หนังสือแนะนำ�แหล่งท่องเที่ยวและของดี จังหวัดสมุทรปราการ
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๓ ประจำ�เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๖๑ VOL. 5 / NO. 13 / NOVEMBER - DECEMBER 2018
Living THE ARTISTIC LIFE อยู่อย่างมีศิลป์
Free Copy
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 03
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 05
สารจาก...
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ สิง่ หนึง่ ทีอ่ ยูค่ กู่ บั สมุทรปราการมาช้านาน นอกจากวัฒนธรรมประเพณี ดั้งเดิมและเก่าแก่ อันมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่หาไม่มีที่ใดเหมือนแล้ว คื อ ความงดงามของศิ ล ปะที่ แ ฝงตั ว อยู ่ ทั่ ว ทุ ก แห่ ง หนและแทรกตั ว อยู่ในชุมชนต่างๆ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของสถาปัตยกรรมอันงดงาม หรือภาพจิตรกรรมอันวิจติ รบรรจง ทีป่ รากฏอยูต่ ามวัดวาอาราม หัตถกรรม งานฝี มื อ ที่ ส ะท้ อ นถึ ง ภู มิ ป ั ญ ญาชาวบ้ า นซึ่ ง ได้ รั บ การสื บ ทอดโดย คนรุ่นหลัง และพร้อมจะได้รับการสืบสานต่อไปยังคนรุ่นถัดไป ตลอดไป จนถึงงานศิลปะร่วมสมัยที่สร้างสรรค์ขึ้นโดยกลุ่มคนรุ่นใหม่ ซึ่งล้วนได้ รับแรงบันดาลใจจากความเป็นเมืองอยู่สบายของสมุทรปราการหนุนอยู่ ข้างหลัง ผลงานของศิ ล ปิ น ผู ้ รั ง สรรค์ เ หล่ า นี้ ได้ แ ต่ ง แต้ ม และสร้ า งสี สั น ให้สมุทรปราการเต็มไปด้วยสุนทรียะ สร้างบรรยากาศอันเปี่ยมเสน่ห์ ให้กับสมุทรปราการเอาไว้ไม่น้อย และได้สร้างความประทับใจให้กับ ผู้มาเยือนอยู่นับครั้งไม่ถ้วน ศิลปินเป็นแรงขับเคลื่อนส�ำคัญทางศิลปะ และมีบทบาทต่อการสร้าง ความเข้มแข็งให้กับชุมชนและพัฒนาท้องถิ่น ขณะเดียวกันหากศิลปิน ได้รับการสนับสนุนมีพื้นที่ในการน�ำเสนอผลงานศิลปะอย่างกว้างขวาง ก็เป็นอีกหนึง่ หนทางทีจ่ ะช่วยพัฒนาคุณภาพของงานสร้างสรรค์ อันจะน�ำ มาสู่ประโยชน์ในการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ ไม่ว่าจะในรูปแบบของ การผลิตสินค้า หรืออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว พวกเรามีความภูมิใจและยินดีอย่างยิ่ง ที่ทุกท่านจะได้มีโอกาสชื่นชม ความงดงามทางศิลปะและภูมิปัญญาอันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของ ชาวสมุทรปราการ ไม่วา่ จะผ่านทางหนังสือทีอ่ ยูใ่ นมือฉบับนี้ หรือจากการ เข้ามาสัมผัสของจริงด้วยสายตาตัวเอง
Alongside exceptional traditional cultures and traditions, art has long been integrated into every inch of Samutprakan ranging from fascinating architecture, exquisite paintings in temples, handicrafts that mirror local wisdoms inherited through generations to ingenious contemporary artworks by the new generation inspired by the life comfort in Samutprakan. These magnificent works of artists enrich Samutprakan with lively aesthetics and magnetizing charms that leaves countless impressions on its visitors. Artists are a significant driving force of art and a healthier community and local development. Thus, if they are reinforced with a broader art exhibition space, not only will it help boost the quality of future creative works but also the overall economic values both in the form of goods production or travel industry. We are extremely pleased to present everyone with an opportunity to appreciate the aesthetic values of art and local wisdoms that are precious cultural heritages to the people of Samutprakan either via text written in this magazine or via both eyes on a personal visit.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๓ ประจำ�เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ๒๕๖๑ Vol. 5 / No. 13
November - December 2018
ที่ปรึกษา CONSULTANT นายพูลทวี ศิวะพิรุฬห์เทพ Mr. Poonthavee Sivaphiroonthep ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปฏิบัติหน้าที่ Chief Administrator of the PAO Acting as นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ Chief Executive of the Samutprakan PAO คณะท�ำงาน นายธนวัฒน์ กล�่ำพรหมราช รองปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ นางสาวทองดี กูลศิริ หัวหน้าส�ำนักปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด นางสุรีวัน สุขพัตร์ หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป นางสาววชิราภรณ์ บุญเสริฐ นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ นางสาวชนันรัตน์ สมณศักดิ์ นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ นางสาวบัณฑิตา ลายคราม นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ นางปวีณา สีค�ำ เจ้าพนักงานธุรการช�ำนาญงาน จัดพิมพ์โดย องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ถนนสุทธิภิรมย์ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๘๙ ๐๖๐๐ แฟกซ์ ๐ ๒๓๙๕ ๔๕๖๐ ต่อ ๒๐๙
WORKING GROUP
Mr. Tanawat Klamprommarach Deputy Chief Administrator of the Samutprakan PAO Miss Tongdee Kulsiri Head of the office of the PAO Mrs. Sureewan Sugapat Chief of General Administration Subdivision Miss Wachiraporn Boonsert Public Relations Officer, Professional Level Miss Chananrat Sommanasak Public Relations Officer, Professional Level Miss Banthita Laikram Public Relations Officer, Professional Level Mrs. Paweena Sikham General Service Officer, Experienced Level PUBLISHED BY
Samutprakan Provincial Administrative Organization Suthipirom Road, Paknam Subdistrict, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Province 10270 Tel. 0 2389 0600 Fax 0 2395 4560 ext. 209
ผลิตโดย CREATED BY บริษัท แจสมิน มีเดีย จำ�กัด Jazzmin Media Co., Ltd. โทรศัพท์ ๐๘ ๖๓๓๙ ๑๑๘๑, ๐๘ ๕๙๐๖ ๔๗๘๑ Tel. 08 6339 1181, 08 5906 4781 อีเมล jazzmin-media01@hotmail.com e-Mail jazzmin-media01@hotmail.com พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 07
EDITOR'S TALK ความหมายของค�ำว่า “ศิลปะ” ไม่ใช่ เพียงผลงานของการสร้างสรรค์ ที่แสดงออก ถึ ง ความรู ้ สึ ก อารมณ์ ความคิ ด เพื่ อ สื่ อ เจตนารมณ์หรือแสดงตัวตนของศิลปิน โดยมี ความงามเป็นทีต่ งั้ หากศิลปะยังเป็นส่วนหนึง่ ของวั ฒ นธรรมที่ ผู ้ ค นในสั ง คมได้ ร ่ ว มกั น สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อความสุนทรีย์ คงความเป็น มรดกทางวัฒนธรรม บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ใน แต่ละท้องถิ่น และเป็นบันทึกการเปลี่ยนผ่าน ของยุคสมัย โดยมีศิลปะเป็นสื่อ และศิลปิน เป็นผู้ส่งสาร ความหลากหลายทางวั ฒ นธรรมของ จังหวัดสมุทรปราการ และการกระจายตัว ของชุมชนที่ต่างมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ไม่ว่า จะเป็นชุมชนดั้งเดิมที่สืบสานเรื่องภูมิปัญญา และถ่ายทอดกันมาจากรุน่ สูร่ นุ่ หรือชุมชนใหม่ ที่เกิดขึ้นตามการปรับเปลี่ยนทางบริบทของ สังคม ยังมีสิ่งหนึ่งซึ่งไม่อาจแยกขาดไปจาก วิ ถี ก ารด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของคนสมุ ท รปราการ คือการน�ำศิลปะเข้ามาเชื่อมโยงผสมผสาน และสร้างสรรค์ผลงานอันโดดเด่น ซึ่งสะท้อน ผ่านงานฝีมือของศิลปินหลากหลายสาขา @สมุ ท รปราการฉบั บ นี้ พาคุ ณ ไปท�ำ ความรู้จักกับเหล่าศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะ ผ่านบทสนทนาที่เผยตัวตนซึ่งผูกพัน กับสมุทรปราการ และดึงเอาความงดงาม ของชุมชนที่อาศัยอยู่ มาผสานเข้ากับทักษะ และฝีมือทางช่างเฉพาะตัวจนน�ำมาสู่ผลงาน อันทรงคุณค่า บางชิ้นงานได้สร้างจุดหมาย ปลายทางชวนตืน่ ตา ให้ผมู้ าเยือนสมุทรปราการ ได้เข้าไปเยี่ยมชม และบางชิ้นก็ได้น�ำมาสู่การ พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนได้อย่างเข้มแข็ง นอกจากนี้ ยั ง มี เ รื่ อ งราวของการกิ น การอยูอ่ นั น่ารืน่ รมย์ ทีบ่ อกย�ำ้ กับเราอีกครัง้ ว่า แท้ที่จริงแล้วเรื่องราวของศิลปะนั้นแทรกซึม และด�ำเนินอยู่ในทุกอณูของการใช้ชีวิต
The meaning of "Art" is not limited to the creation that expresses feelings, emotions and thoughts to convey the artist's intention or identity evolving around goodness but also a part of the culture that people within the society collectively create to embrace aesthetics, to preserve the cultural heritage, to signify each local identity and to mark the transition era with art as a medium and the artist as the messenger. Despite the cultural diversity of Samutprakan and the diffusion of communities with unique identities including traditional communities that inherit local knowledge and wisdom through generations and newly emerged communities from the adaptation to the changing social context, art remains inseparable from Samutprakan's way of life. It connects, integrates and constitutes countless masterpieces reflected by distinguished artists from various fields. In this issue, @Samutprakan lets you get more familiar with a series of artists whose identities are closely bonded with Samutprakan. The interview also reveals how they extract and incorporate the beauty of their home community with their artistic skills and expertise resulting in valuable masterpieces. Some have become exciting tourist destination landmarks of Samutprakan and some have brought about a healthier community economic development. Moreover, there are stories of a pleasant way of living that keep reminding us that art has indeed penetrated and continues to flow in every aspect of our lives.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
CONTENTS
ISSUE 13
NOVEMBER - DECEMBER 2018
UPDATE
FEATURE
12 : KNOW IT FIRST
28 : COVER JOURNEY
THE “BEST” OF SAMUTPRAKAN
THE ARTISANS OF PAKNAM CITY
รู้จักสิ่งที่เป็น “ที่สุด” ของสมุทรปราการ 14 : HOT IN TOWN
Hiddenwoods
พื้นที่กิจกรรมที่ซ่อนตัวอยู่กลางสวนลับ 16 : DID YOU KNOW ?
ศิลปะทรงคุณค่าบนสะพานภูมิพล
ศิลปินผู้สร้างศิลป์แห่งเมืองปากน�้ำ 76 : ART ALONG THE WAY
ศิลป์ในเส้นทาง
78 : AROUND TOWN
สถานแห่งการพ�ำนักกาย-ใจ
THE SANCTUARIES FOR BODY AND MIND
INESTIMABLE ARTS ON BHUMIBOL BRIDGE
18 : SMPK HISTORY
GREEN TRIP
PAK NAM...FLASHBACK
90 : GREEN SPACE
20 : HAPPENING
HOMECOMING
ปากน�้ำ…เมื่อวันวาน
หอการค้า ชวนปั่นเพื่อน้อง ท่องเมืองสมุทรปราการ @บางกะเจ้า
SAMUTPRAKAN CHAMBER OF COMMERCE’S INVITATION TO BIKE FOR YOUNG STUDENTS AND SAMUTPRAKAN TOURISM
กลับบ้าน
98 : NATURE JOURNEY
โครงการล�ำพูบางกระสอบ
แสงพราวที่กะพริบจากความฝันของ สุกิจ พลับจ่าง LAM PHOO BANG KRASORP PROJECT
@ BANG KACHAO
The Glittering Light from The Dream Of Sukij Plubjang
22 : READY TO GO
LIFESTYLE
ART IS ALL AROUND
104 : THE RECIPE
24 : MAP
MALAY APPLE POLLEN SPICY SALAD
งานศิลปะอยู่รอบตัวเรา แผนที่นักเดินทาง TRAVEL MAP
ย�ำเกสรดอกชมพู่ม่าเหมี่ยว
108 : CRAFTSMANSHIP
ถักไหมพรมด้วยสัญชาตญาณ KNITTING BY INSTINCT
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN
110 : OTOP SHOPPING
มัดย้อมปลอดสารเคมี เมื่อศิลปะมาผสมกับแฟชั่น
CHEMICAL-FREE TIE-DYEING Where Art Meets Fashion
114 : EAT & DRINK
มื้อพิเศษที่ห้องกลางน�้ำของอะกาลิน กับเพลงแจ๊สในสวนป่า AGALIN'S DINING ROOM
A Memorable meal at Agalin's Dining Room Amidst The Water And Jazz Music In The Forest Garden OZ COFFEE
ร้านกาแฟที่เป็นจุดนัดพบของมิตรภาพ The Loveable Friendship Gathering Spot THE ART OF FOOD
รื่นรมย์กับรสชาติและศิลปะบนจานอาหาร Captivating flavor and art on a dish
122 : MAKE A RESERVATION
พบรัก ณ บางน�้ำผึ้ง
แด่ความทรงจ�ำในบ้านสวนโอเอซิสของคุณตา PHOP RAK NA BANG NAMPHUENG
Dear memories in grandpa’s oasis garden
128 : SAMUTPRAKAN HOT SHOT
ภาพสวยสมุทรปราการ ปากน�้ำเจ้าพระยา
THE ESTUARY OF CHAO PHRAYA RIVER
130 : CALENDAR
ปฏิทินกิจกรรม
EVENT CALENDAR OF SAMUTPRAKAN
U P D AT E
get to know
KNOW IT FIRST | HOT IN TOWN DID YOU KNOW ? | SMPK HISTORY HAPPENING | READY TO GO | MAP
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 11
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
K N OW I T F I R ST
THE "BEST"
OF SAMUTPRAKAN
รู้จักสิ่งที่เป็น “ที่สุด” ของสมุทรปราการ องค์พระพิฆเนศวร
ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย ประดิษฐานอยู่บนยอดเสาหลักเมือง ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสมุทรปราการ ทรงประทับนั่งบนฐานบัวหงาย และมีความงดงามแบบเรียบง่าย เนื่องจากที่องค์เทวรูปแทบจะไม่มีลวดลายเครื่องประดับใดๆ เลย THAILAND'S OLDEST GANESHA IMAGE is enshrined on the top of the city pillar inside Samutprakan City Pillar Shrine. With simplified beauty, the image seated on an upturn lotus is hardly ordained with any ornaments.
เรือหลวงแม่กลอง
เป็นเรือรบประเภทเรือสลุบ ปลดระวางประจ�ำการเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๙ นับว่าเป็นเรือรบที่ประจ�ำการยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย และเป็นเรือรบที่มีความเก่าแก่เป็นอันดับ ๒ ของโลก HTMS MAE KLONG was a Royal Thai Navy sloop decommissioned in 1996 after the longest service in Thai history. She is also regarded as the world's second oldest war vessel.
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
จากการส�ำรวจ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๖๐ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ คืออ�ำเภอที่มีจ�ำนวนประชากร มากที่สุดในประเทศไทย คือ
๕๓๗,๓๒๐ คน
According to the 2017 survey, Mueang District of Samutprakan has the largest population in Thailand or a total of
537,320 PEOPLE
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 13
บางกะเจ้า
ได้รับการยกย่องจากนิตยสารไทม์ เอเชีย ฉบับ Best of Asia เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ว่าเป็นปอดกลางเมืองที่ดีที่สุดในเอเชีย และจาก ข้อมูลปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ระบุว่า บางกะเจ้าช่วยดูดซับ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้เฉลี่ยปีละ ๖,๐๐๐ ตัน และผลิตออกซิเจนได้ ๖,๐๐๐,๐๐๐ ตันต่อวัน BANG KACHAO was praised by Times Asia Magazine in the Best of Asia issue in 2006 as Asia's best urban oasis. According to the data in 2011, Bang Kachao was reported to help absorb approximately 6,000 tons of carbon dioxide per year and produced 6,000,000 tons of oxygen every day.
สะพานภูมิพล ๑ และสะพานภูมิพล ๒
เป็นสะพานขึงเคเบิลคู่ที่สร้างเร็วที่สุดในโลก ด้วยใช้เวลาสร้างเพียง ๔ เดือน และมีขนาดใหญ่ที่สุด ในเอเชีย ด้วยความยาว ๗๐๒ เมตร และ ๕๘๒ เมตร ตามล�ำดับ ความกว้าง ๗ ช่องจราจร และสูงจาก ระดับน�้ำประมาณ ๕๔ เมตร
รถไฟฟ้าสายสีเขียว
ส่วนต่อขยายช่วงแบริ่ง-สมุทรปราการ
ซึ่งเริ่มเปิดให้บริการวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ มีระยะทาง ๑๓ กิโลเมตร มีสถานีจ�ำนวน ๙ สถานี และเป็นรถไฟฟ้าสายที่มีความสูงที่สุดในประเทศไทย โดยในช่วงบริเวณข้ามวงแหวนรอบนอกใต้ มีความสูง ๒๘ เมตร หรือเทียบเท่ากับตึก ๙ ชั้น MONORAIL'S EXTENDED GREEN LINE from Bearing to Samutprakan, scheduled to open for service on December 9, 2018, is a 13 kilometer-long route with nine stations and is the tallest Monorail Line in Thailand with upto 28 meters in height, equivalent to a nine-story building, high above water level.
BHUMIBOL BRIDGE I AND BHUMIBOL BRIDGE II are cable-stayed double bridges with the fastest construction record in the world taking only 4 months to complete. They are considered the largest in Asia with 702 meters and 582 meters in length respectively, seven traffic lanes and 54 meters high above water level.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
H OT I N TOW N
HIDDENWOODS
พื้นที่กิจกรรมที่ซ่อนตัวอยู่กลางสวนลับ ecretly concealed in Bang S Kachao, Hiddenwoods was initially planned to gradually uncover itself to those who are truly interested in the local ways of life and the considerate and harmonious cohabitation with nature.
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
อี ก หนึ่ ง ความลั บ ที่ ซ ่ อ นอยู ่ ใ นบางกะเจ้ า ที่ เราได้ ค ้ น พบและ เพิ่งเปิดตัวไปได้ไม่นาน กับพื้นที่ของการผ่อนคลายซึ่งอยู่ร่วมกัน กั บ ธรรมชาติ อ ย่ า งกลมกลื น ในชื่ อ Hiddenwoods พื้ น ที่ อเนกประสงค์ที่เกิดขึ้นจากแนวคิดและการออกแบบของ คุณแมน ปัญญา เต็มค�ำขวัญ ที่เฝ้ารอต้นไม้ที่เขาลงมือปลูกเพิ่มร่วมกับ ต้นไม้เดิมจนเติบใหญ่และครึ้มไปทั่วบริเวณ แล้วจึงสร้างอาคาร แฝงอยู่ภายใต้ต้นไม้เหล่านั้น SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 15
HIDDENWOODS เลขที่ ๗๗๗ หมู่ ๔ ซอยเพชรหึงษ์ ๒๖ ต�ำบลบางน�้ำผึ้ง อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๙ ๐๙๗๔ ๘๒๓๔ เปิดเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา ๑๑.๐๐-๑๗.๓๐ นาฬิกา Hiddenwoods
777 Moo 4, Soi Phetchahueng 26, Bang Namphueng Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan
การเดินทาง : ในวันหยุดที่การจราจรใน บางกะเจ้าค่อนข้างติดขัด แนะน�ำทางเรือจะสะดวกกว่า ด้วยการนัง่ เรือจากท่าเรือสรรพาวุธ วัดบางนานอก แล้วขึน้ ฝัง่ ที่ ท่าตาเลื่อน จากนัน้ เดินเท้าอีก ๒๓๐ เมตร หรือหากต้องใช้ทางรถ ใช้เส้นทางเพชรหึงษ์ ๒๖ จากนั้น เลี้ยวเข้าซอยบัวผึ้งพัฒนา ๔ จะมีที่จอดรถเล็กๆ แล้วเดินต่ออีก ๕๒๓ เมตร
ด้ ว ยแนวคิ ด ในการออกแบบที่ ยึ ด เอา ธรรมชาติเป็นแก่นหลัก เขาจึงออกแบบงาน สถาปัตยกรรมให้กลมกลืนกับสถานที่และ ให้เกียรติธรรมชาติ อย่าง จามจุรีรูฟท็อป หรือดาดฟ้าใต้ต้นจามจุรี ก็ออกแบบโดยวัด ระยะความสูงของต้นไม้ เพื่อให้พื้นที่ใช้สอย บริเวณนี้มีความพอเหมาะพอดีในการใช้งาน และให้ความสวยงามร่มรื่นไปด้วยพร้อมกัน ส่ ว นทางเดิ น ที่ ค ดเคี้ ย วนั้ น ออกแบบให้ มี ความสูง-ต�ำ่ เพือ่ หลบหลีกต้นไม้ บางช่วงท�ำเป็น ทางลาดลอดใต้กงิ่ ไม้เพราะต้องการเก็บรักษา ต้นไม้เอาไว้โดยไม่ตอ้ งตัดหรือทอนกิง่ ออก Hiddenwoods เปิ ด ให้ บ ริ ก ารแล้ ว
ในส่วนพืน้ ทีก่ จิ กรรมและร้านกาแฟ ในอนาคต จะมีโฮมสเตย์ไว้ต้อนรับผู้มาเยือนบางกะเจ้า ที่อยากจะหลบลี้หนีความวุ่นวายจากในเมือง ไปซ่ อ นตั ว อยู ่ ใ นบ้ า นกลางป่ า หลั ง นี้ บ ้ า ง และยังพร้อมเชิญให้คนที่ต้องการพื้นที่ใหม่ๆ ในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เช่น งานเสวนา เวิร์กช็อป จัดมื้อพิเศษในรูปแบบ Chef’s Table ฯลฯ หรื อ แม้ ก ระทั่ ง งานแต่ ง งาน โดยมีรปู แบบกิจกรรมทีเ่ หมาะสมกับบริบทของ สถานทีแ่ ละสภาพแวดล้อม จึงเป็นอีกสถานที่ที่ควรปักหมุดไว้ในใจ ยามทีอ่ ยากจะหลีกหนีความวุน่ วายจากในเมือง ช่วงวันหยุด
Hiddenwoods offers homestay service, a coffee shop and a recreational space. As this article is being written, Hiddenwoods opens its door to welcome visitors only on weekends with rotating creative and relatable workshops that highlight the local wisdoms, the local wisdom philosophers as well as the local agricultural produces to communicate the distinctive values to people outside the community. Besides the fact that it is well-hidden among the forest, visitors may also have an opportunity to meet local wisdom philosophers with exceptional specialization in certain areas. Some might as well be considered the only one left on Bang Kachao Island or in Thailand. N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
D I D YO U K N O W ?
INESTIMABLE ARTS ON BHUMIBOL BRIDGE
ศิลปะทรงคุณค่าบนสะพานภูมิพล
รู้หรือไม่ว่า…
เป็ น สถาปั ต ยกรรมที่ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ ช่ ว ย แก้ปัญหา เดิมทีโครงการนี้จะท�ำเป็นอุโมงค์ทางลอด ใต้แม่น�้ำเจ้าพระยา แต่เมื่อติดปัญหาด้าน งบประมาณ คุณพอลเล กุสตาฟสันส์ วิศวกร ผู ้ อ อกแบบชาวสวี เ ดน จึ ง ปรั บ รู ป แบบ เป็ น การสร้ า งสะพานขึ ง เพื่ อ ข้ า มแม่ น�้ ำ แทน และด้วยข้อก�ำหนดที่ว่าตัวสะพาน ต้องสูงกว่าระดับน�้ำไม่น้อยกว่า ๕๐ เมตร โครงสร้างทางสถาปัตยกรรมจึงต้องมีรปู ร่าง เพรียว เพื่อให้สอดคล้องกับงบประมาณ ที่มีจ�ำกัด เป็นสะพานที่ช่วยแก้ไขปัญหา จราจรตามพระราชด� ำ ริ ใ นพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร DID YOU KNOW... Bhumibol Bridge was built to solve the traffic problems? Due to budget limitations, Paule Gustafsson, the Swedish design engineer, had to revise his original plan of constructing an underwater tunnel to a streamlined cable-stayed bridge over Chao Phraya River given that it must be 50 meters above water level. According to His Majesty the late King Bhumibol Adulyadej, the bridge was targeted to help solve the traffic problems.
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 17
DID YOU KNOW... it is considered Thai art in the reign of King Rama IX? The distinctive feature of Bhumibol Bridge is how the connecting pattern of Bhumibol Bridge I and II resembles a royal ring. In an honor to King Bhumibol, the golden yellow color was applied on the stay cables that form into a fan-like pattern or two palms pressed together from the top view whereas the tower tip was inspired by the highly treasured tip of a pagoda or the crown. DID YOU KNOW... The sculptures on the bridgeheads carry meaning? Decorated on both bridgeheads, sculptures in remembrance of His Majesty the late King Rama IX take the shape of a golden water drop with a sacred Unalom symbol on top, often regarded as a symbolic representation of the King, wrapping around an apex signifying the people's profound love and unparalleled respect for the king.
รู้หรือไม่ว่า…
รู้หรือไม่ว่า…
ศิลปะไทยในรัชกาลที่ ๙ จะเป็นศิลปะไทย แบบร่วมสมัย เอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่นของสะพาน ภูมิพล คือการเชื่อมต่อของสะพานภูมิพล ๑ และสะพานภูมิพล ๒ ออกแบบให้มีลักษณะ คล้ายพระธ�ำมรงค์ เพื่อถวายแด่พระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิตร ตัวสะพานขึงด้วยสายเคเบิล สีเหลืองทอง เปรียบประดุจพัดทีก่ ำ� ลังคลีอ่ อก เมื่ อ มองในมุ ม สู ง จะคล้ า ยกั บ การพนมมื อ ส่วนของยอดเสามีแนวคิดมาจากยอดเจดีย์ หรือยอดชฎาอันมีค่าสูงสุด
ที่ เชิ ง สะพานช่ ว งข้ า มแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาทั้ ง ๒ ด้าน มีการตกแต่งด้วยประติมากรรมที่ สะท้อนถึงความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของในหลวงรัชกาลที่ ๙ คือประติมากรรม รู ป ทรงหยดน�้ ำ สี ท องที่ ส ่ ว นบนมี อุ ณ าโลม อันเป็นสัญลักษณ์แทนองค์พระมหากษัตริย์ โอบล้อมด้วยยอดแหลมอันหมายถึงพสกนิกร ซึ่งเทิดทูนพระองค์ไว้เหนือเกล้า
เป็นหนึ่งในศิลปะไทยในรัชกาลที่ ๙
ประติมากรรรม เชิงสะพานสือ่ ความหมาย
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
S M P K H I S T O R Y / PA K N A M . . . F L A S H B A C K
PAKNAM... FLASHBACK
ปากน�้ำ… เมื่อวันวาน เรื่ อ งราวที่ บั น ทึ ก ผ่ า นภาพถ่ า ยครั้ ง อดี ต ของเมื อ งปากน�้ ำ ก่ อ นสภาพบ้ า นเมื อ ง จะเปลี่ ย นแปลงไปตามกาลแห่ ง ยุ ค สมั ย ที่นอกจากจะชวนให้ย้อนร�ำลึกถึงวันวาน แล้ ว ยั ง เป็ น ร่ อ งรอยทางประวั ติ ศ าสตร์ ให้คนต่างวัยได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ountless stories recorded in C historical photos of Pak nam give us a flashback to how the nation
once was and brilliantly traces past generations that we can acquire knowledge and learn from.
ขบวนแห่ผ้าทางน�้ำ ก่อนจะน�ำไปห่มองค์พระสมุทรเจดีย์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๙ The Red Robe was paraded down the river before being wrapped around Phra Samut Chedi in 1926.
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 19
ง ตอนที่ก�ำลังก่อสร้าง โร ำ � งส ลอ ค ม า ข้ าน พ สะ ์ on จนใกล้จะเสร็จสมบูรณ al when its constructi an C ng ro m Sa er ov The bridge completed. was nearly
รถไฟสายปากน�้ำ เมื่อ ค Paknam Railway when รั้งเคยเป็นรถไฟฟ้าสายแรกของเมืองไทย it became Thailand’s first railway.
