Travel @ samutprakan Sep-Oct-2018

Page 1

Issue 11

หนังสือแนะนำ�แหล่งท่องเที่ยวและของดี จังหวัดสมุทรปราการ

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๑ ประจำ�เดือนกันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑ VOL. 5 / NO. 11 / SEPTEMBER - OCTOBER 2018

THE RIVER OF HAPPINESS

Free Copy

THE RIVER OF HAPPINESS

่ วล่องคลองคู่เมือง เทีย

่ วสนุก เทีย

่ รมย์สองฝั่งคลอง รืน

CAFÉ DE CANAL

ผ่อนคลายชายน�ำ้





สารจาก...

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ Samutprakan is known as the city of streams. Not only it is situated at the estuary of Chao Phraya River before flowing out of Gulf of Thailand, there is also a large number of canals that passes through and connect local communities in all area. Thus, the people of Samutprakan are strongly bonded with the streams which have always been their lifeblood from the past to the present. A majority of canals in Samutprakan were excavated to enhance the transportation. Some were dug as a shortcut. After the arrival of these canals, people flocked into the area and built communities along the canals which still exist until now. Undoubtedly, many canals have a long history alongside Samutprakan Province although many transportational conditions have changed over time. Some canals now serve other purposes. For example, Khlong Lat Pho (Lat Pho Canal) was originally excavated to shorten the traveling distance down Chao Phraya River but has currently been reassigned to flood prevention according to the Royal Initiative Project of King Rama IX. Nowadays, many canalside communities in Samutprakan now receives a larger attention and thus developed into a famous tourist destination. Travelers love to pay a visit and learn the lifestyle of villagers by the canal as it is full of interesting stories including the local history, religion, cultures, traditions and ways of life which have been so well-preserved and inherited till the present particularly the long known trade districts like Khlong Suan 100 Year Old Market, Bang Phli Traditional Market and Ban Sakhla. Having realized the importance of canals that have always stood alongside Samutprakan, Samutprakan Provincial Administrative Organization actively works on the canal preservation and restoration: eliminating garbages and other water pollution to maintain its cleanliness, renovating nearby landscape, and conserving natural environment on both banks of the canal. It also encourages local communities to take their parts in preserving and looking after canals in their own neighborhood. Moreover, it promotes canal related activities and traditions so they may continue to coexist in the way of life of both the locals and Samutprakan just like the one and the only Rub Bua Tradition on Samrong Canal at Bang Phli Yai Nai Temple. At the same time, the Provincial Administrative Organization of Samutprakan also promotes canalside community tourism with more interesting activities to raise more recognition. Such promotion will not only help strengthen the pride of their community but also generate more revenue. We believe that the people's way of life along the canal is an exceptional symbol of Samutprakan that deserves a sustainable preservation as well as one of the city's precious natural resources for tourism that should be widely recommended. Thus, we have them presented in this latest issue of @SAMUTPRAKAN.

จังหวัดสมุทรปราการเป็นทีร่ จู้ กั กันว่าเป็นเมืองแห่งสายน�ำ ้ ไม่เพียงที่ตั้งเมืองอยู่ตรงปากแม่น�้ำเจ้าพระยาไหลผ่านก่อน ออกสู่อ่าวไทย แต่ยังมีล�ำคลองมากมายไหลเชื่อมต่อชุมชน ทั่วทุกพื้นที่ ชาวสมุทรปราการจึงผูกพันกับสายน�้ำที่เป็น เส้นเลือดหล่อเลี้ยงชีวิตมาตั้งแต่ครั้งอดีตจนถึงปัจจุบัน คลองส่ ว นใหญ่ ข องจั ง หวั ด สมุ ท รปราการถู ก ขุ ด ขึ้ น ใช้เป็นประโยชน์ใ นด้ า นคมนาคม บางคลองขุ ด เพื่ อ เป็ น เส้นทางลัด ภายหลังจึงมีชุมชนก่อตั้งตามมาตลอดริมคลอง เหล่านั้น และยังด�ำรงอยู่ถึงปัจจุบัน คลองหลายสายจึงมี ประวัติศาสตร์เคียงคู่กับจังหวัดสมุทรปราการ แม้เงื่อนไข ด้านการสัญจรจะเปลี่ยนไป แต่คลองบางสายยังใช้ประโยชน์ ในด้านอื่น อย่างคลองลัดโพธิ์ที่ขุดเพื่อย่นระยะเวลาการ เดิ น ทางตามแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา ตอนนี้ ก ลั บ ท� ำ หน้ า ที่ ใ หม่ ในการป้องกันน�้ำท่วมตามโครงการพระราชด�ำริของในหลวง รัชกาลที่ ๙ ในปั จ จุ บั น ชุ ม ชนริ ม คลองของจั ง หวั ด สมุ ท รปราการ ได้รบั ความสนใจเป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีม่ ชี อื่ เสียง นักท่องเทีย่ ว ชอบมาเทีย่ วชมวิถพี นื้ ถิน่ ริมน�ำ้ ทีเ่ ต็มไปด้วยเรือ่ งราวน่าสนใจ ทัง้ ประวัตศิ าสตร์ ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และวิถที อ้ งถิน่ ซึ่งยังด�ำรงอยู่อย่างงดงามเหมือนวันวาน โดยเฉพาะย่านที่ เป็นตลาดการค้ามาแต่โบราณ อย่างตลาดคลองสวน ๑๐๐ ปี ตลาดโบราณบางพลี ตลาดน�้ำบางน�้ำผึ้ง และบ้านสาขลา ด้ ว ยตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของล� ำ คลองที่ อ ยู ่ คู ่ กั บ จังหวัดสมุทรปราการ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ จึ ง ได้ ด� ำ เนิ น การท� ำ นุ บ� ำ รุ ง และฟื ้ น ฟู ค ลองแต่ ล ะสายให้ อยู ่ ใ นสภาพที่ ดี ขจั ด ขยะมู ล ฝอยและมลพิ ษ ให้ น�้ ำ คลอง คงความสะอาด ปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ ใ ห้ ง ดงามเคี ย งคู ่ เ มื อ ง และรักษาธรรมชาติรมิ ฝัง่ เอาไว้ ทัง้ ยังสนับสนุนการมีสว่ นร่วม ของชุ ม ชนในการอนุ รั ก ษ์ แ ละดู แ ลล� ำ คลองของตน พร้อมไปกับส่งเสริมกิจกรรมและประเพณีเกี่ยวกับล�ำคลอง ให้ด�ำเนินต่อไปอยู่คู่กับวิถีท้องถิ่นและจังหวัดสมุทรปราการ เช่ น ประเพณี รั บ บั ว ในคลองส� ำ โรงที่ วั ด บางพลี ใ หญ่ ใ น ซึ่งมีอยู่เพียงแห่งเดียวในโลก ขณะเดียวกันองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ยังเน้นส่งเสริมการท่องเที่ยวตามชุมชนริมคลองให้มีกิจกรรม น่าสนใจและเป็นที่รู้จักมากขึ้น เพื่อสร้างความภาคภูมิใจ และรายได้ให้แก่ท้องถิ่น เพราะเราเชื่อว่าวิถีเมืองแห่งสายน�้ำ เป็นเอกลักษณ์สำ� คัญของจังหวัดสมุทรปราการทีค่ วรรักษาไว้ ให้ ยั่ ง ยื น และเป็ น ทรั พ ยากรที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ การท่ อ งเที่ ย ว ที่ ค วรแนะน� ำ ให้ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก แพร่ ห ลายดั ง ที่ ร วบรวมไว้ ใ น @SAMUTPRAKAN ฉบับล่าสุดนี้


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๑ ประจ�ำเดือนกันยายน-ตุลาคม ๒๕๖๑ Vol. 5 / No. 11

September - October 2018

ที่ปรึกษา CONSULTANT นายพูลทวี ศิวะพิรุฬห์เทพ Mr. Poonthavee Sivaphiroonthep ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปฏิบัติหน้าที่ Chief Administrator of the PAO Acting as นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ Chief Executive of the Samutprakan PAO คณะท�ำงาน นายธนวัฒน์ กล�่ำพรหมราช รองปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ นางสาวทองดี กูลศิริ หัวหน้าส�ำนักปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด นางสุรีวัน สุขพัตร์ หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป นางสาววชิราภรณ์ บุญเสริฐ นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ นางสาวชนันรัตน์ สมณศักดิ์ นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ นางสาวบัณฑิตา ลายคราม นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ นางปวีณา สีค�ำ เจ้าพนักงานธุรการช�ำนาญงาน จัดพิมพ์โดย องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ถนนสุทธิภิรมย์ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๘๙ ๐๖๐๐ แฟกซ์ ๐ ๒๓๙๕ ๔๕๖๐ ต่อ ๒๐๙

WORKING GROUP

Mr. Tanawat Klamprommarach Deputy Chief Administrator of the Samutprakan PAO Miss Tongdee Kulsiri Head of the office of the PAO Mrs. Sureewan Sugapat Chief of General Administration Subdivision Miss Wachiraporn Boonsert Public Relations Officer, Professional Level Miss Chananrat Sommanasak Public Relations Officer, Professional Level Miss Banthita Laikram Public Relations Officer, Practitioner Level Mrs. Paweena Sikham General Service Officer, Experienced Level PUBLISHED BY

Samutprakan Provincial Administrative Organization Suthipirom Road, Paknam Subdistrict, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Province 10270 Tel. 0 2389 0600 Fax 0 2395 4560 ext. 209

ผลิตโดย CREATED BY บริษัท แจสมิน มีเดีย จ�ำกัด Jazzmin Media Co., Ltd. โทรศัพท์ ๐๘ ๖๓๓๙ ๑๑๘๑, ๐๘ ๕๙๐๖ ๔๗๘๑ Tel. 08 6339 1181, 08 5906 4781 อีเมล jazzmin-media01@hotmail.com e-Mail jazzmin-media01@hotmail.com


EDITOR'S TALK With all the essences of the river that nurture countless lives in terms of consumption, livelihood and transportation, people preferred to settle down by the water until it expanded into a larger community with buildings to serve their ways of living, cultivating into cultures and traditions closely connected to the river. Even when time changes, these local lifestyles stay integrated in the local identity which, subsequently, helps inspire tourism activities that revolve around the stream. Samutprakan is a city that is situated on the plain at Chao Phraya River estuary with multiple canals flowing pass by connecting each and every communities including Samrong Canal, Sapphasamit Canal, Khlong Suan Canal, Khlong Lat Luang Canal, Khlong Lat Pho Canal. Thus, there is no wonder why people would grow such an inseparable bond with the water which is reflected in their everyday life, their fascinating cultures, traditions and festivals. Interestingly, they are an amazing foundation that helps trigger and promote tourism activities in waterfront communities of Samutprakan making itself known and loved among travelers. In this issue, @SAMUTPRAKAN carefully handpicks and presents each traveling route along the canals and into each community. We unfold the stories behind every significant canals including their history, lifestyles, temples, religious places, marketplaces as well as fun and exciting water activities as an option for travelers when planning to visit Samutprakan. Besides interesting tourist attractions by the canal, many columns in this issue including ones that usually focus on the lifestyle, delicious food and nature are also covering canal related content. They portray a reflection of the importance of the canal and how it benefits people in a variety of contexts including recreational purposes. The key essence of every travel by the water depicted in this issue of @SAMUTPRAKAN is not merely an invitation letter that encourages travelers to come and experience the local way of life and other interesting aspects of the river or canals in Samutprakan but also an essential factor that will keep people close to Samutprakan for a very long time.

ด้วยความส�ำคัญของสายน�ำ้ ทีต่ อ้ งหล่อเลีย้ งชีวติ ทัง้ ใน ด้านอุปโภคและบริโภค ประกอบอาชีพ และใช้คมนาคม ผู ้ ค นจึ ง ต้ อ งตั้ ง บ้ า นเรื อ นอยู ่ ใ กล้ แ หล่ ง น�้ ำ จนกระทั่ ง ขยายตัวเป็นชุมชนใหญ่ที่เต็มไปด้วยสิ่งปลูกสร้างรองรับ การด�ำเนินชีวิต และเพาะบ่มเป็นวัฒนธรรม ประเพณี ที่ผูกพันกับสายน�้ำ แม้เมื่อเวลาผ่านไปวิถีพื้นถิ่นเหล่านี้ กลายเป็นอัตลักษณ์ที่เกื้อหนุนให้เกิดกิจกรรมท่องเที่ยว ที่ยึดโยงอยู่กับสายน�้ำ จังหวัดสมุทรปราการเป็นเมืองที่ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่ม ปากแม่น�้ำเจ้าพระยา และมีล�ำคลองหลายสายที่ไหล เชื่ อ มโยงต่ อ เนื่ อ งไปสู ่ ชุ ม ชนต่ า งๆ ทั้ ง คลองส� ำ โรง คลองสรรพสามิต คลองสวน คลองลัดหลวง และคลอง ลัดโพธิ์ ผู้คนจึงผูกพันกับสายน�้ำจนยากจะแยกจากกัน ทั้ ง การด� ำ รงชี วิ ต ตลอดจนประเพณี อั น น่ า ตื่ น ตา ในช่วงเทศกาลส�ำคัญ สิ่งน่าสนใจล้วนเป็นต้นทุนส�ำคัญ ที่ช่วยส่งเสริมกิจกรรมท่องเที่ยวที่น่าสนใจตามชุมชน ริมน�้ำของจังหวัดสมุทรปราการให้เป็นที่รู้จักและนิยม ในหมู่นักท่องเที่ยว @SAMUTPRAKAN ฉบั บ นี้ จึ ง ตั้ ง ใจน� ำ เส้ น ทาง ท่องเทีย่ วคลองและชุมชนริมน�ำ้ ของจังหวัดสมุทรปราการ มาแนะน�ำให้รู้จัก โดยถ่ายทอดเรื่องของคลองสายส�ำคัญ ที่มีทั้งประวัติศาสตร์ วิถีชุมชน วัดวาอาราม ศาสนสถาน ตลาดการค้า และกิจกรรมสนุกสนานทางน�้ำ เพื่อเป็น ทางเลือกส�ำหรับนักท่องเทีย่ วในการเดินทางมาท่องเทีย่ ว จังหวัดสมุทรปราการอีกรูปแบบหนึ่ง นอกจากสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจตามริมน�้ำแล้ว คอลัมน์ต่างๆ ทั้งไลฟ์สไตล์ ของอร่อย และเรื่องราว ธรรมชาติ ยั ง ได้ น� ำ เสนอเนื้ อ หาที่ เ กี่ ย วพั น กั บ สายน�้ ำ ไว้ด้วยเช่นกัน เพื่อให้เห็นถึงความส�ำคัญของสายน�้ำ ที่เอื้อประโยชน์ต่อผู้คนในหลากหลายบริบท รวมทั้ง ในด้านสันทนาการเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ เรือ่ งราวการท่องเทีย่ วเลียบสายน�ำ้ ใน @SAMUTPRAKAN ฉบับนี้ ไม่เพียงเชิญชวนให้นักท่องเที่ยวมาสัมผัสเที่ยว ชมวิ ถี แ ละสิ่ ง น่ า สนใจของแม่ น�้ ำ ล� ำ คลองของจั ง หวั ด สมุทรปราการ แต่ตง้ั ใจให้เป็นประตูบานส�ำคัญทีเ่ ชือ่ มโยง ผูค้ นกับสายน�ำ้ ให้แนบแน่นคูจ่ งั หวัดสมุทรปราการตลอดไป


UPDATE

FEATURE

12 : KNOW IT FIRST

28 : COVER JOURNEY

เกร็ดน่ารู้ที่ไม่เคยรู้ของจังหวัดสมุทรปราการ

สายน�้ำแห่งความสุข

รู้ก่อนเที่ยว

14 : HOT IN TOWN

เที่ยวจากปก

THE RIVER OF HAPPINESS

เที่ยวที่ใหม่

72 : ART ALONG THE WAY

KHLONG KHUT CHAO MUEANG EVENING FLOATING MARKET

พระสมุทรเจดีย์ ริมคุ้งน�้ำเจ้าพระยา

ตลาดน�้ำยามเย็นคลองขุดเจ้าเมือง

ศิลป์ในเส้นทาง

PHRA SAMUT CHEDI AT THE BEND OF CHAO PHRAYA RIVER

16 : DID YOU KNOW?

74 : AROUND TOWN

TIPS ABOUT SAMUTPRAKAN

เดินเที่ยวสองฝั่งคลองลัดโพธิ์

เกร็ดจังหวัดสมุทรปราการ

18 : SMPK HISTORY

ที่นี่มีอดีต

พระสมุทรเจดีย์

ท่องทั่วเมือง

WANDER ALONG TWO SIDES OF LAT PHO CANAL

GREEN TRIP

PHRA SAMUT CHEDI

20 : SOONER

ไม่นานเกินรอ

ค้นพบความสุข เปิดมุมมองใหม่สมุทรปราการ

SAMUTPRAKAN EXPLORE THE NEW HORIZON

22 : READY TO GO

พร้อมเที่ยว เที่ยวไม่กลัวฝน

FUN TRAVEL WITHOUT FEAR OF RAIN

24 : MAP

แผนที่นักเดินทาง

เที่ยวคลองสมุทรปราการ

CRUISE DOWN SAMUTPRAKAN CANALS

86 : GREEN SPACE

ย่านนี้สีเขียว

รักษ์คลองแพ คืนชีวิตให้คลองสวย

PRESERVE KHLONG PAE (WITH LOVE) REVIVE THE CANAL

94 : NATURE JOURNEY

รักษ์ธรรมชาติ

ลิงแสม ชีวิตซุกซนในป่าชายเลน

CRAB-EATING MACAQUE A NAUGHTY LIFE IN MANGROVE FOREST


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN

CONTENTS LIFESTYLE 100 : GOOD RECIPE

เมนูพื้นบ้าน

แกงกรุบมะพร้าว

CRUNCHY YOUNG COCONUT SHELL CURRY

104 : CRAFTSMANSHIP

ท�ำมือ

ผ้ามัดย้อมลูกจาก

NIPA-PALM DYEING

108 : OTOP SHOPPING

ของฝากของดี

จากด้ามช้อนถูกทุบแบนสู่...พรมอเนกประสงค์ดอกทานตะวัน FROM A HAMMERED THAI SOUP SPOON HANDLE TO MULTI-PURPOSE SUNFLOWER CARPETS

112 : EAT & DRINK

เที่ยวไปชิมไป กาแฟริมคลอง

CAFÉ DE CANAL

ก๋วยเตี๋ยวทะเลเจ๊พร

JE PORN SEAFOOD NOODLES PREMIO COFFEE

122 : MAKE A RESERVATION

ค�่ำนี้นอนไหน

บ้านกลางสวน บางกอบัว

BAAN KLANGSUAN BANG KO-BUA

126 : SAMUTPRAKAN HOT SHOT

ภาพสวยสมุทรปราการ ชีวิตที่สวยงาม

LIFE IS BEUTIFUL

128 : CALENDAR

ปฏิทินกิจกรรม

ISSUE 11

SEPTEMBER - OCTOBER 2018


U P D AT E

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 11

get to know

HOT IN TOWN | KNOW IT FIRST SMPK HISTORY | SOONER

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


K N OW I T F I R ST

GET TO KNOW SAMUTPRAKARN

รู้จักสมุทรปราการ

จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ที่มาเที่ยวจังหวัดสมุทรปราการเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยมีจ�ำนวนถึง

๑,๐๒๖,๗๐๔ คน ในปี ๒๕๕๙

The number of international tourists travelling to Samutprakan province increases every year with an estimated number of

1,026,704 visitors in 2016

นักท่องเที่ยวต่างชาติสร้างรายได้ให้ จังหวัดสมุทรปราการตลอดปี

๒,๕๑๔.๗ ล้านบาท an average revenue generated to Samutprakan

2,514.7 million baht throughout the year

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 13

นักท่องเที่ยวต่างชาติใช้จ่ายที่ จังหวัดสมุทรปราการเฉลี่ย

๑,๖๖๗.๒ คน / วัน an average expenditure in Samutprakan

1,667.2 / PERSON / DAY

นักท่องเที่ยวต่างชาติใช้เวลาอยู่ที่ จังหวัดสมุทรปราการเฉลี่ย

๒.๓ วัน / คน an average time spent per stay in Samutprakan

2.3 DAYS / PERSON

จังหวัดสมุทรปราการมีห้องพัก รองรับนักท่องเที่ยวทั้งสิ้น

๓,๘๙๓ ห้อง

an average room accommodation in Samutprakan

3,893 rooms

#อ้างอิงข้อมูลล่าสุดปี ๒๕๕๙ จากส�ำนักงานสถิติจังหวัดสมุทรปราการและส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


H O T I N T O W N / E V E N I N G F L O AT I N G M A R K E T

KHLONG KHUT CHAO MUEANG EVENING FLOATING MARKET SHOP AND CHILL. A PLEASANT APPETITE BY THE CANAL.

ตลาดน�้ำยามเย็นคลองขุดเจ้าเมือง ช้อป-ชิม...อร่อยรื่นรมย์ริมน�้ำ

ตลาดน�้ำเคยเป็นห่วงโซ่ที่ผูกคล้องวิถีชีวิตของชุมชนริมคลองเข้า ด้วยกัน เมื่อครั้งผู้คนยังพึ่งพาสายน�้ำและใช้เรือเดินทางสัญจรเป็นหลัก นับเป็นเสน่ห์ส�ำคัญของวัฒนธรรมและวิถีริมน�้ำในอดีตที่เลือนหายไป เมื่อความเจริญทางบกเข้ามาแทนที่ ทว่าวันนี้ตลาดน�้ำได้กลับมาในรูปแบบของภาพจ�ำลองวิถีจากอดีตเพื่อ อนุรักษ์วัฒนธรรมและสนับสนุนกิจกรรมการท่องเที่ยวในอีกรูปแบบหนึ่ง ส่งผลให้ตลาดน�้ำเป็นที่รู้จักอีกครั้ง เมื่อมีการฟื้นฟูบรรยากาศซื้อขายสินค้า ภายในชุมชนให้หวนคืน กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

จังหวัดสมุทรปราการมีตลาดน�้ำหลายแห่งเปิดเป็น แหล่งท่องเที่ยว เช่น ตลาดน�้ำบางน�้ำผึ้งที่มีชื่อเสียงรู้จัก กันดี และขณะนีม้ ตี ลาดน�ำ้ เปิดขึน้ ใหม่อกี แห่งหนึง่ ในซอย สุขสวัสดิ์ ๖๖ ใช้ชอื่ ง่ายๆ ตามคลองทีต่ งั้ ว่า ตลาดน�ำ้ ยามเย็น คลองขุดเจ้าเมือง จุดเด่นของตลาดน�้ำแห่งใหม่นี้ อยู่ที่เปิดขายเกือบ ทุกวัน วันธรรมดาเริ่มบ่าย ๓ โมง ไปจนถึง ๓ ทุ่ม เน้นซุ้ม ขายอาหารหลากหลายประเภทให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วและ นักชิมได้เข้ามาเลือกเมนูอิ่มอร่อยในยามเย็นหลังเลิกงาน จัดบริเวณที่นั่งกินอาหารขนานไปตามล�ำคลอง ให้นั่ง เอนหลังสบายๆ บนเก้าอีน้ วมในบรรยากาศริมน�ำ ้ เฝ้ามอง ฝูงปลาสวายแหวกว่ายน�ำ้ คลองอย่างเพลิดเพลิน ช่วงน�ำ้ ขึน้ ฝูงปลาจะพากันว่ายเข้ามาใกล้รุมกินอาหารที่โปรยให้ อย่างน่าตื่นตา แต่ละวันมีพ่อค้าแม่ค้าน�ำอาหารมาบริการหลายสิบ ร้าน รวมทั้งอาหารพื้นถิ่นน่าชิมอย่างขนมจากที่มีต้นจริง ให้ดูริมคลองตรงข้ามตลาด หรือผัดไทยปลาสลิด เมนู ฟิวชันที่น�ำปลาสลิดแห้งอาหารขึ้นชื่อของอ�ำเภอบางบ่อ มาประยุกต์ใส่ผัดไทยให้น่ากิน บริเวณซอยสุขสวัสดิ์ ๖๖ ยังเป็นชุมชนของมุสลิม จึงมีร้านค้าส่วนหนึ่งขายอาหาร อิสลามเพื่อบริการพี่น้องมุสลิมและนักท่องเที่ยวทั่วไป นับเป็นอีกจุดขายที่น่าสนใจของตลาดน�้ำแห่งนี้ ส� ำ หรั บ วั น หยุ ด สุ ด สั ป ดาห์ ตลาดน�้ ำ ยามเย็ น คลองขุดเจ้าเมืองเปิดตั้งแต่ ๑๑ โมง มีพ่อค้าแม่ค้า น� ำ พื ช ผั ก ผลไม้ แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นท้ อ งถิ่ น ตลอดจน ของใช้ต่างๆ มาขาย ท�ำให้ตลาดคึกคักกว่าวันธรรมดา ทางตลาดยั ง จั ด กิ จ กรรมหลายอย่ า ง เพื่ อ สร้ างความ เพลิดเพลินแก่ลูกค้า ทั้งโชว์มวยไทย การแสดงดนตรีไทย สอนท�ำอาหาร ศิลปะส�ำหรับเยาวชน ฯลฯ หมุนเวียนไป ในแต่ละวัน ตลาดน�้ำยามเย็นคลองขุดเจ้าเมือง

ซอยสุขสวัสดิ์ ๖๖ อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๙ ๕๗๑๘ ๒๕๖๐ วันอังคาร-ศุกร์ เปิดเวลา ๑๕.๐๐-๒๑.๐๐ นาฬิกา วันเสาร์-อาทิตย์ เปิดเวลา ๑๑.๐๐-๒๑.๐๐ นาฬิกา Khlong Khut Chao Mueang Evening Floating Market Soi Suksawad 66, Phra Pra-Daeng District, Samutprakan, 10130 Phone: 09 5718 2560 Open Hours: 15:00-21:00 Tue-Fri / 11:00-21:00 Sat-Sun

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 15

Floating market used to be the chain that bound the lifestyles within the community together back when people still depended their lives on water and mainly traveled by boat. Such significant charms of traditional cultures and waterside way of life faded away as soon as land civilization took over .

the canal as Khlong Khut Chao Mueang Evening Floating Market.

Nevertheless, today, floating market has returned in the form of a simulation of the ancient way of living aiming to conserve local cultural characteristics and promote tourism activity in a way. The floating market is known again after the restoration of conventional goods trading environment to the community.

The strong selling point of this new water market is the fact that it opens up to six days a week. On weekdays, it starts from 3:00 pm to 9:00 pm with an array of food delicacies for both tourists and food roamers to explore after work. The seating zone is provided in parallel with the canal. It is here where visitors may feel free to sit back comfortably on couches in a waterfront environment looking at striped catfish swimming merrily in the water. During the rising tide, a larger school of fish swim closer and excitedly enjoy scattered food from fish-feeding activities.

In Samutprakan, there is a large number of floating markets opened as tourist attractions such as the well-known Bang Nam-Phueng Floating market. Recently, a new water market emerges in Soi Suksawad 66. It is simply named after the

Everyday, there are dozens of food stalls with many interesting menus including delightful local desserts like Kha-Nom Jak (a sweetened black sticky rice flour with shredded coconut wrapped and charcoalroasted in a Nipa Palm leaf ) whose leaf

wrapper's trees can be seen growing by the canal across the market. Another recommended dish is Pad-Thai Pla-Salid, a fusion Thai dish that implements Pla-Salid (or gourami fish), one of Bang Bo District's great delicacies. Since Soi Suk Sawad 66 is home to a Muslim community, many shops also serves Islamic food to Muslim fellows and tourists. Altogether, the food variety has interestingly gained the market a great advantage. On weekends, Khlong Khut Chao Mueang Evening Floating Market opens earlier from 11.00 am. With more vendors bringing in their fresh vegetables, fruits, local produces, groceries and many more, the market is more vibrant than ever. Moreover, the water market also organizes a rotating list of entertaining programs for its customers ranging from Thai kickboxing Show, traditional Thai instrumental performance to cooking demonstration and arts for kids.

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


D I D YO U K N O W ?

TIPS ABOUT SAMUTPRAKAN

เกร็ดจังหวัดสมุทรปราการ

H.T.M.S. Mae Klong is majestically displayed to welcome travelers at Chulachomklao Fort. She is an old warship with over 59-years long of service, which is said to be the longest in the Royal Thai Navy's history. She was commissioned in 1937 after being deployed in several significant missions including serving as a Royal Yacht of King Rama VIII and King Rama IX, participating in Greater East Asia War (or better known as World War II), and serving as a training ship of the navy. Now, she is under the preservation of the Thai Royal Navy who had renovated her into a Thai Warship Museum in 1996.

เรือหลวงแม่กลอง ตั้งเด่นรอต้อนรับนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวชม ป้อมพระจุลจอมเกล้า เป็นเรือรบที่ประจ�ำการ นานถึง ๕๙ ปี นับว่านานทีส่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

กองทั พ เรื อ ไทย โดยขึ้ น ระวางประจ� ำ การ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๘๐ ผ่านการใช้งานในหน้าทีส่ ำ� คัญ หลายครัง้ เช่น เป็นเรือพระทีน่ งั่ ในรัชกาลที่ ๘ และรั ช กาลที่ ๙ เข้ า ร่ ว มรบในสงคราม

มหาเอเชียบูรพา และใช้เป็นเรือฝึกของทหารเรือ ปั จ จุ บั น กองทั พ เรื อ ด� ำ เนิ น การอนุ รั ก ษ์ แ ละ ปรั บ ปรุ ง เป็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เรื อ รบไทย เมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙

ตราจังหวัดสมุทรปราการเป็นรูปพระสมุทร เจดีย์ หรือที่เรียกกันว่า พระเจดีย์กลางน�้ำ ถื อ เป็ น ปู ช นี ย สถานคู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ งและ สั ญ ลั ก ษณ์ ข องจั ง หวั ด สมุ ท รปราการ สร้ า งขึ้ น ในสมั ย รั ช กาลที่ ๒ มาแล้ ว เสร็ จ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ บริเวณพระสมุทรเจดีย์ เดิมเป็นเกาะมีน�้ำล้อมรอบ ต่อมาชายตลิ่ง ฝั่งขวาของแม่น�้ำตื้นเขินงอกออกมาเชื่อมติด กั บ เกาะอั น เป็ น ที่ ตั้ ง พระเจดี ย ์ ด้ า นข้ า ง พระเจดี ย ์ เ ป็ น พระอุ โ บสถที่ ป ระดิ ษ ฐาน พระพุทธรูปยืนปางห้ามสมุทร

The provincial seal of Samutprakan is a picture of Phra Samut Chedi or sometimes called as Phra Chedi Klang Nam, which is the the city's sacred sanctuary and the symbol of Samutprakan. Although it was first established during the reign of King Rama II, the construction completed in the reign of King Rama III. In the beginning, Phra Samut Chedi was an island surrounded by water but due to land accretion on the right bank of the river, the land is connected to where the great stupa is located. Next to the stupa is the main chapel where a standing Buddha image in the posture of stopping the rainstorm is enshrined.

