล่ง น ้า

 การสัมภาษณ์เกษตรกร  การตรวจสอบเอกสาร  การสังเกตการณ์

 การปกป้องรักษาดิน - การควบคุมการกัดเซาะ หน้ าดิน - การรักษาความสมบูรณ์ ของดิน  การรักษาความหลากหลายทาง ชีวภาพ - การดูแลต้ นไม้ ที่จะให้ ร่ม เงาแก่ต้นกาแฟ - การอนุรักษ์สตั ว์ป่า - พื ้นที่เขตอนุรักษ์  การจัดการและการรายงานด้ าน สิ่งแวดล้ อม - การควบคุมศัตรูพืชและโรค - การจัดการพื ้นที่เกษตรและ การรายงานผล - การสร้ างผลผลิตในระยะ ยาว - การเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศ 4. ความเป็ นผู้นาด้ าน การแปรรูปแบบเปี ยก  การสัมภาษณ์พนักงาน สิ่งแวดล้ อม (environmental  การอนุรักษ์น ้า  การตรวจสอบเอกสาร leadership) ในการแปรรูป - การลดปริมาณการใช้ น ้า  การสังเกตการณ์ กาแฟ ใช้ กบั การแปรรูป - การลดผลกระทบจากน ้า กาแฟทังแบบแห้ ้ งและแบบ เสีย เปี ยก คือ จากผลกาแฟสดสี  การกาจัดของเสีย บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

182


แดง ที่เรี ยกว่า เชอร์ รี่  การอนุรักษ์พลังงาน (cherry) ผ่านกระบวนการ  การบริ หารจัดการและติดตาม แปรรูปของกาแฟกะลา (tracking) (Parchment Coffee) คือ การแปรรูปแบบแห้ ง การแปรรูปแบบเปี ยก  การจัดการทรัพยากร จากนันกาแฟกะลาจะถู ้ กขัด  การบริ หารจัดการและติดตาม สีจนได้ สารกาแฟ (Green (tracking) Coffee bean) ที่มีลกั ษณะ ผิวสีเขียวอมฟ้าเป็ นกาแฟที่ ยังไม่ผา่ นการคัว่ คือการแปร รูปแบบแห้ ง เกณฑ์หลักข้ างต้ นประกอบด้ วยเกณฑ์ย่อยอีกหลายข้ อและบางข้ อถือเป็ นเกณฑ์ที่ต้องปฏิบตั ิตาม โดยไม่มีการผ่อนปรน (zero tolerance) เช่น ค่าแรงและสิทฺธิประโยชน์ของพนักงานและการใช้ แรงงานเด็ก การเลือกปฏิบตั ิ และการบังคับใช้ แรงงาน ดูรายละเอียดเกณฑ์ยอ่ ยด้ าน “ความเป็ นผู้นาด้ านสิ่งแวดล้ อม” ได้ ในภาคผนวกของรายงานฉบับนี ้ d. การประชุมเพื่อปิ ดการตรวจสอบในพื ้นที่ ถือเป็ นโอกาสสาคัญของคูค่ ้ าและฝ่ ายอื่นๆ ในห่วงโซ่ อุปทานที่จะได้ อธิ บายและส่งเอกสารเพิ่มเติม และเป็ นการพบปะครัง้ สุดท้ ายก่อนจะปิ ดรับเอกสารและ หลักฐานการยืนยันต่างๆ ผู้ได้ รับการตรวจสอบจะมีโอกาสได้ ดผู ลการประเมินเป็ นครัง้ แรก ก่อนที่เจ้ าหน้ าที่ จะนาไปเขียนเพิ่มเติมและส่งกลับมาอีกครัง้ เพื่อให้ ผ้ ถู กู ตรวจสอบอนุมตั กิ ่อนจะส่งให้ Starbucks 3) การทบทวนผลการตรวจสอบภายใน การอนุมตั ผิ ลของผู้ได้ รับการตรวจสอบและการออกใบรับรอง จากการลงพื ้นที่ตรวจสอบ ผลจะ ถูกส่งกลับไปให้ ผ้ ไู ด้ รับการตรวจสอบภายใน 20 วันทาการหลังจากการลงพื ้นวันสุดท้ าย จากนันพวกเขาจะ ้ มีเวลา 10 วันที่จะทบทวนและอนุมตั ิผล ถ้ ามีการโต้ แย้ งผล SCS ต้ องตรวจสอบในข้ อที่โต้ แย้ งอีกครัง้ เมื่อ ผลการตรวจสอบได้ รับการอนุมตั จิ ากคูค่ ้ าแล้ ว ผลจะถูกส่งไปยัง Starbucks

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

183


4) การประกาศผล หลังจากที่คคู่ ้ าที่เข้ ารับการตรวจสอบได้ รับการอนุมตั ิผลแล้ ว Starbucks ก็จะส่งจดหมายแจ้ งการ อนุมัติม าตรฐาน C.A.F.E เป็ นลายลักษณ์ อักษร และส่งคู่มือวิธีปฏิ บตั ิม าตรฐานและผลคะแนนการ ตรวจสอบให้ โดยคูค่ ้ าจะมีสถานภาพใน 3 ระดับดังนี ้ ตาราง 6.5 สถานภาพคูค่ ้ าที่ผา่ นมาตรฐาน C.A.F.E สถานภาพคูค่ ้ า ผลการตรวจสอบ 1.คู่ค้ า พัน ธมิ ต ร ได้ คะแนนรวม (aggregate (strategic score) อย่างน้ อย 80% และ supplier) ผ่านเกณฑ์ที่ต้องปฏิบตั ิตาม โดยไม่มีการผ่อนปรน (zero tolerance) ในทุกหมวดคือ ความรับผิดชอบต่อสังคม ความเป็ นผู้นาด้ านสิ่งแวดล้ อม (environmental leadership) ทังในการปลู ้ กและการแปรรูป กาแฟและการสนับสนุน เกษตรกรรายย่อย

2. คู่ ค้ า ชั ้ น ดี ได้ คะแนนรวม (aggregate (preferred score) อย่างน้ อย 60% และ supplier) ผ่านเกณฑ์ที่ต้องปฏิบตั ิตาม โดยไม่มีการผ่อนปรน (zero tolerance) ในทุกหมวด

ระยะเวลาของสถานภาพ 4 ปี หากมีการตรวจสอบในฤดู เก็บเกี่ยวและได้ รับการตรวจทุก ส่วนในห่วงโซ่อปุ ทานและ โครงสร้ างของคูค่ ้ าไม่ เปลี่ยนแปลงในช่วงเวลา ดังกล่าว ถ้ าหากมีการ เปลี่ยนแปลงต้ องขอรับการ ตรวจสอบใหม่ แต่สถานภาพนี ้ จะมีระยะเวลาเพียง 2 ปี หาก การตรวจสอบทานอกฤดูเก็บ เกี่ยว

สิทธิพิเศษ Starbucks รับซื ้อ เม็ดกาแฟที่ยงั ไม่ ผ่านการคัว่ (green coffee) ในราคาที่สงู กว่า ปกติ $0.05 ต่อ ปอนด์ในปี แรก และอาจจะ พิจารณาให้ ราคา พิเศษในปี ต่อไป หากสามารถ พัฒนาให้ คะแนน เพิ่มขึ ้นจนถึง ระดับ 90% ได้ 3 ปี หากมีการตรวจสอบในฤดู เก็บเกี่ยวและได้ รับการตรวจทุก ส่วนในห่วงโซ่อปุ ทานและ โครงสร้ างของคูค่ ้ าไม่ เปลี่ยนแปลงในช่วงเวลา ดังกล่าว ถ้ าหากมีการ เปลี่ยนแปลงต้ องขอรับการ ตรวจสอบใหม่ แต่สถานภาพนี ้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

184


3. คู่ ค้ า ทั่ ว ไ ป ได้ คะแนนรวม (aggregate (verified score) ไม่ถึง 60% แต่ผา่ น supplier) เกณฑ์ที่ต้องปฏิบตั ติ ามโดยไม่ มีการผ่อนปรน (zero tolerance) ในทุกหมวด

จะมีระยะเวลาเพียง 1 ปี หาก การตรวจสอบทานอกฤดูเก็บ เกี่ยว 2 ปี หากมีการตรวจสอบในฤดู เก็บเกี่ยว และเพียง 1 ปี หาก การตรวจสอบทานอกฤดูเก็บ เกี่ยว หากได้ คะแนนรวมเกิน 60% แต่ไม่ผา่ นเกณฑ์ที่ต้องปฏิบตั ิ ตามโดยไม่มีการผ่อนปรน (zero tolerance) ทังหมดใน ้ บางส่วนของห่วงโซ่อปุ ทานไม่ เกินสัดส่วนที่กาหนดก็ได้ รับ สถานภาพนี ้เช่นกัน แต่ต้องมี การเข้ าไปรายงานผลบ่อยๆ และต้ องนาเสนอแผนการแก้ ไข

ในปี ค.ศ.2012 ผลผลิต 93% ของกาแฟ Starbucks ผ่านมาตรฐาน C.A.F.E. (Starbucks, Starbucks Global Responsibility Report Goals and Progress, 2012) จากเป้าหมายการรับซื ้อผ่าน มาตรฐาน C.A.F.E. 100% ที่บริ ษัทตังไว้ ้ ภายในค.ศ.2015 นอกจากนี ้ 8% ของกาแฟที่ซื ้อเป็ นกาแฟที่ผ่าน การรับรอง Fair Trade และ 2.2 % เป็ นกาแฟอินทรี ย์ Fair Trade (Kissinger, Brasser & Gross, 2013 หน้ า 6) นอกจากมาตรฐาน C.A.F.E. จะช่วยลดความเสี่ยงด้ านการปฏิบตั ิการและด้ านชุมชนท้ องถิ่นแล้ ว ยังเป็ นตัวเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทาน ตังแต่ ้ เริ่ มใช้ มาตรฐานนีใ้ น ค.ศ. 2004 บริ ษัทประมาณว่ามี เกษตรกรที่ได้ รับผลลัพธ์ เชิงบวกต่อสังคมและสิ่งแวดล้ อมมากกว่า 1 ล้ านคนที่มีงานทาเพิ่มขึน้ ในพื ้นที่ เกษตรหลายแห่ง (Kissinger ,Brasser & Gross, 2013 หน้ า 6) และบริ ษัทได้ นาวิธีปฏิบตั ิที่เรี ยนรู้จากการ จัดซื ้อกาแฟอย่างมีจริ ยธรรมนี ้ไปใช้ กบั ผลิตภัณฑ์อื่นๆ คือ ชา Tazo ที่เป็ นสมาชิกของ the Ethical Tea บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

185


Partnership

และตังโครงการ ้ Cocoa Practices Program เพื่อใช้ กับการจัดหาผลิ ตภัณฑ์โกโก้

(Kissinger, Brasser & Gross, 2013 หน้ า 6) นอกจากประเทศเม็กซิโกแล้ ว Starbucks ยังนามาตรฐาน C.A.F.E นี ้ไปใช้ ในเขต Conservation Coffee ในโคลัมเบีย เปรู ปานามา และคอสตาริ กา (Kissinger, Brasser & Gross, 2013 หน้ า 5) นอกจากนี ้ Starbucks ยังเชิญชวนบริ ษัทอื่นที่อยู่ในธุรกิจกาแฟหรื อบริ ษัทที่มีห่วงโซ่อุปทานในลักษณะ เดียวกันให้ ใช้ ม าตรฐานนี ้ เช่น การร่ วมมื อกันระหว่าง CI และ McDonald’s และ Office Depot (Kissinger, Brasser & Gross, 2013 หน้ า 23) แต่เดิม Starbucks ไม่เคยทราบว่าเม็ดกาแฟมาจากพื ้นที่ใด (Millard) โฆษกของ Starbucks กล่าว ว่า “เรามี ความสามารถในการเปิ ดร้านใหม่ 4 สาขาต่อวัน ซึ่ งใช้ทกั ษะที ่ต่างจากการสร้างความโปร่ งใสใน ไร่ กาแฟบนที ่ราบสูงในลาติ นอเมริ กา เราถึ งต้องการความช่ วยเหลื อในด้านนี ้” (Statement by Sue Mecklenburg, 2006) แผนภูมิ 6.3 การวิเคราะห์การทางานของ Starbucks

เหตุผล

ลักษณะการ ลงทุน

• ความเสีย่ งด้ านการปฏิบตั ิการในอนาคตอันเกิดมาจากอุปทาน ปั ญหาการเปลีย่ นแปลง สภาพอากาศที่สง่ ผลกระทบให้ เกษตรกรเลิกปลูกกาแฟ • การให้ ความสาคัญกับความกินดีอยูด่ ีและสิง่ แวดล้ อมของชุมชนเกษตรกร • การเป็ นพันธมิตรกับ CI • การหาวิธีแก้ ปัญหาด้ วยความร่วมมือจากผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียหลายฝ่ าย ทังชุ ้ มชน และภาครัฐ • การใช้ เครื่ องมือทางการเงิน เช่น PES การให้ เงินกู้เพื่อการพัฒนาธุรกิจ การใช้ การเงินคาร์ บอน

• การลดความเสีย่ งด้ านการปฏิบตั กิ ารในด้ านอุปทานจากพื ้นที่ที่มีความสาคัญต่อการซื ้อเม็ด กาแฟ คุณค่าที่นาเสนอ • ใช้ คานงัดด้ านความสามารถและความเชี่ยวชาญจากการเป็ นพันธมิตรกับ CI

ที่มา: Kissinger, Brasser & Gross (2013, หน้ า 16)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

186


ผลกระทบทีเ่ กิ ดกับเกษตรกรรายย่อยในการทาตามมาตรฐาน C.A.F.E การต้ องทาตามมาตรฐาน เช่น C.A.F.E หรื อมาตรฐานอื่นๆ ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรยากจนที่อยู่ ในเขตชนบทของเม็กซิโกและอเมริกากลาง ดังนี ้  ด้ วยราคากาแฟที่ต่ามากและเกษตรกรรายย่อยไม่สามารถเข้ าถึงบริ การทางการเงินและ เครดิตที่เหมาะสม เกษตรกรจึงไม่สามารถลงทุนเพื่อปรับพืน้ ที่ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานความยัง่ ยืน เช่น การซื ้ออุปกรณ์ การเปลี่ยนวิธีการปลูกให้ เป็ นเกษตรอินทรี ย์ และการจ่ายค่าแรงเพิ่มเติม (R. Muradian and W.Pelupessy, 2005, หน้ า 2019-2044)  เกษตรกรรายย่อยขาดความรู้ทางเทคนิคในการเปลี่ยนวิถีให้ เป็ นเกษตรยัง่ ยืน  การอยู่ในพื ้นที่ห่างไกลเป็ นข้ อจากัดสาคัญของเกษตรกรรายย่อย พวกเขามีทางเลือกไม่ มากนัก และไม่สามารถขายกาแฟในราคาสูงสุดที่ควรได้ เพราะขาดโครงสร้ างพื น้ ฐานที่ดี เช่น ถนนในการ ขนส่งกาแฟ (Oxfam, 2002)  เกษตรกรขาดข้ อ มูล ส าคัญ เพื่ อ การตัด สิ น ใจว่า จะขอการรั บ รองหรื อ ไม่ พวกเขาไม่ สามารถแบกรับต้ นทุนในการปฏิบตั ิตามมาตรฐานหากเจอสถานการณ์เพาะปลูกที่ไม่ดีเพียงปี หรื อสองปี ความไม่โปร่งใสของห่วงโซ่อปุ ทานทาให้ สถานการณ์แย่ ลง พ่อค้ าคนกลางอาจกันเกษตรกรออกไปในการ ทาสัญญากับผู้รับซื ้อกาแฟ (Perez-Aleman & Sandilands, 2008 หน้ า 25) เกษตรกรไม่เคยรู้ว่ากาแฟของ พวกเขาไปไหน หรื อถูกขายที่ราคาเท่าไรในขันต่ ้ างๆ ของห่วงโซ่อุปทาน พวกเขาอาจจะถูกทาโทษหาก จัดส่งกาแฟคุณภาพต่า แต่ในขณะเดียวกันก็ ไม่ได้ รางวัลเพิ่มจากการส่งมอบกาแฟคุณภาพสูง ถึงแม้ ว่า ประโยชน์ ข องการท าตามมาตรฐาน เช่น การขายได้ ร าคาเพิ่ ม การเข้ า ถึ ง ตลาดแหล่ง ใหม่แ ละสร้ าง ความสัมพันธ์กับผู้ซื ้อ (Giovannucci and Ponte, 2005 หน้ า 284-301) จะสร้ างผลดีตอ่ เกษตรกร แต่ ต้ นทุนทังหมดที ้ ่จะเกิดขึ ้น ประกอบกับการขาดความรู้ จึงกลายเป็ นอุปสรรคแก่เกษตรกรมากกว่า  เกษตรกรรายย่อยไม่ได้ ขายสินค้ าให้ บริ ษัทใหญ่โดยตรงแต่ผ่านตัวกลาง เช่น สหกรณ์ เพราะพวกเขาจัดส่งสินค้ าในปริ มาณน้ อย ก่อนที่ตวั กลางจะเป็ นผู้รวบรวมจากหลายแหล่งให้ เป็ นปริ มาณ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

187


มากขึ ้น ดังนันเกษตรกรที ้ ่ไม่ได้ สงั กัดสหกรณ์ก็จะไม่มีโอกาสได้ รับการอบรมหรื อยกระดับให้ เป็ นการเกษตร ยัง่ ยืน เมื่อคานึงถึงผลกระทบต่อเกษตรกรรายย่อยดังกล่าวข้ างต้ น ความร่วมมือของ Starbucks และ CI จึงได้ เน้ นการยกระดับของเกษตรกรรายย่อยโดยอาศัยความร่วมมือจากภาครัฐและเอกชน ทังในด้ ้ าน บริ ก ารทางการเงิ น และความรู้ ด้ า นเทคนิ ค CI

ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ด้ า นเทคนิ ค วนเกษตรกรรม

(agroforestry) และเป็ นตัวกลาง (broker) ระหว่างสหกรณ์และผู้รับซื ้อ เพื่อสร้ างความมัน่ คงของตลาด กาแฟและสร้ างแรงจูงใจทางเศรษฐกิจให้ แก่เกษตรกร ส่วน Starbucks ให้ ความช่วยเหลือทางเทคนิคด้ าน การควบคุมคุณภาพในโครงการ Conservation Coffee โดยทีมงานของ CI จะไปเยี่ยมเยียนไร่กาแฟทุก แห่งและรายงานความคืบหน้ า (Austin and Reavis, 2001) ทังสององค์ ้ กรยังให้ ความรู้เรื่ องการทาเกษตร อินทรี ย์ การปลูกพืช และการจัดการธุรกิจ CI ได้ จดั ตังศู ้ นย์อบรมและโรงอนุบาลเพื่อขายต้ นกล้ าและปุ๋ย ชีวภาพในราคาย่อมเยา ใน ค.ศ.2004 Starbucks เปิ ดบริ ษัทชื่อ Costa Rica Agronomy Company หรื อ Farmer Support Center เพื่อช่วยให้ เกษตรกรรายย่อยสามารถพัฒนาวิธีปฏิบตั ิให้ ได้ มาตรฐาน C.A.F.E บริ ษัทเป็ น ผู้เชี่ยวชาญในการจัดการดิน การเพิ่มผลผลิต และได้ ให้ SCS เป็ นผู้บริ หารกระบวนการออกใบรับรอง พนักงานของ Starbucks ทางานผ่านศูนย์นี ้โดยบริ หารโครงการ C.A.F.E และให้ บริ การเกษตรกรโดยตรง ในเม็กซิโกและอเมริ กากลาง หน้ าที่ของศูนย์นี ้คือ ช่วยสร้ างความสัมพันธ์ และกลยุทธ์ในระยะยาวกับผู้มี ส่วนได้ ส่วนเสียที่ม่งุ มัน่ จะผลิตกาแฟคุณภาพดีและยัง่ ยืน (Starbucks Corporate Social Responsibility Annual Report, 2004) ถึงแม้ ว่าศูนย์นี ้จะเป็ นกลยุทธ์สาคัญของ Starbucks ในการจัดหาสินค้ า แต่ก็ม่งุ ทางานด้ านปั ญ หาของความยั่ง ยื นกับเกษตรกร รั ฐ บาลท้ องถิ่ น และดูแ ลโครงการด้ า นสัง คม ดัง นัน้ Starbucks จึงบริ หารศูนย์นีใ้ ห้ เป็ นหน่วยสนับสนุนความช่วยเหลือทางเทคนิคในห่วงโซ่อุปทานกาแฟ นอกจากนี ้รัฐบาลเม็กซิโก ผู้บริ จาคเงินต่างชาติ และ Starbucks ได้ สนับสนุนความช่วยเหลือด้ านการเงิน แก่เกษตรกรผ่านสถาบันไมโครไฟแนนซ์ เช่น EcoLogic Finance หรื อ Root Capital ในปั จจุบนั และ Verde Ventures (Perez-Aleman & Sandilands, 2008 หน้ า 27) การที่เกษตรกรยกระดับการเกษตรให้ เป็ นแบบยั่งยืนทาให้ พวกเขาขายสินค้ าให้ แก่ Starbucks ได้ ในราคาที่สูงขึน้ และการผ่านมาตรฐาน สิ่ ง แวดล้ อมอย่าง C.A.F.E ทาให้ ไ ด้ ส่ว นเกิ นราคาเพิ่ม ขึน้ และได้ สิทธิ ป ระโยชน์ ต่างๆ จากการเข้ าร่ ว ม โครงการ ในปั จจุบนั Farmer Support Center มีอยู่ใน 6 ประเทศ (Kissinger ,Brasser & Gross, 2013 บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

188


หน้ า 2) การควบคุม คุณ ภาพและเพิ่ ม ผลผลิ ตต่อ หน่ว ยพื น้ ที่ จึง ช่ว ยลดความเสี่ ย งด้ านการจัด หาของ Starbucks ความสาเร็ จ ในส่วนของ CI ความสาเร็ จ ของโครงการคือจ านวนของเกษตรกรที่ หันมาใช้ วิธีปฏิ บัติ และลด ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่สง่ ผลต่อระบบนิเวศท้ องถิ่น และบริ ษัทข้ ามชาติรายใหญ่นาเอามาตรฐาน ที่เกี่ยวข้ องกับอุตสาหกรรมกาแฟไปใช้ Starbucks ประสบความสาเร็ จด้ านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และมีอุปทานจากที่ราบสูงต่างๆ อย่างมั่นคงและเป็ นที่ต้องการของตลาด แต่สิ่งที่สาคัญที่สุดคือความร่ วมมือระหว่างสององค์กรในการ พัฒนาและสร้ างวิธีปฏิบตั ิที่ทางานร่วมกับเกษตรกรผู้มีรายได้ น้อย (BOP – Base of the Pyramid) ทาให้ เกิดการขยายห่วงโซ่อปุ ทานกาแฟ ในส่วนของเกษตรกรรายย่อย ความสาเร็ จของพวกเขาคือรายได้ ที่เพิ่ม ขึน้ และการเพิ่ม ขึน้ ของ ทรัพยากรธรรมชาติอนั เกิดจากการเปลี่ยนวิถีเกษตร มีการวิจยั ด้ านเศรษฐกิจและสังคมที่ระบุว่า การใช้ มาตรฐาน Conservation Coffee เป็ นประโยชน์ตอ่ การดารงชีวิตของเกษตรกรรายย่อย (Millard) เมื่อ เปรี ยบเที ยบกับเกษตรกรที่ ไม่ไ ด้ เข้ าร่ วมโครงการ Conservation Coffee เพราะผู้ที่เข้ าร่ วมได้ ผลผลิต มากกว่า มีกาไรมากกว่า และขายกาแฟได้ ในราคาสูงกว่า เช่น เกษตรกรที่ใช้ มาตรฐานด้ านความยัง่ ยืนจะ ได้ ผลผลิตเพิ่มขึ ้น 20% ต่อเฮคเตอร์ 9 ใน 10 ครอบครัวมีรายได้ มากพอที่จะซ่อมแซมบ้ าน 72% ของ เกษตรกรรายงานว่า พวกเขาสามารถบริ โภคอาหารที่มีส่วนผสมของเนื ้อสัตว์ในทุกๆ 10 วัน ส่วนกลุ่มที่ ไม่ได้ เข้ าร่วมมีเพียง 50% ที่ทาได้ (Millard) การประเมินผลของโครงการทังในเม็ ้ กซิโกและอินโดนีเซียจัดทาโดยพันธมิตรด้ านการวิจยั และมี การแบ่งปั นข้ อมูลให้ กบั เกษตรกรและชุมชนท้ องถิ่น โดยข้ อมูลที่ใช้ ในการประเมินผลมาจากการอภิปรายถึง ความเสี่ยง และวิธีการแก้ ปัญหากับผู้มี ส่วนได้ ส่วนเสียหลายฝ่ ายในการอบรมปฏิบตั ิการเพื่อรับมือกับ ปั ญหาสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ที่มีการสรุปประเด็นเพื่อเสนอต่อรัฐบาลท้ องถิ่น ผลลัพธ์ ของโครงการในเม็กซิ โก

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

189


 เกษตรกรใน 13 ชุมชนได้ รับการช่วยเหลือในการวางแผนการเพาะปลูก ซึ่งแนวความคิดนี ้จะถูก ขยายไปในระดับภูมิภาค  เกษตรกรใน 8 ชุมชนได้ รับการอบรมด้ านเทคนิคเพื่อรับมือกับสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง  มีการอบรมการปลูกกาแฟแบบยัง่ ยืนแก่เกษตรกรจานวน 1,000 คนเพื่อให้ พวกเขาไปเป็ นผู้สอน เกษตรกรรายอื่นต่อไป  เกษตรกร 110 คนเข้ าร่วมในโครงการการเงินคาร์ บอน ซึง่ เกิดผลดีตอ่ 197 ครอบครัวใน 23 ชุมชน  มีการปลูกต้ นไม้ 17,152 ต้ นในพื ้นที่ 442.5 เอเคอร์  จัดตังโรงอนุ ้ บาล 3 แห่ง เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์จานวน 210,000 เมล็ด ฟื น้ ฟูสภาพป่ าและการปลูก กาแฟในร่มป่ า  มีการขายคาร์ บอนเครดิต 15,591 หน่วย เป็ นปริ มาณคาร์ บอนไดออกไซด์ 50,000 ตัน ทาให้ มีเงิน รายได้ เพิ่มขึ ้น 100 เหรี ยญสหรัฐต่อปี เป็ นเวลา 5 ปี ต่อครอบครัว ซึ่งคิดเป็ น 7.6% ของรายได้ จาก การปลูกกาแฟ (Kissinger, Brasser & Gross, 2013 หน้ า 12) การดาเนิ นโครงการใน Aceh, Sumatra ประเทศอิ นโดนีเซี ย Aceh เป็ นอีกหนึง่ พื ้นที่เพาะปลูกที่มีความสาคัญต่อบริ ษัท โดย Starbucks ได้ ข้อมูลจากเกษตรกร ว่า สภาพอากาศที่ เ ปลี่ ยนแปลงส่ง ผลให้ แมลงศัตรู พื ช และเชื อ้ โรคเพิ่ม ขึน้ เกษตรกรในเขตนี ม้ ี ประวัติ ยาวนานในการบุกรุกพื ้นที่ป่าเพื่อการเกษตร และด้ วยราคาสินค้ าโภคภัณฑ์ที่เพิ่มสูงขึ ้น ทาให้ เกษตรกรส่วน หนึ่งเริ่ มละทิ ้งการปลูกกาแฟแล้ วหันไปปลูกปาล์มน ้ามันหรื อพืชอื่นๆ Starbucks และ CI ได้ เริ่ มทางานที่นี่ ร่วมกันโดย  ทดสอบวิธีจดั การความเสี่ยงและหากลยุทธ์ ในการรับมือกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง เพื่อจะ เอื ้อประโยชน์ทงกั ั ้ บเกษตรกรและระบบนิเวศ  ทางานร่วมกับชุมชนผู้ปลูกกาแฟเพื่อปรับปรุงการผลิต แลกกับข้ อตกลงในการอนุรักษ์ ป่า และลด การแผ้ วถางพื ้นที่  เชื่อมโยงเกษตรกรเข้ ากับตลาดคาร์ บอนและแหล่งทุนเพื่อเพิ่มผลผลิต โดยไม่ต้องพึ่งพาการขยาย พื ้นที่และการแผ้ วถางพื ้นที่

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

190


 จัดทาแผนที่ความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ ้นกับการปลูกกาแฟจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงในเขต นี ้ โดยทางานร่วมกับ University of North Sumatra ในการประเมินการกระจายตัวของแมลง ศัตรู พื ช เพื่ อออกแบบการอบรม และทาโครงการช่วยเหลื อ แก่ผ้ ูมี ส่วนได้ ส่วนเสี ย โดยทางาน ร่วมกับรัฐบาลท้ องถิ่นและสหกรณ์กาแฟหลายแห่ง  ให้ ความช่วยเหลือด้ านเทคนิค มองหาเขตพื ้นที่ที่เหมาะสมกับการตังโรงอนุ ้ บาล  ให้ การอบรมมาตรฐาน C.A.F.E การพัฒนาขีดความสามารถ การจัดการเมล็ดพันธุ์ การกระจาย ความเสี่ยงด้ านรายได้ โดยการปลูกกาแฟใต้ ร่มไม้ ให้ กับเกษตรกร โดยไม่จากัดเฉพาะรายที่ขาย ให้ กบั Starbucks  จ่ายค่าตอบแทนคุณค่าระบบนิเวศอย่างเป็ นรูปธรรม (PES) (Kissinger ,Brasser & Gross, 2013 หน้า 14)