ลวง พระประแดง สะพานข้ามคลองลัดKหhlong Lat Luang, Phra Pradaeng. The bridge over เทศบาลเมืองสมุทรป Thetsaban Mueang Saราmuการ จัดตั้งเมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. tprakan was established ๒ 1935. on December ๔11๗, ๘
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
HAPPENING
THE SAMUTPRAKAN CHAMBER OF COMMERCE HELD BIKE FOR YOUNG STUDENTS AND SAMUTPRAKAN TOURISM @ BANG KACHAO
หอการค้า ชวนปั่นเพื่อน้อง ท่องเมือง สมุทรปราการ @บางกะเจ้า พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
เป็นอีกวันที่บรรยากาศของบางกะเจ้าเป็นไป อย่ า งคึ ก คั ก ตั้ ง แต่ เช้ า ตรู ่ เมื่ อ หอการค้ า จังหวัดสมุทรปราการ จัดกิจกรรม “หอการค้า ชวนปั ่ น เพื่ อ น้ อ งท่ อ งเมื อ งสมุ ท รปราการ @บางกะเจ้า” ขึน้ ในเช้าวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ณ สวนสุขภาพลัดโพธิ์ อ�ำเภอพระประแดง จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ โดยมี คุ ณ ชาติ ช าย อุทัยพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ ให้เกียรติเข้าร่วมงาน และ คุณชนม์สวัสดิ์ อัศวเหม ประธานหอการค้าจังหวัดสมุทรปราการ กล่าวเปิดงาน
กิจกรรม “หอการค้า ชวนปั่นเพื่อน้อง ท่องเมืองสมุทรปราการ @บางกะเจ้า” เป็น กิ จ กรรมปั ่ น จั ก รยานการกุ ศ ลที่ จั ด ขึ้ น โดย ความร่วมมือของหลายหน่วยงานในจังหวัด สมุทรปราการ อาทิ หอการค้าจังหวัดสมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนจังหวัด ร่วมด้วย เนชัน่ ทีวี ซึ่ ง รายได้ ห ลั ง หั ก ค่ า ใช้ จ ่ า ยจะมอบเป็ น ทุ น การศึกษาส�ำหรับนักเรียนทีข่ าดแคลนทุนทรัพย์ ในจังหวัดสมุทรปราการ ๑๒ โรงเรียน จ�ำนวน๑๒ ทุน ทุนละ ๕๐,๐๐๐ บาท เพือ่ ให้เด็กๆ ได้รบั โอกาส ทางการศึ ก ษาที่ ดี ขึ้ น พร้ อ มกั น นี้ จ ะได้ ช ่ ว ย ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเที่ยว SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 21
ในจังหวัดสมุทรปราการให้เป็นทีร่ จู้ กั มากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะในพื้ น ที่ บ างกะเจ้ า ซึ่ ง ถื อ ได้ ว ่ า เป็นปอดของคนกรุงเทพฯ ซึ่งมีพื้นที่สีเขียว เส้นทางจักรยาน และเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ที่ร่มรื่นสวยงาม หลั ง สิ้ น สั ญ ญาณปล่ อ ยตั ว นั ก ปั ่ น กว่ า ๑,๒๐๐ คน ร่วมปั่นจักรยานไปด้วยกันเป็น ระยะทาง ๑๙.๕ กิโลเมตร โดยเริ่มต้นจาก สวนสุขภาพลัดโพธิ์ ไปตามถนนเพชรหึงษ์ และแวะพักตามจุดที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยว น่ าสนใจของบางกะเจ้า อาทิ หอชมเมือง สวนศรี น ครเขื่ อ นขั น ธ์ แวะอุ ด หนุ น สิ น ค้ า พื้นบ้าน ฯลฯ ก่อนจะปั่นกลับมายังจุดสิ้นสุด ที่สวนสุขภาพลัดโพธิ์ นอกจากนั้นยังมีการ แสดงหลายชุดจากกลุ่มต่างๆ เช่น การแสดง โปงลาง ลิเกฮูลู การเต้นบาสโลป การแสดง สมันแดนซ์ ซึง่ สร้างสีสนั และบรรยากาศให้กบั งานเป็นอย่างมาก นับเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่สร้างสรรค์ขึ้น เพือ่ ให้ชาวจังหวัดสมุทรปราการและผูท้ สี่ นใจ ได้ร่วมกันสร้างสังคมแห่งความสุขและความ เกื้อกูล ก่อนจะพบกันใหม่อีกครั้งในกิจกรรม ปั่นจักรยานที่จะเกิดขึ้นครั้งหน้า
A
fully energized morning in Bang Kachao filled the air as the Samutprakan Chamber of Commerce held "Bike for Young Students and Samutprakan Tourism @ Bang Kachao" on November 25 at Lat Pho Health Park, Phra Pradaeng District, Samutprakan. The event was honored by the presence of Chatchai Uthaibhan, Samutprakan Provincial Governor, and an opening speech by Chonsawat Asavahame, the president of the Samutprakan Chamber of Commerce. "Bike for Young Students and Samutprakan Tourism @ Bang Kachao" was organized under the cooperation of multiple agencies in Samutprakan such as the Samutprakan Chamber of Commerce, Samutprakan
Provincial Administrative Organization as well as Nation TV. Net earnings after deducting all expenses were divided into 12 educational scholarships and granted to young deprived students in 12 schools in Samutprakan. Each scholarship was worth 50,000 Baht. The event aimed not only to grant a better educational opportunity but also to promote tourist attractions in Samutprakan to a wider public particularly Bang Kachao, the green lung of Bangkok with its renown biking route among the verdant natural learning trail. Participated by 1,200 cyclists, the 19.5-kilometer ride started from Lat Pho Health Park, down Phetchahueng Road
and stopped at some Bang Kachao's interesting tourist attractions such as the City Observation Tower, Sri Nakhon Khuean Khan Park and local souvenir shops before biking all the way back to the finish point at Lat Pho Health Park. Ad d i t i o n a l l y, t h e re we re v i b ra nt entertaining performances, for instance, Pon glan g ( an Isar n Fol k M us i c a l Instrument Band), Likay Hulu (a Thai traditional dramatic performance), Paslop Dance and Saman Dance. It was indeed another creative activity that encouraged both the locals of Samutprakan and interested parties to co-create and inspire a happier and a more considerate society. 'Till the next Biking event.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
R E A DY T O G O
ART
IS ALL AROUND
งานศิลปะอยู่รอบตัวเรา ก่อนไปชมงานศิลปะ ก็ต้องท�ำความ เข้าใจกันสักนิดว่างานศิลปะมีกปี่ ระเภท เพื่อจะได้เสพศิลป์กันได้อย่างซาบซึ้ง เผื่อเวลาพบงานศิลปะรอบตัว จะได้ จ�ำแนกประเภทถูก เพิ่มอรรถรสในการ ใช้ชีวิตขึ้นอีกนิด งานศิลปะถูกแบ่งเป็น ๒ หมวดใหญ่ คือ “วิจิตรศิลป์” มุ่งเน้น สร้างสรรค์ความงามมากกว่าประโยชน์
or a more flavorful art appreciation, it Ffacts. is better to first understand some basic Art can be divided into two large categories: "Fine Art," which focuses solely on aesthetic appeals, and "Applied Art," which targets practical functionality. In this issue, we would like to briefly explain more on Fine Art consisting six subgroups as followed:
ใช้สอย กับ “ประยุกต์ศลิ ป์” ซึง่ เป็นงาน ทีม่ งุ่ ประโยชน์ใช้สอยมากกว่าความงาม ขอแนะน�ำให้รู้จักแค่ วิจิตรศิลป์ (ศิลปะ บริสุทธิ์) แบ่งย่อยได้อีก ๖ กลุ่ม คือ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม วรรณกรรม ดนตรีและนาฏศิลป์ และ ภาพพิมพ์
ประติมากรรม
เกิดจากการปั้น แกะสลัก หล่อ หรือ ขึ้นรูป หรือมีลักษณะนูนขึ้นจากฐาน เป็ น งาน ๓ มิ ติ ใช้ เรี ย กขานงานที่ ไม่เกี่ยวกับศาสนา ส่วนงานที่เกี่ยวกับ ศาสนา เช่น พระพุทธรูป เราใช้ค�ำว่า “ปฏิมากรรม” SCULPTURE
จิตรกรรม
เป็นงาน ๒ มิติ จากการวาด ระบายสี บนพื้นผิวแบน เช่น ผนังโบสถ์ และผ้าใบ พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
PAINTING
is a two dimensional art derived from drawing and painting colors on flat surfaces such as the walls inside the main chapel and canvases.
is the result of molding, carving, casting, modeling or having a feature that raises from the base. This term of three-dimensional art applies with non-religion related works while the term "Patimakam" with religion related works such as a Buddha image.
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 23
สถาปัตยกรรม
ดนตรีและนาฏศิลป์
เป็ น ศิ ล ปะที่ ส ะท้ อ นถึ ง ความเชื่ อ อุปนิสัย และคาแรกเตอร์ของท้องถิ่น ลองดู สี สั น และท� ำ นองที่ แ ตกต่ า งของ เพลงเรือ เพลงเร็กเก้ เพลงบลูส์ ลีลา การเล่าเรื่องในโขน มโนราห์ มอญร�ำ และเซิ้งบั้งไฟ
ศิลปะที่แสดงออกบนสิ่งก่อสร้างที่มา จากการออกแบบของมนุษย์ เพือ่ ประโยชน์ ใช้สอย ในที่นี้รวมถึงสิ่งแวดล้อมทั้ง ภายในและภายนอกของสิ่งปลูกสร้าง สถาปั ต ยกรรมยั ง สื่ อ ความคิ ด และ สัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคมใน แต่ละยุคด้วย
MUSIC AND DANCE
ARCHITECTURE
are arts that resonate the local beliefs, behaviors and characteristics through different uses of colors, rhythms and movements. For example, Pleng Ruea (folk songs performed in a boat at the end of rainy season), Reggae music, Blues music, Khon Dance, Manorah Dance, Mon Dance and Soeng Bang Fai (Bang Fai Rocket Dance)
is a form of art reflected on building structures as well as their interior and exterior environment designed for their usefulness. It also transmits thinkings and cultural symbols within the society in different eras.
ภาพพิมพ์
งานศิลปะทีถ่ กู สร้างขึน้ ด้วยวิธกี ารพิมพ์ โดยใช้แม่พมิ พ์ทศี่ ลิ ปินสร้างสรรค์ขนึ้ มา จากวัสดุตา่ งๆ จากนัน้ จะน�ำแม่พมิ พ์กด ติดลงไปบนกระดาษหรือผ้าใบ เพื่อให้ ภาพติดไปบนวัตถุนั้นๆ PRINTMAKING
is an art of printing or pressing a block crafted by an artist onto a piece of paper or canvas to transmit the pictures from the block to that certain material.
วรรณกรรม
เป็ น งานศิ ล ปะที่ ใช้ ภ าษาสร้ า งสรรค์ จิ น ตนาการและความงาม แบ่ ง เป็ น วรรณกรรมลายลั ก ษณ์ อั ก ษรที่ มี ก าร บันทึกเป็นตัวหนังสือ และวรรณกรรม มุขปาฐะ ที่เล่ากันปากต่อปาก ไม่มีการ จดบันทึก
LITERATURE
is an artistic use of language to illustrate imagination and aesthetics. There are two types of literatures: Written Literature and Oral Literature. The former is recorded by writing while the latter is passed down by word of mouth without a proper record.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
M A P / TO U R I ST M A P O F SA M U T P R A K A N
THE ART OF FOOD
OZ COFFEE
พบรัก ณ บางน�้ำผึ้ง PHOP RAK NA BANG NAMPHUENG
AGALIN GARDEN ROOM
ริโวเชธรรมสถาน RIWOCHE DHARMA CENTER
อ่าวไทย Gulf of Thailand พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 25
วัดป่าสุขใจ PA SUKJAI TEMPLE
TOURIST MAP OF SAMUTPRAKAN
แผนที่ท่องเที่ยวสมุทรปราการ
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
COV E R STO RY
The Artisans ศิลปินผู้สร้างศิลป์ แห่งเมืองปากน�้ำ
สมุทรปราการคือเมืองแห่งความน่าเที่ยว ที่อุดมด้วยทรัพยากรธรรมชาติกระจายตัว อยู่ทั่วพื้นที่ ตลาดเอย วัดวาอารามเอย รวมไปถึงวัฒนธรรมผสมผสานที่ส่งทอด ต่อกันมาตัง้ แต่สมัยปูย่ า่ ตาทวด และทีน่ เี่ อง ยังรวมไว้ด้วยความหลากหลายของศิลปิน จากแขนงต่างๆ สมุทรปราการฉบับนี้ เราจะพาคุณไปท�ำ ความรูจ้ กั กับ ๘ ศิลปิน ซึง่ อาศัยอยูใ่ นจังหวัด สมุทรปราการ และมุมมองต่อค�ำว่า “ศิลปะ” ของพวกเขา ซึง่ แม้พวกเขาจะมีความแตกต่าง ในวัยวุฒิ คุณวุฒิ หรือประสบการณ์ชี วิ ต แต่สิ่งที่ทุกคนมีเหมือนกันคือ สมุทรปราการ = บ้าน นอกจากการอ่ า นเพื่ อ เนื้ อ หาสาระแล้ ว บางเสี้ยวจากความคิดและประสบการณ์ ของพวกเขา อาจให้ประโยชน์กบั คุณในการ ด�ำเนินชีวิตได้บ้างไม่มากก็น้อย N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
COV E R STO RY / SA KW U T W I S E T M A N E E
SAKWUT WISETMANEE A PAINTER AND A SCULPTOR WHO WORKS WITH PASSION NOT STRUGGLE
ศักดิ์วุฒิ วิเศษมณี
จิตรกรและประติมากร ผู้ท�ำงานด้วยความรัก ไม่ใช่ความดิ้นรน aving settled down for more than twenty H years, Sakwut has gradually become a true local of Samutprakan. His second
home in Bang Phli is his sanctuary for art creation,thus it is fully packed with numerous collectibles and ar t pieces including paintings of King Rama IX in different gestures.
คุณศักดิ์วุฒิไม่ใช่คนพื้นที่สมุทรปราการโดยก�ำเนิด แต่การมาลงหลักปักฐานใช้ชีวิตอยู่ที่นี่ยาวนานจน ๒๐ กว่าปีแล้วนัน้ ท�ำให้เขากลายเป็นคนสมุทรปราการ ไปแล้ ว อย่ า งไม่ รู ้ เ นื้ อ รู ้ ตั ว ส� ำ หรั บ เขา บ้ า นใน สมุทรปราการคือมุมสงบของการสร้างสรรค์งานศิลปะ ซึ่งปัจจุบันบ้าน ๒ หลังของเขาในหมู่บ้านย่านบางพลี เต็มแน่นไปด้วยของสะสมและผลงานศิลปะ ทีต่ วั เขาเอง ไม่เคยคิดที่จะหยุดท�ำ เพราะมันได้กลายเป็นชีวิต ไปแล้ว อันรวมไปถึงภาพวาดในหลวงรัชกาลที่ ๙ ในหลากหลายพระราชอิริยาบถ พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
อะไรท�ำให้คุณเลือกมาใช้ชีวิตอยู่ในจังหวัด สมุทรปราการ ตอนนั้นตามเพื่อนศิลปินมา เขาชวนมา ซื้อบ้านอยู่ในที่เดียวกัน ตอนนั้นฝันกันเล่นๆ ว่า เดี๋ยวคนนั้นคนนี้เข้ามาอยู่ อีกหน่อยที่นี่ จะกลายเป็นหมูบ่ า้ นศิลปิน จนตอนนีเ้ หลืออยู่ แค่ ๒ คนนี่ละ ผมกับเหน่ง (ชิระ วิชัยสุทธิกุล) ส่ ว นคนอื่ น เขาขายบ้ า นกั น ไปหมดแล้ ว เพราะโดยชีวิตของเขา เขาไม่ค่อยอยู่บ้านกัน ต้องออกนอกบ้านไปธุระในเมืองเรื่อยๆ ส่วน เราเป็นประเภทชีวิตชอบอยู่บ้าน แต่ขนาดมา อยูไ่ กลถึงนี่ คนโน้นคนนีก้ ต็ ามมาหานะ เราอยู่ ทีน่ มี่ า ๒๓ ปีแล้ว ติดที่ เลยไม่ยา้ ยไปไหน อยูต่ รงนี้ เดินทางง่าย ออกจากบ้าน ขึ้นโทรลเวย์ เข้า เมืองได้แล้ว ลองคิดดูสิว่าเพื่อนอยู่ลาดพร้าว เราอยูต่ รงนี้ เวลานัดกันในกรุงเทพฯ ที เรามัก จะไปถึงก่อน ขณะที่เขายังรถติดกันอยู่เลย เสน่ห์ของบางพลีคืออะไร อยู ่ แ ล้ ว มั น สะดวกดี น ะ อย่ า งในซอย บ้านเรานี่มีทุกอย่างเลย ยกเว้นอาหารอร่อย (หั ว เราะ) แต่ ก ่ อ นมี ข ้ า วมั น ไก่ อ ยู ่ เจ้ า หนึ่ ง กินประจ�ำ แต่ตอนนี้ปิดไปแล้ว ได้ข่าวว่า เพราะเมี ย จั บ ได้ ว ่ า ผั ว มี กิ๊ ก เราเลยอดกิ น ข้าวมันไก่ไปด้วยเลย Why did you decide to live in Samutprakan province? My artist friends and I dreamed that one day we would turn this place into an artist village but now there are only two of us left, me and Neng (Shira Wichaisutthikun) because the rest always have to run their businesses in town. I love staying home and I have been here for nearly thirty years now and still no plan of moving. It is actually quite convenient - just one quick hop on a tollway and I am back in the city. Imagine me living here and my friends living in Lad Phrao but I am always the first to arrive when they are still stuck in a traffic jam. What are the charming characteristics of Bang Phli? Convenience. I have basically everything in my neighborhood except for delicious food (laugh). There was this one Chicken Rice restaurant but, sadly, it was closed because the husband was caught having an affair พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 31
ยุ ค นี้ ไ ม่ ว ่ า จะหั น ไปทางไหน แค่ เ พี ย งมี โทรศัพท์พร้อมแอปพลิเคชันอยู่ในมือ ใครก็ สามารถเป็นศิลปินได้อย่างง่ายดาย คุณคิด ยังไงกับเรื่องนี้ สมัยก่อนค�ำว่าศิลปินเป็นค�ำสูงและเขาใช้ ล้อเลียนกัน เช่น “โห ! มึงท�ำเยอะมากเหลือเกิน มึงเป็นศิลปินเหรอ” “ไอ้นตี่ สิ ต์แดก” แต่อย่าง ตัวผมเอง จะเรียกตัวเองว่าจิตรกร เวลาเขียน รูปก็ใช้สรรพนามว่าจอมจิตรกร กางเกงมวย ผมก็ จ ะเขี ย นว่ า จอมจิ ต รกร ซึ่ ง ถ้ า จิ ต รกร ท�ำงานเรื่อยๆ ไปจนถึงจุดจุดหนึ่งแล้ว เขาจะ ถูกเรียกว่าศิลปินไปเอง แต่มันคือการปล่อย ให้คนอื่นเขาเรียกนะ เราเรียกตัวเองไม่ได้ สมั ย ก่ อ นเขาซี เรี ย สกั น ขนาดว่ า การจะใช้ ค�ำว่าศิลปินได้นี่ ต้องเป็นคนที่ไปถึงขั้นสุด แล้ว แต่ยคุ หลังๆ นีใ่ ช้กนั เกร่อไปหมด คุณเป็น ศิลปินได้คนละ ๑๕ นาที คุณต่อยมวยด้วยเหรอ ต่ อ ยมา ๑๐ กว่ า ปี แ ล้ ว นะ ต่ อ ยมวย มันเป็นการเล่นกับตัวเอง ยิง่ พอไปเจอค่ายมวย ปักษ์ใต้ด้วยก็เลยสนิทกัน มีอะไรเขาก็คอย ช่วยดูแลให้ เราเคยเป็นโปรโมเตอร์สนับสนุน ให้เด็กปักษ์ใต้ ๒ คนขึ้นไปต่อยมวยด้วยนะ ใช้ชื่อว่าศักดิ์วุฒิกับวิเศษมณี คือเราเป็นคน เอาจริงหมดทุกอย่าง อย่างตอนเขาฮิตจตุคาม กัน ก็ลงไปออกแบบกับเขาด้วย In this era, with a cellphone and the right application, anyone can easily become an artist. What do you think about this? Back then, "artist" was a high level lexicon sometimes used in mockery. For example, "Woah! You've overworked all these elaborated details. Are you an artist?" But I always refer to myself as Jittrakorn (Thai for a painter). When I paint, I go with the name Jomjittrakorn even my boxing pants say so. In the past, you could not claim yourself an artist. In fact, you had to be so undeniably successful to the point that people regard you as one. Nowadays, it is too commonly used.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
Do you box as well? More than ten years now. Since I got close to a southern Thai-kickboxing camp, they always lend me a hand. I even sponsored two young southern boys for their boxing matches under the name Sakwut and Wisetmanee. Well, I always play hard like when Jatukham was a big hit, I also helped with the design. Your art pieces usually portray women related elements including their figure or their emotion. What is the biggest challenge in depicting this type of beauty? Finding the right model. These days, many women modify their chin, reshape their nose, wear big-eye contact lenses and say this is beautiful. Sometimes, their emotions are so vividly beautiful that I still cannot see why they need all those. Every art piece of yours is worth some hundred thousands. Would you consider the painter named Sakwut Thipmanee rich? No. I used to constantly produce art for sale and people kept asking why they were so expensive. So I said "Hey, I'm a gambler. Setting such price means I'm putting my life at stake. What if I fail? What if I, Sakwut, paint my whole life and not be able to sell, how will I live?" Lately, I barely struggle or overwork myself to sell my paintings. I now paint with pure joy which makes me proud although I prefer to keep them at home. Any impressive moment you have shared with the locals of Bang Phli? At Luang Phor Toh Temple (Bang Phli Yai Nai Temple) after the passing of King Rama IX, I lined up in front of my house for six hours to present Sandelwood Flowers as a final tribute. The line stretched all the way to the temple. I had never been more patient in my entire life. However, the people were so nice and smiley passing down free drinking water to one another and even kindly invited those who needed to go to the restroom in their own home. The kind spirit of Thai people that day was unforgettable. Besides our interview appointment with us, Sakwut also invited everyone who wanted to see him all on the same date. He says jokingly "Well, let them all come all at once so I can work on other days."
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 33
งานของคุณโดยมากมักจะเกี่ยวข้องกับ ผู้หญิง ไม่ว่าจะสรีระหรืออารมณ์ ที่คุณ ได้หยิบสิง่ ทีเ่ ห็นขึน้ มาวาดลงบนผืนผ้าใบ อะไรคื อ ความยากในการท� ำ งานกั บ ความงามรูปแบบนี้ การหาแบบ เพราะกว่าจะเจอที่ถูกใจ มันต้องใช้เวลา มันหายาก โดยเฉพาะโลก สมั ย นี้ เ ป็ น ยุ ค ที่ ผู ้ ห ญิ ง ลุ ก ขึ้ น มาเติ ม คาง เติมจมูก ใส่เลนส์ตาโตแล้วก็บอกว่านี่ละ คือความสวย ซึง่ ไอ้เราก็ไม่เข้าใจเหมือนกัน นะ อย่างบางคนนีอ่ ารมณ์เขาสวยสุดๆ เลย ก็ไม่รู้จะไปท�ำเพิ่มกันท�ำไม งานศิลปะต่อชิ้นของคุณมีราคาขายเป็น หลักแสน ทุกวันนี้จิตรกรที่ชื่อ ศักดิ์วุฒิ วิเศษมณี จัดว่าเป็นคนรวยไหม ไม่ ร วยนะ อย่างสมัยก่อนที่ท�ำงาน ออกมาขายเรื่อยๆ ก็มักจะมีคนถามว่า
ท�ำไมงานเราแพง ผมบอก “เฮ้ย ! กูเป็น นักพนัน การตั้งราคาแบบนี้มันคือการที่ กูเอาชีวิตกูเป็นเดิมพันเลยนะ เพราะลอง คิดดูในอีกมุมสิวา่ ถ้ากูพลาดล่ะ ถ้าศักดิว์ ฒ ุ ิ เขียนรูปมาทั้งชีวิตแล้วขายไม่ได้ กูจะอยู่ ยังไง” แต่ทุกวันนี้การท�ำงานของเรามันต่าง ไปจากเมื่อก่อนมาก ระยะหลังๆ มานี่ผม ไม่ ค ่ อ ยได้ ข ายงานหรอก ก็ ข ายบ้ า งล่ ะ แต่ไม่ได้ดิ้นรน คิดเยอะ หรือต้องพยายาม อะไรเหมื อ นเมื่ อ ก่ อ น มั น เลยเป็ น การ ท�ำงานด้วยความสุขจริงๆ พอเขียนงาน เสร็จ ก็ดีใจภูมิใจ เก็บไว้ที่บ้านเอง เหตุการณ์ประทับใจใดบ้างที่คุณเคยได้ มีส่วนร่วมกับชาวบ้านในชุมชนบางพลี ที่วัดหลวงพ่อโต (วัดบางพลีใหญ่ใน) ช่วงที่ในหลวงรัชกาลที่ ๙ เสด็จสวรรคต
วันนัน้ ผมยืนเข้าแถวเพือ่ รอถวายดอกไม้จนั ทน์ อยู่ ๖ ชั่วโมงจากหน้าบ้านนี่ละ แถวยาว ไปถึงตัววัด ซึง่ ต้องบอกว่าตัวเราเองไม่เคย อดทนอะไรขนาดนัน้ มาก่อน นัน่ เป็นครัง้ แรก และคงจะเป็ น ครั้ ง เดี ย วในชี วิ ต จริ ง ๆ บรรยากาศวันนั้นชาวบ้านก็น่ารัก ยิ้มแย้ม ส่ ง น�้ ำ ให้ กั น พอเห็ น ใครจะเข้ า ห้ อ งน�้ ำ ก็เอ้า ! หนูมาเข้าในบ้านป้าได้เลยนะ น�ำ้ ใจ คนไทยในวันนั้น สุดมาก นอกจากคิ ว สั ม ภาษณ์ ร ะหว่ า งเรา กั บ คุ ณ ศั ก ดิ์ วุ ฒิ ใ นวั น นี้ แ ล้ ว เขายั ง ได้ นั ด ทุ ก คนที่ ต ้ อ งการพบเขามาที่ บ ้ า น เสียให้หมดในวันเดียว เขาบอกกับเรา ติ ด ข� ำ ว่ า “เอ้ า ! อยากมา มากั น ให้ หมดเลยทีเดียว วันอื่นผมจะได้ท�ำงาน”
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
C O V E R S T O R Y / WAT C H A L A S A - N G E R N
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 35
WATCHALA SA-NGERN THE PAINTER WHO DEPICTS THE RELIGIOUS TEACHINGS
วัจฉละ สาเงิน
จิตรกรผู้เขียนรูป เพือ่ เล่าค�ำสอนทางศาสนา จิ ต รกรรมฝาผนั ง ภายในองค์ พ ระนอนที่ วั ด พระนอน หรื อ วั ด บางพลี ใ หญ่ ก ลาง คื อ ผลงานจากปลายพู ่ กั น และฝี แ ปรง ของ วัจฉละ สาเงิน ผู้ฝากฝีมือด้านศิลปะ ของตนเองไว้กับการเขียนรูปเพื่อเป็นการ เล่ า เรื่ อ งค� ำ สอนทางศาสนา เขาบอกกั บ เราในวั น ที่ พ บกั น ว่ า “ผมมาที่ ห ้ อ งสมุ ด ประชาชนของปากน�้ ำ นี่ ทุ ก วั น มาอ่ า น หนังสือพิมพ์ มาหาข่าวสาร มาพูดคุยกับ คนรูจ้ กั ผมชอบท่องเทีย่ ว และชอบเล่าเรือ่ ง จากการเดินทาง” he mural paintings at the ReclinT ing Buddha temple or Bang Phli Yai Klang Temple are the work of arts
by Watchala Sa-ngern, who paints to reflect the Buddhist teachings. He says to us, "I come to this Paknam public library everyday - to read newspapers, to update news, to talk to my acquaintances. I love traveling and sharing stories from those trips." After retiring from his early career as a teacher, students and acquaintances still drop by to catch up with him but not many realize he is the only artist solely responsible for all the mural paintings within the Reclining Buddha.