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 17

Samutprakan Province is often referred to as "Pak Nam City" due to the fact that the city is sitting at the estuary (or Pak-Nam in Thai) of Chao Phraya River and, thus, a marine outpost since earlier days. Meanwhile, the history of Pak Nam City of Samutprakan was related to Khmer's Phra Pra-Daeng city which used to be Pak Nam City. Since the sea back then covered the souther n area of Bangkok today, the Khmer named the area Pak Nam Phra Pra-Daeng (assuming from historical evidence, it is where Khlong Toey Port is located nowadays). Later on, during Ayutthaya period, a new outpost was

reestablished at the mouth of Chao Phraya River under the name Samutprakan City, which can literally be translated as ocean stronghold, which is also known today as Pak Nam City . On the other hand, Phra Pra-Daeng District at the present (not the same one as Khlong Toey's Phra Pra-Daeng) was initially Nakhon Khuean Khan, which was built during the reign of King Phra Buddha Lertla Napalai or King Rama II. However, the name was changed to Phra Pra-Daeng during the reign of King Phra Bat Somdet Phra Mongkut Klao Chao Yu Hua or King Rama IV.

ที่ ม าของเมื อ งปากน�้ ำ จังหวัด สมุ ท รปราการมั ก ถู ก เรี ย กว่ า “เมืองปากน�้ำ” เพราะท�ำเลที่ตั้ง อยู ่ ต รงปากแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา จึ ง เป็ น เมืองหน้าด่านทางทะเล มาแต่โบราณ ขณะที่ความเป็นมา ของเมืองปากน�้ำสมุทรปราการ เกี่ ย วพั น กั บ เมื อ งพระประแดง ของขอมทีเ่ ป็นเมืองปากน�ำ้ มาก่อน เนื่ อ งจากสมั ย นั้ น ทะเลยั ง ลึ ก เข้ามาจนถึงตอนใต้ของกรุงเทพฯ ขอมจึ ง เรี ย กแถบนี้ ว ่ า ปากน�้ ำ พระประแดง (ตามหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าคือ บริเวณท่าเรือคลองเตยในปัจจุบนั ) ต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้ ตั้ ง

เมื อ งหน้ า ด่ า นตรงปากแม่ น�้ ำ เจ้าพระยาขึ้นใหม่ให้ชื่อว่า เมือง สมุทรปราการ ตามความหมาย ของเมื อ งที่ เ ป็ น ดุ จ ก� ำ แพงชาย ทะเลซึ่ ง ก็ คื อ เมื อ งปากน�้ ำ ใน ปัจจุบันนั่นเอง ส่ ว นอ� ำ เภอพระประแดง ปั จ จุ บั น (คนละเมื อ งกั บ เมื อ ง พ ร ะ ป ร ะ แ ด ง ที่ ค ล อ ง เ ต ย ) เดิ ม คื อ เมื อ งนครเขื่ อ นขั น ธ์ ที่ตั้งขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จ พ ร ะ พุ ท ธ เ ลิ ศ ห ล ้ า น ภ า ลั ย รัชกาลที่ ๒ และมาเปลี่ยนเป็น ชื่ อ เมื อ งพระประแดงในสมั ย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


SMPK HISTORY / PHRA SAMUT CHEDI

PHRA SAMUT CHEDI

พระสมุทรเจดีย์ พระสมุทรเจดีย์หรือพระเจดีย์กลางน�้ำ ถือเป็นปูชนียสถาน ที่ชาวสมุทรปราการเคารพศรัทธา ตลอดจนประชาชน ทุกสารทิศ องค์พระเจดีย์สีขาวงามเด่นริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ยังเปรียบเสมือนจุดหมายของผู้เดินทางล่องเรือผ่านเข้ามา ทางปากน�ำ้ จนถือเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดสมุทรปราการ นับแต่สมัยอดีตตราบจนปัจจุบัน

P

hra Samut Chedi or Phra Chedi Klang Nam (Thai for Pagoda in the middle of the river) is a sacred place well respected by the locals of Samutprakan and people from all different places. The white pagoda standing gracefully at the estuary of Chao Phraya River has always been compared to a pinned destination to anyone who cruises by the mouth of Chao Phraya River making the place a symbol of Samutprakan from the past to the present.

แดงองค์พระสมุทรเจดmoยี ny.์ เที่ยวงานประเพณหี ่มi'sผ้าSac red Red Cloth Cere Visit Phra Samut Ched

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

พระสมุทรเจดีย์ เป็นตราประจ�ำจังหวัดสมุทรปราการ

Phra Samut Chedi as the provincial seal of Samutprakan

ย้อนไปเมือ่ ครัง้ แรกตัง้ เมือง “นครเขือ่ นขันธ์” ทางฝั ่ ง ตะวั น ตกของแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย รัชกาลที่ ๒ พร้อมกับสร้างป้อมปราการบริเวณ ปากแม่นำ �้ ระหว่างทรงงาน พระองค์ทอดพระเนตร เห็นเกาะเล็กๆ ล้อมรอบด้วยหาดทรายโผล่ขึ้นมา จึงมีพระราชด�ำริวา่ ในการก่อสร้างแนวป้องกันภัย ทางทะเลทีเ่ มืองสมุทรปราการเช่นนี้ ก็เพือ่ ป้องกัน ข้าศึกไม่ให้ล่วงล�้ำเข้ามาในประเทศ อันเป็นที่ ที่ทรงท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาอยู่ จึงควรที่จะ สถาปนามหาเจดีย์บรรจุพระบรมธาตุลงบนเกาะ ตรงปากทางเข้าแม่น�้ำเจ้าพระยา พระราชทาน นามว่า “พระสมุทรเจดีย์” การก่อสร้างองค์พระสมุทรเจดีย์มาแล้วเสร็จ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ถือเป็นปูชนียสถานคูบ่ า้ นคูเ่ มือง และสัญลักษณ์ของจังหวัดสมุทรปราการสืบมา นับแต่นั้น ต่อมาพื้นที่บริเวณนี้ได้รับการก่อตั้ง เป็นอ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 19

ระสมุทรเจดSaยี ์mut Chedi. พ ม า ้ ข รง ต ง ่ ั ฝ ่ ู อย อ ื เร โรงเรียนนาย aval Academy right across Phra

The Royal Thai N

ชาวสมุทรป เมื่อครั้งเสด็จรานการล่องเรือรบั เสด็จในห พระสมุทรเจด ิวตั ิประเทศไทยทางชลมลวงรัชกาลท่ี ๙ ารคผ่าน The locals of ยี ์ในปี พ.ศ.๒๔๙๓ Sa m utprak Kin

g a by PhrRaamSaamutIX on His rentursan iltoed out to welcome His Chedi in 1950 Thailand by wa ter as Mheajepstassy . ed

ท่าเรือฝ ตี มองเห็นั่งพประากสนม�้ำุทในรเอด จดยี

์โดดเด่น A pier on Paknam's ba nk in the graceful Phra Sa mut Chedith. e past with a view of

ังเกตของนกั เดินเรือ ส ด ุ จ น ็ ป เ ์ ี ย ด จ รเ ท ุ ม ส พระ ากแม่น�้ำเจ้าพระยา t among sailors in po n io เมื่อถึงป at rv se ob an ver. di is Ri Che Phra Samuthing tuary of Chao Phraya es e th ac re on up

Back to the time when "Nakhon Khuean Khan" City was first established on the west of Chao Phraya River during the reign of Phra Buddha Lertla Nabhalai or King Rama II while building a fortress nearby the estuary. During his royal work, he noticed a small island surrounded by a sand beach and realized that as the marine hazard defense line was built in Samutprakan to prevent an enemy from any territorial intrusion and as it was also a place where he had been fostering

Buddhism, it would be appropriate to establish the Great Stupa containing Buddha's relics on the island at the entrance to Chao Phraya River estuary, which he, later, bestowed the name "Phra Samut Chedi." The construction of Phra Samut Chedi fully completed in the reign of King Rama III. This Buddhist sacred site has always stood alongside the locals and been recognized as the symbol of Samutprakan ever since. Subsequently, the area was inaugurated as Phra Samutprakan District.

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


SOONER

“SAMUTPRAKAN EXPLORE THE NEW HORIZON” SPARKLES A WHOLE NEW PERSPECTIVE OF CREATIVE TRAVELING IN PAK NAM CITY.

ค้นพบความสุข เปิดมุมมองใหม่สมุทรปราการ ด้วยจุดเด่นในเรือ่ งความหลากหลายด้านการท่องเทีย่ วของจังหวัดสมุทรปราการ ที่มีทั้งประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี และธรรมชาติ ผสมผสานกลมกลืน อยู่ด้วยกัน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการจึงได้เปิดตัวแคมเปญ ส่งเสริมการท่องเที่ยว “SAMUTPRAKAN Explore The New Horizon ค้นพบความสุข เปิดมุมมองใหม่สมุทรปราการ” โดยชูแนวคิด “เรียนรู้-ริเริ่มร่วมท�ำ-แบ่งปัน ท่องเที่ยวสร้างสรรค์ เมืองปากน�้ำ” เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ จังหวัดสมุทรปราการให้ก้าวไปสู่เมืองแห่งการท่องเที่ยวและเรียนรู้ ให้เป็น อีกทางเลือกของการท่องเที่ยวที่จะมีบทบาทส�ำคัญและช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ในภาพรวมของจังหวัดต่อไป กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

S

amutprakan is highly distinctive for its great diversity in terms of tourism with a harmonious blend of history, cultures, traditions and natural environment. Therefore, the Provincial Administration Office (PAO) of Samutprakan launches a campaign to promote its tourism, "SAMUTPRAKAN Explore The New Horizon. Discover happiness. Open a new perspective of Samutprakan." The campaign emphasizes on the concept "Learn-Initiate-Participate-Share. Travel creatively in Pak Nam City" to promote Samutprakan Province into a tourism and learning destination as an

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 21

“SAMUTPRAKAN Explore The New Horizon ค้นพบความสุข เปิดมุมมองใหม่สมุทรปราการ” มี แ นวคิ ด ในการรวบรวมของดี ข องเด่ น ของ จั ง หวั ด มาจั ด หมวดหมู ่ ใ ห้ ต รงกั บ ความสนใจ ของนักท่องเที่ยว โดยแบ่งออกเป็น ๔ กลุ่ม ๑. กลุ่มเรียนรู้ : แหล่งเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สำ� คัญในช่วงเวลาต่างๆ จากอดีตจนถึง ปัจจุบัน ประกอบด้วย อุทยานการเรียนรู้และ หอชมเมืองสมุทรปราการ, โครงการลูกพระดาบส และป้อมพระจุลจอมเกล้า ๒. กลุ่มริเริ่ม : พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน ในเชิงสร้างสรรค์ หมู่บ้านภูมิปัญญา OTOP และชุ ม ชนต้ น แบบเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ได้ แ ก่ บ้ า นคลองนาเกลื อ , กลุ ่ ม แม่ บ ้ า นเกษตรกร สวนเก้าแสน บางพลี, ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียงบ้านทวีบุญ ๓. กลุม่ ร่วมท�ำ : อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ด้ ว ยสองมื อ ของนั ก ท่ อ งเที่ ย วและชุ ม ชน เพื่ อ สร้ า งความยั่ ง ยื น ของสถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว ได้ แ ก่ สวนศรี น ครเขื่ อ นขั น ธ์ , บ้ า นสาขลา, สถานตากอากาศบางปู ๔. กลุ่มแบ่งปัน : ส่งเสริมการท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรม แบ่งปันความดีงาม ประเพณีพื้นถิ่น ได้แก่ ประเพณีรบั บัว : “หนึง่ เดียวในโลก แห่งเดียว ในไทย” ของชาวบางพลี, สงกรานต์พระประแดง, ประเพณีห่มผ้าแดงองค์พระสมุทรเจดีย์ ขณะนี้ อบจ. สมุทรปราการ ได้เริม่ ด�ำเนินการ น�ำเสนอแคมเปญ “SAMUTPRAKAN Explore The New Horizon ค้นพบความสุข เปิดมุมมองใหม่ สมุทรปราการ” เพื่อให้การท่องเที่ยวของจังหวัด สมุทรปราการเป็นที่รู้จักทั้งในระดับท้องถิ่นและ ระดับประเทศ ด้วยการจัดงานนิทรรศการแหล่ง ท่องเที่ยว ณ ศูนย์การค้าเมกา บางนา และจัดท�ำ หนังสือท่องเที่ยวจังหวัดสมุทรปราการ ๒ ภาษา (ไทย-อังกฤษ) แจกนักท่องเที่ยวทั่วไป รวมทั้งที่ สนามบินสุวรรณภูมิ โดยเน้นกลุ่มเป้าหมายหลัก เจาะกลุ ่ ม คนกรุ ง เทพฯ และพื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย ง กลุ ่ ม Expat (ชาวต่ า งชาติ ที่ พ� ำ นั ก อยู ่ ใ น ประเทศไทย) และนักท่องเที่ยวกลุ่ม Transit ที่ต่อเครื่องบินที่สนามบินสุวรรณภูมิ ซึ่ง อบจ. สมุทรปราการ มัน่ ใจว่าแคมเปญ “SAMUTPRAKAN Explore The New Horizon ค้นพบความสุข เปิดมุมมองใหม่สมุทรปราการ” จะช่วยส่งเสริม ให้ ก ารท่ อ งเที่ ย วของจั ง หวั ด สมุ ท รปราการมี ทิศทางที่สดใสในอนาคตอันใกล้นี้

alternative tourism which will further play a significant role in stimulating overall economic growth within the province.

including Sri Nakhon Khuean Khan Park and Botanical Garden, Ban Sakhla, Bang Pu Recreation Center

"

4

1

R

SAMUTPRAKAN Explore the New Horizon. Discover happiness. Open a new perspective of Samutprakan" rests on the idea of gathering all the distinctive features of the province and categorizing them according to travelers' different areas of interests. As a result, they are divided into four groups: Learning Group: organizes learning centers showcasing the province's history and important events in different timing from the past to present including Samutprakan Observation Tower and Learning Park, Luk Phra Dabos Royal Development Project and Chulachomklao Fort

2

Initiative Group: develops a creative cultural community based tourism with a highlight on villages of local wisdom, best local products of each sub-district (OTOP), sufficiency economy-based prototype community such as Ban Khlong Na-Kluea, Farm Women Group of Suan Kao Saen in Bangphli and Sufficiency Economy Learning Center of Ban Taweeboon

3

Participatory Group: encourages travelers and people in the local community to take part in natural resources preservation with their own two hands for a more effective sustainability of the travel destinations

Sharing Group: promote cultural tourism and share the beautiful virtue of local traditions including "Nueng Diew Nai Lok. Nueng Diew Nai Thai. (Thai for the One And the Only in the World. The One And The Only in Thailand)" of Bang Phli community, Phra Pra-Daeng Songkran Festival, Phra Samut Chedi's Sacred Red Cloth Ceremony ecently, the PAO of Samutprakan has launched the campaign "SAMUTPRAKAN Explore the New Horizon. Discover happiness. Open a new perspective of Samutprakan" to enhance the awareness and recognition of Samutprakan's tourism both locally and nationally. Promoting the campaign, it has organized a travel exhibition at Mega Bangna and published a bilingual travel magazine of Samutprakan (Thai - English), which is a free copy handed out to travelers in general and at the airport mainly targeting on Bangkokians, its nearby neighbors, expats (foreigners dwelling in Thailand) and travelers who make a transit at Suvarnabhumi Airport. The PAO of Samutprakan strongly believes that the campaign "SAMUTPRAKAN Explore the New Horizon. Discover happiness. Open a new perspective of Samutprakan" will significantly drive Samutprakan's tourism to a much brighter position in the near future. SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


R E A DY T O G O

หมวก

FUN TRAVEL WITHOUT FEAR OF RAIN

เที่ยวไม่กลัวฝน เที่ยวสบายฉ�่ำใจกับสายฝน

แม้ยังอยู่ในช่วงฤดูฝน แต่อย่าปล่อยให้ ฝนเป็นอุปสรรคต่อการเดินทางท่องเทีย่ ว แค่เราเตรียมพร้อมให้ดี ป้องกันตัวเอง จากสายฝนปรอยๆ จนถึงตกหนัก เท่านี้ ก็ ส ามารถออกไปเที่ ย วในหน้ า ฝนได้ สบายๆ เช่นเดียวกับช่วงเวลาอื่นๆ และ ยังได้สนุกสนานในบรรยากาศทีต่ า่ งออกไป ฟ้าหลังฝนนัน้ มักสวยงามเสมอ แถมยังมี รุง้ งามให้ชมอีกด้วย

GET COMFORTABLE AND SOAK UP THE HAPPINESS IN THE FALLING RAIN

เริ่มจากหมวกเป็นล�ำดับแรก เพียงฝนปรอยๆ ไม่ถึงขั้นต้องกางร่มถือเดิน ก็ไม่เป็นปัญหานัก แต่ฝนปรอยๆ แบบนี้อาจท�ำให้เป็นหวัดหรือรู้สึก ร�ำคาญ หมวกจึงช่วยป้องกันได้เสมอ ปกติเรามี หมวกแก๊ปติดตัวอยู่แล้ว แต่หน้าฝนอย่างนี้ควร หาหมวกปีกกว้างจะช่วยป้องกันได้ดีกว่า และ ถ้าเป็นหมวกที่สามารถกันน�้ำหรือแห้งเร็วก็ยิ่งดี HAT

Let's start with the hat. When it's sprinkling, there is no need to open an umbrella while getting around. It is not much of a trouble but you could catch a cold or find it rather bothersome. Thus, a hat always comes in handy. Normally, we usually carry a cap with us but during the rainy season, a broaderbrimmed hat would be a greater assistant especially ones that are waterproof or can dry quickly.

Although Thailand is in the middle of a raining season, but don't ever let it spoil all your traveling plan. All we need is a better preparation to protect ourselves from all kinds of rain: sprinkling rain, drizzling rain or even heavy rain. And as simple as that, we can now get out there and have as much fun traveling in the rain as we usually do in other seasons but this is time in an unconventional atmosphere. After every storm, there is always a beautiful sky and rainbow.

ร่ม

ถือเป็นของจ�ำเป็นที่ต้องติดตัวเวลาเดินทางไปไหน มาไหนอยู่แล้ว ทั้งใช้กันแดดและป้องกันฝน ร่มสั้น พับด้ามเก็บได้มขี นาดเล็กกะทัดรัดลงเรือ่ ยๆ สามารถ ใส่กระเป๋าได้สะดวก และหยิบออกมาใช้ได้งา่ ย แต่ควร มีร่มด้ามยาวติดรถไว้ด้วยอีกคันเผื่อเจอฝนตกหนัก และมีลมกระโชกแรงๆ ปีกร่มกางออกกว้างได้มาก ยิ่งดี เดี๋ยวนี้การพกร่มในหน้าฝนกลายเป็นแฟชั่น ไปแล้ว ไม่วา่ จะเป็นรูปทรงหรือสีสนั ทีก่ างออกมาแล้ว ทุกคนต้องเหลียวมอง

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

UMBRELLA

One of the necessary items we usually carry with us wherever we go as it can keep you away from the scorching sun and rain. Today, a compact umbrella with a foldable handle comes in a much smaller size which makes it easy to carry in the bag and very convenient to use. However, travelers should also have a more durable umbrella with a longer handle in case of a heavy rain and a blustery wind. The wider an umbrella can open, the better. At the present, carrying an umbrella during rainy season has evolved into a fashion with various patterns and colors that turn heads whenever it is opened. SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 23

กระเป๋าใส่ของ

กระเป๋าใส่ของเป็นสิ่งจ�ำเป็นคู่นักเดินทาง ยิ่งช่วงหน้าฝนต้องเลือกกระเป๋าใบที่ช่วย ป้องกันข้าวของต่างๆ ขณะฝนตก ไม่ต้อง ถึ ง ขั้ น เคสกั น น�้ ำ เป้ ส ะพายก็ ส ามารถ กันน�้ำได้ดีพอสมควร ถึงเปียกก็แห้งง่าย เป้เดี๋ยวนี้มักมีผ้าพลาสติกติดมาให้คลุม กันเปียกขณะเดินตากฝนด้วย ส�ำหรับ ของส� ำ คั ญ อย่ า งกระเป๋ า สตางค์ ห รื อ นาฬิ ก า อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อ ย่ า ง โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ หรื อ แท็ บ เล็ ต ควรหา ถุงพลาสติกใส่ปอ้ งกันไว้กอ่ น ถุงก๊อบแก๊บ ก็ใช้ได้ในช่วงรีบด่วน หรือหากได้ถงุ ซิปล็อก ก็อุ่นใจว่าป้องกันเปียกชื้นได้แน่นอน

รองเท้า

MISCELLANEOUS BAG

A miscellaneous bag is another essential item of every traveler. Particularly during rainy season, it is important to choose a bag that can help protect your belongings from getting wet. It does not have to be the finest waterproof case but a regular backpack would do the job just fine because even if it gets wet, it can dry up pretty fast. Nowadays, it even comes with a rainproof plastic cover to ensure your belongings stay safe at a certain level while walking in the rain. Valuable items like wallets or watches and electronic devices like cell phones or tablets should best be secured in a plastic bag in an urgent situation but would be even safer from all the humidity in a ziploc plastic bag.

MUST HAVE!

เสื้อกันฝน

ถ้าคิดว่าเดินกางร่มไม่สะดวกหรือร่มป้องกัน ได้เฉพาะเพียงส่วนบนของร่างกาย ก็ต้องพึ่ง เสื้อกันฝนที่สามารถกันเปียกได้เกือบทั้งตัว ตัง้ แต่หวั ถึงขา (ยกเว้นเท้า) เสือ้ กันฝนก็เหมือน กับร่ม สามารถพับเก็บได้เหลือเพียงแค่ห่อ เล็กๆ พกพาไปได้สะดวก แถมยังมีลวดลาย และสีสันให้เลือกมากมาย ใส่อวดเป็นแฟชั่น ท่องเที่ยวหน้าฝนได้ด้วย แต่ควรเลือกแบบที่ เป็นไนลอนหรือพลาสติกหนาหน่อย เพื่อจะ ไม่ฉีกขาดง่ายจนน�้ำฝนซึมเข้าได้ RAINCOAT

If you find opening an umbrella while walking around inconvenient or it can only protect certain body parts, you might need a raincoat that can protect you from the rain covering almost every part from your head down to your legs (except your feet). A raincoat is similar to an umbrella that can be folded into a tiny portable packet convenient to carry around. Plus, there are so many patterns and colors to choose from. Although it can also spice up your fashion during rainy season, it is wiser to choose the ones that are made of a more solid Nylon or plastic materials so that it would not be torn apart easily and let the water through.

เมื่อจ�ำเป็นต้องเดินลุยฝนไปเที่ยว รองเท้ า คู ่ โ ปรดที่ใส่อาจไม่เหมาะ ในสภาวการณ์ เช่ น นั้ น หรื อ อาจ เสียหายได้ จึงควรหารองเท้าหนัง หรือรองเท้าพลาสติกที่กันน�้ำได้จะ ดีที่สุด หรือรองเท้าผ้าใบที่แห้งเร็ว สะดวกที่สุดก็ต้องเป็นรองเท้าแตะ เพียงแต่อาจลื่นได้ง่าย รองเท้าแตะ ยั ง ควรมี ไ ว้ เ ปลี่ ย นกั บ รองเท้ า ที่ เปียกชื้น ไม่ควรทนใส่อับๆ เพราะ อาจเป็นโรคผิวหนังได้ SHOES

If your trip requires you to walk through the rain, your favorite everyday shoes might not be suitable for the situation as they might be easily damaged. Therefore, it is best to find a pair of water-resistant leather or plastic shoes or sneakers that quickly dry. The most convenient choice would be rubber sandals. Even if they can make you slip easily, it is recommended that every traveler should keep a pair with them and change to them if ever their shoes get all soaked to avoid skin diseases.

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


M A P / TO U R I ST M A P O F SA M U T P R A K A N

คลองลัดโพธิ์ Lat Pho Canal 1

คลองลัดหลวง Lad Luang Canal 3

2

6

5

4

7 8 9

คลอ

งส�ำโ รง ron g Ca nal

Sam

วัดแหลมฟ้าผ่า Laem Fa Pha Temple

พสามิต ร ร ส ง อ คล Canal t i m a s Sappha

10

11

บ้านสาขลา Ban Sakha

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

าเกลือ น ง อ คล anal C a u l Na K

12

อ่าวไทย Gulf of Thailand

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 25

1

TOURIST MAP OF SAMUTPRAKAN

แผนที่ท่องเที่ยวสมุทรปราการ

วัดไพชยนต์พลเสพย์ ราชวรวิหาร Paichayonponseph Ratchaworawihan Temple

7

วัดส�ำโรงเหนือ Samrong Nuea Temple

8

2

วัดมหาวงษ์ Mahawong Temple

3

ศาลเจ้าพ่อทัพ Chao Phor Thap Shrine

วัดโปรดเกศเชษฐาราม Protket Chettharam Temple

9

วัดกลาง Klang Temple

คลองส�ำโ รง Samron g Canal

10

4

วัดบางพลีใหญ่ใน Bang Phli Yai Nai Temple

วัดจวนด�ำรงราชพลขันธ์ Juan Damrong Rachaphonlakhan Temple

วัดคลองพระราม Khlong Phraram Temple

11

ท่าเรือป้าลี่ Pa Ri Pier

5

สวนสุขภาพคลองลัดโพธิ์ Khlong Lat Pho Health Park 12

6

วัดคันลัด Khan Lat Temple

ป้อมพระจุลจอมเกล้า Chulachomklao Fort

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


F E AT U R E

the river of happiness COVER JOURNEY

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 27

สะพานข้ามคลองลัดหลวงหน้าวัดจวนด�ำรงค์ราชพลขันธ์ The bridge over Lad Luang Canal in front of Juan Damrong Rachaphonlakhan Temple

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


COV E R J O U R N E Y / T H E R I V E R O F H A P P I N E S S

THE RIVER OF

HAPPINESS WHERE THE RIVER FLOWS

สายน�้ำแห่งความสุข ชีวติ สงบร่มเย็นทีป่ ลายน�ำ้

ดงจากหนาแน่นริมคลองสรรพสามิต

Densely populated Nipa Palm trees along Sapphasamit Canal กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 29

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


ภาพในความทรงจ� ำ ของคนไทยทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย มั ก ร้ อ ยเรี ย งเรื่ อ งราวของวิ ถี ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ไว้ กั บ สายน�้ ำ จะปลู ก บ้ า น แปลงเรือนขอให้ได้ที่ใกล้ชายน�้ำเป็นส�ำคัญ เลื อ กท� ำ เลที่ ตั้ ง เกาะเกี่ ย วไปตามล� ำ น�้ ำ ไว้ก่อน จนเรียกได้ว่าตั้งแต่โบราณกาลที่ ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ต่ า งๆ ของไทย บทเพลงร้องร�ำเรื่องเล่าขานต�ำนานต่างๆ อาหารการกิน การท�ำมาหาเลีย้ งชีพ ก็ไม่เคย ได้หา่ งจากน�ำ้ บางแห่งหากสายน�ำ้ ธรรมชาติ เข้าไปไม่ถึง ผู้คนยังร่วมแรงแข็งขันขุดร่อง คลองคูให้น้�ำไหลผ่านซอกซอนไปตามผืน ดินใหญ่ ใช้เป็นทัง้ ทางสัญจรเพือ่ การค้าขาย การคมนาคม เกษตรกรรม อุปโภค บริโภค จนเปรี ย บสายน�้ ำ คล้ า ยดั่ ง เส้ น สายโลหิ ต ของคนไทยเลยก็ว่าได้ hrough all decades, the Thai T lifestyle have always stayed strongly bonded with the river as

portrayed in countless Thai customs, traditions, songs, folktales, food and occupations. It is said that if you were to settle down, it would be best to first secure a spot nearby the river. Even in areas where there was no natural stream, people would work together in canalization channelling watercourses through lands, which soon after played a significant role in transportation, trading, agriculture, consumer goods. Thus, these streams served as the main arteries of Thai people.

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 31

คลองส�ำโรงบริเวณศาลเจ้าพ่อทัพ

Chao Phor Thap Shrine down Samrong Canal

คลองส�ำโรง

ชมวัดเก่า เล่าเรื่องของดี ที่...คลองคู่เมือง คลองส�ำโรง เป็นอีกหนึ่งคลองส�ำคัญของ จังหวัดสมุทรปราการ ที่แยกตัวจากแม่น�้ำ เจ้ า พระยา ไหลเรื่ อ ยเลาะมาตั้ ง แต่ ต� ำ บล ส�ำโรง ต�ำบลส�ำโรงกลาง อ�ำเภอพระประแดง อ� ำ เภอเมื อ งสมุ ท รปราการ อ� ำ เภอบางพลี อ�ำเภอบางเสาธง อ�ำเภอบางบ่อ จนไปบรรจบ กั บ แม่ น�้ ำ บางปะกง จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา รวมความยาวทั้งสิ้นกว่า ๕๕.๖๕ กิโลเมตร เริ่ ม ขุ ด เมื่ อ ใดไม่ ป รากฏ แต่ ม าขุ ด ซ่ อ มใน รัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ (ครองราชย์ ระหว่าง พ.ศ. ๒๐๓๔ - ๒๐๗๒) และอาจ เป็นช่วงที่ได้รับอิทธิพลจากขอมเพราะพบ หลายถ้อยค�ำของท้องถิ่นเป็นภาษาขอม เช่น ทั บ นาง หนามแดง บางโฉลง หรื อ แม้ แ ต่ ชื่อเรียก ส�ำโรง ก็มาจากค�ำว่า สํโรง (อ่านว่า ซ็อมโรง)

ตลอดคลองส�ำโรงจึงเรียงรายด้วยชุมชน เก่าแก่ท่ีก่อตั้งขึ้นริมสายน�้ำมาเนิ่นนาน และ ยังคงมี วิ ถี ชี วิต ผสมผสานระหว่ า งอดี ต และ ปัจจุบันไว้ได้อย่างลงตัว รวมทั้งศรัทธาและ ความเชื่อทางศาสนา ชุมชนในคลองส�ำโรง เคยมีเทวสถานตัง้ รูปเคารพในศาสนาพราหมณ์ ครั้นขุดลอกช�ำระเมื่อ พ.ศ. ๒๐๔๑ จึงพบ เทวรูปสัมฤทธิ์ ๒ องค์ (พระยาแสนตากับ บาทสังขกร) เดิมทีเทวรูปทั้ง ๒ องค์นี้เรียก เป็นภาษาเขมรว่า “กมรเตง” แต่ค นไทย เรียกว่า “พระประแดง” ปัจจุบนั มีศาลอยูต่ รง โค้งแม่นำ�้ เจ้าพระยา ตรงข้ามปากคลองส�ำโรง แม้ว่าคลองส�ำโรงเป็นทางน�้ำธรรมชาติ ที่มีประวัติเก่าแก่หลายร้อยปี ทว่าปัจจุบัน เกิดตื้นเขินจนเรือใหญ่แล่นไป มาไม่สะดวก มีหน่วยงานหลายแห่งพยายามจะฟืน้ ฟูรณรงค์ ให้เกิดการ “คืนชีวิตสู่ล�ำคลอง คืนสายน�้ำ สู่ชุมชน” เพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว ของจังหวัดสมุทรปราการ

SAMRONG CANAL Visit ancient temples. Hear the tales of city's treasure along the canal. Samrong Canal is a vital canal of Samutprakan province. It is connected to Chao Phraya River and flows all the way through Samrong subdistrict, Samrong Klang sub-district, Phrapradaeng district, Mueang district, Bang-Phli district, Bang Sao-Thong district, Bang-Bo district and meets Bang-Pakong River in Chachoengsao province with a total length of 55.65 kilometers. Although there appears to be no historical record of when it was first built, the canal was re-constructed during the reign of King Ramathibodi II (from 1491 to 1529) , the period of which was likely influenced by the Khmer cultures as numerous local words such as Tub-Nang, Nam-daeng, Bang-Chalong or even the name Samrong derive from Khmer language.