บทเรียนจากการทางานร่ วมกันของ CI และ Starbucks 1) การตังมาตรฐานและลงมื ้ อปฏิบตั ิด้านสังคมและสิ่งแวดล้ อมกับห่วงโซ่อปุ ทานโลกต้ องใส่ใจใน “กระบวนการ” ก่อน “ผลลัพธ์” 2) สร้ างพันธมิตรกับเอ็นจีโอ ภาครัฐ และภาคเอกชนในระดับท้ องถิ่น เพื่อสร้ างมาตรฐานและกล ยุทธ์ในการนาไปปฏิบตั ิ โดยคานึงถึงปั จจัยแวดล้ อมและอุปสรรคที่คคู่ ้ ารายย่อยในประเทศกาลังพัฒนาต้ อง เผชิญ ในความร่วมมือของ CI-Starbucks ได้ รวมความคิดเห็นของเกษตรกรรายย่อยที่จะต้ องเป็ นผู้แบกรับ ต้ นทุนจากการเปลี่ยนวิถีเกษตร ทาให้ รับทราบปั ญหาเกี่ยวข้ องที่จะต้ องได้ รับการแก้ ไขก่อนเปลี่ยนวิธีการ ทางานมาเป็ นแบบยัง่ ยืน 3) สร้ างแรงจูงใจเพื่อการยกระดับและเชิญชวนคู่ค้าในประเทศกาลังพัฒนาให้ เข้ าร่วมมาตรฐาน ใหม่ โครงการ CI-Starbucks ได้ แสดงให้ เกษตรกรเห็นถึงประโยชน์ใ นการทาตามมาตรฐาน นอกจากการ รับซื ้อในราคาที่สงู ขึ ้นจะเป็ นแรงจูงใจหนึ่งที่ทาให้ พวกเขายอมรับมาตรฐานแล้ ว โครงการนี ้ยังแสดงให้ เห็น ว่าการมีตลาดที่มนั่ คงจากผู้รับซื ้อรายใหญ่สร้ างคุณค่าได้ มากกว่า 4) บริ ษั ท เอ็ น จี โ อ และรั ฐ ให้ ความช่ ว ยเหลื อ ต่ อ คู่ ค้ าในประเทศก าลั ง พั ฒ นา เพื่ อสร้ าง สภาพแวดล้ อมที่เอื ้อต่อการเปลี่ยนแปลงและการลงทุน โดยการสนับสนุนทังทางการเงิ ้ นและเทคนิค

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

191


5) การวางแผน พิจารณาความเสี่ยง และผลลัพธ์ของการเปลี่ยนแปลงในระยะยาว ความมุ่งมัน่ ของ Starbucks ในการแก้ ปัญหาที่ เกิดจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงใน Chiapas ใช้ เวลาถึง ห้ าปี (Kissinger ,Brasser & Gross, 2013 หน้ า 15) ทังนี ้ ้ไม่รวมความพยายามด้ านอื่นที่เริ่ มต้ นตังแต่ ้ ปี ค.ศ. 1998 Starbucks คาดหวังว่ากลไกต่างๆ จะดาเนินต่อไปได้ เองอย่างยัง่ ยืน และในอีก 5 ปี ข้ างหน้ าบริ ษัทจะ มีบทบาทที่แตกต่างไปจากนี ้ ตาราง 6.6 สรุปบทบาทของแต่ละฝ่ ายในการจัดการห่วงโซ่อปุ ทานอย่างยัง่ ยืนของ Starbucks ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย Starbucks

-

-

-

Conservation International (CI)

-

บทบาท พัฒ นามาตรฐาน C.A.F.E ร่ ว มกับ เอ็ น จี โ อคื อ Conservation International (CI) โดยคานึงถึงบริ บทและข้ อจากัดของเกษตรกร รายย่อย จัดตังกองทุ ้ น Verde Ventures เพื่อให้ เงินกู้แก่เกษตรกรรายย่อย ที่ต้องการพัฒนาด้ านเทคนิคเกษตรกรรมและในกรณีที่ต้องใช้ ทนุ เพื่ อเตรี ยมความพร้ อมในการสมัครเข้ ารั บมาตรฐาน C.A.F.E และทางานร่วมกับกองทุนอื่นๆ เช่น Root Capital กองทุน Fair Trade และอื่นๆ ให้ องค์กรภายนอกคือ SCS Global Services เข้ ามาเป็ นผู้ ตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน รับซือ้ กาแฟในราคาที่สูงกว่าตลาดเพื่อเป็ นรางวัลเมื่อคู่ค้าและ ฝ่ ายต่างๆ ในห่วงโซ่อปุ ทานผ่านมาตรฐานในระดับสูง ส่งเสริ มให้ เกษตรกรเข้ าร่ วมโครงการการเงินคาร์ บอนเพื่อสร้ าง รายได้ เพิ่ม จ่ายค่าตอบแทนคุณค่าระบบนิเวศอย่างเป็ นรูปธรรม (PES) เชิญชวนให้ บริษัทอื่นๆ ใช้ มาตรฐานเดียวกัน เช่น McDonald’s จัดตังศู ้ นย์การเรี ยนรู้ Farmer Support Center เพื่อให้ ความรู้ ทางการเกษตร การจัดการดิน การเพิ่มผลผลิตและเตรี ยมความ พร้ อมให้ เกษตรกรในการเข้ าร่วมมาตรฐาน C.A.F.E รณรงค์ให้ เกษตรกรใช้ วิธีปลูกกาแฟในป่ า กาแฟใต้ ร่มไม้ ใหญ่ สร้ างแนวคิดด้ านอนุรักษ์ธรรมชาติให้ เกษตรกร

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

192


SCS Global Services คูค่ ้ าหลักของ Starbucks

เกษตรกรรายกลางและใหญ่ เกษตรกรรายย่อย

- เป็ นตัว กลางระหว่า งเกษตรกร สหกรณ์ และผู้รั บ ซื อ้ ท างาน ใกล้ ชิดกับเกษตรกร หาแรงจูงใจทางเศรษฐกิจเพื่อให้ เกษตรกร ปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน - จัด ตัง้ ศูน ย์ ต้ น กล้ า และขายปุ๋ยชี ว ภาพแก่ เ กษตรกรในราคา ย่อมเยา - ร่ ว มพัฒ นามาตรฐาน C.A.F.E ร่ ว มกับ Starbucks และชัก จูง ผู้ผลิตกาแฟยี่ห้ออื่นให้ เข้ าร่วมด้ วย - เชื่อมโยงพันธมิ ตรท้ องถิ่ น เช่น หน่วยราชการ สถาบันการเงิ น สถานศึกษาเพื่อให้ ความช่วยเหลือเกษตรกรในการเตรี ยมความ พร้ อมก่อนเข้ าร่วมมาตรฐาน - ตรวจสอบสายห่ ว งโซ่ อุ ป ทานและออกใบรั บ รองมาตรฐาน C.A.F.E - สร้ างแผนผัง และศึกษาห่วงโซ่อุปทานของตนเองอย่างละเอียด ก่อนที่จะสมัครเข้ าร่วมมาตรฐาน C.A.F.E เพราะการเข้ านันต้ ้ อง ได้ รั บการตรวจสอบครอบคลุม ทุก ฝ่ ายในห่วงโซ่อุป ทานไม่ใ ช่ เฉพาะแต่องค์กรของตนเอง และต้ อ งส่งเสริ มให้ ทุกฝ่ ายปฏิบตั ิ ตามมาตรฐานเช่นกัน - ต้ อ งท างานร่ ว มกับ คู่ค้า หลัก ของ Starbucks เพื่ อ ให้ ห่วงโซ่ อุปทานทังสายผ่ ้ านมาตรฐาน - ต้ องทางานร่ วมกับคู่ค้าหลักของ Starbucks เพื่ อปฏิ บตั ิตาม มาตรฐานในเกณฑ์ที่สร้ างขึ ้นเพื่อเกษตรกรรายย่อยโดยเฉพาะ - สามารถเข้ าหาแหล่ง เงิ นทุนต่างๆ และรั บความช่วยเหลื อทาง เทคนิคได้ จากศูนย์เรี ยนรู้เกษตรกรรมของ Starbucks หรื อ CI

6.2.2 กรณีศึกษา นโยบายการอนุรักษ์ ป่าของ GAR Golden Agri-Resources (GAR) เป็ นบริ ษัทนา้ มันปาล์มที่ใหญ่เป็ นอันดับสองของโลก มี สานักงานใหญ่ตงอยู ั ้ ่ในประเทศสิงคโปร์ มีการปลูกปาล์มในพื ้นที่ 463,400 เฮคเตอร์ ในอินโดนีเซีย (GAR 2011a) บริ ษัทก่อตังใน ้ ค.ศ.1996 และจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ โดยมีมลู ต่าตลาดที่ 5.25 พันล้ านเหรี ยญสหรัฐ ณ วันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 2010 GAR มีบริ ษัทในเครื อหลายบริ ษัท และบริ ษัทลูก บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

193


บางแห่ง ก็ จ ดทะเบีย นในตลาดหลัก ทรั พ ย์ อิน โดนี เ ซี ย กิ จ กรรมหลัก ของบริ ษั ท ในอิ นโดนี เ ซี ยคื อ การ เพาะพันธุ์ และเก็บเกี่ยวต้ นปาล์มน ้ามัน แปรรูปผลปาล์มให้ เป็ นน ้ามันปาล์มดิบ และกลัน่ น ้ามันปาล์มดิบ ให้ กลายเป็ นผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมูลค่าอื่นๆ เช่น น ้ามันปาล์มที่ใช้ ทาอาหาร และมาการี น (Golden-Agri, 2011 หน้ า 1) บริ ษัทเริ่ มนโยบายการอนุรักษ์ ป่า The GAR Forest Conservation Policy – FCP ในเดือน กุมภาพันธ์ ค.ศ.2011 ด้ วยความร่วมมือกับกลุ่มไม่แสวงหากาไร The Forest Trust (TFT) ผู้มีส่วนได้ ส่วน เสียหลายฝ่ าย Greenpeace และรัฐบาลอินโดนีเซีย (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 21) นโยบายนี ้ต้ องการลดผลการทาลายป่ าและผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ สภาพอากาศและ ชุมชนท้ องถิ่น กลไกของ GAR แบ่งออกเป็ นสองด้ าน โดยกลไกแรกก่อให้ เกิดกลไกที่สอง กลไกที่ 1 Greenpeace ทาโครงการรณรงค์ กับผู้บริโภค กรี นพีซ (Greenpeace) เอ็นจีโอสิ่งแวดล้ อมระดับโลก ได้ ออกวิดีโอรณรงค์ในค.ศ.2010 เพื่ อ เผยแพร่ ข้ อ มูล ของอุต สาหกรรมน า้ มันปาล์ ม ที่ เ ป็ นตัว ก่ อ ให้ เ กิ ด การท าลายป่ าและการสูญ เสี ย ความ หลากหลายทางชีวภาพ (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 22) แคมเปญนี ้พุ่งเป้าไปยัง ผลิตภัณฑ์และผู้ค้าปลีกแต่ละราย โดยแสดงความเสียหายทางสิ่งแวดล้ อม เพื่อกดดันให้ ผ้ ูค้าปลีก ผู้ผลิต และผู้จดั จาหน่ายออกมาแสดงความรับผิดชอบ กรี นพีซกล่าวหา Sinar Mas Group หนึ่งในบริ ษัทยักษ์ ใหญ่ของอินโดนีเซียที่ทาธุรกิจปาล์มน ้ามัน ด้ วยว่า ประพฤติโดยมิชอบในการเพาะปลูกน ้ามันปาล์มด้ วยการ 1) แผ้ วถางและเพาะปลูกในพื ้นที่ที่ลกึ เกิน 3 เมตรของป่ าพรุ ซึง่ ผิดกฎหมายอินโดนีเซีย 2) แผ้ วถางพื ้นที่ป่าหลักซึง่ เป็ นแหล่งอาศัยของลิงอุรังอุตงั 3) แผ้ วถางป่ าโดยไม่ได้ รับใบอนุญาต 4) ปรับพื ้นที่โดยการเผา 5) สร้ างความขัดแย้ งในสังคมโดยการขยายพื ้นที่เพาะปลูก 6) ใช้ ความเป็ นสมาชิกของ Roundtable on Sustainable Palm Oil (RSPO) สร้ างการ “ฟอกเขียว” เพื่อสร้ างความเข้ าใจผิดเรื่ องความยัง่ ยืน บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

194


ขณะที่ผ้ คู ้ าปลีกหลายรายได้ ถูกร้ องเรี ยนโดยนัยในวิดีโอว่า ควรเข้ มงวดกับผลกระทบอันเกิดจาก ห่วงโซ่อุปทาน โดยเฉพาะในส่วนผู้ผลิตอย่าง GAR ทาให้ ลกู ค้ าหลายรายยกเลิกการซื ้อจาก GAR เพื่อ ปกป้องชื่อเสียงและยอดขายของพวกเขา แม้ ว่า Greenpeace จะไม่ได้ โจมตี GAR โดยตรง และ GAR ก็ ปฏิเสธข้ อกล่าวหาดังกล่าว รวมถึงหน่วยงานอิสระที่เข้ ามาตรวจสอบ (BSI and CUC, 2010) แต่แคมเปญ นี ้ก็ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่าง GAR และลูกค้ ารายสาคัญ เช่น เบอร์ เกอร์ คิง เนสท์เล่ และยูนิลี เวอร์ (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 22) การยกเลิกความสัมพันธ์ของลูกค้ ารายใหญ่ทา ให้ GAR ต้ องเลือกระหว่างการสูญเสียรายได้ หรื อการหาเหตุที่ทาให้ หว่ งโซ่อปุ ทานเกิดการสะดุด อย่างไรก็ ตาม จากรายงาน “Second year of implantation of Golden Agri’s Forest Conservation Policy” ค.ศ.2013 โดย Greenomics เอ็นจีโอในประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งติดตามการทาลาย ป่ าของ GAR โดยใช้ ภาพถ่ายดาวเทียมเปรี ยบเทียบในระหว่าง ค.ศ. 2007, 2009, 2011 และ 2012 พบว่า พื ้นที่ที่บริ ษัทลูกของ GAR คือ PT Paramitra Internusa Pratama (PT PIP) ปฏิบตั ิงานในจังหวัด West Kalimantan มีการทาลายป่ าเป็ นวงกว้ างจริ ง ก่อนที่จะมีการออกนโยบาย FCP (Greenomics, 2013 หน้ า 17) กลไกที่ 2 นโยบายการอนุรักษ์ ป่า เพื่อที่จะแสดงเจตจานงในเรื่ องความยัง่ ยืน GAR ทางานร่ วมกับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียหลายฝ่ ายรวมถึง กรี นพีซ ในการสร้ างนโยบายและมาตรฐาน Forest Conservation Policy - FCP โดยนโยบายนี ้ได้ นามาใช้ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ.2011 เพื่อสร้ างความเชื่อมัน่ ว่า GAR จะเป็ น“ผู้ผลิตน ้ามันปาล์มที่ไม่มีรอยเท้ า การทาลายป่ า” (Newton, Agrawal & Wollenberg, 2013 หน้ า 22) ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียหลายฝ่ ายรวมทัง้ Greenpeace ได้ ร่วมแสดงความคิดเห็นกับนโยบายนี ้ ซึง่ มีเนื ้อหาของหลักมาตรฐาน 4 ประการดังนี ้ 1) ระงับการขยายการเกษตรไปยังพื ้นที่ a. ป่ าพรุ (ไม่จากัดความลึก) b. พื ้นที่ป่าที่กกั เก็บคาร์ บอนสูง (High carbon stock forests) และ c. พื ้นที่ป่าที่มีมลู ค่าอนุรักษ์สงู (High conservation value forests) 2) ได้ รับความยินยอมอย่างเปิ ดเผยจากชนกลุม่ น้ อยและชุมชนท้ องถิ่น

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

195


3) กระทาตามหลักการของ Roundtable on Sustainable Palm Oil (RSPO) – ดูรายละเอียดได้ ใน ภาคผนวก 4) กระทาตามกฎหมายของอินโดนีเซีย หลักการนี ้ครอบคลุมไปถึงที่ดินที่ GAR เป็ นเจ้ าของ บริ หาร และลงทุน ตามข้ อตกลงนี ้ TFT จะ ทางานร่วมกับ GAR เพื่อให้ บริ ษัทได้ มาตรฐานของ RSPO ภายในเดือนธันวาคม ค.ศ.2015 และ GAR ยัง ทางานร่วมกับ TFT ตาม Responsible Sourcing Guidelines ตามมาตรฐานของเนสท์เล่ด้วย (GoldenAgri, 2011 หน้ า 2) ผลการดาเนินงานหลังจากการออกนโยบายไปแล้ ว 1 ปี หลังจากโครงการได้ ดาเนินการผ่านไป 1 ปี Greenomics ได้ ออกรายงาน “What has been learned from first year of Golden Agri’s forest conservation policy in West Kalimantan?” ค.ศ. 2012 จากการติดตามผลการดาเนินงานของ 3 บริ ษัทลูกของ GAR คือ PT Paramitra Internusa Pratama (PT PIP), PT Persada Graha Mandiri (PGM) และ PT Karita Prima Cipta (KPC) ที่ตงอยู ั ้ ่ในเขต Kapuas Hulu Regency จังหวัด West Kalimantan โดยศึกษาหลักฐานภาพถ่ายดาวเทียมพื ้นที่ป่าตังแต่ ้ เดือนเมษายน ค.ศ.2011 ถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ.2012 และเอกสารกฎหมายที่บริ ษัทจ่ายค่าสัมปทานป่ า ไม้ ในการแผ้ วถางที่ตอ่ รัฐบาล พบว่าทัง้ 3 บริษัทในเครื อ GAR มีรูปแบบการปฏิบตั งิ านที่คล้ ายคลึงกันคือ  จากหลักฐานทางราชการพบว่าแต่ละบริ ษัทยังมีการยื่นขอและแจ้ งการแผ้ วถางทังในเขตป่ ้ าพรุ (secondary swamp forest) ซึ่งต้ องขอใบอนุญาตแผ้ วถาง (Timber Clearing Permit) และชาระ ค่าธรรมเนียมต่อรัฐบาล (Greenomics, 2012 หน้ า 3, 9, 15) และพื ้นที่นอกเขตป่ า เช่น PIP ยื่นเอกสารขอ แผ้ วถางพื ้นที่ 1,992 เฮคเตอร์ โดยพื ้นที่ 643.37 เฮคเตอร์ เป็ นป่ าพรุ และอีก 1,348.63 เฮคเตอร์ เป็ นพื ้นที่ นอกเขตป่ า (Greenomics, 2012 หน้ า 3)  หลังจากใช้ นโยบาย FCP พื ้นที่ป่าพรุส่วนหนึ่งที่บริ ษัทยื่นขออนุญาตแผ้ วถางต่อรัฐบาลท้ องถิ่น ไม่ได้ ถกู แผ้ วถางเพื่อปลูกปาล์มน ้ามัน ซึ่งนับเป็ นข้ อพิสจู น์ถึงความตังใจของบริ ้ ษัทที่จะอนุรักษ์ พื ้นที่ส่วนนี ้ แต่ในพื ้นที่อีกส่วน ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงให้ เห็นว่ามีการแผ้ วถางพืน้ ที่บางส่วนนอกอาณาเขตที่ได้ รับ อนุญาต (Greenomics, 2012 หน้ า 7) ซึง่ แสดงให้ เห็นว่าบริ ษัทไม่ได้ ทาตามนโยบาย FCP เรื่ องการทาลาย ป่ าพรุ และการไม่สร้ างรอยเท้ าป่ าไม้ ที่สาคัญการกระทานี ้ยังผิดกฎหมายอีกด้ วย ซึ่ง Greenomics พบ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

196


ปั ญหานี ้กับบริ ษัทลูกของ GAR ทังสามแห่ ้ ง โดยพบว่าบริ ษัททังสามยั ้ งจ่ายค่าธรรมเนียมแผ้ วถางป่ าต่อ กองทุนฟื น้ ฟูป่าอยู่ แม้ จานวนเงินจะลดลงเมื่อเทียบกับปี ก่อนๆ (Greenomics, 2012 หน้ า 8, 14, 16) เช่น ในกรณีของ PT PIP บริษัทชาระเงินในเดือนพฤศจิกายน 2011 จานวน 2,799 เหรี ยญสหรัฐ ซึ่งหมายความ ว่าบริ ษัทได้ ตดั ต้ นไม้ ที่มีเส้ นผ่าศูนย์กลาง 10-40 เซนติเมตร เป็ นจานวน 1,399 ลูกบาศก์เมตรไปแล้ ว ( 1 ลูกบาศก์เมตร=2 เหรี ยญสหรัฐ) (Greenomics, 2012 หน้ า 8) ซึ่งอีกสองบริ ษัทก็มีการจ่ายเงินค่าแผ้ วถาง ป่ าเช่นกัน  พื ้นที่ที่ GAR แผ้ วถางไปนันเป็ ้ นเขตป่ าที่มีต้นไม้ พนั ธุ์หายากและใกล้ สูญพันธุ์หลายประเภท (Greenomics, 2012) Greenomics ได้ สรุ ปการตรวจสอบผลการดาเนินงานในรอบหนึ่งปี ว่า GAR ลดปริ มาณพื ้นที่แผ้ ว ถางป่ าลงเป็ นจานวนมาก แต่ก็ยงั ไม่สามารถทาตามเป้าหมายที่จะไม่สร้ างรอยเท้ าป่ าไม้ ได้ เพราะยังมีการ แผ้ วถางป่ าในพื ้นที่ป่าพรุที่ได้ ยื่นขออนุญาต และเลยเข้ าไปถึงพื ้นที่ที่ยงั ไม่ได้ ขออนุญาต ซึ่งเป็ นการละเมิด กฎหมาย นอกจากนี ้ บริษัทยังไม่เปิ ดเผยข้ อมูลการดาเนินการอย่างโปร่งใสต่อสาธารณชน และควรมี การ ให้ ข้อมูลคาร์ บอนที่เกิดจากการแผ้ วถางพื ้นที่ด้วย อย่างไรก็ตาม ในรายงานนี ้ Greenomics ได้ กล่าวขอบคุณและชมเชยประธานบริ ษัท PT Smart TBK อีก หนึ่งบริ ษัทลูกของ GAR ที่เข้ าร่วมสานเสวนาอย่างต่อเนื่ องในเรื่ องนโยบายการอนุรักษ์ ป่า และให้ ข้อมูลใน หลายๆ ส่วนของรายงานฉบับนี ้ ซึ่ง Greenomics ระบุว่า การให้ ความร่วมมือในสานเสวนาอย่างมีความ ตังใจ ้ และให้ ข้อมูลอย่างโปร่งใสเช่นนี ้เป็ นกรณีที่หายากมากจากธุรกิจในอินโดนีเซีย (Greenomics, 2012 หน้ า 2) ผลการดาเนินงานหลังจากการออกนโยบายไปแล้ ว 2 ปี หลังจากออกรายงานฉบับแรกไปใน ค.ศ.2012 Greenomics ได้ ออกรายงานติดตามผลอีกฉบับใน ค.ศ.2013 “Second year of implementation of Golden Agri’s forest conservation policy (GAR FCP):” โดยมีผลสรุปการดาเนินการในปี ที่ 2 ดังนี ้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

197


 จากการตรวจสอบบริ ษัทลูกของ GAR 4 แห่งในเขต Ketapang Regency จังหวัด West Kalimantan

ยัง พบการแผ้ วถางพื น้ ที่ โ ดยเฉพาะในเขตที่ มี ต้ น ไม้ พัน ธุ์ ห ายากและใกล้ สู ญ พัน ธุ์

(Greenomics, 2013 หน้ า 3)  พบหลักฐานการจ่ายเงินเพื่อขออนุญาตรัฐบาลในการแผ้ วถางป่ าของทัง้ 4 บริ ษัท ด้ วยจานวน พื ้นที่ที่ลดลงกว่าปี ก่อนๆ มาก (Greenomics, 2013 หน้ า 5)  จานวนพื ้นที่ที่ถกู แผ้ วถางทังหมดลดลงกว่ ้ าในปี แรกของการดาเนินนโยบาย FCP  ในเดือนมีนาคม ค.ศ.2013 GAR ได้ เริ่ มโครงการ High Carbon Stock (HCS) Pilot Project ใน เขตปลูกปาล์มน ้ามัน Kapuas Hulu Regency จังหวัด West Kalimantan ซึ่งเป็ นท้ องที่ที่ GAR ได้ รับ อนุญาตให้ ปลูกปาล์มน ้ามันถึง 20,000 เฮคเตอร์ (Greenomics, 2013 หน้ า 7)  จากปั ญหาเรื่ องความขัดแย้ งด้ านการใช้ ที่ดิน โดยดูจากแผนที่ที่ออกโดยรัฐบาลท้ องถิ่นและ กระทรวงป่ าไม้ ทาให้ รัฐบาลกลางออกกฎเลขที่ 60 ในค.ศ.2012 (Greenomics, 2013 หน้ า 15) อนุญาต ให้ บริษัทปาล์มน ้ามันที่ปฏิบตั งิ านในพื ้นที่ที่ได้ รับอนุญาต ซึ่งปรากฏในแผนที่ของกระทรวงป่ าไม้ รับสิทธิ์ไม่ ต้ องละทิ ้งพื ้นที่ป่า (secure forestland relinquishment) และได้ รับอนุญาตให้ แลกพื ้นที่ป่ากับที่ดินอื่นๆ ที่ จะมาปลูกป่ าได้ (forestland swap permits) ซึ่งเป็ นกฎที่ถกู หลายฝ่ ายวิจารณ์ว่าช่วยยกเลิก ความผิดของ บริษัทต่างๆ ที่ทาผิดกฎหมายก่อนหน้ านี ้ โดย GAR มีพื ้นที่เพาะปลูกปาล์มกว่า 70% ในเขตป่ าไม้ ที่กาหนด (designated area) (Greenomics, 2013 หน้ า 12) GAR จึงสมัครร่ วมโครงการนี ้ของรัฐ เพื่อแสดงถึง ความเต็มใจที่จะจ่ายค่าชดเชยที่ยงั ไม่ได้ จา่ ยจากการบุกรุกป่ าที่เกิดก่อนหน้ านี ้  Norwegian Government Pension Fund ขายหุ้นที่มีใน GAR และบริ ษัทผลิตน ้ามันปาล์มอีก 22 แห่งในช่วงปลายปี 2012 ด้ วยเหตุผลด้ านการบริ หารความเสี่ยงอันเกิดจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงที่ ประกาศโดย Norges Bank Investment Management (NBIM) ซึ่งเป็ นองค์กรที่รับผิดชอบในการลงทุน ด้ านสินทรัพย์ของรัฐบาลนอร์ เวย์ในเรื่ อง Pension Fund เหตุผลของการขายหุ้นคือความเกี่ยวข้ องของ ธุรกิจปาล์มน ้ามันและการทาลายป่ า (Greenomics, 2013 หน้ า 16) ซึ่งมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาว่า “บริ ษัทมี การเปิ ดเผยข้ อมูล รอยเท้ าป่ าไม้ หรื อไม่ มี การรายงานผลกระทบต่อป่ าไม้ อย่างไร และมี วิธี ประเมินว่าปั จจัยเหล่านี ้ก่อให้ เกิดความเสี่ยงต่อธุรกิจหรื อไม่ ” ซึ่งข้ อมูลเหล่านี ้ไม่ค่อยมีการเปิ ดเผยอย่าง โปร่งใสในธุรกิจปาล์มน ้ามันในอินโดนีเซีย

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

198


จากรายงานในปี ที่ 2 Greenomics ยังคงแนะนาให้ GAR เปิ ดเผยข้ อมูลการดาเนินงาน และการ ปล่อยคาร์ บอนต่อสาธารณชน เพื่อความเข้ าใจที่ถกู ต้ อง และการเรี ยนรู้ร่วมกัน เพราะนโยบายลักษณะนี ้ยัง เป็ นเรื่ องใหม่มากในอินโดนีเซีย อย่างไรก็ตาม GAR ยังคงไม่สามารถบรรลุเป้าหมายของการทาให้ รอยเท้ า ป่ าไม้ เป็ น 0 ได้ ถอดบทเรียนจาก GAR 1) กลไกที่ต้องการสร้ างอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื ้อของผู้บริโภคและสร้ างการคว่าบาตร (ผ่านโครงการ สร้ างความรับรู้แก่ผ้ บู ริ โภค) เพื่อที่จะทาลายชื่อเสียงและยอดขายของผู้ค้ารายใหญ่ในตลาด และสร้ างแรง กดดันไปสูค่ คู่ ้ าที่เป็ นผู้ผลิตนัน้ เป็ นกลไกที่ได้ ผลในการสร้ างแรงจูงใจให้ คคู่ ้ าต้ องพัฒนามาตรฐาน กลไกนี ้ สามารถสร้ างผลกระทบในระยะยาวที่มีประสิทธิภาพกับห่วงโซ่อปุ ทาน 2) กลไกที่ตงั ้ เป้าหมายไปที่ ผ้ ูผ ลิตรายใหญ่ที่มีอิทธิ พ ลต่อตลาด การทาโครงการรณรงค์ในระดับ นานาชาติอาจจะเป็ นสิ่ ง จ าเป็ น เพื่ อช่วยผลักดันให้ ผ้ ูผลิต มี ความกระตือ รื อร้ นและลดการต่อต้ าน แต่ ความสาเร็จในการสร้ างผลกระทบต้ องขึ ้นอยูก่ บั การลงมือทาของบริษัทผู้ผลิตเอง 3) การสร้ างกลไกและการสร้ างมาตรฐานโดยให้ ผ้ ูมี ส่วนได้ ส่วนเสี ยเข้ ามาร่ วม จะทาให้ เกิ ดการ ยอมรับจากทังภาคตลาดและภาคประชาสั ้ งคมได้ เร็วขึ ้น 4) การเผยแพร่ ข้อมูลอย่างครบถ้ วน โปร่ งใส และการวัดผลหลังจากมีการใช้ มาตรฐานจากองค์กร ภายนอก จะทาให้ ผ้ มู ีส่วนได้ ส่วนเสียให้ ความร่ วมมือมากขึ ้น และตัวบริ ษัทเองก็เกิดความเข้ าใจถึงการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากความยัง่ ยืนและความเสี่ยงที่ลดลงในการดาเนินธุรกิจ 5) GAR เป็ นหนึ่งในผู้เล่นที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ ในตลาด การที่ GAR เริ่ มสร้ างมาตรฐานให้ ตวั เองเรื่ อง ความยัง่ ยืนเป็ นการผลักดันให้ บริ ษัทอื่นๆ ที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันรับมาตรฐานด้ านความยัง่ ยืนไปใช้ เช่นกัน และแรงกดดันจากผู้ซื ้อ เช่น Unilever, Nestle และการรวมกลุ่มของผู้ที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ในระดับนานาชาติอย่าง Roundtable on Sustainable Palm Oil: RSPO ทาให้ เกิดการขับเคลื่อนด้ าน มาตรฐานมากขึ ้น แม้ ว่าการวัดผลจากโครงการ FCP จะยังมีข้อมูลไม่ม ากนัก เพราะเพิ่งมีการดาเนินงานอย่าง ต่อเนื่องในช่วงเวลา 2 ปี ที่ผา่ นมา แต่ผ้ มู ีสว่ นได้ สว่ นเสียหลายฝ่ ายก็ได้ จดั ทาแผนที่การกระจายของพื ้นที่ป่า ที่กักเก็บคาร์ บอนสูง (High carbon stock forests) ในเขตสัมปทานทังแปดแห่ ้ งของ GAR และพื ้นที่ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