นั่นคือกิจวัตรหนึ่งของอาจารย์วัจฉละ สาเงิ น ที่ ห ลั ง เกษี ย ณจากอาชี พ ครู แ ล้ ว ก็ ยั ง มี ลู ก ศิ ษ ย์ แ ละคนรู ้ จั ก ทั ก ทายถามไถ่ ส ารทุ ก ข์ สุ ก ดิ บ ท่ า น ตามความคุ้นเคย แต่มีคนไม่มากนัก ที่ จ ะรู ้ ว ่ า ท่ า นเป็ น ศิ ล ปิ น ที่ ว าดงาน จิ ต รกรรมฝาผนั ง ในองค์ พ ระนอน ทั้งหมดนั้นเพียงคนเดียว อยากให้ อ าจารย์ ช ่ ว ยเล่ า ย้ อ นว่ า ท� ำ ไมถึ ง ได้ ม าวาดภาพจิ ต รกรรม ฝาผนังในองค์พระนอนที่วัดนี้ ผมเป็นคนทีน่ ี่ เรียนทีส่ มุทรปราการ แล้วไปเรียนต่อที่โรงเรียนศิลปศึกษา เตรี ย มมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร ที่ อ ยู ่ หน้าโรงเรียนนาฏศิลป์ พอเรียนถึงปี ๒ ผมสอบเข้าศิลปากรได้ เป็นลูกศิษย์ รุ่นสุดท้ายของ อาจารย์ศิลป์ พีระศรี ด้วย แล้วได้ไปเป็นครูสอนที่โคราชอยู่ ๑๐ กว่าปี ก่อนจะย้ายกลับมาสอน ที่บ้านเกิดในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ ในช่วงที่ สอนอยู่ที่โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ ผมไปบางพลีบอ่ ย เพราะมีแฟนอยูท่ นี่ นั่ ตอนนั้ น ที่ วั ด ก� ำ ลั ง เป็ น ช่ ว งเริ่ ม สร้ า ง พระนอน พระที่วัดท่านรู้ว่าผมท�ำงาน ศิลปะเป็น พระอาจารย์ท่านเลยเรียก ให้ ผ มมาช่ ว ยงาน ในองค์ พ ระนอน ของที่วัดนี้ ต้องเข้าใจว่าไม่ใช่องค์ตัน มีโพรงมีโถงข้างใน ใครๆ ก็สามารถ เดินเข้าไปได้ทั้ง ๔ ชั้นภายในองค์พระ พระอาจารย์ ท ่ า นบอกผมว่ า ให้ ช ่ ว ย เขียนรูปข้างในผนังพระนอนทั้ง ๔ ชั้น ให้หน่อย N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
Would you please take us back to when and why you had the opportunity to paint at this Reclining Buddha Temple? I'm a local here. I studied in Samutprakan and continued my study at Silpa Sueksa School, the Demonstration School of Silpakorn University, right in front of Nattasin School (currently known as the College of Dramatic Arts). When I was a sophomore, I got into Silpakorn University and was at the last class taught by Professor Silpa Bhirasri himself. Then, I taught in Korat for a decade before moving back to my hometown in 1973. When I was teaching at Satree Samutprakan School, I often visited Bang Phli because my girlfriend lived there. Back when the Reclining Buddha Temple was still under construction, the monks there knew I could do arts so they asked me to help out. You see, the Reclining Buddha image here is hollow and large enough that it allows people to walk up and down all four floors. I was asked to paint all the walls on every floor. Did the guru monk assign any specific image or task for the mural painting? It was up all to me. I could paint anything I wanted (laugh). I started studying the Buddhist scriptures from his birth, his enlightenment to his death and decided to come up with unconventional p a i n t i n g s. Soon as the interior construction was done, I immediately started my painting. For five years, I taught at the school during daytime and by five or six in the evening, I had my dinner and continued painting inside the Reclining Buddha image until nine or ten. When I started painting, I was about forty years old. I love painting with simplicity, the kind that anyone can instantly make sense of. I wanted to focus more on the virtues and the sins than just pure artistic beauty. I wanted the paintings to communicate stories and teachings rather than decorative mural paintings. Inside the Reclining Buddha image, I painted more than 500 pictures covering every last space of the walls and the pillars. I had a lot of fun illustrating thoughts according to Buddhist teachings. For example, in early days, people in the area loved fishing so I painted to let them know that fishing was a form of sins and could lead them to hell. However, later on, when there was no longer a fishing pond, my paintings became more oriented to Buddhist teachings including
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 37
โจทย์ทไี่ ด้ในการเขียนภาพ พระอาจารย์ทา่ น บอกไหมว่าอยากได้แบบไหน ตามใจเลย อยากวาดอะไรก็ได้ (หัวเราะ) ผมเริ่มด้วยการอ่านจากพระไตรปิฎก ไม่ว่า จะเป็นเรื่องประสูติ ตรัสรู้ หรือปรินิพพาน แล้วก็เลือกทีจ่ ะเน้นการเขียนภาพทีไ่ ม่เหมือน ใคร คือคิดขึ้นใหม่ พองานสร้างพระนอน ส่วนข้างในเสร็จ ผมก็เข้าไปเขียนภาพเลย กลางวั น สอนหนั ง สื อ ที่ โรงเรี ย น ตอนเย็ น ห้ า หกโมงผมกิ น ข้ า วเสร็ จ ก็ ไ ปวาดภาพใน พระนอนจนถึงสามสี่ทุ่ม เป็นแบบนี้อยู่ ๕ ปี ผมเริ่มเขียนในช่วงอายุ ๔๐ ปีเศษๆ ผมชอบวาดภาพง่ายๆ ให้คนดูเห็นความงาม แล้วเข้าใจ อยากเขียนเป็นภาพเล่าเรือ่ งบุญบาป มากกว่ า เป็ น ศิ ล ปะที่ ส วยงามอย่ า งเดี ย ว เขียนรูปเพือ่ สือ่ สาร เป็นภาพประกอบเล่าเรือ่ ง ไม่ใช่เป็นจิตรกรรมฝาผนังเป็นจุดมุ่งหมาย ภายในพระนอน ผมวาดไว้ ม ากกว่ า ๕๐๐ ภาพนะ ทุกผนัง ทุกเสา ไม่มีช่องว่าง เลย สนุกมาก เพราะผมได้ถ่ายทอดความคิด เรื่องศาสนาไว้ในนั้น อย่างเช่นมีภาพเล่าเรื่อง
การตกปลา เพราะในสมัยนั้นคนชอบตกปลา ผมก็เอาความเป็นอยู่ของคนแถวนั้นมาวาด ง่ายๆ เช่น ให้คนเห็นว่าตกปลาแล้วท�ำบาปนะ ก็ไปตกนรกอะไรแบบนั้น แต่ตอนหลังไม่มี บ่อตกปลาแล้ว ทุกภาพก็จะเป็นแนวสอน เรื่องศาสนา บาปกรรม หรือการท�ำบุญดี ผม ดึงเรื่องที่อ่านเอามาลงในภาพ ดึงมาเป็นจุดๆ ใช้เวลาในการวาดภาพนานแค่ไหนถึงท�ำได้ ๕๐๐ ภาพ เพราะแต่ละวันอาจารย์ใช้เวลา วันละไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น ผมท� ำ งานเพื่ อ พระพุ ท ธศาสนา การ ท�ำงานแบบนี้ท�ำให้ผมได้ศึกษางานจิตรกรรม ของศิลปินคนอื่น และเข้าใจค�ำสอนต่างๆ ที่ บรรยายไว้ ผมเริม่ เขียนปี พ.ศ. ๒๕๒๗ บวกไป ๕ ปี และหลังจากนั้นก็เขียนต่ออีก ๕ ปี เขียน ไปเรื่อยๆ สรุปเป็น ๑๐ ปี เป็นผมคนเดียว เขียนคนเดียวทั้งหมด ไม่มีทีม ท�ำไปเรื่อยๆ ไม่มีใครช่วย ลากนั่งร้านไป-มาจากจุดโน้น จุดนี้เอง หามุมเขียนให้เต็มพื้นที่ ที่ไหนว่าง ผมหาเรือ่ งมาเล่าเขียนลงก�ำแพงนัน้ เป็นแบบ
เดียวกัน เป็นเรื่องเดียวกัน ไม่ผิดมือ การวาดรูปในพระนอนไม่ง่ายนะ มันมืด ผมเคยมีกล้องดีๆ เปิดไฟจัดแสง บันทึกภาพ ตอนที่ ก� ำ ลั ง ท� ำ งานขณะที่ ก� ำ ลั ง วาดภาพ แต่รูปหายไปหมดแล้ว เสียดายการบันทึก ประวัติศาสตร์ มีภาพเขียนภาพไหนที่ชอบที่สุด หรือผูกพัน ที่สุด ผมชอบเขี ย นภาพคน ที่ ช อบมากก็ คื อ ภาพเหมื อ นของพระเกจิ อ าจารย์ ห ลายๆ รูป ตั้งแต่หลวงพ่อโต หลวงพ่อสดวัดปากน�้ำ หลวงพ่อฤาษีลงิ ด�ำ เป็นต้น ส่วนพุทธประวัติ ก็มที กุ ตอน เขียนตามความคิด เอาสัญลักษณ์ ส�ำคัญมาใส่ในรูปให้ไม่เหมือนใคร ส่วนเรื่อง บาปบุญก็ขยายตามเนื้อเรื่อง หรือหาการยก ตัวอย่างมาเขียนท�ำให้เข้าใจง่าย จากนั้นก็ ไม่ได้เขียนที่ไหน สอนหนังสือไป ส่วนช่วงนี้ ไม่ได้วาดแล้ว เพราะเราไม่ต้องการอะไรแล้ว ได้ แ ต่ เ ดิ น ทางท่ อ งเที่ ย ว แล้ ว ใช้ รู ป ถ่ า ย ประกอบเล่าเรื่องไป เพราะยังอยากเล่าเรื่อง N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 39
สุ ด ท้ า ยอาจารย์ วั จ ฉละ สาเงิ น บอกว่ า ถ้าไม่ได้เป็นคนสมุทรปราการ คงไม่มโี อกาส ได้ทำ� งานนีแ้ น่ “เพราะพระอาจารย์ทา่ นไว้ใจ และมอบความวางใจให้ผมเขียนทุกอย่าง ตามที่ ผ มอยากเขี ย น ปล่ อ ยให้ ผ มเขี ย น แบบไม่มคี ำ� แนะน�ำอะไรเลย ท�ำให้ผมผูกพัน กับวัดนี้ตลอด ถึงจะอยู่ปากน�้ำแล้วความ ผูกพันก็ไม่เปลี่ยน” the sins, the karma and merit-making. How long did it take you to complete 500 paintings? I mean you only had a few hours per day to paint? I worked for Buddhism and this sort of work allowed me to study other mural paintings by other artists and all the teachings. I started back in 1984 and kept painting and painting. It turned out that I was the only one painting for the past ten years - all by myself, no crew, no assistance. I dragged the scaffold here and there looking for the blank space to fill. Painting inside the Reclining Buddha image was not an easy job as it was really dark. I used to set up cameras and lighting to record me when I was painting but somehow I lost all the photos. Too bad, they could have been good historical records. Are there particular paintings you like the most or feel bonded with the most? I love painting people particularly the portrait of great Buddhist guru monks ranging from Luang Phor Toh, Luang Phor Sot from Paknam Temple to Luang Phor Rue-Si Ling Dam. Regarding the history of the Lord Buddha, I painted according to my perspective and added significant symbols that uplifted the uniqueness to my paintings. As for the virtues and sins, I either illustrated the stories according to the teachings or raised simple examples. After that, I no longer paint anywhere else. I just taught. Now that I no longer want anything in life, I just travel around and save the photos I've been taking to tell stories instead. Ajarn Watchala Sa-Ngern added that if he was not a Samutprakan local, he would not have had such a marvelous opportunity. "Because the guru monk trusted me enough to let me freely paint anything my heart desired without a single limitation or guidance, I've always been deeply bonded with the temple even after I moved to Paknam." N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
C O V E R S T O R Y / T H A N A P H O N G T H A N YA K H U P
THANAPHONG THANYAKHUP A RELIGIOUS SERVANT THROUGH PRACTICES AND ART
ธนพงศ์ ธัญญะคุปต์ ผู้รับใช้ศาสนา ด้วยการปฏิบัติและท�ำงานศิลปะ ศรัทธาและความเลื่อมใสในพุทธศาสนาวัชรยาน ท�ำให้เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างงานพุทธศิลปะ แบบทิเบต คุณธนพงศ์ ธัญญะคุปต์ ไม่ได้เรียกตัวเอง ว่าศิลปิน แต่เป็นผู้รับใช้ศาสนาด้วยการปฏิบัติและ ท�ำงานศิลปะ จากบ้านเกิดที่ก�ำแพงเพชร คุณธนพงศ์ย้ายมาอยู่ กับแม่ที่บางพลี สมุทรปราการ จนจบระดับมัธยมต้น และมั ธ ยมปลายที่ โรงเรี ย นบางพลี ร าษฎร์ บ� ำ รุ ง แล้วเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัยที่มหาวิทยาลัยบูรพา วิ ท ยาเขตบางแสน การกลั บ มาอยู ่ บ ้ า นที่ บ างพลี ท� ำ ให้ เขาได้ ใ กล้ ชิ ด พุ ท ธศาสนาแบบวั ช รยานที่ ริโวเชธรรมสถาน สถานปฏิบัติธรรมแบบวัชรยาน ทัง้ การเรียนรู้ ปฏิบตั ธิ รรม และงานศิลปะทีม่ เี อกลักษณ์ เฉพาะตัว ที่เขาได้สร้างไว้บางชิ้นที่ริโวเชธรรมสถาน he strong faith in Vajrayana Buddhism has T long inspired Thanaphong Thanyakhup to create numerous Tibetan Buddhist art.
Although, he does not consider himself an artist but a religious servant through practices and art.
From his hometown in Kamphaengphet province, Thanaphong moved to his mother's house in Bang Phli, Samutprakan, finished his junior and senior high school from Bang Phli Rat Bumrung School, furthered his university degree in Burapha University, Bang Saen Campus. Returning to his house in Bang Phli got him closer to Vajrayana Buddhism at Riwoche Dharma Center, a Vajrayana dharma retreat where he studied dharma teachings, practiced meditation and created some art pieces with unique characteristics. พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 41
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
รู ้ จั ก พุ ท ธ ศ า ส น า แ บ บ วั ช ร ย า น แ ล ะ ริโวเชธรรมสถานได้อย่างไร ช่วงปี ๒๕๕๗ ผมมีโอกาสพบกับภิกษุจีน คือ ท่านวิศวภัทร เสกกวงโต่ว ท่านเห็นผม สนใจพุทธศาสนาแบบวัชรยาน ท่านจึงแนะน�ำ ริโวเชธรรมสถาน ซึ่งผมไม่เคยรู้มาก่อนว่า อยูท่ บี่ างพลี พอปลายปีนนั้ ทีร่ โิ วเชธรรมสถาน มีการจัดธรรมพิธปี ญ ั จรัตนโกศ ทีป่ ระกอบพิธี โดย จับโกน พักชก รินโปเช ที่ ๗ ประมุขนิกาย ตักลุง กาจู ผมจึงได้เข้าไปที่ริโวเชธรรมสถาน ครั้งแรก และในครั้งที่ ๒ ที่ริโวเชธรรมสถาน มีการมอบค�ำสอนโดยมหาวัชราจารย์โซนัม ทอปเกี ย ว ริ น โปเช จากพระอารามริ โวเช ในเมืองโตรอนโต แคนาดา ต่อมาผมได้รบั การ แนะน�ำให้รจู้ กั กับ อาจารย์ชาญชัย คูณทวีลาภ ท่านทราบว่าผมมีความสามารถเรื่องศิลปะ ผมจึ ง ได้ ท� ำ งานศิ ล ปะให้ อ าจารย์ ช าญชั ย นับแต่นั้นเป็นต้นมา ความสนใจในการท�ำงานศิลปะ ระบายสี วาดรูป ที่เรียกว่าพุทธศิลปะแบบวัชรยาน เกิดขึ้นได้อย่างไร ผมสนใจศิลปะหรือชอบวาดรูปพระมา ตั้งแต่เด็กแล้ว เป็นความชอบส่วนตัวที่เกิดขึ้น เอง ผมเริม่ จากการวาดรูปพระเล่นๆ มาตลอด ช่วงอยู่มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ผมสนใจศรัทธาใน พุทธศาสนามหายานแบบจีน แล้วมีโอกาส ได้ เจอรู ป พระนางตารารู ป หนึ่ ง เห็ น แล้ ว ชอบมาก บวกกับเข้าใจว่าเป็นเจ้าแม่กวนอิม เลยพรินต์ลงกระดาษมาแปะผนังบูชา แล้ว วาดรูปพระนางตารารูปแรกขึ้นแบบเรียบๆ ตอนอยูม่ หาวิทยาลัยได้ให้รปู นัน้ เป็นของขวัญ แก่เพือ่ นคนหนึง่ ไป แล้วก็ฝกึ วาดเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ฝึกจากเพื่อนบ้าง ผ่านอินเทอร์เน็ตบ้าง จนมี ฝีมืออยู่ในระดับปัจจุบัน มีทั้งวาดบนแผ่น เฟรมวาดรูป ใช้สอี ะครีลกิ ในการวาดจิตรกรรม และมีผลงานที่ท�ำจากแผ่นทองแดงที่ดุนนูน ด้วยปากกาเป็นรูปพระโพธิสัตว์อยู่บ้าง
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 43
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
How did you get to know Vajrayana Buddhism and Riwoche Dharma Center? In 2014, I had an opportunity to meet a C h i n e s e m o n k , Wi t s a w a b h a t Sekguangto. He saw my interest in Vajrayana Buddhism and introduced me Riwoche Dharma Center, which I never knew existed in Bang Phli. My first visit was at the end of that year when Riwoche Dharma Center organized a Dharma Ceremony called Pancharattanakot directed by Kyabgön Phakchok Rinpoche the Seventh, the chief lineage holder of Riwoche Taklung Kagyu lineage. The second was when Riwoche Dharma Center assigned the teachings by Vajra Master Khenpo Sonam Tobgyal Rinpoche from Riwoche Monastery in Toronto, Canada. Later, I was introduced to Master Chanchai Khunthaweelarp. Having heard about my art ability, I was invited and have been creating numerous art pieces for him ever since. How did your interest in painting or creating art pieces known as Vajrayana Buddhist art come into place in the beginning? I've always been interested in art and casually drawing Buddha images ever since I was a kid. It just happened. It was when I was in Matthayom 3
(Grade 9) that I was first drawn to Chinese Mahayana Buddhism and ran into a Tara Bodhisattva image which I then thought was Guan Yin Bodhisattva so I printed it out on to a piece of paper and placed it on the wall to worship. I first drew a simple picture of Tara back when I was still in college as a present to my friend. Then, I learned to practice techniques and skills both from friends and the internet. At the present, I paint on painting canvases, use acrylic paint in my mural paintings as well as emboss copper sheet with pens into several Bodhisattva images. The distinctiveness of Vahrayana Buddhism art is not freely drawing anything or painting any color because each color carries its own meaning and symbolizes something, right? In Vajrayana painting, it is composed of the five significant colors - red, white, blue, green and yellow. In reference with principles of the Five Wisdom Tathāgatas, elements are represented with colors and the five Buddhas with the Five Wisdom. First, Vairocana signifies the ignorance that transforms into the wisdom of the essence of the dharma-realm symbolized by the space element in white color. Second, Akshobhya signifies the aggression that trans-
forms into the wisdom of reflection symbolized by the water element in blue color. Third, Ratnasambhava signifies the pride and greed that transforms into the wisdom of equanimity symbolized by earth element in yellow color. Fourth, Amitābha signifies the selfishness that transforms into the wisdom of observation and awareness of kindness and compassion symbolized by fire element in red color. Fifth, Amoghasiddhi signifies the jealousy that transforms into the wisdom of perfect practice rejoicing in the happiness of others symbolized by the wind element in green color. O ther than depic ting dharma teachings through colors, Tibetan paintings are also consisted of the five elements and other symbols. A painting of the sun in the lotusshaped base and the moon in the sky are often seen in Buddha's banners. In Vajrayana Buddhism, the sun symbolizes female with menstruation, the moon represents male with semen whereas the lotus stands for the womb. With the womb, semen and eggs combined, it originates all existence. What is the happiness derived from your work? Being able to live with my faith, study Buddhist Dharma and other religions, and able to portray my inner ideals into paintings. I believe painting is one of the soul searching methods where one gets to observe and learn about one's self through emotions reflected in the picture. It is a form of meditation practice that improves one's imagination and a motivation to more learning. At R i wo c h e D h a r m a Ce nte r, Va j r a y a n a B u d d h i s m a r t i s an integral element of the dharma retreat. Here, ever ything is embedded with meanings and symbols of wisdom and teachings await to be discovered. A number of Thanaphong's creations that he helped with the face painting of the Buddha images and decoration of the high-relief sculptures made by his masters are exhibited as parts of the worship symbols among original Buddhist art pieces directly imported from Tibet.
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 45
ลักษณะเฉพาะตัวของงานศิลปะแบบวัชรยาน ไม่ใช่จะวาดอะไรก็ได้ หรือให้สีอะไรก็ได้ เพราะสี แ ต่ ล ะสี มี ค วามหมาย และแสดง ความเป็นสัญลักษณ์ด้วยใช่ไหม การให้ สี ใ นการวาดรู ป วั ช รยานจะ ประกอบด้วย ๕ สีหลัก คือ สีแดง ขาว น�้ำเงิน เขี ย ว เหลื อ ง ซึ่ ง มี ค ติ ม าจากแนวคิ ด เรื่ อ ง ธยานิพุทธะที่แทนด้วยธาตุ และองค์คุณแห่ง ปัญญา ๕ ประการ คือ พระไวโรจนพุทธะ สีขาวแทนสภาวธรรมที่เกี่ยวกับความหลงที่ แปรเปลี่ยนความรู้อันสูงสุด แทนด้วยอากาศ ธาตุ-สีขาว, พระอักโษภยพุทธะ แทนสภาว ธรรมเกีย่ วกับความโกรธ ทีแ่ ปรเปลีย่ นสูป่ ญ ั ญา อันดุจกระจกเงา แทนด้วยธาตุน�้ำ-สีน�้ำเงิน, พระรั ต นสั ม ภวพุ ท ธะ แทนสภาวธรรม เกี่ยวกับทิฐิมานะความถือตัวที่แปรเปลี่ยน สู ่ ค วามตระหนั ก ในความเท่ า เที ย มกั น ใน สรรพสิ่ง แทนด้วยธาตุดิน-สีเหลือง, พระ อมิตาภพุทธะ แทนสภาวธรรมทีเ่ กีย่ วกับความ
ปรารถนาอันแปรเปลี่ยนสู่ความตระหนักรู้ ในความเมตตากรุณา แทนด้วยธาตุไฟ-สีแดง และพระอโมฆสิทธิพุทธะ แทนสภาวธรรม ทีเ่ กีย่ วกับความริษยาทีเ่ เปรเปลีย่ นสูค่ วามยินดี ในความสุขของผู้อื่นแทนด้วยธาตุลม-สีเขียว รู ป ทิ เ บตนอกจากจะอิ ง ธรรม แบบนี้ ในเรื่ อ งสี แ ล้ ว ยั ง อิ ง ในเรื่ อ งองค์ ป ระกอบ ภาพที่ประกอบด้วยบรรยากาศ ที่ประกอบ ด้วยธาตุทั้ง ๕ และมีพระคติในวาดวงแผ่น พระอาทิตย์และพระจันทร์ ทั้งในฐานบัวมี การวาดพระอาทิตย์-พระจันทร์บนวิวท้องฟ้า ในรูปพระบฏด้วย ในทางพุทธวัชรยานถือเอา พระอาทิตย์เป็นสัญญะแทนเพศหญิงที่มีระดู กับพระจันทร์แทนเพศชายที่มีอสุจิ และเอา ดอกบัวแทนมดลูก เมื่อมดลูก อสุจิและไข่ รวมกัน จึงก่อเกิดซึ่งสรรพสิ่ง ความสุขของการท�ำงานนี้คืออะไร ความสุ ข ในงาน คื อ การได้ อ ยู ่ กั บ สิ่ ง ที่
ศรัทธา ได้ศกึ ษาพุทธธรรม รวมถึงเรือ่ งศาสนา อื่นๆ ได้แสดงอุดมคติที่อยู่ในใจผ่านรูปภาพ การวาดรูปอาจเป็นวิธกี ารหนึง่ ในการแสวงหา หนทางทางจิตวิญญาณ ได้เรียนรู้ตนเองผ่าน อารมณ์ของภาพทีป่ รากฏ เป็นการเจริญสมาธิ แบบหนึ่งท�ำให้เรามีจินตนาการที่ดี เป็นแรง จูงใจไปสู่การเรียนรู้ ในริโวเชธรรมสถาน มีงานพุทธศิลปะใน แบบวั ช รยานเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของสถานที่ ปฏิบัติธรรม ที่ทุกสิ่งทุกอย่างมีความหมาย มีสญ ั ลักษณ์ทเี่ ป็นค�ำสอนซ่อนไว้ให้ทำ� ความ รู้จักทุกชิ้น ผลงานบางชิ้นของคุณธนพงศ์ที่ ได้ลงสีและวาดหน้าพระพุทธรูป และตกแต่ง ลงสี รู ป นู น สู ง ของครู บ าอาจารย์ ได้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของสั ญ ลั ก ษณ์ แ ห่ ง การบู ช า ท่ า มกลางพุ ท ธศิ ล ปะที่ ม าจากทิ เ บตแท้ ๆ และที่นี่ด้วย N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
C O V E R S T O R Y / WAT H I T S A I W I M A R N
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 47
WATHIT SAIWIMARN A THAI MUSICAL INSTRUMENT TEACHER - THE MAN BEHIND HANDMADE THAI MUSICAL INSTRUMENTS AND THE FOREGROUND OF THAI MUSICAL INSTRUMENT PLAYING BY HEART
วาทิต ไทรวิมาน ครูดนตรีไทย ผูเ้ ป็นทัง้ เบือ้ งหลัง ของการท�ำเครื่องดนตรีไทย ด้วยมือ และเบื้องหน้าของการ ให้เสียงดนตรีด้วยใจ ตรงข้ามวัดพระนอน บางพลี ตึกแถวเล็กๆ ทีอ่ ยูเ่ ยือ้ งกับทางเข้าของวัดมีความอัศจรรย์ เล็กๆ ซ่อนอยู่ สถานทีแ่ ห่งนัน้ คือ ศูนย์เรียนรู้ ที่รวมการศึกษาเรื่องดนตรีไทยของชุมชน บางพลี และเป็นร้านเครื่องดนตรีไทยที่ท�ำ จากสองมือของทีมผูเ้ ชีย่ วชาญหลาย ๑๐ คน โดยมี ครูจอ้ น-วาทิต ไทรวิมาน เป็นผูถ้ า่ ยทอด ความรู ้ ใ นห้ อ งเรี ย นซึ่ ง เป็ น โรงงานเล็ ก ๆ ที่อยู่ด้านหลัง ight across from the Reclining R Buddha Temple in Bang Phli, a small building hides a miraculous Thai musical instrument learning center of Bang Phli Community and a Thai musical instrument shop all handcrafted by ten experts with Teacher Jon-Wathit Saiwimarn as the knowledge transferer in a little factory classroom in the back.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
ทันทีทกี่ า้ วเข้าไปในส่วนทีเ่ ป็นโถง แม้ไม่มี ชือ่ อะไรเขียนบอกเอาไว้กส็ ามารถรูไ้ ด้ดว้ ยการ มองว่า ทีน่ ไี่ ม่ใช่รา้ นขายเครือ่ งดนตรีธรรมดา แต่เป็นเหมือนบ้านของเครือ่ งดนตรีไทย ระนาด ซอ ซอสามสาย จะเข้ อยูใ่ นตูก้ ระจกด้านหนึง่ บ้ า งอยู ่ บ นโต๊ ะ กลางร้ า น อี ก มุ ม หนึ่ ง นั้ น มีแกรนด์เปียโนไม้โบราณหลังใหญ่ ทีด่ ไู ม่เข้าพวก เมื่อเทียบด้วยตระกูลดนตรี แต่ก็ไม่แปลกตา เพราะเป็นเครือ่ งดนตรีเหมือนกัน ครูจอ้ นไม่ใช่คนทีส่ มุทรปราการโดยก�ำเนิด แต่ได้มาตั้งรกรากที่สมุทรปราการเป็นเวลา หลายสิบปีแล้ว โดยแรกเริม่ นัน้ อยูท่ ปี่ เ่ ู จ้าสมิงพราย ก่อนย้ายมาอยูบ่ างพลี เปิดร้านท�ำเครือ่ งดนตรีไทย และสอนดนตรีไทย ตัง้ แต่สมัยทีบ่ างพลียงั มีแต่ ทุ่งไร่ทุ่งนา เขากล่าวต้อนรับเราด้วยน�้ำเสียง ไม่ตา่ งกับเสียงดนตรีทกี่ ล่อมเบาๆ แล้วเดินลิว่ น�ำไปทีด่ า้ นหลังของร้าน เพือ่ ไปยังโรงงานท�ำ เครื่องดนตรีด้านหลัง เปิดสวิตช์เครื่องขัดไม้ เพือ่ ขัดก้านซอสามสายให้มขี นาดพอดีสามารถ ประกบกับส่วนอืน่ ได้ลงตัว และพูดคุยกับเรา อย่างอารี พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
เห็นมีเปียโนตัง้ อยูใ่ นร้าน ไม่เคยทราบมาก่อน ว่าครูทำ� เครือ่ งดนตรีตะวันตกด้วย ไม่ได้ทำ� ครับ แต่เล่น ตอนนีก้ ำ� ลังหัดเรียน เล่นเปียโน ผมเพิ่งซื้อแกรนด์เปียโนโบราณ มาจากร้านขายของเก่าทีม่ าจากปารีส หลังนี้ อายุ ๑๓๐ ปีแล้ว อายุมากกว่าผมเท่าหนึ่ง (เสียงติดข�ำ) และผมต้องไปเรียนกับอาจารย์ที่ บ้านของเขา เพราะอาจารย์ผมก็อายุ ๘๕ แล้ว อยากให้ ค รู ช ่ ว ยเล่ า เรื่ อ งการมาอยู ่ ที่ สมุทรปราการ การเริ่มต้นงานดนตรีไทย และท�ำเครือ่ งดนตรีไทยให้ฟงั หน่อย ผมเริม่ เล่นดนตรีไทยตัง้ แต่ ๔-๕ ขวบ ขโมย ซอของพ่อมาสี และเป่าขลุย่ ได้ เล่นตอนทีพ่ อ่ เผลอ พ่อผมแอบฟังก็เห็นว่าใช้ได้เลยต่อเพลงให้ ส่วนมากแล้วผมจะใช้วิธีจ�ำเอาเอง จ�ำได้ว่า เสียงเป็นยังไง เล่นไปจ�ำไป จ�ำจากพ่อที่เล่น จ�ำการวางมือและการจับเครือ่ งดนตรีของพ่อ แล้วเวลาทีพ่ อ่ สีซอ ผมก็รอ้ งจังหวะนอย นอย นอยตามไปด้วย ในเวลาพ่อไม่สี ผมก็สีเอง ตามเสียงทีเ่ คยร้องตาม ปรากฏว่าเล่นได้ทงั้ ซออู้ ซอด้วง พอจบ ป. ๔ พ่อก็พาผมมาฝากไว้ทรี่ า้ น
Soon as we step into the hallway, we realize this is not an ordinary musical instrument shop but rather a house of traditional Thai musical instruments. A collection of xylophone, Saw (a Thai fiddle), Saw Sam Sai (Three stringed fiddle) and Cha Khe (a Thai zither) are displayed both in a glass cabinet and on the table in the middle of the room. Oddly, there is also a large traditional grand piano sitting in one corner. Teacher Jon was not born a Samutprakan local but he has been living here for a couple of decades. At first, he lived in Pu Chao Saming Phrai area before moving to Bang Phli and opened a Thai musical instrument shop and has been teaching Thai musical instruments ever since Bang Phli was still covered with endless rice paddy fields. He warmly welcomes us in a mellow musical tone of voice and leads us straight to his musical instrument factory in the back. While polishing a Saw Sam Sai handle to the right proportion, he kindly gives us an interview.
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
We saw a piano in the shop. We didn't realize you also make western musical instruments? I actually don't but I'm learning to play. I' ve just bought a traditional grand piano from an antique shop from Paris. The piano is over 130 years old which is twice my age (giggles) and I have to take lessons at my teacher's house as he is now 85 years old. Would you please share how you first came to Samutprakan and started your career with traditional Thai musical instruments? Back when I was four or five years old, I always snuck out my father's Thai fiddles and flutes to play when he was not looking. He secretly listened and realized I played quite alright so he taught me more songs. Mostly, I memorized the sound and how my father placed or moved his hands while playing each instrument. Sometimes when he fiddled, I would sing Noi Noi Noi along and when he did not, it turned out I could play both Saw U and Saw Duang along the notes in my head. Back in 1967, I was only 15 years old when I started learning and crafting Thai traditional musical instruments at Duriyaban Shop at Khok Wua intersection, a place owned by the grand children of Luang Pradit Phai Roh since the reign of King Rama II. Having mastered the skills and became a father, I decided to set up my own factory and expand my business when I was 23-24 years old. For the past fifty-one years, making musical instruments had always nurtured my life and soul and this factory has been here since 1980. You have broad skills in making various types of Thai traditional musical instruments where each intricate process requires to be made by hands from shaping the wood with a lathe, carving patterns on to different materials to tightening strings on the instrument.
ท�ำเครือ่ งดนตรีไทย ท�ำเครือ่ งดนตรีตงั้ แต่อายุ ๑๕ จาก พ.ศ. ๒๕๑๐ โดยเริ่มเป็นลูกจ้างที่ร้าน ดุริยบรรณ ที่อยู่ตรงสี่แยกคอกวัว ร้านนี้เป็น หลานของคุณพระประดิษฐไพเราะจากสมัย รัชกาลที่ ๒ ผมท�ำเครือ่ งดนตรีทกุ ชนิด ศึกษา และท�ำจนเชี่ยวชาญ ก่อนจะตัดสินใจออกมา ตั้งโรงงานเองตอนอายุ ๒๓-๒๔ เพราะมีลูก ครอบครัวเราใหญ่ขึ้น ต้องขยับขยาย การท�ำ เครือ่ งดนตรีคอื การหล่อเลีย้ งชีวติ มาตลอดชีวติ ถึ ง วั น นี้ ผ มท� ำ เครื่ อ งดนตรี ม าแล้ ว ๕๑ ปี โรงงานนีย้ า้ ยมาอยูท่ นี่ ตี่ งั้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๓
ครูมที กั ษะในการท�ำเครือ่ งดนตรีไทยหลากหลาย ที่ทุกชิ้นต้องผ่านมือคนท�ำทุกขั้นตอน ไม่ว่า จะเป็นการกลึงไม้ แกะลายบนวัสดุ ไปจนถึง ขึงสาย ผมท�ำเป็นทุกอย่าง รูจ้ กั วัสดุทงั้ หมด วัสดุทำ� เครือ่ งดนตรีไทยมีหลากหลาย และมีอยูห่ ลายที่ หลายทาง อย่างไม้ชิงชันก็ซื้อมาจากจังหวัด กาญจนบุรี ตอนนีก้ ม็ กี ารใช้เสาบ้านเก่าทีร่ อื้ มา จากทางอีสาน เอามาตัดมาเลือ่ ย เอามะเกลือ พะยูง ชิงชัน เอามาท�ำเครื่องดนตรีได้ดี หรือ ไม้แก้วจากต้นแก้วก็ทำ� ได้ดี ต้นแก้วทีใ่ หญ่เท่า N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
I know all the processes, materials and their resources. For example, R o s e wo o d i s b o u g h t f ro m Kanchanaburi province and antique wooden pillars from demolished houses in Isarn (Northeast of Thailand). The wood from Ebony trees, Siamese Rosewood and Rosewood are nice materials but wrist-sized wood of orange jasmine trees are plainly white and a beautiful addition to Saw Sam Sai, which I best specialize in making. A lot of people keep coming to me to learn how to make these musical devices and I have never held back any knowledge. I teach because I literally want them to be good at it. Most importantly, I take them under my wings as my employees and have their hands on each crafting process with all attentive details to ensure the finest sound quality regardless of the time consumed. The most basic Saw Sam Sai takes a week to complete and costs 15,000 baht. Every process is very important as they are inherited from our ancestors. Saw Sam Sai, for example, was originated in Sukhothai period and could only be performed within the palace. W h a t d o Th a i t ra d i t i o n a l musical instruments mean to you? It started out fun, grew into love and has gradually become an essential part of my life, my daily routines, my future and a public service. Here, we also teach how to play Thai musical instruments without being concerned too much about how much money we are going to make but more about how it helps improve a person's mind, memories and happiness. Not a single minute goes by meaningless in Teacher Jon's life. He spends his whole life making and teaching Thai traditional musical instruments and manages to fulfill more happiness by seeking to learn a new instrument like piano. "The first song I learned to play was Klai Rung or Near Dawn, a musical composition by His Majesty the late King Bhumibol. Believing no one is too old to learn, I, too, will keep on learning."