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


แน่ น อนว่ า แม่ เ หล็ ก ดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ งเที่ ย วใน ละแวกสองฝั ่ ง คลองนี้ ย ่ อ มหนี ไ ม่ พ ้ น วั ด หลาย แห่งที่ส่วนใหญ่ล้วนเป็นวัดเก่าแก่และมีเรื่องราว ความเป็นมาที่น่าสนใจ เริ่มต้นกันจากปากคลอง ส�ำโรงริมฝัง่ ตะวันออกของแม่นำ�้ เจ้าพระยา นัน่ คือ “วัดส�ำโรงเหนือ” ทีส่ ร้างเมือ่ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๐๐ สมัยอยุธยาตอนปลาย เดิมมีชื่อว่า “วัดเกาะแก้ว ศรีเมือง” แต่มีเรื่องเล่าสืบทอดกันมาว่าที่ตั้งวัด เดิมมีโรงนาอยู่สามโรง ชาวบ้านจึงเรียกจนเพี้ยน เป็น “ส�ำโรง” หรือ “วัดส�ำโรงเหนือ” บ้างก็เรียก “วัดปากคลองส�ำโรง” จุดเด่นที่ท�ำให้วัดนี้มีชื่อเสียงและมีผู้เดินทาง มากราบไหว้อยูเ่ ป็นประจ�ำ คือเรือ่ งราวของหลวงปูส่ ขุ พระที่มีความเมตตาสูง ใครขออะไรท่านก็ให้ สมัยก่อนริมน�้ำคลองส�ำโรงมีโรงฝิ่น คนติดฝิ่น มักมาดักขอข้าวปลาอาหาร เสื้อผ้า หรือเงินทอง ที่มีผู้ท�ำบุญถวายให้ทางวัดไว้ หลวงปู่ก็เมตตา หาให้ไม่เคยขัด รวมทัง้ เรือ่ งทีโ่ ด่งดังคือเรือ่ งร�ำ่ ลือ หนาหูที่ว่า หลวงปู่สุขเป็นเพียงผู้เดียวที่สามารถ จุ ด เที ย นระเบิ ด น�้ ำ ได้ แล้ ว จระเข้ ก็ อ อกมาให้ พบเห็นในวันงานประจ�ำปี หรือเวลาท่านพายเรือไป จระเข้จะว่ายน�้ำขนาบข้างเรือโดยไม่ท�ำร้ายใคร ภายหลังหลวงปู่สุขมรณภาพไปแล้ว ยังมีผู้นิยม ท�ำรูปหล่อของท่านไว้บูชามาตลอด วั ด ที่ อ ยู ่ เ ลี ย บคลองส� ำ โรงล� ำ ดั บ ถั ด ไปคื อ “วั ด มหาวงษ์” เป็นอีกหนึ่งแลนด์มาร์กส�ำคัญ สร้างขึ้นในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธ เลิ ศ หล้ า นภาลั ย รั ช กาลที่ ๒ เดิ ม ที ตั้ ง อยู ่ ริ ม คลองมหาวงษ์ ต่ อ มามี ก ารขยั บ ขยายมา ตั้งอยู่ที่ถนนปู่เจ้าสมิงพราย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๗ ภายในวัดมีอโุ บสถเก่าแก่ทสี่ ร้างตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๔๙๑ ส่วนพระประธานในอุโบสถนามว่า “พระพุทธ มงคล” ปางมารวิชยั พระประธานในวิหารนามว่า “หลวงพ่อบัวขาว”ปางมารวิชัย ซึ่งผู้ที่ชื่นชอบ บรรยากาศเงียบสงบ มีต้นไม้ดอกไม้นานาพรรณ ให้ความร่มรื่นโดยทั่ว ปราศจากความวุ่นวาย ของผู้คน อีกทั้งยังได้นั่งทอดสายตาไปกับภาพ ริ ม คลองส� ำ โรง อาจจะต้ อ งเล็ ง วั ด นี้ ไ ว้ เ ป็ น เป้าหมายในวันหยุดคราวหน้าเพิ่มขึ้นอีกจุดหนึ่ง คลองส�ำโรงไหลผ่านวัดส�ำโรงเหนือ (บน) และวัดมหาวงษ์ (ล่าง)

Samrong Canal flows passes the front of Samrong Nuea Temple and Mahawong Temple

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 33

ศาลเจ้าพ่อทัพดั้งเดิมริมคลองส�ำโรง

The original Chao Phor Thap Shrine at the waterside of Samrong River

ไม่ไกลจากวัดมหาวงษ์เท่าไรนัก คนที่มา เยีย่ มเยือนคลองส�ำโรงมักไม่พลาดไปสักการะ “ศาลเจ้าพ่อทัพ” สถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิท์ อี่ ยูค่ บู่ า้ น คูเ่ มืองสมุทรปราการมากว่าร้อยปี ตามประวัติ เล่าว่า ในครั้งแรกนั้นชาวบ้านพากันแตกตื่น เมื่อพบเห็นน�้ำวน โดยมีแผ่นไม้ลักษณะคล้าย ป้ายดวงวิญญาณลอยวนอยู่ไม่หายไปไหน จึงได้ท�ำพิธีอัญเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมาประทับ บนฝัง่ และได้สร้างศาลโดยสร้างรูปองค์เจ้าพ่อทัพ ไว้ ใ นศาล เป็ น ที่ เ คารพศรั ท ธาของบรรดา ผู้ที่สัญจรไปมาทางน�้ำจะต้องมากราบไหว้ ขอพรให้เดินทางโดยสวัสดิภาพอยู่เสมอ แต่ เ มื่ อ มี ผู ้ ศ รั ท ธา ย่ อ มมี ผู ้ ตั้ ง ข้ อ กั ง ขา ในครั้ ง นั้ น มี เรื อ ขนข้ า วล� ำ หนึ่ ง แล่ น ผ่ า นมา

ตามล�ำคลองส�ำโรง แต่ด้วยความคึกคะนอง ของคนเรือหนุ่ม เมื่อเรือมาถึงจุดที่ต้ังศาล เจ้าพ่อทัพ คนเรือที่กำ� ลังมึนเมาด้วยฤทธิ์สุรา ได้พากันส่งเสียงเอะอะท้าทายอิทธิฤทธิ์ของ เจ้าพ่อทัพ บ้างก็แสดงอาการไม่สุภาพหันมา ทางศาล แต่แล้วเกิดเหตุไม่คาดฝันเมื่อเรือ ที่ก�ำลังแล่นมาตามปกติเกิดหยุดกะทันหัน ไม่วา่ จะท�ำอย่างไรเรือก็ไม่สามารถแล่นต่อไปได้ มิ ห น� ำ ซ�้ ำ ยั ง ได้ เ กิ ด กระแสน�้ ำ วนหมุ น เอา ตัวเรือกลับ และยังมีจระเข้มาขวางคลองไว้ ไม่ยอมให้ผ่านไป จนนายท้ายเรือและลูกเรือ ต่างอยู่ในอาการตื่นตระหนก เนื่องจากไม่เคย พบเห็ น เหตุ ก ารณ์ แ ปลกประหลาดเช่ น นี้ มาก่อน

Samrong Canal Market is surrounded with old communities by the river, a perfect balance between lifestyle of the past and of the present along with religious faith and beliefs. Within this community, there was once a Brahman shrine that installed two bronze statues of deity(Phraya Saenta and Batasangkara), discovered during the dredging of Samrong Canal in 1498. Originally, the two statues were known as "Kamrateng" in Khmer and later named "Phra Pradaeng" in Thai. At the present, the shrine is relocated to Chao Phraya River's bend right across of the mouth of Samrong Canal. Despite its history as natural stream through centuries, Samrong Canal became shallow that big boats could

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


no longer pass. Thus, many government agencies raised several campaigns to "revive the canal and the life quality within the community" and gradually transformed it into Samutprakan's new tourist attraction. Undeniably, the biggest tourist magnetic field along the two banks of the canal are mostly ancient temples with interesting history. Situated at the mouth of Samrong Canal, east of Chao Phraya River, "Samrong Neua (North Samrong) Temple" was built in 1757 during Ayutthaya period. Although it was formerly called "Koh Kaew Sri Mueang Temple," it was told that there were three barns (or saam-rong in Thai) sitting on the land before the temple was built, however, the word was slightly distorted to "Samrong," and thus "Samrong Neua Temple" and "PakKhlong Samrong Temple" respectively. What made the temple renown and attractive to visitors was the story of Laungpu Suk, a highly compassionate senior Buddhist monk who would kindly grant wishes to anyone. As there were several opium dens next to Samrong Canal, addicts often stopped by to ask for a share of food, clothes or money that visitors had offered to the temple but Luangpu had never said no to them. Moreover, Luangpu Suk was believed to be the only one who could split the watercourses by simply lighting a candle. Crocodiles would gathered up during the temple's annual events and accompany Luangpu wherever he rowed his boat to without harming anyone. Therefore, even after his death, visitors would still pay their respect to Luangpu's images and figurines. Next, Mahawong Temple is wellrecognized as the city's landmark. Built in the reign of King Phra Buddhalertla Napalai or Rama II, it was primarily located on the bank of Mahawong canal but later moved to Puchao Samingphrai Road in 1934. Rebuilt in 1948, the main chapel enshrined the main Buddha image in subduing mara attitude called "Phra Buddha Mongkol" whereas the main Buddha image hall, "Luangpor Bua-Khao" in subduing mara attitude. Away from chaos of everyday life, the shady surroundings of the temple and the scenic views of Samrong Canal naturally reinstitutes that peace of mind to its visitors. So, make sure to include this temple in your next trip.

ตามต�ำนานเล่าว่าบรรดาคนเรือทัง้ หมดนัน้ ต้ อ งท� ำ พิ ธี ข อขมาลาโทษต่ อ เจ้ า พ่ อ ทั พ ก้มลงกราบไหว้ขอให้เจ้าพ่อโปรดอภัยในความ รู้เท่าไม่ถึงการอยู่ครู่ใหญ่ น�้ำวนก็นิ่งสงบลง จระเข้ก็หายไปไร้ร่องรอย จากนั้นจึงสามารถ แล่ น เรื อ ต่ อ ไปได้ ด ้ ว ยดี เป็ น เหตุ ก ารณ์ ที่ เลื่องลือไปทั่วคุ้งน�้ำ จนภายหลังไม่มีใครกล้า ลองของแสดงกิริยาที่ไม่เคารพเวลาแล่นเรือ ผ่านศาลแห่งนี้อีกเลย เมื่ อ บ้ า นเมื อ งเจริ ญ ขึ้ น การคมนาคม ส่วนใหญ่ได้เปลี่ยนจากทางน�้ำมาเป็นทางบก ท�ำให้ผทู้ ศี่ รัทธาในตัวเจ้าพ่อทัพทีต่ อ้ งเดินเท้า เข้าซอยเล็กๆ แคบๆ เยื้องวัดมหาวงษ์ เป็น ระยะทาง ๔๐๐ - ๕๐๐ เมตร คณะกรรมการ ศาลเจ้าพ่อทัพจึงมีโครงการย้ายศาลออกไป สร้างในที่แห่งใหม่บริเวณริมถนน แต่เมื่อใช้ วิธีเสี่ยงทาย โยนไม้กรับคว�่ำหงาย โดยจุดธูป ไหว้บอกกับเจ้าพ่อทัพว่าหากท่านยินดีทจี่ ะให้ ย้ายศาล ขอให้ไม้กรับออกคว�่ำอัน หงายอัน แต่ไม่ว่าคณะกรรมการจะโยนยังไง ไม้กรับก็ ออกคว�่ำทั้งคู่ หรือออกหงายทั้งคู่ทุกครั้งไป จนกระทั่ ง ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ทาง คณะกรรมการได้ ข ออนุ ญ าตเจ้ า พ่ อ ทั พ เปลี่ ย นจากการย้ า ยศาลมาเป็ น การสร้ า ง ศาลสาขาแทน โดยท� ำ การประดิ ษ ฐาน เจ้ า พ่ อ ทั พ องค์ จ� ำ ลองบนที่ ดิ น ริ ม ทางถนน รถรางสายเก่ า ติ ด กั บ คลองส� ำ โรง ส� ำ หรั บ อ� ำ นวยความสะดวกแก่ ผู ้ ที่ ม ากราบไหว้ ซึ่ ง ในช่ ว งก่ อ นถึ ง วั น ตรุ ษ จี น ของทุ ก ปี จะมีการจัดงานประจ�ำปีอย่างยิง่ ใหญ่ ด้วยการ อั ญ เชิ ญ องค์ เจ้ า พ่ อ ทั พ องค์ จ ริ ง ออกมาแห่ เคลื่อนขบวนไปตามถนนเพื่อให้ประชาชน ได้สกั การะบูชา เมือ่ เสร็จสิน้ แล้วจึงแห่กลับมา ยังศาลเดิม

ภายในศาลเจ้าพ่อทัพแห่งใหม่

Inside the new Chao Phor Thap Shrine

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 35

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


ซ้าย รูปจ�ำลองในศาลเจ้าพ่อทัพดั้งเดิม ขวา ไหว้เคารพศาลเจ้าพ่อทัพเพื่อความร่มเย็นเป็นสุข Left A simulated image of Chao Phor Thap in the shrine Right Pay respect at Chao Phor Thap Shrine for a good blessing

นายด�ำรง ยงค์สงวนชัย ประธานมูลนิธิ ศาลเจ้าพ่อทัพ ส�ำโรง ได้เล่าถึงบรรยากาศ สุดยิ่งใหญ่ ที่ถนนทั้งสายตลบอบอวลไปด้วย กลิ่นธูปและควั น เที ย น โดยกล่ า วว่ า ในพิ ธี แห่เจ้าพ่อทัพนั้น นอกจากผู้หลักผู้ใหญ่ของ จังหวัดสมุทรปราการ ทั้งผู้ว่าราชการจังหวัด นักการเมืองท้องถิ่น บริษัท ห้างร้านเอกชน ก็ยังมีผู้คนจากทั่วทุกสารทิศมาร่วมพิธีตั้งแต่ จุดอัญเชิญองค์เจ้าพ่อทัพขึน้ ประทับ ณ ปะร�ำพิธี โดยขบวนแห่ จ ะคั บ คั่ ง ไปด้ ว ยวงดุ ริ ย างค์ ขบวนแห่หลวงปู่ทวด ขบวนแห่เชิดสิงโต และ ขบวนแห่อื่นๆ ประมาณ ๘๐ ขบวน ตั้งแถวที่ หน้าศาลเจ้าพ่อทัพ ออกสู่ถนนสุขมุ วิทขาเข้า วนออกถนนสุขมุ วิทขาออก เลี้ยวซ้ายเข้าซอย วัดด่านส�ำโรง ก่อนจะวกมายังศาลเจ้าพ่อทัพ อีกครั้ง ขบวนแห่ยาวเหยียดอลังการกว่า ๒ กิโลเมตร ตลอดเส้นทางที่ผ่าน ชาวบ้านก็จะมาตั้งโต๊ะ จัดเครื่องเซ่นไหว้ที่หน้าบ้าน ข้าวปลาอาหาร ผลหมากรากไม้ ม ากมาย คนเฒ่ า คนแก่ กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

จะพาเด็กๆ ลูกหลานออกมาจุดธูปไหว้ขอพร อธิษฐานให้เจ้าพ่อทัพคุ้มครองและให้โชคดี มีชัยแคล้วคลาดตลอดทั้งปี เพราะชาวส�ำโรง เชื่ อ กั น ว่ า เจ้ า พ่ อ ทั พ ส� ำ โรงเป็ น เทพเจ้ า ที่ คอยปกปักรักษาให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุข ช่วยคุ้ม ครองคนสุ จ ริ ต ให้ ท� ำ มาหากิ น เจริ ญ ร�่ำรวยยิ่งๆ ขึ้น ถ้าใครมีโอกาสแวะเวียนมาทีศ่ าลเจ้าพ่อทัพ แห่งนี้ สามารถเข้าเยี่ยมชมและสักการะบูชา เพื่อความเป็น สิ ริ มงคลได้ ต ลอดทุ ก วั น ไม่ มี วันหยุด อีกทั้งทางคณะกรรมการศาลยังได้ จัดให้มีเจ้าหน้าที่คอยอ�ำนวยความสะดวกให้ ค� ำ แนะน� ำ วิ ธี ก ารจั ด เตรี ย มสิ่ ง ของเซ่ น ไหว้ ในพิธี การเสริมดวงชะตา สะเดาะเคราะห์ ช่วยให้ร้ายกลายเป็นดี หรือแม้แต่ขั้นตอน การปฏิบตั ใิ นการแก้ปชี งอย่างครบถ้วนถูกต้อง ตามประเพณี ซึ่งผู้ที่มาท�ำแล้วต่างก็รู้สึกว่า ชีวิตตนเองดีขึ้น ท�ำให้ศาลเจ้าพ่อทัพเป็นที่ ศรัทธายึดเหนีย่ วจิตใจของประชาชนตลอดมา นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

Not too far from Mahawong Temple, visitors of Samrong Canal should not miss out "Chao Por Thap Shrine," a sacred place of Samutprakan for centuries. According to record, the villagers were panicked when they woke up to witness a wooden board similar to a spirit tag floating in the heart of a strong whirlpool. Thus, they performed a religious ceremony inviting the holy spirit onto the the land, built a shrine and installed a statue of Chao Por Thap inside. It was believed that Chao Por Thap was a great protector who always blessed his worshippers with a safe boat trip. Nonetheless, there were also doubters. There was a time when a group of impetuous youngmen, fully drunk at the time, cruised along Samrong Canal on a rice barge, they felt the tempting urge to defy the power of Chao Por Thap and started shouting and acting in a disrespectful manner while facing towards the shrine. Out of a sudden, the barge stopped sailing and no matter how hard they tried, it would not move an inch. There, the water began to whirl and as it turned SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 37

the boat around, they saw a group of crocodiles blocking the path. Both the captain and the crew were all petrified. According to the myth, it was after all the crewmen arranged a ceremony, kneeled on the ground and bowed to prostrate themselves praying for forgiveness from Chao Por Thap for such foolish acts that the water started to calm, the crocodiles disappeared and the barge able to sail on. The story was quickly known to all communities along the river that noone had ever dared to be disrespectful again. As the town civilization brought about changes, the water transportation was also replaced with land transportation. Hence, visitors have to walk on foot into a small alley , opposite to Mahawong Temple, for an approximate distance of 400-500 meters. Planning to relocate to a more convenient spot, Chao Por Thap Shrine Committee seeked for Chao Por's permission by casting their lots using Thai traditional wooden clappers but the answer remained negative. In 2005, the committee, instead, prayed for Chao Por Thap's permission to build a franchise of the shrine on sidewalk of the Old Railway, next to Samrong Canal, to enhance the travel convenience for all worshippers. There, a simulated image of Chao Por Thap was enshrined. Before every Chinese New Year, when a grand annual event is held and the real image of Chao Por Thap will be respectfull invited onto a carriage to join the procession along the road so that the town people may pay their respect before returning to its original Shrine. Damrong Yongsanguanchai, the president of Chao Por Thap Shrine Foundation, shared the magnificent details of Chao Por Thap Festival Parade. Besides high-ranking officials of Samutprakan such as the governors and local politicians, the festival parade was joined by private sectors and people from across the country from the moment they started inviting Chao PorThap to the pavillion. Consisted of about 80 sections including a large musical band section, Luangpu Thuard section and a traditional lion dance section, the parade marched from the Shrine onto inbound Sukhumvit road, outbound Sukhumvit, into Wat Dan-Samrong's alley and back to the shrine.

ร้านขายอาหารทะเลที่ตลาดส�ำโรง

Fresh seafood stalls at Samrong Market

แดดร่ ม ลมตกกั น แล้ ว ใครอยากปิ ด ท้ า ย รายการวั น เดย์ ท ริ ป แบบอิ่ ม ทั้ ง ใจอิ่ ม ทั้ ง พุ ง แค่ เ ดิ น เลยจากศาลเจ้ า พ่ อ ทั พ มาอี ก นิ ด เดี ย ว ก็จะพบกับ “ตลาดส�ำโรง” ตลาดขนาดใหญ่ ของจังหวัดสมุทรปราการ ที่แวดล้อมไปด้วย ห้างสรรพสินค้า โรงพยาบาล เป็นจุดต่อรถส�ำคัญ ไปได้ทงั้ สมุทรปราการและกรุงเทพฯ มีรถประจ�ำ ทางผ่านหลายสาย คิวรถตู้ รถสองแถว รถไฟฟ้า เรียกว่าไปทีเ่ ดียวครบทุกความต้องการ ทัง้ ของกิน ของใช้ ขายส่ง ขายปลีก ของฝาก เสื้อผ้า อาหาร

คาวหวาน ผลหมากรากไม้ ส ารพัด แถมเปิด ทั้งกลางวันกลางคืน และวันหยุดยังมีตลาดนัด เปิดท้ายให้ได้ละลายทรัพย์กันตัวเบากลับบ้าน ทีเดียวเชียว เสร็ จ สรรพทั้ ง เที่ ย ว ทั้ ง ไหว้ พ ระ ทั้ ง กิ น ของอร่อยๆ แล้วเดินแค่อีกไม่กี่ก้าวก็ถึงสถานี รถไฟฟ้า BTS ส�ำโรงพอดี นับเป็นทริปเชื่อม ระหว่ า งโลกใบเก่ า ของสายน�้ ำ คลองส� ำ โรง กั บ การมาถึ ง ของไลฟ์ ส ไตล์ แ บบคนสมั ย ใหม่ ได้อย่างกลมกลืน SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


หลวงปู่ทวดองค์ใหญ่โดดเด่นเป็นสิริมงคลเคียงคู่กับศาลเจ้าพ่อทัพ

A remarkable statue of the well-respected Luang Phor Thuad next to Chao Phor Thap Shrine

The grand parade was over 2 kilometers long. Wherever they passed, villagers in the area would set a worship table in front of their houses with various food offerings. The elders would ask their grandchildren to pray for Chao Por Thap's blessings and protection throughout the year as Samrong people believed him to be a guardian angel of peace and prosperity. Travellers are welcome to visit and pay homage to Chao Por Thap at the shrine any day of the week. The shrine committee also arranges well-informed staffs to help facilitate visitors with proper

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

steps to prepare the offerings or the luck enhancement ceremony to ward off bad luck according to Thai-Chinese traditions. For decades, series of testimony of improved life quality after such ceremony have deepen people's faith and respect for the shrine, trusting it as their spiritual sanctuary. Just a few minutes' walk from Chao Por Thap shrine, Samrong Market, a large shopping market in Samutprakan, provides a wide selection of appetizing fresh food, local souvenirs, and many other consumer products at retail and wholesale prices. It opens all day

long and even offers an additional flea market on weekends. Surrounded with department stores, hospitals, Samrong Market also acts as an essential transport hub connecting the city to Bangkok via buses, vans, minibuses and skytrains. Now that your one-day trip is completed with shrine visits and delicious food, it only takes a few steps to reach Samrong BTS station before heading back to Bangkok. This trip is, thus, a seamless link between the old world of life along Samrong Canal and the arrival of modern world of Bangkok.

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 39

(ยืน) พายเรือ ไปไหว้พระหลวงพ่อโต

ครอบครัวสุขสันต์ วันเดียวเที่ยวครบทุกกิจกรรม ล�ำคลองสายเล็กๆ ทีค่ รัง้ หนึง่ เคยทอดยาว

ซอกซอนไปตามชุมชน ผ่านบ้านเรือน วัด โรงเรียน ตลาด เป็นเหมือน “ถนนหน้าบ้าน” ที่ เ รื อ นทุ ก หลั ง ต่ า งหั น หน้ า เข้ า หาคลอง ใช้ ส ายน�้ ำ นั้ น ทั้ ง อาบและดื่ ม กิ น ใช้ เ ป็ น ที่ พบปะแลกเปลี่ยนซื้อขาย และท�ำการเกษตร มาแต่ช้านาน นัน่ คือภาพชีวติ ทีย่ งั มีคนโหยหา โดยเฉพาะ เมื่ อ สั ง คมเมื อ งเจริ ญ เติ บ โตและพั ฒ นา เทคโนโลยีไปอย่างรวดเร็ว ทุกอย่างแปรเปลีย่ น สภาพไปจนจ� ำ เค้ า เดิ ม แทบไม่ ไ ด้ หากแต่ หลายคนที่ ไ ม่ ย อมหลงลื ม และปล่ อ ยให้ ฉากชีวิตอันงดงามนั้นต้องถูกกลืนหายไปใน เมืองใหญ่ จึงร่วมมือกันจัดกิจกรรมเพือ่ ฟืน้ คืน ชีวิตให้กับล�ำน�้ำและปลอบประโลมหัวใจของ ตนเองให้ชุ่มชื่นจากความแห้งผาก STAND-UP PADDLE TO PAY RESPECT TO LUANG PHOR TOH A happy family time. Experience all activities in one day. A small canal, which once penetrated through communities passing houses, temples, schools and markets, was like "a frontage road." Every single house faced towards the canal where people bathed in, drank from, traveled to trade or exchange goods, and used in farming since earlier days. Such way of life is the memory that many still long for today especially when the urbanization and technological development grows rapidly. Everything has completely changed that one can hardly recognize how things were before. However, there are some groups of people who refuse to let such beautiful scene of life vanish in the big city. So, they came together and organize activities to help revive the stream and console their withered hearts.

ยืนพายผ่านหน้าวัดบางพลีใหญ่ใน

Stand-Up Paddleboarding while passing Bang Phli Yai Nai Temple SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


กิจกรรมสร้างสรรค์นมี้ จี ดุ เริม่ ต้นจากกลุม่ ผู้เล่น SUP แห่งบึงตะโก้ ที่มีความคิดตรงกัน คือมองเห็นความส�ำคัญของสายน�้ำเล็กๆ ที่ คนในท้องถิ่นอาจหลงลืมไปบ้าง พวกเขาจึง น�ำอุปกรณ์กีฬาชนิดนี้มาบวกกับวิถีชีวิตของ คนริมคลองอย่างลงตัว SUP เป็นกีฬาน้องใหม่ที่คนไทยยังรู้จัก ไม่ ม ากนั ก เพิ่ ง เกิ ด ขึ้ น มาไม่ น าน มาจาก ชื่อเต็มๆ ว่า Stand Up Paddle Boarding แปลตรงตั ว คื อ “บอร์ ด ยื น พาย” หน้ า ตา ละม้ า ยกั บ เรื อ แคนู ที่ นั่ ง บนเรื อ แล้ ว ใช้ พ าย สองข้างวิดน�ำ้ แต่ SUP จะให้ผเู้ ล่นยืนบนบอร์ด และใช้ ไ ม้ พ ายพายไปในทิ ศ ทางที่ ต ้ อ งการ เดิมทีกีฬาชนิดนี้ใช้แข่งแบบมาราธอน แข่ง ความเร็ว หรืออื่นๆ ต่อมาได้ประยุกต์ใช้ SUP ให้เป็นกิจกรรมทีส่ อดรับกับวิถชี วี ติ คนสมัยใหม่ มากขึ้น เช่น ใช้เพื่อฝึกโยคะ ใช้เพื่อพัฒนา ทักษะการทรงตัว หรือใช้เพื่อการผ่อนคลาย ที่แน่ๆ มีคนน�ำบอร์ดยืนพายนี้มาใช้ใน กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โดยเฉพาะ ทีจ่ งั หวัดสมุทรปราการ กิจกรรมนีเ้ ริม่ ครัง้ แรก ที่บึงตะโก้ บึงของเอกชนซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีใน ฐานะศูนย์รวมกีฬาทางน�้ำประเภท Extreme อาทิ เวคบอร์ด เคเบิลสกี วินด์เซิร์ฟ เป็นต้น ทุ ก วั น จะมี พ วกนั ก กี ฬ าทั้ ง มื อ อาชี พ และ มื อ สมั ค รเล่ น ไปเล่ น กี ฬ าและสั ง สรรค์ กั น แน่ น อนว่ า มี ค รอบครั ว ที่ ส นใจการใช้ เวลา ร่วมกันกับการท�ำกิจกรรมกลางแจ้งจ�ำนวน ไม่น้อย “เราอยากบอกว่ า คลองบ้ า นเราสวย มาพายเรือท่องเที่ยวได้ ครอบครัวจะได้ท�ำ กิจกรรมร่วมกันอย่างพร้อมหน้าทั้งพ่อแม่ลูก แม้แต่ผู้สูงวัยก็มาร่วมได้ ไม่ใช่จ้องแต่มือถือ อยู่แต่กับอินเทอร์เน็ต แต่ท�ำให้ครอบครัวได้ ใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ เราก็เลยคิด กิจกรรมนีข้ นึ้ ใช้ SUP พายออกจากหลังบึงตะโก้ มีคลองเล็กๆ อยู่ติดกัน ตอนแรกก็คิดว่าจะไป ทางไหนดี เราเห็นว่าคนไทยนอกจากผูกพัน กับสายน�้ำแล้ว เรายังผูกพันกับวัดอีกด้วย งั้นพายไปไหว้พระดีไหม จนเกิดเป็นเส้นทาง จากบึงตะโก้ไปวัดหลวงพ่อโตขึ้นมา” นั่นเป็นส่วนหนึ่งจากค�ำบอกเล่าของกลุ่ม ผู้ร่วมกิจกรรม SUP ที่ชักชวนกันนับได้กว่า ๒๐ ฝีพาย มารวมตัวกันครั้งแรกในวันแม่ กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 41

สนุกบนบอร์ดยืนพายในคลองส�ำโรง

A fun time Stand-Up Paddleboarding along Samrong Canal

This creative activity was sparkled by a group of SUP enthusiasts of Taco Lake. They realized the significance of this small canal that the locals might have forgotten and decided to seamlessly integrate their sport equipment to the lifestyle of the people along the canal. SUP is a trendy water sports recently introduced to Thai people. It is shortened from "Stand Up Paddleboarding," which can literally be translated as "paddling the board while standing up." It looks similar to a canoe that people can sit in and row away with two paddles. However, for SUP, players must stand on the board and row to wherever they want to with two paddles. At first, this sport was more common in a marathon race or a speed challenge but, subsequently, modified to better fit the modern lifestyle. For example, it is used in a yoga practice to improve body balance skills or simply relax. Obviously, someone must have initiated this SUP into ecotourism activities particularly in Samutprakan. The first roll-out of this activity was at Taco Lake, a private property best known as an extreme water sports center namely wakeboarding, cableskiing and windsurfing. Everyday, professional athletes and amateurs stops by to play sports and socialize. Meanwhile, there are families who seek to spend time enjoying outdoor activities as a family. "We would like to tell you how beautiful our canals are. So, come and row yourself around the town. Everyone in the family can enjoy this activity together...even the elders. Don't just keep staring at your cellphone or trapping yourself to the internet. Instead, why not spend a quality time together as family? That's when we came up with this activity. We hopped on an SUP board and started paddling out the back of Taco Lake. Soon, we ran into a small canal and wondered which way to go from there. Realizing how Thai people were bonded with the water and temples, we wondered how nice it would be to paddle (while standing) to pay our respect to Buddha images nearby and that's how we finally came up with a paddle boarding route from Taco Lake to Luang Phor Toh Temple."