199


เพาะปลูกใหม่ (GAR, 2012) ส่วน Greenomics ในฐานะองค์กรอิสระภายนอกก็ได้ ทาการตรวจสอบการ ทางานของ GAR ดังที่กล่าวมาข้ างต้ น สรุปข้ อค้ นพบ การขยายตัวของพื ้นที่การเกษตรโดยไม่ส่งผลกระทบต่อการทาลายป่ าเพิ่มเติม สามารถทาได้ โดย การเพิ่มความหนาแน่นในการเพาะปลูก เพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื ้นที่เพาะปลูก สิ่งเหล่านี ้สามารถทาได้ โดย การลงทุนด้ านแรงงาน ด้ านเทคโนโลยี การใช้ ป๋ ยุ การใช้ เมล็ดพันธุ์ที่ดีและการชลประทาน อย่างไรก็ตาม การได้ ผ ลผลิตเพิ่ม ขึน้ ต่อหน่วยจะช่วยเพิ่ม รายได้ และอาจกลายเป็ นตัวกระตุ้นให้ เกิ ดการขยายพื น้ ที่ การเกษตร โดยเฉพาะเมื่ออุปสงค์ของสินค้ าโภคภัณฑ์เพิ่มขึ ้นและท้ องถิ่นมีความพร้ อมในเรื่ องแรงงาน (Angelson, 2010; Rudel et al., 2009) เช่น เหตุการณ์ในประเทศเปรู ที่การปลูกปาล์มน ้ามันโดยใช้ เทคนิคเพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื ้นที่ไม่ได้ ช่วยลดการบุกรุกหรื อทาให้ พื ้นที่การปลูกน้ อยลง แต่กลับส่งเสริ มให้ มีการทาลายป่ ามากขึ ้น (Gutierrez-Velez et al., 2011)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

200


7. การวิเคราะห์ ช่องว่ างระหว่ างวิธีปฏิบัตทิ ่ ีเป็ นเลิศ กับกิจกรรมในห่ วงโซ่ อุปทานข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ จังหวัดน่ าน เมื่อเปรี ยบเทียบกรณีศกึ ษาวิธีปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศ (best practice) ในการจัดการห่วงโซ่อปุ ทานอย่าง ยัง่ ยืนของต่างประเทศ กับห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในไทย พบว่า กิจกรรมในห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพด เลีย้ งสัตว์ในจัง หวัดน่านยังไม่มีมิ ติใดที่สอดคล้ องกับหลักความยั่งยื น โดยเฉพาะหลักความยั่งยืนด้ าน สิ่งแวดล้ อม วิธีปฏิบตั ทิ ี่เป็ นเลิศในต่างประเทศจะประเมิน ความเหมาะสมของพื น้ ที ่เพาะปลูก เป็ นหัวใจสาคัญ โดยเฉพาะการไม่เ พาะปลูกในพื น้ ที่ ผิดกฎหมาย อาทิ ป่ าสงวน ซึ่ง นับเป็ นความรับผิดชอบขัน้ พื น้ ฐาน ตลอดจนให้ ความสาคัญกับ การปฏิ บตั ิ ที่เป็ นธรรม ต่อเกษตรกรรายย่อยในห่วงโซ่อปุ ทาน เช่น การกาหนด ราคารับซื ้อที่เป็ นธรรม การให้ ความช่วยเหลือด้ านเงินทุนและความรู้ในการเปลี่ยนพฤติกรรมการเพาะปลูก ให้ ยงั่ ยืนกว่าเดิม เป็ นต้ น กิจกรรมซึ่งมีส่วนก่อให้ เกิดปั ญหาสังคมและสิ่งแวดล้ อมสามารถเรี ยงตาม อานาจตลาด ของผู้มี ส่วนได้ เสียในห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์นา่ น ได้ ดงั ต่อไปนี ้ 1) เงื่อนไขการรับซือ้ ของโรงงานอาหารสัตว์ โดยเฉพาะ เบทาโกร และซีพี สองบริ ษัทใหญ่ซึ่งรับซื ้อราว 40% และ 28% ของข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ที่ ผลิตในพื ้นที่วิจยั ตามลาดับ อานาจตลาดสะท้ อนจากข้ อเท็จจริงที่วา่ ราคารับซื ้อของบริ ษัททังสองถู ้ กใช้ เป็ น ราคาอ้ างอิงในการกาหนดราคารับซื ้อของหัวสีและไซโลระดับจังหวัดและภูมิภาค สอดคล้ องกับวรรณกรรม ก่อนหน้ านีซ้ ึ่งระบุว่า สภาพตลาดข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์เป็ นตลาด “ผู้ซือ้ น้ อยราย” ที่ผ้ ูมีส่วนได้ เสียรายอื่นมี อานาจ ต่อรองน้ อยกว่ามาก ปั จจุบนั ยังไม่มีโรงงานอาหารสัตว์รายใดกาหนดเงื่อนไขที่เกี่ยวกับความยัง่ ยืนเป็ นเงื่อนไขการรับซื ้อ ข้ าวโพด เงื่อนไขด้ านความยัง่ ยืนที่สาคัญที่สดุ คือ ผลผลิ ตจะต้องไม่มาจากพืน้ ที ่ผิดกฎหมาย เนื่องจากการ บุกรุ กป่ าสงวน โดยเฉพาะป่ าในที่ดอน เป็ นกิจกรรมซึ่งจุดชนวนปั ญหาสังคมและสิ่งแวดล้ อมอื่นๆ ในน่าน แทบทังหมด ้ ตังแต่ ้ 1) ปั ญหาภัยธรรมชาติโดยเฉพาะอุทกภัยจากการมีพื ้นที่ป่าลดลง 2) ปั ญหาหมอกควัน จากการเผาเตรี ยมพืน้ ที่ เนื่องจากที่ดอนไม่สามารถใช้ วิธีไถกลบเช่นเดียวกับที่ราบได้ และ 3) ปั ญหา บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

201


สุขภาพจากการใช้ สารเคมีเกินขนาด เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่มองว่ าที่ดอนต้ องใช้ ยาฆ่าหญ้ ามากกว่า ปริ มาณปลอดภัยที่ระบุบนฉลาก (ส่วนหนึ่งเพราะเป็ นพื ้นที่อนุรักษ์ ซึ่งไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกตังแต่ ้ ต้ น) จากการคานวณเปรี ยบเทียบภาพถ่ายดาวเทียมโดย GISTDA พบว่า การบุกรุกป่ าสงวนเพื่อปลูก ข้ าวโพดยังดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง โดยหากเปรี ยบเทียบระหว่างปี 2545 และ 2556 พบว่าในพื ้นที่วิจยั ใน ลุ่มน ้ายาว-อวน-มวบ อันได้ แก่ ตาบลป่ าแลวหลวง พงษ์ ดู่พงษ์ และอวน พืน้ ที่ปลูกข้ าวโพดที่เพิ่มขึ ้นใน ช่วงเวลาดังกล่าวกว่าร้ อยละ 60 หรื อ 35,440 ไร่ เป็ นพื ้นที่ซงึ่ ได้ มาจากการบุกรุกป่ า 2) เงื่อนไขการปล่ อยสินเชื่อเพื่อการเพาะปลูก เงื่ อนไขการปล่อยสินเชื่อเพื่อการเพาะปลูก ของแหล่งทุนที่เกษตรกรใช้ โดยเฉพาะธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์ (ธ.ก.ส.) ซึ่งมีส่วนแบ่งตลาดสินเชื่อเพื่อการเพาะปลูกข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์สงู ที่สดุ ใน จังหวัดน่าน เกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพดแทบทุกรายต้ องกู้เงินก่อนการเพาะปลูกแต่ละฤดู เนื่องจากไม่มีเงิน เก็บเพียงพอ ดังนันเจ้ ้ าหนี ้จึงนับเป็ นผู้มีสว่ นได้ เสียที่มีผลต่อพฤติกรรมของเกษตรกร ถึงแม้ นโยบายทางการของ ธ.ก.ส. คือ เกษตรกรจะต้ องมีเอกสารสิทธิก่อนได้ รับอนุมตั ิสินเชื่อ แต่จากการ สัมภาษณ์สนามของผู้วิจยั พบว่า ในทางปฏิบตั เิ กษตรกรไม่จาเป็ นต้ องมีเอกสารสิทธิแต่อย่างใดในการได้ รับ อนุมตั สิ ินเชื่อ เพียงแต่ต้องหาบุคคลมาค ้าประกันเงินกู้แบบกลุ่มจานวน 5 คน และสามารถกู้เป็ นปั จจัยการ ผลิต (ปุ๋ย ฯลฯ) ได้ แทนที่จะกู้เป็ นเงินทุน 3) เงื่อนไขการรับซือ้ ของหัวสี หัวสีนบั เป็ นผู้มีสว่ นได้ เสียที่มีความใกล้ ชิดสูงสุดกับเกษตรกร เนื่องจากเป็ นผู้รับซื ้อผลผลิตโดยตรง จากเกษตรกรเพื่อขายต่อไปยังไซโลและโรงงานอาหารสัตว์อีกทอดหนึ่ง แต่ในเมื่อเป็ นเพียง “ตัวกลาง” ราคารับซื ้อและเงื่อนไขการรับซื ้อของหัวสีจึงถูกกากับโดยโรงงานอาหารสัตว์รายใหญ่อีกทอดหนึ่ง การรับ ซื ้อของหัวสีจึงมิได้ ส่งผลต่อปั ญหาสิ่งแวดล้ อมโดยตรง เพราะมิได้ เป็ นผู้กาหนดเงื่อนไขการรับซื ้อ แต่อาจ ส่งผลต่อ ความไม่ เป็ นธรรมต่อเกษตรกร โดยเฉพาะปั ญหาความยากจน เนื่องจากหัวสีสามารถกักเก็บ ข้ าวโพดเพื่อเก็งกาไร และแปรรูปข้ าวโพดเพื่อเพิ่มมูลค่าก่อนขายให้ กบั โรงงานอาหารสัตว์ แต่เกษตรกรราย

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

202


ย่อยมีอานาจในการต่อรองน้ อยมาก เนื่องจากจาเป็ นต้ องขายข้ าวโพดในราคาที่หวั สีกาหนดเพื่อนาผลผลิต ไปใช้ หนี ้ 4) พฤติกรรมการเพาะปลูกของเกษตรกร ปฏิเสธไม่ได้ ว่าปั ญหาด้ านความยัง่ ยืนทุกประการล้ วน “เกิดจาก” พฤติกรรมของเกษตรกรผู้ปลูก ข้ าวโพด ตังแต่ ้ การบุกรุ กพืน้ ที่ป่าสงวน การเผาเตรี ยมพืน้ ที่ และการใช้ สารเคมีเกินขนาด อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรายย่อยมีอานาจต่อรองน้ อยที่สดุ ในห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ อีกทังยั ้ งเผชิญกับแรงจูงใจที่ สนับสนุนพฤติกรรมดังกล่าวให้ ดาเนินต่อไป ตังแต่ ้ การไม่บงั คับใช้ กฎหมายป่ าสงวนของกรมป่ าไม้ นโยบาย จานาหรื อประกันราคาข้ าวโพดของรัฐซึ่งไม่ดึงดูดให้ เกษตรกรหันไปปลูกพืชทดแทนเท่าที่ควร ตลอดจน เงื่อนไขสินเชื่อของเจ้ าหนี ้อย่าง ธกส. และเงื่อนไขการรับซื ้อของโรงงานอาหารสัตว์ ซึง่ ยังไม่บรรจุหลักเกณฑ์ ด้ านความยัง่ ยืนใดๆ เอาไว้ ถึงแม้ เกษตรกรหลายรายจะเริ่ มหันไปปลูกพืชชนิดอื่นบ้ าง เช่น ยางพารา ผู้ถกู สัมภาษณ์ส่วนใหญ่ ยัง คงปลูกข้ าวโพดเป็ นหลักต่อไป โดยเจี ยดพื น้ ที่ บางส่วนเท่านัน้ ไปปลูกยางพารา เนื่ องจากการปลูก ข้ าวโพดได้ ราคาดี และเก็บเกี่ยวได้ เร็ว เทียบกับยางพาราซึง่ ต้ องรอนาน 5-6 ปี จึงจะได้ ผลผลิต

เมื่อเปรี ยบเทียบอานาจตลาดของผู้มีส่วนได้ เสียหลักในห่วงโซ่อปุ ทานข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ในบริ เวณ ลุ่มน ้ายาว-อวน-มวบ ดังรายละเอียดการวิเคราะห์ในบทที่ 4 และ 5 ของรายงานฉบับนี ้ เปรี ยบเทียบกับ หลักเกณฑ์และตัวชี ้วัดสาคัญด้ านสิ่งแวดล้ อมของมาตรฐานในโครงการ C.A.F.E ของ Starbucks และ นโยบาย Forest Conservation Policy ของ GAR สาหรับเกษตรกรรายย่อย ดังการวิเคราะห์กรณีศกึ ษา แนวปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศในบทที่ 6 ของรายงานฉบับนี ้ คณะวิจยั สามารถสรุปหลักเกณฑ์ที่ทงสองโครงการใน ั้ ต่างประเทศกาหนดตรงกัน และระบุผ้ มู ีส่วนได้ เสียในห่วงโซ่อปุ ทาน จ. น่าน ที่สามารถกาหนดหลักเกณฑ์ ดังกล่าว ได้ ดงั ตารางที่ 7.1

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

203


ตาราง 7.1 หลักเกณฑ์ด้านสิ่งแวดล้ อมของ Starbucks และ GAR สาหรับเกษตรกรรายย่อย และผู้มีส่วนได้ เสียที่สามารถกาหนดหลักเกณฑ์ดงั กล่าว ในกรณีข้าวโพด เลี ้ยงสัตว์ ลุม่ น ้ายาว-อวน-มวบ ผู้มีส่วนได้ เสียที่สามารถกาหนด หลักเกณฑ์ มาตรฐาน C.A.F.E. ของ Starbucks มาตรฐานดังกล่ าว กรณีล่ ุมนา้ ยาว-อวน-มวบ การใช้ พื ้นที่ในการ ห้ ามเปลี่ยนพื ้นที่ป่าไม้ เป็ นพื ้นที่การเกษตร, เกษตรกรรายย่อยไม่มีสิทธิเข้ าขอรับการรับรอง เบทาโกร, ซีพี (ผู้รับซื ้อผลผลิตราย เพาะปลูก มีการกาหนด ปกป้องและจัดการพื ้นที่ กลุม่ ถ้ าหากพื ้นที่ปลูกใหม่ปรากฏอยูภ่ ายในพื ้นที่ ใหญ่) อนุรักษ์มลู ค่าสูง (High Conservation ป่ าปฐมภูมิ หรื อพื ้นที่ใดๆ ที่พบว่ามีพื ้นที่ที่เป็ น ธ.ก.ส. (ผู้ปล่อยสินเชื่อรายใหญ่) Value) อย่างชัดเจนเพื่อรักษามูลค่าไว้ ถิ่นอาศัยที่มีคณ ุ ค่าสูงต่อการอนุรักษ์ (High Conservation Value) หนึง่ จุดหรื อมากกว่า การรักษาคุณภาพน ้า มีพื ้นที่กนกลาง ั้ (buffer zone) ระหว่างพื ้นที่ มีการปฏิบตั ใิ นการรักษาระดับและคุณภาพน ้าผิว เบทาโกร, ซีพี (ผู้รับซื ้อผลผลิตราย ผิวดินและน ้าใต้ ดนิ แหล่งน ้าถาวรกับพื ้นที่เพาะปลูก, ใช้ สารเคมี ดินและน ้าใต้ ดนิ , แสดงหลักฐานในการลดการ ใหญ่) เกษตรในระยะเกิน 5 เมตรจากแหล่งน ้า ไหลบ่าของสารเคมีปนเปื อ้ นลงสูแ่ หล่งน ้า ถาวร ธรรมชาติ รวมทังการรั ้ กษาเส้ นทางน ้าธรรมชาติ การป้องกันการกัดเซาะ พื ้นที่เพาะปลูกอย่างน้ อย 50% ที่มีความชัน มีการปฏิบตั ทิ ี่ลดและควบคุมการชะล้ างพังทลาย เบทาโกร, ซีพี (ผู้รับซื ้อผลผลิตราย ของหน้ าดิน น้ อยกว่า 20% ถูกปกคลุมด้ วยต้ นไม้ ที่สร้ าง ของดินและการเสื่อมโทรมของดินให้ น้อยที่สดุ ใหญ่) ร่มเงาและ/หรื อการปลูกพืชอื่นๆ และมีการ และมีการจัดทาแนวระดับลดหลัน่ (terracing) ใช้ เส้ นชันความสู ้ งของดิน (contour line) หรื อวิธีการอื่นๆ สาหรับการปลูกปาล์มน ้ามันใน และขันบั ้ นไดในการเพาะปลูก (bench พื ้นที่ลาดชันสูงในระหว่างหรื อก่อนการปลูก นโยบาย Forest Conservation Policy ของ GAR

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

204


หลักเกณฑ์

การใช้ สารเคมีทาง การเกษตร

การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลาย ทางชีวภาพ

มาตรฐาน C.A.F.E. ของ Starbucks terrace) ไม่ต่ากว่า 50% ในพื ้นที่เพาะปลูก ที่มีความชันระหว่าง 20-30% ไม่มีการใช้ ยาฆ่าวัชพืชเพื่อควบคุมพืชที่ปลูก ปกคลุมผิวดินหรื อพ่นลงบนพืชผล สามารถ ใช้ ได้ เฉพาะบางจุดที่มีวชั พืชขึ ้นอย่างรุนแรง, ไม่ใช้ ยาฆ่าแมลงประเภท 1A และ 1B ตาม รายชื่อจากองค์การอนามัยโลก และการใช้ ยาฆ่าแมลงถือเป็ นทางเลือกสุดท้ าย (หลังจากการใช้ วิธีกาจัดดังเดิ ้ ม หรื อการ ป้องกันทางกายภาพล้ มเหลว)

นโยบาย Forest Conservation Policy ของ GAR

ผู้มีส่วนได้ เสียที่สามารถกาหนด มาตรฐานดังกล่ าว กรณีล่ ุมนา้ ยาว-อวน-มวบ

ทดแทน

การใช้ สารเคมีทางการเกษตรต้ องไม่ทาให้ เกิด อันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้ อม รวมถึงไม่ให้ มีการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพืชในลักษณะของการ ป้องกัน ยกเว้ นในกรณีที่ได้ ระบุไว้ ในแนวปฏิบตั ิที่ ดีที่สดุ ของประเทศ หากมีการใช้ สารเคมีกาจัด ศัตรูพืชประเภท 1A หรื อ 1B ตามรายการของ องค์การอนามัยโลก หรื อตามรายการของ อนุสญ ั ญาสต็อคโฮล์ม หรื ออนุสญ ั ญารอตเตอร์ ดัม ผู้ปลูกปาล์มน ้ามันจะต้ องพยายามที่จะ หาทางเลือกอื่นแทนการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพืช เหล่านี ้ รวมทังมี ้ บนั ทึกไว้ พื ้นที่เพาะปลูกอย่างน้ อย 50% ถูกปกคลุม มีแผนการลดผลกระทบเชิงลบและแผนส่งเสริมที่ ด้ วยชันของสารอิ ้ นทรี ย์ (เช่น ชีวมวล จาก เอื ้อประโยชน์ตอ่ สิ่งแวดล้ อม ต้ องมีการระบุ ใบไม้ ที่เน่าเปื่ อย หญ้ า กิ่งไม้ และอื่นๆ) และ/ สถานภาพของพันธุ์พืชหรื อพันธุ์สตั ว์หายากหรื อ หรื อพืชปกคลุมที่ชว่ ยเพิ่มไนโตรเจน, ต้ นไม้ อยูใ่ นภาวะถูกคุกคามหรื อใกล้ สญ ู พันธุ์และ

เบทาโกร, ซีพี (ผู้รับซื ้อผลผลิตราย ใหญ่)

เบทาโกร, ซีพี (ผู้รับซื ้อผลผลิตราย ใหญ่) ธ.ก.ส. (ผู้ปล่อยสินเชื่อรายใหญ่)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

205


หลักเกณฑ์

มาตรฐาน C.A.F.E. ของ Starbucks ท้ องถิ่นจะถูกกาจัดเมื่อก่อให้ เกิดอันตราย กับมนุษย์หรื อเมื่อโตแข่งกับต้ นกาแฟเท่านัน้ , พื ้นที่อย่างน้ อย 10% ของไร่มีร่มเงาปก คลุม และมีความหลากหลายทางชีวภาพ ของไม้ ร่มเงา ไม่ใช้ ต้นไม้ ที่แพร่กระจายเร็ว มาเป็ นไม้ ร่มเงา, ห้ ามล่าสัตว์ป่าหายากหรื อ สายพันธุ์ที่ถกู คุกคาม และเก็บพรรณไม้ โดย ไม่ได้ รับอนุญาตในพื ้นที่

นโยบาย Forest Conservation Policy ของ GAR

ผู้มีส่วนได้ เสียที่สามารถกาหนด มาตรฐานดังกล่ าว กรณีล่ ุมนา้ ยาว-อวน-มวบ

ถิ่นอาศัยที่มีคณ ุ ค่าสูงต่อการอนุรักษ์ (High Conservation Value - HCV) และมีการอนุรักษ์ ซึง่ นามาพิจารณาไว้ ในแผนบริหารจัดการและ การดาเนินงาน หากมีอยูใ่ นพื ้นที่สวนปาล์มน ้ามัน หรื ออาจได้ รับผลกระทบจากการบริ หารจัดการ สวนปาล์มน ้ามันหรื อโรงงานสกัดน ้ามันปาล์ม

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

206


บรรณานุกรม Allinson, J. (2004). Procurement in the food and drink industry in the early 21st century. In Food supply chain management (eds M. A. Bourlakis & P. W. H. Weightman). Oxford, UK: Blackwell Publishing Ltd. Angelsen, A. (2010). Policies for reduced deforestation and their impact on agricultural production. Proceedings of the National Academy of Sciences 107: 19639–19644. Angelson, A. (2008). Moving ahead with REDD: Issues, options and implications. Bogor, Indonesia: CIFOR. Argenti, A.,Berger, C., and Drumwright, Social Alliances: Company/Nonprofit Collaboration; Christmann. Assadourian, A. (2005). The role of stakeholders. Worldwatch Vision for a Sustainable World 18 Austin, K., S. Sheppard, F. Stolle (2012). Indonesia’s moratorium on new forest concessions: key findings and next steps. Retrived Sep 2, 2012 from http://www.wri.org/publication/indonesia-moratorium-on-new-forest-concessions Baldock, D., Bishop, K., Mitchell, K. & Phillips, A. (1996). Growing greener. Sustainable agriculture in the UK, London, UK: Council for the Protection of Rural England and World Wide Fund for Nature. Bartley, T. (2003). Certifying Forests and Factories: States, Social Movements, and the Rise of Private Regulation in the Apparel and Forest Products Fields, Politics & Society, 31/3 Bateman, I. J., B. Fisher, E. Fitzherbert, D. Glew and R. Naidoo. 2010. Tigers, markets and palm oil: Market potential for conservation. Oryx 44: 230–234. Bebbington AJ and Batterbury SPJ (2001). Transnational livelihoods and landscapes: political ecologies of globalization. Ecumene 8(4)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

207


Ben & Jerry’s (2005). Climate Change College. Retrieved from http://www.climatechangecollege.org/ thecollege/index.php. Boehlje M and Doering O (1999). Market performance and price discovery issues in an industrialized agriculture. Paper presented at a National Symposium on the Future of American Agriculture, University of Georgia, Athens, georgia 25–27 August 1999 Boucher, D., P. Elias, K. Lininger, C. May-Tobin, S. Roquemore, and E. Saxon. (2011). The root of the problem: What's driving tropical deforestation today? Cambridge, USA: Union of Concerned Scientists. Brester, G. W. (2012). Corn grain. Retrieved September 5, 2013, from http://www.agmrc.org/ commodities__products/grains__oilseeds/corn_grain/ BSI and CUC. (2010). Verifying Greenpeace claims. Case: PT SMART Tbk. Retrieved May 3, 2013 from: http://www.smarttbk.com/pdfs/Announcements/IVEX%20Report%20100810.pdf. Cadbury-Schweppes (2004). Cadbury Schweppes Society & Environment Report 2004. Retrieved from http://www.cadburyschweppes.com/EN/EnvironmentSociety/. CCCC (2005). Common Code for the Coffee Community; global code of conduct aiming at social, environmental and economic sustainability in the mainstream coffee sector. Retrieved from http://www.sustainable-coffee.net/ Christopherson, G. & Coath, E. (2002). Collaboration or control in food supply chains: who ultimately pays the price? Paradoxes in Food Chains and Networks. In Proc. 5th Int. Conf. on Chain and Network Management in Agribusiness and the Food Industry (eds J. H. Trienekens & S. W. F. Omta). Wageningen, The Netherlands: Wageningen Academic Publishers. ISBN 9076998094.

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

208


CIAA (2002). Industry as a partner for sustainable development: food and drink. A report prepared by Confederation of the Food and Drink Industries of the EU in collaboration with ABA, ABIA, AFFI, AFCG, ANDI,FCPMC, FIAL, JAFIC, NFPA, SOFOFA, food and drink associations from Nigeria, The Philippines and South Africa. Developed through a multi-stakeholder process facilitated by UNEP. Clarke, L. (2001). “It’s one big word that covers a lot of different things.” Understanding consumer attitudes towards the environment and consumer products. Surrey. UK: EngD Portfolio, CES, University of Surrey. Clay, J. (2004). World agriculture and the environment: a commodity-by-commodity guide to impacts and practices. Washington, DC: World Wildlife Fund, Island Press. ISBN 1559633670 Clements, G. R., J. Sayer, A. K. Boedhihartono, O. Venter, T. Lovejoy, L. P. Koh, and W. F. Laurance. (2010). Cautious optimism over Norway-Indonesia REDD pact. Conservation Biology 24: 1437–1438. Coase, R. H. (1937). The nature of the firm. Economica 4 Colchester, M., Jiwan, N., Sirait, M., Firdaus, A. Y., Surambo, A. and Pane, H. (2006). Promised land: Palm oil and land acquisition in Indonesia: Implications for local communities and indigenous peoples. Moreton-in-Marsh, UK: Forest Peoples Programme, Perkumpulan Sawit Watch, HuMA, World Agroforestry Centre. Computing for Sustainability. (2009). Retrieved July 20, 2013 from http://computingforsustainability.files. wordpress.com/2009/05/maconceptual_framework.png Conservation International (2005). CI Facts: Overview. Retrieved on August 16, 2006 from http://www.conservation.org/xp/CIWEB/downloads/CI_Overview.pdf

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

209


Co-op (2004). Shopping with attitude. Manchester, UK: Co-operative Group. Corley, R. H. V. & Tinker, P. B. H. (2003). The oil palm, 4th edn. Oxford, UK: Blackwell Publishing Ltd Danone (2004). Social and environmental responsibility report: the danone model for action Dawney, E. & Shah, H. (2005). Behavioural economics: seven principles for policy makers. London, UK: New Economics Foundation. DEFRA (2002). The strategy for sustainable farming and food: facing the future, London, UK: DEFRA Publications DEFRA (2003). Public sector food procurement initiative (PSFPI). London, UK: DEFRA Publications. DFID. (2012). Slowing global deforestation. London, UK: Department for International Development. Retrieved September 2, 2012 from www.dfid.gov.uk/News/Speeches-andstatements/2012/Stephen-Obrien-The-Forest-Trust-Conference/ Donovan, R. Z., G. Clarke, and C. Sloth. (2010). Verification of progress to enabling activities for the Guyana-Norway REDD+ agreement. Richmond: Rainforest Alliance. Drabæk, I. & Brinch-Pederson, M. (2004). No writing on the wall; sustainable development as a business principle in the supply chain, pp. 8. Discussion paper based on a Nordic Partnership Survey (ed. T. Follwell). Copenhagen, Denmark: Nordic Partnership. Duffy, R. & Fearne, A. (2004). Partnerships and alliances in UKz supermarket supply networks. In Food supply chain management (eds M. A. Bourlakis & P. W. H. Weightman. Oxford, UK: Blackwell Publishing Ltd. Eaton C and Shepherd AW (2001). Contract farming – partnerships for growth. AGS Bulletin No. 145. FAO, Rome

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

210


Einarsson P (2000). Agricultural trade policy – as if food security and ecological sustainability mattered. Church of Sweden Aid and The Swedish Society for Nature Conservation ETI (2000). Ethical Trading Initiative. Retrieved from http://www.ethicaltrade.org/ ETP (2005). The ethical tea partnership. Working for a responsible tea industry. Retrieved from www.ethicalteapartnership.org. Eurepgap (2005). The global partnership for safe and sustainable agriculture. Retrieved from http://www.eurep.org/Languages/English/index_html. FAO (2009). Food and Agricultural Organization of the United Nations. How to feed the world in 2050. Rome: FAO, Retrieved September 2, 2012, from: www.fao.org/fileadmin/templates/wsfs/docs /expert_paper/How_to_Feed_the_World_in_2050.pdf FAO and ILO Statistics Divisions. (2000) “World-wide Estimates and Projections of the Agricultural Population and Labour Force 1950-2010 Retrieved September 2, 2012, From http://www.fao-ilo.org/fileadmin/user_upload/ fao_ilo/pdf/WorldWide_Estimates__Projections_of_the_Agricultural _Population__Labour_Force_1950-2010__3_.pdf Fearnside, P. M. (2005). Deforestation in Brazilian Amazonia: History, rates and consequences. Conservation Biology 19: 680–688. Finer, M., R. Moncel, and C. N. Jenkins. (2010). Leaving the oil under the Amazon: Ecuador's Yasuní-ITT Initiative. Biotropica 42: 63–66 Fox, T. & Vorley, B, (2004). Stakeholder accountability in the UK supermarket sector. Final report of the ‘Race to the Top’ project. London, UK: International Institute for Environment and Development.