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 51
ข้อมือจะขาวสะอาด สวย ท�ำเป็นซอสามสาย ผมถนัดท�ำซอสามสายทีส่ ดุ มี ค นมาเรี ย นท� ำ เครื่ อ งดนตรี กั บ ผมอยู ่ เรื่อยๆ เยอะมาก เขามาเป็นลูกน้อง ผมไม่ หวงวิชาอะไรเลย อยากสอนอยากให้ท�ำเป็น ที่ส�ำคัญคนอยากเรียนก็ต้องมาเป็นลูกน้อง หรือคนทีจ่ ะท�ำ เพราะเราต้องเอาเขามาบ่มเพาะ ในโรงงานให้ ล งมือท�ำด้ว ยกัน ทุก ขั้น ตอน ของทุกเครื่องดนตรีมีความละเอียดและซับ ซ้อน ต้องท�ำอย่างมีคณ ุ ภาพ ละเอียด และยัง ต้องให้เสียงทีด่ ดี ว้ ย ทุกชิน้ ต้องใช้เวลา อย่าง ซอสามสายตัวทีธ่ รรมดาทีส่ ดุ ใช้เวลาประมาณ
๑ สัปดาห์ในการท�ำ ราคาตกที่ ๑๕,๐๐๐ บาท ทุกขัน้ ตอนส�ำคัญมาก เพราะเป็นเครือ่ งดนตรี ทีส่ บื ทอดมาจากบรรพบุรษุ อย่างซอสามสาย ก็มาจากสมัยสุโขทัย เคยใช้เล่นในวัง ตอนหลัง ก็ออกมาอยูน่ อกวัง ดนตรีไทยส�ำหรับครูมคี วามหมายอย่างไร ตอนแรกทีท่ ำ� เป็นก็สนุก ต่อมากลายเป็น ความรัก ท�ำไปนานๆ เข้าเขาก็มาอยู่ในชีวิต เป็นกิจวัตร เป็นอนาคต และบริการประชาชน ไปด้วย ที่นี่เราสอนดนตรีไทยโดยไม่ได้คิด เรื่องเงินทองเท่าไหร่ การเล่นดนตรีช่วยเรื่อง
สติปญ ั ญาและความจ�ำ และท�ำให้มคี วามสุข ในแต่ละวันของครูจอ้ นไม่มนี าทีไหนเลยทีจ่ ะ ผ่านไปอย่างไร้ประโยชน์ เขาใช้เวลาไปกับ การผลิตเครื่องดนตรีหรือสอนดนตรีอย่างที่ ได้ทำ� มาทัง้ ชีวติ และยังหาเวลาเติมความสุข ให้ตวั เองด้วยการเรียนรูเ้ ครือ่ งดนตรีใหม่ชนิ้ ใหม่ อย่าง เปียโน “ผมหัดเล่นเพลงแรกคือ เพลงพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ คือ เพลงใกล้รงุ่ เพราะการเรียนไม่มคี ำ� ว่าแก่ ผมเองก็จะเรียน ไปเรือ่ ยๆ” N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
C O V E R S T O R Y / B A M R U N G P O O N S AWA D H I
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 53
BAMRUNG POONSAWADHI FROM LOCAL WISDOM TO A WHOLEHEARTED WEAVING CRAFT BY A 65-YEAR OLD ARTIST
บ�ำรุง พูลสวัสดิ์ ภูมิปัญญาพื้นถิ่น ของศิลปินวัย ๖๕ กับงานฝีมือที่สานด้วยใจ
ศิลปินไม่ได้หมายความถึงแค่ใครสักคนที่ ถือสีหรือพู่กันไว้ในมือ แต่เพราะศิลปะคือ การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ให้เกิดขึ้นเพื่อความ จรรโลงใจต่อผูค้ นและโลกใบนี้ งานสานตะกร้า ของ คุ ณ ป้ า บ� ำ รุ ง พู ล สวั ส ดิ์ จากชุ ม ชน บางด้วน จึงเป็นงานศิลปะที่ต้องเรียกว่า ทุกชิ้นคือมาสเตอร์พีซ เพราะแม้ผลงาน ของคุณป้าจะไม่ได้ถูกน�ำไปเข้ากรอบ หรือ จัดแสดงตามแกลเลอรี แต่เชือ่ ไหมว่า แค่เห็น ตะกร้าฝีมือคุณป้าวางอยู่ ใครก็ต้องอยาก เดิ น เข้ า ไปหยิ บ จั บ ซึ่ ง ผลงานทุ ก ชิ้ น ของ คุณป้าอาศัยประสบการณ์ยาวนานนับ ๑๐ ปี และการฝึกฝนด้วยตัวเอง n artist does not simply mean A anyone with a painting brush as art is creating something new, original and and inspiring to other human beings and the world. Through decades of experiences and endless practices, every basket elaborately woven by Aunty Bamrung Poonsawadhi from Bang Duan Community is, thus, a masterpiece.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
Before basket weaving, what did you do for a living? I worked at Aoyama for forty years until I found out I had cancer in my jaws. After the surgery, I stressed myself out as I laid still in bed not capable of doing anything but watching the planes taking off through the windowpane. One day, a friend of mine dropped by to teach me how to weave a flat basket but I just couldn't. At one point, I was so mad at myself why I was so dumb even after proper lessons so after the teacher left, I closed my eyes, tried to recall the lessons and kept practicing over and over. If any piece turned out a mess, I just threw it away. I'm a perfectionist that only delivers the best and not otherwise. Having mastered the skills, university lecturers star ted taking their students to practice the basket weaving with me. Where did you learn to design the basket? I keep practicing on my own but whenever I have a chance to go out or check out exhibitions in the malls, I would infuse those inspiration into a new art piece. Nevertheless, it is important to plan first what purpose each is supposed to serve. For instance, those tiny baskets were made to plate the flower garland to offer to Buddha images. They are neatly and tightly made and can last up to a hundred years. Unlike brittle coconut stems, nipa palm stems are much stronger and durable especially when lacquer coated. Is the income wor th hours invested in weaving each basket? It is enough to keep me alive. These days, I can only have a spoon of food a day and most of my income basically goes to donation. So, if I hear a bargain, I would ask them not to. If I want to give a discount, I would have offered it myself. I put my whole heart crafting these baskets, thus, bargaining is disrespecting. If you want to
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 55
complain why they are so expensive, I dare you to come and weave your own basket. I will even teach you for free. Occasionally, I give away my baskets for free to those who need a life opportunity to further enhance their skills or career. I am a fighter and I have fought my whole life even when I had a cancer and people expected me to die in no time, I insisted "No, I will live."
ก่อนจะมาสานตะกร้า คุณป้าท�ำอะไรมาก่อน ฉันเคยท� ำ งานอยู ่ บริ ษั ท ของอาโอยามะ มา ๔๐ ปี จนวันหนึง่ เป็นมะเร็งทีก่ ราม พอไป ผ่าตัด แล้ ว กลั บมานอนอยู ่ บ้ า นเฉยๆ ก็ เ กิ ด อาการเครียด ตอนนั้นวันๆ ได้แต่มองออกไป นอกหน้าต่างว่าเครื่องบินขึ้นตอนไหน กี่ล�ำ แล้ว (จากบ้านคุณป้ามองเห็นเครือ่ งบินขึน้ -ลง ได้) จนมีเพื่อนถือกระจาดมาหาที่บ้านใบหนึ่ง พาคนมาสอนท�ำด้วยนะ แต่ตอนนั้นเขาสอน ยังไงเราก็ท�ำไม่เป็น จนวันหนึ่งถามตัวเองว่า “ท�ำไมเราถึงโง่นัก ท�ำไมเขาสอนแล้วเรายัง ท�ำไม่เป็นอีก” ตอนนัน้ ฉันก็ตบตัวเองเพราะโกรธ ตัวเอง พอคนทีส่ อนเขากลับไปแล้ว ฉันก็เริม่ มา ลองฝึกเอง ใช้วธิ หี ลับตา นึกถึงเสียงทีเ่ ขาสอน และก็ท�ำออกมา ฉันลองผิดลองถูกไปเรื่อยๆ อันไหนท�ำไม่ดี ทิง้ เลย เพราะฉันเป็นคนทีถ่ า้ ท�ำ
อะไรแล้วต้องดี ไม่ดไี ม่เอา ฝึกไปเรือ่ ยๆ ก็ชำ� นาญ เริ่มมีอาจารย์ตามมหาวิทยาลัยพานักศึกษา มาฝึกสานตะกร้ากับฉัน วิธกี ารออกแบบตะกร้า คุณป้าได้มาจากไหน ฉันก็ลองท�ำของฉันไปเรื่อยๆ หรืออย่างมี โอกาสได้ออกไปเทีย่ ว ไปเห็นงานตามห้าง ฉันก็ จะเอามาคิดต่อ เอามาดัดแปลงผสมผสานให้เป็น งานชิน้ ใหม่ แต่กต็ อ้ งคิดด้วยนะว่าตะกร้าแต่ละ แบบจะเอาไปไว้ใช้ทำ� อะไร อย่างใบเล็กๆ พวกนัน้ ฉันตัง้ ใจท�ำส�ำหรับเอาไว้ใส่พวงมาลัยถวายพระ งานพวกนีแ้ น่นหนานะ อยูไ่ ด้เป็นร้อยปี เพราะ จากนีม่ นั ทน ไม่เหมือนกับมะพร้าวซึง่ มันเปราะ ตะกร้าพวกนี้ยิ่งทาแล็กเกอร์ยิ่งสวย อยู่ไปได้ เรือ่ ยๆ เป็นร้อยปี
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 57
Besides the earnings, what else have you discovered from basketery? Working on these baskets is a form of meditation. There is no such thing as I only do it when I feel like it and if I don't, I won't. Recently, when I demonstrate basket weaving at events, people often invite me to move and work at different places but I refuse them all. This is my home. I want to let others know Samutprakan, too, has wonderful treasures. The quality of work is not defined by age but rather what we passionately believe in. If you are interested in Aunty Bamrung's work, please contact 087-017-9765.
รายรับทีไ่ ด้กลับมามันคุม้ ไหม กับเวลาหลาย ชัว่ โมงทีเ่ สียไปต่อการสานตะกร้า ๑ ใบ ก็พอกินนะ เพราะได้เงินมาฉันก็ไม่ได้เอา ไปท�ำอะไรนักหรอก ข้าวทุกวันนี้ก็กินได้แค่ วันละช้อน ได้เงินมาส่วนมากก็เอาไปท�ำบุญ ทุกวันนี้เวลาใครมาซื้องานฉันแล้วต่อราคา ฉันจะบอกเลยว่าอย่าต่อ ถ้าจะให้เดีย๋ วฉันให้เอง ฉันท�ำงานพวกนีด้ ว้ ยใจบริสทุ ธิ์ การมาต่อราคา มันไม่ให้เกียรติคนท�ำ อย่าบ่นว่าแพง และถ้า จะบ่นก็ให้มานัง่ ท�ำกับฉันเลยมา ฉันท้าเลยนะ ฉันสอนให้ฟรีดว้ ย บางทีเขาไม่มตี งั ค์ ฉันเคยยก ชิน้ งานให้เลยก็มี มีคนเคยถามว่าแล้วฉันจะให้ เพือ่ อะไร ฉันบอก ฉันเรียกมันว่าเป็นขวัญถุง ที่ฉันอยากให้คนที่เขาต้องการโอกาส ได้เอา ไปต่อยอดในการท�ำงาน ฉันเป็นคนท้าทาย คนนะ เป็ น คนสู ้ ชี วิ ต ไม่ งั้ น ไม่ อ ยู ่ ม าถึ ง
ตอนนีห้ รอก อย่างตอนทีเ่ ป็นมะเร็งใครก็บอก ฉันตายแน่ ฉันบอกไม่ ฉันจะไม่ตาย นอกจากรายได้ แ ล้ ว คุ ณ ป้ า ค้ น พบอะไร อีกบ้างจากการนัง่ สานตะกร้า ท�ำพวกนีเ้ หมือนนัง่ สมาธินะ ไม่ใช่วา่ มีอารมณ์ กูก็ท�ำ ไม่มีอารมณ์กูก็ไม่ท�ำ ทุกวันนี้เวลาไป นัง่ สานให้คนดูตามงานต่างๆ จะมีคนชอบมา ชวนฉันให้ยา้ ยไปท�ำงานทีน่ นั่ ทีน่ ี่ ฉันบอกไม่เอา ฉันจะท�ำที่นี่ นี่บ้านเรา ฉันอยากให้คนอื่นได้ เห็นว่าสมุทรปราการเราก็มขี องดี อายุ ไ ม่ ใช่ ตั ว ก� ำ หนดหั ว ใจในการท� ำ งาน แต่ ไ ฟของการท� ำ งานถู ก ก� ำ หนดด้ ว ย ตัวเราเอง จากความเชือ่ ในสิง่ ทีท่ ำ�
สนใจผลงานของ คุณป้าบ�ำรุง พูลสวัสดิ์ ติดต่อ โทรศัพท์ ๐๘๗๐๑๗ ๙๗๖๕ N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
C O V E R S T O R Y / WAT TA N A P O O L C H A R O E N
WATTANA POOLCHAROEN THE CANVAS OF KHLONG BANG CHALONG ARTIST
วัฒนา พูลเจริญ ผืนผ้าใบของศิลปิน จากคลองบางโฉลง
ศิลปะไทยผสมผสานด้วยความงามวิจิตร ละเมียด ละไม เป็นเรื่องของวิถีชีวิต ประวัติศาสตร์ ศาสนา ความเชื่อ ฯลฯ ที่ถูกบันทึกไว้บนผืนผ้าใบหรือวัสดุ อื่นๆ ตามแต่ศิลปินจะรังสรรค์ ทว่ากับยุคสมัยที่ เปลี่ยนไป การถ่ายทอดศิลปะไทยให้กับเด็กรุ่นใหม่ ด้วยรูปแบบเดิมๆ ก็เป็นเรือ่ งยากทีค่ นรุน่ ใหม่จะสนใจ อาจารย์วัฒนา พูลเจริญ ศิลปินชาวสมุทรปราการ ผู ้ มี ค วามชื่ น ชอบในศิ ล ปะแบบอิ ม เพรสชั น นิ ส ม์ และมีชีวิตที่สัมพันธ์กับคลองและทุ่งนามาตั้งแต่เล็ก จึงใช้วิธีปรับทิศทางของการสร้างสรรค์งานศิลปะ ให้เข้ากับคนรุ่นใหม่ ไม่ใช่เพราะอยากเอาใจใคร แต่ เ พื่ อ ให้ เรื่ อ งของหนุ ม านกลายเป็ น ประเด็ น ที่ ใครก็สามารถหยิบมานั่งคุยกันตามคาเฟ่เก๋ๆ ได้ ในทุกยุคทุกสมัย nfused with exquisite details of people's IThai way of life, history, religion,beliefs ect., fine art was commonly portrayed on
canvases or other materials depending on artists. However, in an era of change, portraying such art to the new generations in the same old patterns can be rather challenging. Thus, Ajarn Wattana Poolcharoen, a Samutprakan artist, explored alternatives to creatively tune Thai art direction to today's lifestyle with hope to translate sophisticate stories like Hanuman into a re l at a b l e to p i c a nyo n e c a n h ave a discussion in any chic and cool cafe in any period of time.
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 59
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
ในฐานะทีอ่ าจารย์เป็นคนสมุทรปราการ แต่กำ� เนิด อาจารย์เห็นความเปลีย่ นแปลง อะไรเกิดขึ้นที่นี่บ้าง ตัวผมเองอยู่ที่นี่มาตั้งแต่เด็ก เคย ท�ำงานโฆษณาอยู่ ๑๐ กว่าปี เป็นมาหมด เกือบทุกต�ำแหน่งแล้ว จนวันหนึ่งช่วง วิกฤติเงินบาท สถานการณ์ของเอเยนซี่ เองก็ พ ากั น แย่ ห มด ตอนนั้ น ผมเลย ถื อ โอกาสเลิ ก เลยดี ก ว่ า เพราะอยาก เขี ย นรู ป เนื่ อ งจากตั ว เราเองก็ เรี ย น จิตรกรรมมา แต่ช่วงที่ไปท�ำงานโฆษณา นั่นก็เพราะเพื่อนชวน ส่วนก่อนหน้าที่ จะท�ำงานโฆษณาก็เคยเป็นครูสอนศิลปะ อยู่ที่กาญจนบุรี ๙ ปี จนพอมาท�ำงาน โฆษณาก็ย้ายกลับมาอยู่สมุทรปราการ ถ้าให้ย้อนกลับไปเมื่อสมัยช่วงผม เด็กๆ ตอนที่ยังไม่มีความเจริญขนาด ทุกวันนี ้ สมัยทีย่ งั ไม่มถี นนบางนา-ตราด ก็ต้องใช้วิธีนั่งเรือเอา เวลาจะไปโรงเรียน ตรงบางพลีก็ต้องนั่งรอเรือยนต์ที่แล่น ผ่านมา จนพอมัธยม ผมก็เริ่มมีเรือและ ขับเอง เป็นเรือสองตอนสั้นๆ มีน้องนั่ง ตรงหัวเรือไปด้วย เวลาเห็นเรือเขาขับกัน เราก็จะปล่อยให้เขาไปกันก่อน แล้วค่อย ไปขับแซงเขาตรงข้างหน้า โห…ตอนนั้น เราเปรีย้ วมาก แถวบ้านผมนีแ่ ต่กอ่ นเป็น นาหมดเลย คนแถวนี้ (คลองบางโฉลง) ท�ำนากันหมด ผมชอบมาก สมัยเด็กๆ ผมเองยังเกือบจะไม่ได้เรียนหนังสือแล้ว ด้วยซ�้ำเพราะอยากจะท�ำนา ทุกวันนี้ ยังนึกอยู่เลยว่า รู้อย่างนี้ตอนนั้นท�ำนา น่าจะดีกว่า รวยดี เพราะที่แถวนี้ตอนนี้ แพงมากเลยนะ มีพวกญาติที่ไม่ได้เรียน แต่ท�ำนา สมัยก่อนเขาก็เลี้ยงปลาอะไร ไปตามประสา จนพอวันที่ถนนตัดผ่าน เท่านั้นละ ตอนนี้พวกเขารวยกว่าเรา ที่เรียนหนังสือสูงๆ มาเสียอีก
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 61
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
สมัยเด็กชีวิตผมจะอยู่กับคลองมากกว่า โดดน�้ำเล่นน�้ำ งมปลางมกุ้ง เอามือลงไป คล�ำๆ ก็เจอแล้ว จนวันหนึ่งสัตว์น�้ำพวกนั้น มันก็หายไปเพราะเริ่มมีการใช้สารเคมีฉีด ไล่แมลง ปลาหลด ปลาหมอช้าง หายหมด เลยนะ จ�ำได้วา่ ตอนเด็กๆ เราจะชอบเอาสวิง ไปเดินเลาะจับปลาตามเขื่อนที่อยู่หน้าบ้าน เพือ่ จับปลามากิน มีความสุขมาก คนสมัยนัน้ ใช้ชีวิตกันเรียบง่าย เวลาเขาท�ำกับข้าวกัน ก็จะตักใส่ถ้วย พายเรือเอาไปแจกให้ญาติ กินกัน ทุกวันนี้ภาพแบบนั้นไม่มีแล้ว วั น แรกของการลาออกจากงานโฆษณา ซึ่งมีรายได้เหยียบแสนเพื่อมาเป็นศิลปิน เต็ ม ตั วกั บ รายได้ ซึ่ง ยั ง ไม่มีอ ะไรแน่นอน วันนั้นรู้สึกอย่างไรบ้าง รูส้ กึ ดีนะ ตอนนั้นผมอายุสัก ๕๐ ช่วงนั้น
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
เศรษฐกิจมันแย่มากจริงๆ และในความที่เรา เป็นหัวหน้าคนที่บริษัทโฆษณา การต้องเอา คนนัน้ ออกคนนีอ้ อกในช่วงนัน้ มันเครียดมาก พอหลุดออกมาได้รู้สึกโล่ง มันเป็นช่วงเวลา ที่เรามาเริ่มรื้อฟื้นทักษะทางศิลปะ เริ่มเขียน สีน�้ำอะไรไปเรื่อยๆ ไอ้เรื่องเงินเราเองก็อาจ จะไม่ มี เ งิ น มากเหมื อ นตอนที่ ท� ำ โฆษณา แต่ตอนนั้นถ้าจะให้อยู่ท�ำต่อก็คงไม่เอาแล้ว มันเบือ่ แต่ตอ้ งบอกว่าในช่วงชีวติ หนึง่ ส�ำหรับ คนหนุ ่ ม ๆ สาวๆ งานโฆษณาเป็ น อะไรที่ ท้ า ทายดี มั น มี เรื่ อ งของการตลาดมาคุ ม ตลอด ถือเป็นการท�ำงานตอบโจทย์การตลาด แต่ไม่เคยตอบโจทย์ชีวิตตัวเราได้เลย ในฐานะศิลปินไทย อาจารย์มวี ธิ ปี รับรูปแบบ งานให้เข้ากับวิถีของคนยุคใหม่อย่างไร ก็ตอ้ งท�ำให้มนั ร่วมสมัย ให้คนรุน่ ใหม่รบั ได้
ไม่ใช่เขียนเป็นลายเส้นลายไทยหรือภาพไทย เพราะคนเขาจะไม่สนุกไม่ตนื่ เต้นกับมันหรอก ถ้าเราคุยกับคนรุ่นใหม่ จะมาท�ำงานไทยจ๋า ไม่ได้ เขาจะบอกว่าตาคนนี้เชยมาก เราก็ ต้องท�ำให้มันร่วมสมัยขึ้น อย่างเราเอง เราก็ น� ำ เสนอเป็ น แบบอิ ม เพรสชั น นิ ส ม์ อย่ า ง งานโขน พอผมได้ไปดูโขนมาแล้วเกิดความ ประทับใจ ก็ใช้วิธีการน�ำเสนอโขนออกมา ในรูปแบบสีสัน ที่เมื่อคนได้ดูแล้วจะรู้สึก ตื่นเต้นกับมัน เราไม่สามารถหยุดเข็มนาฬิกาของโลกได้ แต่ในบทบาทของศิลปินผู้สร้างและส่งต่อ แรงบันดาลใจแล้ว เราสามารถคิดค้นและ ปรับรูปแบบในการน�ำเสนอผลงานของเรา เพื่อให้เข้าถึงคนรุ่นใหม่ได้ มันคือการส่ง ช่วงต่อทางมรดกและวัฒนธรรม
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 63 As a Samutprakan local by birth, what are the changes you have witnessed here? I've been here since I was a child and spent more than a decade in almost every position in advertising business. It was when Tom Yum Kung crisis nearly brought down the whole industry that I decided to quit and follow my heart to paint. Before moving back to Samutprakan to join an advertising agency, I finished with higher degrees in fine arts and was an art teacher in Kanchanaburi province for nine years. Back when I was a little boy when Bangna-Trat Road did not exist, I had to wait for the ferry boat to get to my school in Bang Phli and started to sail my own speed boat when I was in junior high school. In the past, Khlong Bang Chalong was covered with rice paddy fields. I loved rice farming so much I almost dropped out of school. May be, I should have chosen rice farming because the property in this area has become extremely pricey these days after the road cut. I mean my relatives, who kept growing rice and fish day by day, are now richer than those who actually finished high degrees. I spent my childhood mostly by the canal - happily diving, swimming and by quickly dipping my hands into the water, I could already catch some fishes and prawns until one day these aquatic animals disappeared due to the pesticide spray. Those days, people lived a simple life whenever they cooked, they would sail down the canal to share their food with their relatives. Sadly, such scene no longer exists these days. On the first day of leaving your advertising job that paid nearly a hundred-thousand baht a month to become a full artist with irregular income, how did you feel? Due to the dreadful economic situation, as a department head, I was so stressed out having to dismiss people. Once
I got out, I felt a great relief and started to revive my art skills. Although the income might not be as great as before, I couldn't possibly stay any longer. I must admit that as a youngster, advertising was indeed challenging and although I always had to tackle difficult marketing tasks I could never manage to solve my life tasks. As a Thai artist, how do you adjust your work to fit the lifestyle of today's generation? New generations are no longer enthused by authentic traditional Thai patterns or paintings. We have to make it more contemporary. For me, I choose
to interpret Thai fine arts through impressionism. When I was so impressed by a Khon performance (a Thai classical masked dance), I illustrated Khon in such vibrant colors that people got excited by the sight of it. No one can stop the clock from ticking but, as an artist who creates and ignites inspiration, we are fully capable of inventing and adjusting how we present our work to capture the heart of the new generation, which is a way of passing forward our dear cultural heritage.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
COV E R STO RY / S H I R A W I C H A I S U T T H I KU N
จากนักโฆษณา ผ่านการท�ำงานภายใต้ความ กดดั น เพราะอยากท้ า ทายตั ว เอง กระทั่ ง ไป สมัครงานเป็นผู้ช่วยช่างภาพ ที่ประสบการณ์ ชีวติ อันโชกโชนได้นำ� พาเขาไปสูก่ ารเป็นช่างภาพ แฟชั่นมืออาชีพรุ่นใหญ่ เป็นที่รู้จักดีในวงการ นิตยสารและแฟชัน่ เรานัง่ คุยกับ คุณเหน่ง หรือ ชิระ วิชัยสุทธิกุล ที่บ้านของเขาในย่านบางพลี ซึ่งสมัยแรกที่เข้ามาเห็นหมู่บ้านนั้น บางพลียัง เป็นทุ่งนาอยู่เลย lthough starting out as an advertiser A who kept challenging himself under pressure, with accumulated
lifetime experiences as a photographer assistant, it led him to a top-tier professional fashion photographer, widely reputed across the magazine and fashion industry. Today, we are having an interview with Neng-Shira Wichaisutthikun at his own house in Bang Phli area.
SHIRA WICHAISUTTHIKUN THE REALEST VOICE IS THE VOICES WITHIN
ชิระ วิชัยสุทธิกุล เสียงที่จริงที่สุด คือเสียงเต้นของหัวใจตัวเอง
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
คุณเป็นคนสุราษฎร์ธานีโดยก�ำเนิด ท�ำไมถึงมา อาศัยอยูท่ สี่ มุทรปราการ ตอนเด็กๆ เราเรียนช่างศิลป์ จากนั้นก็สอบ เข้าศิลปากร พอเริม่ ท�ำงานก็เริม่ ผ่อนบ้าน ใช้ชวี ติ เป็นช่างภาพ สมัยนัน้ หมูบ่ า้ นมักจะมาสร้างกันอยู่ นอกเมืองหมด ในกรุงเทพฯ จะมีแต่คอนโดฯ กับ พวกหมู่บ้านรุ่นเก่าๆ อย่างตรงสมุทรปราการนี่ เขาเรียกปริมณฑลนะ ซึ่งที่ดินตอนนั้นมันไม่แพง คนเขาก็มาลงทุนท�ำหมูบ่ า้ นกัน จ�ำได้เลย ตอนมา ดูที่นี่ แถวนี้เป็นทุ่งนาหมด เวลามองจากชั้นบน ของออฟฟิศของหมู่บ้านลงไป จะเห็นเป็นทุ่งนา หมดเลยนะ ตอนนัน้ เขาก�ำลังถมทีก่ นั
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 65
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
การเป็นคนอยูใ่ นแวดวงแฟชัน่ มีทงั้ เรือ่ งของ ชือ่ เสียงและเงินทอง คุณเคยเผลอลืมตัวหรือ หลงเตลิดไปกับสิง่ เหล่านัน้ บ้างไหม เราว่าเราเป็นคนที่ถ่อมตนนะ เสมอต้น เสมอปลาย มันคือการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ อยู่ ตลอดเวลาในสายงาน มันคือโอกาสของการได้ เจอคน ได้เดินทาง แต่โอกาสตรงนัน้ เราก็ไม่ได้ มองว่ามันคือเรื่องที่บันเทิงอย่างเดียว แต่มัน คือการได้เรียนรู้ชีวิต ได้เข้าสังคม คราวนี้พอ รูจ้ กั สิง่ ต่างๆ เหล่านัน้ แล้ว เราก็หยิบมันมาใช้กบั การด�ำเนินชีวิตของตัวเองอย่างมีสติ จนเวลา ผ่านไป เรามานั่งดูสิ่งที่เป็นไปในยุคนี้ เอ๊ะ ! มันก็ไม่ได้มีอะไรใหม่เลยนี่ สังคมสมัยก่อนใน ยุคของเรามันน่าสนใจกว่าอีก ยุคนีม้ นั ฉาบฉวย แต่ยคุ นัน้ เรารูส้ กึ ว่ามันเป็นเรือ่ งของตัวจริง ของ จิตวิญญาณ อาจจะเพราะว่าเทคโนโลยีทกุ วันนี้ ทีม่ นั เร็วเกินไป เลยท�ำให้คนพลาดโอกาสทีจ่ ะ ได้เจอกับความสวยงามจากความไม่รีบร้อน แบบที่คนสมัยก่อนเคยได้เจอกัน สมัยนั้นมัน ค่อยเป็นค่อยไป แต่สมัยนีถ้ า้ ช้าหน่อยก็จะทน กันไม่ค่อยได้ และมันก็ท�ำให้ความประณีต ความสุนทรีในสิ่งต่างๆ ที่ควรจะมีลดน้อยลง คุณค่าในการมองศิลปะเป็นการมองทีห่ ยาบขึน้ ไม่เหมือนในยุคและสังคมทีเ่ ราอยูใ่ นตอนนัน้ จากประสบการณ์ของคุณแล้ว สีสนั ในวงการ แฟชั่นมันสวยจริงอย่างที่คนภายนอกเห็น หรือเปล่า เวลาทีเ่ ราเห็นภาพคนนัน้ คนนีอ้ ยูใ่ นหนังสือ หรือตอนทีเ่ ขาโชว์ตวั เราอาจไม่เคยได้เห็นตอนที่ เขาก�ำลังนั่งท�ำงานอยู่ออฟฟิศ หรือในช่วงที่ สภาพจิตใจเขามีความกดดัน เพราะคนในสังคม ก็ตอ้ งโชว์ภาพดีๆ กัน ซึง่ จริงๆ แล้วความเหงา ความเบือ่ ความทุกข์ทกุ คนมีหมดแหละ แค่มนั ซ่อนอยูข่ า้ งใน ตัวผมเองก็เคยผ่านสิง่ เหล่านัน้ มาหมดแล้ว เรียนจบมา ท�ำงานโฆษณาเพราะ คิดว่ามันเท่ จนพอเข้าไปท�ำ มันมีแต่ความกดดัน ไม่มคี วามสุขเลย มันเป็นการท�ำทีเ่ พียงแค่อยาก เอาชนะ แค่อยากท�ำให้มนั ได้ จะได้ถกู โปรโมต ขึน้ ไปต�ำแหน่งทีส่ งู ขึน้ เป็นทีย่ อมรับในบริษทั จนอยูไ่ ด้ปเี ดียวก็รแู้ ล้วว่ามันไม่ใช่แล้วว่ะ ไม่ใช่ ทางของเรา ก็เลยลาออกไปสมัครงานเป็นผูช้ ว่ ย
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 67
You are Suratthani resident by birth. Why did you decide to live in Samutprakan? As a child, I studied art and design, enrolled to Silpakorn University and started paying mortgage when I started working as a photographer. Back then, villages were built out of town whereas condominiums and old traditional villages could only be found in Bangkok. Samutprakan was considered a vicinity of Bangkok. With inexpensive land property, many invested in transforming the far-stretching rice paddies into villages. Working in the fashion industry, have you ever found yourself caught up in fame and money? I believe I am a modest and consistent person. This career gives me a great opportunity to constantly learn
new things, meet new people, travel, understand more about life and socialization. I apply these knowledge to my life with cautious and realize nothing is truly new. In the past, art and life were interestingly interconnected down to spiritual level. On the contrary, in an era with fast-paced technologies, people grow more impatient, more superficial and miss out the opportunity to appreciate the meticulosity and aestheticity in life. According to your own experience, is the colorful life in the fashion industr y as beautiful as what outsiders perceive? We only see a person’s life beautifully portrayed in magazines, social media or at events but might never actually see them woking in the office, under
a mental pressure, suffering from loneliness, boredom and sorrow and I, myself, have been through it all. After graduation, I worked in an advertising agency because I thought it was cool but once I got in, there was an immense pressure and zero happiness. It was all about striving to win, pushing the limitation, getting promoted, being accepted in the company. It took me a year to realize the career was not for me. Thus, I decided to work as a photographer assistant at Lalana Magazine, which was what I loved and that was how I found my happiness. It was no longer the matter of compensation but it was the happiness and inspiration that encouraged me to go to work everyday, to take photos, to travel to other provinces to interview people the magazine had assigned me to. Such overwhelming happiness reminded me of my sorrow in the past and my junior
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
co-workers still working under pressure at offices but do not have the courage to break free. Although, I must admit I have seen many youngsters these days leaving their office job returning home to enhance agriculture or creatively top up their parents' work. I am glad that these people bravely break the so-called social norms that you must work in the city, must be respectable, must earn high income when the real question remains when you look back to your inner self, how do you really feel? Previously, you worked mainly in Bangkok and lived in Bang Phli but we have heard that you have been working on a documentary project in your hometown, Suratthani province. After years of fashion photography, at one point, there was nothing left to top it off and I felt the crave to take pictures the way I wanted to without having to follow anyone's concept. Magazine in our country is different from other countries with larger variety and indy styles. Once I grew tired, I prepared to bid farewell by traveling around to take portraits for exhibition,directed some commercial and music videos. During that time, I often visited my parents' house in Suratthani and every return, I would run into interesting stories that I had never realized as a kid. Thus, I tendered my script and received fundings from IDFA (International Documentary Film Festival Amsterdam). I spent those few years on making this film with only a few junior assistants. It was a small production with a lot of roaming around. That was when I learned that there is more than one route to every problem. We were too caught up in the city but then again, it was our luck that when life drove us to a dead-end, we had to step out of the city and ran into a whole new world that branched our thoughts. Let's just say it is important to quickly discover what you love and enjoy doing,that can also earn you a living. After an hour of conversation with such a modest photographer, we learn an important lesson that anyone can apply and adjust to his or her life. Never let yourself be lost in the noises around you but always listen to the voices within your heart what we truly live for and what your genuine happiness looks like.