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


ยืนพายผ่านตลาดโบราณบางพลี

Stand-Up Paddling while passing Bangphli Traditional Market

๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่ผ่านมา นัดกัน แต่เช้าตรูต่ อนแสงสวยระยิบระยับฟองพรายพรัง่ ไปพร้อมกับไม้พายทีจ่ ว้ งลงน�ำ้ เกาะกลุม่ พากัน พายลัดเลาะไปตามคลองสวน คลองเล็กๆ หลังบึงตะโก้ที่มีระยะทางเกือบ ๓ กิโลเมตร ไปเชื่อมต่อกันที่คลองส�ำโรง อันเป็นที่ตั้งของ วัดหลวงพ่อโตที่ชาวบ้านเรียกขานกันตามชื่อ ของพระประธานในโบสถ์ ซึ่งเป็นพระพุทธรูป องค์ใหญ่สมัยสุโขทัย ปางมารวิชยั หน้าตักกว้าง ๓ ศอก ๑ คืบ เนื้อเป็นทองสัมฤทธิ์ เป็นที่ เลื่อมใสของประชาชนอย่างกว้างขวาง มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบจาก โบราณคดีจารึกสืบต่อกันมาแต่ครัง้ โบราณกาล ว่าวัดนี้สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนเรศวร มหาราช เมื่ อ คราวที่ พ ระองค์ ท รงยาตรา กองทัพขับไล่ข้าศึกมาทางทิศตะวันออกของ กรุงศรีอยุธยา มาถึงต�ำบลหนึ่งไม่ปรากฏนาม ทรงกระท� ำ พิ ธี พ ลี ก รรมบวงสรวงขึ้ น ที่ น่ี จึงกลายเป็นชื่อต�ำบล “บางพลี” เมื่อชนะ สงครามแล้วทรงกลับมาสร้างวัดและเรียกชื่อ ว่า วัดพลับพลาชัยชนะสงคราม แต่ต�ำนานแห่งความศักดิ์สิทธิ์นั้น จากค�ำ บอกเล่าของชาวบ้านละแวกนี้เล่าสืบต่อกัน มาว่า มีพระพุทธรูป ๓ องค์ ซึ่งชาวกรุงเก่า กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

ได้นิมนต์ลงสู่แม่น�้ำเพื่อหลบลี้หนีภัยสงคราม พระพุทธรูปทั้ง ๓ องค์ ลอยมาตามล�ำน�้ำและ ได้แสดงอภินหิ ารระหว่างทางจนเป็นทีโ่ จษจันกัน ทัว่ ไป ประชาชนในท้องทีต่ ำ� บลต่างๆ ได้พยายาม นิมนต์ท่านขึ้นสู่ฝั่งแต่ไม่ส�ำเร็จ จนในที่สุด พระพุทธรูปองค์ที่ ๑ ได้ขึ้นไปประดิษฐาน อยู ่ ที่ วั ด บ้ า นแหลม จั ง หวั ด สมุ ท รสงคราม ชาวบ้านเรียกขานกันว่า “องค์พ”ี่ ส่วนองค์ที่ ๒ ขึน้ ไปประดิษฐานอยูท่ วี่ ดั โสธร จังหวัดฉะเชิงเทรา ชาวบ้านจึงเรียกว่า “องค์กลาง” ในขณะที่องค์ที่ ๓ หรือที่เรียกขานว่าเป็น “องค์นอ้ ง” ได้ลอยมาตามล�ำแม่นำ�้ เจ้าพระยา และเกิดปาฏิหาริย์ลอยวกเข้ามาในล�ำคลอง ส�ำโรง ประชาชนจึงพร้อมใจกันนิมนต์ท่าน ขึน้ ทีป่ ากคลองส�ำโรง แต่ทา่ นไม่ยอมขึน้ จึงได้ ท�ำพิธีเสี่ยงทาย ต่อแพผูกชะลอกับองค์ท่าน แล้วใช้เรือพายฉุดท่านให้ลอยตามล�ำน�ำ้ ส�ำโรง และอธิษฐานว่า “หากท่านประสงค์จะขึ้นไป ประดิ ษ ฐานที่ ใ ดก็ ข อจงได้ แ สดงอภิ นิ ห าร ให้แพทีล่ อยมาจงหยุด ณ ทีน่ นั้ เถิด” จนแพลอย มาถึงบริเวณหน้าวัดพลับพลาชัยชนะสงคราม หรือวัดบางพลีใหญ่ใน ท่านจึงหยุดนิ่ง แม้ว่า ชาวบ้านจะพยายามออกแรงพายเพื่อไปต่อ แต่ แ พก็ ห าขยั บ เขยื้ อ นใดๆ ไม่ จนทุ ก คน

That was a part of the stories shared by the organizer of SUP activity. 20 paddlers gathered up for the first time on the latest National Mother's Day, August 12, 2018 . When the beautiful morning light kissed the glistening water, small bubbles rushed up the surface each time the paddle plunged into the water. The paddlers paddled as a flock down Klong Suan Canal, a small canal behind Taco Lake, for about three kilometers before connecting to Samrong Canal where Luang Phor To Temple is situated. The temple is named after the principal Buddha image in the main chapel hall. This large bronze Sukhothai-styled buddha image in the attitude of Subduing Mara with 1.75 meter wide lap size is widely revered among the locals. Historical evidences discovered in archeological investigations in the past are passed down to today's generation. It indicated the temple was first built in King Naresuan the Great period. As he was leading his army to cast the enemy to the east of Ayutthaya Kingdom, the King made a brief stop at an anonymous sub-district where he performed an oblation ceremony to rid of the bad luck before continuing with the SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 43

ปิดทองหลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่ใน

Applying a gold leaf on Luang Phor Toh statue, Bangphli Yai Nai Temple

พากั น ก้ ม กราบนมั ส การด้ ว ยความเคารพ ศรั ท ธา และพร้ อ มใจกั น อาราธนาตั้ ง จิ ต อธิษฐานน�ำท่านขึ้นจากน�้ำได้ในที่สุด จนกระทัง่ ปัจจุบนั ไม่ตอ้ งถามถึงคลืน่ ศรัทธา จากมหาชน เพราะดูได้จากจ�ำนวนผู้คนที่ หลัง่ ไหลมาไม่ขาดสาย คุณยายท่านหนึง่ กล่าว กับ @สมุทรปราการ ว่าน�้ำพระพุทธมนต์ของ หลวงพ่อโตนั้นนอกจากจะเป็นสิริมงคลกับ ครอบครัวที่มาท�ำบุญแล้ว ยังได้ผลชะงัดนัก ในยามมีใครเจ็บไข้ได้ป่วย แต่ที่ไม่กล้ายืนยัน คื อ เรื่ อ งของเหรี ย ญเช่ า บู ช าที่ มี ค� ำ เลื่ อ งลื อ หนาหูว่าเคยมีชาวบ้านน�ำมาสวมใส่แก่บุตร หลาน ต่อมาเด็กคนนั้นพลัดตกน�้ำแต่กลับ ลอยตั ว ได้ โ ดยไม่ เ ป็ น อั น ตรายแต่ อ ย่ า งใด จริงเท็จอย่างไรก็ยังไม่เคยมีใครกล้าท้าพิสูจน์ มาจนบัดนี้ battle, thus, the sub-district was named "Bang Phli." In commemoration of His victory, the King returned to the district and built a temple called "Phlapphlachai Chanasongkhram Temple" According to the hearsays of the locals, the legend of the sacredness began back in the day when three Buddha images, which people of the old city invited on to their boat while escaping the wars, floated down the stream and performed a series of miraculous events along the way. The news spreaded so quickly and widely that villagers in many sub-districts invited the images onto the land in various attempts but none succeeded. Eventually, one of the buddha images was enshrined at Ban Laem Temple in Samut Songkhram province and named "the big brother image" by the locals. Then, the second statue was placed at So-Thorn Temple in Chachoengsao province and, therefore, named "the middle brother image." Meanwhile, the third image or "the younger brother image" drifted down Chao Phraya River and miraculously reverted into Samrong Canal. People in the neighborhood invited him onto the mouth of Samrong Canal but without sucess. They decided to invite him onto a firmly-tied bamboo raft which was connected to a rowboat and SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


ยิ่ ง ถ้ า ใครมี โ อกาสได้ ม ากราบองค์ พ ระ ในช่วงวันขึ้น ๑๔ ค�่ำ เดือน ๑๑ ก็ยิ่งนับเป็น โชคอย่ า งเหลื อ ล้ น เนื่ อ งจากตรงกั บ วั น จัดงานประเพณีรบั บัวทีป่ ฏิบตั สิ บื ต่อกันมาทุกปี เนื่ อ งจากในอดี ต อ� ำ เภอบางพลี มี ด อกบั ว มากมายตามล�ำคลองหนองบึงต่างๆ ซึ่งเป็นที่ ต้องการของพุทธศาสนิกชนเพื่อน�ำไปบูชา พระที่ บ ้ า น ชาวเมื อ งสมุ ท รปราการและ ชาวพระประแดงจึงชวนกันพายเรือไปตาม ล�ำคลองส�ำโรงเก็บดอกบัวไปบูชาพระคาถาพัน หรือเทศน์มหาชาติและน�ำไปบูชาพระ ในอดีตการส่งมอบดอกบัวจะท�ำกันอย่าง สุภาพ อ่อนน้อม มือต่อมือ ผูใ้ ห้และผูร้ บั พนมมือ ตั้ ง จิ ต อธิ ษ ฐานอนุ โ มทนาผลบุ ญ ร่ ว มกั น ต่อมากลายเป็นประเพณีปฏิบตั ิ ทันทีทเี่ รือแห่ หลวงพ่ อ โตเริ่ ม เคลื่ อ นออกจากท่ า น�้ ำ วั ด บางพลี ใ หญ่ ใ น ผู ้ ม าท� ำ บุ ญ ที่ วั ด ก็ จ ะโยน บัว โดยอธิษฐานขอให้ ด อกบั ว ตกลงบนเรื อ หลวงพ่ อ โตขณะขบวนเรื อ เคลื่ อ นผ่ า น เชื่ อ กั น ว่ า ถ้ า ดอกบั ว ตกลงไปในเรื อ สิ่ ง ที่ อธิษฐานจะส�ำเร็จสมปรารถนา จนกลายเป็น ภาพยิ่ ง ใหญ่ ต ระการตากั บ ขบวนแห่ เรื อ อันงดงามหนึ่งเดียวในโลก และกลายเป็ น อี ก หนึ่ ง แลนด์ ม าร์ ก ส� ำ คั ญ ของจั ง หวั ด สมุทรปราการมาตราบจนทุกวันนี้ แน่นอนว่ามีทริปอิ่มบุญอิ่มตาแล้วก็ต้อง ตบท้ายด้วยการอิ่มปากอิ่มท้อง ขากลับคง พลาดไม่ได้กับการแวะชมชิมที่ตลาดโบราณ บางพลี เพี ย งแค่ เ ดิ น เท้ า ไม่ กี่ น าที จ ากวั ด หลวงพ่อโตก็จะได้พบกับตลาดแนววินเทจ ที่ มี ส ารพั ด สิ น ค้ า ให้ เ ลื อ กช้ อ ปอย่ า งจุ ใ จ ทัง้ อาหารอร่อย ขนมหวาน ของใช้ ของตกแต่ง บ้ า นเรื อ น ของฝาก รวมถึ ง ร้ า นเสริ ม สวย ร้านขายเสือ้ ผ้า ร้านขายสัตว์เลีย้ ง ฯลฯ แถมยัง ได้บรรยากาศตลาดแบบโบราณเพราะมีพนื้ ไม้ ทางยาวกว่าครึ่งกิโลเมตร ชาวตลาดบอกว่าทีน่ เี่ ดิมชือ่ ตลาด “ศิรโิ สภณ” สันนิษฐานว่าชาวจีนเข้ามาเปิดร้านในตลาดนี้ ราว พ.ศ. ๒๔๐๐ เคยเป็นชุมชนใหญ่และ มี ค วามรุ ่ ง เรื อ งมาก ดู ไ ด้ จ ากนิ ท รรศการ “ภาพเก่ า เล่ า เรื่ อ ง” ที่ ช าวชุ ม ชนช่ ว ยกั น จัดพื้นที่กลางตลาดเพื่อแสดงภาพถ่ายสมัย แรกเริ่มตั้งตลาด และยังจัดแสดงเครื่องมือ เครื่องใช้ในการประกอบอาชี พ การประมง กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

cautiously paddle down Samrong Canal praying "Whereever you wish to grant your clemency, kindly perform your miracle and pause the floating bamboo raft." They kept rowing and rowing. By the time they reached the frontage of Phlapphlachai Chanasongkhram Temple or Bang Phli Yai Nai Temple, the boat suddenly stopped and would not move an inch even the oarsmen kept plunging their oars. It was not long after everyone bowed down to pay their full respect to the Buddha image and faithfully prayed that they effortlessly brought him off the water. Up to the present, anyone can tell the faith of the people in them is still unquestionably strong by looking the amount of people that keep pouring in. A grandmother said to @Samutprakan that the holy water of Luang Phor Toh would not only bring prosperity to the families that passed by to make a merit but would also magically cure the illness. Although, noone dared to certify the same about the rumor of a small Buddhist amulet. It was said that one of the locals put it around his young son's neck. One day, the boy fell into the water but was able to keep floating miraculaously and remained unharm. Anyone who has a chance to visit and pay respect to Luang Phor Toh on the fourteenth day of the waxing moon in the eleventh lunar month is of great luck as it falls on the same period where the celebration of Rap Bua tradition is annually held. Back in the days, lotus flowers grew in abundance in Bang Phli District and were preferred by local Buddhists as an offerings to Buddha images at home. Thus, it was common to see the locals of Samutprakan and Phra Pa-daeng rowing down Samrong Canal to collect and offer these flowers to Buddha images during the deliverance of the series of 1,000 chapters of Wetsondon in Pali and Mahachat sermon reciting the last great incarnation of the Buddha. In ancient times, Rap Bua or Lotus Flower Receiving was carried out with politeness, courtesy, from one hand to another, where both the offerer and the receiver would then press their two palms together and prayed with gratitude and gradually became a tradition. As soon as the boat carrying Luang Por Toh leaves the dock of Bang Phli Yai Nai Temple, people, who came to make merits at the temple, would line on the two banks of the canal and started to throw the lotus flowers hoping them to land on the boat as it SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 45 approached near. It is believed that if one's flower landed on the boat, his wishes would come true. The magnificence of Rap Bua Festival with all its elaborated boat procession has become one of the most significant landmarks of Samutprakan until now. After a blissful merit-making and witnessing a beautiful festival, it is now time to fill up an empty stomach. On the way back home, it is recommended to take your time to enjoying dilicious food at Bang Phli 100 Years Market. Just a few-minutes walk from Luang Phor Toh Temple, a vintage market awaits with large variety of interesting products to shop : mouthwatering food, desserts, groceries, home furnitures, souvenirs, clothes, pets , beauty salon and etc. Moreover, the whole market is filled with nostalgic atmosphere because of the old wooden floor that stretches half a kilometer long. According the market people, this place was previously known as "Sirisophon" Market presuming the Chinese began to open their businesses in this market in 1857. It used to be a huge and prominent community as seen from the "Phap Kao Lao Rueng" Exhibition held by people in the community in the heart of the market to display historical photographs telling the stories of the market when it first operated as well as to present the local equipments extensively used in fishery and agriculture in the past which are all donated by the elders who lived through the period. Therefore, it is considered a historically valued floating market that deserves a well preservation so the next generation may study and continue to treasure the traditions of their ancestors. Now that the sun has faded out, it is now time to pick up the oars and get back on the paddle board again. The returning trip can be slightly tiring as every board appears to be carrying quite an amount of souvenirs back home. As kids poke on their parents asking if they could all come back again next week, many families cannot help but pin this travel route for their upcoming trips. With all the beautiful places to visit, many activities for everyone in the family to experience and relatively short distance from Bangkok, this truly is an exceptional trip you cannot find elsewhere.

“บอร์ดยืนพาย” กิจกรรมใหม่บนสายน�้ำ

“SUP” the brand new activity on the stream

และการเกษตร อุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ ที่ ไ ด้ รั บ บริจาคมาจากคนเก่าคนแก่ที่อยู่ในเหตุการณ์ เมือ่ ครัง้ อดีต จึงถือเป็นตลาดน�ำ้ ประวัตศิ าสตร์ แห่งหนึง่ ทีค่ วรอนุรกั ษ์ฟน้ื ฟูให้เยาวชนรุน่ หลัง ได้ ศึ ก ษาและหวงแหนวั ฒ นธรรมเก่ า แก่ ของบรรพบุรุษสืบต่อไป แดดร่มลมตกแล้ว ได้เวลาจับพายขึ้นยืน บน Paddle Board อีกครั้ง ขากลับอาจ พายเหนื่ อ ยกว่ า ขามาสั ก เล็ ก น้ อ ย เพราะ

ดู ท ่ า ว่ า แต่ ล ะล� ำ จะมี ข องฝากติ ด ไม้ ติ ด มื อ กลับไปคนละไม่น้อย ที่แน่ๆ แอบเห็นหนูๆ น้องๆ หลายคนสะกิดคุณพ่อคุณแม่วา่ สัปดาห์ หน้าเรามากันอีกได้ไหม หลายครอบครัวคง ปั ก หมุ ด ให้ เ ส้ น ทางนี้ เ ป็ น กิ จ กรรมวั น หยุ ด ในครั้งต่อไปอย่างไม่ลังเลใจ เพราะสถานที่ สวยและมีกิจกรรมน่าสนใจไว้รองรับคนทั้ง ครอบครัวแบบนี้ แถมใกล้กรุงเทพฯ นิดเดียว คงไม่ใช่อะไรที่จะหากันได้ง่ายๆ SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


คลองสวน

ย้อนวิถีชุมชนริมน�้ำ ที่ตลาดคลองสวน ๑๐๐ ปี

คลองประเวศบุรรี มย์ในวันนีเ้ ปลีย่ นแปลง ไปจากวันวานมากนัก คนเก่าแก่ที่อาศัยอยู่ ริมคลองคงกล่าวเช่นนี้ หากเอ่ยถามค�ำถาม พื้นๆ ว่าวันนี้ต่างไปจากเดิมมากไหม คลองประเวศบุ รี ร มย์ เ ป็ น ล� ำ คลองที่ เชื่อมต่อคลองพระโขนงกับแม่น�้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ขุดขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๔๒๑ แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๒๓ ในสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๕ มีความยาวทั้งสิ้น ๔๖ กิโลเมตร อยู่ในความ รั บ ผิ ด ชอบของเจ้ า พระยาสุ ร วงศ์ ไวยวั ฒ น์ การขุดคลองสายนีจ้ งึ ก่อให้เกิดประโยชน์ให้แก่ ราษฎรในหลายด้าน โดยเฉพาะความสะดวก ในการสัญจรและขนส่งพืชผลการเกษตร คลองประเวศบุ รี ร มย์ ถื อ เป็ น เส้ น แบ่ ง เขตแดนของจั ง หวั ด สมุ ท รปราการและ ฉะเชิงเทรา เมื่อมีคลองเป็นเสมือนเส้นทาง สัญจรหลัก ที่ก่อเกิดตามมาคือการเข้ามา ตั้ ง รกรากของประชาชนเกิ ด เป็ น ชุ ม ชน ริมล�ำคลองขึ้น เสมือนกับการตัดถนนในยุค ปัจจุบัน ในอดีตนั้นการสัญจรทางน�้ำถือเป็น เส้ น ทางหลั ก ที่ ผู ้ ค นใช้ เ ดิ น ทาง วั น นี้ เรา เดินทางมาท่องเที่ยวชุมชนเก่าแก่แห่งหนึ่ง ของสมุทรปราการทีต่ งั้ อยูร่ มิ ล�ำคลองประเวศ บุรีรมย์ หรือที่ชาวย่านถิ่นแถบนี้เรียกขานว่า คลองสวน จุดหมายที่เราตระเวนมาเยือนในวันหยุด สุ ด สั ป ดาห์ คื อ ตลาดคลองสวน ๑๐๐ ปี นามของสถานที่สะท้อนให้เข้าใจอย่างชัดแจ้ง ว่าสถานที่แห่งนี้เป็นย่านเก่าแก่อย่างแท้จริง ในอดีตนั้นล�ำคลองเปรียบเป็นถนนของ ประชาชน จะไปไหนมาไหนสะดวกที่สุดคือ การสัญจรทางน�้ำ เมื่อคลองเปิดใช้ ผู้คนมิได้ อยู่แต่ตามริมคลอง ยังมีที่เข้ามาจับจองพื้นที่ เพาะปลูกท�ำเกษตรกรรมในละแวกใกล้คลอง สิ่งที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กับบ้านเรือนผู้คนก็คือ ตลาดนั่นเอง

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

KLONG SUAN Life on the waterfront at 100 Year-Old Market "Pravet Burirom Canal at the present is not much different from the past." would probably be the common answer by the elders living in this waterfront community when charged with one of the most basic question if anything had changed. Pravet Burirom Canal is a 46 kilometer long canal that connects to Phra Khanong Canal and Bangprakong River, Chachoengsao. It was first dredged in 1878 and finished in 1880 during the reign of His Majesty King Chulalongkorn or King Rama V under the supervision of Phraya Surawongse Waiyawat. Upon the completion, the canal brought a tremendous improvement to the people's life particularly the convenience in transportation of agricultural products. In addition, Pravet Burirom Canal is considered a provincial boundary between Samutprakan and Chachoengsao province. Back then, as the canal turned into the key transportation route, people started flocking into the area and formed a community along the canal. Today, we paid a visit to an old community on the bank of Pravet Burirom Canal, locally known as Klong Suan. As our weekend getaway destination for this trip, we chose Klong Suan 100-Year-Old Market. The name clearly represents how genuinely old the place is. In the old days, canals and rivers were like today's roads. It was the most convenient path to travel around. When the canal was first opened, people did not just live on the riverside but also occupied the land nearby for agriculture. What followed houses and community was a market. On weekends, Klong Suan Market is even more crowded with shoppers from all over the place. It is a crucial commercial center in the neighborhood which offers a large variety of products and is also a vital connecting hub to Bangkok.

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 47

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 49

We had an opportunity to talk to Mr. Somphop Rojanaphan, currently 72 years old, who was once a magazine editor, a government officer and a university lecturer. Down by the canal at the market entrance, not far from an old-timer coffee shop, we discussed about Klong Suan Market in many aspects. Mr. Somphop told us that his father was the owner of the photo shop, Chaya Lamai and that it still opens as usual in Klong Suan Market. Every Saturday and Sunday, Mr. Somphop always travels from his residence in Bangkok to spend a good weekend here in his old home in Klong Suan Market. "The pier that we're having this conversation right here right now used to be fully packed with boats." Mr. Somphop pointed. As the primary owner of every shop in the market in the past, he explained that there was a time when Nai Lert's white packet boats was often seen delivering passengers from Klong Suan Market to Bangkok. The packetboat left Klong Suan Market at four in the morning, arrived Bangkok around eight in the morning and left Bangkok again at three in the afternoon. The coffee shop at the corner of the market keeps welcoming customers all day long. Looking inside, the shop was decorated with many rare classical items that must have been passed down the generations. There, we bid farewell to Mr. Somphop and excused ourselves to further explore the market. One of the biggest highlight of a century-old Klong Suan Market is the valuable architecture of buildings from the past remain the same. The only change there is the extended area close by the canal for more shops The next highlight in line is a tall traditional wooden bridge that connects the lives of people on two sides of the canal. Now, it also serves as a popular spot for visitors to enjoy the view of the canal intentionally dredged in a straight line, houses standing next to each other among the green on both sides. Such peaceful atmosphere of Pravej Canal today brought back the memory of the lively canal in the old time when large and small boats were busy sailing back and forth.

ของเก่าเล่าอดีตที่ตลาดคลองสวน ๑๐๐ ปี

Ancient settings echoing the story of the past at Khlong Suan Market

ในวันหยุดเสาร์ - อาทิตย์ตลาดคลองสวนฯ คึกคักยิง่ มีนกั ท่องตลาดเดินทางมาจากทัว่ ทุก ทิศ ตลาดคลองสวนฯ ในอดีตเปรียบได้ดงั่ ย่าน การค้าที่ส�ำคัญของชุมชนแถบนี้ มิเพียงแต่ มีสินค้าข้าวของเครื่องใช้ให้ซื้อหา แต่ยังเป็น จุดเชื่อมต่อการเดินทางที่ส�ำคัญของผู้คนที่จะ เข้าสู่พระนครอีกด้วย เรามี โ อกาสได้ ส นทนากั บ คุ ณ สมภพ โรจนพันธ์ ซึง่ ปัจจุบนั อายุ ๗๒ ปีแล้ว คุณสมภพ เคยเป็นบรรณาธิการนิตยสาร รับราชการเป็น อาจารย์มหาวิทยาลัย ทีท่ า่ น�ำ้ ตรงหัวตลาดใกล้ กับร้านกาแฟเก่าแก่ห้องหัวมุม เราสนทนาถึง เรื่องราวของตลาดคลองสวนฯ ในหลากหลาย แง่มมุ เรือ่ งราวแต่หนหลังถูกหยิบมาบอกกล่าว บิดาของคุณสมภพคือเจ้าของร้านถ่ายภาพ ฉายาละม้าย ซึ่งเปิดให้บริการอยู่ในตลาด คลองสวนฯ ทุกเสาร์ - อาทิตย์คุณสมภพจะ

เดินทางจากบ้านที่กรุงเทพฯ กลับมาใช้ชีวิต สุ ด สั ป ดาห์ ที่ บ ้ า นเดิ ม ในตลาดคลองสวนฯ เป็นประจ�ำ “ท่าน�้ำตรงที่เราคุยกันอยู่นี่นะ เมื่อก่อน เรือจอดเต็มไปหมดแทบจะไม่มีที่ว่างเลย” คุ ณ สมภพกล่ า ว ร้ า นค้ า ที่ เ ห็ น อยู ่ ใ นตลาด คุ ณ สมภพบอกว่ า เป็ น เจ้ า ของเดิ ม ทั้ ง หมด ในอดีตยุคหนึ่งมีเรือเมล์ขาวของนายเลิศวิ่ง รับ - ส่งคนจากตลาดคลองสวนฯ จนถึงกรุงเทพฯ เรือออกจากตลาดคลองสวนฯ ตอนตีสี่ จะถึง กรุงเทพฯ ประมาณแปดโมงเช้า ส่วนเทีย่ วกลับนัน้ ออกจากกรุงเทพฯ บ่ายสามโมงเย็น ร้านกาแฟหัวมุมยังคงมีลูกค้าแวะเวียน มาอุดหนุนไม่ขาดสาย มองเข้าไปในร้านยังเห็น ข้ า วของเครื่ อ งใช้ ห ลายชิ้ น ที่ เ ป็ น ของเก่ า ใช้ตกทอดสืบต่อกันมา เราขอคุณสมภพเดิน เข้าไปส�ำรวจด้านในตลาด SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


บน สะพานแบ่งเขตสองจังหวัด ล่าง ร้านหมูโชคไพบูลย์ ของฝากแสนอร่อยของตลาดคลองสวน

Top The wooden bridge that marks the borderline between two provinces Bottom Chokepaiboon Pork Shop. A mouthwatering souvenir from Khlong Suan Market

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

ที่โดดเด่นที่สุดอย่างหนึ่งส�ำหรับตลาด คลองสวนฯ อายุรอ้ ยกว่าปีแห่งนี้ คือตัวอาคาร บ้านเรือนซึง่ ล้วนเป็นสถาปัตยกรรมทีม่ คี ณ ุ ค่า อยู่คู่กับตลาดมาตั้งแต่ดั้งเดิม ที่เปลี่ยนแปลง ไปคือบริเวณด้านติดกับคลอง เป็นการต่อเติม ออกไปให้เป็นพื้นที่ค้าขายเพิ่มเติม สิ่งก่อสร้างที่โดดเด่นเคียงคู่อยู่กับตลาด คลองสวนฯ มาอีกอย่าง คือสะพานไม้สูงข้าม คลอง อันเป็นลักษณะสะพานแบบโบราณ ดั้งเดิม ที่นอกจากจะเป็นเส้นทางเชื่อมโยง ระหว่างผู้คนสองฝั่งคลองแล้ว ในปัจจุบัน ยังเป็นจุดที่ผู้มาเยือนตลาดคลองสวนฯ นิยม เดิ น ขึ้ น ไปชมทิ ว ทั ศ น์ ล� ำ คลองที่ ถู ก ขุ ด เป็ น เส้นตรง สองฟากฝั่งเรียงรายด้วยบ้านเรือน และหมูไ่ ม้รม่ รืน่ ท่ามกลางบรรยากาศสงบเงียบ ของคลองประเวศบุ รี ร มย์ ในวั น นี้ ช วนให้ นึกถึงภาพความคึกคักไปด้วยเรือน้อยใหญ่ ที่แล่นสัญจรเมื่อครั้งอดีต แน่ น อนว่ า ตลาดหรื อ ย่ า นค้ า ขายที่ มี บรรดาร้านค้าเรียงติดกันเป็นแนวยาวมีทั้ง ขายของแห้ง ของใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน ของฝาก ขนมต่างๆ ย่อมมีของอร่อยขึน้ ชือ่ อยูม่ ากหลาย “แวะชิ ม หมู ก ่ อ นสิ อร่ อ ยนะ ท� ำ เองเลย สูตรโบราณ” เสียงเจ้าของร้านทักทายเมื่อ ผ่านมาถึงหน้าร้านของเธอ ร้านหมูโชคไพบูลย์ ร้านนีถ้ อื เป็นอีกหนึง่ ร้านเก่าแก่ของตลาด ที่ส�ำคัญผู้ก่อตั้งยังคงมีชีวิตอยู่ “สูตรที่ท�ำนี่ สูตรดั้งเดิมเลย ของเตี่ย ฉันเป็นรุ่นลูกแล้ว” เธอกล่าวเสียงสดใส “ในตลาดนี่เขาเรียกฉัน ว่ายายพร” ยายพรชีช้ วนให้ดหู อ้ งอบกุนเชียง ของร้านที่เป็นแบบดั้งเดิม หยิบกุนเชียงให้ ลิ้มชิมรส พร้อมกับเล่าเรื่องราวของเธอให้ฟัง อย่างลืน่ ไหล เธอกล่าวว่าผูช้ ายยุคเก่าในตลาด ที่อายุมากๆ รุ่นคุณปู่คุณตาของเด็กๆ สมัยนี้ คนในตลาดจะเรียกแป๊ะน�ำหน้า ตลาดฝั่ง ฉะเชิงเทรามีแป๊ะหลีขายกาแฟโบราณเป็น ที่รู้จักของคนทั่วไป (ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว) ถัดจากแป๊ะหลีก็คือเตี่ยของยายพร แป๊ะงึ้น ซึ่งเป็นเจ้าของร้านหมูโชคไพบูลย์ เดิ น ไปแวะดู สิ น ค้ า ไป หยุ ด พู ด คุ ย กั บ ชาวตลาดคลองสวนฯ ไป ได้ทั้งความรู้ความ เพลิดเพลิน ซึ่งไม่อาจพบได้ยามเดินตลาด ติดแอร์ในเมืองใหญ่ SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 51

บ้านเรือนเก่าได้รับการดูแลรักษาไว้อย่างดี

Age-old houses are well preserved.