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

211


GAR (2012). Sustainability Report 2011: Preserving the present, ensuring the future. Golden Agri-Resources. Retrieved May 3, 2013 from http://www.goldenagri.com.sg/pdfs/Sustainability/2011/GAR_SR2011%20FSC.pdf. Gereffi, G., Garcia-Johnson, R., and Sasser, E., (2001),The NGO-Industrial Complex, Foreign Policy, July/Aug Giovannucci, D. & Ponte, S. (2005). Standards as a New Form of Social Contract? Sustainability Initiatives in the Coffee Industry, Food Policy, 30/3 Golden-Agri (2011). press release, 9 February 2011. Retrieved September 18, 2013 from http://www.goldenagri.com.sg/110209%20Golden%20AgriResources%20Initiates%20Industry %20Engagement%20for%20Forest%20Conservation.pdf Greenomics (2012). What has been learned from first year of Golden Agri’s forest conservation policy in West Kalimantan? Retrieved September 18, 2013 from www.greenomics.org/docs/Report_201205_ GAR_SCP_Review.pdf Greenomics (2013). Second year of implementation of Golden Agri’s forest conservation policy (GAR FCP). Greenpeace (2009). Slaughtering the Amazon. Greenpeace, Amsterdam. Retrieved September 2, 2012 from www.greenpeace.org/international/en/publications/reports/slaughteringthe-amazon/ Greenpeace.(2006). Eating up the Amazon. Greenpeace, Amsterdam.Retrieved October, 2 2012 from www.greenpeace.org/international/en/publications/reports/eating-up-theamazon/ Groupe Danone (2005). Sustainable agriculture. Promoting sustainable agriculture. Development Programs. Sustainable Agriculture supplies. บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

212


Gutiérrez-Vélez, V., H., R. DeFries, M. Pinedo-Vásquez, C. Padoch, W. Baethgen, K. Fernandes, and Y. Lim. (2011). High-yield oil palm expansion spares land at the expense of forests in the Peruvian Amazon. Environmental Research Letters 6: 044029. Gypmantasiri P, Sriboonchitta S and Wiboonpongse A (2001). Policies for agricultural sustainability in northern Thailand. International Institute for Environment and Development, London. Halweil, B. (2004). Eat here: reclaiming homegrown pleasures in a global supermarket. London: W. W. Norton & Company Ltd. ISBN 0-393-32664-0. Hamprecht, J., Corston, D., Noll, M. & Meier, E. (2005). Controlling the sustainability of food supply chains. Supply Chain Manage. Int. J. 10. (doi:10.1108/135985 40510578315) Harris-Pascal, C., Humphrey, J. & Dolan, C. (1998). Value chains and upgrading: the impact of UK retailers on the fresh fruit and vegetables industry in Africa. Brighton, UK: Institute of Development Studies, University of Sussex. HealthFocus International (2005). HealthFocus International sees consumers defining health and wellness as an attitude-which could have consequences for marketers and for public health. Nutrition Business J. July, 12–13. Holdsworth, M. & Steedman, P.(2005). 16 pain-free ways to help save the planet—19 case studies on the use of incentives to change behaviour. London, UK: National Consumer Council. Hooker, N. H. & Caswell, J. A. (1999). Two case studies of food quality management systems. J. Int. Food Agribusiness Marketing 11 Howes, R. (2005). Reversing the decline of global fish stocks: ecolabelling and the marine stewardship council, Sustainable Development International, March 2005 บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

213


Humphrey, J. (2005). Shaping Value Chains for Development: Global Value Chains in Agribusiness, Deutsche Gesellschaft fur Technische Zusammenarbeit (GTZ). & Federal Ministry for Economic Cooperation and Development. ICI (2005). International Cocoa Initiative. World Cocoa Foundation. Encouraging sustainable responsible cocoa growing. Retrieved from http://www.worldcocoafoundation.org/Labour/Child/Initiative/. IFST (2005). Current hot topics: organic food. Institute of Food Science & Technology, London, UK. International Coffee Organization (2009). Climate Change and Coffee. ICC 103-6 Rev. 1. International Trade Centre (2010). Climate Change and the Coffee Industry. Geneva. SC-10174.E. Irwin, S. H. & Good, D. L. (2009). Market Instability in a New Era of Corn, Soybean, and Wheat Prices. Choices, 24(1), 6-11.Island Press (2003). Ecosystems and Human Well-being: A Framework for Assessment. Retrieved Mar 20, 2013, from http://www.unep.org/maweb/en/Framework.aspx Irwin, S. H. & Good, D. L. (2009). Market Instability in a New Era of Corn, Soybean, and Wheat Prices. Choices, 24(1), 6-11.Island Press (2003). Ecosystems and Human Well-being: A Framework for Assessment. Retrieved Mar 20, 2013, from http://www.unep.org/maweb/en/Framework.aspx Jaffee, D. (2007). Brewing Justice: Fair Trade Coffee, Sustainability, and Survival, Berkeley: University of California Press. Jaffee, S., Siegel, P., & Andrews, C. (2008). Rapid Agricultural Supply Chain Risk Assessment (RapAgRisk) : Methodological Guidelines Volume 2 Steven (Revised Draft): Commodity Risk Management Group, Agriculture and Rural Development Department, World Bank. บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

214


Jedvall, I. (1999). A sustainable food supply chain. UNEP Industry and Environment April– September 1999

Kissinger G. (2011). Linking forests and food production in the REDD+ context. CCAFS Working Paper no. 1. Copenhagen, Denmark: CGIAR Research Program on Climate Change, Agriculture and Food Security (CCAFS). Retrived September 2, 2012 from: www.ccafs.cgiar.org Kissinger, G., M. Herold, and V. De Sy (2012). Drivers of deforestation and forest degradation: A synthesis report for REDD+ policymakers. Vancouver: Lexeme Consulting. Kissinger, G.,Brasser, A. & Gross, L. (2013). Reducing Risk, Landscape Approaches to Sustainable Sourcing – Starbucks and Conservation International Case Study, Landscape for People, Food and Nature Klapwijk, H. P.(2004). Economics reconfigured—a vision of tomorrows value chains. Summarised inaugural speech in accpetance of the Chair of Supply Chain Economics at Universiteit Nyenrode Knight, C. (2002). Special report: joining forces. Food Sci.Technol. 16 Koechlin D and Wittke A (1998). Sustainable business and the pesticide business: a comparison in W Vorley and D Keeney (eds) Bugs in System: Redesigning the Pesticide Industry for Sustainable Agriculture. Earthscan, London. Lambin, E.F., Geist, J. and Lepers ,E. (2003). Dynamics of land-use and land-cover change in tropical regions. Annual Review in Environment and Resource, 28, 205-41. Laurance, W. F., L. P. Koh, R. Butler, N. S. Sodhi, C. J. A. Bradshaw, J. D. Neidel, H. Consunji, and J. Mateo Vega.(2010). Improving the performance of the roundtable on sustainable palm oil for nature conservation. Conservation Biology 24 บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

215


Lee, M. (2004). Starbucks Stakeholder Engagement Event: Summary of Feedback on the Preferred Supplier Program, SustainAbility. Lewis, J. and Runsten, D. (2007). Coffee, Migration and Environment in Southern Mexico: Preliminary Observations from a Study of 15 Communities in Oaxaca and Chiapas, Paper presented at Latin American Studies Association, Montreal. Jaffee. Linton, A., (2005). Partnering for Sustainability: Business-Ngo Alliances in the Coffee Industry, Development in Practice, 15/3&4 Locke, R., (2005). The Promise and Perils of Globalization: The Case of Nike, Massachusetts Institute of Technology: Industrial Performance Center Pendergrast, M. (1999). Uncommon Grounds: The History of Coffee and How It Transformed Our World, New York: Basic Books Macedo, M. N., R. S. DeFries, D. C. Morton, C. M. Stickler, G. L. Galford, and Y. E. Shimabukuro. (2012). Decoupling of deforestation and soy production in the southern Amazon during the late 2000s. Proceedings of the National Academy of Sciences 109: 1341–1346. Mantel, S. and van Engelen, V.W.P. (1994). The impact of land degradation on food productivity. Case studies of Uruguay, Argentina and Kenya, Volume 1, Volume 1: main report Marks & Spencer (2005). Corporate Social Responsibility report. Retrieved from http://www2.marksandspencer.com/thecompany/ourcommitmenttosociety/index.shtml. McDonald, J. (1999). The neoliberal project and governmentality in rural Mexico: emergent farmer organisation in the Michoacan highlands. Human Organization 58(3), 274–284. Millard, E. (2005). Sustainable Coffee: Increasing Income of Small-Scale Coffee Farmers in Mexico through Upgrading and Improved Transparency in the Value Chain, USAID บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

216


Monfreda, C., N. Ramankutty, and J. A. Foley. (2008). Farming the planet: 2. Geographic distribution of crop areas, yields, physiological types, and net primary production in the year 2000. Global Biogeochemical Cycles 22: 1022. Mongabay (2011). McDonald’s launches new sourcing policy for palm oil, paper, and beef to reduce global environmental impact. Retrived September 2, 2012 from http://news.mongabay.com/2011/ 0310-mcdonalds.html Moutinho, P., O. S. Martins, M. Christovam, A. Lima, D. Nepstad, and A. C. Crisostomo. (2011). The emerging REDD+ regime of Brazil. Carbon Management 2(5): 587–602. Murray, D., Raynolds, L.,and Taylor, P.L. (2003). One Cup at a Time: Poverty Alleviation and Fair Trade Coffee in Latin America, Colorado State University Fair Trade Research Group; Bacon; Conroy, Nescafe´ (2005). Nescafe´ Partners Blend. Retrieved From http://www.growmorethancoffee.co.uk/ product.htm. Newton, P., Agrawal, A., Wollenberg, L. (2013) Interventions for Achieving Sustainability in Tropical Forest and Agriculture Landscapes. CAPRi (Collective Actions and Property Rights) Working Paper No 110. Retrieved July 15, 2013 from http://ccafs.cgiar.org/publications/interventions-achieving-sustainability-tropical-forestand-agricultural-landscapes#.UjHp_NxgeSo Nordic Partnership (2004). Paths to sustainability in supplychain management, SSCM Self diagnostic tool, Version 1.0 August 2004. Nowicki P (2000). Agriculture and Biodiversity: Vertical integration within the agricultural sector – the European dimension. Report for the IUCN European Regional Office. NWF (2011). The role of commodity roundtables and avoided forest conversion in subnational REDD+. San Diego, USA: National Wildlife Federation. บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

217


NZBCSD (2003). Business guide to a sustainable supply chain.A practical guide. New Zealand Business Council for Sustainable Development Oxfam (2002). Mugged: Poverty in Your Cup, Oxfam International, Washington Pattanavibool, A., Dearden, P., and Kutintara, U. (2004). Habitat fragmentation in north Thailand: a case study. Bird Conservation International, 14, S13-22. Perez-Aleman, P. and Sandilands M. (2008) Building Value at the Top and Bottom of the Global Supply Chain: MNC-NGO Partnerships and Sustainability, California Management Review. Vol. 51, No. 1, Fall 2008, 24-49. Retrieved July 20, 2013 from http://gemseminar.scripts.mit.edu/docs/PerezAleman%20Background%20Paper%2009.pdf Ponte (2002). Standards and Sustainability in the Coffee Sector: A Global Value Chain Approach; Oxfam, Mugged: Poverty in Your Cup, Oxfam International, Washington Ponte,S. (2002). The ‘Latte Revolution’? Regulation, Markets and Consumption in the Global Coffee Chain, World Development, 30/7 Ponte,S. (2004). Standards and Sustainability in the Coffee Sector: A Global Value Chain Approach, International Institute for Sustainable Development Pretty, J. & Hine, R. (2001). Reducing food poverty with sustainable agriculture: a summary of new evidence. Final Report from the SAFE-World Research Project. Colchester, U.K.: University of Essex. Pretty, J. N. (1995). Regenerating agriculture: policies and practice for sustainability and selfreliance, London, UK: Washington DC, USA; Bangalore, India: Earth-scan, National Academy Press, ActionAid and Vikas

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

218


Pritchard B (2000). The tangible and intangible spaces of agro-food capital. Paper presented at the 10th International Rural Sociology Association World Congress, Rio de Janeiro, Brazil, July 2000. R. Muradian and W. Pelupessy (2005). Governing the Coffee Chain: The Role of Voluntary Regulatory Systems, World Development, 33/12.; Oxfam. Rainforest Alliance (2000). The Rainforest Alliance helps Chiquita produce a “better banana” and transforms an entire industry. Retrieved from http://www.rainforestalliance.org/news/2000 /chiquita.html. Reardon, T., Codron, J.M., Busch, L., Bingen, J., and Harris, C. (2001). Global Change in Agrifood Grades and Standards: Agribusiness Strategic Responses in Developing Countries, International Food and Agribusiness Management Review, 2/3/4 Robins, N. & Roberts, S. (2000). The reality of sustainable trade. London, UK: IIED. Roundtable on Sustainable Palm Oil (RSPO) (2005). Round table on sustainable palm oil. From http://www.sustainable-palmoil.org/, การผลิ ตน้ามันปาล์มอย่างยัง่ ยื นตามกรอบ RSPO : หลักการและเกณฑ์กาหนดของประเทศไทย (TH-NI) สาหรับเกษตรกรรายย่อย http://www.rspo.org/file/Final%20Document%20TH%20NI%20smallholders_RSPO%20P C%20-%20approved%209%20Oct%202012%20(Thai%20Version).pdf Roundtable on Sustainable Palm Oil (RSPO) (2013). Market Data - As at 15th Oct 2013, Retrieved October 26, 2013 from http://www.rspo.org/ en/Market_Data__As_at_15th_Oct_2013 Rudorff, B. F. T., M. Adami, D. A. Aguiar, M. A. Moreira, M. P. Mello, L. Fabiani, D. F. Amaral, and B. M. Pires. 2011. The soy moratorium in the Amazon biome monitored by remote sensing images. Remote Sensing 3: 185–202.

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

219


Schroth, G., P. Ladderach, J. Dampewolf, S. Philpott, Jm. Haggar. H. Eakin, T. Castillejos, J.G. Moreno, L. Soto Pinto, R. Hernandez, A. Eitzinger and J. Ramirez-Villegas (2009). Towards a climate change adaptation strategy for coffee communities and ecosystems in the Sierra Madre de Chiapas, Mexico, Mitigation and Adaptation Strategies for Global Change 14 SCS Global Services (2003). C.A.F.E. Practices Verifier and Inspector Operations Manual. Retrieved on October 1, 2013 from www.scsglobalservices.com/files/cafe_man_verinsops_v5_1_032613.pdf SCS Global Services (2013). Starbucks Coffee Company C.A.F.E. Practices Version 3.1 SelfEvaluation for Medium/Large Farms. Retrieved October 20, 2013 from http://www.scsglobalservices.com/starbucks-cafe-practices SCS Global Services (2013b). Starbucks Coffee Company C.A.F.E. Practices Version 3.1 SelfEvaluation for smallholders. Retrieved October 20, 2013 from http://www.scsglobalservices.com/starbucks-cafe-practices SCS Global Services, (2013c) Starbucks C.A.F.E. Practices Ensuring the ethical sourcing of coffee. Retrieved October 9, 2013 from http://www.scsglobalservices.com/starbuckscafe-practices#country1 Shultz, H. and Yang, D.J. (1997). Pour Your Heart into It: How Starbucks Built a Company One Cup at a Time, New York Hyperion; US/GLEP, “Starbucks Campaign on Hold”, Press Release 12 May 1997. Smith, B. G. (2007) Developing Sustainable Food Supply Chains, Philosophical Transactions B, 363(1492): 849–861. Retrieved July 20, 2013 from http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2610113/ Spar, LaMure; Argenti,P. (2004), Collaborating with Activists: How Starbucks Works with Ngo’s, California Management Review, 47/1 บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

220


Starbucks (2003). Starbucks Corporate Social Responsibility Annual Report Starbucks (2004). C.A.F.E. Practices Generic Evaluation Guidelines Starbucks (2004). Starbucks Coffee Agronomy Company Opens in Costa Rica to Help Farmers Improve Their Coffee Quality Starbucks (2005). Starbucks Corporate Social Responsibility Annual Report 2005 Starbucks (2006). C.A.F.E Practices Overview Starbucks (2011). Global Responsibility Report Scorecard Starbucks (2012). Annual Report. Starbucks (2012b). Starbucks Global Responsibility Report Goals and Progress Starbucks (2013). C.A.F.E. Practices Verifier and Inspector Operations Manual Sunderlin, W. D., A. M. Larson, and P. Cronkleton. (2009). Forest tenure rights and REDD+: From inertia to policy solutions. In Realizing REDD+, A. Angelsen, ed.. Bogor, Indonesia: CIFOR. Sustain (2002). Sustainable food chains. Briefing paper 2. Public Sector catering; opportunities and issues relating to sustainable food procurement. London, UK: Sustain Sustainable Food Laboratory (2005). The purpose of the Sustainable Food Lab is to accelerate the movement of sustainably produced food from niche to mainstream. Retrieved From http://www.glifood.org/. Task Force Sustainable Palm Oil (2010). Manifesto of the Task Force Sustainable Palm Oil. Retrieved September 2, 2012 from http://www.taskforceduurzamepalmolie.nl Tennyson, R. & Wilde L., (2000). The guiding hand: brokering partnerships for sustainable development (ed. S. McManus). United Nations Department of Public Information

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

221


The MA business and industry synthesis team (2005). Ecosystem and Human well-being: opportunities and challenges for business and industry. Retrieved Mar 20, 2013, from http://www.unep.org/maweb/documents/document.353.aspx.pdf Unilever (2004). Unilever environment report. Retrieved from http://www.unilever.com/ourvalues/ under environment & society heading in the environment report. Unilever (2010). Sustainable Living Plan, Retrieved September 2, 2012 from http://www.sustainableliving.unilever.com/the-plan van der Werf, G. R., D. C. Morton, R. S. DeFries, J. G. J. Olivier, P. S. Kasibhatla, R. B. Jackson, G. J. Collatz, and J. T. Randerson. (2009) CO2 emissions from forest loss. Nature Geoscience 2: 737–738. Vorley, W. (2001). Farming That Works: Reforms for Sustainable Agriculture and Rural Development in the EU and US. Background paper for the NTA Multi-Dialogue Workshop “Sharing Responsibility for Promoting Sustainable Agriculture and Rural Development: The Role of EU and US Stakeholders”, Lisbon, 24–26 January 2001. Vorley, B. (2001). The Chains of Agriculture: Sustainability and the Restructuring of Agri-food Markets, Retrieved August 1, 2013, from http://pubs.iied.org/pdfs/11009IIED.pdf WBCSD (2004). WBCSD Annual Review 2003—reconciling the public and business agendas. Conches-Geneva, Switzerland: World Business Council for Sustainable Development WHO (2005). World Health Organisation: Hazard Analysis Critical Control Point System (HACCP) Willcockson, S. (2004). UK crop production. In Food supply chain management (eds M. A. Bourlakis & P. W. H. Weightman), ch. 6. Oxford, UK: Blackwell Publishing Ltd

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

222


Wokabi M.S., Sustainability of Maize Production in Kenya, Retrieved August 11, 2013 from http://ces.iisc.ernet.in/energy/HC270799/LM/SUSLUP/Thema2/311/311.pdf Wollenberg E, B.M. Campbell, P. Holmgren, F. Seymour, L. Sibanda, and J. von Braun. (2011). Actions needed to halt deforestation and promote climate smart agriculture. CCAFS Policy Brief no. 4. Copenhagen, Denmark: CGIAR Research Program on Climate Change, Agriculture and Food Security (CCAFS), Retrieved October 5, 2012, from www.ccafs.cgiar.org. Wunder, S. (2005). Payments for environmental services: Some nuts and bolts. CIFOR Occasional Paper No. 42. Bogor, Indonesia: CIFOR Yin, R.K., (2003). Case Study Research: Design and Methods, Thousand Oaks, CA: Sage Publications Zettelmeyer and Maddison; Austin and Reavis, (2001). Starbucks and Conservation International; Starbucks, Starbucks Corporate Social Responsibility Annual Report 2001. Zettelmeyer, W. and Maddison, A. (2004). Agroforestry-Based Enterprise Development as a Biodiversity Conservation Intervention in Mexico and Ghana: USAID/PVC Matching Grant Program Final Evaluation Report, USAID. กรมการค้ าภายใน. (2555). กรอบการระบายข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ตามโครงการแทรกแซงตลาดข้ าวโพดเลี ้ยง สัตว์และขอยกเว้ นการปฏิบตั ิตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2552 สาหรับข้ าวโพด เลี ้ยงสัตว์. มติคณะรัฐมนตรี วนั ที่ 9 ตุลาคม 2555. เข้ าถึงวันที่ 5 กันยายน 2556, จาก http://www.dit.go.th/service/Pr/InfoService/group1/5.1/pdf/ 2556/03.091055.pdf กรมวิชาการเกษตร (N/A). แนวโน้มปุ๋ ยเคมี โลก. เข้ าถึงเมื่อ 21 ก.ย. 2556 จาก http://it.doa.go.th/pibai/pibai/n12/v_9-oct/rai.html

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

223


กรมวิชาการเกษตร. (2547). เอกสารวิ ชาการข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ : เอกสารวิชาการ ลาดับที่ 11/2547. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมวิชาการเกษตร. (2552). ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์. เข้ าถึงวันที่ 6 กันยายน 2556, จาก http://it.doa.go.th/ vichakan/news.php?newsid=17 กรมส่งเสริมการเกษตร (2549). ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์. เข้ าถึงเมื่อ 12 ก.ย. 2556 จาก http://www.doae.go.th/library/html/2549/0709/Corn_Maize/P1.htm กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2556). การอนุมตั นิ าเข้ าข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์จากลาวและกัมพูชาผ่านองค์การ คลังสินค้ า. ผลการประชุมคณะรัฐมนตรี ครัง้ ที่ 3/2556 วันจันทร์ ที่ 21 มกราคม 2556. เข้ าถึงวันที่ 5 กันยายน 2556, จาก http://webhost.cpd.go.th/secret/download/%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E 0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2003(21%E0%B8% A1.%E0%B8%84.56)%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8 %94%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B9%8C.doc เขมรัฐ เถลิงศรี และ สิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน. (2555). ข้าวโพดเลี ย้ งสัตว์ กลไกสู่ความเหลื อ่ มล้าในระดับ ท้องถิ่ น กรณี ศึกษา: ห่วงโซ่การผลิ ตข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์ อ.เวียงสา จ.น่าน. เอกสารนาเสนอในงาน สัมมนาทางวิชาการชุดโครงการวิจยั "สูส่ งั คมไทยเสมอหน้ า การศึกษาโครงสร้ างความมัง่ คัง่ และ โครงสร้ างอานาจเพื่อการปฏิรูป", ศูนย์สารนิเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฉกาจ สุรธรรมจรรยา. (2544). รายงานผลการศึกษา เศรษฐกิ จการผลิ ตข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์รุ่นที ่ 1 จังหวัด น่าน ปี เพาะปลูก 41/42: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เขตเศรษฐกิจที่ 11 จังหวัดแพร่. ณัฐพล มีวิเศษณ์. (2555). รายงานการสารวจข้ าวโพด ครัง้ ที่ 4 ฤดูการผลิต ปี 2555/2556: ธุรกิจอาหาร สัตว์, 148, 14-24. ธ.ก.ส. (2555). โครงการ Value Chain (ข้ าวโพด). เข้ าถึงเมือ 18 กันยายน 2556 จาก http://www.baac.or.th/contentproduct.php?content_id=011625&content_group_sub=0002&content_group=0004&insi de=1 บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

224


ประเสริฐ ชิตพงศ์ (2556). การจัดการวัชพืช. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาวัชพืชและการจัดการ ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ . เข้ าถึงเมื่อ 17 ก.ย. 2556 จาก http://natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/weed/pdf/part3.pdf ประชา คุณธรรมดี. (2553). ช่องว่างทางนโยบายด้ านการเกษตร. เอกสารประกอบการสัมมนา Policy Gap 23/6/53. เข้ าถึงวันที่ 5 กันยายน 2556, จาก http://www.econ.tu.ac.th/doc%2Fcontent%2F580%2Fdraft_policy_gap-23653.doc ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2556). ครม.ขยายเวลานาเข้ าข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ปี′56 อีก 1 เดือน. เข้ าถึงวันที่ 5 กันยายน 2556, จาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1370338254 แผนงานผักปลอดสารพิษ จ.ขอนแก่น (2553). วัตถุอนั ตรายทางการเกษตร. ขอนแก่น: ภาควิชาเภสัช ศาสตร์ สงั คมและการบริหาร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. พัชราวดี สุวรรณธาดา (2556), ฝุ่ นละอองในบรรยากาศ. เอกสารประกอบวิชา สววท 302: การวิเคราะห์ มลพิษ (Pollution Analysis). คณะสิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. เข้ าถึง เมื่อ 8 ต.ค. 2556 จาก http://www.en.mahidol.ac.th/elearning/upload/Airpollution_New.pdf มนตรี กุลเรื องทรัพย์. (2541). การวิ เคราะห์เชิ งเศรษฐกิ จ ทางการผลิ ต การตลาด ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ รุ่น1 ในเขตเกษตรเศรษฐกิ จที ่ 12: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เขตเกษตรเศรษฐกิจที่ 12 จังหวัด เชียงราย. ยรรยง พวงราช (2552). การกากับดูแลราคาจาหน่ายสิ นค้าปุ๋ ยเคมี . เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่ อง "ปุ๋ยเคมีราคาแพงจริงหรื อ" ณ ห้ องริชมอนด์ บอลรูม 1 โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2552. เข้ าถึงเมื่อ 16 ก.ย. 2556 จาก http://www.thaifert.com/upload_images/file/PriceFertilizer.ppt วารุณี จิตอารี และ ศักดิร์ ะพี อินซีอาจ (2549). รูปแปรทางพันธุกรรมของเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในน ้า เลือดประชากรไทยภาคเหนือ. วารสารเทคนิ คการแพทย์เชี ยงใหม่, 39, 88-96. ศานิต เก้ าเอี ้ยน. (2552). การวิ เคราะห์ความเคลือ่ นไหวราคาข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์ . เข้ าถึงเมือ 20 สิงหาคม 2555 จาก http://www.agri.eco.ku.ac.th/admin/fileupload/corn%203.12.52.ppt บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

225


สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน ้าและการเกษตร. (2556). ทรัพยากรป่ าไม้ล่มุ น้าน่าน. เข้ าถึงเมื่อ 18 กันยายน 2556 จากhttp://www.haii.or.th/wiki/index.php/ทรัพยากรป่ าไม้ ลมุ่ น ้าน่าน สถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย. (2012). การประเมิ นระบบนิ เวศและกาหนดทางเลื อกการพัฒนาสู่การอยู่ดีมีสขุ ใน จังหวัดน่าน. เข้ าถึงเมื่อ 27 มี.ค. 2556 จาก http://www.peithailand.com/sga_report/SGANan%20Report.pdf สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย. (2555). ข้ อมูลประชากรสัตว์. เข้ าถึงเมื่อ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.thaifeedmill.com/tabid/56/Default.aspx สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย. (2556, 5 สิงหาคม). สัมภาษณ์สว่ นบุคคล. สาวิตร มีจ้ ยุ และคณะ (2551). การพัฒนาทางเลื อกระบบเกษตรที เ่ หมาะสมเพือ่ ทดแทนการปลูกข้าวโพด บนพืน้ ทีล่ าดชันโดยเกษตรกรมี ส่วนร่ วมของจังหวัดน่าน. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจยั . สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี . (2555). นโยบายและมาตรการนาเข้ าข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ปี 2556. เข้ าถึง วันที่ 5 กันยายน 2556, จาก http://www.cabinet.soc.go.th/soc/Program23.jsp?top_serl=99305955&key_word= &owner_dep=&meet_date_dd=&meet_date_mm=&meet_date_yyyy=&doc_id1=29049& doc_id2=2555&meet_date_dd2=&meet_date_mm2=&meet_date_yyyy2= สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้ อม (2553). คู่มือสาหรับเจ้าหน้าที ส่ าธารณสุข แนวทางการ ดาเนิ นงานเกษตรกรปลอดโรค ผูบ้ ริ โภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิ ษ กายจิ ตผ่องใส. กรุงเทพ: กรม ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร (2555). ข้ อมูลสถิติ พรบ. วัตถุอนั ตราย เข้ าถึงเมื่อ 15 ก.ย. 2556 จาก http://www.doa.go.th/ard/index.php?option=com_content&view=article&id=22:stat2535 &catid=29:stat&Itemid=104

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

226


สานักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดน่าน. (2555). การศึกษาปัจจัยทีม่ ี อิทธิ พลต่อการผลิ ตข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ของ เกษตรกรจังหวัดน่าน. ฝ่ ายกิจการสาขาภาคเหนือตอนบน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร. สานักงานเกษตรจังหวัดน่าน. (2556). รายงานผลการดาเนินงาน การขึ ้นทะเบียนเกษตรผู้ปลูกข้ าวโพด เลี ้ยงสัตว์. เข้ าถึงวันที่ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.nan.doae.go.th/TPS%203/headindex.htm สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2553). สศก.เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาราคาปุ๋ ยเคมี แพง. เข้ าถึงเมื่อ 15 ก.ย. 2556 จาก http://www.oae.go.th/ewtadmin/ewt/oae_baer/ewt_news.php?nid=2420&filename=index สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2555). ข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์รวมรุ่น: เนื ้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ปี 2554-2556 จาก http://www.oae.go.th/download/prcai/DryCrop/maize52-54.pdf สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2556). สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2555. กรุงเทพ: ศูนย์ สารสนเทศการเกษตร สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2544). อุตสาหกรรมปุ๋ ยเคมี . ศูนย์บริการเอกสารการวิจยั แห่งประเทศ ไทย (ศบอ.): กลุม่ อุตสาหกรรม 4 กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 2 สานักงานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม. สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . (2555). สถานการณ์และแนวโน้ มการผลิตข้ าวโพดไทย ความมัน่ คง ด้ านอาหารสัตว์. กรุงเทพ: ฝ่ ายเกษตร สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมจังหวัดมหาสารคาม, (2555). กฎหมายป่ าไม้และกฎหมาย อนุรักษ์ ทรัพยากรป่ าไม้. เข้ าถึงเมื่อ 8 ต.ค. 2556 จาก http://mahasarakham.mnre.go.th/envi2/index.php?option= com_content&view =article&id=111:2010-05-21-08-57-08&catid=46:2011-03-18-06-39-57 สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์. นโยบายประกันรายได้ เกษตรกร. เข้ าถึงวันที่ 18 กันยายน 2556, จาก http://www.km.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=446 บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

227


สานักงานวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร. (2555). สถานการณ์สินค้ าเกษตรที่สาคัญและแนวโน้ มปี 2556. กรุงเทพ: สานักงานวิจยั การเกษตร สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. สานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง (2546). คู่มือตรวจวัดฝุ่ นละอองในบรรยากาศ. กรุงเทพฯ: กรม ควบคุมมลพิษ. สานักส่งเสริมการค้ าสินค้ าเกษตร. (2551). หลักเกณฑ์และวิธีการรับจานาข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ตามโครงการ แทรกแซงตลาดข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์ ปี 2551/52. เข้ าถึงวันที่ 5 กันยายน 2556, จาก http://www.dit.go.th/contentdetail.asp?ty peid=8&catid=134&ID=1757 สุทศั น์ ศรี วฒ ั นพงษ์ (2553). ข้าวโพด. สุมน อมรวิวฒ ั น์ (บรรณาธิการ), สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ฉบับส่งเสริมการเรี ยนรู้ เล่ม 16 (77-139). กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระ เจ้ าอยูห่ วั . สุรวิช วรรณไกรโรจน์ (2556). ผลกระทบจาก พ.ร.บ.คุม้ ครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542. เข้ าถึงเมื่อ 17 ก.ย. 2556 จาก http://www.biothai.net/sites/default/files/2013_pvp_surawithdocument02.pdf เอมอร อังสุรัตน์ และคณะ (2554). ศักยภาพของเศรษฐกิ จการผลิ ตข้าวโพดไทยภายใต้ความเป็ นพลวัตของ อนาคตอาหารสัตว์และพลังงาน. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั .