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 69
หนังสารคดีทบี่ า้ นในจังหวัดสุราษฎร์ธานีดว้ ย พอถ่ายรูปมาเยอะ อยู่กับวงการแฟชั่น มามาก จนมันไม่มีอะไรที่เราจะต่อยอดกับ สิ่งที่เราท�ำได้แล้ว มันก็ถึงจุดหนึ่งของการ ที่เราอยากถ่ายรูปเพื่อสนองตัวเอง ไม่ต้อง ท�ำตามคอนเซปต์ใคร เพราะหนังสือบ้านเรา มันไม่เหมือนหนังสือต่างประเทศที่มีความ หลากหลาย มีหนังสืออินดี้เยอะ จนพอเริ่ม เบือ่ ปุบ๊ เราก็เตรียมสัง่ ลาเลย ด้วยการตระเวน ถ่ายรู ปพอร์ เ ทรตคนเพื่ อ จั ด แสดงงาน แต่ ระหว่างนัน้ ก็มกี ำ� กับหนังโฆษณากับมิวสิกวิดโี อ บ้างนะ ช่วงนั้นกลับบ้านพ่อแม่ที่สุราษฎร์ฯ บ่ อ ย พอกลั บ ไปทุ ก ครั้ ง ก็ จ ะเจอเรื่ อ งราว น่าสนใจหลายๆ เรื่องที่ตอนเด็กๆ เราไม่เคย สนใจเลย ก็ทำ� ออกมาเป็นบทหนัง และไปขอทุน ของ IDFA (International Documentary Film Festival Amsterdam-เทศกาลภาพยนตร์ สารคดีนานาชาติอัมสเตอร์ดัม) พอได้ทุนมา ในช่วงสองสามปีนั้น เราแทบจะไม่ท�ำงาน อย่างอืน่ เลยนะ ท�ำแต่หนัง มีแค่นอ้ งๆ ไปช่วย นอกจากช่ ว งก่ อ นหน้ า นี้ ที่ คุ ณ ท� ำ งานใน สองสามคน เป็นการถ่ายหนังแบบกองเล็กๆ กรุงเทพฯ เป็นหลัก และอาศัยอยูใ่ นบางพลี ขับรถตระเวนท�ำสารคดี มันเป็นจุดทีไ่ ด้เรียนรู้ แล้ว หลังๆ มายังเห็นคุณกลับไปท�ำโปรเจกต์ นะว่าเอาเข้าจริง หนทางมันก็มเี ยอะ เรามัวแต่
ช่างภาพที่นิตยสารลลนา ซึ่งพอได้ไปท�ำงาน ทีเ่ ราชอบ เราก็เลยมีความสุข มันไม่ใช่เรือ่ งของ ค่าตอบแทนว่าจะได้เท่าไหร่ แต่มนั กลายเป็นว่า ทุกวันเราอยากออกไปท�ำงาน อยากไปถ่ายรูป อยากออกไปต่างจังหวัด ไปถ่ายสัมภาษณ์คน ทีน่ ติ ยสารให้โอกาสกับเราไปท�ำ พอเจอความ สุขแบบนั้น มันก็ท�ำให้เราเห็นว่าความทุกข์ ทีผ่ า่ นมาว่าหน้าตามันเป็นยังไง และมันก็ทำ� ให้ เรานึกสะท้อนไปถึงน้องๆ หลายคนทีย่ งั ท�ำงาน อยูใ่ นบริษทั ต่างๆ ด้วยความกดดัน แต่ไม่กล้า ปลดแอกออกมา แต่กเ็ ห็นเยอะเหมือนกันนะ ที่เด็กสมัยนี้ลาออกจากงานเพื่อกลับบ้านเกิด ไปท�ำเรือ่ งของการเกษตร หรือกลับไปต่อยอด สิ่งที่พ่อแม่ท�ำไว้ นี่คือทางออกที่ถูกต้องนะ เราดี ใจนะที่ มี ค นกล้ า ที่ จ ะแหกกฎที่ สั ง คม บอกว่า คุณต้องท�ำงานในเมืองหลวง คุณ ต้องมีหน้ามีตา มีเปลือก ต้องมีเงินเดือนสูง มันคือการกลับมาถามสภาพจิตใจข้างในตัวเอง ว่าจริงๆ แล้วเรารูส้ กึ ยังไง
ไปติดกับเมืองหลวง แต่กอ็ กี นัน่ แหละ มันคือ ความโชคดีของเราด้วยที่ผ่านจังหวะชีวิตของ การไปเจอกับทางตัน จนท�ำให้เราต้องออกมา นอกเมือง จนไปเจอโลกใหม่ๆ ไปเจอวิถี ซึง่ มัน ช่วยต่อยอดความคิดเรา ต้องบอกแบบนี้ว่า ในเมื่อมันมีเงื่อนไข ว่ า มนุ ษ ย์ ต ้ อ งท� ำ งาน ถ้ า ไม่ ท� ำ งานก็ ไร้ ค ่ า แต่ ป ระเด็ น คื อ คุ ณ จะมี โ อกาสได้ ท� ำ งานที่ คุณรัก ที่คุณมีความสุขหรือเปล่า ถ้าคุณเจอ สิง่ นัน้ ก็ถอื ว่าโชคดี ฉะนัน้ เราต้องรีบหาให้เจอว่า อะไรคือสิง่ ทีเ่ รารัก ท�ำมันแล้วมีความสุข และ ขณะเดียวกันมันก็เลีย้ งชีวติ เราได้ดว้ ย หลังเดินออกจากบ้านช่างภาพผู้ถ่อมตนกับ บทสนทนา ๑ ชัว่ โมงกว่า หนึง่ ในแง่คดิ ดีๆ ที่เราน�ำติดตัวออกมา และเชื่อว่าทุกอาชีพ สามารถน�ำไปปรับใช้กับตัวเองได้ คืออย่า หลงใหลไปกับเสียงรอบข้าง ทว่าหมั่นคอย ฟั ง เสี ย งหั ว ใจของตั ว เองอย่ า งสม�่ ำ เสมอ ว่าแท้จริงแล้ว เรามีชีวิตอยู่เพื่ออะไร และ ความสุขทีแ่ ท้จริงส�ำหรับตัวเองนัน้ หน้าตา มันเป็นแบบไหนกันแน่
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
C O V E R S T O R Y / S I T T H I C H A I K I T TAYAY U K K A - PAT T H A P H L AW U T
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 71
SITTHICHAI KITTAYAYUKKA PATTHA PHLAWUT DESIGNER LOVEBIRDS WHO WEARS HAPPINESS VIA TIMELESS FASHION
สิทธิชัย กิตยายุคกะ - พัทธา พลาวุธ คู่รักนักออกแบบเสื้อผ้า ผู้สวมความสุขบนร่างกาย ผ่านแฟชั่นที่ไร้กาลเวลา
I used to live in Thonburi neighborhood but "move moved here because my parents wanted to to Chiang Mai. When my sister and I were
searching for a new place, we immediately fell in love with this village in Bang Phli because, unlike others, it neither had a garage or a fence which was cute in a way." Meng Sitthichai takes us twenty years back when he settled down at Noble Park in Bang Phli and reveals how his devoted heart and feelings in his work and his love life had led him to Phueng Phattha, a woman who also lives by the same principle.
“เคยเป็นเด็กฝั่งธนฯ มาก่อน ที่มาอยู่ที่นี่เพราะพ่อแม่ อยากขายบ้าน และจะย้ายไปอยู่เชียงใหม่ พี่สาวกับผม ก็ตระเวนดูบ้านใหม่กันที่ย่านบางพลี พอมาดูแล้วผม ก็ชอบหมู่บ้านนี้มาก เพราะมีความประหลาด คือเป็น บ้านที่ไม่มีที่จอดรถเหมือนที่อื่นๆ และไม่มีรั้ว น่ารักดี เลยบอกให้พี่สาวซื้อที่นี่” คุณเม้ง สิทธิชัย เล่าย้อนหลัง ไป ๒๐ กว่าปีที่แล้วถึงการย้ายส�ำมะโนครัวจากฝั่งธนฯ มาอยู่ที่ Noble Park บางพลี กับคอนโดฯ เชิงราบที่ เป็นเหมือนบ้านมากกว่าเป็นคอนโดฯ ชีวิตที่ใช้ใจและ ความรู้สึกไปกับการท�ำงานและความรัก ท�ำให้เขาได้ พบกับ คุณผึ้ง พัทธา ผู้หญิงที่ใช้หัวใจและความรู้สึก เป็นเครื่องน�ำทางเช่นกัน N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
Meng was previously in a fashion business when he had a crush on Phueng after attending a game show. He invited her to assist him with his work and gradually became lovers. Opening their hearts to creativity, happiness and fun brought about Wonder Cavetown, a timeless and fearless fashion brand that brilliantly play with colors, unconventional print and patterns. Before Wonder Cavetown, what have both of you been through? MENG: After being in charge of costumes for local soap operas at ITV, I became a trainee at Elle Decor, worked as a stylist for Elle before moving to DNA Magazine. One day, my friend gave me an opportunity to photoshoot and I've always been taking photos ever since. Clothes, on the other hand, Phueng was the one who started it. PHUENG: During the photoshoot, I felt like I was following more of Meng's dream than my own until I found clothes. Thanks to Meng's short legs (laugh), we met a tailor at a nearby fresh market who trimmed off Meng's pants so neatly we brought forty more for him to fix. Meng also asked him to make a Hawaii shirt and, again, his cutting was done beautifully. I couldn't help myself asking him to tailor a dress in this particular style and pattern that I loved but no one could do it for me.
คุณเม้งท�ำงานด้านแฟชั่นมาก่อน หลังพบรักกับคุณผึ้งจากการไปเล่นเกม โชว์รายการหนึ่ง เขาเริ่มต้นจีบด้วยการ ชวนเธอมาช่วยงาน และกลายเป็นคูร่ กั กันในทีส่ ดุ การเปิดหัวใจในการใช้ความ คิดสร้างสรรค์ ท�ำในสิง่ ทีม่ คี วามสุข และ สนุกในสิง่ ทีท่ ำ� ของทัง้ คู่ น�ำมาสูแ่ บรนด์ แฟชัน่ เสือ้ ผ้า กระเป๋า รองเท้า หมวก และ เครือ่ งประดับชือ่ Wonder Cavetown ทีก่ ล้าเล่นสี การวางลายผ้าพิมพ์และแบบ ทีแ่ ปลกตา มีบคุ ลิกไร้กาลเวลา มากกว่า จะเป็นแฟชัน่ ทีม่ าและไปอย่างรวดเร็ว ก่อนทีจ่ ะมาเป็น Wonder Cavetown ผ่านการท�ำอะไรกันมาบ้าง คุณเม้ง : ผมเริม่ ท�ำเสือ้ ผ้าละครทีวี อยูพ่ กั หนึง่ ที่ ITV แล้วไปเป็นเด็กฝึกงาน ที่ Elle Decor และท�ำงานเป็นสไตลิสต์ ที่ Elle ก่อนไปอยูน่ ติ ยสาร DNA และได้ พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
โอกาสจากเพือ่ นให้ทำ� งานถ่ายรูป ก็เป็น จุดเริม่ ทีท่ ำ� ให้ถา่ ยรูปมาตลอด ส่วนเรือ่ ง ท�ำเสือ้ ผ้าผึง้ เป็นคนเริม่ ก่อน คุ ณ ผึ้ ง : ตอนท� ำ งานถ่ า ยรู ป กั น เหมื อ นผึ้ ง ท� ำ ตามความฝั น ของเม้ ง เคยบ่นกับเม้งว่า นีเ่ ป็นการท�ำตามฝันของ ตัวเองหรือเปล่า จนมาเจอเรื่องเสื้อผ้า ผึ้งเริ่มต้นจากท�ำใส่เองก่อน คือโชคดี เพราะความขาสัน้ ของเม้ง (หัวเราะ) เรา เจอช่างตัดขากางเกงที่ตลาดแถวบ้าน และท�ำงานได้เรียบร้อยมาก เราเลยขน กางเกง ๔๐ ตัวของเม้งขนไปให้พเี่ ขาแก้ เม้ ง เลยลองให้ เขาตั ด เสื้ อ ฮาวายให้ เขาตัดออกมาดีและเรียบร้อยมาก ผึ้ง เลยให้ตดั ชุดให้ผงึ้ ด้วย เพราะอยากใส่ชดุ ในแบบของตัวเองที่ไม่มีใครยอมตัดให้ โชคดีมากทีพ่ คี่ นนีท้ งั้ ตัดทัง้ ท�ำแพตเทิรน์ ได้ เพราะเขาเคยท�ำงานตัดเสือ้ ผ้าทีไ่ ต้หวัน มาหลายปี พอผึ้งเอาชุดที่เขาตัดให้ใส่ SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 73
ไปลงเพจ ปรากฏว่ามีเพือ่ นชอบเยอะมาก และเขาก็ ช ่ ว ยบอกต่ อ กั น จนมี ลู ก ค้ า หลากหลาย ตอนนีท้ ำ� ขายออนไลน์เป็น ปีที่ ๔ แล้ว เหมือนกับว่าการมาอยูย่ า่ นบางพลีเป็น ความบังเอิญทีโ่ ชคดี คุณผึ้ง : ใช่ หลังจากต้องไป-กลับ ตลาดเพื่อไปหาช่าง เราก็ตัดสินใจซื้อ บ้านในโครงการเพิม่ แล้วเปิดเป็นสตูดโิ อ ท�ำงานไปเลย จะได้สะดวกทัง้ เราทัง้ ช่าง เพราะพอออร์เดอร์มากขึน้ เราก็ยงิ่ ต้อง ใกล้ชิดช่างมากขึ้น จะแก้แบบหรือจะ เพิม่ อะไรก็สะดวก
ขัน้ ตอนเยอะมาก ไม่ใช่แค่ขายส่งแล้วจบ จนเราบอกลูกค้าเลยว่าอย่าเปลีย่ นแบบ เยอะนะ เพราะมันต้องรอนาน ตอนนัน้ เรามีออร์เดอร์มากขึ้นด้วย ลูกค้าก็ เข้าใจขึน้ งานขายออนไลน์เราต้องเป๊ะ ต้องซือ่ ตรงกับลูกค้าเรือ่ งคุณภาพ ต้อง ตรวจทุกอย่างให้เรียบร้อย อย่าง รังดุม ตะเข็บ เก็บด้าย ต้องเรียบร้อยจริงๆ ก่อนจะพับเสือ้ ลงถุงส่ง มันท�ำให้ลกู ค้า มาหาเราด้วยคุณภาพของเราด้วย
การที่ แ บรนด์ ไ ด้ รั บ ความสนใจจาก ลูกค้า เป็นเพราะลวดลายสีสันที่ใช้ ผ้าลายสดใสแบบแอฟริกนั หรือเพราะ แบบทีแ่ ตกต่างไม่เหมือนกับเสือ้ ผ้าทีม่ ี ในตลาด คุ ณ ผึ้ ง : ความจริ ง ลายผ้ า ไม่ ไ ด้ จ�ำกัดว่าต้องเป็นลายแอฟริกันหรอกค่ะ ลายสวยๆ จากญีป่ นุ่ ก็ทำ � เวลาขายใน IG เราจะเอาลายผ้าให้ลกู ค้าเลือก เป็นแบบ ที่ไม่ดูยาก มีลูกเล่นเล็กๆ ลูกค้าที่ชอบ และใส่เสือ้ ผ้าเรามากกว่า ๕๐ เปอร์เซ็นต์ จะสัง่ ของซ�ำ ้ เพราะชอบสไตล์ทถี่ กู จริต กับเขา โลกออนไลน์มนั ท�ำให้เรามีโอกาส ก่อนทีจ่ ะขายของเราไม่เคยรูเ้ ลยว่าแม่คา้ ออนไลน์งานยุง่ ขนาดไหน มาท�ำเองแล้ว ยุง่ มาก เพราะเราท�ำตามสัง่ ทุกรายละเอียด N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
We found out later that our skillful tailor had been tailoring clothes in Taiwan for years. Anyway, I posted a photo of the dress that he made on my page and my friends loved it so much. They kept spreading the word that we now have a large customer base and have been selling online for four consecutive years. So moving to Bang Phli was like a lucky coincidence? PHUENG: Yes. After traveling back and forth to our tailor at the market, we decided to buy another house in the same area and opened a working studio for more convenience. As our orders kept growing, we had to work closer with our tailor whether to fix or to add details. The reason your brand is receiving such wonderful attention - Is it because of the African vibrant colors and patterns or because your clothes are like no others in the market? PHUENG: Actually, we're not limited to Africian patterns as we also have Japanese patterns. On our Instagram, we present pattern choices -- mostly uncomplicated but with a small twist. More than fifty percent of our customers repeat their orders because our style speaks to them. Online world opens a large opportunity although it can be quite hectic. Since we tailor to all the tiny details, there are lots of processes involved. Together with increasing orders, we have to inform our customers not to make too many changes as it can be time-consuming and we are lucky that our customers understand. Selling online means we have to be on point, honest with our customers and never fail to check every last bit of detail before packing each item. So, yes quality is one of our key factors. MENG: At first, I only took orders . tailoring Hawain shirts for my friends along with my photography career. Having seen pictures on my IG, people invited us to sell our clothes in department stores but the event that made our style more recognizable was when we opened a booth at Wonderfruit (an annual music festival in Pattaya). In the beginning, Phueng's works were all about African vibrant colors but the truth is we love beautiful patterns. Our tailor is amazing at connecting the pattern. It doesn't matter if we wasted a lot of cloth as long as the pattern is symmetrically balanced. I've always loved fashion and I try to make Phueng's works also wearable for men. From my experience, pure พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
African style wouldn't be practical on men and we needed to infuse more varieties to the clothes. We want to make clothes that fit for everyday use and for a long time- the kind that the father wears it now and his son will still wear it in the future. Our target customers are 30 years old and over because they know themselves and what they love well. We do everything by ourselves. When we feel like doing something, we just have to do it right away because we never know how long we'll live. Who knows we could be dead in twenty-years? So, whatever we can do now, just do it! In your opinion, what has brought your brand this far? MENG: Everything from my work and life experience combined.
I would like to thank Elle Decor the most for teaching me to appreciate all the beauty around me, not just the clothes we wear but rather the seamless harmony of the cultures and life environment that I can now live a fun life and able to infuse myself in my work. Now, I have Phueng to appreciate for all her wonderful jobs with Wonder Cavetown that has enabled me to keep stepping forward with all the work and challenges in life. At last, the question has found its answer. Although it was Phueng who helped Meng to achieve his dream job, it is Meng who now lives in Phueng's dream where both fully enjoy their world of fun, happiness and creativity.
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 75
คุ ณ เม้ ง : ตอนแรกผมรั บ ตั ด เสื้ อ ฮาวาย ให้ เ พื่ อ นๆ คู ่ ไ ปกั บ งานช่ า งภาพ พอคนเห็ น ใน IG ก็มีคนชวนไปขายในห้าง แต่ที่ท�ำให้คน รู้จักสไตล์เรามากขึ้น คือตอนที่เราไปออกงาน Wonderfruit (เทศกาลดนตรี ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ทุ ก ปี ที่พัทยา) งานของผึ้งตอนแรกเน้นเรื่องสีสดแบบ แอฟริกัน แต่ว่าความจริงคือเราชอบความเป็น แพตเทิร์นสวยๆ มากกว่า เราหยิบจับมาท�ำเป็น เสื้อผ้าได้หมด ช่างของเราเก่งมาก ต่อลายภาพ ดี ม าก เสี ย ผ้ า เยอะก็ ไ ม่ เ ป็ น ไร ขอให้ ต ่ อ ลาย วางลาย เลือกจังหวะผ้าให้สมมาตรกันจริงๆ ผมชอบแฟชั่นอยู่แล้ว และพยายามท�ำสิ่งที่ ผึ้งท�ำอยู่ให้ผู้ชายใส่ได้จริงๆ ด้วย เราใส่สิ่งที่เรา ชอบลงไปในเสื้อผ้าผู้ชายในแบบที่เป็นแบรนด์ ของผึ้งโดยไม่หลุดแบบ เล่นผสมไปเรื่อย ผมรู้ ด้ ว ยตั ว ผมเองจากการท� ำ ของขายว่ า ถ้ า เป็ น แบบแอฟริกันอย่างเดียว ผู้ชายไม่ใส่ ต้องผสม กับสิ่งต่างๆ เสื้อผ้าเราไม่ใช่เสื้อผ้าที่ตามแฟชั่น แต่อยากให้เป็นเสื้อผ้าที่ใส่ได้ในชีวิตประจ�ำวัน และใส่ได้นานๆ ตอนนี้พ่อใส่ อนาคตลูกก็ใส่ ได้ดว้ ย กลุม่ ลูกค้าจะอายุ ๓๐ ขึน้ ไป เพราะกลุม่ นี้ เขารูจ้ กั ตัวเอง และความชอบของตัวเองจริงๆ เรา ท�ำทุกอย่างเอง เมือ่ อยากท�ำต้องท�ำเลย เพราะเรา ไม่รวู้ า่ ชีวติ เราจะอยูไ่ ด้อกี นานแค่ไหน อีก ๒๐ ปี เราอาจจะตายแล้วก็ได้ ดังนัน้ เราท�ำอะไรได้ตอนนี้ ท�ำเลย คิ ด ว่ า แบรนด์ ของเรามีโ อกาสมาถึง ตรงนี้ไ ด้ เพราะอะไร คุณเม้ง : ผมว่าทุกอย่างทีเ่ ป็นประสบการณ์ การท�ำงานและใช้ชีวิตของเรามีส่วนให้เรามาถึง ตรงนีน้ ะ ผมอยากขอบคุณนิตยสาร Elle Decor ทีส่ ดุ ทีส่ อนให้ผมได้รจู้ กั บรรยากาศความสวยทีอ่ ยู่ รอบตัว ไม่ใช่แค่เสือ้ ผ้าบนร่างกายเรา แต่สอนให้เรา รูจ้ กั วัฒนธรรมและสิง่ แวดล้อมของชีวติ ทีก่ ลมกลืน กันจนสวยกลมกล่อม จนท�ำให้ผมได้มชี วี ติ ทีส่ นุก และผสมความเป็นตัวของตัวเองลงไปได้ และตอนนี้ ต้องขอบคุณผึ้ง ที่ท�ำ Wonder Cavetown ไว้ ท�ำให้งานที่เข้ามาในชีวิตเราสามารถเดินต่อไปได้ อย่างไม่สะดุด แล้วเข็มของค�ำถามก็ได้หมุนมาเจอกับค�ำตอบ จากทีค่ ณ ุ ผึง้ ช่วยคุณเม้งให้ได้ทำ� งานตามความฝัน ตอนนี้คุณเม้งได้มาอยู่ในความฝันของคุณผึ้ง อย่างเป็นธรรมชาติ ตามแบบการใช้ชวี ติ ของทัง้ ๒ คน ทีส่ ขุ สนุก และเปิดใจไปกับงานทีท่ ำ� N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
A R T A L O N G T H E WAY
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 77
เทคนิค : สีน�้ำ Technique : Water Color Painting ศิลปิน : พีรดา ชีพสัตยากร Artist : Pearada Cheepsatayakorn
THE VIVID RAB BUA FESTIVAL
สีสนั งานเทศกาล ประเพณีรับบัว N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
A R O U N D TOW N / T H E SA N C T UA R I E S
THE SANCTUARIES FOR BODY AND MIND
สถานแห่งการ พ�ำนักกาย-ใจ ข้อได้เปรียบของสมุทรปราการที่มีมากกว่า หลายแห่ง คือความหลากหลายของพื้นที่ มี ก ารคมนาคมที่ แ ทบไร้ ร อยต่ อ กั บ เขต กรุ ง เทพมหานคร สามารถเชื่ อ มโยงการ เดินทางถึงกันได้อย่างไม่สะดุด มีสงิ่ แวดล้อม ที่ แ ม้ จ ะมี ค วามเป็ น เมื อ งแต่ ก็ ไ ม่ ไ ด้ เ ต็ ม ไปด้วยอาคารสูงใหญ่ลอ้ มรอบจนดูเป็นเมือง แนวดิ่ง เพราะสมุทรปราการมีพื้นที่แนว ระนาบเป็นหมูบ่ า้ น ย่านชุมชน มีวดั มีโรงเรียน มีตลาด มีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว มีสวนเกษตรกรรม และยังมีสถานที่ส�ำหรับปลีกวิเวก ให้กับ ผูแ้ สวงหาการเดินทางเพือ่ ความสงบภายใน จิตใจอยู่มากมายหลายแห่ง กระจายกันไป ในแต่ละเขตด้วย he outstanding advantages of T Samutprakan is placed on its diversity, its seamless transportation
choices between the province and Bangkok and its urban environment without overcrowded high-rise buildings. Besides all the villages, temples, schools, markets, tourist destinations and agricultural gardens, Samutprakan also offers a number of spiritual sanctuaries scattered in each district.
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 79
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 81
ริโวเชธรรมสถาน
ในแถบเทพารักษ์มยี า่ นของหมูบ่ า้ นเก่าแก่ ชือ่ หมูบ่ า้ นทิพวัล ซึง่ หากไม่ได้อาศัยอยูย่ า่ นนัน้ หรือเพียงผ่านไปและไม่ได้สังเกต อาจจะไม่รู้ ว่ า มี สั ญ ลั ก ษณ์ ข องศาสนาพุ ท ธแบบทิ เ บต ทีเ่ รียกว่า “วัชรยาน” อยูท่ หี่ น้าบ้านหลังเล็กๆ หลังหนึ่ง ที่นี่คือ “ริโวเชธรรมสถาน” ศูนย์ เผยแพร่ แ ละปฏิ บั ติ วั ช รธรรมที่ เ ปิ ด ปฏิ บั ติ มาร่วม ๑๐ ปีแล้ว อาจารย์ชาญชัย คูณทวีลาภ เล่าว่า ริโวเช ธรรมสถานก่อตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการศึกษา พุทธศาสนามหายานและพุทธทิเบต โดยเฉพาะ สายการปฏิ บั ติ ข องพระมหาคณาจารย์ จี น ธรรมสมาธิวัตร (ท่านเจ้าคุณโพธิ์แจ้งมหา เถระ) แห่งวัดโพธิ์แมนคุณาราม ที่ได้สืบทอด สายการปฏิบตั จิ ากวัดริโวเช ในแคว้นคามของ ทิเบตตะวันออก วัดริโวเชในทิเบตสถาปนา โดย ซังเจ วอน (Sangye Won) เป็นวัดเก่า แก่ที่ส�ำคัญและมีชื่อเสียงมากในสายปฏิบัติ และไม่เคยขาดพระมหาวัชราจารย์ผบู้ รรลุแจ้ง ในธรรมเลย RIWOCHE DHARMA CENTER In Theparak neighborhood, there is a symbol of Tibetan Buddhism known as "Vajrayana" at the front of a small house. The place is called "Riwoche Dharma Center," a decade -long Vajrayana Buddhist dharma disseminating and retreat center. Ajarn Chanchai Khunthaweelarp recounted Riwoche Dharma Center was established to promote the study of Mahayana Buddhism and Tibetan Buddhism particularly the lineage of Maha Ganacharyachin Dhamasamadhiwattra (Most Venerable Bho Chaeng Mahathera) of Bhoman Khunaram Temple, who transmitted the practice directly from Riwoche Temple in East Tibet. Built by Sangye Won, Riwoche Temple in Tibet is an old significant temple famous for their dharma practice and Vajra masters who achieve the dharma.
ความกะทัดรัดของพื้นที่ ท�ำให้สามารถสังเกต รายละเอียดของสัญลักษณ์บูชาได้อย่างใกล้ชิด The compact area allows a closer observation on the details of sacred symbols. N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 83
ถึงจะเป็นอาคารที่ไม่ใหญ่มาก และมีเนื้อที่ ภายใน เพียงห้องๆเดียว แต่มีพื้นที่มากพอ ในการสวดมนต์ภาวนาร่วมกันได้อย่าง สะดวกสบาย Although it is not a large building, there is enough room to comfortably pray together. Opposite Page
รายละเอียดเรื่องเล่าในศาสนา ถ่ายทอดเป็นงานจิตรกรรม Religious tales are depicted through paintings.