อี ก สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เราพบเห็ น มากพอสมควร นั่ น คื อ ของเล่ น เก่ า ที่ เรี ย กกั น ติ ด ปากว่ า ของเล่ น สั ง กะสี ที่ ต ลาดแห่ ง นี้ มี ข ายอยู ่ สองสามร้าน ส�ำหรับคนที่ชื่นชอบรับรองว่า ต้องหยุดแวะอย่างไม่ต้องสงสัย เดินจนสุดทางตลาดซึง่ คัน่ ไว้ดว้ ยล�ำคลอง สายเล็กๆ มีชื่อว่าคลองเจ้าพระยานาคราช ซึ่ ง เป็ น ล� ำ คลองอี ก เส้ น หนึ่ ง ที่ กั้ น เขตแดน ระหว่างสมุทรปราการกับฉะเชิงเทราเช่นกัน เมื่ อ เดิ น ข้ า มคลองด้ ว ยสะพานไม้ เ ล็ ก ๆ ไปอีกฝั่งก็เป็นฉะเชิงเทราแล้ว สุดทางตลาดคลองสวนฯ ฝัง่ สมุทรปราการ ตรงเชิงสะพานเป็นที่ตั้งของร้านก๋วยเตี๋ยว โบราณของเจ๊เจ็ง ซึ่งเปิดขายมาตั้งแต่รุ่นพ่อ แน่นอนว่าเมือ่ ตลาดมีอายุตั้งร้อยกว่าปี เจ๊เจ็ง ซึ่งเป็นรุ่นลูกปีนี้ก็มีอายุ ๗๐ ปีแล้ว เริ่มลวก ก๋วยเตี๋ยวตั้งแต่อายุ ๑๔ ปี เจ๊เจ็งเล่าให้ฟังว่า ร้านนี้เริ่มต้นครั้งแรกจ่ายค่าเช่าแค่ ๕๐ บาท ขึ้นมาเป็น ๑๐๐ บาท ๕๐๐ บาท จนปัจจุบัน ๑,๐๐๐ บาท เจ๊เจ็งเล่าต่ออีกว่าตลาดเริ่ม มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วจากข้ า งนอกเข้ า มาเที่ ย ว ชมครั้งแรกน่าจะย้อนหลังไปได้สัก ๑๒ ปี ร้านก๋วยเตี๋ยวเก่าแก่คู่ตลาดคลองสวนฯ จึงมี ผู ้ ชื่ น ชอบอาหารเส้ น แวะมาชิ ม ก๋ ว ยเตี๋ ย ว สูตรโบราณมากมาย In the market where hundreds of shops all lined up selling fresh food, dried food, snacks, everyday necessities and souvenirs, there must be many well-known shops here, too. "Come and have a bite of our pork. Very yummy. I made these myself. All traditional recipes." greeted the owner when we got close to her shop, Chokepaiboon Pork Shop." This pork shop is one of the oldest shops in the market whose founder still lives. "The recipe we use in the making is always the original recipe from my dad. I'm the second generation here," she explained happily. "People here usually call me Yaai-Porn (Granny Porn)," said Yaai-Porn while showing us a vintage-looking room where her sausages are cooked. Then, she let us try a few slices of sausages before smoothly carried on with her story. She said that men in this market who shared the same age with grandfather of kids these days would automatically be called "Pae"

preceding their actual names. For instance, Pae Lee was a loving old man who sold traditional Thai coffee at the market on Chachoengsao bank (now passed away). Another example is Pae Nguen, Yaai Porn's father who is also the owner of Chokepaiboon Pork Shop. Strolling around, appreciating local products and taking a pause to enjoy a conversation with local shopkeepers of Klong Suan Market was both entertaining and educational. You can never find such experience when shopping at an indoor air-conditioned market in the big city. Another charming item we often saw during this trip was vintage toys or what is commonly known as tin toys. We spotted a few shops in the market. If you are a fan, they are undoubtedly recommended. Once we reached the end of the market, there lies a small canal called Chao

Phraya Nagara Canal. It is another canal that marks the boundary between Samutprakan and Chachoengsao province. Thus, we only had to cross a small wooden bridge to get to Chachoengsao. At the backend of Klong Suan Market on Samutprakan side, Jeh Jeng's Thai traditional noodle shop is located at the foundation of the bridge. It was first opened and operated by her father and passed down to the daughter generation. Jeh Jeng, a 70 year-old daughter, started learning how to cook the noodles since the age of fourteen. She told us that when the rental fee for the shop was, at first, fifty baht and later increased to a hundred baht, five hundred baht and now a thousand baht. Jeh Jeng told us that the first time this market had its first chance to welcome travelers as a new tourist attraction was probably twelve years ago. Being one of the most experienced player in Klong SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


“เมื่อก่อนคนที่มาตลาดเป็นพวกชาวไร่ ชาวสวนนะ นอกจากมาซื้อของแล้ว เขาก็ มาหาหมอที่ตลาด” เจ๊เจ็งกล่าว ทุกวันนี้ใน วันธรรมดาลูกค้าของร้านก๋วยเตีย๋ วเป็นบรรดา ผู้คนที่ท�ำงานอยู่ในโรงงานแถบนี้ ยุคสมัยที่ เปลีย่ นไปหลายๆ สิง่ ก็ปรับเปลีย่ นไป แต่ตลาด คลองสวนฯ ยังคงมีบทบาทหน้าทีเ่ ฉกเช่นเดิม ดังเคยเป็น คือเป็นย่านค้าขายพบปะของผูค้ น ตลาดคลองสวนฯ เปิดขายทุกวัน แต่วัน กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

หยุดเสาร์-อาทิตย์คึกคักกว่า เพราะบรรดา พ่อค้าแม่ขายหลายคนซึง่ เป็นรุน่ ลูกต่างท�ำงาน อยู่ตามบริษัทห้างร้าน พอถึงวันเสาร์-อาทิตย์ จึงจะเปิดร้านขายสินค้าให้กับนักท่องเที่ยว ผู้แวะมาเยือนตลาด ในวันธรรมดาจึงเห็นแต่ ร้านค้าดั้งเดิมไม่กี่ร้านที่คนในครอบครัวยังคง สืบทอดกิจการค้าขายต่อเนื่องมา ตลาดคลองสวนฯ นับได้ว่าเป็นตลาดเก่า แก่ที่ยังคงมีชีวิต ผู้มาเยือนยังคงได้สัมผัสกับ

สภาพแวดล้ อ มที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั บยุ ค เก่า ก่อน สถาปั ต ยกรรมบ้ า นเรื อ นยั ง คงได้ รั บ การ อนุ รั ก ษ์ ไว้ มิ ไ ด้ ถู ก รื้ อ ถอน หรื อ ปลู ก สร้ า ง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งใหม่ ที่ ไ ม่ เข้ า กั บ บริ บ ทดั้ ง เดิ ม แต่แน่นอนว่ามีบางห้องที่ดูทรุดโทรมไปบ้าง บางห้องที่ปิดมิได้ค้าขายแต่ยังคงใช้อยู่อาศัย ไม่ ผิ ด เลยที่ จ ะกล่ า วว่ า ตลาดคลองสวนฯ เปรียบได้ดังพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตอย่างแท้จริง

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 53

นักท่องเที่ยวอร่อยกับก๋วยเตี๋ยวเจ้าเก่าริมคลองสวน Travelers enjoying their noodles at a traditional noodle shop by Khlong Suan Canal

Suan Market, this traditional noodle shop naturally attracts travelers who loves noodles to explore many different traditional recipes. "In the past, those who comes to this market were usually farmers. Besides grocery shopping, they also came to see the doctor," Jeh Jeng said. It appears that now, on weekdays, customers of her noodle shop are people who work at nearby factories. Time changes. Things, too, change. Nevertheless, Klong Suan Market continues its role as trading and hanging out area. Klong Suan Market opens everyday but it is more lively on weekends as most street vendors are the new generation with full-time job at offices. They can only set up the stores on weekends to welcome travelers. Therefore, on weekdays, you can only find a pinch of traditional shops whose businesses were passed down the generation. Klong Suan Market is an ancient market that still stands tall and lively. Visitors can still experience the market atmosphere similar to the past. Traditional architecture of local buildings are neither demolished or replaced with contrasting modern architecture, but rather well-preserved. As expected, some shops may look a bit worn out over time but shops that previously closed down are used as a living space. It is not wrong to compare Klong Suan Market to a living museum.

ตลาดคลองสวน ๑๐๐ ปี เปิดทุกวัน แต่ในวันธรรมดามีเปิดเพียงไม่กรี่ า้ น ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ร้ า นอาหาร ร้ า นขายของช� ำ แต่ ถ ้ า เป็ น วั น หยุ ด เสาร์ - อาทิตย์ หรือวันหยุดตามเทศกาล ร้านค้าเปิดเกือบทุกร้าน หากมาเยือนตลาดในวันธรรมดาจะได้เห็นวิถีชีวิต จังหวะลมหายใจ ของตลาดแบบดั้งเดิม แต่หากเป็นวันหยุดก็จะได้ซึมซับกับช่วงเวลา คึกคักของตลาด ที่ผู้มาเยือนจะเดินชม ช้อป ชิม กันเต็มตลาด

*Klong Suan opens everyday but on weekdays, only few shops are open, mostly food and grocery shops. However, on weekends and holidays, almost every shop are open. Visiting on weekdays allow you to see the way of life of the locals, the rhythm of the past whereas weekends let you experience the vibrant side of the market with so much more to shop, taste and chill.

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


คลองสรรพสามิต สายน�้ำเชื่อมวิถีชีวิตชุมชน

ฝั ่ ง ขวาของปากแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาก่ อ น ถึงป้อมพระจุลจอมเกล้า มีคลองกว้างใหญ่ เป็นเส้นทางเชื่อมต่อได้ถึงปากแม่น�้ำท่าจีนที่ จังหวัดสมุทรสาคร ในอดีตมีเรือโดยสารและ ขนส่งสินค้าแล่นสัญจรผ่านคลองแห่งนี้อย่าง คึกคัก แม้ภาพนั้นจะเลือนหายไปในปัจจุบัน แต่คลองสรรพสามิตก็ยงั เป็นสายน�ำ้ หล่อเลีย้ ง ชีวิตของผู้คนสองฟากฝั่งอยู่เช่นเดิม เมือ่ เรายืนบนสะพานข้ามคลองสรรพสามิต ที่ บ ้ า นแหลมฟ้ า ผ่ า จะมองเห็ น ปากคลอง เชื่ อ มต่ อ กั บ แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาที่ ไ หลออกสู ่ อ่ า วไทย กลางแม่ น�้ ำ เต็ ม ไปด้ ว ยเรื อ ใหญ่ น้อยทั้งจอดลอยล�ำและแล่นไปมา มีทั้งเรือ เดินสมุทรล�ำมหึมาไปจนถึงเรือหางล�ำเล็กๆ มองไกลออกไปถึ ง ยั ง ฝั ่ ง ตรงข้ า ม ปรากฏ หอชมเมืองปากน�้ำสูงโดดเด่นเป็นแลนด์มาร์ก แห่งใหม่ของจังหวัดสมุทรปราการ ในอดีต ชาวบ้านเคยใช้คลองสรรพสามิตเป็นเส้นทาง สัญจรและขนส่งผลผลิตไปถึงฝั่งปากน�้ำ SAPPHASAMIT CANAL The Stream that connects people's lifestyles within the community On the right bank of the mouth of Chao Phraya River before arriving at Chulachomkhlao Fort, a large canal is connected to the mouth of Tha Chin River in Samut Sa-khorn Province. In the old days, the packet boats and cargo boats were busy roaming along the waterway. Even such lively scene has long disappeared, Sapphasamit Canal continues to nurture the life of people living on both sides of the canal. Standing on the bridge over Sapphasamit Canal in Ban Laem Fa Pha, it is obvious to witness how the canal mouth is connected to Chao Phraya River before flowing to the Gulf of Thailand. In the river, there are large and small boats: some merely park by the dock while others rush through. Far across the river, there is even a larger variety of boats ranging from small long-tailed boats to enormous ocean liners. Among these wonderful scenes, Paknam Observation Tower stands majestically กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

เรือประมงแล่นออกจากคลองสรรพสามิต สู่ปากแม่น�้ำเจ้าพระยา ฝั่งตรงข้ามเป็นเมืองปากน�้ำ ที่มองเห็นหอชมเมืองสูงตระหง่านอย่างโดดเด่น Fishing boats sailing out of Sapphasamit Canal to Chao Phraya River estuary. On the opposite side is Paknam City among which the majestic city observation tower is situated.

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 55

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


marking itself the lastest landmark of Samutprakan. In the past, locals took Sapphasamit Canal as a vital passage way to transport people and local produces to Paknam. Sapphasamit Canal was excavated in 1939 during Pridi Phanomyong government for salt transportation. Back then, salt was listed as the product whose tax must be levied by the Excise Department (Sapphasamit in Thai) under Salt Act, hence, it translated into the name of the canal. Approximately 8 kilometers in length and 16 kilometers in width, the canal mouth starts from the shore of Chao Phraya River in Ban Laem Fa Pha, Phra Samut Chedi District and runs all the way to the end of Bang Pla Kod Canal where Sakhla Village is located. Subsequently, another canal was further excavated passing through Bangkok area and connecting to Tha Chin River in Samut Sa-Khorn Province, which was 30 kilometers long. This new connecting canal was, thereafter, named Phittayalongkorn Canal. Travel back to the time when Sapphasamit Canal had not been excavated, Laem Fa Pha was an old community from Ayutthaya period. As the mouth area of Chao Phraya River was the original settings of a cannon fort since Ayutthaya period, the name Laem Fa Pha made its first appearance in King Rama V period, On the tenth issue of the Royal Siamese Government G azette published in 1893, it described King Chulalongkorn's personal journey to witness the construction of Chulalongkorn Fort. As for the origin of such awe-inspiring name Laem Fa Pha, it is told that in the past whenever it rained in the area, there were always severe lightning strikes (or "Fa Pha" in Thai). Together with the fact that the landscape was a cape (or "Laem") that naturally expanded into the river, the place is named after the phenomenon "Laem Fa Pha."

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 57

เรือประมงกลับเข้าฝั่งพร้อมเคยเต็มล�ำ Fishermen returning to the shore with their boat full of krill

คลองสรรพสามิ ต ได้ ถู ก ขุ ด ขึ้ น ในปี พ.ศ. ๒๔๘๒ สมัยรัฐบาล นายปรีดี พนมยงค์ เป็นนายกรัฐมนตรี เพือ่ ใช้ลำ� เลียงขนส่งเกลือ สมัยนั้นเกลือเป็นสินค้าที่กรมสรรพสามิต จั ด เก็ บ ภาษี ต ามพระราชบั ญ ญั ติ เ กลื อ จึงเรียกขานชื่อคลองตามที่มาอย่างตรงตัว โดยปากคลองเริม่ จากริมฝัง่ แม่นำ�้ เจ้าพระยา ที่บ้านแหลมฟ้าผ่า อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ ไปถึงปลายคลองบางปลากดบริเวณหมูบ่ า้ น สาขลา ความยาวประมาณ ๘ กิโลเมตร กว้าง ประมาณ ๑๖ เมตร ต่อมามีการขุดคลอง ผ่านพื้นที่กรุงเทพฯ เชื่อมกับแม่น�้ำท่าจีน ทีจ่ งั หวัดสมุทรสาคร รวมความยาวประมาณ ๓๐ กิ โ ลเมตร คลองที่ เชื่ อ มต่ อ เรี ย กว่ า คลองพิทยาลงกรณ์ หากย้อนอดีตไปก่อนขุดคลองสรรพสามิต แหลมฟ้าผ่าเป็นชุมชนเก่าแก่ที่มีมาตั้งแต่ สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ด้ ว ยพื้ น ที่ ป ากแม่ น�้ ำ เจ้าพระยาเป็นที่ตั้งของป้อมปืนมาตั้งแต่ สมั ย อยุ ธ ยา ภายหลั ง จึ ง ปรากฏชื่ อ ของ

แหลมฟ้าผ่าครั้งแรกสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รั ช กาลที่ ๕ ในหนังสือราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๐ ร.ศ. ๑๑๒ ได้บนั ทึกการเสด็จพระราชด�ำเนิน ของพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรการก่อสร้างป้อม พระจุลจอมเกล้าด้วยพระองค์เอง “วั น ที่ ๑๐ เมษายน เวลาเช้ า เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ขึ้ น ทอดพระเนตร แหลมฟ้าผ่า แล้วเสด็จฯ กลับ เลื่อนเรือ พระที่ นั่ ง มาทอดประทั บ ที่ ห น้ า ป้ อ ม ผีเสื้อสมุทรอีกราตรีหนึ่ง” ส� ำ หรั บ ที่ ม าของชื่ อ แหลมฟ้ า ผ่ า อั น น่ า เกรงขามว่ า กั น สื บ ต่ อ มาจากอดี ต ว่ า เวลาที่มีฝนตกลงมาในแถบนี้มักเกิดฟ้าผ่า อย่ า งรุ น แรง จนท� ำ ให้ เ ป็ น ที่ โจษจั น ถึ ง พื้นฐานที่ตั้งที่เป็นแหลมงอกยื่นไปในแม่น�้ำ กระทั่งกลายเป็นชื่อเรียกตามปรากฏการณ์ ว่าแหลมฟ้าผ่า

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


แม้ทกุ วันนีจ้ ะไม่มเี รือบรรทุกเกลือ รวมทัง้ เรือโดยสารแล่นผ่านคลองสรรพสามิตเหมือน เช่นวันเก่าๆ เมือ่ การประกอบอาชีพและวิถชี วี ติ ของชาวบ้านเปลี่ยนไป แต่ยังมีเรือประมง ขนาดเล็กของชาวบ้านแล่นเข้าออกตลอดวัน เพิม่ ปริมาณมากในช่วงเช้าและเย็น ตามวิถขี อง ชาวบ้านที่อยู่ใกล้ปากแม่น�้ำและชายฝั่งทะเล ชาวบ้านแถบต้นคลองสรรพสามิตส่วนหนึ่ง จึงยึดอาชีพประมงชายฝั่งเลี้ยงชีพ ยิ่งในช่วง ที่ เคยลอยเข้าใกล้ชายฝั่งเช่นนี้ เรือประมง แต่ละล�ำจะกลับมาพร้อมกับเคยเต็มล�ำ เพื่อ ขายให้กับผู้ผลิตน�ำไปแปรรูปเป็นกะปิชั้นดี ต่อไป D u e t o t h e c h a n g i n g l i fe s t y l e and occupation of the locals, salt transmitting cargo vessels and packet boats no longer passes by Sapphasamit Canal the way they did in the past. However, there are still small fishing boats of the locals sailing in and out all day long and even more so in the morning and the evening. Living by the estuary and the coastal line, a group of locals in upper Sapphasamit Canal lives on coastal fishery. There are times when krill float closer to the shore, local fishermen would return with their fishing boats full of krill, which would later be sold to food producers and further processed into a fine class Ka-pi (or shrimp paste).

บรรยากาศชุมชนประมงและบ้านเรือน ริมฝั่งคลองสรรพสามิตที่แหลมฟ้าผ่า An atmosphere of coastal fishing communities and houses along Sapphasamit Canal in Laem Fa Pha district

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 59

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


Laem Fa PhaTemple is an old temple and a spiritual sanctuary to the people of Laem Fa Pha and Sapphasamit Canal. In the beginning, it was called Mai Prai Saroj Temple but after the former Supreme Patriarch's visit in 1916, he kindly simplified the name of the temple for a better recognition among villagers based on its location, Laem Fa Pha Temple. By 1930, Luang Phor Eaum Paphassaro was promoted to a higher priest rank and bestowed with the name Phra-khru Phitak Dhamma Sophit and made the temple's chief abbot. He led the temple to a great development and gradually changed the name of the temple to Eaum Prachamit Temple. However, according to their long-standing acquaintance with the former name, locals still preferred to call it Laem Fa Pha Temple and even shortened to Laem Temple.

โบสถ์ไม้เก่าแก่ของวัดแหลมฟ้าผ่าได้รับการบูรณะอย่างงดงาม

An age-old wooden main hall of Laem Fa Pha Temple after magnificently renovated

วัดแหลมฟ้าผ่า วัดเก่าแก่ประจ�ำต�ำบล ที่ เ ป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของชาวแหลมฟ้ า ผ่ า และคลองสรรพสามิต เดิมสมัยแรกตั้งมีชื่อ ว่าวัดใหม่ไพรสาโรจน์ ภายหลังเมื่อสมเด็จ พระสังฆราชได้เสด็จมายังวัดนีใ้ นปี พ.ศ. ๒๔๕๙ ท่านทรงเปลีย่ นให้เรียกขานง่ายๆ ตามถิน่ ทีต่ งั้ เป็นวัดแหลมฟ้าผ่า ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๓ เมื่อหลวงพ่อเอี่ยม ปภัสสโร ได้รับสมณศักดิ์ เป็นพระครูพิทักษ์ธรรมโสภิต และขึ้นเป็น เจ้าอาวาส ท่านได้พัฒนาจนวัดใหญ่โตและ เจริญ รวมถึงเปลีย่ นชือ่ เป็นวัดเอีย่ มประชามิตร แต่ ช าวบ้ า นก็ ยั ง ชอบเรี ย กวั ด แหลมฟ้ า ผ่ า เช่นเดิม และมักเรียกสั้นๆ ว่า วัดแหลม วัดแหลมฟ้าผ่าอยูร่ มิ ถนนคลองสรรพสามิต ที่ ตั ด ผ่ า นจากถนนสุ ข สวั ส ดิ์ ข นานคลอง สรรพสามิต เป็นทางสัญจรยุคใหม่ที่ชาวบ้าน ใช้เดินทางแทนทางน�้ำ โดยมีโบสถ์ไม้เก่าแก่ ทีย่ งั คงอยูเ่ ป็นตัวแทนเรือ่ งราวในอดีตของวัดนี้ กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

เพี ย งเดิ น ข้ า มถนนผ่ า นลานปู น มาถึ ง คลองสรรพสามิต ก่อนถึงริมน�้ำมีซุ้มประตูปูน พร้อมลายรูปเมขลาล่อแก้วรามสูรสัญลักษณ์ ของต� ำ บลแหลมฟ้ า ผ่ า สวยเด่ น คู ่ กั บ ชื่ อ วั ด เอี่ยมประชามิตรอย่างสวยงาม ซุ้มประตูเก่า ริมน�ำ้ เป็นอีกสิง่ ทีช่ ว่ ยยืนยันถึงวันเวลาในอดีต ที่ชาวบ้านเคยล่องเรือตามคลองสรรพสามิต มาขึ้นที่ท่าวัดแหลมฟ้าผ่าในยามที่มีงานบุญ หรือร่วมเทศกาลประเพณี แล้วเดินลอดผ่าน ซุ้มประตูนี้เข้าสู่เขตพุทธาวาส เยือ้ งฝัง่ ตรงข้ามวัดแหลมฟ้าผ่า มองเห็นวัด คลองพระรามตั้งอยู่ริมคลองสรรพสามิตและ เป็นที่ตั้งของบ้านคลองพระราม เป็นหมู่บ้าน เก่าแก่อีกแห่งของแหลมฟ้าผ่า ก่อตั้งมาก่อน ขุดคลองสรรพสามิต ก่อนหน้านัน้ การเดินทาง ไปมาหาสู ่ ห รื อ ติ ด ต่ อ ค้ า ขายกั บ ชุ ม ชนอื่ น เป็นไปอย่างยากล�ำบาก อาศัยลัดเลาะตามคลอง ธรรมชาติอนั คดเคีย้ วเป็นเวลานาน จนเหมือน

Laem Fa Pha Temple is on the roadside of Sapphasamit Canal whose road cuts through Suk Sawad Road paralleling Sapphasamit Canal which is a modern transportation route regularly taken by the locals instead of the water traffic. While the newly built main hall looks outstanding from afar, the old wooden main hall is well-reserved here to represent the history of the temple. Crossing the road, passing the concrete forecourt to Sapphasamit Canal before reaching the waterside, the concrete arched entrance is beautifully decorated with a pattern of the legendary Mekhala while flashing her magic crystal ball at Ramasura causing a great lightning, which, indeed, is the symbol of Laem Fa Pha District, next to the name of the temple. This old arched entrance is another historical verification of the time when locals used to cruise down Sapphasamit Canal, dock at Laem Fa Pha, walk through the gate to enter the monastery during a religious ceremony or a traditional festival. Diagonally opposite to Laem Fa Pha Temple, Klong Phra Ram Temple sits on the canalside of Sapphasamit Canal along with Khlong Phra Ram (literally translated as Rama Canal) Community. Ban Khlong Phra Ram is another old village of Laem Fa Pha District, l o n g e s t a b l i s h e d b e fo re t h e excavation of Sapphasamit Canal.

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 61

Back then, traveling to the neighboring area or trading goods with other communities faced a lot of difficulties. They had no choice but to paddle along the long and windy canal that it felt like the were completely shut off from the outside world. After the government excavated Sapphasamit Canal, civilization slowly flowed into the area along with a much convenient water transportation. Currently, there is a road that cuts pass the south of Sapphasamit Canal, which is in the same case of Laem Fa Pha Temple. The macadamized road passed the community and the Municipality Office of Laem Fa Pha Sub-District, then went round the aquacultural ponds along the path, which is a lot wider and deeper than Laem Fa Pha Temple side which is practically by the coastal line and land invasion by the local was still low. It allows us to observe local's lifestyle and how they make a living out of aquaculture. Along the road, passer by can enjoy a beautiful green forest line spanning out as far as the eyes can see. Moving pass Ban Khlong Phra Ram area, Na Kluea Canal awaits to be crossed. The canal sets the boundary between Laem Fa Pha Sub-District and Na Kluea Sub-District whose name unquestionably reflects the popular occupation of people in the area in the past. Na Kluea Canal was excavated to connect to Sapphasamit Canal to provide a more convenient transportation for villagers who live in the area much farther from the coast. It turns out to be more bustling than Sapphasamit Canal where there is no road cut along the coastal area. Pa Lee Pier (Aunty Lee Pier), which is located by Na Kluea Canal, in particular, is often crowded as it is where villagers usually get on and off the boat all day long and it is used as a dock to welcome tourists who boarded to explore nature attractions and the way of life of the coastal community. Here, small boats are sailing down Na Kluea Canal. Both sides of the canal was covered with trees although some areas have conversed to aquacultural farms of shrimps, crabs and fishes in their natural environment. Everyday, the watergate takes in sea water from the canal to

ถนนเลียบคลองสรรพสามิตตัดผ่านวัดแหลมฟ้าผ่า

A road along Sapphasamit Canal cuts pass the front of Laem Fa Pha Temple

ตัดขาดจากโลกภายนอก ภายหลังทางการขุด คลองสรรพสามิตผ่านเข้ามา ความเจริญจึงได้ เริม่ เข้าถึงพร้อมกับการเดินทางสัญจรทางน�้ำ ที่สะดวกขึ้น มาถึงปัจจุบันมีถนนตัดผ่านทางฝั่งใต้ของ คลองสรรพสามิ ต เข้ า มาเช่ น เดี ย วกั บ ฟาก วัดแหลมฟ้าผ่า ถนนลาดยางผ่านชุมชนทีว่ า่ การ อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ และส�ำนักงานเทศบาล ต�ำบลแหลมฟ้าผ่า จากนั้นเลี้ยวเลาะไปตาม บ่อเลี้ยงสัตว์น�้ำของชาวบ้านตลอดเส้นทาง บางช่วงมีแนวป่าจากทอดยาวตลอดริมทาง ให้ภาพทีส่ วยงามดูแปลกตาไปจากถนนเส้นอืน่ หลังถนนผ่านบ้านคลองพระรามไปแล้ว จะข้ามคลองนาเกลือทีถ่ อื เป็นเส้นแบ่งเขตแดน ระหว่างต�ำบลแหลมฟ้าผ่าและต�ำบลนาเกลือ ชื่อคลองและต�ำบลบ่งบอกถึงอาชีพในอดีต ของผู้คนแถบนี้ได้อย่างชัดเจน คลองนาเกลือเป็นคลองที่ขุดขึ้นเชื่อมกับ

คลองสรรพสามิต เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ให้กับชาวบ้านที่อาศัยลึกเข้าไปแถบชายฝั่ง ทะเลได้ใช้สัญจร ทุกวันนี้ยังคงใช้อย่างคึกคัก กว่าคลองสรรพสามิต เนื่องจากพื้นที่ชายฝั่ง ถนนตั ด เข้ า ไปไม่ ถึ ง ท่ า เรื อ ป้ า ลี่ ริ ม คลอง นาเกลื อ จึ ง มี ช าวบ้ า นหมุ น เวี ย นมาใช้ เ ป็ น จุดขึ้น-ลงเรือตลอดวัน ในวันหยุดสุดสัปดาห์ ยังต้อนรับนักท่องเที่ยวที่มาลงเรือเที่ยวชม ธรรมชาติและวิถีชุมชนชายฝั่งทะเล เรื อ หางล� ำ เล็ ก แล่ น ล่ อ งไปตามคลอง นาเกลื อ ริ มฝั ่ ง มี ต ้ น ไม้ ขึ้นปกคลุมสลับ กับ ชายตลิ่งโล่งที่ถูกเปลี่ยนสภาพเป็นบ่อเลี้ยง สัตว์น�้ำทั้งกุ้ง ปู ปลา ที่ยังคงวิถีธรรมชาติ มีประตูระบายน�้ำรับน�้ำทะเลจากคลองเข้ามา หมุ น เวี ย นในแต่ ล ะวั น จนกระทั่ ง สั ต ว์ น�้ ำ โตได้ทจี่ งึ จับไปขาย กลางคลองก็มชี าวประมง ลอยเรือวางข่ายดักปลากระบอกที่ยังมีชุกชุม และขายได้ราคา SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


คลองสรรพสามิตช่วงต่อกับคลองยายบู่ บ้านสาขลา

Sapphasamit Canal which connects to Khlong Yai Boo, Ban Sakhla

circulate the water in their farms everyday until their aquatic animals are full grown and ready to be sold. In the middle of the canal where plenty of mullets gather, fishermen paddle around to roll out their fishing net in hope to catch some and sell at a a handsome price. In addition, Na Kluea Canal is connected to Lad Na Kluea Canal, which is used as a transportation route of people in the coastal neighborhood of Laem Fa Pha

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

to get to Chao Phraya River estuary next to Chulachomklao Fort. Cruising pass natural environment by the water, fishing boats, local communities, and homestay accommodation for tourism, a spectacular forest line along the shore exhibits the abundance of the local natural resources. Beyond Na Kluea Canal is Na Kluea District. The road leads to Ban Sakhla, an old community representing the

remaining lifestyle by the water where its people still travels by boats making the community famous among the tourists. Standing side by side with the community for centuries, Sakhla Temple is presumably built in 1782. The large main Buddha image hall enshrines "Laung Phor To," a Buddha image in the attitude of Subduing Mara since U-thong period, which is well-respected and held as a spiritual anchor by Sakhla villagers and the general public.

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 63

ขวา พระปรางค์เอียงที่วัดสาขลา ซ้าย กุ้งเหยียด ของกินขึ้นชื่อของบ้านสาขลา Left Koong-Yeard, one of the most well-known menu of Ban Sakhla Right The Leaning Pagoda at Sakhla Temple

Another remarkable symbol of Sakhla Temple is the leaning pagoda. This architectural building stood tall alongside with the temple for some hundreds years but due to a severe flood and land erosion, it was tilted but was not overthrown. Besides the leaning stupa, Sakhla Temple also houses Thep Sri Sakhla Museum and Ban Sakhla Local Museum Every Saturday-Sunday at Ban Sakhla, an ancient market is held to display the traditional lifestyle of Sakhla villagers who have been trading food within the community for so long. It offers many interesting items including fresh and dried seafood either to enjoy later or to take back home as souvenirs. One of the most well-recognized menu of the area is a processed food using shrimps called Koong-Yeard (literally translated as Stretched Shrimps), which is also an OTOP product from the local wisdom of Sakhla villagers. From Ban Sakhla, there is a bridge over Sapphasamit Canal that is frequently used as a transportation or a connecting route back to Laem Fa Pha side of Sapphasamit Road without having to retrace our steps. While the bridge yields in a great convenience to local transportation that keeps changing over time, Sapphasamit Canal continues to stretch even further and benefits the locals' way of life the same way it did in the past.