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

228


ภาคผนวก A. รายชื่อผู้ให้ ข้อมูลสัมภาษณ์ ในงานวิจัย วันที่

รายการ

25 มิ.ย. 56 สัมภาษณ์

ผู้เข้ าร่ วม คุณศรีคา เสนนันตา ผู้ประกอบการรับซื ้อและลานข้ าวโพด (หัวสี) ระดับท้ องถิ่นอาเภอสันติสขุ ธิตกิ านต์ ป้องจันทา เจ้ าหน้ าที่ขาย ณ ร้ านค้ าสหกรณ์การเกษตรสันติสขุ จากัด

วงสนทนา

คุณสัพพสันต์ พรหมลังกา เกษตรอาเภอสันติสขุ คุณสิทธิชัย พังยะ ผู้ชว่ ยผู้จดั การสหกรณ์การเกษตรสันติสขุ จากัด แกนนาเกษตรกรผู้ปลูกข้ าวโพด นายนวน ยานันท์

ผู้ใหญ่บ้าน บ้ านหัวนา ม.9 ตาบลพงษ์

นายผ่อง ก๋านนท์

ผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บ้าน บ้ านห้ วยป่ าแดด ม.1 ตาบลพงษ์

นายอุคน ธนานะ

ตัวแทนเครื อข่ายเกษตรกร ม. 1 ตาบลพงษ์

นายสุรเดช ธิบดี

แกนนาผู้ปลูกข้ าวโพด ตาบลพงษ์

นายสายัญ ทองปั น คณะกรรมการเกษตรหมูบ่ ้ าน ม. 8 ตาบลพงษ์ นายอดิศกั ดิ์ โขงทอง ผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บ้าน บ้ านศรี นาม่าน ม.7 ตาบลพงษ์ นายปรเมษฐ์ โจนันท์ ตัวแทนเครื อข่ายเกษตรกร ม. 6 ตาบลพงษ์ นายคณพันธุ์ ธิบดี ตัวแทน อบต.พงษ์ หมู่ 1 26 มิ.ย. 56 สัมภาษณ์

สภาอุตสาหกรรม จังหวัดน่าน คุณครรชิต วงศ์ สิริลักษณ์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมน่าน และผู้ประกอบการ บริษัท ใจงาม จากัด ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ สานักงานจังหวัดน่าน คุณอดิศักดิ์ หัวหน้ าฝ่ ายสินเชื่อเกษตรกร

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

229


วันที่

รายการ

ผู้เข้ าร่ วม หอการค้ าจังหวัดน่าน คุณศศิวิม ล วงษ์ ย่ ีกุล เจ้ าของภูเพียงปศุสัตว์ฟาร์ ม อาเภอภูเพียง กรรมการ หอการค้ าน่าน คุณประเสิรฐ ธรรมลังกา ผู้ประกอบการรับซื ้อและลานข้ าวโพด หจก. จอมพระ พืชผล คุณพันธุ์พัฒน์ พิชา เลขาธิการการหอการค้ าน่าน เจ้ าของบริ ษัทท่องเที่ยว ริ เวอร์ ราฟท์ สานักงานเกษตรจังหวัดน่าน คุณพยอม วุฒสิ วัสดิ์ หัวหน้ ากลุม่ ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร

2 ส.ค. 56

สัมภาษณ์

สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย คุณณัฐพล มีวิเศษณ์ ผู้ชว่ ยผู้จดั การ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

26 ส.ค. 56 สัมภาษณ์

ผู้เชี่ยวชาญด้ านพืชไร่ ศ.ดร.เจริ ญ ศั ก ดิ์ โรจนฤทธิ์ พิ เ ชษฐ์ ภาควิ ช าพื ช ไร่ น า คณะเกษตรฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

30 ส.ค. 56 สัมภาษณ์

บริ ษัท ลีพฒ ั นา จากัด (มหาชน), บริษัท ลีพฒ ั นาอาหารสัตว์ จากัด คุณบุญธรรม อร่ ามศิริวัฒน์ คุณนิศานาถ กมลวิชญมาศ ผู้จดั การแผนกพืชน ้ามันและผลิตภัณฑ์จากทะเล ฝ่ ายจัดซื ้อ รวีธนัทณ์ วโรตม์ สุพรรณ ผู้ชว่ ยผู้จดั การแผนกพืชไร่ ฝ่ ายจัดซื ้อ

2 ก.ย. 56

สัมภาษณ์

เกรี ยงไกรชัยพฤกษ์พืชไร่ คุณเกรี ยงไกร สุทธเขต ผู้ประกอบการรับซื ้อและลานข้ าวโพด (หัวสี) ระดับ ท้ องถิ่น อ.สันติสขุ บริษัท ซินเจนทา จากัด คุณธีรพงศ์ เจ้ าหน้ าที่ฝ่ายขาย (เขต น่าน แพร่ พะเยา)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

230


วันที่

รายการ

ผู้เข้ าร่ วม

3 ก.ย. 56

สัมภาษณ์

สหกรณ์การเกษตรสันติสขุ คุณสิทธิชัย พังยะ ผู้ชว่ ยผู้จดั การสหกรณ์การเกษตรสันติสขุ จากัด ช. การเกษตร ร้ านค้ าขายปั จจัยการผลิตใน ตาบลดูพ่ งษ์ อาเภอสันติสขุ คุณสุชาติ สอนสมฤทธิ เจ้ าของร้ าน ช.การเกษตร หจก. จอมพระพืชผล คุณประเสริฐ ธรรมลังกา

4 ก.ย. 56

สัมภาษณ์

หจก. น่านพืชผล คุณนาฏนภรณ์ เมธาวรนั นท์ ชัย เจ้ าของ หจก.น่านพืชผล ผู้รวบรวมข้ าวโพด ระดับจังหวัด และตัวแทนขายปั จจัยการผลิต สหกรณ์การเกษตรปั ว สาขาอวน นฤมล หลวงหาญ ผู้จดั การสหกรณ์การเกษตรปั วจากัด

5 ก.ย. 56

สัมภาษณ์

ใจงาม คุ ณ ครรชิ ต วงศ์ สิ ริ ลั ก ษณ์ เจ้ า ของกิ จ การ บริ ษั ท ใจงาม จ ากัด ผู้ร วบรวม ข้ าวโพดระดับจังหวัด และตัวแทนขายปั จจัยการผลิต หจก. ชัยมิตรกิจเกษตร คุ ณ สมศั ก ดิ์ ทิ ว าราตรี วิ ท ย์ เจ้ า ของกิ จ การร้ านชัย มิ ต รกิ จ เกษตร ผู้รวบรวม ข้ าวโพดระดับจังหวัด และตัวแทนขายปั จจัยการผลิต ร้ านน้ อมจิตรพืชไร่ คุ ณ น้ อ มจิ ต ร หาญยุ ท ธ เจ้ า ของกิ จ การ หจก. ธัญ ชนก พื ช ผล ผู้ร วบรวม ข้ าวโพดระดับจังหวัด และตัวแทนขายปั จจัยการผลิต

18 ก.ย. 56 สั ม ภ า ษ ณ์ พ่ อเลีย้ งส่ ง ผู้ประกอบการรับซื ้อและลานข้ าวโพด ระดับท้ องถิ่น ทางโทรศัพท์ คุ ณจั นทรา สวั สดิว งษา ผู้ประกอบการร้ านจันทราพื ช ไร่ ลานข้ าวโพด ระดับ ท้ องถิ่น จิตฟองไซโล ผู้ประกอบการรับซื ้อและลานข้ าวโพด ระดับจังหวัด

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

231


วันที่

รายการ

ผู้เข้ าร่ วม

24 ก.ย. 56 สั ม ภ า ษ ณ์ บริษัท ไทยเซ็นทรัลเคมี จากัด ทางโทรศัพท์ คุณเอกชัย เจ้ าหน้ าที่ฝ่ายขายเขตภาคเหนือ 4 ต.ค. 56

สัมภาษณ์

บริษัท เบทาโกร จากัด (มหาชน) คุณประกิต เพียรศิริภิญโญ Assistant Vice President -

Corporate

Procurement Office 4 ต.ค. 56

สั ม ภ า ษ ณ์ สกต. น่าน ฝ่ ายรับซื ้อข้ าวโพด ทางโทรศัพท์ คุณเยาวรัตน์ คันธรักษ์ ผู้จดั การ สกต.น่าน จากัด

7 ต.ค. 56

สัมภาษณ์

บริษัท เจียไต๋ จากัด (ธุรกิจปุ๋ยเคมี) คุณเทพวิทย์ เตียวสุรัตน์ กุล รองกรรมการผู้จดั การบริหาร คุณศุภรัตน์ แต่ ร่ ุงเรือง รองกรรมการผู้จดั การ คุณยุวโรจน์ สุนทรพันธุ์ ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จดั การ คุณวิโรจน์ เตือนวีระเดช ผู้จดั การฝ่ ายขาย คุณนพรัตน์ หรั่งบุรี ผู้จดั การฝ่ ายส่งเสริมการขาย

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) สาขาปั ว จังหวัด ขอข้ อมูล ทาง น่ าน

15 ต.ค. 56 สัมภาษณ์ จดหมาย

21 ต.ค. 56 สัมภาษณ์

พ่อค้ าคนกลางผู้รวบรวมข้ าวโพดระดับภูมิภาค

ทางโทรศัพท์ - บรรจงพืชไร่ - สุรัตน์พืชผล - ธัญพัชรการเกษตร 5 พ.ย. 56

สัมภาษณ์

บริษัท ไพโอเนีย ไฮ-เบรด (ไทยแลนด์) จากัด คุณพิชญา รุจิรวัฒน์ กรรมการผู้จดั การ คุณสามิต บุรีแก้ ว ผู้จดั การฝ่ ายขาย

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

232


B. กฏหมายที่เกี่ยวข้ องกับปั จจัยการผลิตที่สาคัญ - กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับเมล็ดพันธุ์ ตามประกาศกฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่ อง กาหนดชนิดและชื่อพันธุ์ของเมล็ดพันธุ์ให้ เป็ น เมล็ดพันธุ์ควบคุม พ.ศ.2556 ประกาศให้ ข้าวโพด (Zea mays L.) เป็ นเมล็ดพันธุ์ควบคุมลาดับที่ 5 ซึ่งตาม พระราชบัญญัติพนั ธุ์พืช พ.ศ.2518 มาตรา 14 กาหนดให้ การรวบรวม ขาย นาเข้ า ส่งออก หรื อนาผ่าน เมล็ดพันธุ์ควบคุมเพื่อการค้ าต้ องได้ รับใบอนุญาต ตลอดจนต้ องเก็บเมล็ดพันธุ์ควบคุมไว้ ในสถานที่เก็บ เมล็ดพันธุ์ควบคุมตามที่ระบุไว้ ในใบอนุญาตเท่านัน้ ซึ่งหากฝ่ าฝื นจะต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิ น 2 ปี หรื อ ปรับไม่เกิน 4,000 บาท หรื อทังจ ้ าทังปรั ้ บ โดยหน่วยงานที่รับผิดชอบการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับเมล็ดพันธุ์ ควบคุมคือกรมวิชาการเกษตร นอกจากนี ้ยังมีการกาหนดมาตรฐานคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ที่จาหน่าย โดย กาหนดให้ เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดต้ องมีความงอกไม่ต่ากว่าร้ อยละ 75 และเป็ นเมล็ดบริ สทุ ธิ์ไม่ต่ากว่าร้ อยละ 98 ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่ อง กาหนดมาตรฐาน คุณภาพและวิธีเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ควบคุม ขณะที่ห้องปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ ของเอกชนนัน้ ต้ องปฏิบัติตามมาตรฐานที่ กาหนดโดยสานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร สาหรับพระราชบัญญัติค้ มุ ครองพันธุ์พืช พ.ศ.2542 นัน้ ได้ บญ ั ญัติขึ ้นเพื่อควบคุมการจดทะเบียน พันธุ์พื ชใหม่ที่รวมไปถึงพันธุ์ พื ชที่ ได้ รับการปรั บปรุ ง และตัดต่อพันธุกรรม โดยกาหนดให้ ต้องได้ รับการ ประเมินผลกระทบด้ านความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้ อม สุขภาพ หรื อสวัสดิภาพของประชาชนก่ อน ในแง่หนึ่ง เป็ นการคุ้มครองเกษตรกรให้ สามารถเก็บส่วนขยายพันธุ์ไว้ ใช้ เองได้ (สุรวิช วรรณไกรโรจน์ , 2556) แต่ ในทางกลับกันกฎหมายฉบับนี ้ก็เป็ นอุปสรรคต่อการค้ นคว้ าวิจยั เพื่อพัฒนาสายพันธุ์ที่ดีขึน้ (เอมอร อังสุ รัตน์ และคณะ, 2554) - กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับปุ๋ย นิยามของ “ปุ๋ย” ตามพระราชบัญญัติป๋ ยุ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550 หมายถึงสารอินทรี ย์ อินทรี ย์ สังเคราะห์ อนินทรี ย์ หรื อจุลินทรี ย์ ไม่ว่าจะเกิดขึ ้นโดยธรรมชาติหรื อทาขึ ้นก็ตาม สาหรับใช้ เป็ นธาตุอาหาร พืชได้ ไม่ว่าด้ วยวิธีใด หรื อทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี กายภาพ หรื อชีวภาพในดินเพื่อบารุงความ เติบโตแก่ พื ช ผู้ที่มี ค วามประสงค์ จ ะผลิ ต เพื่ อการค้ า ขาย น าเข้ า ส่ง ออกหรื อ น าผ่านปุ๋ยจะต้ องได้ รั บ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

233


ใบอนุญาตตามมาตรา 12 หากฝ่ าฝื นจะต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี หรื อปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรื อทังจ ้ าทังปรั ้ บ ปุ๋ยเคมีเป็ นสินค้ าควบคุมตามพระราชบัญญัติว่าด้ วยราคาสินค้ าและบริ การ พ.ศ.2542 ซึ่ง มี มาตรการทางกฎหมายให้ ผ้ ปู ระกอบการแจ้ งราคา รายละเอียดสินค้ า และห้ ามจาหน่าย แตกต่างจากที่แจ้ ง ไว้ เว้ นแต่ได้ รับอนุญาต และตังแต่ ้ เดือนกุมภาพันธ์ปี 2552 มีมาตรการให้ ผ้ ผู ลิต/ผู้ว่าจ้ างผลิต/ผู้นาเข้ า หรื อ ผู้จาหน่ายที่ มีปริ มาณการจาหน่ายเดือนละตังแต่ ้ 100 ตันขึน้ ไป แจ้ งปริ มาณการซื ้อ ปริ มาณการผลิต ปริ มาณการว่าจ้ างผลิต ปริ มาณการนาเข้ า ปริ มาณการจาหน่าย ปริ มาณคงเหลือ และสถานที่เก็บ ณ วัน สิ ้นเดือนของแต่ละเดือนเป็ นประจาทุกเดือน นอกจากนีย้ งั มีการแต่งตังคณะอนุ ้ กรรมการพิจารณาราคา ปุ๋ยเคมีเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ.2551 ซึ่งมีอธิบดีกรมการค้ าภายในเป็ นประธาน เพื่อติดตามสถานการณ์ วัตถุดิบ ต้ นทุนการผลิต ราคาจาหน่าย รวมถึงปริ มาณและความต้ องการปุ๋ยอย่างใกล้ ชิด ทังนี ้ เ้ นื่องจาก ปุ๋ยเคมีเป็ นปั จจัยการผลิตที่ผ้ ใู ช้ หลักคือเกษตรกร และปุ๋ยเคมีเป็ นสินค้ าที่นาเข้ าจากต่างประเทศ หากราคา ในตลาดโลกสูงขึ ้น ราคาขายในประเทศก็จะปรับตัวขึ ้นตามไปด้ วย รวมไปถึงเพื่อป้องกันการกักตุนและขาด แคลนสินค้ า ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเกษตรกรโดยตรง ดังนันการปรั ้ บราคาปุ๋ยเคมีของบริ ษัทต่างๆจึงอยู่ใน การควบคุมและตรวจสอบจากคณะอนุกรรมการพิจารณาราคาปุ๋ยเคมี (ยรรยง พวงราช, 2552) - กฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับสารกาจัดศัตรู พืช ประเทศไทยมีกฎหมายควบคุมวัตถุอนั ตรายคือ พระราชบัญญัติวตั ถุอนั ตราย พ.ศ.2535 (แก้ ไข 2 ครัง้ ในปี พ.ศ.2544 และ 2551) โดยแบ่งวัตถุอนั ตรายออกเป็ น 4 ประเภท ซึ่งมีระดับของการควบคุมต่า งกัน ในแง่ ก ารผลิ ต การน าเข้ า การส่ง ออก หรื อ การมี ไ ว้ ใ นครอบครอง ซึ่ง ตามพระราชบัญ ญัติก าหนดให้ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศระบุชื่อหรื อคุณสมบัติของวัตถุอนั ตราย ชนิดของวัตถุ อันตราย กาหนดเวลาการใช้ บงั คับและหน่วยงานผู้รับผิดชอบในการควบคุมวัตถุอนั ตรายแต่ล ะชนิด และ การจัดตังศู ้ นย์ข้อมูลวัตถุอนั ตรายขึน้ ในกระทรวงอุตสาหกรรมเป็ นศูนย์กลางประสานงาน รวบรวมและ ให้ บริการข้ อมูลเกี่ยวกับวัตถุอนั ตรายทุกชนิด วัตถุอนั ตรายทัง้ 4 ชนิดมีระดับการควบคุมที่แตกต่างกันตาม มาตรา 18 ใน พ.ร.บ.วัตถุอนั ตราย โดยสารกาจัดวัชพืช 3 ชนิดหลัก (ไกลโฟเสต พาราควอท และอาทรา ซีน) นันถื ้ อเป็ นวัตถุอนั ตรายชนิดที่ 3 ซึ่งได้ แก่วตั ถุอนั ตรายที่การผลิต การนาเข้ า การส่งออก หรื อการมีไว้ ในครอบครองต้ องได้ รับใบอนุญาต และอยู่ภายใต้ การกากับควบคุมของกรมวิชาการเกษตรเช่นเดียวกับ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

234


วัตถุอนั ตรายที่ใช้ ในการเกษตรอื่นๆ (แผนงานผักปลอดสารพิษ จ.ขอนแก่น, 2553) บทกาหนดโทษหากไม่ ขึ ้นทะเบียนวัตถุอนั ตรายชนิดที่ 3 คือจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรื อปรับไม่เกิน 300,000 บาท หรื อทังจ ้ าทังปรั ้ บ และหากมีการผลิต นาเข้ า ส่งออก หรื อครอบครองวัตถุอนั ตรายชนิดที่ 3 ที่ไม่ได้ รับอนุญาต14 จะมีโทษ จาคุกไม่เกิน 2 ปี หรื อปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรื อทังจ ้ าทังปรั ้ บ

C. ตัวอย่ างสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ของผู้ผลิตปั จจัยการผลิต

ตัวอย่างโฆษณาทางโทรทัศน์ ของปุ๋ยตราหัววัวคันไถชุด “เพื่อนแท้ ปุ๋ยเต็มสูตร” 21 มิถนุ ายน 2556

ตัวอย่างโฆษณาทางโทรทัศน์ ของปุ๋ยตรากระต่ายชุด “หุ่นไล่กา” 18 เมษายน 2556

14 หมายถึง วัตถุอนั ตรายปลอม วัตถุอนั ตรายผิดมาตรฐาน วัตถุอนั ตรายเสื่อมคุณภาพ วัตถุอนั ตรายที่ถกู สัง่ เพิกถอนทะเบียน บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

235


ตัวอย่างโฆษณาทางโทรทัศน์ ของยาฆ่าหญ้ ากรัมม็อกโซน ชุด “ทวด” 16 พฤษภาคม 2556

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

236


ตัวอย่างแผนพับปุ๋ยตราหมอดิน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

237


ตัวอย่างแผนพับปุ๋ยตราหัววัวคันไถ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

238


ตัวอย่างแผนพับยาฆ่าหญ้ าตราน๊ อกโซน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

239


บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

240


ตัวอย่างใบสัง่ ซื ้อสินค้ าและโปรโมชัน่ ในงานส่งเสริมการขายประจาปี

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

241


บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

242


บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

243


D. วิธีการตรวจเกรดคุณภาพของไซโลระดับจังหวัด เมื่อพ่อค้ าหัวสีขบั รถบรรทุกมาขาย ไซโลจะนามาสุ่มตรวจ 6 จุดต่อ 1 รถบรรทุก เอามาคลุกผสม กันแล้ วนามาใส่เครื่ องตรวจวัดความชื ้น ส่วนการวัดเมล็ดเสีย จะตักข้ าวโพดที่ส่มุ ออกมาแล้ วใส่ลงในถาด 200 กรัม แล้ วเอามานับเมล็ดเสียเมล็ดแตก (เมล็ดที่มีราดา ราขาว แตก หรื อแมลงเจาะ) เสร็ จแล้ วเอา เม็ ด ที่ คั ด ออกไปนี ช้ ั่ ง น า้ หนั ก แล้ วหาร 2 ค านวณออกมาเป็ นเปอร์ เซ็ น ต์ ข องน า้ หนั ก ทั ง้ หมด

การตรวจวัดความชื ้นด้ วยเครื่ องมือ

การตรวจวัดเปอร์ เซ็นต์เมล็ดเสีย ด้ วยการคัดและชัง่ น ้าหนัก

หลังจากนันไซโลจะน ้ าค่าที่วดั ได้ ไปเปรี ยบเทียบกับค่าตามตาราง เพื่อกาหนดคุณภาพสินค้ าและ ให้ ราคา โดยจะตัดเกรดคุณภาพเป็ นเบอร์ ดังที่ระบุในตาราง 49 และ 50

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

244


ตารางแสดงการเทียบเปอร์ เซ็นต์เมล็ดเสียเมล็ดแตกเพื่อตัดเกรดคุณภาพข้ าวโพด เบอร์ 2 3 4 เ ป อ ร์ เ ซ็ น ต์ ของน า้ หนั ก 0-3.5 4.0-5.5 6.0-9.0 (%) ที่มา : ป้ายประกาศที่ลานรับซื ้อน้ อมจิตพืชไร่

5

6

7

8

9.5-14.0 14.5-18.5 19.0-24.0 25 ขึ ้นไป

ตารางแสดงรายการตัดเรตความชื ้น ระดับความชื ้น % น ้าหนักสูญหาย (กก). 14.5 15.0 0.006 15.1-16 0.018 16.1-17 0.030 17.1-18 0.042 18.1-19 0.066 19.1-20 0.100 20.1-21 0.125 21.1-22 0.143 22.1-23 0.162 23.1-24 0.182 24.1-25 0.200 25.1-26 0.220 26.1-27 0.240 27.1-28 0.260 28.1-29 0.280 29.1-30 0.300 ที่มา : ป้ายประกาศที่ลานรับซื ้อน้ อมจิตพืชไร่

น ้าหนักคงเหลือ (กก.) 0.994 0.982 0.970 0.958 0.934 0.900 0.875 0.857 0.838 0.818 0.800 0.780 0.760 0.740 0.720 0.700

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

245


หลังจากเทียบกับค่าที่กาหนดในตาราง ไซโลจะตัดเกรดสินค้ า แจ้ งราคารับซื ้อให้ พ่อค้ าหัวสีทราบ ยิ่งมีความชื ้นสูง หรื อยิ่งมีเปอร์ เซ็นต์เมล็ดเสียมาก ราคาจะยิ่งต่าลง เนื่องจากจะต้ องนามาอบหรื อตากเพื่อ ลดความชื ้น

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

246


E. ตัวอย่ างการตัง้ ราคาของไซโลจังหวัดน่ านที่สัมพันธ์ กับราคารับซือ้ ของโรงงานอาหารสัตว์ ตารางแสดงตัวอย่างการตังราคาของไซโลท้ ้ องถิ่นจังหวัดน่าน และราคารับซื ้อของโรงงานอาหารสัตว์ พฤศจิกายน 2555

วันที่

ข้ าวโพดเลีย้ งสัตว์ ความชืน้ 14.5% บ ริ ษั ท เ จ ริ ญ โ ภ ค ร้ า น ใ จ ง า ม ภัณฑ์ การเกษตร อี ส า น จ า กั ด อ.เวียงสา (มหาชน) จ.น่ าน อ . เ มื อ ง จ . นครราชสีมา

1

9.50

10.55

2

9.50

10.55

5

9.50

10.55

6

9.50

10.55

7

9.50

10.55

8

9.50

10.55

9

9.50

10.55

12

10.10

10.45

13

10.10

10.45

14

10.10

10.45

15

10.10

10.45

16

10.10

10.45

19

10.10

10.45

20

10.10

10.45

21

10.10

10.45

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

247


22

10.10

10.45

23

10.00

10.45

26

-

10.35

27

-

10.35

28

-

10.35

29

-

10.30

30

-

10.30

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

F. นิยาม “ป่ าอนุรักษ์ ” และ “ชัน้ คุณภาพลุ่มนา้ ” นิยาม “ป่ าอนุรักษ์ ” ปั จจุบนั ป่ าอนุรักษ์ สามารถแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท ได้ แก่ ป่ าสงวนแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติ เขต รั ก ษาพัน ธุ์ สัต ว์ ป่ า และเขตพื น้ ที่ ค้ ุม ครองสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ง มี ก ฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง

4

ฉบับ ได้ แ ก่

พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 พระราชบัญญัติอทุ ยานแห่งชาติ พ.ศ.2504 พระราชบัญญัติ สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 และพระราชบัญญัติส่งเสริ ม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 ซึง่ กฎหมายทัง้ 4 ฉบับมีมาตรการที่เกี่ยวข้ องกับการจากัดการทาลายป่ าไม้ และสงวนพื ้นที่ป่าไม้ ที่มีความอุดมสมบูรณ์ในทางระบบนิเวศและเป็ นแหล่งต้ นน ้าลาธาร โดยการกาหนดให้ มีการประกาศเขต พื ้นที่อนุรักษ์ ไว้ และกาหนดห้ ามการกระทาบางอย่างที่จะนาไปสู่การทาลายป่ าไม้ สัตว์ป่า และของป่ าใน เขตดังกล่าว (สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมจังหวัดมหาสารคาม, 2555) ป่ าสงวนแห่งชาติ คือป่ าที่สงวนและรักษาไว้ ซึ่งทรัพยากรป่ าไม้ เพื่อประโยชน์ในด้ านการพัฒนา เศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน และนาผลประโยชน์จากป่ าไม้ มาใช้ เพื่อการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ ห้ ามมิให้ บกุ รุก หาของป่ า หรื อเข้ าไปก่อสร้ างในเขตป่ าสงวน แต่ หากเป็ นเขตป่ าเสื่อมโทรม 15 กรมป่ าไม้ อาจอนุญาตให้ 15