วัดริโวเชประกอบด้วยค�ำสอนญิงมาปะ (Nyingma) จากคุรปุ ทั มสมภพ และค�ำสอน ตักลุง การ์จู (Taklung Kagyu) ที่สืบทอด กันมาอย่างต่อเนือ่ งกว่า ๘๐๐ ปี ปัจจุบนั มี สมเด็จพักชก ริมโปเช เป็นองค์ประธาน และ เคนโป โซนั ม ริ ม โปเช เป็ น พระ อาจารย์ใหญ่ ผูเ้ ผยแพร่พระธรรมและหลัก ปฏิบัติตามแนวพุทธทิเบตในประเทศไทย และประเทศใกล้เคียงมากว่า ๒๐ ปี ริโวเชธรรมสถานในอาคารหลังก�ำลัง พอเหมาะพอดีแห่งนี้ เป็นสถานที่ปฏิบัติ ธรรมที่สภาวะจิตขจัดด้วยการปฏิบัติ ใน บรรยากาศของการปฏิบตั นิ นั้ จะมีบทสวด เป็นภาษาทิเบตเตรียมไว้ให้อ่าน และสวด ในแบบของการภาวนาแบบทิเบตที่จะมี เสียงดนตรีประกอบตามไปด้วย ร่ ว มสนทนาและเรี ย นรู ้ เ กี่ ย วกั บ ศาสนาพุทธทิเบต กับอาจารย์ชาญชัยและ ผู้ร่วมปฏิบัติคนอื่นๆ ได้อย่างเป็นกันเอง ในกิจกรรมสวดมนต์ภาวนาและฝึกสมาธิ ซึง่ จัดขึน้ ทุกวันเสาร์ เวลา ๐๙.๓๐-๑๔.๐๐ นาฬิกา
ริโวเชธรรมสถาน เลขที่ ๘๐/๘๒๓ หมู่ ๕ ซอยทิพวัล ๕๗ ถนนเทพารักษ์ ต�ำบลบางเมืองใหม่ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๘๔ ๓๙๓๙ หรือ ๐๘ ๑๘๑๐ ๐๖๗๔ Riwoche Dharma Center Thailand
Riwoche Temple consists of Nyingma teachings from Guru Rinpoche and Taklung Kagyu Teachings that have been continuously inherited for the past 800 years. At the present, Phakchok Rinpoche as the chief and Khenpo Sonam Rinpoche as Vajra Master who has been disseminating dharma and Tibetan Buddhist practices in Thailand and neighboring countries more than 20 years. Riwoche Dharma Center is an ideal dharma retreat that helps eliminate an undesirable state of mind via dharma practices. During the practice, Tibetan
Buddhist prayer books are provided for reading and praying along Tibetan instrumental music. Join a friendly conversation and learn more about Tibetan Buddhism from Ajarn Chanchai and other dharma practitioners at the weekly prayer and meditation session held every Saturday from 09.30 am - 02.00 pm. RIWOCHE DHARMA CENTER 80/823 Moo 5, Soi Thipphawan 57, Theparak Road, Bang Mueang Mai Sub-District, Mueang District, Samutprakan Phone: 02-384-3939 or 08-1810-0674 Riwoche Dharma Center Thailand N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
วัดป่าสุขใจ
เป็ น การเดิ น ทางมาย่ า นบางบ่ อ อย่ า ง ไม่คาดหวังว่าจะได้พบกับสถานที่ที่สามารถ ปลีกวิเวกกลางเมือง ซึ่งอยู่ท่ามกลางสวน ขนาดใหญ่และสระน�้ำ ที่ให้ความสงบร่มเย็น ทั้งกายและใจ วัดป่าสุขใจเป็นสถานที่ส�ำหรับให้คนได้ เข้ามาท�ำการภาวนา ท�ำจิตใจให้สงบ ไม่ว่าจะ มาแบบแวะเยือนเพื่ออาศัยพื้นที่ริมสระน�้ำ รอบๆ เป็นทีส่ ว่ นตัวในการแสวงหาความเงียบ สงบของจิตใจ หรือส�ำหรับผู้สนใจการปฏิบัติ ภาวนาได้มาพักค้างเพื่อปฏิบัติได้ตามความ สะดวก คนทีต่ อ้ งการค้างคืนเพือ่ ปฏิบตั ภิ าวนา จะมีกิจวัตรประจ�ำวันคร่าวๆ คือตื่นตี ๕ เพื่อ ท�ำวัตรเช้าด้วยกัน แต่ทุกคนสามารถบริหาร เวลาด้วยตัวเองได้ ไม่ว่าจะเลือกปฏิบัติเอง ที่กุฏิ หรือมาปฏิบัติร่วมกันที่ศาลา จากนั้น กินข้าวที่ทางวัดจัดเตรียมไว้ให้ โดยจะกิน วันละ ๑ มื้อ ตกบ่ายประมาณบ่าย ๓ โมงครึ่ง จะมี กิ จ กรรมสมาธิ ด ้ ว ยการกวาดลานวั ด ร่วมกัน ดื่มน�้ำปานะ และสนทนาธรรม PA SUKJAI TEMPLE A journey to Bang Bo leads to an unexpected sanctuary of solitude downtown. Surrounded by lush green gardens and ponds, it restores calmness physically and mentally. Pa Sukjai Temple provides a hideaway that allows its visitors to practice dharma and restore peace and tranquility to their mind. For a daytime visit, there is a private resting area around the pond to seek for inner peace. Alternatively, anyone seeking for a more proper dharma practice can stay overnight and participate in the daily routine. Beside waking up at five to complete the morning prayer session, dharma practitioners can choose whether to self-practice at the meditation hut or join others at the pavillion. They are also encouraged to try an optional meditation practice activity via cleaning the temple court and dharma
บรรยากาศร่มรื่น ที่อยู่รายล้อมสถานที่ปฏิบัติธรรมะของที่นี่ คือ ธรรมชาติ ที่ไม่มีสิ่งก่อสร้างปั้นแต่ง The cool and shady natural surroundings of Pa Suk Jai Temple พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 85
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
discussion. Everyday, the temple offers a meal around 3.30 pm. and Nam Pana drinking (including juice of fruits less than fist-sized) for the remainder of the day. Practicing dharma and meditation at Pa Sukjai Temple is suitable for practitioners with a primary basis. Although there is no class offered, practitioners have a free access to the serene facility upon prior notice to the temple of the exact time and the number of participants so that the temple may prepare in advance the tenting area or keep the meditation huts available. Nonetheless, those who only wish to soak up the peaceful vibe are welcome to conveniently stroll around or rest around the pond outside the dharma practice area or the meditation huts. PA SUKJAI TEMPLE Preng Sub-District, Bang Bo District, Samutprakan For more details, please contact the Buddhist Nun named Mae Chee Lek via Line or phone at 09 6359 0510. (Visitors is recommended to dress politely with a white shirt, black pants and avoid white pants or skirt as the fabric may be too sheer.)
ความน้อยที่พอดี มีอยู่ในทุกมุมของสถานที่ Every corner of the temple is kept minimal yet sufficient. Opposite Page
ศาลารวมใจ ที่เป็นหนึ่งในพื้นที่ ส�ำหรับปลีกวิเวกนั่งสมาธิ Sala Ruam Jai is an area for a private meditation practice.
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 87
วัดป่าสุขใจ ต�ำบลเปร็ง อ�ำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ แม่ชีเล็ก ไลน์และโทรศัพท์ ๐๙ ๖๓๕๙ ๐๕๑๐ (ผู้สนใจควรแต่งกายสุภาพเรียบร้อยด้วยเสื้อ สีขาว กางเกงสีด�ำ ไม่ควรสวมกางเกงหรือ กระโปรงสีขาวเพราะเนื้อผ้าอาจบางเกินไป)
การปฏิบัติภาวนาที่วัดป่าสุขใจ เหมาะ ส�ำหรับคนที่มีพื้นฐานมาแล้ว จึงไม่มีการสอน เป็นคลาส แต่จะใช้สถานที่ที่อ�ำนวยความ สงบและแวดล้อมด้วยธรรมชาตินี้ บริหาร การภาวนาตามเวลาที่ตัวเองจัดสรรได้ โดย ต้องแจ้งไปทางวัดก่อนว่าต้องการไปในช่วง
วันเวลาใด และจ�ำนวนคนเท่าไร เพื่อที่วัด ได้จัดการพื้นที่เต็นท์หรือกุฏิว่างให้พักตามที่ แจ้งความประสงค์ไป ส่วนคนทีอ่ ยากไปสัมผัส ความสงบของบรรยากาศ สามารถเข้าไปได้ ตามสะดวก และใช้พ้ืนที่ในเขตที่ไม่ใช่เขต ภาวนาหรือทีพ่ กั ซึง่ เป็นพืน้ ทีร่ อบสระน�ำ้ ได้ N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
GREEN TRIP
green trip
G R E E N S PAC E | N AT U R E J O U R N E Y
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 89
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
G R E E N S PA C E / H O M E C O M I N G
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN
91
HOMECOMING
กลับบ้าน คุณหมู หรือ ณฐพนธ์ บุญมีมา และ คุณณะ หรือ ทวีป โพธิส์ วุ รรณ) เป็นเด็กรุน่ ใหม่ทเี่ ลือก ลาออกจากงานประจ�ำทีก่ รุงเทพฯ และเชียงใหม่ เพื่อกลับมาด�ำเนินชีวิตในวิถีของเกษตรกรที่ บ้านเกิดบางกะเจ้า คุณหมูเคยท�ำงานประจ�ำ อยู่ฝ่าย Food and Beverage ที่โรงแรม ชื่ อ ดั ง แห่ ง หนึ่ ง ในกรุ ง เทพฯ ได้ เ งิ น เดื อ น ตกเดือนละ ๓๐,๐๐๐ บาท แต่ด้วยความ เบื่ อ หน่ า ยในค่ า นิ ย มของสั ง คมเมื อ งและ เรื่องของเวลา กับการที่เขาต้องท�ำงานเยอะ เสียจนไม่มีเวลาให้กับครอบครัวเลย คุณหมู จึงหาทางเลือกใหม่ให้กับชีวิตด้วยการกลับมา อยู่บ้าน ถือจอบถือพลั่ว ปลูกเพาะพันธุ์พืชที่ แปลงหน้าบ้าน ส่วนคุณณะซึ่งเคยใช้ชีวิตและ ท�ำงานเป็นสถาปนิกอยู่ที่เชียงใหม่เกือบ ๖ ปี ชีวิตของเขาไม่ได้มีอะไรมากไปกว่าพอท�ำงาน ได้ เ งิ น มาก็ เ ที่ ย วเตร่ ส นุ ก สนานตามประสา จนเกิดเป็นความเบื่อหน่ายว่า “เฮ้ย ! ชีวิตเรา มีแค่นี้จริงๆ เหรอ” ทั้งสองมีความเหมือนกัน คือเข้ารับการ อบรมและฝึกปฏิบัติจริงกับโครงการคนกล้า คื น ถิ่ น อั น น� ำ มาสู ่ ก ารเปลี่ ย นแปลงชี วิ ต ครั้งใหญ่ของทั้งคู่
u and Na (Natthaphon M Bunmeema - Thaweep Bhosuwan), the new generation kids who chose to leave their routine job in Bangkok and Chiang Mai and return home to live their farmer's life in Bang Kachao. Mu onced worked in Food and Beverage Department at one of Bangkok's famous hotels where he earned 30,000 baht a month. Sick and tired of the city's social value and overloaded schedule at work that he had no time for his family, Mu seeked a new life opportunity by returning home, carrying spade and shovel, growing crops and plants in front of his house. Meanwhile, Na worked as an architect in Chiang Mai for almost six years but his life was nothing more than just spending the money he made wandering around. At one point, he grew tired and started to questioned, "Is this all there is to life?" One thing they have in common is the fact that both were trained in a hands-on practice by Khon Kla Khuen Thin Project (Thai for homecoming of brave men project) which they found a great lifechanging experience.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
were lots of dead-logs flowing along the watercourse, I sundried them and burned them into charcoal. I also turned grasses into fertilizer, excavated furrows, enriched the soil’s nutrient content and burned charcoal for sale. In Bang Kachao these days, Mu and I are the only two burning charcoal for sale. Others just buy them from other places dividing them into smaller packs for sale. With my mom's recent retirement, vegetable gardening becomes our family activity. We sell parts of our vegetables at floating markets and nearby shops. The profit isn't that great but we do have some for savings as we never have to spend a baht to buy food elsewhere. We have our own fresh ingredients." You bought time by leaving your routine job to become a genuinely happy person. "The hotel job left me no spare time. I always had to wake up early in the morning and by the time I returned home, my children and wife already went to bed. When holidays came, I was so happy but spent most of the time sleeping. I asked myself if it was possible to live a life freely everyday, a life that was truly our own and if we had returned home, what we could possibly be doing to make a living. As I was searching, the link of Khon Kla Khuen Thin Project popped up and that was how I attended the training in Sa Kaeo Province, and learned so many useful things that are actually practical for everyday life."
An architect returning to his hometown starting a new career as "a farmer" with holy basil trees in his vegetable garden. "I lived an architect life in Chiang Mai for almost six years and soon as I got paid, I would go out every night. One day, I grew tired of such a sick cycle and decided to come back home. For a while, I undertook a small building construction contract before my friend urged me to join Khon Kla Khuen Thin Project. Surely, I wasn't into agriculture and nature enough to attend a training seminar. So, I just followed what others did. Can you imagine me not
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
having a clue what holy basil was? When I was asked to pick one, I had to google search what holy basil looked like." "Out of all the plots for a hands-on experiment, I chose the one in Wang Nam Yen district as it was a dense forest with not the slightest tap water or electricity that no one wished to set foot in. Frankly, it was the ultimate learning experience despite all the difficulties. I had a chance to offer what I was good at - becoming a part of the developmental project to improve the area. I came home a year later and started looking around what else could be improved. Since there
"Joining the workshop, we have to first understand that agriculture and business must be separated. Business is, by and large, setting money goals regardless of the community, the environment or the true happiness while agriculture means setting happiness and sufficiency as primary goals. If we can afford a good meal and a good life, that should be enough so we can have time with the family. After the program, when I saw a bunch of twigs and logs, I burned them into charcoal and I collected fallen leaves from schools to make fertilizer. I started to make and use them myself. Our organic soil and vegetables are absolutely harmless and chemical-free. We grow various plants enough for home-cooking and sell what's left. My neighbor, who used to think I was crazy to leave a job to burn charcoal, eventually started to change his thought and asked if he could buy the fertilizer and the soil from us.”
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 93
สถาปนิกคืนถิ่นกับอาชีพใหม่ “เกษตรกร” และแปลงผักของเขาที่มีต้นกะเพรา ผมเคยอยูเ่ ชียงใหม่เกือบ ๖ ปี จนถึงจุดหนึง่ มันเบื่อ เพราะการเป็นสถาปนิกของผมที่นั่น พอได้เงินมาก็เทีย่ วทุกวัน เลยตัดสินใจกลับมา อยูบ่ า้ นดีกว่า ตอนนัน้ ท�ำรับเหมาก่อสร้างงาน เล็กๆ ในพืน้ ทีอ่ ยูไ่ ด้สกั พัก ก็มเี พือ่ นชวนไปเข้า โครงการคนกล้าคืนถิ่น ซึ่งเอาจริงๆ ผมไม่ได้ ชอบเกษตร ไม่ได้ชอบธรรมชาติขนาดที่จะ ต้องไปอบรมอะไรหรอกนะ คือพอได้เข้าไป คนอืน่ เขาท�ำอะไรเราก็ทำ� ตามๆ ไปอย่างนัน้ ละ เชือ่ ไหมตอนนัน้ ขนาดกะเพราผมยังไม่รจู้ กั เลย มีคนให้เดินไปหยิบ ผมก็ต้องแอบเสิร์ชหา ในกูเกิลว่า อันไหนวะกะเพรา
จนถึงช่วงที่เขาให้เลือกพื้นที่ในการลงไป ปฏิบัติจริง ซึ่งมันจะมีแปลงทดลองหลายที่ ผมเลือกแปลงตรงวังน�้ำเย็น ที่นั่นเป็นป่าทึบ ไม่มนี ำ�้ ไม่มไี ฟ เลยไม่มใี ครอยากไป ต้องบอกว่า มันคือสุดยอดแห่งการเรียนรูม้ ากในบรรยากาศ ของความล� ำ บาก เรามี โ อกาสเข้ า ไปท� ำ ในสิ่งที่อาชีพเราถนัด ได้เป็นส่วนหนึ่งในการ เข้าไปทดลองพัฒนาพื้นที่ตรงนั้นให้มันดีขึ้น ผ่านไป ๑ ปี ผมก็กลับมาอยู่บ้าน ค่อยๆ มอง รอบตัวว่าเรามีอะไรอยูใ่ นพืน้ ทีบ่ า้ ง ซึง่ บ้านเรา มั ก มี ไ ม้ ล อยมาตามน�้ ำ เราก็ เ ลยเอาไม้มา ตากแดด แล้วก็เผาถ่าน เอาหญ้ามาท�ำปุย๋ เริ่ม ขุดร่องทีบ่ า้ น ดูแลดินให้ดี เผาถ่านเพือ่ ขายด้วย ทุกวันนี้ในบางกะเจ้าก็มีผมกับหมูนี่ละที่เผา
ถ่านขาย นอกนัน้ คนเขาจะรับมาจากข้างนอก แล้วมาแบ่งเป็นถุงๆ จ�ำหน่าย นี่แม่ผมก็เพิ่ง เกษียณมาไม่นานนี้ แปลงผักที่ปลูกอยู่เลย กลายเป็ น กิ จ กรรมครอบครั ว เราไปด้ ว ย จากเมื่ อ ก่ อ นที่ แ ม่ ไ ม่ เ คยเห็ น เราเข้ า สวน มาก่ อ นเลย กลายเป็ น ว่ า หลั ง กลั บ มาจาก วังน�้ำเย็น เขาเห็นผมเข้าสวนจริงจังเลยสนุก ไปกั บ เรา เราเอาผั ก ส่ ว นหนึ่ ง ไปขายตาม ตลาดน�ำ้ บ้าง ร้านค้าใกล้ๆ บ้าง รายได้มนั ไม่ได้ เยอะมหาศาลหรอกครั บ แต่ ก็ ถื อ ว่ า เหลื อ เงินเก็บ เพราะไม่ต้องไปเสียสตางค์ซื้ออาหาร ที่ไหนเลย เรามีวัตถุดิบของเราเอง
“เราจะสามารถมีวันแบบนี้ทุกๆ วันได้ไหม ชีวิตมันเป็นของเรา แล้วท�ำไมเราต้องให้คนอื่นมาก�ำหนด” "Is it possible to live a life freely everyday? This is my life. Why should I leave it to others to define?"
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
ซื้อเวลาด้วยการลาออกจากงาน สู่การเป็น มนุษย์ผู้ร�่ำรวยความสุขที่แท้จริง ท�ำงานโรงแรมมันไม่ค่อยมีเวลา ตื่นแต่ เช้ากลับบ้านดึก พอเราไปท�ำงาน ลูกเมียยัง ไม่ตื่น พอเรากลับมา ลูกเมียก็หลับหมดแล้ว มันไม่มีเวลาอยู่ด้วยกัน ทุกวันหยุดเรามักจะ หมดไปกับการนอน คือพอวันหยุดมาถึงทีไร เราจะรูส้ กึ ดีมาก ก็เลยมาถามตัวเองว่า เราจะ สามารถมีวันแบบนี้ในทุกๆ วันได้ไหม ชีวิต มันเป็นของเรา แล้วท�ำไมเราต้องให้คนอื่น มาก�ำหนด เราก็ถามตัวเองต่อว่า ถ้ากลับไป อยู่บ้านเราจะท�ำอะไรกิน จนไปเจอลิงก์ของ โครงการคนกล้าคืนถิ่นเด้งขึ้นมา เราเลยไป เข้าอบรมที่ศูนย์จังหวัดสระแก้ว ก็ได้ความรู้ หลายอย่างทีน่ ำ� มาใช้ในชีวติ ประจ�ำวันได้จริงๆ การเข้าเวิร์กช็อปกับโครงการนี้ จะแค่รู้ อย่างเดียวไม่ได้ แต่เราต้องเข้าใจมันจริงๆ ด้วยว่าเกษตรกับธุรกิจต้องแยกกัน การท�ำ ธุรกิจต้องเอาเงินเป็นทีต่ งั้ ไม่ได้นกึ ถึงส่วนรวม สิ่งแวดล้อม หรือความสุขที่แท้จริงเป็นส�ำคัญ แต่เกษตรคือการเอาความสุขความพอเพียง เป็นที่ตั้ง ถ้าเราท�ำเรื่องกินเรื่องอยู่ของเรา ให้ดี มันก็ควรจะพอแล้ว จะได้มีเวลาอยู่กับ ครอบครัวด้วย หลังกลับจากอบรมกับโครงการ ผมเห็ น แถวบ้ า นมี กิ่ ง ไม้ เ ยอะ ก็ เ ลยเอามา เผาถ่าน ท�ำถ่าน เก็บใบไม้ตามโรงเรียนมา ท� ำ ดิ นท� ำ ปุ ๋ ย โดยเริ่ ม จากการที่ตัว เองเป็น คนใช้ก่อน กระทั่งคนข้างบ้านที่เคยมองเรา ด้วยสายตาประมาณว่า “มึงเพี้ยนหรือเปล่า ลาออกจากงานโรงแรมมาเผาถ่าน” เขาก็ เริ่มเชื่อ เริ่มเปลี่ยนความคิด เพื่อนบ้านเริ่ม มาขอซื้อปุ๋ยซื้อดินที่เราใช้ เพราะปุ๋ยเราไม่ เป็นอันตราย ไม่มีสารเคมี ผักที่ปลูกก็เป็น ผั ก อิ น ทรี ย ์ ล ้ ว นๆ และวิ ธี ก ารปลู ก ของเรา คือปลูกผักหลายๆ อย่างเพื่อที่จะเอามากิน แล้วพอเหลือเราค่อยขาย
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 95
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 97
ปัจจุบันจากแปลงขนาด ๑ ไร่ของคุณณะ ซึ่งทดลองปลูกพืชเพียงไม่กี่ชนิด เขาขยาย พื้นที่เพาะปลูกมาเป็น ๕ ไร่ และปลูกผัก หลากชนิด ส่วนทุกวันนีข้ องคุณหมู นอกจาก แปลงผักหน้าบ้านขนาด ๒๐๐ ตารางวาแล้ว เขาขยายพื้นที่เกษตรกรรมไปสู่การท�ำสวน มะพร้าว ที่หากฤดูไหนขายมะพร้าวได้ยาก ในพืน้ ที่ คุณหมูกใ็ ช้วธิ แี ปรรูปบรรจุนำ�้ มะพร้าว ลงขวด และน� ำ ไปส่ ง ตามโรงแรมต่ า งๆ ทีเ่ ขารูจ้ กั เกิดเป็นรายได้มาจุนเจือครอบครัว และเหลือเก็บ ที่แน่ๆ... พวกเขาได้ เ ป็ น เจ้ า ของชี วิ ต ตั ว เอง โดยแท้
Nowadays, Na's one-rai (1,600 Sq.M.) vegetable plot with only a few plants growing experiment has been expanded into five rais (8,000 sq.m.) with a larger variety of plants. Mu, on the other side, does not have just a 200-square wah (800 Sq. M.) vegetable plot but also an extensive coconut farm. In some seasons when coconuts can barely make a sale in the neighborhood, he packs the coconut juice into bottles and delivers them to numerous hotels that he knows generating enough income for both his family and savings. Now, one thing is for certain...they have both become the true master of their own lives.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
N AT U R E J O U R N E Y / L A M P H O O B A N G K R A S O R P P R O J E C T
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 99
LAM PHOO BANG KRASORP PROJECT THE GLITTERING LIGHT FROM THE DREAM OF SUKIJ PLUBJANG
โครงการล�ำพูบางกระสอบ แสงพราวที่กะพริบจากความฝันของ สุกิจ พลับจ่าง
ความฝันของการที่อยากให้บางกะเจ้า เป็ น เกาะหิ่ ง ห้ อ ยแห่ ง แรกในโลก น่ า จะ เป็นความตั้งใจที่มีโอกาสเป็นไปได้ เพราะ ปรากฏการณ์แสงพริบพราวเล็กๆ ราวกับ ดาวหมื่นพันดวงจากหิ่งห้อย ค่อยๆ กลับ มาเรืองรองในพื้นที่สีเขียวของบางกะเจ้า มากขึ้นๆ หลังจากวิกฤติที่หิ่งห้อยค่อยๆ หายไป ปีนี้คือปีที่ครบรอบ ๑๐ ปีในการ ท�ำงานอนุรักษ์ธรรมชาติ เพื่อให้หิ่งห้อย มีพนื้ ทีข่ ยายครอบครัวและเติบโตในบ้านเกิด ตัวเองของ คุณสุกิจ พลับจ่าง เขาท�ำใน สิ่งที่เรียกว่าหาตัวเองพบ คือท�ำงานที่ท�ำ ด้วยความรัก กับการอนุรักษ์แหล่งหิ่งห้อย ของโครงการล�ำพูบางกระสอบ
พื้นที่ที่เรียกว่าเป็นบ้านของหิ่งห้อย อยู่ที่ สุ ด ซอยเพชรหึ ง ษ์ ๒๐ ในความเขี ย วและ เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติมลี ำ� พูลำ� ต้นสูงใหญ่ สง่างามซ่อนอยู่ภายใน ล�ำพูต้นนี้ คือ ๑ ใน ๖๓ ต้นไม้ที่เป็นรุกขมรดกซึ่งมีอายุมากกว่า ๑๐๐ ปี คุณสุกิจเล่าเรื่องการเดินทางในการ อนุรักษ์แหล่งหิ่งห้อยในบริเวณศูนย์เรียนรู้ ทีเ่ ป็นพืน้ ทีส่ ว่ นหนึง่ ของภาครัฐจ�ำนวน ๔๑ ไร่ ให้เราฟัง ขณะเดินไปตามทางเดินครึ้มซึ่งมี เพียงแสงธรรมชาติเท่านัน้ ทีส่ อ่ งลงบนทางเดิน “กลับมาทีบ่ า้ นเกิดอีกทีเมือ่ ตอนอายุยสี่ บิ ห้ายี่สิบหก แล้วรู้สึกถึงความสบายและพิเศษ ของบ้ า นเรา สวนหลั ง บ้ า นมี ต ้ น ล� ำ พู เ ยอะ มาก และเรามีความสุขที่ได้เห็นสิ่งมหัศจรรย์
he dream of making Bang T Kachao the world's first firefly island is likely to come true with
the returned phenomenon of 10,000 twinkling star-like light from fireflies. This year marks Sukij Plabjang's tenth anniversary in natural conser vation t o passionately help fireflies grow and extend their family in their own home under Lam Phoo Bang Krasorp Project.
The home of fireflies is located at the end of Soi Phetchahueng 20 where a century-old gigantic cork tree, which is listed among the 63 national heritage trees, stands majestically among the green nature trail. Sukij unfolds the journey of firefly home conservation on a 41-rai (65,600 Sq.m.) governmental property. "At the age of 25 or 26, I came back home and felt this comfort and the uniqueness of our home. With lots of cork trees in the backyard, I was overwhelmed to witness a small miracle of fireflies but a year later and even three years later, not a single firefly showed up. I knew something was seriously wrong so I invited my amateur photographer fellows to help grow more cork trees as I heard fireflies love clinging on them. To our surprise, it turned out the real problem was the terribly polluted water. Having managed to revitalize the water resources by 2008, we've been able to enjoy watching fireflies in the night sky for the past ten years." Khlong Lat Bang Yor that connects to this project is a canal with natural tidal currents. If the current is manageable at a certain level to avoid impacts N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
เล็กๆ คือมีหิ่งห้อยเยอะมาก ปีต่อไปเรา ตามดู หิ่งห้อยไม่มา ปีที่ ๓ ก็ไม่มาอีก รูส้ กึ ว่ามีอะไรผิดปกติแน่ หิง่ ห้อยหายไปไหน เลยชวนเพื่ อ นๆ ในชมรมนั ก ถ่ า ยภาพ สมัครเล่นมาช่วยกันปลูกต้นล�ำพู เพราะ เราคิ ด ว่ า หิ่ ง ห้ อ ยชอบเกาะต้ น ล� ำ พู ตามที่ เ คยได้ ยิ น มา แต่ พ อได้ ล งลุยเพื่อ ปลูกต้นไม้ โอ้โฮ ! เราพบว่าไม่ใช่เรื่อง ต้นไม้แล้ว แต่เป็นเรือ่ งของแอ่งน�ำ้ ต่างหาก เพราะน�้ ำ เหม็ น มาก เน่ า สกปรก และ สิ่งอุดตันท�ำให้น�้ำขัง พอปี ๒๕๕๑ เรา แก้ปญั หาและพัฒนาเรือ่ งน�ำ้ ท�ำให้แหล่งน�ำ้ นัน้ กลับดีขึ้นมา และเราได้ดูหิ่งห้อยกัน ทุกคืนมาตลอด ๑๐ ปีที่นี่” คลองลัดบางยอทีเ่ ชือ่ มต่อกับโครงการนี้ เป็นคลองที่มีน�้ำขึ้นน�้ำลงตามธรรมชาติ ข้อดี คือท�ำให้เกิดความหลากหลายของ ธรรมชาติ ซึ่ ง หากสามารถจั ด การเรื่ อ ง การขึ้น-ลงของน�้ำไม่ให้รบกวนความเป็น อยู่ของชาวบ้านได้ในระดับหนึ่ง จะท�ำให้ เราอยู่กับความหลากหลายทางชีวภาพได้ และเป็นไปได้มากที่บางกะเจ้าจะสามารถ เป็นเกาะหิ่งห้อยได้จริงๆ คุณสุกิจเคยคิดจะท�ำอุโมงค์ต้นล�ำพู ให้ ห่ิ ง ห้ อ ยมากะพริบแสงวับวาว แต่ไม่ สอดคล้องกับพฤติกรรมของหิง่ ห้อยซึง่ ชอบ ความโปร่งของสถานที่ ต้นไม้ทชี่ อบเกาะ จึงต้องไม่ทบึ ถ้าเปิดโล่ง ๓๖๐ องศาจะยิ่ง เหมาะ เพราะมีวงจรชีวิตแค่ ๔ เดือน และใน ๒ สัปดาห์สุดท้ายหิ่งห้อยจะเริ่ม การผสมพันธุ์ เป็นช่วงเวลาส�ำคัญที่สุด ในวงจรชีวิตก่อนจะตายไป ภารกิจที่ต้อง ท�ำให้ส�ำเร็จ คือวางไข่ให้ได้ และการไม่ รบกวนช่วงเวลาส�ำคัญนี้ คือการสร้างโอกาส ในการสืบพันธุ์ ที่จะช่วยขยายประชากร หิง่ ห้อยให้เพิม่ มากขึน้ ได้ คุ ณ สุ กิ จ เล่ า ว่ า หนึ่ ง ในงานของเขา คือการร่วมนับหนอนหิง่ ห้อยเดือนละ ๑ ครัง้ ของกลุ่มชุมชน เพื่อวัดความสมบูรณ์ของ สภาพแวดล้อมและจ�ำนวนหนอนหิ่งห้อย ทีว่ นั นีเ้ ขาไม่ได้รสู้ กึ ว่ามันเป็นงานอีกต่อไป หากแต่เป็นความรัก ความผูกพัน และความ รูส้ กึ ของกลุม่ คนทีม่ าท�ำด้วยกันจริงๆ
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 101 on the local way of life, we can harmoniously live with more natural diversity making it more possible for Bang Kachao to become an actual firefly island. Sukij thought of creating a cork-tree tunnel so the fireflies could enjoy glistening but later found out that fireflies preferred a more open space. During the last two weeks of their 4-months life cycle, fireflies would start mating and laying eggs. Therefore, not disturbing them during this period of time creates a higher chance of reproduction and generate more firefly population. One of Sukij's tasks is counting firefly worms once a month to measure the natural abundance and keep up with the population although he no longer feels it is a must-do task. "Happiness is when the project members gather after every firefly worm counting trip. You can see the glow of happiness in their eyes. We share our soul into the fireflies. Once you feel it in you conscience, we can live with the environmental diversity." Tree planting and water management are key factors in firefly home conservation. Thus, Lam Phoo Bang Krasorp Project and the future of firefly have been receiving support from both private and non-profit organizations such as Chaipattana Foundation and Bangchak Petroleum Company by sponsoring grease trap tanks for domestic use converting wastewater back to clean water allowing us to see fireflies every night although the number may vary due to seasonal change. "Ten consecutive years and things keep improving. I'm happy now." There are many activities held by Lam Phoo Bang Krasorp Project we can all join to keep fireflies twilight bright. Lessons to live harmoniously with the environment is ranged from cycling around, learning to dye fabric naturally, creating artworks, cooking from local ingredients to taking a stroll in the dark and serene forest of Lam Phoo Bang Krasorp to observe the glistening paradise of fireflies on earth particularly on damp nights during the rainy season or on a waning moon.