ส�ำหรับคลองนาเกลือยังไปเชื่อมต่อกับ คลองลัดนาเกลือซึ่งเป็นเส้นทางสัญจรของ คนชายฝั่งทะเลด้านแหลมฟ้าผ่า เพื่อเดินทาง ไปออกปากแม่น�้ำเจ้าพระยาที่ด้านข้างป้อม พระจุ ล จอมเกล้ า ผ่ า นธรรมชาติ ริ ม คลอง เรือหาปลา ชุมชน พร้อมกับโฮมสเตย์เพื่อ การท่องเที่ยวหลายแห่ง โดยมีแนวป่าจาก อันงดงามแสดงความสมบูรณ์ของธรรมชาติ ให้ชมตลอดทางกระทั่งออกสู่ปากแม่น�้ำ หลั ง ข้ า มคลองนาเกลื อ เลยไปจะเข้ า สู ่ เขตต�ำบลนาเกลือ ถนนจะไปถึงบ้านสาขลา ชุ ม ชนเก่ า แก่ อี ก แห่ ง ที่ เ ป็ น ตั ว แทนของวิ ถี ชีวิตริมสายน�้ำที่เหลืออยู่ เมื่อผู้คนยังใช้เรือ ในการเดินทางถึงกัน มีชอื่ เสียงเป็นทีร่ จู้ กั กันดี ในหมู่นักท่องเที่ยว และมีวัดสาขลาวัดเก่าแก่ คูช่ มุ ชน สันนิษฐานว่าสร้างในราว พ.ศ. ๒๓๒๕ ภายในวัดมีวิหารหลังใหญ่เป็นที่ประดิษฐาน “หลวงพ่อโต” พระพุทธรูปปางมารวิชยั สมัยอูท่ อง เป็ น ที่ เ คารพบู ช าและศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของ ชาวบ้านสาขลาตลอดจนประชาชนทั่วไป วั ด สาขลายั ง มี พ ระปรางค์ เ อี ย งเป็ น สัญลักษณ์อันโดดเด่น พระปรางค์องค์นี้เป็น สถาปัตยกรรมเก่าแก่คู่วัดมานานนับร้อยปี

ต่อมาเกิดการทรุดตัวของแผ่นดินและน�ำ้ ท่วมขัง จนท�ำให้พระปรางค์เอียง ทว่ามิได้โค่นล้มลง แต่อย่างใด นอกจากนีว้ ดั สาขลายังมีพพิ ธิ ภัณฑ์ เทพศรีสาขลาและพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านสาขลา ทุกวันเสาร์ อาทิตย์ทบี่ า้ นสาขลามีการจัด ตลาดโบราณขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิต ดั้ ง เดิ ม ของชาวบ้ า นสาขลาที่ มี ก ารค้ า ขาย ของกินของใช้ในชุมชนมาเป็นเวลาช้านาน มี สิ น ค้ า น่ า สนใจเป็ น อาหารทะเลทั้ ง สด และแห้ ง เหมาะส� ำ หรั บ ซื้ อ กลั บ ไปกิ น และเป็นของฝาก โดยเฉพาะของกินขึ้นชื่อ ที่ เ ป็ น อาหารแปรรู ป ท� ำ จากกุ ้ ง เรี ย กว่ า กุ้งเหยียด สินค้า OTOP จากภูมิปัญญาของ ชาวบ้านสาขลา จากบ้ า นสาขลามี ส ะพานข้ า มคลอง สรรพสามิตอีกแห่งที่ใช้สัญจรและเชื่อมต่อ ย้อนกลับไปทางด้านถนนสรรพสามิตฝั่งวัด แหลมฟ้าผ่าได้โดยไม่ต้องย้อนกลับทางเดิม อ� ำ นวยความสะดวกให้ กั บ การสั ญ จรที่ เปลี่ ย นแปลงไปตามยุ ค สมั ย ขณะที่ ค ลอง สรรพสามิตยังคงทอดตัวยาวต่อไป และเอื้อ ประโยชน์ต่อผู้คนในวิถีการด�ำรงชีพเหมือน ในอดีตเช่นเดิม SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


เยี่ยมชมของดี ริมคลองลัดหลวง

สืบสานเรือประเพณี ศึกศักดิ์ศรีแห่งสายน�้ำ การแข่งเรือยาว เป็นหนึ่งในมรดกทาง

วัฒนธรรมทีส่ ะท้อนถึงวิถชี วี ติ ทีผ่ กู พันกันของ สายน�้ำ ชุมชน และผู้คน อีกทั้งยังบ่งบอกถึง บุคลิกของชาติพันธุ์ไทย ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐาน ความสามัคคีพร้อมเพรียง เป็นน�ำ้ หนึง่ ใจเดียวกัน ความสนุกสนานรืน่ เริงยามอยูก่ นั เป็นหมูค่ ณะ และเป็ น อี ก หนึ่ ง สี สั น ทางวั ฒ นธรรมที่ จั ด เคี ย งคู ่ ไ ปกั บ ประเพณี ก ารเข้ า วั ด ท� ำ บุ ญ ตักบาตร เล่ากันว่าก�ำเนิดของการแข่งเรือนั้นมีมา ตั้งแต่ครั้งสมัยอยุธยากรุงเก่า เริ่มจากในรั้ว ในวังมาก่อน ดังทีม่ ปี รากฏในกฎมณเฑียรบาล เกี่ยวกับพระราชพิธีเดือน ๑๑ ซึ่งตรงกับฤดู น�้ำหลาก และเพื่อเป็นการฝึกปรือก�ำลังพล ทหารประจ� ำ กองเรื อ ต่ อ มาได้ แ พร่ ห ลาย ลงมาถึงลูกชาวบ้านร้านตลาดที่ตั้งบ้านเรือน อยู่ริมน�้ำ ต่างก็อาศัยเรือเป็นพาหนะหลัก

THE TREASURES OF LAD LUANG CANAL Conserve the long boat tradition, the battle of the Canal's pride. Long Boat Racing Festival is a cultural inheritance that reflects the way of life in a warm connection with the stream. It carries certain Thai characteristic traits, which lie upon the foundation of social harmony or display the festive amusement when together in a group. It is another cultural highlight usually held alongside the Buddhist Alms Giving Ceremony. The origin of Long Boat Racing Festival can be traced back to Ayutthaya period. According to Thai monarch law, it began as a Royal Ceremony scheduled on the 11th month of every year during the rainy season, formerly designed as a training drill for the navy. Later, it was passed down to waterfront communities where boats were their primary means of transporting people and trading goods. Long boats, on the other hand,

แข่งเรือยาวที่คลองลัดหลวง

Long Boat Racing Festival at Lad Luang Canal กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 65

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


were used in Kathina, the Buddhist robe offering ceremony parade. After the ceremony, young men from both sides of the canal would race in a paddling game as teams amidst exciting tunes by a Piphat ensemble. In the past, "Lad Luang Canal" was held crucial to the locals in Phra Pradaeng district including the Mon, the Muslims, and the Buddhists as a major transportation route and trade center. When Phra Pradaeng was once called Nakhon Khuean Khan, it was also a commercial market with nearby cities and was used as a connecting course to Chao Phraya River and even further to the sea when arriving at the the gulf of Siam. This canal was excavated in the reign of King Rama II (1820) by Kromma Muen Sakdiphonlasep. The excavation started from the right bank of Chao Phraya River in Bang Pheung sub-district, went straight towards the south and reached the right bank of Chao Phraya River in Bang Khru sub-district. Altogether, it was a 12 meters wide, 2.5 meters deep, and 2 kilometers long canal, allowing boats to sail through Lad Luang Canal shortening the overall distance along the curve of Chao Phraya River from 20 kilometers to 3 kilometers. Despite the short distance, there are traces of people's lifestyle in different periods left along Lad Luang Canal. Both Thai and Mon temples on the two banks were the central spiritual anchor to the locals of Nakhon Khuean Khan. Starting at the mouth of the canal, just 50 meters across Lad Luang bridge, there stands "Protket Chettharam Temple," a thirdclass royal monastery. It was established in 1822 by Phraya Phetphichai (Ket), the origin of the "Ketthat" family name, who was a son of Phraya Phetphichai (Hong), the origin of "Hongsakul" family name. The highlight of Protket Temple lies in its exceptional architectural design. Instead of the regular feature of traditional thai style gable roof, the pediment on the main chapel is delicately decorated with Chinese ceramics. Inside, a presiding Buddha image in subduing Mara posture was enshrined as the principal image. On its right, there stands a Buddha image with stopping-the-rainstorm attitude whereas the wall at the back is drilled slightly deep to create wall-mounted sculptures of His Apostles, which are rare to witness. Right across the canal, "Paichayonponseph Ratchaworawihan Temple," a secondranked royal monastery is situated. Since กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 67

ในการสัญจรและค้าขาย ใช้เรือยาวแห่องค์ ผ้าป่าในหน้ากฐิน หลังเสร็จพิธีกรรมทาง ศาสนา พวกหนุ่มๆ จากชุมชนสองฟาก ฝั่งคลองมักน�ำเรือมาแข่งเพื่อประลองก�ำลัง ทางเกมกีฬา ท่ามกลางเสียงดนตรีปี่พาทย์ ที่แสนจะเร้าใจสะท้านก้องไปทั่วคุ้งน�้ำ นี่เป็นฉากชีวิตจากอดีตที่เคยพบเห็น ได้ใน “คลองลัดหลวง” คลองส�ำคัญเก่าแก่ ของเมืองพระประแดง ชาวบ้านทัง้ ชาวมอญ มุสลิม และชาวไทยพุทธ เคยใช้เป็นเส้นทาง ทั้งสัญจรและค้าขาย เพราะพระประแดง สมัยเมื่อครั้งยังเป็นนครเขื่อนขันธ์ เคยเป็น ตลาดการค้ากับหัวเมืองใกล้เคียง คลอง ลัดหลวงจึงถูกใช้เป็นเส้นทางเชื่อมออกสู่ แม่ น�้ำ เจ้ า พระยา กระทั่ ง เป็ น ทางออกสู ่ ท้องทะเลเมื่อถึงปากอ่าวไทย คลองนี้ ถู ก ขุ ด ขึ้ น ตั้ ง แต่ ส มั ย รั ช กาล ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๓๖๓) โดยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นศักดิพลเสพ ขุดแยกจากแม่น�้ำ เจ้าพระยาฝั่งขวาในต�ำบลบางพึ่ง เป็นแนว ตรงไปทางทิศใต้ จนออกแม่น�้ำเจ้าพระยา

ฝั่งขวาในต�ำบลบางครุ รวมกว้าง ๖ วา ลึก ๕ ศอก ยาว ๕๐ เส้น ท�ำให้เรือสามารถ แล่นผ่านคลองลัดหลวงที่มีระยะทางเพียง แค่ ๓ กิโลเมตร ย่นระยะทางเดินเรือไม่ให้ ต้องแล่นคดโค้งไปตามล�ำน�้ำเจ้าพระยาถึง ๒๐ กิโลเมตร แม้ระยะทางจะสัน้ เพียงเท่านัน้ หากแต่ ตลอดสองฝั่งคลองลัดหลวง กลับปรากฏ ร่องรอยของวิถชี วี ติ ผูค้ นในยุคสมัยทีผ่ า่ นมา ทั้ ง วั ด ไทยและวั ด มอญที่ ตั้ ง เรี ย งรายสอง ข้างทาง เป็นเสมือนศูนย์รวมจิตใจของคนใน นครเขือ่ นขันธ์ เริม่ ตัง้ แต่ปากคลองลัดหลวง ข้ามสะพานคลองลัดหลวงประมาณ ๕๐ เมตร จะเป็นที่ตั้งของ “วัดโปรดเกศเชษฐาราม” ซึ่ ง เป็ น พระอารามหลวงชั้ น ตรี สร้ า งขึ้ น เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๕ โดยพระยาเพชรพิไชย (เกตุ) ผู้เป็นต้นสกุล “เกตุทัต” ซึ่งเป็นบุตร ของพระยาเพชรพิไชย (หง) ผู้เป็นต้นสกุล “หงสกุล” จุ ด เด่ น ของวั ด โปรดเกศเชษฐาราม อยูต่ รงลักษณะทางสถาปัตยกรรมทีโ่ ดดเด่น

บน วัดโปรดเกศเชษฐาราม ล่าง แมวที่เรือนไม้ริมคลองลัดหลวง Top Protket Chettharam Temple Bottom Cats relaxing at a wooden house by Lad Luang Canal

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


the early Rattanakosin period, this Thai-Raman temple has always been distinctive for its carpentry arts of the Front Palace and its ancient paintings. Another prominent feature of the temple is the movable throne with four gable ends at the chapel, which Phra Buddha Sihing once seated on.

ตัวพระอุโบสถไม่มีช่อฟ้า ใบระกา หน้าบัน มี ศิ ล ปะปู น ปั ้ น ลายเครื อ เถาประดั บ เครื่ อ ง ลายคราม องค์พระประธานในพระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ประดิษฐานบน ฐานชุกชีและบุษบกลวดลายงดงาม ด้านขวามี พระพุทธรูปปางห้ามสมุทรทรงเครือ่ ง ด้านหลัง เจาะช่องลึกเข้าไปในผนังแล้วสร้างรูปพระอัคร สาวกยืนพนมมือ ลักษณะเป็นครึ่งซีกนูนออก มาจากช่องที่เจาะเข้าไป ซึ่งเป็นลักษณะการ สร้างผนังอุโบสถแบบที่หาชมได้ยาก ข้ามฟากมาอีกฝั่งคลองจะเป็นที่ตั้งของ “วั ด ไพชยนต์ พ ลเสพย์ ร าชวรวิ ห าร” เป็ น พระอารามหลวงชั้ น โท ชนิ ด ราชวรวิ ห าร จัดเป็นวัดไทยรามัญที่เคยมีความรุ่งเรืองมา ตั้งแต่ครั้งต้นกรุงรัตนโกสินทร์ และมีชื่อเสียง ในเรื่องของศิลปะงานช่างสกุลวังหน้า และ จิตรกรรมโบราณที่หาดูได้ยาก สิ่งที่เด่นที่สุด คือบุษบกยอดปรางค์ที่เคยเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธสิหิงค์ภายในพระอุโบสถ เดิมชาวบ้านนิยมเรียกกันหลายชื่อ เช่น วัดปากลัด วัดวังหน้า หรือวัดกรมศักดิ์ เพราะ สร้างโดยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมืน่ ศักดิพลเสพ กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

ซึ่งมีต�ำแหน่งวังหน้าในสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ วัดนี้ มั ก โดดเด่ น และติ ด ตาผู ้ พ บเห็ น เนื่ อ งจาก เป็นสถาปัตยกรรมสไตล์จีน คือหลังคาไม่มี ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ แต่ใช้เครือ่ งถ้วยชาม เครื่ อ งเคลื อ บ มาประดั บ ลวดลายดอกไม้ บนหน้ า บั น แล้ ว จึ ง แต่ ง ด้ ว ยปู น ปั ้ น เป็ น ลวดลายพรรณพฤกษาอ่อนช้อย ส่วนพวก บานประตูหน้าต่างเป็นลายรดน�้ำลายพฤกษา ต้นไม้ และสัตว์หมิ พานต์ ส่วนพระประธานเป็น ปูนปัน้ บุทองปางมารวิชยั ประทับอยูใ่ นบุษบก ยอดปรางค์ท�ำจากไม้สักแกะสลักประดับด้วย กระจกสี ส่วนฝาผนังและเสาภายในโบสถ์ เป็นลวดลายเดียวกับผนังในพระทีน่ งั่ อมรินทร์ วินจิ ฉัย แสดงเรือ่ งราวพุทธประวัติ พุทธชาดก และไตรภูมิพระร่วง ทีน่ า่ สนใจ คือตามธรรมเนียมแล้วไม่เคยมี การสร้างประติมากรรมชุดเทวดาเพื่อประดับ บริ เ วณฐานพระพุ ท ธรู ป ประธานมาก่ อ น แต่ทวี่ หิ ารของวัดไพชยนต์พลเสพย์ ราชวรวิหาร นี้ก ลั บ มี ก ลุ ่ ม ประติ ม ากรรมรู ป เทวดาซึ่ ง มี สีกายต่างๆ รวมถึงพระพรหมซึ่งมี ๔ หน้า ตามต�ำนานเชือ่ กันว่าน่าจะเป็นประติมากรรม

Previously, the temple is known by the name of Pak-Lad Temple, WangNa (Front Palace) Temple or Kromma Sak Temple in an honor of its builder, Kromma Muen Sakdiphonlasep who held the title Lord of Front Palace during the reign of King Rama II. Its outstanding manifestation is influenced by Chinese architectural arts leaving out the gable apex and the toothlike ridges on the sloping edges of a gable. Alternately, the pediment is carefully decorated with porcelains and ceramics into flower patterns and stucco decorations of different plant species. In addition, Thai gilded black lacquer technique is applied on wooden doors and windows with a mixed pattern of plants and mythical creatures of Himmapan Forest. The principal Buddha image is a gold-gilded stucco in Subduing Mara posture seated on the movable throne with four gable ends made of carved wood which is layered with stained glasses. Within the chapel, the walls and pillars resembles the patterns inside Amarin Winitchai Hall displaying the life of the Buddha, Buddhist Jataka Tales and Three Worlds. Interestingly, according to ancient traditions, no series of angel sculptures had been created to adorn the base of the main Buddha image prior to Paichayonponseph Ratchaworawihan Temple. Only here can you find angels with various body colors and Brahma with four faces. It is believed that these sculptures once served as a partial decoration at the Royal Crematorium of Somdet Phra Bawonratchao Maha Sakdiphonlasep, none other than the builder of this very temple. Following along the edge of Lad Luang Canal towards the south, not much further from the Industrial Ring Road, "Klang Temple" is another interesting place to study the diverse ethnic cultures. It houses a collection of items granted by the Royal family such as a gold gilded Dharma Royal Pavilion, a carved wooden cabinets SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 69

ที่ใช้ส�ำหรับเป็นเครื่องประดับพระเมรุของ สมเด็ จ พระบวรราชเจ้ า มหาศั ก ดิ พ ลเสพ ผู้สร้างวัดนั่นเอง ถ้าเลียบล�ำคลองลัดหลวงผ่านลงมาทางใต้ ลอดวงแหวนอุตสาหกรรมมาไม่เท่าไร ส�ำหรับ คนที่ ส นใจศึ ก ษาวัฒนธรรมชาติพัน ธุ์ที่ต ่าง ออกไป “วัดกลาง” ก็เป็นอีกหนึ่งแห่งที่น่า สนใจ นอกจากเป็นวัดที่เก็บของพระราชทาน ทั้งธรรมาสน์บุษบกลงรักปิดทอง ตู้ใส่ของ ประดับมุก โต๊ะหมู่บูชา ตู้พระไตรปิฎก ฯลฯ แล้วยังเป็นวัดของชาวมอญที่นิยมเรียกวัดนี้ ว่า “เพ่ห์ฮะเริ่น” หน้าวัดมีเสาหงส์ซึ่งเป็น สั ญ ลั ก ษณ์ แ สดงความเป็ น วั ด มอญอย่ า ง เด่นชัด ภายในมีเจดีย์ทรงมอญ ๒ องค์ และ มีการจัดท�ำพิธีกรรมทางศาสนาที่ทั้งชาวไทย และมอญมาเข้าร่วมอย่างผสานกลมเกลียว เป็นหนึ่งเดียวกัน with pearl decoration, altar tables, Buddhist Scripture Cabinets and etc. The temple was popular among the Mon that it was named "Pia Harern." An obvious display of swan pillars at the temple front and two Mon Pagodas further inside indicates the characteristics of Mon temples. It also allows both Thais and Mons to attend religious ceremonies in harmony.

บน ฝีพายแบกเรือยาวเตรียมลงแข่งที่วัดกลาง ล่าง ศาลาริมคลองลัดหลวงของวัดโปรดเกศเชษฐาราม Top Oarsmen carrying their long boat while getting ready for the race at Klang Temple Bottom A waterfront pavillion of Protket Chettharam Temple on Lad Luang Canal

Klang Temple was built in 1835 by newly migrated Mon families in Nakhon Khuean Khan, who marked the city their new hometown, with the corporation of Mons from Baan Harern, Baan Ta and Baan Hatonejern villages. It was later bestowed the name "Wat Krerng," which means "canal". As land transportation advanced water transportation in 1948, the government asked for a permission to construct a road (parting from Suksawad Road to Phra Pradaeng district) cutting through the monastery property of Klang Temple. Hence, the temple was separated into two sections with a road between them. Thus, the temple appointed the north section of the road a monastery area and the south section a commercial building to raise the fund for future religious ceremony arrangement. Next to Klang Temple, heading towards Baan Sapan Charng on Song Mueang Road, you will find "Juan Damrong Rachaphonlakhan Temple." In the temple, the buildings in traditional Thai architecture SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


วั ด กลางสร้ า งเมื่ อ พ.ศ. ๒๓๗๘ โดย พวกมอญใหม่ ที่ อ พยพครอบครั ว มาตั้ ง ภู มิ ล� ำ เนาใหม่ ท่ี เ มื อ งนครเขื่ อ นขั น ธ์ โดยชาวมอญหมู่บ้านฮะเริ่นเป็นผู้สร้างขึ้น ร่วมกับชาวบ้านตา บ้านตันเจิน ต่อมาได้รับ พระราชทานนามว่า “วัดเกริง” ภาษาสามัญ แปลว่า “คลอง” พอความเจริญทางบกมา แทนที่ทางน�้ำ พ.ศ. ๒๔๙๑ ทางราชการได้ ขออนุญาตตัดถนน (แยกจากถนนสุขสวัสดิ์ เข้าสู่อ�ำเภอพระประแดง) ผ่านที่ดินธรณีสงฆ์ วั ด กลาง ท� ำ ให้ บ ริ เวณวั ด ถู ก แยกออกเป็ น ๒ ส่วน มีถนนผ่านกลาง ทางวัดจึงจัดให้ ทางด้านทิศเหนือของถนนเป็นเขตสังฆาวาส และใช้พื้นที่ทางด้านทิศใต้ของวัดเป็นอาคาร พาณิ ช ย์ เ พื่ อ น� ำ ทุ น ทรั พ ย์ ม าใช้ ใ นกิ จ ทาง ศาสนาต่อไป ถัดจากวัดกลางมาทางบ้านสะพานช้าง ถนนทรงเมือง ก็จะพบกับ “วัดจวนด�ำรงค์ ราชพลขันธ์” ซึ่งสร้างความประทับใจให้กับ ผูพ้ บเห็นเสมอ เพราะเต็มไปด้วยอาคารทรงไทย โบราณ ทั้งหมดถูกสร้างขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๓๐ โดยพระยาด�ำรงค์ราชพลขันธ์ (จุ้ย คชเสนี) เจ้าเมืองพระประแดง ผู้มีศรัทธาในพระพุทธ ศาสนา จึงอุทิศถวายบ้านของท่านเพื่อสร้าง เป็นวัด โดยท่านได้รบั ราชการด้วยความซือ่ สัตย์ จนถึง ๔ แผ่นดิน ซึ่งภายหลังวัดจวนฯ นี้ ก็ ไ ด้ รั บ การท� ำ นุ บ� ำ รุ ง จากตระกู ล คชเสนี เป็นอย่างดี และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๕ เที่ยววัดเสร็จแล้วเดินย้อนกลับมาซึมซับ บรรยากาศย้อนอดีตกันที่คลองลัดหลวงกัน ต่อ แม้วา่ เรือ่ งราวเล่าขานต่างๆ จะเหลือเพียง การเล่าขานจากรุ่นสู่รุ่น แต่เพื่อไม่ให้สายน�้ำ คลองลัดหลวงต้องเงียบเหงาและกลายเป็น เพียงความทรงจ�ำ ทางเทศบาลเมืองลัดหลวง จึงได้จดั งานประเพณีทอ้ งถิน่ สืบสานวัฒนธรรม ทางสายน�ำ้ โดยจัดการแข่งขันเรือยาวประเพณี คลองลัดหลวงในเดือนกรกฎาคมของทุกปี การแข่งขันครั้งล่าสุดที่เพิ่งผ่านไปเป็น การแข่งเรือประเพณีที่จัดมาแล้วเป็นครั้งที่ ๕ ซึง่ เริม่ ตัง้ แต่บริเวณคลองลัดหลวง หน้าวัดบางพึง่ โดยมีเรือยาวขนาด ๔๐ ฝีพาย และ ๓๐ ฝีพาย กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 71

always leaves a great impression on its visitors. It was built in 1887 by Phraya Damrong Rachaphonlakhan (Jui Gajaseni), the governor of Phra Pradaeng. With a strong faith in Buddhism, he donated his residence to build this temple. He served the country with unwavering integrity for four reigns. From then on, the temple was well preserved by Gajaseni family and, later, bestowed with the title Wisungkhammasima in 1902

Temple. Excellent oarsmen with over 20 long boats across the country competed against each other in two categories: a medium-sized boat race with 40 oarsmen and a small-sized boat race with 30 oarsmen for the Royal Cup awarded by HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn. This boat race does not only helps preserve and promote the local traditions but also effectively enhances the tourism and economics within the community.

After visiting temples, it is recommended to walk back to embrace the atmosphere of the olden days at Lad Luang Canal. Although stories and myths were passed down from generation to generation, in order to prevent the stream of Lad Luang Canal from becoming isolated and nothing but faded memories, the Town Municipal O ffice of Lad Luang organizes a traditional Long-Boat Racing Festival in July of every year to conserve the local traditions and cultures.

As the sun left the sky that evening, the cheer songs that echoed the Canal kept playing in my head...

The latest boat race was the fifth LongBoat Racing Festival which started off at the waterfront of Bang Phueng

In Long-Boat Racing Festival, everyone comes and cheers together..."

"...Bued Jam Bued Jam Bued Jam Bued...Bued Jam Bued Jam Bued Jam Bued oh ohh ohhh ohh marking the end of Buddhist Lent, the boats look all so outstandingly beautiful against the clear moonlight while teasing with the winter breeze.

จากทัว่ ประเทศจ�ำนวน ๒๐ ล�ำ เข้าร่วมแข่งขัน เพื่ อ ชิ ง ถ้ ว ยพระราชทานสมเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รวมทั้ง มีการแข่งขันเรือประเภทพื้นบ้าน นอกจาก จะเป็ น การอนุ รั ก ษ์ แ ละส่ ง เสริ ม ประเพณี ดั้ ง เดิ ม แล้ ว การแข่ ง เรื อ ยั ง ส่ ง ผลให้ ก าร ท่ อ งเที่ ย วและเศรษฐกิ จ การค้ า เกิ ด การ หมุนเวียน สร้างงานสร้างรายได้ให้กับชุมชน ได้เป็นอย่างดี ก่ อ นสิ้ น แสงตะวั น ในเย็ น นั้ น เสี ย ง กองเชียร์ที่กระหึ่มก้องไปทั้งล�ำคลอง ยังติดหู อยู่ไม่รู้คลาย… “…บึดจ�ำ้ บึดจ�ำ้ บึดจ�ำ้ บึด บึดจ�ำ้ บึดจ�ำ้ บึด จ�้ำบึด โฮ โฮ่ โฮ้ โฮ โฮ้ ออกพรรษานาวา งามเด่น คืนเดือนเพ็ญเย็นล้อลมหนาว เทศกาลวันแข่งเรือยาว มาหนุ่มสาว ช่วยเป็นแรงใจ…” SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


A R T A L O N G T H E WAY

PHRA SAMUT CHEDI AT THE BEND OF CHAO PHRAYA RIVER

พระสมุทรเจดีย์

ริมคุง้ น�ำ้ เจ้าพระยา

เทคนิค : สีน�้ำ Technique : Water Color Painting ศิลปิน : พีรดา ชีพสัตยากร Artist : Pearada Cheepsatayakorn กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 73

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


A R O U N D T O W N / L AT P H O C A N A L

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 75

WANDER ALONG TWO SIDES OF

LAT PHO CANAL THE CANAL THAT STANDS SIDE BY SIDE THE MON COMMUNITY.

เดินเที่ยคลองคู วสองฝั ง ่ คลองลั ด โพธิ ์ ่เมืองย่านพื้นถิ่นคนมอญ earlier days, when boat Iofnwastransportation, still an essential means canals were

ในอดีตคลองมักถูกขุดขึน้ เพือ่ ใช้เป็นเส้นทาง สัญจรอ�ำนวยความสะดวก สมัยที่ยังใช้เรือ เป็นพาหนะหลักในการเดินทาง บางสาย ถู ก ขุ ด ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ทางลั ด ย่ น ย่ อ ระหว่ า ง ล� ำ น�้ ำ ธรรมชาติ ที่ ค ดเคี้ ย วและเวี ย นอ้ อ ม ท� ำ ให้ ต ้ อ งเสี ย เวลาเดิ น ทางไกลและนาน จ�ำเป็นต้องอาศัยคลองขุดเป็นทางลัดช่วย ให้เดินทางได้สะดวกและรวดเร็วกว่าเดิม เมื่ อวั น เวลาผ่านไป...ล�ำคลองบางสาย ยังทรงคุณค่าด้วยประโยชน์ที่เปลี่ยนไปตาม ยุคสมัย รวมทั้งในด้านการท่องเที่ยว ถ้ า เราเดิ น ทางจากตลาดพระประแดง ไปบางกะเจ้า ต้องข้ามคลองที่มีชื่อว่าคลอง ลัดโพธิ์ เป็นคลองส�ำคัญสายหนึ่งของเมือง พระประแดงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน คลอง ลั ด โพธิ์ เ ป็ น คลองโบราณที่ ขุ ด ขึ้ น มาตั้ ง แต่ ครั้ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธยาในสมัยพระเจ้าท้ายสระ เพื่ อ เป็ น ทางลั ด ของแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาช่ ว ง โค้งกระเพาะหมูหรือโค้งข้าวเหนียวบูดในพืน้ ที่ ๖ ต� ำ บลของอ� ำ เภอพระประแดง ช่วยให้ สัญจรทางเรือสะดวกขึ้นสมกับที่มาของชื่อ คลองนัน่ เอง และเป็นทีม่ าของค�ำว่าเมืองปากลัด เมื่อกาลเวลาผ่านไป ประโยชน์แต่เดิมก็ เปลี่ยนตาม มาถึงวันนี้คลองลัดโพธิ์เป็นที่รู้จัก กันอีกครั้ง เมื่อถูกใช้เป็นช่องระบายน�้ำใหญ่ ช่วยป้องกันน�้ำท่วมกรุงเทพฯ และปริมณฑล

excavated to provide more convenience in transportation. Some were dug as a shortcut that significantly helped shorten the long and windy course of natural stream which was much farther away and time-consuming.

ตามโครงการพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร บนสะพานข้ามคลองลัดโพธิ์ เราจะเห็น ประตูระบายน�ำ้ ขนาดใหญ่ทางฝัง่ ซ้ายของคลอง หรือ ด้ า นที่ อ ยู ่ ต รงข้ า มกั บถนนพระราม ๓ ของกรุงเทพฯ ประตูระบายน�้ำนี้เกิดขึ้นตาม “โครงการพระราชด�ำริ” โครงการตามแนว พระราชด� ำ ริ ใ นการบริ ห ารจั ด การน�้ ำ เพื่ อ แก้ ป ั ญ หาน�้ ำ ท่ ว มกรุ ง เทพฯ ด้ ว ยหลั ก การ “เบี่ยงน�้ำ” โดยติดตั้งประตูระบายน�้ำเพื่อใช้ ควบคุมน�้ำ ในเวลาที่น�้ำทะเลหนุนก็ปิดประตู เพื่อป้องกันปัญหาน�้ำล้นตลิ่ง และเมื่อเกิด น�้ำท่วมขังก็สามารถเปิดประตูเพื่อระบายน�้ำ ได้ทันท่วงที จากสภาพของแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาที่ มี ลักษณะไหลคดเคี้ยวรอบพื้นที่บางกะเจ้ามี ความยาวถึง ๑๘ กิโลเมตร ท�ำให้การระบายน�ำ้ ที่ท่วมพื้นที่ช้ันในของกรุงเทพฯ เป็นไปได้ช้า

As time flies by, some canals remain its benefits but in a shifted aspect due to the changing era including tourism. Traveling from Phra Pra-Daeng Market to Bang Kra-Chao side, one has to cross the canal known as Khlong Lat Pho (Thai for a shortcut canal to Pho), one of Phra Pra-Daeng city's main stream from the past to the present. Khlong Lat Pho was excavated in Sri Ayutthaya Period during the reign of King Thai Sa as a shortcut of Chao Phraya River at the river bend named Kong Kra-Phor-Moo (Thai for pig's stomach), Kong Khao-NieawBood (Thai for spoiled sticky rice), or widely known as Bang Kra-Chao. The canal provided boat transportation with more convenience and speed just as the name suggested although it also originated another nickname for the city "Pak Lad City (Thai for the city with a shortcut at the estuary)." SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


ไม่ ทั น เวลาน�้ ำ ทะเลหนุ น พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรม นาถบพิ ต ร จึ ง มี พ ระราชด� ำ ริ ใ ห้ พั ฒ นา คลองลั ด โพธิ์ ที่ ตื้ น เขิ น เพื่ อ ใช้ ร ะบายน�้ ำ หลากและน�้ ำ ที่ ท ่ ว มทางสองฝั ่ ง ของแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาให้ ล งสู ่ ท ะเลทั น ที ใ นช่ ว งก่ อ น น�้ ำ ทะเลหนุ น และปิ ด คลองลั ด โพธิ์ เ มื่ อ น�้ำทะเลหนุนเพื่อหน่วงน�้ำทะเลให้ขึ้นไปตาม แนวแม่น�้ำที่คดโค้งก่อนซึ่งใช้เวลามากจนถึง เวลาน�้ำลง ท�ำให้น�้ำไม่ขึ้นไปท่วมตัวเมืองได้ โครงการประตู ร ะบายน�้ ำ คลองลั ด โพธิ์ อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ จึงเริม่ ก่อสร้างขึน้ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๕ กระทั่งแล้วเสร็จในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยคลองลัดโพธิถ์ กู ขุดลอกให้กว้างถึง ๖๖ เมตร และลึก ๗ เมตร ตลอดความยาวของคลอง ๖๐๐ เมตร ให้กลับ มาอ�ำนวยประโยชน์ให้แก่ชาวสมุทรปราการ รวมถึงคนกรุงเทพฯ อีกครั้ง เหนือคลองลัดโพธิม์ องเห็นสะพานภูมพิ ล ๑ และ ๒ ทอดยาวข้ ามแม่น�้ำเจ้าพระยา ไขว้กนั เป็น ๒ ช่วง อย่างอลังการ เชือ่ มเส้นทาง ระหว่างถนนพระรามที่ ๓ ถนนปูเ่ จ้าสมิงพราย และถนนสุขสวัสดิ์ สะพานภูมิพล หรือที่เคย Time changes. So does its original use. Today, Khlong Lat Pho is known again as a large drainage channel that helps prevent the whole Bangkok Metropolitan Region from getting flooded according to the King Rama IX's Royal Initiative projects. On a crossing bridge above Khlong Lat Pho, there is a large watergate on the left side of the canal or the opposite side to RAMA III or Bangkok. This water gate was built in answer to a Royal Initiative project that focuses on water management to solve flood situations in Bangkok with the "water divergent strategies." By installing a watergate to control the water level, the door is closed during a high tide in order to prevent the overbank flow and immediately opened when there is a flood within the city to start the drainage right away.

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 77

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


According to the geographical condition of Chao Phraya River that flows all around Bang Kra-Chao area at a distance of 18 kilometers, the drainage of flood water in the inner area of Bangkok could only be proceeded at a slow pace and would be too late when another high tide followed. King Phra Bat Somdet Phra Paramin Maha Bhumibol Adulyadej Borommanat Bophit (King Rama IX) had a deep long thought of developing the shallow Khlong Lat Pho into a drainage channel to relieve the great flood by releasing flood water from both banks of Chao Phraya River back to the sea before the tide could rise high again. Moreover, shutting Khlong Lat Pho during a high tide would help delay and lead the sea water on a detour along the curves and bends of the river which would take quite some time that the tide would already calm down by then and, therefore, prevent the flood within the city. Khlong Lat Pho is a Royal Initiative project which was first built in 2002 and finished in November 2005. The whole canal was further dredged to a total width of 66 meters, a depth of 7 meters and a total length of 600 meters in order to restore advantages to the people of Samutprakan and Bangkokians once again.

เรียกกันในชื่อสะพานวงแหวนอุตสาหกรรม ลักษณะเป็นสะพานขึงข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา ขนาด ๗ ช่องการจราจร สะพานทางด้าน เหนือ หรือ “สะพานภูมิพล ๑” เชื่อมระหว่าง แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา ของกรุงเทพฯ กั บ ต� ำ บลทรงคนอง อ� ำ เภอพระประแดง สะพานทางด้านใต้ หรือ “สะพานภูมิพล ๒” เชื่ อ มระหว่ า งต� ำ บลทรงคนองกั บ ต� ำ บล บางหญ้าแพรก อ�ำเภอพระประแดง นับว่า เป็นสะพานที่ช่วยแก้ปัญหาการจราจรให้กับ กรุงเทพฯ ด้านตะวันออกได้อย่างดี นับตั้งแต่ กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

เริ่มใช้ในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ก่อนจะมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ปีเดียวกัน ภายหลั ง สะพานภู มิ พ ล ๑ และ ๒ สร้างแล้วเสร็จ พื้นที่ด้านใต้สะพานยังได้รับ การพัฒนาให้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และแหล่งท่องเที่ยวอีกแห่งของพระประแดง โดยจั ด ท� ำ สวนสุ ข ภาพลั ด โพธิ์ เ พื่ อ เป็ น สวนสาธารณะแห่งใหม่ที่มีทิวทัศน์สวยงาม อยู่คู่กับคลองลัดโพธิ์

High above Khlong Lat Pho, Bhumibhol 1 Bridge and Bhumibhol 2 Bridge remarkably stretch far across Chao Phraya River twice connecting Rama III, Pu Chao Saming Phrai Road, and Suk Sawad Road. Bhumibhol Bridge or what used to be called as Industrial Ring Bridge is a cable-stayed bridge that crosses Chao Phraya River with up to seven traffic lanes width. The northern bridge or "Bhumibhol 1 Bridge" links Bangkok's Bang Phong-Phang district and Yannawa district to Song Kha-Nong subdistrict, Phra Pra-Daeng district. The southern bridge or "Bhumibhol 2 Bridge" is a joint between Song Kha-Nong sub-district and Bang Ya-Praek sub - distric t in Phra

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 79

Pra-Daeng district. These two bridges have been effective problem solvers to poor traffic situations on the east side of Bangkok ever since its first opening on September 20, 2006 preceding an official opening ceremony on December 5 of the same year. After the completion of Bhumibhol 1 and 2 Bridges, the vacant space under the bridge was later developed into a recreational park and another tourist

attraction of Phra Pra-Daeng. Here, Lat Pho Health Park was arranged as a new public park with an amazing scenery by Lat Pho Canal. At the entrance to Lat Phoo Health Park, stone plates engraved with a Royal portrait of King Phra Bat Somdet Phra Paramin Maha Bhumibol Adulyadej Borommanat Bophit or King Rama IX. These stone plates with bas-relief are exhibited along the walkway that leads

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


to the statue of His Majesty the King. They also display 9 Royal Guidances the King kindly granted to students, college students and general public on various occasions to apply in their daily life. Following the path that leads straight to the Royal Statue of King Phra Bat Somdet Phra Paramin Maha Bhumibol Adulyadej Borommanat Bophit, there is a lush green yard, a widespread lagoon

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

and beautifully decorated flowers and plants offering a proper atmosphere for recreational activities. There is an outdoor exercising path for those would like to take a stroll or go for a run. Starting from the entrance gate, on the left there is a green running track which can be divided into two sections: a 400 meter short track takes the runner one lapse around the lagoon while a larger track can take up to 1.45 kilometers in length.

Inside Lat Pho Health Park, Industrial Ring Bridge Museum or Khlong Lat Pho Museum is a contemporary Thai-Raman (Mon) architecture with an outstanding three tiers of roof layering up in the sky and air-conditioned exhibition halls. The museum houses 3 exhibition zones including: Zone 1 An exhibition on the Royal Project in terms of transportation of His

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 81

บริเวณทางเข้าสวนสุขภาพลัดโพธิจ์ ดั ท�ำแผ่นหิน แกะสลั ก พระบรมสาทิ ส ลั ก ษณ์ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ด้วยแผ่นหินแกะสลักนูนต�่ำ จัดวางไว้ริมสองข้าง ทางเดินจนถึงพระบรมรูป บนแผ่นสลักพระบรม สาทิ ส ลั ก ษณ์ แ สดงข้ อ ความพระบรมราโชวาท ทีพ่ ระราชทานไว้แก่นกั เรียน นักศึกษา และประชาชน ในวาระต่างๆ เพื่อเป็นหลักในการด�ำเนินชีวิต ๙ ข้อ เมือ่ เราเดินเข้าไปภายในสวนตามเส้นทางทีต่ รงสู่ พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร จะพบสนามหญ้าเขียวขจี บึ ง น�้ ำ กว้ า ง และพุ ่ ม ไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ อั น งดงาม เหมาะแก่ ก ารพั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ ส� ำ หรั บผู ้ ที่ มาวิ่ ง ออกก�ำลังกายมีเส้นทางให้เดินและวิ่งออกก�ำลังกาย ตั้งแต่เริ่มเข้าประตู ซ้ายมือมีเส้นทางลู่วิ่งสีเขียว แบ่ง เป็น ๒ ระยะ เส้นทางระยะสั้น ๔๐๐ เมตร คดโค้ง วนรอบบึง ๑ รอบ หากต้องการวิง่ ออกก�ำลังแบบยาวๆ ก็มีเส้นทางรอบใหญ่ ระยะทาง ๑.๔๕ กิโลเมตร ภายในสวนสุขภาพลัดโพธิย์ งั มีพพิ ธิ ภัณฑ์สะพาน วงแหวนอุตสาหกรรมหรือพิพิธภัณฑ์คลองลัดโพธิ์ สร้างเป็นสถาปัตยกรรมร่วมสมัยแบบไทยรามัญ หลังคาซ้อนชัน้ ขึน้ ไปเป็นยอดสูงอย่างโดดเด่น ภายใน อาคารพิพธิ ภัณฑ์เป็นห้องโถงติดแอร์ แบ่งเป็น ๓ ส่วน

Majesty the King Phra Bat Somdet Phra Paramin Maha Bhumibol Adulyadej Borommanat Bophit or King Rama IX Zone 2 An exhibition depicting the history of the Mon community in Phra Pra-Daeng tracing back to when they first migrated along with their customs, traditions and plays. Zone 3 A display of Industrial Ring Road Project according the Royal Initiative as to inform and to educate on applied technologies d u r i n g t h e co n s t r u c t i o n o f Industrial Ring Bridge. (Cu r re n t l y, t h e M u s e u m o f Industrial Ring Bridge is under renovation and estimated to finish within this November) The green area on the canalfront of Lat Pho Health Park is an ideal recreational park where families can take their kids out on a stroll. The park has one of the most captivating views of Bhumibhol Bridge with an artistic composition of the entire bridge spanning in paralel with the canal on both sides. Moreover, there is a pathway

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


along the canal that lead to the watergate of Khlong Lat Pho or even further to the Mon community on the opposite bank. On the other side of Khlong Lat Pho, simplycrossthebridgeandheaddown Phetchahueng Road, visitors can experience the lifestyle of Pak-Lad's Mon community in Song Kha-Nong sub-district. The word Song Ka-Nong derives from a Mon word Gwan-Dongha-Nong which means stars or the village of stars. The Mon migrated to settle down in Nakhon Khuean Khan during the reign of King Phra Buddha Lertla Naphalai or Rama II but it was after they scattered to set up a community in different areas that they started naming their villages the same way they did in Mon country with Kan Lat Temple as their spiritual sanctuary.

ส่วนที่ ๑ จัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับ พระราชกรณียกิจด้านคมนาคมของพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ ส่วนที่ ๒ จัดแสดงประวัติชาวมอญใน พระประแดง นับตั้งแต่เข้ามาตั้งรกรากใน พระประแดง วัฒนธรรมประเพณี การละเล่น ส่วนที่ ๓ จัดแสดงโครงการถนนวงแหวน อุตสาหกรรม อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เป็ น การให้ ข ้ อ มู ล ความรู ้ ด ้ า นเทคโนโลยี การก่อสร้างสะพานวงแหวนอุตสาหกรรม (ขณะนี้ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ะพานวงแหวน อุตสาหกรรมอยูใ่ นระหว่างปิดปรับปรุง จะแล้ว เสร็จในเดือนพฤศจิกายน) กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

พื้นที่สีเขียวริมน�้ำของสวนสุขภาพลัดโพธิ์ เหมาะส� ำ หรั บ มาพั ก ผ่ อ นออกก� ำ ลั ง กาย ครอบครัวพาเด็กๆ มาเดินเล่น ที่นี่ยังเป็น จุดชมวิวสะพานภูมพิ ลทีง่ ดงามทีส่ ดุ มองเห็น ตัวสะพานทอดยาวสองฟากฝัง่ เป็นเส้นลวดลาย ราวงานศิ ล ป์ และมี ท างเดิ น เลี ย บคลอง ไปชมประตูระบายน�้ำคลองลัดโพธิ์ รวมทั้ง ข้ า มไปเที่ ย วสั ม ผั ส ชุ ม ชนมอญฝั ่ ง ตรงข้ า ม ได้ด้วย อี ก ฟากของคลองลั ด โพธิ์ เพี ย งข้ า ม สะพานไปตามถนนเพชรหึงษ์ ก็จะได้สัมผัส กับวิถีชุมชนมอญปากลัดที่ต�ำบลทรงคนอง ค� ำ ว่ า ทรงคนอง มาจากภาษามอญว่ า กวานดงฮะนอง แปลว่า ดวงดาว หรือหมูบ่ า้ น

Built in 1806, Khan Lat Temple is situated by Lat Pho Canal. When Mon people settled down at Song Khak-Nong sub-district, they chose existing Khan Lat Temple as their community temple. Then, they invited Mon abbot and monks to look after the temple, ordain their children and teach them Buddhist Doctrines and Disciplines. Simply walk into the temple and be blown away by the magnificent display of Mon symbols including a Mon-style stupa, swan pillars and centipede flags. Moreover, there is also a beautiful Mon-style marble Buddha image which is invited outside for a public worship during annual events or major festivals. Among all interesting Mon traditions that has been inherited up until now is "Swan-Centipede Flag Procession" held every year during Songkran Festival. Exquisite centipede flags are hung at the back of swan pillars lining in front of the stupa, which is a symbol of Mon temples. Not only

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 83

the tradition is carried out to mark that the area belongs to the temple or is a sacred place but also to present their offerings to the Buddha. Another fascinating learning center in this temple is known as Wat Khan Lat Folk Museum (or the folk museum of Khan Lat Temple). It exhibits the history of Mon people in Phra Pra-Daeng, the Mon cultures and traditions. Here, it also showcases the way of life of Mon descendants, who decided to settled down here since early Rattanakosin era, through their everyday appliances, utensils, costumes and pictures of traditional festive celebration taken in earlier days. Opposite to Khan Lat Temple in Soi Petchahueng 2, the Thai-Mon community is located with a large arched entrance that clearly says Moo Ban Mon (Thai for Mon village) inviting passerby to pay a visit. Although most residences have changed to a more modern style, there still are some traditional Mon-style elevated wooden houses left especially ones that are deep inside the alley. Although they are two-storey houses like traditional Thai houses, traditional Mon-style houses are lifted much higher and even have an open space underneath which is large enough to organize a Saba game during Songkran Festival. Walking pass Mon village and all the way to the end of the alley on the riverfront of Chao Phraya River, there is a path that bypasses to the mouth of Khlong Lat Pho. There, it allows visitors to catch a sight of Bhumibhol 2 Bridge laying itself across the river to Pu Chao Samingphrai Road side. Then, walk round and keep strolling down the canal back to Khan Lat Temple again under the mesmerizing scene of Bhumibhol Bridge and the watercourse of Khlong Lat Pho.

แห่งดวงดาว ทัง้ นี้ เมือ่ ชาวมอญได้อพยพเข้ามา ตัง้ ถิน่ ฐานทีเ่ มืองนครเขือ่ นขันธ์ในสมัยพระบาท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ และแยกย้ า ยไปตั้ ง ชุ ม ชนตามพื้ น ที่ ต ่ า งๆ พวกเขาจึงได้ใช้ชื่อหมู่บ้านเป็นชื่อเดียวกัน กับหมู่บ้านในเมืองมอญ พร้อมกับมีวัดคันลัด เป็นศูนย์รวมจิตใจ วัดคันลัดอยู่ริมคลองลัดโพธิ์ สร้างขึ้นราว พ.ศ. ๒๓๔๙ เมื่อชาวมอญมาตั้งบ้านเรือนที่ ต�ำบลทรงคนองก็เลือกวัดคันลัดที่มีอยู่เดิม เป็นวัดประจ�ำชุมชน แล้วนิมนต์พระชาวมอญ มาปกครองวัด เพื่อน�ำบุตรหลานมาบวชและ ศึกษาธรรมวินัย เพียงเข้าไปในวัดก็จะเห็น เจดีย์ทรงมอญ พร้อมเสาหงส์และธงตะขาบ ที่เป็นสัญลักษณ์ของชาวมอญโดดเด่นเป็น สง่าบ่งบอกถึงความเป็นวัดมอญ นอกจากนี้ ยังมีพระพุทธรูปหินอ่อนเป็นศิลปะแบบมอญ สวยงาม โดยจะอัญเชิญออกมาให้ประชาชน สักการะเมือ่ ถึงงานประจ�ำปีหรือเทศกาลส�ำคัญ หนึง่ ในประเพณีมอญทีน่ า่ สนใจและยังคง ได้รบั การสืบสานมาจนปัจจุบนั คือ “ประเพณี แห่ ห งส์ ธ งตะขาบ” ที่ ถื อ ปฏิ บั ติ กั น ในช่ ว ง เทศกาลสงกรานต์ เป็นการน�ำธงตะขาบที่ วิจติ รงดงามไปแขวนไว้ทดี่ า้ นหลังของเสาหงส์ หน้าเจดียสถานอันเป็นสัญลักษณ์ของวัดมอญ เพื่อแสดงให้ผู้คนทราบว่าบริเวณนั้นเป็นวัด หรือปูชนียสถาน และถวายพุทธบูชา

วัดคันลัดมีสถานที่ที่น่าสนใจอีกแห่งเป็น พิพธิ ภัณฑ์มอญวัดคันลัด จัดแสดงนิทรรศการ เกี่ยวกับคนมอญถิ่นพระประแดง เป็นแหล่ง เรียนรูป้ ระวัตคิ วามเป็นมา วัฒนธรรมประเพณี ของคนเชื้อสายมอญที่เข้ามาอาศัยที่นี่ตั้งแต่ สมัยต้นรัตนโกสินทร์ โดยจัดแสดงข้าวของ เครื่องใช้ต่างๆ ของชาวมอญ เครื่องแต่งกาย และภาพเก่าในงานประเพณีรื่นเริงต่างๆ ของ ชาวมอญให้ผู้มาเยือนได้รู้จัก ฝั่งตรงข้ามวัดคันลัดที่ซอยเพชรหึงษ์ ๒ เป็นชุมชนชาวไทยเชือ้ สายมอญ มีซมุ้ ประตูใหญ่ เขี ย นชั ด เจนว่ า หมู ่ บ ้ า นมอญ เชิ ญ ชวนให้ เดินเข้าไปเที่ยวชม แม้บ้านเรือนส่วนใหญ่ จะเปลี่ ย นประยุ ก ต์ ต ามสมั ย ปั จ จุ บั น ไป มากแล้ว แต่มเี รือนไม้ใต้ถนุ สูงแบบมอญเหลือ ให้ชมอยู่บ้าง โดยเฉพาะบ้านที่อยู่ลึกเข้าไป ในซอย สังเกตได้จากบ้านเรือนไม้ ๒ ชัน้ คล้าย เรือนไทย แต่บ้านมอญยกพื้นสูงใต้ถุนโปร่ง กว่าบ้านไทย และมีลานโล่งไว้เล่นสะบ้าใน ช่วงสงกรานต์ เมื่อเดินผ่านหมู่บ้านมอญไปจนสุดซอย ถึงริมแม่น�้ำเจ้าพระยา มีทางเดินอ้อมมาออก ปากคลองลัดโพธิ์ มองเห็นสะพานภูมิพล ๒ ทอดยาวข้ามแม่นำ�้ กว้างไปฝัง่ ถนนปูเ่ จ้าสมิงพราย แล้วเดินวนตามทางเดินเลียบฝัง่ คลองกลับมา ยังวัดคันลัดเช่นเดิม ภายใต้ความตระการตา ของสะพานภูมิพลและสายน�้ำคลองลัดโพธิ์ SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


GREEN TRIP

green trip

G R E E N C O M M U N I T Y | S P I R I T O F N AT U R E

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 85

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


G R E E N S PA C E / P R E S E R V E K H L O N G PA E

PRESERVE KHLONG PAE (WITH LOVE) REVIVE THE CANAL

รักษ์คลองแพ คืนชีวิตให้คลองสวย

เขาว่ า ก่ อ นที่ เราจะรั ก คนอื่ น ได้ เราต้ อ ง รักตัวเองให้เป็นก่อน และเช่นกัน ก่อนจะ วิเคราะห์วจิ ารณ์คนอืน่ ได้เราก็ตอ้ งลองส�ำรวจ ตัวเองก่อนว่ามีจดุ บกพร่องในเรือ่ งใดบ้าง และ หากเราจะยืน่ มือไปโอบอุม้ ดูแลผืนธรรมชาติ อั น กว้ า งใหญ่ เราเองก็ ต ้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ ธรรมชาติที่อยู่ใกล้ตัวที่สุดให้ได้ก่อน

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

hey said before we could ever T love anyone, we have to first learn to love ourselves. Likewise,

before judging others, we must take a good look at ourselves and realize our weaknesses. Now, if we were to reach out our hands to support the great nature, we must be able to take a good responsibility of the nature closest to us.

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 87

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


on both riverbanks came tumbling down disorderly. Originally, Go Mong was born in Samut Prakan but moved to work in Bangkok and hardly came back home. A decade ago, Go Mong was in a human resources department for a private company with average monthly income of fifteen thousand baht. Out of the blue, his mother fell sick and so he decided to quit his job and return to Bang Ko Bua. When you get back in touch with the nature, and have enough time to look at the sky and the trees instead of stuffing your meal while stuck in a traffic jam somewhere on Asoke Road, there is enough time for aestheticity in observing the course of the nature around us. Especially if you are a person with a high level of human consciousness, when you witness the nature getting hurt, we feel the overwhelming desire to conserve our local natural resources. That return to his childhood gave Go Mong the determination to clean up the neighboring canal making sure it could also be used as a sailing path like it did in the past. "The trigger was when I saw canals in other provinces and they kept reminding me of the time when I was a teenager. I remembered that back then my relatives and even I, myself, all traveled to each other's houses by rowing the boat along Khlong Pae Canal. Therefore, I wanted to make Khlong Pae Canal which is basically next to my house and bring its surrounding atmosphere back to lives." Go Mong in his favorite plaid sa-rong says to us.

...This is Khlong Pae (Pae Canal)... The river in front of "Go Mong"'s house, a community in Bang Ko Bua SubDistrict and five consecutive years of effort to revitalize the whole canal starting with him and a few other kids in the neighborhood.

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

On a bamboo bed by Khlong Pae next to Go Mong's house. Go Mong tells us that many years ago when they first began to cut the road that lead to the community, Khlong Pae was of no use to the point that it became a deserted canal; no transportation passes by and the longer time passed, the more trees

Five years ago, when his determination was set, Go Mong gathered three kids in the neighborhood, whom everyone said hated going to school, to help clean up the canals. Go Mong took care of these three kids who came to help with the matter by providing them food and sometimes would offer them five or ten baht each from his own pocket as a token of appreciation. Go Mong and each kid held a knife in their hands while making their way into the canal, through shrubs and tall grasses to inspect the area and removing fallen trees and branches that directly blocked the waterway.

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 89

...ที่นี่คือคลองแพ… คลองหน้าบ้านของ “โกหม่อง” สมาชิก ชุมชนในพื้นที่ต�ำบลบางกอบัว กับ ๕ ปีเต็ม ของความพยายามดู แ ลฟื ้ น ฟู ค ลองเส้ น นี้ โดยเริ่มจากตัวเขาและเด็กในพื้นที่อีก ๓ คน ที่แคร่ริมคลองแพข้างบ้านของโกหม่อง โกหม่องเล่าให้ฟังว่า เมื่อหลายปีก่อนในช่วง เริ่มมีการตัดถนนเข้ามาในชุมชน คลองแพ ไม่ได้ถกู ใช้ประโยชน์อะไรเลยกระทัง่ กลายเป็น คลองตาย ไม่มีการสัญจรใดๆ ต้นไม้ที่ขนาบ คลองทัง้ ๒ ข้าง ล้มระเนระนาดลงมาตามช่วง เวลาของการถูกปล่อยปละละเลย แม้โกหม่อง เองจะเป็ น ชาวสมุ ท รปราการโดยก� ำ เนิ ด แต่ในตอนนั้นเข้าไปท�ำงานอยู่ในกรุงเทพฯ ไม่ค่อยได้กลับมาอยู่บ้าน เมื่อ ๑๐ ปีที่แล้วนั้น โกหม่องท�ำงานเป็นฝ่ายบุคคลอยูท่ บี่ ริษทั เอกชน แห่งหนึง่ มีรายได้ตกเดือนละ ๕๐,๐๐๐ บาท จนวันดีคืนดีที่แม่ของโกหม่องป่วย โกหม่อง

เลยตั ด สิ น ใจลาออกจากงานและกลั บ มา ใช้ชีวิตในบางกอบัว พอคนเราได้กลับคืนสูธ่ รรมชาติและมีเวลา มากพอที่จะมองฟ้ามองต้นไม้ ไม่ใช่นั่งกินข้าว อยู่ในรถติดกลางอโศก ก็จะมีความสุนทรีย์ พอในการให้เวลากับการสังเกตความเป็นไป ของธรรมชาติใกล้ๆ ตัว ยิ่งถ้าเราเป็นคนที่มี จิตส�ำนึกในความเป็นมนุษย์สูงอยู่แล้ว พอได้ มีโอกาสสังเกตเห็นธรรมชาติทกี่ ำ� ลังถูกท�ำร้าย ความรูส้ กึ ในการหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ พื้ น ถิ่ น ก็ จ ะเกิ ด ขึ้ น ตามมาอย่ า งพรั่ ง พรู การกลับมาใช้ชีวิตเป็นเด็กริมคลองอีกครั้ง ในช่วงเวลานั้นของโกหม่อง ท�ำให้โกหม่อง เกิดความตั้งใจที่อยากจะท�ำคลองข้างบ้าน ของตัวเองให้สะอาด สามารถใช้เป็นเส้นทาง เดินเรือแบบในอดีตได้ “สิ่งที่จุดประกายเราอย่างหนึ่งคือการที่ เราได้ไปเห็นคลองของจังหวัดอื่นๆ มันท�ำให้ เราย้ อ นนึ ก ถึ ง ตั ว เองสมั ย เด็ ก ๆ เป็ น วั ย รุ ่ น

เราจ�ำภาพได้ว่าสมัยนั้นญาติๆ เราหรือแม้แต่ ตั ว เราเองก็ ใช้ วิ ธี ก ารเดิ น ทางไปบ้ า นญาติ ด้วยการพายเรือไปทางคลองแพนี่ล่ะ ฉะนั้น เราอยากท�ำให้คลองแพที่อยู่ติดบ้านเราเอง และบรรยากาศโดยรอบกลั บ มามี ชี วิ ต ” โกหม่องในเสื้อผ้าชุดเก่งกับโสร่งลายตาราง บอกเราแบบนั้น เมื่อมีความตั้งใจจริง ๕ ปีที่แล้ว โกหม่อง จึงรวบรวมเด็กแถวบ้านอีก ๓ คน ซึ่งเป็น กลุ่มเด็กที่ใครก็มองว่าเป็นพวกวัยรุ่นไม่ชอบ เรียนหนังสือมาช่วยกันท�ำความสะอาดคลอง โดยโกหม่องดูแลเด็ก ๓ คน ที่มาช่วยงานนี้ ด้วยการให้ข้าวกิน บางทีก็ควักเงินตัวเองจ่าย ให้เด็กๆ คนละ ๕๐ บาท เป็นสินน�ำ้ ใจ โกหม่อง และเด็กๆ ถือมีดในมือคนละเล่ม เดินลุยไปใน คลองและโพรงหญ้าเพื่อส�ำรวจพื้นที่ จัดการ ตัดกิ่งไม้ท่ีขวางล้มอันเป็นอุปสรรคโดยตรง กับทางเดินน�้ำ สภาพคลองแพในตอนนั้น ด้านใต้คลอง SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


Back then, Khlong Pae Canal was in an extremely terrible condition as there were countless logs cramming beneath the canal and a tremendous amount of garbage piling all over the place. When Go Mong kept going with his mission to revive the canal, villagers the neighborhood would give him the look and discourage him saying "Are you out of your mind? What on earth are you doing this for? Are you getting paid for all this?" because they knew that recovering the devastating canal of Khlong Pae was not a work of only a few hundred meters but about two kilometers.