ตามค้าจ้ากัดความของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ืช ป่าเสื่อมโทรม คือ ป่าที่มีสภาพเป็นป่าไม้ร้าง หรือทุ่งหญ้า หรือเป็น ป่าที่ไม่มีไม้มีค่าขึนอยู่เลย หรือมีไม้มีค่าลักษณะสมบูรณ์เหลืออยู่เป็นส่วนน้อยและป่านันยากที่จะฟื้นคืนดีตามธรรมชาติได้ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

248


ราษฎรที่ไม่มีที่ดนิ ทากินเข้ าทากินได้ อนุญาตให้ ปลูกป่ า หรื อทาสวนป่ า แต่ไม่สามารถถือเอากรรมสิทธ์หรื อ สิทธิครอบครองได้ อุทยานแห่งชาติ คือที่ดินที่รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศพระราชกฤษฎีกา กาหนดให้ เป็ นอุทยานแห่งชาติ ทังนี ้ ้ โดยเห็นว่าที่ดนิ ดังกล่าวมีสภาพธรรมชาติเป็ นที่นา่ จะรักษาให้ คงสภาพ ไว้ เพื่อประโยชน์แก่การศึกษา และเพื่อการรื่ นรมย์ของประชาชน หลักการในการอนุรักษ์ ป่าในเขตอุทยาน แห่งชาติคือ การสงวน รักษาสภาพของป่ าไว้ เพื่อรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ และรั กษาสภาพความ กลมกลืนของธรรมชาติ ทัง้ ป่ าไม้ ดิน น ้า สัตว์ป่า นอกจากนีย้ งั เปิ ดโอกาสให้ ประชาชนเข้ าไปศึกษาและ นันทนาการถึงความสวยงามของธรรมชาติ กฎหมายอนุญาตให้ ประชาชนเข้ าไปในเขตดังกล่าวได้ แต่ต้อง ปฏิบตั ติ นมิให้ เป็ นการทาลายทรัพยากรธรรมชาติหรื อกระทบต่อความเป็ นอยูข่ องสัตว์ป่า เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าเป็ นเขตที่คณะรัฐมนตรี เห็นชอบว่า ที่ดนิ ในเขตใดที่ควรรักษาไว้ เพื่อเป็ นที่อยู่ อาศัยของสัตว์ป่าโดยปลอดภัย เพื่อรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าไว้ โดยห้ ามไม่ให้ คนเข้ าไปทากิจกรรมในเขตนี ้อย่าง เข้ ม งวด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การให้ สัมปทาน หรื อประทานบัตร เพื่ อทาแร่ หรื อปิ โตรเลี ยม ทัง้ นี ้ เพราะ กฎหมายประสงค์จะให้ มีพื ้นที่เพื่อการขยายพันธุ์ของสัตว์ป่า จึงพยายามจะอนุรักษ์ พื ้นที่ป่าที่อดุ มสมบูรณ์ ไว้ เขตพื ้นที่ค้ มุ ครองสิ่งแวดล้ อม ประกาศขึ ้นเพื่อคุ้มครองพืน้ ที่นอกเหนือป่ าสงวนแห่งชาติ อุทยาน แห่งชาติ หรื อเขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า ซึ่งการให้ ความคุ้มครองแหล่งต้ นน ้าลาธาร หรื อระบบนิเวศจะไม่อาจ ทาได้ ตามกฎหมาย และอาจจะสายเกินไปที่จะรอให้ ประกาศเป็ นเขตอนุรักษ์ โดยพื ้นที่ที่จะประกาศเป็ น พื ้นที่ค้ มุ ครองสิ่งแวดล้ อมจะต้ องเป็ นพื ้นที่แหล่งต้ นน ้าลาธาร หรื อมีระบบนิเวศตามธรรมชาติแตกต่ างจากที่ อื่นๆ หรื อระบบนิเวศตามธรรมชาติของพื ้นที่นนอาจจะถู ั้ กทาลาย หรื อถูกกระทบกระเทือนจากการกระทา ของคนที่เข้ าไปอยูใ่ นบริเวณนันโดยง่ ้ าย หรื อเป็ นพื ้นที่อนั มีคณ ุ ค่าควรแก่การอนุรักษ์ แต่ยงั ไม่มีการประกาศ เป็ นเขตอนุรักษ์ โดยกฎหมายจะคุ้มครองกาหนดการใช้ ประโยชน์ในที่ดินเพื่อรักษาสภาพธรรมชาติ และ ระบบนิเวศ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

249


นิยาม “ชั้นคุณภาพลุ่มน้า” นอกจากการกาหนดพืน้ ที่เ ขตป่ าอนุรักษ์ แล้ ว ยังมีการกาหนดชัน้ คุณภาพลุ่มนา้ ขึน้ เพื่อกาหนด ขอบเขตและแนวทางการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื ้นที่ให้ เป็ นไปตามหลักการอนุรักษ์ และการบริ หาร จัดการสิ่งแวดล้ อมที่มีประสิทธิภาพ การกาหนดชันคุ ้ ณภาพลุ่มน ้าใช้ ลกั ษณะทางกายภาพของพื ้นที่ ได้ แก่ ความลาดชัน ความสูงจากระดับน ้าทะเล ลักษณะทางปฐพี ลักษณะทางธรณี สภาพพื ้นที่ป่าไม้ สภาพของ แร่ ธ าตุ และองค์ ป ระกอบสนับ สนุน อื่ น ๆ เช่น คุณ ภาพน า้

โดยชัน้ คุณ ภาพลุ่ม น า้ จ าแนกตามมติ

คณะรัฐมนตรี แบ่งเป็ น 5 ระดับ คือ (กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช , 2548 และ กองประสาน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม, 2548) พื น้ ที่ ลุ่ม น า้ ชัน้ ที่ 1 คื อ พื น้ ที่ ภ ายในลุ่ม น า้ ที่ ค วรจะต้ อ งสงวนรั ก ษาไว้ เป็ นพื น้ ที่ ต้ น น า้ ล าธาร โดยเฉพาะ เนื่องจากอาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดล้ อมจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ ที่ดินได้ ง่ายและรุนแรง จึง ควรต้ องสงวนรักษาไว้ ให้ เป็ นพื ้นที่ป่าต้ นน ้าลาธาร โดยกาหนดให้ เป็ นพื ้นที่ลมุ่ น ้าชันที ้ ่ 1A พื ้นที่ต้นน ้าลาธาร ที่ยงั มีสภาพป่ าสมบูรณ์ ในปี พ.ศ.2525 โดยห้ ามมิให้ มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะพื ้นที่ป่าไม้ เป็ นรูปแบบอื่น อย่างเด็ดขาดทุกกรณี ทังนี ้ ้เพื่อรักษาไว้ เป็ นพื ้นที่ต้นน ้า และพื ้นที่ล่มุ น ้าชันที ้ ่ 1B ที่สภาพป่ าส่วนใหญ่ได้ ถกู ทาลาย ดัดแปลง หรื อเปลี่ยนแปลงเพื่อการพัฒนาหรื อการใช้ ที่ดินรูปแบบอื่นก่อน พ.ศ.2525 กาหนดให้ ใน กรณีที่ต้องมีการก่อสร้ างถนนผ่าน หรื อการทาเหมืองแร่ หน่วยงานรับผิดชอบจะต้ องควบคุมการชะล้ าง พัง ทลายของดิน และกรณี ส่วนราชการใดมี ความจ าเป็ นที่ ต้องใช้ ที่ดินอย่างหลี กเลี่ ยงไม่ไ ด้ ต้ องจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้ อมของโครงการเสนอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติเพื่อ พิจารณาต่อไป พืน้ ที่ลุ่ม นา้ ชัน้ ที่ 2 คือพืน้ ที่ภ ายในลุ่ม นา้ ที่ มีคุณสมบัติเหมาะต่อการเป็ นต้ นนา้ ล าธารในระดับ รองลงมา ซึง่ อาจใช้ เป็ นป่ าเพื่อการเศรษฐกิจ รวมทังสามารถน ้ าไปใช้ ประโยชน์เพื่อกิจการที่สาคัญ เช่น การ ทาเหมืองแร่ โดยให้ หลีกเลี่ยงการใช้ ที่ดนิ เพื่อกิจกรรมทางด้ านเกษตรกรรมอย่างเด็ดขาด พื ้นที่ล่มุ น ้าชันที ้ ่ 3 คือพื ้นที่ภายในลุ่มน ้ามีลกั ษณะเป็ นที่ดอนสามารถใช้ ประโยชน์ได้ ทงกิ ั ้ จการป่ า ไม้ เหมืองแร่ และปลูกพืชกสิกรรม ประเภทไม้ ยืนต้ น หรื อกิจการอื่นๆ แต่ต้องมีการควบคุมวิธีการปฏิบตั ิ อย่างเข้ มงวด ให้ เป็ นไปตามหลักการดินและน ้า บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

250


พื ้นที่ล่มุ น ้าชันที ้ ่ 4 คือ พื ้นที่ภายในลุ่มน ้าที่มีสภาพป่ าที่ถูกบุกรุกแผ้ วถาง เพื่อใช้ ประโยชน์สาหรับ กิจการพืชไร่เป็ นส่วนมาก สภาพพื ้นที่เป็ นเนินเขาหรื อที่ราบขันบั ้ นได หรื อช่วงต่อระหว่างที่ราบลุ่มกับเชิงเขา กาหนดให้ ใช้ พื ้นที่ได้ ทุกกิจกรรม แต่หากใช้ พื ้นที่เพื่อการเกษตรกรรม ต้ องเป็ นบริ เวณที่มีความลาดชันไม่ เกิน 28 เปอร์ เซ็นต์ และต้ องมีการวางแผนใช้ ที่ดนิ ตามมาตรการการอนุรักษ์ดนิ และน ้า พื ้นที่ลมุ่ น ้าชันที ้ ่ 5 พื ้นที่ลมุ่ น ้าที่มีลกั ษณะเป็ นที่ราบหรื อที่ลมุ่ หรื อเนินลาดเอียงเล็กน้ อย สามารถใช้ ประโยชน์ ไ ด้ ใ นทุก กิ จ กรรม ในกรณี ที่ จ ะใช้ ที่ดินเพื่ ออุตสาหกรรมให้ ห ลี ก เลี่ ยงใช้ พื น้ ที่ ที่ศักยภาพการ เกษตรกรรมสูง

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

251


ชันคุ ้ ณภาพลุม่ น ้าน่าน

ที่มา: สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

252


G. ผลสารวจข้ อมูลเบือ้ งต้ นจากการสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่ างเกษตรกร ตารางแสดงรายชื่อพ่อค้ าคนกลางที่รับซื ้อจากเกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างในฤดูกาลเพาะปลูก 2555/56 ปริมาณรับซื ้อ ผู้รับซื ้อ เกรียงไกร สุทธเขต เงิน สุทธเขต เจ๊ คา ไม่ระบุ พัด มณีวรรณ สม บ้ านทุง่ ค้ อน ธัญชนก (เจ๊ ยา) พ่อเลี ้ยงส่ง ศรี (ไพริน) ต่วน พี่ถนอม พ่อเลี ้ยงเอนก จรูญ สม บ้ านดอนยาง ดอน ภราดร บ้ านดอนยาง บ้ านต้ นผึ ้ง นายใหม่ พรหมปาน สมบัติ ใหม่ เลิศ จอมพระพืชผล โสม ต่วนชา รวย ลุงผา หนานศักดิ์ รวม

ดูพ่ งษ์

พงษ์

ป่ าแลวหลวง

อวน

ปริ มา ณรั บซื อ้ % (กิโลกรัม)

559,600

35,300

49,688

0

644,588

24.13%

264,400 34,432 146,600 0 0 0 0 0 0 0 0 0

137,500 170,950 0 0 0 0 0 0 77,000 72,400 0 49,250

51,200 48,600 0 129,100 0 108,100 103,400 0 0 0 0 0

0 93,000 0 0 125,500 0 0 95,133 0 0 62,000 0

453,100 346,982 146,600 129,100 125,500 108,100 103,400 95,133 77,000 72,400 62,000 49,250

16.96% 12.99% 5.49% 4.83% 4.70% 4.05% 3.87% 3.56% 2.88% 2.71% 2.32% 1.84%

0

49,250

0

0

49,250

1.84%

38,100 0 0 0 0 0 14,000 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0 0 0 8,927 0 0

0 0 0 0 0 0 0 11,800 0 0 0

0 30,000 25,000 24,000 21,100 21,000 0 0 0 7,333 7,333

38,100 30,000 25,000 24,000 21,100 21,000 14,000 11,800 8,927 7,333 7,333

1.43% 1.12% 0.94% 0.90% 0.79% 0.79% 0.52% 0.44% 0.33% 0.27% 0.27%

1,057,132

600,577

501,888

511,399

2,670,996

100.00%

ที่มา: การสัมภาษณ์ภาคสนาม

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

253


ตารางแสดงรายชื่อพันธุ์ข้าวโพดที่ใช้ ปลูกในพื ้นที่จงั หวัดน่านปี 2554/2555 ลาดับ เมล็ดพันธุ์

ผู้ผลิต

จ า น ว น % เกษตรกร

1

ซีพี888

บริ ษัท กรุ ง เทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จากัด 214

54.04

(เครื อซีพี) 2

NNN

บริษัท เวิลด์ซีดส์ จากัด

45

11.36

3

แปซิฟิค999

บริษัท แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์ จากัด

25

6.31

4

B80

บริ ษัท ไพโอเนี ยไฮเบรดไทยแลนด์เมล็ ดพันธุ์ 24

6.06

จากัด 5

หมาแดง

บริษัท ซีเอ็ม.ซีดเอเชีย จากัด

14

3.54

6

NK20

บริษัท ซินเจนทา ซีดส์ จากัด

12

3.03

7

เคพี102

วิสาหกิจชุมชนกลุม่ เกษตรพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช 9

2.27

8

Pio. B80

บริ ษัท ไพโอเนี ยไฮเบรดไทยแลนด์เมล็ดพันธุ์ 8

2.02

จากัด 9

NK58

บริษัท ซินเจนทา ซีดส์ จากัด

7

1.77

10

ฝั กแฝดSS

วิ ส าหกิ จ ชุม ชนศูน ย์ ร วมแปรรู ป เกษตรแม่ก้ ุง 5

1.26

น้ อย 11

ต้ นม่วงคู่

กลุ่ ม เกษตรท านาเขื่ อ นผาก อ .พร้ าว จ. 4

1.01

เชียงใหม่ 12 13

ซี

พี บริ ษัท กรุ ง เทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จากัด 3

888super

(เครื อซีพี)

ซีพีดีเค288

บริ ษัท กรุ ง เทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จากัด 3

0.76 0.76

(เครื อซีพี) 14

Pio. K95

บริ ษัท ไพโอเนี ยไฮเบรดไทยแลนด์เมล็ดพันธุ์ 2

0.51

จากัด บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

254


ลาดับ เมล็ดพันธุ์

ผู้ผลิต

จ า น ว น % เกษตรกร

15

คนอุ้ม

กลุ่ ม เกษตรท านาเขื่ อ นผาก อ .พร้ าว จ. 2

0.51

เชียงใหม่ 16

ดีคาล์บ979

บริษัท มอนซานโต้ ไทยแลนด์ จากัด

2

0.51

17

ดีคาล์บ9901 บริษัท มอนซานโต้ ไทยแลนด์ จากัด

2

0.51

18

ซีพี301

บริ ษัท กรุ ง เทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จากัด 1

0.25

(เครื อซีพี) 19

ซีพี388

บริ ษัท กรุ ง เทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จากัด 1

0.25

(เครื อซีพี) 20

ซีพี989

บริ ษัท กรุ ง เทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จากัด 1

0.25

(เครื อซีพี) 21

ซี พี AAA บริ ษัท กรุ ง เทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ จากัด 1

0.25

super

(เครื อซีพี)

22

แปซิฟิค339

บริษัท แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์ จากัด

1

0.25

23

แปซิฟิค988

บริษัท แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์ จากัด

1

0.25

24

ฮองเฮา

ยูนิซีดส์ บจก.

1

0.25

25

ตรวจสอบ

8

2.02

ไม่ได้ ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดน่าน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

255


ตารางแสดงรายชื่อพันธุ์ข้าวโพดที่ใช้ ปลูกในพื ้นที่จงั หวัดน่านปี 2554/2555 แยกตามผู้ผลิต ลาดับ ผู้ผลิต

จานวนเกษตรกร

% (N=396)

1

บริ ษั ท กรุ ง เทพอุต สาหกรรมเมล็ ด พัน ธุ์ จ ากัด 224

56.57

(เครื อซีพี) 2

บริษัท เวิลด์ซีดส์ จากัด

45

3

บริ ษั ท ไพโอเนี ย ไฮเบรดไทยแลนด์ เ มล็ ด พัน ธุ์ 34

11.36 8.56

จากัด 4

บริษัท แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์ จากัด

27

6.28

5

บริษัท ซินเจนทา ซีดส์ จากัด

19

4.80

6

บริษัท ซีเอ็ม.ซีดเอเชีย จากัด

14

3.54

7

วิสาหกิจชุมชนกลุม่ เกษตรพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช

9

2.27

8

กลุม่ เกษตรทานาเขื่อนผาก อ.พร้ าว จ.เชียงใหม่

6

1.52

9

วิสาหกิจชุมชนศูนย์รวมแปรรูปเกษตรแม่ก้ งุ น้ อย

5

1.26

10

บริษัท มอนซานโต้ ไทยแลนด์ จากัด

4

1.01

11

บริษัท ยูนิซีดส์ จากัด

1

0.25

12

ผู้ผลิตรายอื่น

8

2.02

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดน่าน

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

256


ตารางแสดงตราสินค้ าของสารกาจัดวัชพืชที่เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างเลือกใช้ ในฤดูกาลเพาะปลูก 2556 ต ร า สินค้ า เอเทร็ก หวีทอง เข้ แดง

บริษัทผู้ผลิต บริ ษัท ซิ นเจนทา ครอป โปรเทคชัน่ จากัด บริ ษัท สหภัณฑ์ส่ง เสริ ม การเกษตร จากัด หจก. โค้ วโต้ งเซ้ งเคมี เกษตร

กรัมม็อก บริ ษัท ซิ นเจนทา ครอป

พงษ์

ดูพ่ งษ์

20

26

11

ป่ า แ ล ว

%

จาก

อวน

รวม

12

13

71

59.17%

18

11

2

42

35.00%

0

9

6

10

25

20.83%

17

5

0

2

24

20.00%

หลวง

120

โซน

โปรเทคชัน่ จากัด

วันอัพ

บริษัท เจียไต๋ จากัด

1

10

0

0

11

9.17%

น็อกโซน บริษัท เจียไต๋ จากัด

0

5

5

0

10

8.33%

3

0

4

1

8

6.67%

6

1

0

1

8

6.67%

0

5

1

0

6

5.00%

4

0

0

2

6

5.00%

4

10

3

0

17

12.48%

เมเจอร์ บริ ษัท เมเจอร์ ฟ าร์ คอร์ โซน ไกลบูม

ปอเรชัน่ จากัด บริ ษัท โกลบอล ครอปส์ จากัด

หมาแดง บริษัท ป.เคมีเทค จากัด เมเจอร์ ฟี

บริ ษัท เมเจอร์ ฟ าร์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด

อื่นๆ ที่มา: การสัมภาษณ์ภาคสนาม

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

257


ตารางแสดงตราสินค้ าของปุ๋ยที่เกษตรกรกลุม่ ตัวอย่างเลือกใช้ ในฤดูกาลเพาะปลูก 2556 ต ร า สินค้ า กระต่าย หั ว วั ว คั น ไถ หมอดิน มงกุฎ

ผู้ผลิต

พงษ์

บริษัท เจียไต๋ จากัด

17

บริษัท ไทยเซ็นทรัลเคมี จากัด ซีพีครอป กลุม่ ธุรกิจพืชครบวงจร

26 4

บริ ษั ท เทอราโกร เฟอร์ ติ ไ ลเซอร์ จากัด

อื่นๆ

2 1

ดู่

ป่ า แ ล ว

พงษ์ หลวง 15

12

8

4

19

13

1

3

3

1

อวน รวม

%

จาก

120

19

63

52.50%

11

49

40.83%

6

42

35.00%

1

7

5.83%

0

5

4.15%

ที่มา: การสัมภาษณ์ภาคสนาม

H. ข้ อเสนอแนะมาตรการการใช้ ท่ ีดินในเขตลุ่มนา้ ยมและน่ าน สานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม 1. มาตรการการใช้ ที่ดนิ ในพื ้นที่ลมุ่ น ้าชันที ้ ่ 1 เอ การใช้ ที่ดนิ ในเขตชันคุ ้ ณภาพลุม่ น ้านี ้ สมควรให้ มีมาตรการ ดังนี ้ 1.1 ห้ ามมิให้ มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะพื ้นที่ป่าไม้ เป็ นรูปแบบอื่นอย่างเด็ดขาด ทังนี ้ ้ เพื่อรักษาไว้ เป็ นพื ้นที่ต้นน ้าลาธารอย่างแท้ จริง 1.2 ให้ หน่ วยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งบ ารุ ง รั ก ษาป่ าธรรมชาติที่มี อยู่ และระงับ การอนุญ าตท าไม้ โ ดย เด็ดขาด และให้ ดาเนินการป้องกันการลักลอบตัดไม้ ทาลายป่ าอย่างเข้ มงวดกวดขัน การเปลี่ยนแปลงการใช้ ที่ดินใดๆ ที่เกิดขึ ้นในพื ้นที่ล่มุ น ้า 1 เอ ภายหลังปี พ.ศ.2525 กาหนดให้ ใช้ มาตรการ ดังนี ้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

258


1.3 บริ เวณพื ้นที่ใดที่ได้ กาหนดเป็ นลุม่ น ้าขันที ้ ่ 1 เอ ไว้ แล้ ว หากภายหลังสารวจพบว่า เป็ นที่รกร้ าง ว่างเปล่าหรื อป่ าเสื่อมโทรม ให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องดาเนินการปลูกป่ าทดแทนต่อไป 1.4 บริ เ วณใดที่ มี ร าษฎรอาศัย อยู่ดัง้ เดิ ม อย่ า งเป็ นการถาวรแล้ วให้ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อง ดาเนินการจัดที่ทากินให้ เป็ นการถาวร เพื่อไม่ให้ มีการโยกย้ ายและทาลายป่ าให้ ขยายขอบเขตออกไปอีก 2. มาตรการการใช้ ที่ดนิ ในพื ้นที่ลมุ่ น ้าชันที ้ ่ 1 บี พื ้นที่ลมุ่ น ้าชันนี ้ ้ เห็นสมควรให้ มีมาตรการการใช้ ที่ดนิ ดังนี ้ 2.1 พื น้ ที่ ใดที่ มี การเปลี่ ยนสภาพ เพื่ อ ประกอบกสิก รรมรู ปแบบต่างๆ ไปแล้ ว ให้ หน่วยงานที่ เกี่ ยวข้ องร่ วมกันพิจ ารณาดาเนินการกาหนดการใช้ ที่ดินให้ สอดคล้ องกับนโยบายของรั ฐทัง้ ด้ านสัง คม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้ อม 2.2 บริเวณใดที่ได้ รับการพัฒนา เพื่อทาแหล่งพักผ่อนหย่อนใจรูปแบบต่างๆ ไปแล้ ว หากจะมีการ ปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงใด จะต้ องดาเนินการวางแผนใช้ ที่ดินให้ สอดคล้ องกับสภาพธรรมชาติ ในลักษณะที่ เอื ้ออานวยต่อการรักษาดุลยภาพของลักษณะทางนิเวศวิทยาและการอนุรักษ์ธรรมชาติ 2.3 บริ เวณพืน้ ที่ใดที่ไม่เ หมาะสมต่อการเกษตรหรื อการพัฒนาในรู ปแบบอื่นๆ ให้ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้ องดาเนินการปลูกป่ าฟื น้ ฟูสภาพต้ นน ้าลาธารอย่างรี บด่วน 2.4 ในกรณีที่ต้องมีการก่อสร้ างถนนผ่านเข้ าไปในพื ้นที่ลมุ่ น ้าชันนี ้ ้ หรื อการทาเหมืองแร่ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบโครงการจะต้ องดาเนินการควบคุมการชะล้ างพังทลายของดินที่เกิดขึ ้นในบริ เวณโครงการมิให้ ลงสู่แหล่งน ้า จนทาให้ เกิดอันตรายแก่สตั ว์น ้า และไม่สามารถนามาอุปโภคและบริ โภคได้ ทัง้ ในระหว่าง ดาเนินการและภายหลังเสร็จสิ ้นโครงการ 2.5 ในกรณี ที่ส่วนราชการใดมี ค วามจ าเป็ นต้ องใช้ ที่ดินอย่า งหลี กเลี่ ย งไม่ไ ด้ ในโครงการที่ มี ความสาคัญต่อเศรษฐกิจและความมัน่ คงของชาติแล้ ว ให้ สว่ นราชการเจ้ าของโครงการดังกล่าวนาโครงการ นันเสนอต่ ้ อหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง และจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบด้ านสิ่งแวดล้ อมของโครงการ เสนอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติเพื่อพิจารณาต่อไป 3. มาตรการการใช้ ที่ดนิ ในพื ้นที่ลมุ่ น ้าชันที ้ ่2 การใช้ ที่ดนิ ในเขตชันคุ ้ ณภาพลุม่ น ้านี ้ เห็นสมควรให้ มีมาตรการ ดังนี ้

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

259


3.1 การใช้ พื ้นที่ทากิจการป่ าไม้ และเหมืองแร่ ควรอนุญาตให้ ได้ แต่จะต้ องมีการควบคุมวิธีการ ปฏิบตั ใิ นการใช้ ที่ดนิ เพื่อการนันๆ ้ อย่างเข้ มงวดกวดขัน และเป็ นไปตามระเบียบปฏิบตั ิของทางราชการ เพื่อ มิให้ เกิดความเสียหายแก่พื ้นที่ต้นน ้าลาธารและพื ้นที่ตอนล่างอย่างเด็ดขาด 3.2 การใช้ ที่ดนิ เพื่อกิจการทางด้ านเกษตรกรรม หลีกเลี่ยงอย่างเด็ดขาด 3.3 ให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง ดาเนินการปลูกป่ าในบริเวณที่ถกู ทาลายโดยรี บด่วน 4. มาตรการการใช้ ที่ดนิ ในพื ้นที่ลมุ่ น ้าชันที ้ ่3 การใช้ ที่ดนิ ในเขตชันคุ ้ ณภาพลุม่ น ้านี ้ สมควรให้ มีมาตรการ ดังนี ้ 4.1 การใช้ พื ้นที่ทากิจการป่ าไม้ เหมืองแร่ กสิกรรม หรื อกิจการอื่นๆ อนุญาตให้ ได้ แต่ต้องมีการ ควบคุมวิธีการปฏิบตั อิ ย่างเข้ มงวดให้ เป็ นไปตามหลักอนุรักษ์ดนิ และน ้า 4.2 การใช้ ที่ดนิ เพื่อการกสิกรรมในชันคุ ้ ณภาพนี ้ ควรต้ องปฏิบตั ิ ดังนี ้ (ก) บริเวณที่ดนิ ลึกน้ อยกว่า 50 ซม. ที่ไม่เหมาะสมกับกิจการทางการกสิกรรม สมควรใช้ พื ้นที่ ป่ าไม้ หรื อทุง่ หญ้ าเลี ้ยงสัตว์ (ข) บริ เวณที่ ดินลึกมากกว่า 50 ซม. ให้ ใช้ เป็ นบริ เวณที่ปลูกไม้ ผล ไม้ เศรษฐกิจ และพื ช เศรษฐกิจยืนต้ นอื่นๆ ได้ ตามความเหมาะสม แต่ต้องใช้ มาตรการอนุรักษ์ดนิ และน ้าที่ถกู ต้ อง 5. มาตรการการใช้ ที่ดนิ ในพื ้นที่ลมุ่ น ้าชันที ้ ่4 การใช้ ที่ดนิ เพื่อกิจการใดๆ ในเขตชันคุ ้ ณภาพลุม่ น ้านี ้ สมควรมีมาตรการ ดังนี ้ 5.1

การใช้ พื ้นที่ทาเหมืองแร่ ป่ าไม้ และกิจการอื่นๆ ให้ อนุญาตได้ ตามปกติโดยให้ ถือปฏิบตั ิ

ตามระเบียบของทางราชการโดยเคร่งครัด 5.2

การใช้ ที่ดนิ เพื่อการเกษตรกรรมในชันคุ ้ ณภาพลุม่ น ้านี ้จะต้ องปฏิบตั ิ ดังนี ้ (ก) บริ เวณที่มีความลาดชัน 18-25 เปอร์ เซ็นต์ และดินลึกน้ อยกว่า 50 ซม. สมควรใช้ เป็ น

พื ้นที่ป่าไม้ และไม้ ผล โดยมีการวางแผนการใช้ ที่ดนิ ตามมาตรการการอนุรักษ์ดนิ และน ้า (ข) บริ เวณที่มีความลาดชันระหว่าง 6-18 เปอร์ เซ็นต์ ควรจะใช้ เพาะปลูกพืชไร่ นา โดยมี มาตรการอนุรักษ์ดนิ และน ้า 6. มาตรการการใช้ ที่ดนิ ในพื ้นที่ลมุ่ น ้าชันที ้ ่5 การใช้ ที่ดนิ เพื่อกิจการใดๆ ในชันคุ ้ ณภาพลุม่ น ้านี ้ ควรมีมาตรการ ดังนี ้ 6.1