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ล�ำพู บางกระสอบ หรือติดต่อ คุณสุกิจ พลับจ่าง โทรศัพท์ ๐๘ ๘๙๔๐ ๕๙๙๒ For more information or request for a nature learning trip in advance, please check out
ล�ำพู บางกระสอบ or contact K. Sukij at 08 8940 5992
“ความสุขคือเวลาทีแ่ ต่ละคนกลับมาเจอกัน หลังจากไปนับหนอนหิง่ ห้อย ทุกคนมีประกาย ความสุขในดวงตา ทีไ่ ด้เห็นว่ามีหงิ่ ห้อยตรงนี้ ตรงนั้นมากน้อยแค่ไหน เราได้จิตวิญญาณ ของคนใส่ลงไปในหิ่งห้อยด้วย และเมื่อเรา รู้สึกได้จากจิตส�ำนึก เราจะสามารถอยู่กับ ความหลากหลายของสิง่ แวดล้อมได้” การรักษาบ้านของหิง่ ห้อย จ�ำเป็นต้องท�ำ ทั้งเรื่องการปลูกต้นไม้และดูแลน�้ำ โครงการ ล� ำ พู บ างกระสอบและอนาคตของหิ่ ง ห้ อ ย ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากทั้ ง ภาคเอกชน และองค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไร อย่าง มูลนิธิ ชัยพัฒนา บริษัทน�้ำมันบางจากซึ่งสนับสนุน สิ่งแวดล้อมพื้นที่ UNDP (โครงการพัฒนา แห่งสหประชาชาติ) สนับสนุนการให้ทนุ ส�ำหรับ ท�ำเครื่องดักไขมันตามบ้านเรือนเพื่อท�ำให้ น�้ำเสียกลับมาสะอาด จนท�ำให้สามารถเห็น
หิ่งห้อยได้ทุกคืนตลอดปี ขึ้นอยู่กับฤดูกาล ว่าจะพบมากน้อยแค่ไหน “ท�ำมา ๑๐ ปีแล้วมันดีขึ้นเรื่อย ผมก็ สบายใจแล้ว” เราสามารถท�ำกิจกรรมร่วมกับโครงการ ล�ำพูบางกระสอบ เพื่อลมหายใจต่อไปของ แสงหิ่งห้อยได้ ด้วยการเข้ามาเรียนรู้การอยู่ ร่วมกับสิง่ แวดล้อม ไม่วา่ จะเป็นการขีจ่ กั รยาน เรียนรู้ประโยชน์ของต้นไม้ใบไม้เพื่อใช้ในการ มัดย้อมผ้าหรือท�ำงานศิลปะอื่นๆ ท�ำอาหาร กินอาหารจากวัตถุดบิ ของท้องถิน่ และเดินเท้า เข้าไปในความมืดและสงบเงียบของป่าล�ำพู บางกระสอบ เพื่ อ จะได้ เ ห็ น หิ่ ง ห้ อ ยและ หนอนหิ่งห้อยเรืองแสง โดยเฉพาะในคืนที่ชื้น ของฤดูฝนหรือคืนเดือนมืด เราจะได้เห็นดาว บนดินที่เป็นแสงเรืองรองจากหนอนหิ่งห้อย บนดินได้ดีที่สุด N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
LIFESTYLE
eat drink travel E AT & D R I N K | G O O D R E C I P E
O T O P S H O P P I N G | M A K E A R E S E R VAT I O N SUMUTPRAKAN HOT SHOT | CALENDAR
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 103
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
T H E R E C I P E / M A L AY A P P L E P O L L E N S P I C Y S A L A D
MALAY APPLE POLLEN SPICY SALAD
ย�ำเกสร ดอกชมพู่ม่าเหมี่ยว
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 105
ท่ามกลางสวนเขียวทีห่ นาแน่นไปด้วยต้นไม้ หลากพรรณของบางกะเจ้า ลึกเข้ามาทาง ย่ า นบางกระสอบ ที่ มี ต ้ น ไม้ ใ หญ่ ยื น ต้ น ต้ น ล� ำ พู ต้ น ไม้ ใ ห้ ด อก และต้ น ไม้ ใ ห้ ผ ล ที่ จ ะเบ่ ง บานและแข่ ง กั น แสดงความงาม ตามธรรมชาติ เมื่ อ ฤดู ก าลที่ เ หมาะสม ของแต่ละสายพันธุ์เดินทางมาถึง อุณหภูมิของอากาศในช่วงเปลี่ยนถ่ายฤดู แบบปลายฝนต้นหนาว เป็นทีร่ กู้ นั ของชาวบ้าน ท้องถิ่นว่า เป็นฤดูกาลที่รอคอยของต้นชมพู่ ม่ า เหมี่ ย วที่ จ ะออกดอกเพื่ อ กลายเป็ น ผล เกสรดอกที่ ร ่ ว งลงพื้ น กรู ร าวกั บปู เ ป็ น พรม สีชมพูสว่าง ไม่เคยทีจ่ ะถูกทอดทิง้ ให้สญ ู เปล่า ในสายตาของคนชอบท�ำอาหาร เพราะในความ ชมพู ส ดสว่ า งสวย ยากที่ จ ะหาสี ธ รรมชาติ ไหนมาเทียบ เกสรของดอกชมพู่นี้ยังแฝงไป ด้วยประโยชน์ซ่ึงเหมาะกับการน�ำมาปรุงเป็น อาหาร ที่เปี่ยมไปด้วยคุณค่าของวิตามินเอ และซี ให้รา่ งกายได้นำ� ไปใช้เพือ่ เตรียมตัวต่อสู้ กับการเปลีย่ นแปลงของอากาศ ให้มภี มู คิ มุ้ กัน โดยที่ไม่ต้องใช้ยา แต่กินอาหารเพื่อเป็นการ รักษาและป้องกัน
mong dense green fields of A Bang Kachao, deep into Bang Krasorp area, an array of gigantic
perennial plants including cork and fruit trees that are blooming beautifully. It is commonly known among local villagers that the cool temperature during the tail end of the rainy season and the beginning of winter is long anticipated by Chompoo Mameaw ( Thai for Malay Apple) trees to bloom and turn into fruits. Aside from its unmatched natural bright pink color, Malay Apple pollens are highly packed with Vitamin A and C which help boost immunity during the season change. Thus, their fallen pollens are never wasted by people who love cooking. Rujirek Plabjang has a great passion in cooking with natural ingredients. She looks forward to each season change to create dishes of love and happiness. Under Malay Apple trees, umbrellas are hung facing up at night in advance to collect the fallen pollens for the making of "Malay Apple Pollen Spicy Salad", a mouthwatering dish with all the vibrant color, amazing taste and nutritions.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
คุ ณ รุ จิ เรข พลั บ จ่ า ง คื อ สุ ภ าพสตรี ที่ ห ลงใหลการท� ำ อาหารจากวั ต ถุ ดิ บ ใน ธรรมชาติ เธอเฝ้ารอการเปลี่ยนแปลงของ ฤดูกาล เพือ่ สร้างสรรค์เมนูทมี่ าจากความรัก และความสุข ร่มถูกกางหงายไว้ใต้ต้นชมพู่ ม่าเหมี่ยวเพื่อรองรับเกสรสีชมพูมาปรุงเป็น อาหารจานอร่อย ที่ให้ครบทั้งรสชาติ สีสัน และคุณค่าทางอาหาร ในจานทีช่ อื่ ว่า “ย�ำเกสร ดอกชมพู่ม่าเหมี่ยว” อาหารจานนีไ้ ม่มเี ครือ่ งปรุงหรือขัน้ ตอน ที่ยุ่งยากเลย แต่อยู่ที่การเสาะหาเกสรดอก ชมพู่ม่าเหมี่ยว ซึ่งจะต้องมีการเตรียมการ ตั้ ง แต่ ห นึ่ ง คื น ก่ อ นที่ จ ะท� ำ อาหารจานนี้ ด้ ว ยการเอาร่ ม ไปกางหงายรอรั บ เกสร ที่จะร่วงลงมาแล้วให้ร่มรับไว้ใต้ต้นชมพู่นั้น ถึ ง ตอนเช้ า ก็ อ อกไปเก็ บ เกสรที่ ร ่ ว งลงมา แต่ก็ต้องน�ำมาแยกออกจากใบไม้หรือกิ่ง ที่ร่วงปนลงมาอยู่ในร่มด้วยกันเสียก่อน
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 107
The cooking process is nothing complicated although it is important to understand the beautiful characteristics of this spicy salad. As the pollens already give a stunning color, crunchy texture and slightly astringent and sour taste, the dressing, which is a mixture of fish sauce, lime juice, chilli and a hint of sugar, must be proportionately balanced. Add more protein to the dish with scalded prawns and minced pork. Before serving, Rujirek tosses in some crunchy roasted cashew nuts as the final touch to the irresistible dish. Malay Apple Pollen Spicy Salad is one of Bang Kachao's ultimate local menus. Although the key ingredient may not be available all year long, one of the happiness in enjoying the dish is waiting patiently for the season change which, in a way, is a way of living harmoniously with the natural cycle. "When the Malay Apple pollen season is over, we still have other vegetables to look forward to. If we take a good care of the nature, we sure will also receive the benefits from it." There are many more interesting local menus depending on the season to explore at an opened pavillion surrounded by trees of "Lam Phoo Bang Krasorp." If you are coming with your family or in a group, it is recommended to make a prior reservation. Come try and see for yourself how amazing and delicious local vegetables can be.
ย�ำเกสรดอกชมพู่ม่าเหมี่ยว โครงการล�ำพูบางกระสอบ ต�ำบลบางกระสอบ อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๖ ๒๔๖๕ ๕๔๖๘
น อกจากเกสรดอกชมพู ่ ม ่ า เหมี่ ย วแล้ ว การปรุงน�้ำย�ำก็ไม่มีวัตถุดิบอะไรที่ซับซ้อน นอกจากส่วนประกอบหลักของรสชาติน�้ำย�ำ อย่าง “สามเกลอ” คือ น�้ำปลา มะนาว พริก และน�ำ้ ตาลเล็กน้อย มีหมูและกุง้ ทีล่ วกแยกไว้ เพื่อผสมเข้ากับน�้ำย�ำ ก่ อ นอื่ น จะต้ อ งเข้ า ใจรสชาติ ห ลั ก ของ อาหารจานนี้ ก ่ อ น ถึ ง จะสามารถให้ ค วาม สมดุลของรสชาติย�ำได้เหมาะ ความอร่อย ของจานนี้อยู่ที่ความสวยสะดุดตา ผิวสัมผัส อันกรุบๆ ของเส้นเกสร กับรสชาติที่มีความ มันเหมือนยอดผัก ซึ่งจะติดฝาดอ่อนๆ และ เปรีย้ วเล็กน้อยอยูบ่ า้ ง การไม่ให้รสชาติทจี่ ดั จ้าน เกินไป คือศิลปะของการลงน�ำ้ หนักในการปรุง รสเผ็ด เปรีย้ ว เค็ม และหวานเจือเล็กน้อย เพิม่ โปรตีนด้วยการใส่กงุ้ และหมูสบั ลวกลงไปคลุก เคล้าให้น�้ำย�ำเข้าเนื้อ ใส่ความละมุนละไมใน การบรรจงผสมเครื่องปรุง เมื่อชิมรสจนได้ ความกลมกล่อมตามที่ชอบแล้ว คุณรุจิเรข
MALAY APPLE POLLEN SPICY SALAD Lam Phoo Bang Krasorp Project. Bang Krasorp Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Tel: 06 2465 5468
ยังหยอดความสนุกและเพิ่มความกลมกล่อม ด้วยการใส่เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ทอดลงไป เพื่ อ ให้ ไ ด้ ร สชาติ ที่ มัน และเคี้ยวอร่อยแบบ ยากจะหยุด ยำ� เกสรดอกชมพูม่ า่ เหมีย่ ว ถือเป็นอาหาร พืน้ บ้านจานเด็ดของบางกะเจ้า ถึงแม้วา่ จะไม่ได้ มีให้กินกันตลอดทั้งปี แต่ความสุขในอาหาร จานนีค้ อื อารมณ์ของการเฝ้ารอฤดูกาล ซึง่ เป็น วิถขี องการใช้ชวี ติ กับวงจรธรรมชาติ “พอหมด ฤดูของเกสรดอกชมพู่ม่าเหมี่ยว เราก็ยังมี พืชผักอืน่ ให้เราเก็บให้เรากินได้อยู่ ถ้าเรารักษา ธรรมชาติ เราก็จะได้ประโยชน์จากเขา” ยงั มีอาหารพืน้ บ้านต�ำรับอิงธรรมชาติฝมี อื คุณรุจิเรขให้ได้ชิมอีกหลายเมนูในศาลาเปิด ทีล่ อ้ มรอบด้วยต้นไม้ของ “ล�ำพูบางกระสอบ” จะไปเป็นครอบครัวหรือหมู่คณะก็สามารถ ติดต่อล่วงหน้าเพื่อจัดเตรียมเมนูและสถานที่ กันก่อน แล้วจะได้รู้ว่าพืชผักพื้นบ้านนั้นมีทั้ง ความน่าอัศจรรย์และชวนชิมแค่ไหน N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
CRAFTSMANSHIP / KNITTING BY INSTINCT
KNITTING BY INSTINCT
ถักไหมพรม ด้วยสัญชาตญาณ
จะถักไหมพรมสักชิ้น หลายคนเสียเวลาไปลงคอร์สเวิร์กช็อป หรือไม่ก็ตามหาคู่มืองานฝีมือมานั่งศึกษาด้วยตัวเองก่อนท�ำ แต่ ป้าเล็ก หรือ นงลักษณ์ ภูติ ไม่อ่านอะไรก่อนทั้งนั้น เมื่อนึกอยากลองท�ำก็ลงมือท�ำด้วยตัวเอง นี่ละนะที่เขาว่ามือมนุษย์คือสิ่งมหัศจรรย์ เราได้พบกับป้าเล็กและพี่สาว (ป้าแมว) ในงานแสดงสินค้าของดีจงั หวัดสมุทรปราการ งานหนึ่ง ซึ่งสิ่งที่เตะตาเรามากๆ จนต้อง แวะคุยกับคุณป้าทั้งสองคือเสื้อคลุมกันหนาว สีแจ่ม ถักด้วยไหมเส้นทั้งตัว เรียกว่าถ้าหา กระโปรงยาวหรือกางเกงยีนส์เข้ารูปเท่ๆ มา สวมเข้าชุดกัน และสวมรองเท้าผ้าใบหรือบูต (ในกรณีไปต่างประเทศ) สักหน่อย อื้อฮือ ! แฟชั่นวีกก็แฟชั่นวีกเถอะ ชิดซ้าย พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
ย้อนหลังไปเมื่อหลายปีก่อน สองคุณป้า พีน่ อ้ งท�ำมาค้าขายด้วยการท�ำกล่องทิชชูรปู ทรง ตุ๊กตาต่างๆ และขนมไทยขาย ขณะเดียวกัน ก็ต้องสลับกันดูแลคุณแม่ที่ป่วย ในระหว่าง นั้นป้าเล็กซึ่งมีความสนใจในเรื่องของการถัก ไหมพรมก็เริ่มทดลองหาไหมมาลองถักเป็น ผ้าห่ม ซึ่งผลงานชิ้นแรกนั้นเป็นการทดลอง โดยใช้ไหมฟู กระทั่งคุณแม่ต้องเข้ารักษาตัวที่ โรงพยาบาล ป้าเล็กก็ทดลองถักเสื้อไหมพรม
ให้แม่ใส่ รูปแบบของตัวเสื้อที่ท�ำออกมานั้น ก็เป็นการออกแบบจากภูมิปัญญาของตัวเอง และตามสัญชาตญาณ ซึ่งเวลาคุณแม่นอน รักษาตัวอยู่บนเตียงที่โรงพยาบาล ก็จะชอบ พยายามเอามือมาดึงสายน�้ำเกลือที่ต่อท่อเข้า กับจมูกออก ป้าเล็กเลยถักเสื้อให้มีส่วนถุงมือ ปิดปลายที่ติดกับตัวเสื้อ คล้ายๆ กับถุงมือ ของเด็กอ่อน ท�ำให้แม่ไม่สามารถแกะสายน�้ำ เกลือออกได้ หลังคุณแม่เสียชีวิต ป้าเล็กพัฒนาฝีมือ ตัวเองต่อด้วยการถักไหมให้ได้ออกมาเป็น ลวดลายต่างๆ ไม่ว่าจะพิกุลหรือก้นหอย จาก รูปแบบของผ้าคลุมเตียงและผ้าพันคอก็เริ่ม พัฒนามาเป็นผ้าคลุมไหล่ เสื้อคลุมกันหนาว แบบสั้นและแบบยาว และเปลี่ยนชนิดไหมที่ ใช้จากไหมฟูมาเป็นไหมเส้น ซึ่งให้ความรู้สึก ของการสวมใส่ที่อุ่นกว่า แต่ขณะเดียวกันก็ สามารถสวมใส่ในฤดูกาลทีอ่ ากาศเย็นปกติได้ โดยไม่รสู้ กึ ร้อนหรือคันตัวเวลาเส้นไหมปะทะ ผิวหนัง ซึ่งในระหว่างที่เรานั่งคุยกับคุณป้า ทั้งสองนั้น ก็มีลูกค้าเพิ่งมาสั่งให้คุณป้าช่วย ถักชุดเข้ารูปให้ (ชุดแส็ก) ซึ่งป้าเล็กก�ำลังคิด วิธีออกแบบอยู่ ในส่วนของกลุ่มสีไหมพรมที่เลือกใช้โดย ปกตินั้น คุณป้าเน้นสีสดใสและสีเข้ม ท�ำให้ ลูกค้าทุกช่วงวัยมีทางเลือกในการน�ำไปใช้ ให้เหมาะกับเทศกาลและบุคลิกของตัวเอง โดยเมื่อพูดถึงราคาแล้ว จะถูกจะแพงขึ้นอยู่ กับชนิดไหมที่ใช้ แต่บอกเลยว่าไม่ได้แพงเลย เมื่ อ เที ย บกั บ ความอุ ต สาหะในการเรี ย นรู ้ ผิดถูกด้วยตนเอง และเวลาที่คุณป้าใช้ไปกับ การนั่ ง ถั ก หลั ง ขดหลั ง แข็ ง บางชิ้ นใช้เวลา เกือบอาทิตย์ บางชิน้ ต้องนัง่ ถักนานเป็นเดือน ตรงไหนเกิดผิดพลาดระหว่างทางก็ต้องรื้อ ซ่อมใหม่เดี๋ยวนั้น ไม่มีปล่อยผ่าน และไม่เคย ทิง้ ไหมส่วนทีเ่ หลือใช้ แต่จะน�ำมาปะติดปะต่อ ให้กลายเป็นผ้าขนหนูสผี สมชิน้ ใหม่ ซึง่ นีล่ ะค่ะ เสน่ห์ของงานท�ำมือที่หาไม่ได้ในเทคโนโลยี สมัยใหม่ใดๆ ใครสนใจงานไหมพรม ลอง ติดต่อคุณป้าดูนะคะ SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 109
n order to knit a piece, many Istudying spend their time in a workshop or each step from a how-to book themselves. However, once Aunty Lek or Nonglak Bhuti felt like trying something new, she just did it with her own hands. As they said, human hands are such a wonder.
We had an opportunity to meet Aunty Lek and her sister (Aunty Maew) at one of Samutprakan's Best Product Exhibitions. The outstanding item that immediately caught our attention was the vivid cardigan, sweater, jacket, coat?) all knitted with silk yarn. With a simple mix and match with a long skirt or a pair of nicely fitted jeans and a pair of sneakers or boots (if travel abroad), let's just say even Fashion Week has to step aside. Many years ago, the two aunties made a living by making and selling doll-shaped tissue boxes and thai desserts while taking turns looking after their sick mother. During that time, Aunty Lek started her first experiment knitting soft-fur yarns into a blanket. When their mother was admitted to the hospital, Aunty Lek realized her mother who lied in bed getting a treatment often pulled out the saline water extension tube attached to her breathing tube to her nose, thus, she knitted a cardigan with seamlessly extended gloves with closed ends similar to the noscratch newborn mittens based on her accumulated knowledge and intuition. As expected, it successfully prevented her mother from disconnecting the tube. After her mother passed away, Aunty Lek continued to explore and enhance her knitting skills with various patterns including traditional Phikul (Thai for Bullet wood) flower or spiral shell pattern. Her experiment evolved from bed covers to scarfs, capes, medium-length and long-length cardigans. Moreover, she gradually switched from softfur yarns to silk yarns which offer a warmer comfort but can also be worn in regular cool weather without irritating the skin. As we were talking to the aunties, a customer dropped an order asking them to
สนใจงานถักไหมพรมติดต่อคุณป้าสองพี่น้องได้ที่ โทรศัพท์ ๐๘ ๕๐๑๘ ๙๗๗๑, ๐๙ ๗๙๘๓ ๘๗๑๓ knit a customized bodycon dress which Aunty Lek had to work more on the design. Her clothes are available in vivid and dark colors to fit the different ages, preferences and occasions of her customers. Prices depend on the material although they are not pricey at all considering all the efforts she had invested in learning rights and wrongs all by herself or all the time she spent meticulously knitting piece by piece. Some pieces take a week while some take a whole month. If she runs into a tiny mistake, she immediately rips it
out and fixes it all over never letting it slide. Left-over yarns are never wasted and instead collected and stitched into mixed-color towels. These are all the fascinating charms of handicrafts that cannot be found elsewhere with new technologies. If you are interested in knitted products, we would love to recommend you to contact the two aunties.
For more information, please contact the two aunties via phone number 08 5018 9771 or 09 7983 8713.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
O T O P S H O P P I N G / C H E M I C A L - F R E E T I E - DY E I N G
CHEMICAL-FREE TIE-DYEING WHERE ART MEETS FASHION
มัดย้อมปลอดสารเคมี เมื่อศิลปะมาผสมกับแฟชั่น
การท�ำผ้ามัดย้อมไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ เพราะสมัยนี้ใครก็ท�ำกัน แต่ผู้ผลิตผ้ามัดย้อมที่ไม่ได้คิดแค่เรื่องธุรกิจ แต่ให้ความส�ำคัญกับคุณภาพชีวิตของคนซื้อ คนท�ำ รวมไปถึงคอยสอดส่องถึงผลกระทบจากการท�ำมัดย้อม ที่อาจมีต่อระบบสาธารณูปโภคของชุมชน ผู้ผลิตที่นึกถึงส่วนรวมเช่นนี้ไม่ได้มีอยู่เยอะ
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 111
ie-dyeing is nothing new to the T business. However, tie-dyers, who are not concerned solely
on the revenue but also the life quality of both the buyers and the producers while keeping an eye on possible impacts the processes may have on community utilities, are rare to find. While Isarn is popular for its Indigo dyeing and the North for Mo Hom dyeing, Colourful by Meena offers unusual products tie-dyeing products as the brand owner, Somdej and Meena Sisa-art embrace traditional tie-dyeing techniques blending in art and fashion. Each pattern derives from the imagination of experienced craftsmen whereas the distinctive feature of the dyeing colors imported from Germany is that they do not come off; thus, customers can be reassured that no harmful chemical will seep into their body. Despite such quality, products of Colourful by Meena remain inexpensive that we have to ask Meena why the brand is so brave with such investment and whether it is even worth it.
ภาคอีสานนิยมย้อมคราม ภาคเหนือนิยม ย้อมฮ่อม ส่วน Colourful by Meena เป็น งานผ้ามัดย้อมที่ฉีกแนวจากคนอื่น เพราะ เจ้าของแบรนด์ คุณสมเด็จ - คุณมีนา สีสะอาด ใช้วิธีการน�ำเอาเทคนิคของผ้ามัดย้อมใน สมั ย อดี ต มาประยุ ก ต์ ใ ห้ ก ลายเป็ น ค� ำ ว่ า ศิลปะผสมกับแฟชั่น โดยลวดลายที่เกิดขึ้น บนผ้าทุกชิ้นนั้นมาจากจินตนาการของช่าง ผูม้ ปี ระสบการณ์ลว้ นๆ ส่วนสีทเี่ ลือกใช้กเ็ ป็น สีนำ� เข้าจากประเทศเยอรมนี เป็นสีปลอดภัย ได้รับมาตรฐานการรับรองอย่างถูกต้อง ซึ่ง ความพิเศษของสีชนิดนี้จะไม่มีปัญหาเรื่อง สีตก ไม่ต้องคอยกังวลว่าสารเคมีที่ใช้ในการ มัดย้อมจะซึมผ่านเข้าสูร่ า่ งกายไหม ซึง่ พอถาม คุณมีนาว่าเอาเข้าจริง สินค้าของ Colourful by Meena ก็ไม่ได้แพง แต่ท�ำไมแบรนด์นี้ ถึงกล้าลงทุนกับสีได้ขนาดนี้ มันคุ้มเหรอ ?
“อันทีห่ นึง่ เลยเพราะเราคือสินค้า OTOP ค่ะ เราไม่รนู้ ะว่าคนอืน่ คิดกับตรงนีอ้ ย่างไร แต่กบั ตัวเราเอง สมัยเรียนท�ำมัดย้อมด้วยสีคณ ุ ภาพ ต�ำ่ และสีตก เราก็มองว่า เอ๊ะ ! เราจะแก้ปญ ั หา ตรงนีย้ งั ไงดีนะ เพราะสุดท้ายแล้ว ตัวเราเอง ก็ตอ้ งใส่ และเราเองก็อยากให้งานผ้ามัดย้อม ที่ลูกค้าซื้อไปใส่ไม่ก่อเกิดการระคายเคือง หรือเป็นพิษกับผิวของลูกค้า จะว่าไปก็เหมือน คุ ณ ท� ำ อาหารนั่ น ละค่ ะ ถ้ า คุ ณ ท� ำ ไม่ ดี ใส่ผงชูรสให้คนกินเข้าไปทุกวัน สุขภาพคนกิน ก็แย่ พวกสีมัดย้อมนี่เช่นกัน เราดมเราจับ เราหยิบมันทุกวัน ถ้าของไม่ได้การรับรอง มาตรฐาน เราก็ไม่รู้เหมือนกันว่าอีกหน่อย สุขภาพเราจะเป็นยังไง รวมไปถึงเรื่องของ ระบบการจัดการน�้ำเสียในระดับชุมชน ซึ่ง ถ้าแบรนด์เราขยายใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ น�ำ้ เสียที่ ทิ้งออกไปก็จะมีปริมาณเพิ่มขึ้น คงไม่ดีแน่ N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
"First of all, we are OTOP products. Back when I went to a tie-dyeing class, I kept trying to figure out how to deal with low quality dyeing color that kept coming off because in the end, we have to wear it and we never wish for our product to irritate or harm our customer's skin either. As a tie-dyer, we have to smell it and touch it on a daily basis so if the color quality do not pass safety standards, we have no idea what it will gradually do to our health. Moreover, we take waste water management within the community to our heart to avoid toxicating the environment as our brand grows. Now, the reason we keep our prices to a few hundred baht is because we want everyone to have an opportunity to try our products. We do not expect to become the bestselling brand but at least, we hope our customers can proudly say that Samutprakan does have chemical-free tie-dyeing products." "Back then, I decided to further enhance the tie-dyeing at the institute. Having managed to assemble a group of young sewers and with my personal funding, we established a small community enterprise and started our product making experiment." At Colourful by Meena, Meena and her husband are in charge of the design, the pattern and the cutting before handing them to sewers' boyfriends, who are motorcycle taxi riders, in order to pass them to the sewers. As sewing staffs of the brand are mostly housewives, they only start sewing after their daily missions in preparing meals and taking care of their children are completed. The dyeing part, however, belongs to Meena, Somdej, the sister-in-law and the grandchildren together. Sometimes, grandmother next door would ask if they could help stitching the product tags to the clothes.
*For more information of Colourful by Meena, please visit Facebook Fanpage : Colorful2016 or call 080-995-4105.
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 113
ส่วนเรื่องราคา ต้องบอกว่าที่เราขายสินค้า แค่ราคาหลักสามสี่ร้อยบาท เพราะเราอยาก ให้ ทุ ก คนได้ มี โ อกาสทดลองใช้ สิ น ค้ า เรา เราไม่ได้หวังว่าสินค้าเราจะต้องขายดีที่สุด แต่อย่างน้อยอีกหน่อยคนที่ซื้อไปก็จะเอาไป พูดได้ว่า สมุทรปราการเขามีมัดย้อมแบบ ปลอดสารเคมีด้วยนะ” ส� ำ หรั บ แบรนด์ ผ ้ า มั ด ย้ อ มแฟชั่ น Colourful by Meena เริ่มจากที่คุณมีนา มีพื้นฐานชีวิตซึ่งโตมาในบ้านที่เห็นคุณแม่ นั่ ง เย็ บ ผ้ า ทุ ก วั น โดยมี ตั ว เองเป็ น ลู ก มื อ จนวั น หนึ่ ง เมื่ อ มี โ อกาส คุ ณ มี น าเลยไป หาความรู ้ เ พิ่ ม เติ ม ที่ ส ถาบั น พั ฒ นาฝี มื อ แรงงานภาค ๑ จังหวัดสมุทรปราการ โดย หลั ง จากเรี ย นไปเรื่ อ ยๆ อาจารย์ ผู ้ ส อนก็ เห็นแววในตัวคุณมีนา และอยากให้คุณมีนา มาช่วยถ่ายทอดส่งต่อความรู้ไปยังรุ่นน้องๆ จากวั น นั้ น มา ในทุ ก วั น เสาร์ แ ละอาทิ ต ย์
คุณมีนาจึงได้เขยิบหน้าที่ไปเป็นวิทยากรใน ส่วนของการออกแบบตัดเย็บเสื้อผ้าประจ�ำ สถาบัน ขณะที่วันจันทร์ถึงวันศุกร์ คุณมีนา จะจัดสรรเวลาไปช่วยท�ำเสื้อผ้าให้กับแบรนด์ แฟชั่นดังเจ้าหนึ่ง โดยมีกลุ่มรุ่นน้องมาเป็น ช่างเย็บ กระทั่งช่วงหนึ่งที่เศรษฐกิจตกต�่ำ งานเสื้อผ้าแฟชั่นที่รับจ้างท�ำอยู่นั้นมีจ�ำนวน การสั่งผลิตลดลง คุณมีนาและสามีจึงคิดหา ทางออกในการหารายได้มาเสริมให้กับน้องๆ โดยข้อแรกเลยคือจะต้องลงทุนไม่เยอะ “ตอนนั้นเราเลยกลับไปต่อยอดเรื่องการ มัดย้อมที่สถาบันอีกครั้ง และเอาน้องๆ ที่ เป็นช่างเย็บมารวมตัวกันเป็นวิสาหกิจชุมชน เล็กๆ แต่เราไม่ได้รวมหุ้นเยอะ เราใช้ทุนของ ตัวเองเป็นหลัก เพราะเหตุผลจริงๆ คืออยาก ให้น้องๆ เขาได้มามีส่วนร่วม จากวันนั้นเราก็ เริ่มทดลองผลิตสินค้ากัน”
ทีมงานของ Colourful by Meena เป็น ระบบการท�ำงานระหว่างพีน่ อ้ งและครอบครัว โดยคุณมีนาและสามีท�ำหน้าที่ออกแบบ ท�ำ แพตเทิร์นและตัด จากนั้นก็จะส่งต่อให้แฟน ช่างเย็บซึ่งเป็นวินมอเตอร์ไซค์น�ำไปส่งให้ถึง มือช่าง ซึง่ ลักษณะการท�ำงานของช่างแบรนด์ นีเ้ ป็นวิถขี องแม่บา้ น โดยช่างเย็บจะเริม่ ลงมือ เย็บผ้าก็ต่อเมื่อเสร็จสิ้นภารกิจจากการท�ำ กับข้าวและดูแลลูกเรียบร้อยแล้ว ส�ำหรับใน ส่วนของการย้อม คุณมีนา คุณสมเด็จ น้องสะใภ้ และหลานๆ จะมาช่วยกันท�ำ และบางโอกาส คุณยายข้างบ้านก็จะเอ่ยปากขอมีส่วนร่วม ด้วยกับการนั่งร้อยป้ายสินค้าเพื่อติดเข้ากับ ตัวผ้ามัดย้อม ดูผลงานเพิ่มเติมของ Colourful by Meena ได้ที่ Colourful2016 โทรศัพท์ ๐๘ ๐๙๙๕ ๔๑๐๕
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
E AT & D R I N K / A G A L I N G A R D E N R O O M
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 115
A MEMORABLE MEAL AT AGALIN'S DINING ROOM AMIDST THE WATER AND JAZZ MUSIC IN THE FOREST GARDEN
มือ้ พิเศษทีห่ อ้ งกลางน�ำ้ ของอะกาลิน กับเพลงแจ๊สในสวนป่า
ตามหาร้ า นนี้ เ หมื อ นตามหาขุ ม ทรั พ ย์ เป็ น ร้ า น ที่อาศัยความอยากไม่พอ แต่ต้องอาศัยความตั้งใจ ในการตามหาด้วย ไม่ใช่ว่าอยู่ไกลแสนไกลอะไร หรอกค่ ะ แต่ ส ถานที่ ตั้ ง จะอยู ่ ห ลบมุ ม เล็ ก น้ อ ย ในย่านซอยสันติคาม ๘ จนเมื่อเลี้ยวรถเข้าไปจอด ทางด้านหน้าของตัวร้านเท่านั้น เป็นใครก็ต้องร�ำพึง ออกมาว่า “มาอยู่ตรงนี้ได้ยังไงเนี่ย” earching for this restaurant is like going S on a treasure hunt. Although brilliantly disguised in the corner of Soi Santikham 8, the moment we were greeted by a spacious water garden in the middle of Agalin Garden Room immediately made us feel all our efforts were worth it.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
และเมื่ อ เดิ น ผ่ า นเข้ า ไปจนเจอสวนน�้ ำ ขนาดใหญ่ตรงกลางของ Agalin Garden Room (อะกาลิน การ์เด้นรูม) อีกประโยคที่ จะตามมาในทันทีคือ “คุ้มจริงๆ ที่ตามหา” เดิมทีพื้นที่ของ Agalin Garden Room เป็ น เพี ย งบ้ า นพั ก อาศั ย และสวนป่ า ของ คุ ณ อ� ำ นาจ คี ต พรรณา (สถาปนิ ก และนั ก จัดสวน) เจ้าของบริษัท Polygram Design และ คุณสุขสันต์ หมัน่ ดี (นักออกแบบเซรามิก) ซึ่ ง ตั ว บ้ า นมี อ ายุ ย าวนานกว่ า ๓๐ ปี แ ล้ ว โดยย้อนไปเมื่อ ๒ ปีก่อนหน้า คุณอ�ำนาจและ คุณสุขสันต์จะใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ที่เขาใหญ่ มากกว่า เนือ่ งจากผลงานการออกแบบโดยมากนัน้ คือบ้านพักและโครงการใหญ่ๆ ในบริเวณเขาใหญ่ อาทิ โครงการพาลิ โ อ ซึ่ ง เป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น ดี กระทัง่ จนวันหนึง่ มีคนมาขอซือ้ บ้านทีเ่ ขาใหญ่ ของคู ่ อ า-หลาน ก็ เ ลยเป็ น จั ง หวะดีในการ ให้ อ า-หลานตั ด สิ น ใจง่ า ยขึ้ น กั บ การย้ า ย กลับเข้ามาอยู่ในบ้านหลังนี้ที่สมุทรปราการ คุณสุขสันต์เล่าว่า แต่ก่อนเวลาเดินเข้ามาที่นี่ นอกจากตัวบ้านที่มีขนาดไม่ได้ใหญ่โตอะไร ส่วนที่เหลือทั้งหมดที่เห็นอยู่คือสวนป่าทึบ จนเมื่อตัดสินใจย้ายเข้ามาอยู่สมุทรปราการ คุ ณ สุ ข สั น ต์ แ ละคุ ณ อาซึ่ ง เคยมี กิ จ การร้ า น อาหารอยู่ที่พาลิโอด้วย จึงตัดสินใจเซ้งร้าน พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 117
Initially, Agalin Garden Room was only a living space and a forest garden of Amnart Kheetaphanna (an architect and a landscape gardener), the owner of Polygram Design Company and Suksan Mandee (a ceramic designer). Two years ago, both Amnart and Suksan spent most of their time in Khao Yai designing many remarkable weekend residences and projects including Palio until someone asked to buy their houses making it easier for the uncle and his niece to move back to Samutprakan. Suksan admitted that at first, there was nothing but a small house surrounded by a thick forest garden. Once the decision was made, they sold their restaurant in Palio but some kitchen crews who had been working closely with them for some twenty years decided to follow their bosses wherever they went. Inspired to run a restaurant at her new home, she believed that even if the house was deep inside the alley, it would not be that difficult to come by with a BTS skytrain station nearby.
อาหาร ส่วนทีมงานในครัวซึ่งบางคนอยู่กับ เจ้านายมา ๒๐ ปีแล้ว ก็เลือกที่จะติดสอย ห้อยตามเจ้านายไปทุกที่ คุณสุขสันต์จึงเกิด ไอเดียว่า น่าจะลองท�ำร้านอาหารในบ้านดู เพราะถึงแม้ตัวบ้านจะอยู่ลึกสักหน่อย แต่ก็ เดินทางมาถึงได้ไม่ยากอะไร เนือ่ งจากมีสถานี รถไฟฟ้าอยู่ใกล้ๆ ขณะนั่งรออาหารกินเล่นในเรือนกระจก กลางน�้ำ คุณสุขสันต์บอกว่าบ่อน�้ำที่เห็นอยู่น้ี ได้มาจากการขุดดินของเดิมออกเพื่อน�ำไป ปลูกบ้าน พืน้ ทีส่ วนเองก็ได้รบั การดูแลเอาใจใส่ อย่างสม�่ำเสมอ โดยในทุกเดือนจะมีฝ่ายดูแล สวนเกือบสิบชีวิตจากบริษัทของคุณอ�ำนาจ เข้ามาคอยตัดเล็มต้นไม้ใบหญ้า และในทุกๆ วันยังมีคนสวนประจ�ำบ้านคอยดูแลเก็บกวาด จึงท�ำให้สวนแห่งนี้ดูมีชีวิตชีวาอยู่ตลอดเวลา ส่วนโคมไฟและเฟอร์นิเจอร์ที่ใช้ตกแต่งร้าน ทั้งหมดก็เป็นของเก่า ที่อาและหลานตามหา สะสมมาจากทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งเมื่อก่อนเฟอร์นิเจอร์ทั้งหมดเป็นของใช้ ตกแต่งในโครงการบ้านพักส่วนตัวจ�ำนวน ๘ หลัง
ของคุณอ�ำนาจ ซึ่งตั้งอยู่ที่ริมแม่น�้ำโขงจังหวัด เลย สมั ย นั้ น คุ ณ อ� ำ นาจมั ก จะจั ด แคมป์ ดนตรีคลาสสิก และเชิญอาจารย์ดนตรีจาก ต่างประเทศมาท�ำเวิร์กช็อปให้กับนักศึกษา ทีโ่ ครงการบ้านพักส่วนตัวอยูบ่ อ่ ยๆ และเพราะ ความเป็นคนที่หลงใหลในดนตรี คุณอ�ำนาจ ยังเป็นหนึง่ ในนักฟังดนตรีทมี่ โี น้ตเพลงคลาสสิก เก็บเอาไว้เยอะที่สุดคนหนึ่ง และนั่นจึงท�ำให้ นอกจากทีน่ จี่ ะเป็นร้านอาหารแล้ว วันดีคนื ดี คุณอาจจะได้พบกับบรันช์มื้อพิเศษ นั่งกิน อาหารไป ฟั ง เพลงแจ๊ ส ในสวนที่ ม าแสดง กันสดๆ ไป ส�ำหรับประเภทอาหาร ทีน่ เี่ น้นอาหารไทย เป็นหลัก และเชื่อไหมว่าต่อให้มาอยู่หลบมุม ขนาดนี้ โดยที่เจ้าของเองก็ไม่ได้ท�ำการตลาด หรือโฆษณาอะไรเลย แต่กลายเป็นว่าทุกวันนี้ นอกจากจะมีลกู ค้าคนไทยทีเ่ ป็นลูกค้าประจ�ำ แล้ว ลูกค้าต่างชาติทั้งชาวยุโรปและเอเชียก็ เดินเข้ามานัง่ กินกันบ่อยๆ ขนาดทีเ่ จ้าของร้าน ยังนึกสงสัย จนอดถามลูกค้าเหล่านั้นไม่ได้ว่า “รู้จักร้านนี้ได้ยังไง”
AGALIN GARDEN ROOM สันติคาม ซอย ๘ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๑๙๒๖ ๕๗๒๔ ปิดทุกวันจันทร์
While waiting for our appetizers in a waterfront glasshouse, Suksan explained how the soil from pond digging was used to build the house, how the lively garden would constantly be groomed and pampered by a dozen of professional gardeners from Amnart's company and how all the lamps and furnitures were brought here from Amnart's private residential project located by Mekong River, Loei province. With great passion in music, Amnart did not only frequently organized classical music camp inviting music teachers from abroad to run a workshop for college students at his private residence but he also had one of the largest classical music note collections, thus, on one fine day, you might be able to enjoy your delightful brunch with live Jazz music playing in the garden. As for the food, Agalin Garden Room's highlights are Thai dishes. Hidden in such deep corner without a single marketing or advertising campaign, this place is still packed with Thai, European and Asian customers that even the owners cannot help but wonder, "how did you find out about this place?"
AGALIN GARDEN ROOM Santikham Soi 8, Samutprakan Tel: 081 926 5724 Closed Every Monday N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
E AT & D R I N K / O Z C O F F E E
OZ COFFEE THE LOVEABLE FRIENDSHIP GATHERING SPOT
จุดนัดพบของ มิตรภาพ OZ Coffee คือร้านกาแฟเล็กๆ ที่อยู่ ระหว่างทางของการขี่จักรยานในซอย เพชรหึงษ์ ๒๘ เป็นร้านของชุมชนคน อาศัยในย่านนี้ มีความเรียบง่ายด้วย ร้านเรือนไม้ผสมปูนลงสีแบบปูนแดง ด้านในมีเก้าอี้ โต๊ะจากไม้เนื้อแข็งเก่า ที่ออกแบบให้ดูมีความกลมกล่อมของ สีและรูปทรง own the bicycle path in Soi D Phetchahueng 28, OZ Coffee is a small coffee shop with a
simplified design. Its structure is a mixture of wood and mortar painted with red-lime color. Inside, the chairs and tables are made of old hardwood in coordinated colors and designs.
ถ้าดูผิวเผินแล้ว ร้านกาแฟ OZ Coffee อาจเป็นแค่ร้านกาแฟระหว่างทาง แต่เป็น สภากาแฟของคนที่ อ ยู ่ ใ นละแวกนั้ น ทั้ ง เป็ น คนที่ ย ้ า ยส� ำ มะโนครั ว มาใช้ ชี วิ ต อยู ่ ที่ บางกะเจ้าและคนทีอ่ ยูท่ นี่ นั่ อยูแ่ ล้ว ความเป็น ส ภ า ก า แ ฟ ข อ ง ร ้ า น นี้ เ ป ็ น ส ่ ว น ผ ส ม ของอั ธ ยาศั ย ที่ ดี ข องคู ่ เจ้ า ของร้ า นที่ เ ป็ น ชาวต่างชาติและคนบางกะเจ้า OZ Coffee จึ ง เป็ น เหมื อ นห้ อ งนั่ ง เล่ น และร้ า นกาแฟ ให้ “ชาวบ้าน” ของชุมชนได้มานั่งจิบกาแฟ คุยแลกเปลี่ยนเรื่องราวข้อมูลแบบเห็นหน้า เห็นตาไม่ต้องผ่านโซเชียลมีเดีย คุณออซซี่ พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
เจ้าของร้านฝ่ายชายเป็นอดีตนักข่าวชาวตุรกี และเคยท� ำ งานสายการบิ น แห่ ง ชาติ ตุ ร กี มาก่ อ น เขามาเป็ น เขยบางกะเจ้ า เพราะ ผูกปิ่นโตรักสร้างครอบครัวกับคุณแอนท์แห่ง บางกอบัว ส่วนคุณแอนท์นนั้ เคยเป็นช่างภาพ แต่ตอนนีผ้ นั ตัวมาท�ำงานบริษทั เพราะเพิง่ จะ มีลูกตัวน้อยด้วยกัน คุ ณ ออซซี่ เ ป็ น คนดู แ ลบ้ า น เลี้ ย งลู ก และเปิดร้านกาแฟ และร้านนี้ก็เป็นที่พบปะ สั ง สรรค์ ใ ห้ กั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว และเพื่ อ นๆ ชาวต่างชาติหลายคน ทีไ่ ม่ได้แค่แวะดืม่ กาแฟ เข้มสดจากเครือ่ ง และใช้ Wi-Fi ที่ OZ Coffee SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 119
Together with the warm hospitality of the owner couple, OZ Coffee is practically a living room and a coffee forum of the local community. of Bang Kachao where villagers would have a comfortable sip of coffee while exchanging information face-to-face. Ozzy, the male owner, was a Turkish news reporter and worked at a Turkish National Airline before tying the knot with Ant of Bang Kor-Bua. Ant, on the other side, was a photographer but later become an employee at a company because of their recently born baby. Ozzie takes care of the house, the baby and a coffee house. This place is not only a loveable hang-out spot to both tourists and his foreigner fellows who do not only stop by for a cup of freshly brewed coffee and an access to Wifi but also a tourist center. Here, Ozzie loves sharing interesting stories about the local neighborhood, recommending and answering different questions to cyclists who are curious about places in and off the map. The wonderful highlight that keeps people coming back to OZ Coffee is, thus, the tastiness beyond the coffee cup - the amusement of having interesting conversation, making new friends, and getting to know people who actually settle down here in Bang Kachao. On one fine day, there may also be a Turkish dessert to pair with a cup of strong coffee.
เท่านัน้ แต่ยงั ใช้เป็นเหมือนศูนย์กลางการท่องเทีย่ ว ทีค่ ณ ุ ออซซีจ่ ะเป็นคนคอยเล่าเรือ่ งน่าสนใจของย่านนี้ ให้ฟัง และพร้อมแนะน�ำตอบค�ำถามให้กับนักปั่น จักรยาน ที่อยากรู้แผนที่และสถานที่นอกกระดาษ สี สั น ของการมาถึ ง OZ Coffee จึ ง เป็ น อารมณ์ ข องความอร่ อ ยที่ อ ยู ่ น อกถ้ ว ยกาแฟ ซึ่งให้รสชาติของความสนุกของบทสนทนาและ มิ ต รภาพใหม่ และรู ้ จั ก คนที่ ม าใช้ ชี วิ ต อยู ่ ที่ นี่ เหมือนว่าเรามีเพื่อนใหม่ที่บางกะเจ้า ถ้าโชคดี วันดีคืนดีจะได้ขนมหวานแบบตุรกีมากินคู่กาแฟ รสเข้ม และนี่อาจจะเป็นเหตุผลที่ท�ำให้ต้องกลับ ไปหาเพื่อนใหม่รสใหม่กันเรื่อยๆ
OZ COFFEE
ซอยเพชรหึงษ์ ๒๘ ต�ำบลบางกอบัว อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เปิดทุกวัน เวลา ๐๗.๓๐-๑๗.๓๐ นาฬิกา โทรศัพท์ ๐๘ ๑๓๔๘ ๓๗๙๙ OZ COFFEE Soi Phetchahueng 28, Bang Kor-Bua Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan. Open Daily from 07.30 am-05.30 pm Phone: 08 1348 3799
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
E AT & D R I N K / T H E A R T O F F O O D
THE ART OF FOOD CAPTIVATING FLAVOR AND ART ON A DISH
รื่นรมย์กับรสชาติและศิลปะ บนจานอาหาร
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
จากสถานี ร ถไฟฟ้ า แบริ่ ง เข้ า ไปใน ซอยสุขุมวิท ๑๐๗ อาจท�ำให้หลายคนมี ปลายทางของการนัดพบ ที่ร้านอาหาร และร้านกาแฟสไตล์อนิ ดัสเทรียลทีด่ บู กึ บึน แต่อบอุ่น The Art of Food สะดุดตา ด้วยการใช้วัสดุแบบตู้คอนเทนเนอร์มา เป็นโครงสร้าง เติมความน่าอยูแ่ ละอบอุน่ ด้วยการเจาะช่องหน้าต่างกับประตูให้ดู โปร่งได้แสงสว่าง เหมาะที่จะนั่งท�ำงาน อ่านหนังสือ หรือมาเพื่อบ�ำบัดความหิว เพราะเมือ่ เปิดประตูเข้าไป กลิน่ กาแฟหอมๆ จะลอยออกมาต้อนรับให้อารมณ์ดีทันที เมนู ข องร้ า นนี้ ห ลากหลาย และ สามารถฝากท้องได้ตั้งแต่มื้อเช้า กลางวัน เย็ น ไปจนถึ ง เที่ ย งคื น ที่ เ ผื่ อ มื้ อ ส�ำหรับ คนกลับบ้านดึก ด้วยลิสต์ยาวเหยียดชนิด ที่ ว ่ า สั่ ง อาหารทั้ ง วั น ก็ ยั ง ไม่ ค รบทุ ก จาน เริ่มต้นกับกาแฟเย็นอย่างไอซ์เอสเพรสโซ ที่ยิ่งรอให้น�้ำแข็งรสขมค่อยๆ ละลายจะยิ่ง อร่อย ตามด้วยอาหารไทยเป็นมื้อกลางวัน ที่มีรสชาติเข้มข้น และขนาดก�ำลังดี ไม่อิ่ม เกินไป ไม่เล็กเกินไป อย่าง จานน�ำ้ พริกกะปิ พร้อมไข่ลูกเขย ที่มีความเค็ม หวาน เผ็ด ผสมกันกลมกล่อม สั่งมาพร้อมอาหารย�ำ กึ่งสลัด อย่าง ย�ำปลาแซลมอน หรือย�ำต้น ดอกทานตะวันอ่อนกุ้งสด เป็นมื้อกลางวัน ที่อิ่มได้แบบมีความสุขจริงจัง ถ้านัดเพือ่ นไปด้วยกันหลายคนก็ไม่ตอ้ ง กลัวหากจะสัง่ อาหาร อย่าง ขาหมูเยอรมัน ทอด ที่ ม าพร้ อ มน�้ ำ จิ้ ม รสชาติ ส ะดุ ้ ง ลิ้ น และพาสต้าทีห่ ลากหลายด้วยอาหารจานเส้น อย่ า ง พาสต้ า คาโบนาราที่ มี ค วามเป็ น ครีมเข้มข้น หรือจะเป็นพาสต้าเส้นหมึกด�ำ ที่มาพร้อมกุ้งตัวใหญ่เต่งๆ ไปจนถึงอาหาร จานสเต๊ก เพราะเมนูของ The Art of Food ให้อสิ ระในการเลือกทีเ่ หมาะกับทัง้ อารมณ์ ความหิวและจ�ำนวนของคนร่วมโต๊ะ ไม่ว่า จะมาคนเดียว มากับเพื่อนสนิท ครอบครัว หรือมาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่ SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 121
he meaning of "Art" is not limited T to the creation that expresses feelings, emotions and thoughts to
convey the artist's intention or identity evolving around goodness but also a part of the culture that people within the society collectively create to embrace aesthetics, to preserve the cultural heritage, to signify each local identity and to mark the transition era with art as a medium and the artist as the messenger. Despite the cultural diversity of Samutprakan and the diffusion of communities with unique identity including traditional communities that inherit local knowledge and wisdom through generations and newly emerged communities from the adaptation to the changing social context, art remains inseparable from Samutprakan's way of life. It connects, integrates and constitutes countless masterpieces reflected by distinguished artists from various fields. In this issue, @Samutprakan lets you get more familiar with a series of artists whose identities are closely bonded with Samutprakan. The interview also reveals how they extract and incorporate the beauty of their home community with their artistic skills and expertise resulting in valuable masterpieces. Some have become exciting tourist destination landmarks of Samutprakan and some have brought about a healthier community economic development. Moreover, there are stories about pleasant ways of living that keep reminding us that art has indeed penetrated and continued to flow in every aspect of our lives.
THE ART OF FOOD
ซอยสุขุมวิท ๑๐๗ หรือซอยแบริ่ง ๓๑ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๙๘ ๓๖๖๕ เปิดทุกวัน เวลา ๑๐.๐๐-๒๔.๐๐ นาฬิกา
THE ART OF FOOD Soi Sukhumvit 107 or Soi Bearing 31 Samutprakan Tel: 0 2398 3665 Opens daily from 10:00 am - 12:00 am
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
M A K E A R E S E R VAT I O N / P H O P R A K N A B A N G N A M P H U E N G
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 123
PHOP RAK NA BANG NAMPHUENG DEAR MEMORIES IN GRANDPA'S OASIS GARDEN
พบรัก ณ บางน�้ำผึ้ง แด่ความทรงจ�ำ ในบ้านสวนโอเอซิสของคุณตา
บ้ า นหลั ง นี้ เ คยถู ก ปิ ด ไว้ น านหลายปี ตั้ ง แต่ ส มั ย ที่ เจ้าของเดิมในรุ่นคุณตาเสียชีวิต โดยในช่วงที่คุณตายังมี ชีวติ อยูน่ นั้ หลานๆ ทีเ่ ติบโตมากับคุณตาคุณยายซึง่ มีอาชีพ ท�ำสวน ภายในอาณาเขตพื้นที่ของบ้านหลังงาม ซึ่งล้อม ไว้ด้วยความสมบูรณ์ทางธรรมชาติในทุกมิติ ก็ไม่ได้รู้สึก ตื่ น เต้ น อะไรเลยกั บ ภาพของพระอาทิ ต ย์ ขึ้ น หรื อ พระอาทิตย์ตก ที่ใครผ่านไปผ่านมา ก็เป็นต้องบ่นว่าอิจฉา เด็กๆ ในบ้านของคุณตาว่า “ท�ำไมบ้านเธอถึงได้น่าอยู่ ขนาดนี้” he house was locked down for years after T grandpa, the original owner passed away. Raised by grandparents who were both gardeners,
the grandchildren grew acquainted with the lush green natural settings around their house wondering why every passerby was so excited and envious of the sunrise and sunset in their backyard.
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 125
As a mother who had to send off and pick up her kids from school every day, the granddaughter decided to move to a more convenient Bangkok and announced the house for rent. One day, a movie crew rented the place for the shooting. When the drama broadcasted her grandpa's waterfront house, all her childhood memories flashed back. "As a child, I wasn't really into this house. My grandpa was living his gardening life while his children and grandchildren all lived in the city. When he was strong and healthy, I still remember how he would climb up coconut trees bringing us fresh palm juice and strongly refused to move away from with his beloved garden." Eventually, Kob-the granddaughter took the rental sign down, reorganized her life, left her routine job, and revived her grandfather's house. Nowadays, not only her family members regularly drop by to take care of the house, but Kob also partially transformed the house into a safe and friendly four-room homestay section with a small restaurant.
จนวั น หนึ่ ง หลานสาวของบ้ า นเติ บ โต มีครอบครัวของตัวเอง เธอเลือกย้ายเข้าไป อยู ่ ใ นกรุ ง เทพฯ เพราะส� ำ หรั บ คนเป็ น แม่ ที่ต้องรับ-ส่งลูกไปโรงเรียนทุกวันแล้ว การใช้ ชีวิตอยู่ในเมืองเป็นอะไรที่สะดวกกว่ามาก ส่วนบ้านหลังนี้ก็ถูกปิดประกาศให้เช่าติดไว้ หน้าบ้าน จนกระทั่งวันดีคืนดี กองถ่ายละคร ก็มาขอเช่าสถานที่เพื่อใช้ในการถ่ายท�ำ และ เมื่อภาพบ้านริมน�้ำของคุณตาได้ถูกเผยแพร่ ออกไป จึงเป็นโอกาสให้หลานสาวได้ทบทวน ความทรงจ�ำจากเมื่อช่วงวัยเยาว์ กับการเกิด และเติบโตในบ้านหลังนี้ “ตอนเด็กๆ อาจจะไม่อินกับบ้านหลังนี้ เท่าไหร่ เพราะสมัยนั้นคุณตาเองแกก็ใช้ชีวิต แบบชาวสวนของแกไป ส่วนลูกๆ หลานๆ ก็ออกไปใช้ชีวิตข้างนอก เข้าเมืองกันหมด จนในวั น ที่ คุ ณ ตาเสี ย คนในครอบครั ว ก็แยกย้ายออกไปมีครอบครัวของตัวเอง จ�ำได้วา่
ช่วงท้ายๆ ของคุณตา แกถึงยอมที่จะสลับ เข้าไปนอนในเมืองบ้าง ถ้าเป็นก่อนหน้านั้น ที่แกยังแข็งแรงดีอยู่น่ะเหรอ ไม่มีทางเลย ที่แกจะยอมไปไหน แกมักบอกว่า ฉันจะอยู่ สวนของฉัน สมัยก่อนคุณตาปีนต้นมะพร้าว ด้วยนะ คนในบ้านได้กนิ น�ำ้ ตาลสดกันบ่อยๆ” ท้ า ยที่ สุ ด คุ ณ กบ-หลานสาวคุ ณ ตา ดึงป้ายให้เช่านัน้ ออก เปลีย่ นระบบการจัดการ ชีวติ ของตัวเองเสียใหม่ ลาออกจากงานประจ�ำ และกลั บ มาปั ด ฝุ ่ น บ้ า นคุ ณ ตาให้ ก ลั บ มา มี ชี วิ ต ขึ้ น อี ก ครั้ ง ซึ่ ง นอกจากทุ ก วั น นี้ จ ะมี คนในครอบครัวแวะเวียนมาช่วยดูแลบ้านกัน อย่างสม�่ำเสมอแล้ว คุณกบยังแบ่งส่วนหนึ่ง ของบ้านท�ำเป็นที่พักในรูปแบบของโฮมสเตย์ ขนาด ๔ ห้อง และยังมีส่วนของร้านอาหาร ซึง่ ต้องบอกว่า ถ้าคุณก�ำลังมองหาทีพ่ กั สักแห่ง กั บ ความรู ้ สึ ก ปลอดภั ย และเป็ น กั น เอง คุณมาถูกบทความแล้ว !
There are two ways to travel to Phop Rak Na Bang Namphueng Homestay. If it is not too dark, take the ferryboat from Bang Na Nok Temple to Bang Namphueng Nok Temple and a few-minutes walk to Phop Rak. On the other hand, if it gets dark, you are suggested to take a motorcycle taxi. When traveling by private boat taxi, it is important to spare some time and travel options because sometimes when the tide gets too low, the boat cannot dock at the staircase of Phop Rak. Moreover, for safety reasons, Kob always reminds her guests "the door closes at 08.00 pm" as the homestay is run by the family without a particular receptionist and as the lifestyle of waterfront community, after the sunset, it is time to turn off the light, watch tv soap opera and get ready for bed, thus, the road outside can be rather dark. The breakfast here is like when you spend the night at your friend's home. There are slices of bread ready for you to toast with coffee and porridge as your alternatives. Here, you will not only Phop Rak (Thai for "meet your love") but will also fall in love. N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
การเดิ น ทางมายั ง พบรัก ณ บางน�้ำผึ้ง โฮมสเตย์ คุณสามารถเข้าได้ ๒ ทาง คือถ้ายัง ไม่เย็นค�่ำจนเกินไป จากวัดบางนานอก นั่งเรือ ข้ามฝั่งจนมาถึงท่าเรือวัดบางน�้ำผึ้งนอกแล้ว ก็ให้เดินเลาะมาเรื่อยๆ จะถึงพบรักซึ่งใช้เวลา แค่ไม่กี่อึดใจ แต่หากมืด เริ่มมองไม่เห็นทาง ก็แนะน�ำให้นั่งวินมอเตอร์ไซค์หรือรถรับจ้าง จะดี ก ว่ า รวมทั้ ง ในส่ ว นของการนั่ ง เรื อ นั้ น คุณอาจต้องเผือ่ ทางเลือกในการเดินทางไว้หน่อย เพราะในกรณีของเรือรับจ้างส่วนตัว บางจังหวะ ถ้าน�้ำแห้ง ก็ไม่สามารถน�ำเรือเข้ามาจอดส่ง คุ ณ ที่ บั น ไดทางขึ้ น ของพบรั ก ได้ และเพื่ อ ความปลอดภัยของทัง้ เจ้าบ้านและแขกทีเ่ ข้าพัก คุณกบมักจะบอกกับแขกเสมอว่า “ประตูบ้าน จะปิดเวลา ๒ ทุม่ ” เนือ่ งจากการดูแลธุรกิจทีพ่ กั แห่งนี้ เป็นการจัดการกันเองแบบครอบครัว ไม่ได้มแี ผนกต้อนรับ รวมทัง้ วิถชี าวบ้านริมน�ำ้ เอง พอหั ว ค�่ ำ เข้ า หน่ อ ย ก็ ไ ด้ เวลาปิ ด ไฟดู ล ะคร ก่อนเข้านอนกันหมดแล้ว ฉะนั้น เส้นทางการ สัญจรภายนอกตัวบ้านจึงค่อนข้างมืด ในส่วนของอาหารเช้า มันคืออารมณ์แบบ เดียวกับเวลาที่เราไปนอนบ้านเพื่อนนั่นละค่ะ ตื่นเช้ามา เขาจะมีขนมปังวางเตรียมไว้ให้ปิ้ง มีกาแฟ และข้าวต้ม คุณจะไม่แค่พบรักทีน่ ี่ แต่คณ ุ จะหลงรัก
พบรัก ณ บางน�้ำผึ้ง โทรศัพท์ ๐๙ ๕๙๑๒ ๙๔๔๙, ๐๘ ๑๘๔๗ ๖๓๐๐ ราคาห้องพักรวมอาหารเช้า วันจันทร์-พฤหัสบดี ๓,๐๐๐ บาท, วันศุกร์-อาทิตย์ และวันนักขัตฤกษ์ ๓,๕๐๐ บาท PHOP RAK NA BANG NAMPHUENG Phone: 095 912 9449, 081 847 6300 Room Rate including breakfast Mon - Thu: 3,000 Baht Fri - Sun and public holiday: 3,500 Baht
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 127
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
SAMUTPRAKAN HOT SHOT
THE ESTUARY OF
CHAO PHRAYA RIVER
ชีวิตเสรีปากน�้ำเจ้าพระยา / ไพโรจน์ FREEDOM AT THE ESTUARY OF CHAO PHRAYA RIVER / PAIROT พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 129
ปากน�้ำเจ้าพระยา
ทัศนียภาพจากป้อมผีเสื้อสมุทร / ดวงเนตร THE VIEW FROM PHI SUEA SAMUT FORT / DUANGNET
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
C A L E N DA R / S A M U T P R A K A N 2 0 1 8 E V E N T
EVENT
CALENDAR
ปฏิทินท่องเที่ยว
จังหวัดสมุทรปราการ
SEAGULL WATCHING
BANG PU RECREATIONAL CENTER. BANG PU MAI SUB-DISTRICT, MUEANG DISTRICT, SAMUTPRAKAN FROM DECEMBER 2018 - APRIL 2019
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
ดูนกนางนวล บริเวณสถานตากอากาศบางปู ต�ำบลบางปูใหม่ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E
TRAVEL
@SAMUTPRAKAN 131
THE 7TH PAKNAM LANTERN FESTIVAL
AT DHARMA KATANYU FOUNDATION (XIAN LOH TAI TIAN GONG SHRINE) 5 SOI DHARMA KATANYU FOUNDATION, SUKHUMVIT ROAD, BANG PU MAI SUB-DISTRICT, MUANG DISTRICT, SAMUTPRKAN FEBRUARY 1 - 24, 2019
เทศกาลโคมไฟแสงสีแห่งเมืองปากน�ำ้ ครั้งที่ ๗ ที่ มูลนิธิธรรมกตัญญู (เสียนหลอไต้เทียนกง) เลขที่ ๕ ซอยมูลนิธิธรรมกตัญญู ถนนสุขุมวิท ต�ำบลบางปูใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ วันที่ ๑ – ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒
N OVEMB ER - DECEMB ER 2018
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
Samutprakan Provincial Administrative Organization samutprakan.pao@gmail.com
www.samutprakan-pao.go.th