การใช้ พื ้นที่ทากิจการเหมืองแร่ การเกษตร ป่ าไม้ และกิจการอื่นๆ ให้ อนุญาตได้ ตามปกติ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

260


6.2

การใช้ ที่ดนิ เพื่อการเกษตรกรรมในชันคุ ้ ณภาพลุม่ น ้านี ้จะต้ องปฏิบตั ิ ดังนี ้ (ก) บริ เวณที่มีดินลึกน้ อยกว่า 50 ซม. ควรใช้ เป็ นพื ้นที่ในการปลูกพืชไร่ ป่ าเอกชน ไม้ ผล

และทุง่ หญ้ าเลี ้ยงสัตว์ หรื อไม่ก็ใช้ เป็ นที่พกั ผ่อนหย่อนใจ (ข) บริเวณที่มีดนิ ลึกมากกว่า 50 ซม. ควรใช้ เป็ นพื ้นที่ปลูกข้ าวและพืชไร่และต้ องระมัดระวัง ดูแลรักษาอย่างสม่าเสมอ (ค) ในกรณี ที่ จ ะใช้ ที่ ดิ น ในชัน้ คุณ ภาพนี ้ เพื่ อ การอุต สาหกรรม ควรหลี ก เลี่ ย งพื น้ ที่ ที่ มี ศักยภาพทางการเกษตรสูง

I. ผลการวิเคราะห์ หาการเปลี่ยนแปลงของพืน้ ที่ป่าไม้ และพืน้ ที่ปลูกข้ าวโพด: รายละเอียด 4 ตาบล - ตาบลป่ าแลวหลวง อาเภอสันติสุข ในปี พ.ศ.2545 ตาบลป่ าแลวหลวงมีพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดและพื ้นที่ป่าเบญจพรรณ 11,643 ไร่ และ 32,576 ไร่ ตามลาดับ ซึ่งพื ้นที่ป่าเบญจพรรณและพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดต่างเพิ่มขึ ้นเล็กน้ อยในปี พ.ศ.2550 โดยมีพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพดที่เพิ่มขึ ้นในพื ้นที่ป่าเดิมเท่ากับ 916 ไร่ ต่อมาในปี พ.ศ.2556 พื ้นที่ ป่ าเบญจพรรณลดลงเหลือ 22,730 ไร่ หรื อลดลง 31.65% ขณะที่พื ้นที่ปลูกข้ าวโพดเพิ่มขึ ้นเป็ น 28,283 ไร่ หรื อเพิ่มขึ ้นจากปี พ.ศ.2550 ถึง 138% โดยเป็ นพื ้นที่ปลูกข้ าวโพดที่เพิ่มในป่ าเดิม 7,781 ไร่

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

261


ตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงของพื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ปลูกข้ าวโพด ปี 2545 ปี 2550 และปี 2556 ของ ตาบลป่ าแลวหลวง วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat พื ้นที่ปี2545 พื น้ ที่ ปี 2550 การเปลี่ยนแปลง พื ้นที่ปี2556 การเปลี่ยนแปลง

ป่ าแลวหลวง

(ไร่)

(ไร่)

พื ้นที่ (ไร่) %

ป่ าเบญจพรรณ

32,576

33,254

678

2.08% 22,730

- 10,524 -31.65%

ข้ าวโพด

11,643

11,884

241

2.07% 28,283

16,399

พื ้นที่ปลูกข้ าวโพดที่เพิ่มใน ป่ า

916

(ไร่)

พื ้นที่ (ไร่) % 138%

7,781

ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

262


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

263


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

264


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

265


- ตาบลพงษ์ อาเภอสันติสุข ในปี พ.ศ.2545 ตาบลพงษ์ มีพืน้ ที่เพาะปลูกข้ าวโพดและพืน้ ที่ป่าเบญจพรรณ 21,605 ไร่ และ 95,994 ไร่ ตามลาดับ ในปี พ.ศ.2550 พื ้นที่ป่าเบญจพรรณลดลง 5.38% ขณะที่พื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพด เพิ่มขึ ้น 23.49% โดยเป็ นการเพาะปลูกในพื ้นที่ป่าเดิม 5,943 ไร่ ต่อมาในปี พ.ศ.2556 พื ้นที่ป่าเบญจพรรณ ลดลง 5,912 ไร่ หรื อคิดเป็ น 6.51% ขณะที่พื ้นที่ปลูกข้ าวโพดเพิ่มขึ ้น 15,451 ไร่ หรื อเพิ่มขึ ้นจากปี พ.ศ. 2550 ถึง 57.91% โดยเป็ นพื ้นที่ปลูกข้ าวโพดที่เพิ่มในป่ าเดิม 8,663 ไร่

ตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงของพื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ปลูกข้ าวโพด ปี 2545 ปี 2550 และปี 2556 ของ ตาบลพงษ์ วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat5-TM พื น้ ที่ ปี 2545 พื น้ ที่ ปี 2550 การเปลี่ยนแปลง พื น้ ที่ ปี 2556 การเปลี่ยนแปลง

พงษ์

(ไร่)

(ไร่)

พื ้นที่ (ไร่) %

ป่ าเบญจพรรณ

95,994

90,833

- 5,161 -5.38 84,921

- 5,912

- 6.51

ข้ าวโพด

21,605

26,681

5,076

15,451

57.91

พืน้ ที่ปลูกข้ าวโพดที่เ พิ่ม ใน ป่ า

(ไร่)

23.49 42,132

5,943

พื ้นที่ (ไร่) %

8,663

ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

266


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

267


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

268


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

269


- ตาบลดู่พงษ์ อาเภอสันติสุข ในปี พ.ศ.2545 ตาบลดูพ่ งษ์มีพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพด 8,467 ไร่ และพื ้นที่ป่าเบญจพรรณ 9,204 ไร่ ในปี พ.ศ.2550 พื ้นที่ป่าเบญจพรรณลดลง 2,503 ไร่ หรื อคิดเป็ น 27.19% และพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพด เพิ่มขึ ้น 5,110 ไร่ หรื อ 60.35% โดยเป็ นการเพาะปลูกที่เพิ่มขึ ้นในพื ้นที่ป่าเดิม 1,291 ไร่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2556 พืน้ ที่ป่าเบญจพรรณลดลงจากปี พ.ศ.2550 คิดเป็ น 43.40% ขณะที่พืน้ ที่ปลูกข้ าวโพดเพิ่มขึน้ 42.10% โดยเป็ นพื ้นที่ปลูกข้ าวโพดที่เพิ่มในป่ าเดิม 1,870 ไร่

ตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงของพื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ปลูกข้ าวโพด ปี 2545 ปี 2550 และปี 2556 ของ ตาบลดูพ่ งษ์ วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat พื น้ ที่ ปี 2545 พื น้ ที่ ปี 2550 การเปลี่ยนแปลง

พื น้ ที่ ปี 2556 การเปลี่ยนแปลง

(ไร่)

(ไร่)

พื ้นที่ (ไร่) %

(ไร่)

ป่ าเบญจพรรณ

9,204

6,702

- 2,503 - 27.19 3,793

- 2,908

- 43.40

ข้ าวโพด

8,467

13,578

5,110

5,716

42.10

ดูพ่ งษ์

พืน้ ที่ป ลูกข้ าวโพดที่เ พิ่ม ใน ป่ า

60.35 19,294

1,291

พื ้นที่ (ไร่) %

1,870

ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

270


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

271


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

272


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

273


- ตาบลอวน อาเภอปั ว ในปี พ.ศ.2545 ตาบลปั วมีพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพด 11,559ไร่ และพื ้นที่ป่าเบญจพรรณ 72,045 ไร่ ในปี พ.ศ.2550 พื ้นที่ป่าเบญจพรรณลดลง 1,954 ไร่ หรื อคิดเป็ น 2.71% และพื ้นที่เพาะปลูกข้ าวโพด เพิ่มขึ ้น 2,019 ไร่ หรื อ 17.47% โดยเป็ นการเพาะปลูกในพื ้นที่ป่าเดิม 3,841ไร่ ต่อมาในปี พ.ศ.2556 พื ้นที่ ป่ าเบญจพรรณลดลงจากปี พ.ศ.2550 อีก 6,539 ไร่ หรื อ 9.33% ขณะที่พื ้นที่ปลูกข้ าวโพดเพิ่มขึ ้น 8,157 ไร่ หรื อ 60.08% โดยเป็ นพื ้นที่ปลูกข้ าวโพดที่เพิ่มในป่ าเดิม 5,134 ไร่

ตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงของพื ้นที่ป่าไม้ และพื ้นที่ปลูกข้ าวโพด ปี 2545 ปี 2550 และปี 2556 ของ ตาบลอวน วิเคราะห์จากข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat พื ้นที่ปี 2545 พื น้ ที่ ปี 2550 การเปลี่ยนแปลง พื ้นที่ปี 2556 การเปลี่ยนแปลง

อวน

(ไร่)

(ไร่)

พื ้นที่ (ไร่) %

ป่ าเบญจพรรณ

72,045

70,091

- 1,954 - 2.71 63,552

- 6,539

- 9.33

ข้ าวโพด

11,559

13,578

2,019

8,157

60.08

พืน้ ที่ปลูกข้ าวโพดที่เ พิ่ม ใน ป่ า

(ไร่)

17.47 21,735

3,841

พื ้นที่ (ไร่) %

5,134

ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556)

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

274


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

275


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

276


ที่มา: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (2556) บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

277


J. วิธีการตรวจวัดระดับเอนไซม์ โคลีนเอสเตอเรสของกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขตรวจคัดกรองการแพ้ พิษสารกาจัดศัตรูพืชในภาคสนามโดยใช้ กระดาษทดสอบที่ เรี ยกว่า Reactive paper ผลิตและจัดจาหน่ายโดยองค์การเภสัชกรรม การตรวจคัดกรองทาโดยเจาะเลือด จากปลายนิ ้วผ่านกรรมวิธีแล้ วทดสอบด้ วยกระดาษทดสอบ และแปลผลโดยเทียบสีกระดาษทดสอบกับสี มาตรฐานซึง่ แบ่งเป็ น 4 ระดับคือ (สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้ อม, 2553) 1) สีเหลือง แสดงระดับปกติ หรื อระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสมีคา่ มากกว่าหรื อเท่ากับ 100 หน่วย ต่อมิลลิลิตร 2) สีเหลืองอมเขียว แสดงระดับปลอดภัย หรื อระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสมีคา่ มากกว่า 87.5 แต่ น้ อยกว่า 100 หน่วยต่อมิลลิลิตร 3) สีเขียว แสดงระดับมีความเสี่ยง หรื อระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสมีคา่ มากกว่า 75 แต่น้อยกว่า 87.5 หน่วยต่อมิลลิลิตร 4) สีเขียวเข้ ม แสดงระดับไม่ปลอดภัยหรื อระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสมีค่าต่ากว่า 75 หน่วยต่อ มิลลิลิตร

ตัวอย่างแผ่นเทียบสีมาตรฐานสาหรับแปลผลโคลีนเอสเตอเรส

ทีม่ า : องค์การเภสัชกรรม

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

278


K. หลักเกณฑ์ ด้าน “ความเป็ นผู้นาด้ านสิ่งแวดล้ อม”ในมาตรฐาน C.A.F.E. ของ Starbucks เกณฑ์ ด้า น “ความเป็ นผู้น าด้ านสิ่ ง แวดล้ อม” ที่ Starbucks ใช้ ประเมิ น ประกอบด้ วยเกณฑ์ ย่อ ย ดังต่อไปนี ้ ตารางแสดงหลักเกณฑ์ที่ใช้ พิจารณาด้ านความเป็ นผู้นาด้ านสิ่งแวดล้ อม (environmental leadership) ในการปลูกกาแฟ ใช้ กบั หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง

ตัวชี ้วัด

1. การดูแลรักษาแหล่งน ้า 1.1 มีพื ้นที่กนกลาง ั้ (buffer zone) ระหว่างพื ้นที่แหล่งน ้าถาวร กับพื ้นที่เพาะปลูก โดยมีพื ้นที่ติดกันมากกว่า 50% กับพื ้นที่ แหล่งน ้า พื ้นที่กนกลางต้ ั้ องกว้ างอย่างน้ อย 5 เมตร 1.2 มีพื ้นที่กนกลาง ั้ (buffer zone) ระหว่างพื ้นที่แหล่งน ้าถาวร กับพื ้นที่เพาะปลูก โดยมีพื ้นที่ติดพื ้นที่แหล่งน ้าทังหมด ้ พื ้นที่ กันกลางต้ ้ องกว้ างอย่างน้ อย 5 เมตร 1.3 มีพืน้ ที่กนั ้ กลาง (buffer zone) ระหว่างพื ้นที่แหล่งนา้ ชัว่ คราวหรื อตามฤดูกาลกับพื ้นที่ เพาะปลูก โดยมีพื ้นที่ติดกัน มากกว่า 50% กับพื ้นที่แหล่งน ้า พื ้นที่กนั ้ กลางต้ องกว้ างอย่าง น้ อย 2 เมตร 1.4 มีพืน้ ที่กนั ้ กลาง (buffer zone) ระหว่างพื ้นที่แหล่งนา้ ชัว่ คราวหรื อตามฤดูกาลกับพื ้นที่เพาะปลูก โดยมีพื ้นที่ติดพื ้นที่ แหล่งน ้าทังหมด ้ พื ้นที่กนกลางต้ ั้ องกว้ างอย่างน้ อย 2 เมตร 1.5 มี ก ารวางแผนปลู ก พื ช ท้ องถิ่ น เพื่ อ ฟื ้น ฟู พื น้ ที่ กั น้ กลาง (buffer zone)

- จ า น ว น พื ้น ที่ กั ้ น กลาง < 5 เมตร - จ า น ว น พื ้น ที่ กั ้น กลาง ≥ 5 เมตร - % พืน้ ที่ของแหล่ง นา้ ที่ อยู่ติดพืน้ ที่ กัน้ กลาง - จ า น ว น พื ้น ที่ กั ้น กลาง < 2 เมตร - จ า น ว น พื ้น ที่ กั ้น กลาง ≥ 2 เมตร - % พืน้ ที่ของแหล่ง นา้ ที่ อยู่ติดพืน้ ที่ กัน้ กลาง

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

279


ใช้ กบั ตัวชี ้วัด หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง 1.6 มีการปลูกไม้ เนื ้อแข็งในพื ้นที่กนกลาง ั้ (buffer zone) ติด % พื ้นที่พื ้นที่กนกลาง ั้ X X พื ้นที่กนกลางที ั้ ่ตดิ พื ้นที่แหล่งน ้าถาวรมากกว่า 50% กั บ แหล่ ง น า้ ถาวรที่ มี 1.7 มีการปลูกไม้ เนื ้อแข็งในพื ้นที่กนกลาง ั้ (buffer zone) ติด การปลูกไม้ เนื ้อแข็ง X X พื ้นที่กนกลางที ั้ ่ตดิ พื ้นที่แหล่งน ้าถาวรทังหมด ้ 1.8 คะแนนพิเศษ X X มีการปกป้องทางข้ ามแหล่งน ้าด้ วยการใช้ สะพาน ท่อใต้ ดิน หรื อ วิธีอื่นๆ ที่ป้องกันไม่ให้ คณ ุ ภาพน ้าแย่ลง 1.9 ใช้ สารเคมีเกษตรในระยะเกิน 5 เมตรจากแหล่งน ้าถาวร ระยะห่างของบริ เวณที่ X X ใช้ ส ารเคมี เ กษตรจาก แหล่งน ้าถาวร 1.10 ใช้ สารกาจัดไส้ เดือนฝอยในระยะเกิน 20 เมตรจากแหล่ง ระยะห่างของบริ เวณที่ X น ้าถาวร ใช้ สารก าจัด ไส้ เดื อ น ฝอยจากแหล่งน ้าถาวร 1.11 ขยะที่เกิดจากการเกษตรและบริ เวณทิ ้งขยะต้ องห่างใน ระยะห่างของบริ เวณที่ X X ระยะเกิน 100 เมตรจากแหล่งน ้าถาวร ทิ ง้ ขยะจากแหล่ ง น า้ ถาวร 2. แหล่งน ้าและการชลประทาน 2.1 ถ้ าใช้ เครื่ องมือจัดการน ้า เช่น ปั๊ ม ต้ องมีรายงานปริ มาณน ้า จ านวนลิ ตรของน า้ ต่อ X ที่ ใ ช้ เ ป็ นลายลัก ษณ์ อัก ษร เช่ น จ านวนลิ ต รต่อ กิ โ ลกรั ม ของ กิโลกรัมของกาแฟที่ยงั กาแฟที่ยงั ไม่ผา่ นการคัว่ และจานวนลิตรต่อเฮคเตอร์ ไ ม่ ผ่ า น ก า ร คั่ ว แ ล ะ จ านวนลิ ตรของน า้ ต่อ เฮคเตอร์ 2.2 คะแนนพิเศษ X ถ้ าใช้ เครื่ องมือจัดการน ้า การจัดการเกษตรในไร่สามารถแสดง บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

280


ใช้ กบั หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง

ตัวชี ้วัด

ให้ เห็นความเข้ าใจต่อสภาพนา้ ท้ องถิ่นและปั จจัยต่างๆ ที่เป็ น อุปสรรค 2.3 คะแนนพิเศษ ใช้ เครื่ องมือจัดการน ้าและพยายามลดการใช้ น ้า 3. การควบคุมการกัดเซาะของหน้ าดิน 3.1 ผู้จดั การไร่มีความรู้เรื่ องความเสี่ยงของการกัดเซาะหน้ าดิน สามารถให้ ข้อมูล ระบุพื ้นที่เสี่ยงต่อการกัดเซาะบนแผนที่ (โดย พิจารณาจากปั จจัยต่างๆ เช่น พืน้ ที่ลาดชัน ประเภทดิน และ พื ้นที่แอ่ง) 3.2 มีแผนการจัดการดินเป็ นลายลักษณ์อักษร ที่รวมถึงการ ประเมินผลเพื่อลดความเสียหายจากการกัดเซาะ 3.3 พื ้นที่เพาะปลูกอย่างน้ อย 50% ที่มีความชันน้ อยกว่า 20% ถูกปกคลุมด้ วยต้ นไม้ ที่สร้ างร่มเงาและ/หรื อการปลูกพืชอื่นๆ 3.4 พื ้นที่เพาะปลูกทังหมด ้ ที่มีความชันน้ อยกว่า 20% ถูกปก คลุมด้ วยต้ นไม้ ที่สร้ างร่มเงาและ/หรื อการปลูกพืชอื่นๆ

3.5 นอกเหนือไปจากการป้องกันการกัดเซาะของหน้ าดินจาก ข้ อ 3.3 และ 3.4 แล้ ว มีการใช้ เส้ นชันความสู ้ งของดิน (contour line) และขันบั ้ นไดในการเพาะปลูก (bench terrace) ไม่ต่ากว่า 50% ในพื ้นที่เพาะปลูกที่มีความชันระหว่าง 20-30% 3.6 นอกเหนือไปจากการป้องกันการกัดเซาะของหน้ าดินจาก ข้ อ 3.3 และ 3.4 แล้ ว มีการใช้ เส้ นชันความสู ้ งของดิน (contour

X

X

X

X % ของพื ้นที่เพาะปลูก ที่ มี ค วามชัน น้ อยกว่ า 20% และถูกปกคลุม ด้ วยต้ นไม้ ที่สร้ างร่มเงา และ/หรื อ การปลูก พื ช อื่นๆ -% ของพื น้ ที่ เพาะปลูกที่มีความ ชั น ร ะ ห ว่ า ง 2030% และใช้ เส้ นชัน้ ค ว า ม สู ง ข อ ง ดิ น (contour line) และ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

X

X

X

X

X

X

X

X

281


ตัวชี ้วัด

line) และขันบั ้ นไดในการเพาะปลูก (bench terrace) ทังหมด ้ ในพื ้นที่ที่มีความชันระหว่าง 20-30%

ใช้ กบั หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง ขั น้ บั น ไ ด ใ น ก า ร เพาะปลูก (bench terrace) - ความเหมาะสมของ ระยะเส้ น ชัน้ ความ สู ง ข อ ง ดิ น (contour line) และ ขั น้ บั น ไ ด ใ น ก า ร เพาะปลูก (bench terrace) ต่อสภาพพื ้นที่ % ของพื ้นที่เพาะปลูก X X ที่ มี ค วามชัน มากกว่ า 30% ที่ มี ตั ว ป้ อ ง กั น ก า ย ภ า พ (Physical Barrier) และ/หรื อตั ว ป้องกันชีวภาพ X X

3.7 นอกเหนือไปจากการป้องกันการกัดเซาะของหน้ าดินจาก ข้ อ 3.3 -3.6 แล้ ว มีตวั ป้องกันกายภาพ (Physical Barrier) (เช่น เศษกิ่งไม้ หรื อหิน) และ/หรื อตัวป้องกันชีวภาพ (เช่น หญ้ า ไม้ พุ่ม ) อยู่ไ ม่ต่ากว่า 50% ของพืน้ ที่ เพาะปลูกที่มี ความชัน มากกว่า 30% 3.8 นอกเหนือไปจากการป้องกันการกัดเซาะของหน้ าดินจาก ข้ อ 3.3 -3.6 แล้ ว มีตวั ป้องกันกายภาพ (Physical Barrier) (เช่น เศษกิ่งไม้ หรื อหิน) และ/หรื อตัวป้องกันชีวภาพ (เช่น หญ้ า ไม้ พุ่ม ) มี อ ยู่ใ นพื น้ ที่ เ พาะปลูก ทัง้ หมดที่ มี ค วามชัน มากกว่า 30% 3.9 ไม่มีการใช้ ยาฆ่าวัชพืชเพื่อควบคุมพืชที่ปลูกปกคลุมผิวดิน X หรื อพ่นลงบนพืชผล สามารถใช้ ได้ เฉพาะบางจุดที่มีวัชพืชขึน้ อย่างรุนแรง 3.10 ถนนหรื อทางที่ใช้ ประจาหรื อทางเดินเท้ าอย่างน้ อย 50% % ของถนนหรื อถนน X บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

X

282


ใช้ กบั ตัวชี ้วัด หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง จะต้ องได้ รับ การป้ องกัน การกัดเซาะด้ วยการมี คูน า้ และการ หรื อทางที่ ใ ช้ ประจ า ระบายน ้า และ/หรื อการป้องกันอื่นๆ (เช่น การปลูกพืชปกคลุม) หรื อทางเดินเท้ าที่ได้ รับ 3.11 ถนนหรื อทางที่ใช้ ประจาหรื อทางเดินเท้ าทังหมด ้ จะต้ อง ก า ร ป้ อ ง กั น ก า ร กั ด X ได้ รับการป้องกันการกัดเซาะด้ วยการมีคนู ้าและการระบายน ้า เซาะ และ/หรื อการป้องกันอื่นๆ (เช่น การปลูกพืชปกคลุม) 3.12 คะแนนพิเศษ X X พื ้นที่ความเสี่ยงสูงต่อดินถล่ม (โดยดูจากปั จจัยต่างๆ เช่น ความ ชั น สภาพดิ น และความชั น ที่ ม ากกว่ า 60%) ไม่ ค วรใช้ เพาะปลูกและควรปกป้องด้ วยการปลูกพืชท้ องถิ่นคลุมในพื ้นที่ที่ พอปลูกได้ 4. การควบคุมความอุดมสมบูรณ์ของดิน 4.1 พืน้ ที่เพาะปลูกอย่างน้ อย 25% ถูกปกคลุมด้ วยชัน้ ของ % ของพื ้นที่เพาะปลูก X X สารอินทรี ย์ (เช่น ชีวมวลจากใบไม้ ที่ เน่าเปื่ อย หญ้ า กิ่งไม้ และ ที่ ถู ก ปกคลุ ม ด้ วยชั น้ อื่นๆ) และ/หรื อพืชปกคลุมที่ชว่ ยเพิ่มไนโตรเจน ของสารอินทรี ย์ 4.2 พืน้ ที่เพาะปลูกอย่างน้ อย 50% ถูกปกคลุมด้ วยชัน้ ของ X X สารอินทรี ย์ (เช่น ชีวมวล จากใบไม้ ที่เน่าเปื่ อย หญ้ า กิ่งไม้ และ อื่นๆ) และ/หรื อพืชปกคลุมที่ชว่ ยเพิ่มไนโตรเจน 4.3 พื ้นที่เพาะปลูกทังหมดถู ้ กปกคลุมด้ วยชันของสารอิ ้ นทรี ย์ X X (เช่น ชีวมวล จากใบไม้ ที่เน่าเปื่ อย หญ้ า กิ่งไม้ และอื่นๆ) และ/ หรื อพืชปกคลุมที่ชว่ ยเพิ่มไนโตรเจน 4.4 ซากกิ่งไม้ ใบไม้ และวัตถุอินทรี ย์ตา่ งๆ ทิ ้งไว้ ทบั ถมกันเพื่อ X X คลุมดินและ/หรื อเพื่อบารุงดิน 4.5 พื ้นที่เพาะปลูกอย่างน้ อย 25% ของพื ้นที่เพาะปลูกมีการ % ของพื น้ ที่ เพาะปลูก X X ปลูกพืชเพื่อเพิ่มไนโตรเจนหรื อพืชตระกูลถัว่ ที่ มี ก ารปลู ก พื ช เพื่ อ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

283


ใช้ กบั ตัวชี ้วัด หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง 4.6 พื ้นที่เพาะปลูกอย่างน้ อย 50% ของพื ้นที่เพาะปลูกมีการ เพิ่ม ไนโตรเจนหรื อพื ช X X ปลูกพืชเพื่อเพิ่มไนโตรเจนหรื อพืชตระกูลถัว่ ตระกูลถัว่ 4.7 พื ้นที่เพาะปลูกทังหมดมี ้ การปลูกพืชเพื่อเพิ่มไนโตรเจนหรื อ X X พืชตระกูลถัว่ 4.8 มี การวิเ คราะห์ ดินทุกๆ สองปี เพื่ อดูความบกพร่ องของ การวิเคราะห์ดินทุกๆ _ X สารอาหารในดิน (ทัง้ สารอาหารหลักและรอง (micro and ปี macro)) การวิเคราะห์ใบทุกๆ _ 4.9 การวิเคราะห์สภาพใบ (foliar analysis) ทุกๆ สองปี เพื่อดู ปี X ความบกพร่องของสารอาหารในดิน (ทังสารอาหารหลั ้ กและรอง (micro and macro)) 4.10 มี สูต รปรั บสารอาหารในดิน และการบารุ ง ดินแบบไม่ สังเคราะห์เพื่อแก้ ไขข้ อบกพร่ องที่พบจากการวิเคราะห์ดินและ ใบ 5. การรักษาร่มเงากาแฟ (coffee shade canopy) 5.1 ต้ นไม้ ท้องถิ่นจะถูกกาจัดเมื่อก่อให้ เกิดอันตรายกับมนุษย์ X X หรื อเมื่อโตแข่งกับต้ นกาแฟเท่านัน้ 5.2 มี แผนการจัดการร่ ม เงา คื อ การระบุพื น้ ที่ ที่ มี ช่องว่า ง มีแผนในการจัดการร่ ม X ระหว่างพื น้ ที่ ให้ ร่ ม ปลูกในพื น้ ที่ที่มีเ งาเหมาะสม มี แผนการ เงาหรื อไม่ ปลูกไม้ ต่างถิ่นกับพืชท้ องถิ่น ระบุแหล่งทรัพยากรว่าไม้ ที่ให้ ร่ม ได้ ใช้ แผนนันหรื ้ อไม่ มาจากไหนและระยะเวลาในการเพาะปลูก 5.3 มีการใช้ แผนการจัดการร่มเงาตามกาหนดเวลาที่วางแผนไว้ X 5.4 พื ้นที่อย่างน้ อย 10% ของไร่ (ทังที ้ ่ใช้ และไม่ได้ ใช้ เพาะปลูก) % ของพืน้ ที่ในไร่ ที่มี X X มีร่มเงาปกคลุม เงาปกคลุม % ของพื ้นที่เพาะปลูก X 5.5 คะแนนพิเศษ X บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

284


ใช้ กบั ตัวชี ้วัด หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง พื ้นที่อย่างน้ อย 40% ของไร่ (ทังที ้ ่ใช้ และไม่ได้ ใช้ เพาะปลูก ) มี ที่มีเงาปกคลุม ร่มเงาปกคลุม 5.6 มีความหลากหลายทางชีวภาพของไม้ ร่มเงา จ านวนประเภทของ X X ต้ นไม้ ที่เป็ นร่มเงา 5.7 ไม่ใช้ ต้นไม้ ประเภทแพร่กระจายรวดเร็วมาเป็ นร่มเงา % พื ้ น ที่ ร่ ม เ ง า ที่ X X 5.8 ในสภาพที่เอื ้ออานวย พืชอาศัย (epiphytes) ไม้ เถาเนื ้อเข็ง ประกอบไปด้ วยพื ช X X และไม้ เลื ้อยพันธุ์ท้องถิ่นถูกนามาใช้ เป็ นพืชปกคลุมสร้ างร่มเงา ท้ องถิ่น 5.9 คะแนนพิเศษ X X อย่างน้ อย 75% ของไม้ ร่มเงาประกอบไปด้ วยพืชท้ องถิ่น และ/ หรื อร่ มเงาประกอบไปด้ วยต้ นไม้ อย่างน้ อย 10 สายพันธุ์ที่เป็ น พืชท้ องถิ่น หรื อที่แสดงได้ ว่าได้ ช่วยรักษาความหลากหลายทาง ชีวภาพท้ องถิ่น 5.10 คะแนนพิเศษ X X ไม้ ร่มเงาได้ รับการดูแลจนเป็ นส่วนสาคัญในการรักษาชีวภาพ (เช่น การสร้ างร่มเงาสร้ างการเปลี่ยนแปลงทางสภาพอากาศใน พืน้ ที่ เ พาะปลูก เช่น ชัน้ ของใบไม้ ที่ทับถมที่ สัง เกตได้ จ ากพื น้ ก่อให้ เกิดเป็ นแหล่งอาศัยของพืชและสัตว์ตา่ งๆ เป็ นต้ น) 5.11 คะแนนพิเศษ X X ร่มเงาประกอบไปด้ วยพืชปกคลุมอย่างน้ อย 2 ชัน้ 5.12 ต้ นไม้ ที่ผกุ ร่อนที่ยงั ยืนต้ น และ/หรื อต้ นไม้ ที่ตายแล้ วไม่ถกู X X ย้ ายออกจากพืน้ ที่ เพาะปลูก และถูกทิง้ ไว้ เพื่ อเป็ นย่อยสลาย ตามธรรมชาติ 6. การรักษาชีวิตสัตว์ป่า 6.1 ห้ ามล่าสัตว์ป่าหายากหรื อสายพันธุ์ที่ถกู คุกคาม และเก็บ X X บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

285


ใช้ กบั หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง

ตัวชี ้วัด

พรรณไม้ โดยไม่ได้ รับอนุญาตในพื ้นที่ 6.2 มีมาตรการที่ชดั เจน เฉพาะเจาะจง (เช่น มีป้ายห้ ามล่าสัตว์ ห้ ามบุ ก รุ กพื น้ ที่ มี รั ว้ รอบขอบชิ ด พนั ก งานรั ก ษาความ ปลอดภัย) ที่จะป้องกันการล่าสัตว์ป่าหายากหรื อสายพันธุ์ที่ถูก คุกคาม และเก็บพรรณไม้ โดยไม่ได้ รับอนุญาตในพื ้นที่ 6.3 มีการจัดการไร่โดยจัดทารายชื่อของสัตว์ป่าสายพันธุ์ตา่ งๆ ที่อยูใ่ นท้ องถิ่นและระบุว่ามีสายพันธุ์ไหนที่มีความเสี่ยง หรื ออยู่ ใน ภ า ว ะ เสี่ ย ง ต่ อ กา ร สู ญ พั น ธุ์ ต า ม ร า ยชื่ อ ข อ ง IUCN (www.redlist.org) หรื อแหล่งข้ อมูลจากรัฐบาล 6.4 คะแนนพิเศษ มีแผนการจัดการสัตว์ป่าที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรที่เขียนเฉพาะ เพื่ อไร่ กาแฟนี ้ (เช่น ผู้บริ หารและพนักงานได้ รับการอบรม มี แผนการดาเนินงานเป็ นขัน้ ตอน มีระยะเวลาระบุแน่น อน เป็ น ต้ น) 7. พื ้นที่อนุรักษ์ 7.1 เกณฑ์ ที่ ต้ อ งปฏิ บัติ ต ามโดยไม่ มี ก ารผ่ อ นปรน (zero tolerance) ห้ ามเปลี่ยนพืน้ ที่ ป่าไม้ เป็ นพืน้ ที่ การเกษตร เป็ นกฎที่ใช้ ตงแต่ ั้ ค.ศ.2004 7.2 มีการประเมินพื ้นที่อนุรักษ์ มลู ค่าสูง (High Conservation Value) คือ พื ้นที่ป่าที่ยงั สมบูรณ์ พื ้นที่ปฐมภูมิที่มีร่มเงาป่ าปก คลุม มีพนั ธุ์ไม้ หายาก เป็ นแหล่งอาศัยที่สาคัญ สร้ างคุณค่าต่อ ลุ่ม น า้ มี ค วามส าคัญ ต่อ ชุม ชนท้ อ งถิ่ น และเอกลัก ษณ์ ข อง วัฒนธรรมชุมชน

มี ป้ าย หรื อประตู รั ้ว X หรื อกาแพง หรื อสิ่งที่ใช้ ป้องกันการบุกรุ กพืน้ ที่ อื่นๆ X

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

X

X

X

X

X

286


ตัวชี ้วัด

7.3 คะแนนพิเศษ มีการประเมินพื ้นที่โดยนักนิเวศวิทยา หรื อนักชีววิทยาในพื ้นที่ อนุรักษ์มลู ค่าสูง (High Conservation Value) 7.4 มี การกาหนด ปกป้องและจัดการพืน้ ที่ อนุรักษ์ มูลค่าสูง (High Conservation Value) อย่างชัดเจนเพื่อรักษามูลค่าไว้ 7.5 คะแนนพิเศษ ถ้ าไม่มีพื ้นที่อนุรักษ์ มลู ค่าสูง (High Conservation Value) อยู่ ในพืน้ ที่เพาะปลูก แต่ผ้ ูบริ หารไร่ ฟื้นฟูพื ้นที่อาศัยของสัตว์หรื อ สภาพทางธรรมชาติ ไ ว้ เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของไร่ (ฟื ้ น ฟู ร ะบบ นิเวศวิทยา) 7.6 คะแนนพิเศษ ถ้ ามีพื ้นที่อนุรักษ์ มลู ค่าสูง (High Conservation Value) อยู่ใน พื ้นที่เพาะปลูก พื ้นที่อนุรักษ์ นนได้ ั ้ รับการปกป้องการพัฒนาใน อนาคต โดยมี การประกาศอนุรักษ์ โดยเอกชน (private reserves) เป็ นพืน้ ที่เน้ นอนุรักษ์ (conservation emphasis area) หรื อเป็ นพื ้นที่อนุรักษ์ ภาระจายอม (legal conservation easements) 7.7 พื ้นที่เพาะปลูกอย่างน้ อย 5% ได้ รับการสารองไว้ เพื่อเป็ น พื ้นที่เน้ นอนุรักษ์ (conservation emphasis area) หรื อตามที่ กาหนดโดยกฎหมายท้ องถิ่น 7.8 คะแนนพิเศษ พื ้นที่เพาะปลูกมากกว่า 10% ได้ รับการสารองไว้ เพื่อเป็ นพื ้นที่ เน้ นอนุรักษ์ (conservation emphasis area) หรื อตามที่ กาหนดโดยกฎหมายท้ องถิ่น

ใช้ กบั หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง X X

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

X

X

X

X

X

X

X

X

X

X

287


ตัวชี ้วัด

ใช้ กบั หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง X X

7.9 คะแนนพิเศษ หากมี พืน้ ที่ อนุรักษ์ มูล ค่าสูง (High Conservation Value) หลายแห่งภายในไร่ ควรมีการแบ่งพื ้นที่ทางชีววิทยาและพื ้นที่ การใช้ สอยของมนุษย์ออกจากกัน (biological corridor) และ เชื่อมโยงพื ้นที่อนุรักษ์เข้ าด้ วยกัน 7.10 มีการปลูกพืชหลายประเภทเพื่อสร้ างความหลากหลาย ทางชีวภาพในพืน้ ที่ ว่างในไร่ (เช่น ชายขอบไร่ ถนน ทางเดิน และอื่นๆ) 7.11 คะแนนพิเศษ มีการอนุบาลต้ นไม้ ท้องถิ่นเพื่อการฟื น้ ฟูระบบนิเวศวิทยา 8. การควบคุมแมลงและเชื ้อโรค 8.1 เกณฑ์ ที่ ต้ อ งปฏิ บัติ ต ามโดยไม่ มี ก ารผ่ อ นปรน (zero tolerance) ไม่ใช้ ยาฆ่าแมลงประเภท 1A และ 1B ตามรายชื่อจากองค์การ อนามัยโลก 8.2 มีบนั ทึกการซื ้อยาฆ่าแมลง ระบุวนั ที่ ชื่อผลิตภัณฑ์ สูตร บั น ทึ ก ยาฆ่ า แมลงมี ผลิ ตภัณ ฑ์ จ านวน ชื่ อคู่ค้า และราคาของยาฆ่าแมลงแต่ล ะ รายละเอียดเรื่ อง ประเภท - วันที่ - ผลิตภัณฑ์ - ราคา - จานวน - คูค่ ้ า - สูตร 8.3 สารเคมี ทางการเกษตรถูก เก็บและล็อคในพืน้ ที่ที่มีการ พื น้ ที่ เ ก็ บ สารเคมี ท าง

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

X

X

X

X

X

X

X

X

X

288


ตัวชี ้วัด

ควบคุมการเข้ าออก และแยกออกจากผลิตภัณฑ์อาหาร พื ้นที่ พักอาศัย 8.4 พื ้นที่เก็บสารเคมีทางการเกษตรมีระบบระบายอากาศที่ดี เพียงพอ 8.5 พืน้ ที่ เก็บสารเคมี ทางการเกษตรมีสิ่งป้องกันการรั่วไหล (เช่ น รั ว้ กั น้ ที่ เ ป็ นกิ จ ลั ก ษณะที่ ป้ องกั น การปนเปื ้ อ นไปสู่ ภายนอก)

8.6 สารเคมีทางการเกษตรที่ถูกเก็บมี ฉลากที่มาจากผู้ผลิต ได้ รับการจัดเก็บและแยกประเภทตามประเภทการใช้ งานและ ความเป็ นพิษ 8.7 มีแผนสารองเพื่อจัดการการรั่วไหลและการได้ รับยาฆ่า แมลงมากเกินไป 8.8 สารเคมีทางการเกษตรถูกผสม และอุปกรณ์การฉี ดพ่นถูก เก็บในพื ้นที่ที่มีการถ่ายเทอากาศที่ดี ถ้ าสารเคมีทางการเกษตร ถูก ผสมในพื น้ ที่ เ พาะปลูก เพราะระยะทางไกลจากพื น้ ที่ เ ก็ บ ต้ องมีมาตรการป้องกันในการจัดการอุบตั ิเหตุ การรั่วไหลและ การปนเปื อ้ น 8.9 มีแผนการจัดการแมลงแบบบูรณาการ (Integrated Pest Management – IPM) เพื่อรายงานอาการของแมลง เชื ้อโรค และการติดเชื ้อไส้ เดือนฝอย 8.10 มีแผนการจัดการแมลงแบบบูร ณาการ (Integrated Pest

ใช้ กบั หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง การเกษตรมีลกั ษณะ - มีการปิ ดล็อค - ค ว บ คุ ม ก า ร X X เข้ าออก - แยกจากพื น้ ที่ X เ ก็ บ อ า ห า ร และอยูอ่ าศัย - มี ก ารระบาย อากาศที่ดี - มี ก ารป้ องกั น การรั่วไหล X

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

X X

X

X 289


ตัวชี ้วัด

ใช้ กบั หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง

Management – IPM) ที่ เ ขี ยนเป็ นลายลักษณ์ อักษรและ นามาใช้ อย่างเหมาะสมและมี การรายงานสถานการณ์ แมลง อาการจากเชื ้อโรคและการติดเชื ้อไส้ เดือนฝอยอย่างสม่าเสมอ 8.11 มีการควบคุมการติดเชื ้อไส้ เดือนฝอยอย่างเป็ นรูปธรรม 8.12 ใช้ ยาฆ่าแมลงเฉพาะจุด โดยขึ ้นอยู่กบั ประเภทและความ รุนแรงของการแพร่กระจาย 8.13 การใช้ ยาฆ่าแมลงถือเป็ นทางเลือกสุดท้ าย (หลังจากการ ใช้ วิธีกาจัดดังเดิ ้ ม หรื อการป้องกันทางกายภาพล้ มเหลว) 8.14 เก็บบันทึกการใช้ ยาฆ่าแมลงโดยระบุวนั ที่ ผลิตภัณฑ์ สูตร บั น ทึ ก กา รใช้ ยาฆ่ า ผสม ปริมาณและพื ้นที่ที่มีการใช้ แมลงโดยระบุ - วันที่ - ผลิตภัณฑ์ - สูตรผสม - ปริมาณ - พื ้นที่ที่มีการใช้ 8.15 มีบนั ทึกปริมาณการใช้ ยาฆ่าแมลงต่อพื ้นที่เป็ นลายลักษณ์ อักษร 8.16 คะแนนพิเศษ ปริมาณสารพิษที่ใช้ ลดลงตามช่วงเวลา โดยการลดยาฆ่าแมลง หรื อใช้ ทางเลือกอื่นที่ไม่ต้องใช้ สารพิษ 8.17 อุปกรณ์ฉีดพ่นได้ รับการดูแลให้ อยูใ่ นสภาพดี พร้ อมใช้ งาน ถูกทาความสะอาดและเก็บในพื ้นที่เก็บสารเคมีหลังจากการใช้ งาน 8.18 บรรจุภัณฑ์ เคมี ที่หมดแล้ วถูกล้ างนา้ เจาะรู หรื อทา บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

X X

X X

X

X

X

X X

X

X

X

290


ใช้ กบั หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง

ตัวชี ้วัด

เครื่ องหมายตามกฎท้ องถิ่ นและถูกกาจัดอย่างเหมาะสมเพื่ อ ป้องกันการนากลับมาใช้ ซ ้า หรื อเกิดอันตรายจากการนาไปใช้ 9. การจัดการไร่และการรายงาน 9.1 ผู้จดั การไร่พฒ ั นาและปฏิบตั ิตามแผนการทางานที่เป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรเพื่อทาตามมาตรฐาน C.A.F.E. กิจกรรมต่างๆ ที่ ได้ รับการปรับปรุงได้ ถกู บันทึกและจัดเก็บเป็ นเอกสาร 9.2 ผู้จดั การไร่จดั ประชุมกับลูกจ้ างอย่างน้ อยปี ละหนึ่งครัง้ เพื่อ อภิปรายเรื่ องมาตรฐาน C.A.F.E. แผนและกิจกรรมเพื่อการ ปรับปรุงให้ ดีขึ ้น 10. การผลิตในระยะยาว 10.1 มีการตัดแต่งต้ นกาแฟเพื่อให้ เกิดการสร้ างเนือ้ เยื่อใหม่ (เพื่อสร้ างผลผลิตเพิ่มและได้ กาแฟที่คณ ุ ภาพดีขึ ้น) 10.2 คะแนนพิเศษ ไร่ที่มีอายุเกิน 25 ปี มีการซ่อมแซมพื ้นที่เพาะปลูกและปลูกใหม่ ไม่ต่ากว่า 5% ด้ วยกาแฟที่มี ความหลากหลายเพื่อพัฒ นา คุณภาพของกาแฟ 10.3 คะแนนพิเศษ ไร่ที่มีการพัฒนาหรื อทางานร่วมกับสถาบันวิจยั เพื่อติดตา ต่อกิ่ง ต้ นกล้ าเพื่ อลดการติดเชือ้ ไส้ เ ดือ นฝอยและดินที่มีเชือ้ รา และ การลดการใช้ ยาฆ่าแมลง 11. สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง 11.1 คะแนนพิเศษ มี ก ารเก็ บ บัน ทึ ก เรื่ อ งความเสี่ ย งอัน เกิ ด จากสภาพอากาศ เปลี่ ย นแปลงและผลกระทบต่ อ การผลิ ต กาแฟ (เช่ น การ บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

X

X

X

X

X

X

X

291


ใช้ กบั หลักฐาน/การพิจารณา เกษตรกร เกษตรกร ข น า ด รายย่อย ใหญ่และ กลาง

ตัวชี ้วัด

เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ฝน) 11.2 คะแนนพิเศษ X มี ก ารพั ฒ นาและใช้ แผนเพื่ อ ลดผลกระทบสภาพอากาศ เปลี่ยนแปลงต่อการผลิตกาแฟ 11.3 คะแนนพิเศษ X เข้ าร่วมโครงการที่คานวณและลดการปล่อยก๊ าซเรื อนกระจก ที ่มา: Starbucks Coffee Company C.A.F.E. Practices Version 3.1 Self-Evaluation

for

Medium/Large Farms และ Starbucks Coffee Company C.A.F.E. Practices Version 3.1 SelfEvaluation for Smallholders จาก http://www.scsglobalservices.com/starbucks-cafe-practices เข้าถึงเมื ่อ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2556 หมายเหตุ: ตามมาตรฐาน C.A.F.E. ของ Starbucks การกาหนดขนาดเกษตรกรขึ ้นอยู่กบั พื ้นที่เพาะปลูก โดยสามารถเปรี ยบเทียบกับพื ้นที่ในหน่วยที่ใช้ ในประเทศไทยดังนี ้ 1 เฮคเตอร์ = 6 ไร่ 1 งาน เกษตรกร ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง รายย่อย

พื ้นที่เพาะปลูก (เฮคเตอร์ ) ≥50 เฮคเตอร์ 12-49.9 เฮคเตอร์ ≤12 เฮคเตอร์

พื ้นที่เพาะปลูก (ไร่) ≥312.5 ไร่ 75-311.87 ไร่ขึ ้นไป ≤75 ไร่

ในการประเมินเกษตรกรรายย่อย (เกษตรกรที่มีพื ้นที่เพาะปลูกน้ อยกว่า 12 เฮคเตอร์ ) มีเกณฑ์บาง ข้ อที่ถกู ตัดออก บางข้ อเพิ่มเข้ ามาเพื่อให้ เหมาะสมกับบริ บทและข้ อจากัดของเกษตรกรรายย่อย เช่น มี เพิ่ ม เกณฑ์ จ านวน 10

ข้ อ ในหัว ข้ อ “องค์ ก รที่ ส นับ สนุน เกษตรกรรายย่อ ย” (producer

support

organization – PSO) ซึ่งอาจเป็ นคู่ค้าของ Starbucks โรงแปรรู ป สหกรณ์ เป็ นต้ น การรวมเกณฑ์ด้าน บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

292


PSO เข้ ามาก็เพื่อให้ เกษตรกรรายย่อยเข้ ารับการช่วยเหลือจากองค์กรเหล่านี ้เพื่อเตรี ยมความพร้ อมเข้ า โครงการ C.A.F.E L. หลักเกณฑ์ และตัวชีว้ ัดบางตัวของ “การผลิตนา้ มันปาล์ มอย่ างยั่งยืน” ตามกรอบ RSPO หลักการ “การผลิตน ้ามันปาล์มอย่างยัง่ ยืนตามกรอบ RSPO” สาหรับเกษตรกรรายย่อยในประเทศ ไทย16 ครอบคลุมเกณฑ์กาหนดและตัวชี ้วัดสาคัญที่เกี่ยวข้ องกับสิ่งแวดล้ อมและสุขภาพดังต่อไปนี ้ หลักการข้ อที่ 2: การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบ เกณฑ์กาหนด 2.1 : การปฏิบตั ิตามกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ทังในระดั ้ บท้ องถิ่นระดับประเทศและ กฎหมายและกฎระเบียบระหว่างประเทศที่ได้ มีการให้ สตั ยาบันแล้ ว ตัวชี ้วัดหลัก 2.1.1 หลักฐานการปฏิบตั ติ ามกฎหมายที่มีนยั สาคัญและเกี่ยวข้ องกับปาล์มน ้ามัน เกณฑ์กาหนด 2.2 มีหลักฐานแสดงสิทธิการใช้ ที่ดินและไม่ถกู คัดค้ านสิทธิโดยชุมชนท้ องถิ่นที่แสดงสิทธิใน การใช้ ที่ดนิ นัน้ ตัวชีว้ ัดหลัก 2.2.1 เอกสารหรื อหลักฐานที่แสดงสิทธิ ความเป็ นเจ้ าของสิทธิ การใช้ ที่ดินสัญญาเช่าที่ดิน ประวัติการครอบครองหรื อการใช้ ที่ดิน สิทธิตามจารี ตประเพณี หรื อมีการรับรองสิทธิ การใช้ ที่ดิน โดยไม่มี การคัดค้ านจากชุมชน หลักการข้ อที่ 4: การใช้ วิธีปฏิบตั ิที่ดีที่สดุ ของผู้ปลูกปาล์มน ้ามันและผู้ประกอบการโรงงานสกัดน ้า มันปาล์ม เกณฑ์กาหนด 4.1 มีการจัดทาขันตอนการด ้ าเนินงานในรูปแบบที่เหมาะสม มีการนาไปปฏิบตั ิและติดตาม ผลการดาเนินงานอย่างสม่าเสมอ ตัวชี ้วัดหลัก 4.1.1 มีเอกสารการปฏิบตั งิ านของกิจกรรมหลักสาหรับการทาสวนปาล์มน ้ามัน

16

RSPO, “การผลิตน ้ามันปาล์มอย่างยัง่ ยืนตามกรอบ RSPO : หลักการและเกณฑ์กาหนดของประเทศไทย (TH-NI) สาหรับ เกษตรกรรายย่อย,” http://www.rspo.org/file/Final%20Document%20TH%20NI%20smallholders_RSPO%20PC%20%20approved%209%20Oct%202012%20(Thai%20Version).pdf บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

293


ตัวชี ้วัดรอง 4.1.2 หลักฐานการดาเนินงานให้ สอดคล้ องกับเอกสารการปฏิบตั งิ านข้ างต้ น เกณฑ์ กาหนด 4.2 มี การปฏิ บัติเพื่ อรั กษาความอุดมสมบูรณ์ ของดิน หรื อถ้ าเป็ นไปได้ ฟื้นฟู ความอุดม สมบูรณ์ให้ อยูใ่ นระดับที่สามารถเก็บผลผลิตอย่างเหมาะสมและยัง่ ยืน ตัวชี ้วัดรอง 4.2.1 บันทึกข้ อมูลการใช้ ป๋ ยหรื ุ อหลักฐานการรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน , 4.2.2 บันทึก ข้ อมูลการให้ ผลผลิตจากการเก็บเกี่ยวประจาปี เกณฑ์กาหนด 4.3 มีการปฏิบตั ิที่ลดและควบคุมการชะล้ างพังทลายของดินและการเสื่อมโทรมของดินให้ น้ อยที่สดุ ตัวชี ้วัดหลัก 4.3.1 หลักฐานการบริ หารจัดการสวนปาล์มน ้ามันเพื่อลดและป้องกันการชะล้ างพังทลายและ การเสื่อมโทรมของดิน (โดยพิจารณาสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เป็ นลักษณะเฉพาะเจาะจง) ตัวชี ้วัดรอง 4.3.2 การจัดทาแนวระดับลดหลัน่ (terracing) หรื อวิธีการอื่นๆ สาหรับการปลูกปาล์มน ้ามันใน พื ้นที่ลาดชันสูงในระหว่างหรื อก่อนการปลูกทดแทน เกณฑ์กาหนด 4.4 มีการปฏิบตั ใิ นการรักษาระดับและคุณภาพน ้าผิวดินและน ้าใต้ ดนิ ตัวชี ้วัดหลัก 4.4.1 หลักฐานในการลดการไหลบ่าของสารเคมีปนเปื ้อนลงสู่แหล่งน ้าธรรมชาติ รวมทังการ ้ รักษาเส้ นทางน ้าธรรมชาติ เกณฑ์กาหนด 4.5 การใช้ เทคนิคการจัดการศัตรู พืชแบบผสมผสาน (Integrated Pest Management IPM) ที่ เ หมาะสม ในการบริ หารจัดการศัตรู พื ชโรคพื ช วัช พื ช และสิ่ง มี ชี วิตต่างถิ่ นที่ นาเข้ ามาอย่างมี ประสิทธิภาพ ตัวชี ้วัดรอง 4.5.1 เอกสารหรื อแผนการบริ หารจัดการศัตรู พืชแบบผสมผสานสาหรับปาล์มน ้ามัน และการ นาไปปฏิบตั ิ เกณฑ์กาหนด 4.6 การใช้ สารเคมีทางการเกษตรต้ องไม่ทาให้ เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้ อม รวมถึงไม่ให้ มีการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรู พืชในลักษณะของการป้องกัน ยกเว้ นในกรณี ที่ได้ ระบุไว้ ในแนว ปฏิบตั ิที่ดีที่สุดของประเทศ หากมีการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรู พืชประเภท 1A หรื อ 1B ตามรายการของ

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

294


องค์การอนามัยโลก หรื อตามรายการของอนุสญ ั ญาสต็อคโฮล์ม หรื ออนุสญ ั ญารอตเตอร์ ดมั ผู้ปลูกปาล์ม น ้ามันจะต้ องพยายามหาทางเลือกอื่นแทนการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพืชเหล่านี ้ รวมทังมี ้ การบันทึกไว้ ตัวชี ้วัดหลัก 4.6.1 การใช้ สารเคมีกาจัดศัตรู พืชที่มีการขึ ้นทะเบียนภายใต้ พระราชบัญญัติวตั ถุอันตราย พ.ศ.2535 และฉบับแก้ ไขเพิ่มเติม ตัวชี ้วัดรอง 4.6.2 บันทึกการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพืช 4.6.3 การจัดเก็บสารเคมีกาจัดศัตรู พืชอย่างเหมาะสม และปลอดภัย หลักการข้ อที่ 5: ความรับผิดชอบด้ านสิ่งแวดล้ อมและการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและความ หลากหลายทางชีวภาพ เกณฑ์กาหนด 5.1 มีการระบุผลกระทบด้ านสิ่งแวดล้ อมที่อาจเกิดขึ ้นจากการบริ หารจัดการสวนปาล์มน ้า มันและโรงงานสกัดน ้ามันปาล์มรวมถึงการปลูกทดแทนและมีแผนการลดผลกระทบเชิงลบและแผนส่งเสริ ม ที่เอือ้ ประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้ อมอีกทัง้ มีการดาเนินงานและตรวจติดตามเพื่อแสดงว่ามีการปรับปรุ งอย่าง ต่อเนื่อง ตัวชี ้วัดหลัก 5.1.1 เอกสารการประเมินผลกระทบด้ านสิ่งแวดล้ อมที่เหมาะสม เกณฑ์กาหนด 5.2 ต้ องมีการระบุสถานภาพของพันธุ์พืชหรื อพันธุ์สัตว์หายากหรื ออยู่ในภาวะถูกคุกคาม หรื อใกล้ สญ ู พันธุ์และถิ่นอาศัยที่มีคณ ุ ค่าสูงต่อการอนุรักษ์ (High Conservation Value - HCV) และมีการ อนุรักษ์ ซึ่งนามาพิจารณาไว้ ในแผนบริ หารจัดการและการดาเนินงาน หากมีอยู่ในพื ้นที่สวนปาล์มน ้ามัน หรื ออาจได้ รับผลกระทบจากการบริหารจัดการสวนปาล์มน ้ามันหรื อโรงงานสกัดน ้ามันปาล์ม ตัวชี ้วัดหลัก 5.2.1 รายการพันธุ์พืชหรื อพันธุ์สตั ว์หายากหรื ออยู่ในภาวะถูกคุกคามหรื อใกล้ สญ ู พันธุ์ (Rare, Threatened and Endangered Species - RTEs)และถิ่นอาศัยที่มีคุณค่าสูงต่อการอนุรั กษ์ (High Conservation Value - HCV)ที่มีอยูใ่ นพื ้นที่สวนปาล์มน ้ามันและพื ้นที่โดยรอบ เกณฑ์กาหนด 5.3 มีการลดของเสีย (reduced) การหมุนเวียนของเสียกลับมาใช้ ใหม่ (recycled) การนา ของเสียกลับมาใช้ ซ ้า (re-used) และการกาจัดของเสียที่มีลกั ษณะแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้ อม และสังคม บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

295


ตัวชี ้วัดหลัก 5.3.1 การจัดการภาชนะบรรจุสารกาจัดศัตรูพืชที่ปลอดภัยและเหมาะสม และสารเคมีทางการ เกษตรที่เป็ นอันตรายอื่นๆ เกณฑ์กาหนด 5.5 หลีกเลี่ยงการใช้ ไฟในการเผากาจัดขยะและเพื่อการเตรี ยมพืน้ ที่ปลูกทดแทน เว้ นแต่ สถานการณ์จาเพาะที่ระบุไว้ ในแนวทางของภูมิภาคอาเซียน (ASEAN guidelines) หรื อแนวทางการปฏิบตั ิ ที่ดีที่สดุ ของภูมิภาคอื่น ตัวชี ้วัดหลัก 5.5.1 ในกรณีที่มีการใช้ ไฟเผาเพื่อเตรี ยมที่ดินสาหรับการปลูกทดแทน ต้ องมีการประเมินผลที่ เป็ นเอกสาร หลักการข้ อที่ 7: การพัฒนาการปลูกปาล์มน ้ามันในพื ้นที่ใหม่อย่างมีความรับผิดชอบ เงื่อนไขการขยายพื ้นที่ปลูกใหม่ของเกษตรกรรายย่อย - เกษตรกรรายย่อยแต่ละรายไม่มีสิทธิเข้ าขอรับการรับรองกลุ่ม ถ้ าหากพื ้นที่ปลูกใหม่มีการปลูกนับตังแต่ ้ วันที่ได้ รับการรับรองกรอบ RSPO สาหรับเกษตรกรรายย่อยเพื่อการรับรองแบบกลุ่มของประเทศไทย ปรากฏอยู่ภายในพื ้นที่ป่าปฐมภูมิหรื อพื ้นที่ใดๆ ที่พบว่ามีพื ้นที่ที่เป็ นถิ่นอาศัยที่มีคณ ุ ค่าสูงต่อการอนุรักษ์ (High Conservation Value) หนึง่ จุดหรื อมากกว่า - กลุม่ เกษตรกรรายย่อยซึง่ สมาชิกมีแผนขยายพื ้นที่ปลูกใหม่น้อยกว่า 6,250 ไร่ (1,000 เฮกเตอร์ ) ในปี ใดๆ ต้ องพัฒนาการประเมินผลกระทบด้ านสังคมและสิ่งแวดล้ อม รายละเอียดของแผนการขยายพื ้นที่ควรมี รายละเอียดไว้ ในแผนธุรกิจของกลุม่ - กลุม่ เกษตรกรรายย่อยซึง่ สมาชิกมีแผนขยายพื ้นที่ปลูกใหม่มากกว่า 6,250 ไร่ (1,000 เฮกเตอร์ ) ในปี ใดๆ ต้ องเป็ นไปตามเกณฑ์ทกุ ข้ อในหลักการข้ อ 7

บริ ษัท ป่ าสาละ จากัด เลขที่ 2 สุขมุ วิท 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110

296


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.