มีขอนไม้เต็มไปหมด ขยะก็เก็บกันไม่หวาด ไม่ไหว ในช่วงทีโ่ กหม่องเดินหน้าฟืน้ ฟูคลองนัน่ ชาวบ้านทีอ่ ยูล่ ะแวกใกล้เคียงมักมองโกหม่อง ด้วยความรู้สึกรวมทั้งวาจาที่พูดออกมาว่า “บ้าหรือเปล่า ท�ำไปท�ำไม ท�ำแล้วได้ตงั ค์เหรอ” เพราะการจะฟื ้ น ฟู ค ลองแพขึ้ น มานั้ น ระยะทางของคลองทั้ ง หมดมั น ไม่ ใช่ แ ค่ สองร้อยสามร้อยเมตร แต่มันคือ ๒ กิโลเมตร โดยประมาณ “ตอนนั้นลุยคลองลงไปกับเด็กๆ มีทั้งเอา เชือกผูกขอนแล้วช่วยกันดึงขึ้นมา ตรงไหนที่ กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

ไม่สามารถเอาขึ้นได้ เราหาไม้ปักเอาไว้เพื่อ เป็นสัญลักษณ์ว่าตรงนี้มีตอนะ ถ้าพายเรือ มาเจอตอนี้คุณต้องเลี้ยวกลับไป การฟื้นฟูมี ๒ สเต็ป สเต็ปแรกคือช่วงน�้ำแห้ง เราต้อง ออกส�ำรวจก่อนว่ามีอะไรอยูใ่ ต้คลองทีเ่ ราต้อง จัดการบ้าง การจะจัดการคลองทัง้ เส้นด้วยคน แค่ ๔ คน ที่ไม่ได้มีงบประมาณอะไรมาจาก ไหนในตอนนั้น มันเป็นไปไม่ได้ เราเลยฟื้นฟู โดยแบ่งเป็นช่วงๆ ตรงไหนอาการหนักมาก ก็ต้องเอาไว้ก่อน เชื่อไหม กอไผ่บางกอเราใช้ เวลาจัดการเป็นเดือนเลยนะ เพราะเราใช้มือ

"I remembered walking into the canal with the kids. We tied the rope around the fallen logs and pull them up the shore together. There were some that we could not possibly move, we put a stick there to mark that there was a tree stump underneath so that in the future if anyone row their boat by the area, they would know they had to turn the boat around. There were two steps to recover the canal. First, during dry season when the water ran low, we had to explore all the things that were clogging the canal that we had to get rid of. Clearing the whole canal with just four people on the team and scarcely any budget at the moment was practically impossible. Therefore, we divided the canal into sections and whichever part was in a more critical level, we had to just leave it later. Can you imagine how it took us months to remove some certain bamboo clusters? Why? Because it was done by the hands of only four people. Everytime we were out to collect the garbage from the canal, it always filled up two or three boats. But it was actually a fun time because as we were cleaning up the canal, I was actually spend time the kids and when everyone had to interact with the nature, I was able to notice the tiny details about them. Like woah! these kids have so much good in them. It's just that noone has ever helped pull them out."

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 91

After the first brick was laid five years ago, others gradually followed and formed into a stronger wall of an increasingly large crowd. At the present, there are more agencies and projects joining hands with Go Mong including water management projects. Go Mong compares himself to one tiny brick with a strong hope it could inspire other jigsaw pieces to join, interlock and complete the picture because he believed that one day it would turn out to be an absolutely beautiful wall. "When the first brick of action was laid, changes became more and more clearly visible. When the canal finally started to breathe again, we initiated a boat trip model. After that, government agency helped with the excavation, during which, we were worried that soil erosion might affect the trees. Thus, we got ourselves some wooden sticks and secure them along the shore to prevent the soil from collapsing. Soon after, help from an agency was offered to us but still we could not help but put ourselves there watching how they work from afar."

คนแค่ ๔ คน เวลาเก็บขยะขึ้นมาทีก็ต้องมี สองสามล�ำเรือตลอดเวลา แต่มนั เป็นช่วงเวลา ทีส่ นุกดี เพราะนอกจากเรือ่ งการจัดการคลอง แล้ว ในช่วงเวลาท�ำงานเราได้เก็บความรู้สึก ของเด็กๆ ในสิ่งที่เราเองไม่เคยเห็นมาก่อน พอเราใช้ เ วลากั บ เขาโดยเฉพาะในพื้ น ที่ ที่ทุกคนต้องมีปฏิสัมพันธ์กับธรรมชาติ เราจะ พบรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ว่า เอ๊ะ ! เด็กพวกนี้ เขามีอะไรดีๆ อยูใ่ นตัวเยอะนะ แค่อาจยังไม่มี ใครช่วยเขาดึงจุดดีเหล่านั้นออกมา” และจากการลงมือท�ำโดยอิฐก้อนแรกเมื่อ ๕ ปีที่แล้ว อิฐก้อนอื่นๆ ก็ค่อยตามมาเสริม จนก่อกลายเป็นก�ำแพงทีเ่ ข้มแข็งของมวลชนที่ เพิม่ จ�ำนวนขึน้ เรือ่ ยๆ โดยปัจจุบนั มีหน่วยงาน และโครงการต่ า งๆ เข้ า มาจั บ มื อ ร่ ว มกั บ โกหม่องอันรวมไปถึงโครงการการจัดการน�้ำ ซึ่งโกหม่องเปรียบเปรยว่าตัวเองเป็นเพียงแค่ อิฐก้อนเล็กๆ ก้อนเดียวที่มีความหวังว่าอยาก จะให้เกิดจิก๊ ซอว์ตวั อืน่ ๆ มาต่อเรียงเพิม่ มากขึน้ เรื่อยๆ เพราะโกหม่องเชื่อว่าวันหนึ่งข้างหน้า มันจะกลายเป็นก�ำแพงที่สวยงามมาก

“พอเราเป็นอิฐก้อนแรกในการลงมือท�ำ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจนเห็นเป็นรูป เป็นร่างจากการทีค่ ลองเริม่ ฟืน้ เริม่ มีลมหายใจ ก็ปรากฏขึน้ เราเริม่ ท�ำโมเดลของการท่องเทีย่ ว ทางเรือ หลังจากนั้นหน่วยงานราชการก็มา ขุดให้ ในช่วงระหว่างการขุด เราก็ไม่อยาก ให้ดินมันทลาย ต้นไม้ เราต้องช่วยกันเอาไม้ มาปักในคลองไว้ตามด้านข้างเพื่อกันไม่ให้ดิน มันทลาย ซึ่งมีหน่วยงานเข้ามาช่วย เราเองก็ เอาตั ว เองไปคอยดู อ ยู ่ ห ่ า งๆ ว่ า ลั ก ษณะ การท�ำงานของเขาเป็นยังไง” ทุกวันนี้คลองแพไม่ได้มีป้ายห้ามทิ้งขยะ ติดไว้ ตัวโกหม่องเองไม่เคยประกาศบอกใคร ว่าห้ามทิง้ ขยะแถวนี้ แต่ความสะอาดทีเ่ กิดขึน้ นั้ น เป็ น เพราะชาวบ้ า นเห็ น ความต่ อ เนื่ อ ง ในการท� ำ งานของโกหม่ อ งมาตลอด ๕ ปี กับความพยายามในการฟื้นฟูคลอง มันเป็น การลงมือท�ำจริงไม่ใช่แค่พูด ท�ำเยอะไม่ใช่ นั่ ง วิ จ ารณ์ และการเป็ น คนจริ ง ก็ น� ำ มาซึ่ ง ความศรัทธาของผู้คน เมื่อคนเราท�ำให้ผู้อื่น ศรั ท ธาได้ สิ่ ง ที่ ต ามมาคื อ จิ ต ส� ำ นึ ก ในใจ

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


ของชาวบ้านที่เกิดขึ้น โดยไม่ต้องมีใครมานั่ง โดยจะเริ่มจาก ๗ คลอง ในต�ำบลบางกอบัว ของตั ว เองก่ อ น ฟั ง ดู แ ล้ ว อาจเป็ น เรื่ อ งที่ บอกว่าอะไรควรท�ำหรือไม่ควรท�ำ ใหญ่ โ ตเกิ น ไปส� ำ หรั บ มนุ ษ ย์ ที่ มี กั น แค่ “ขยะทีค่ อ่ ยๆ หายไป อาจเป็นได้วา่ พวก คนละสองมือ แต่อย่าลืมว่าคลองแพขนาด เขาคงเห็นเราลงมือท�ำอยู่ตลอด เราไม่เคย ความยาว ๒ กิ โ ลเมตร พิ สู จ น์ ใ ห้ เราเห็ น หยุดดูแลคลอง เขาก็เลยนึกเกรงใจไม่ทงิ้ ขยะ มาแล้วว่าทุกอย่างเป็นไปได้ แค่จะเอาจริง หรือเปล่าเท่านั้น โดยปัจจุบันมีคลองบางเส้น เพิ่มละมัง” ส�ำหรับเป้าหมายในการฟื้นฟูคลองของ ที่ โ กหม่ อ งได้ เข้ า ไปมี ส ่ ว นร่ ว มในการช่ ว ย โกหม่องไม่ใช่แค่คลองข้างบ้าน แต่มนั คือคลอง ฟื้นฟูจนกลายเป็นสภาพล�ำคลองที่สวยงาม จ�ำนวนทั้งหมด ๓๒ คลองใหญ่ ในบางกะเจ้า ใครขับรถผ่านเป็นต้องวิ่งลงไปถ่ายรูป

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

Today, there is no signboard that prohibits littering anywhere in Khlong Pae. Go Mong has never announced it out loud either but the cleanliness results from how the villagers saw the continuation of Go Mong's work all these past five year and his great effort trying to bring the canal back to life. Go Mong kept putting his thoughts into action and not just babbling about it. He did a lot and not just criticizing others. Being a person stay true to his words and dare to act brought people faith. Once faith is planted in their hearts, a spiritual consciousness grows within them without having anyone to tell them what they should or should not be doing. "Regarding the garbage that gradually disappears, it is possible that they kept seeing us in action the entire time. We never have and we never will stop looking after the canal. So, at one point, I guess they just felt more considerate of us and stopped adding more garbage." As for Go Mong's goal in canal restoration, it is not only limited to the canal next to his house but a total of 32 large canals in Bang Kra-Chao starting with seven canals in his own Bang Ko Bua SubDistrict first. It may sound like a massive scale of work beyond an ordinary human being with just two hands. But always remember that even the two-kilometers-long Khlong Pae has proven that anything is possible and that it is only the matter of how far you are willing to take it. Today, there are some canals that Go Mong took part in the revival that they become so beautiful that anyone driving pass by must make a quick stop to take a few pictures.

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 93

ต้นจากริมคลองแพ Nipa Palm trees on the shore of Khlong Pae

โกหม่อง บางกอบัว รักษ์น�้ำ รักษ์คลอง Go Mong, Bang Ko Bua

รักษ์น�้ำ รักษ์คลอง

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


N AT U R E J O U R N E Y / C R A B - E AT I N G M A C A Q U E

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 95

CRAB-EATING MACAQUE A NAUGHTY LIFE IN MANGROVE FOREST

ลิงแสม

ชีวิตซุกซนในป่าชายเลน เมื่อนึกถึงป่าชายเลน เรามักนึกถึงภาพ ของลิ ง แสมคู ่ กั น เสมอ ลิ ง หางยาวๆ กระโดดไปตามต้นไม้ยามน�ำ้ ทะเลขึน้ สูง พอน�้ำลงบางตัวก็ลงมาเดินหากินบน พื้นเลนจนเปรอะเปื้อนโคลน นับเป็น ภาพชี วิ ต ชายฝั ่ ง ที่ น ่ า ประทั บ ใจและ ยังพบเห็นได้ที่สมุทรปราการ

W

hen thinking of a mangrove forest, the first image that comes to mind is often a group of crab-eating macaques. Long-tailed macaques jumping between trees when the tide gets high and getting back down to the ground at low tide foraging for food all covered in mud is an impressive life-by-the-coast scene that still exists in Samutprakan.

อันที่จริงเราสามารถพบลิงแสมได้แทบ ทุกภูมปิ ระเทศ ป่าแทบทุกประเภท โดยเฉพาะ ตามบริเวณชายป่าทีต่ ดิ ต่อกับพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม เพราะสามารถปรับตัวเข้ามาอยูร่ ว่ มตามชุมชน ได้ อย่างเช่นที่ศาลพระกาฬ จังหวัดลพบุรี เป็นตัวอย่างทีช่ ดั เจน รวมทัง้ ทีเ่ ขาวัง จังหวัด เพชรบุรี และเขาสามมุข จังหวัดชลบุรี ในอดี ต จั ง หวั ด สมุ ท รปราการเคยมี ลิงแสมอาศัยอยู่ทั่วไปตามชายฝั่ง สมัยที่ยังมี พื้นที่ป่าชายเลนเป็นบริเวณกว้าง แต่ปัจจุบัน ประชากรลิงลดลงไปมากเนื่องจากถิ่นอาศัย ถูกท�ำลาย ท�ำให้ทกุ วันนีพ้ บอยูแ่ ถบแหลมฟ้าผ่า มีจุดพบง่ายที่สุดอยู่ในป้อมพระจุลจอมเกล้า ฝูงลิงแสมเข้ามาอยูต่ ามป่าชายเลนทีย่ งั มีสภาพ สมบูรณ์ซึ่งกองทัพเรืออนุรักษ์ไว้ พร้อมทั้ง จั ด ท� ำ สะพานเป็ น ทางเดิ น ศึ ก ษาธรรมชาติ ลั ด เลาะไปตามผื น ป่ า จนถึ ง ชายฝั ่ ง ที่ เ ป็ น จุดชมทิวทัศน์ปากอ่าวไทย ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ทมี่ นี กั ท่องเทีย่ ว เดินทางมาเทีย่ วป้อมพระจุลจอมเกล้า ลิงแสม ที่มักอยู่กันเป็นฝูงชอบออกมาโชว์ตัวให้เห็น อย่างใกล้ชิดตามสะพานศึกษาธรรมชาติด้วย ความคุ้นเคยกับผู้คน จนกลายเป็นจุดดึงดูด นักท่องเทีย่ ว โดยเฉพาะความน่ารักของลูกลิง ตัวน้อยทีเ่ กาะดูดนมอยูก่ บั อกแม่ ขณะทีล่ งิ แสม ตัวเล็กๆ วิง่ เล่นซนไปตามต้นไม้หรือบนสะพาน ลิงแสมออกลูกครั้งละ ๑ ตัว และโตเต็มที่ เมือ่ อายุราว ๓-๔ ปี

In fact, crab-eating macaques can be found in almost any type of terrains and forests especially along the edge of the forest that is connected to agricultural area. They can quickly adapt themselves to live in community areas, for example, at Phra Kal Shrine in Lopburi Province, Khao Wang in Petchaburi Province and Khao Sam-muk in Chonburi Province. In the past, these macaques used to scatter along the coastline of Samut Prakan when the mangrove forest was still widespread. However, their population has greatly declined due to a vast habitat destruction. Hence, they are more often seen in Laem Fa Pha zone and even more so at Chulachomkhlao Fort. A group of macaques move to a fertile coastal forests of mangrove under preservation of the Navy. A bridge is built as a part of natural learning trail that goes across the forest land and onto the coast which is a great place to enjoy the view of Chao Phraya River estuary. During weekends, when travelers visit Chulachomkhlao For t, long-tailed macaques , who usually live in a herd, present themselves to visitors upclose along the natural learning bridge with great familiarity that it naturally becomes one of the area's attractive charms. The tiny loving macaque babies are clinging and drinking from their mother while other small ones are slightly more naughty jumping in trees or running on the bridge. These macaques only give birth to one baby at a time and are fully mature when they are three to four years old.

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


Classified as a medium-sized macaque, the crab-eating macaque has a spikey top hair (hair on top of the head), brown hair on its body and white hair on its stomach although the color may be varied by age, season and its habitat. It has a head-body length of 48-58 centimeters and the tail length of 44-54 centimeters and a general weight of 3.5-6.5 kilograms. The crab-eating macaques living in the mangrove forest love climbing up Avicennia alba trees (or "Sa-mae" trees in Thai) which are large trees that can generally be found in this type of forest, hence, the Thai name Sa-Mae Monkeys. Despite the origin, the name is also applicable to crab-eating macaques living in other area that has no such trees. They search the forest for wild leaves and fruits to eat and occasionally chase and catch small animals on the muddy ground. Since small crabs are their favorite menu, they usually reach their hands into the hole and grab the tiny crabs inside to eat. they are called Crab-eating Macaque in English. The other English name Long-tailed Macaque represents the outstanding feature of the lengthy tail compared the body, which is directly handy as it helps to balance while climbing trees. With a long tail and the love for crab eating, the crab-eating macaques are said to have a smart behavior of using their tail as a fishing gear. Sometimes, they stick only their long tail into a crab hole, wait until the crab has fallen for the lure and pinched on the tail and pull its tail back up to finish the crab. In a more regular situation, they simply stick their hands into the mud and end up looking as if they are wearing long-sleeve gloves. Additionally, as a coastal inhabitant, they are a good swimmer and often seen swimming during a high tide. Besides strolling along the natural learning trail of Chulachomkhlao Fort to observe behaviors of these crab-eating macaques in a fertile mangrove forest, travelers may also have a chance to find and learn the way of life of many more types of animals dwelling in this forest. During a low tide, large blennies or as known as Giant Mudskipper can be seen using their fins to get around on mud instead of feet while various crabs marching all over the place for food including Fiddler Crabs with an outsized claw. In this natural learning room, there are also a large variety of wild birds, waterfowls or even pretty squirrels running and foraging from tree to tree.. กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 97

ลิงแสมจัดเป็นลิงขนาดกลาง มีขนตาม ล� ำ ตั ว สี น�้ ำ ตาล ขนตรงกลางหั ว มี ลั ก ษณะ ตั้ ง แหลมชี้ ขึ้ น ขนใต้ ท ้ อ งสี ข าว สี ข นจะ เปลีย่ นแปลงไปตามอายุ ฤดูกาล และถิน่ ทีอ่ ยู่ อาศัย ลิงแสมในป่าชายเลนชอบปีนป่ายไปตาม ต้ น แสมซึ่ ง เป็ น ต้ น ไม้ ใ หญ่ ที่ พ บได้ ทั่ ว ไปใน ป่าชายเลน จนเป็นที่มาของชื่อลิงแสม แถม ยังถูกเรียกเหมารวมในพื้นที่อื่นที่ไม่มีต้นแสม ด้วยพวกมันเที่ยวหากินใบไม้และลูกไม้ในป่า แล้วยังชอบลงมาจับสัตว์เล็กๆ บนพืน้ เลนกินด้วย ปูตวั เล็กๆ ถือเป็นอาหารโปรดจนเป็นทีม่ าของ ชือ่ ภาษาอังกฤษว่า Crab-eating Macaque โดยมันใช้มอื ล้วงลงไปจับปูในรูขนึ้ มากิน ว่ากันว่า ลิ ง แสมชอบกิ น ปู แ สมมากที่ สุ ด ลิ ง แสมยั ง มี ชื่ อ ภาษาอั ง กฤษอี ก ชื่ อ ว่ า Long-tailed Macaque จากลั ก ษณะเด่ น ของหางยาว เมือ่ เทียบกับล�ำตัว หางยาวแบบนีม้ ปี ระโยชน์ โดยตรงเพราะช่วยทรงตัวขณะปีนป่ายบนต้นไม้ ความที่มีหางยาวประกอบกับชอบกินปู เป็นอาหาร จึงมีเรือ่ งเล่าถึงพฤติกรรมพิเศษของ

ลิงแสมว่า บางคราวมันจะใช้หางยาวแหย่ ลงไปในรูปเู พือ่ ล่อให้ปหู นีบหาง แล้วจึงชักขึน้ มา จับกิน คล้ายกับเป็นเบ็ดตกปลา แสดงถึงความ ฉลาดของลิงแสม แต่ตามปกติจะใช้มอื ล้วงลง ไปจับในรูปจู นแขนเปรอะเลอะดินเลนดูคล้าย สวมถุงมือยาว พวกมันยังว่ายน�้ำเก่งสมกับที่ อาศัยอยู่ตามชายฝั่ง ในช่วงน�้ำขึ้นมักพบเห็น ลิงแสมลงไปว่ายน�ำ้ เล่นเสมอ ไม่เพียงเดินดูพฤติกรรมลิงแสมแล้ว ในป่า ชายเลนอันอุดมสมบูรณ์ตามเส้นทางศึกษา ธรรมชาติปอ้ มพระจุลจอมเกล้า นักท่องเทีย่ ว ยังมีโอกาสพบและเรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ของสัตว์ในป่า ชายเลนอีกหลายชนิด ช่วงน�ำ้ ลงจะเห็นปลาตีน ขนาดใหญ่ทเี่ รียกว่าปลากระจังใช้ครีบเคลือ่ นตัว แทนตีนไปบนพื้นเลน ปูหลายชนิดเดินหากิน ไปมาอย่างขวักไขว่ รวมทัง้ ปูกา้ มดาบทีม่ กี า้ มโต เกินตัว นกป่า และนกน�้ำหลายชนิด กระทั่ง กระรอกสีสวยทีว่ งิ่ หากินไปตามต้นไม้ได้ทวั่ ไป ในห้องเรียนธรรมชาติแห่งนี.้

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


LIFESTYLE

inspired trip

E AT & D R I N K | G O O D R E C I P E O T O P S H O P P I N G | M A K E A R E S E R VAT I O N SAMUTPRAKAN HOT SHOT | CALENDAR

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 99

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


G O O D R E C I P E / C R U N C H Y YO U N G C O C O N U T S H E L L C U R R Y

CRUNCHY YOUNG COCONUT SHELL CURRY BLISSFUL FLAVOR STRAIGHT FROM THE FARM

แกงกรุบมะพร้าว

ของอร่อยจากเรือกสวน กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

มะพร้าวเป็นพืชอเนกประสงค์ที่น�ำมาท�ำประโยชน์ได้สารพัน โดยเฉพาะผลแข็ ง ๆ ที่ ใช้ ป ระกอบอาหาร เริ่ ม ตั้ ง แต่ อ อก งวงก็ปาดน�้ำตาลมาท�ำเป็นน�้ำตาลมะพร้าวหรือน�้ำตาลปี๊บ ผลอ่อนใช้กินเนื้อนิ่มหวานและน�้ำมะพร้าวหอมหวานชื่นใจ ส่วนผลแก่น�ำมาคั้นกะทิเป็นเครื่องปรุงส�ำคัญประกอบส�ำรับ คาวหวานแบบขาดไม่ได้ในครัวไทย ทั้งใส่แกงและท�ำขนม ล้วนต้องใช้น�้ำกะทิเป็นเครื่องปรุงส�ำคัญ

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 101

oconut is a versatile C plant that can be used in so many ways in cooking especially its hard-shelled fruits. The harvest begins with a cut on the flower bud to collect the liquid sap before turning it into coconut sugar or palm sugar. The young fruit contains both soft and sweet coconut meat and refreshingly sweet coconut juice. On the contrary, the flesh of an old coconut fruit is extracted, grated and squeezed in the making of coconut milk, which is an essential ingredient in many Thai main dishes like curry and desserts.

Even with the hard shell of coconut, farmers still manage to utilize it in their cooking. They pick the ones whose shell is not fully mature, thus, rather soft yet crunchy to feature in their curry complimenting the dish with a uniquely delicious flavor as found in Bang Ko Bua's signature dish like Kaeng Krub Ma-Phrao (Thai for crunchy young coconut shell curry). Bang Ko Bua is another green neighborhood of Bang Kra-Chao, Phra Pra-Daeng District with a large amount of fruit farms. Here, coconut trees are widely planted along vegetable or fruit furrows as they are considered one of the local economic crops that can be sold at a reasonable price and used in household cooking.

แม้กระทั่งกะลามะพร้าวที่ว่าแข็งๆ ชาวสวน ยังรู้จักน�ำมาปรุงเป็นอาหาร โดยเลือกตั้งแต่ยัง เป็นกะลาอ่อนๆ ที่เคี้ยวกินได้กรุบกรอบ น�ำมาใส่ แกงเป็นอาหารได้รสอร่อยไม่เหมือนเครื่องปรุงใด อย่างแกงกรุบมะพร้าวของชาวบางกอบัว พื้นที่ สีเขียวอีกแห่งหนึง่ ของอ�ำเภอพระประแดง ทีเ่ ต็มไป ด้วยสวนผลไม้ รวมทัง้ มะพร้าวทีช่ าวบ้านนิยมปลูก ตามร่องสวนทั่วไป ทั้งเพื่อขายเป็นพืชเศรษฐกิจ และใช้บริโภคประกอบอาหารในครัวเรือน พี่หน่อย คุณสมพิศ รุ่งเรือง แม่ครัวคนเก่ง แห่ ง บางกอบั ว ผู ้ เชี่ ย วชาญปรุ ง อาหารพื้ น ถิ่ น ที่รับถ่ายทอดจากคุณแม่ชาวสวน ได้มาแนะน�ำ เคล็ ด ลั บ ปรุ ง อาหารต� ำ รั บ พิ เ ศษของบางกอบั ว คือแกงกรุบมะพร้าวให้ชิมกัน “แกงกรุบมะพร้าวเป็นอาหารที่นิยมท�ำกินใน หมู่ชาวสวน เพราะย่านนี้ปลูกมะพร้าวเยอะ จึงหา ลูก มะพร้าวอ่ อ นมาท� ำ ได้ ง ่ า ย” พี่ ห น่ อ ยเอ่ ย ถึ ง วัตถุดิบส�ำคัญของแกงกรุบมะพร้าว ซึ่งไม่ใช่ขนาด

ทีเ่ ราน�ำเนือ้ และน�ำ้ มากินเป็นมะพร้าวอ่อน แต่ตอ้ ง เลือกมะพร้าวลูกเล็กๆ ทีก่ ะลายังนิม่ อยูแ่ ละเนือ้ ยัง ไม่มีหรือแทบเป็นวุ้น ให้สังเกตจากขั้วก้านด้านบน ที่ยังมีวงสีขาวอยู่โดยรอบ จึงเป็นมะพร้าวที่อ่อน ขนาดน�ำกะลามาใช้แกงกินได้ มะพร้าวแบบนี้ไม่มี ขายตามตลาดทัว่ ไป จะหาได้ตอ่ เมือ่ เข้าสวนเท่านัน้ เมื่อได้มะพร้าวขนาดพอเหมาะมาแล้ว ผ่าออก จนเห็นกะลาอ่อนสีขาว แล้วเลาะน�ำมาหั่นเป็นชิ้น เล็กๆ เตรียมไว้ ด้วยความเป็นมะพร้าวอ่อนๆ เนื้อ กะลานิ่มบางและยังมีไม่มาก แกงแต่ละหม้อต้อง ใช้มะพร้าวนับสิบลูกจึงจะพอ นี่เองเป็นอีกสาเหตุ ที่หากินแกงกรุบมะพร้าวยากมาก ส่วนน�้ำมะพร้าว ก็ ไ ม่ ไ ด้ ทิ้ ง ไปเปล่ า ประโยชน์ ให้ เ ทรวมกั น ไว้ น�ำกะลาอ่อนที่หั่นไว้แล้วไปแช่ในน�้ำมะพร้าวนั้น จะช่วยไม่ให้เนื้อกะลาคล�้ำดูไม่น่ากิน พี่หน่อยเน้นว่าแกงกรุบมะพร้าวต้องแกงกับ กุ้งถึงจะเข้ากัน ถ้าเป็นต�ำรับพื้นบ้านจริงๆ ต้องใส่ กุ้งตะกาดเป็นกุ้งที่อยู่ได้ทั้งน�้ำเค็มและน�้ำกร่อย SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


The base of Crunchy Young Coconut Shell Curry of Bang Ko Bua is a mixture between fresh curry paste or green curry paste and dry curry paste as used in Thai dry curry menus. To prepare a dry curry paste, all its ingredients including coriander s e e d s, c u m i n s e e d s, n u t m e g, cardamom, cloves, Chinese star anise, cinnamon and sand ginger must first be roasted to a good smell, pounded together and rested on the side. Then, as a preparation of fresh curry paste or green curry paste, it is important to smash and pound all ingredients: galanga, lemongrass, red shallot, garlic, coriander root, kaffir lime skin, dried and fresh chilli, old ginger, Koei shrimp paste into a fine texture. After that, mix both dry and fresh curry paste together and pound further. Once they are beautifully blended, the curry paste is fully infused with a unique spiciness and aroma from all the local herbs and spices.

Noi or Sompit Rungrueang, the talented chef of Bang Ko Bua and an expert on local food, a skill inherited from her farmer mother reveals her key secrets in the making of this special recipe of Bang Ko Bua, Crunchy Young Coconut Shell Curry. "Kaeng Krub Ma-Phrao is a popular dish usually cooked among farmers. There are lots and lots of coconut trees in the neighborhood so it is easy to find the right young coconut fruits for the dish," Sister Noi begins. She explains that the key ingredient is not the size that we can eat its meat or drink its juice but it has to be a small coconut fruit whose shell is still rather soft and has not formed its meat or rather a jelly-like meat inside. It is important to notice some sort of white circle pattern around the stem on the top part of the fruit as it indicates the right softness of the shell that can be cooked into a curry. This type of coconut is not available in the market but can only be found when visiting a farm. After getting the right size of coconut, cut it open until you can see the white soft shell, then, extract the shell and cut into bite-size pieces. Young as it is, the coconut shell is still soft, thin and and very little. Cooking each pot of curry

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

may require up to a dozen of coconuts which is another reason why it is so hard to find a Crunchy Young Coconut Shell Curry. The coconut juice, on the other hand, does not go to waste but used to soak bite-size coconut shell slices to p re ve n t t h e m f ro m t u r n i n g unappetizingly dark. Our sister Noi emphasizes that a nice Crunchy Young Coconut Shell Curry must only be cooked with shrimps or, better yet, jinga shrimps according to the original local recipe. Jinga shrimps can live in both coastal saline water and brackish water. When the tide gets high, they float along the water and into the furrows of Bang Ko Bua. Subsequently, farmers can easily catch a good amount of jinga shrimps with their scoop net near the shore which can be cooked into many ways ranging from salty stew to curry. Sakhla Villagers in Phra Samut Chedi District also uses jinga shrimps in the making of their delicious Kung-Yiead (Stretched Shrimps), which is also one of Samutprakan's local product excellence. After the preparation of crunchy young coconut shell and all shrimps peeled, here comes another important ingredient of this dish, the Bang Ko Bua's original curry paste .

Next is a typical curry-cooking process. Heat up coconut milk in a large pan above a lit charcoal stove until the coconut fat separate from the cream and rest it a bit. Then, stir-fried the blended paste with a small amount of concentrated coconut cream. Keep stirring and adding more coconut cream little by little until a nice smell kicks in and the coconut fat is properly separated. Add shrimps and keep stirring until they are cooked. Toss in sliced lesser galanga, follow with young coconut shell slices and mix well. Now, add coconut milk, season with palm sugar, fish sauce and let it simmer until all ingredients are well cooked. Sprinkle slices of goat pepper and sweet basil, give it a quick stir and it is ready to serve. Crunchy Young Coconut Shell Curry goes well with both steamed jasmine rice and rice vermicelli. To enrich the overall flavor, the locals of Bang Ko Bua love to enjoy dish with some salted fish. What makes this dish special is the young coconut shell. Besides a refreshing sweetness that can usually be found in young coconut meat and an unmatched crunchiness, the young coconut shell in this dish absorbs all the authentic flavor and fragrance of herbs and spices in the curry paste. Thus, the dish is considered a true identity that reflects the local wisdom in terms of food that the farmers of Bang Ko Bua have long inherited from their ancestors.

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 103

เวลาน�้ำขึ้นจะตามน�้ำเข้ามาอยู่ตามร่องสวน ที่บางกอบัว ชาวสวนก็น�ำสวิงลงไปช้อนตาม ตลิ่งมาท�ำอาหารได้หลายอย่าง ตั้งแต่ต้มเค็ม จนไปถึงแกง ชาวบ้านสาขลาที่อ�ำเภอพระ สมุทรเจดีย์ก็ใช้กุ้งตะกาดท�ำกุ้งเหยียดเป็น ของอร่อยและสินค้าขึ้นชื่อของสมุทรปราการ พอได้กะลาอ่อนกับกุ้งที่แกะเตรียมไว้แล้ว ก็ ม าถึ ง เครื่ อ งปรุ ง ส� ำ คั ญ อี ก อย่ า งของแกง กรุบมะพร้าว นั่นคือพริกแกงต�ำรับบางกอบัว แกงกรุ บ มะพร้ า วของบางกอบั ว ใช้ เครือ่ งพริกแกงสดแบบแกงเขียวหวานผสมกับ เครื่องพริกแกงแห้งแบบแกงคั่ว กลายเป็น แกงสูตรพิเศษของบางกอบัว เครื่องพริกแกง แห้งใช้เครือ่ งเทศอย่างลูกผักชี ยีห่ ร่า ลูกจันทน์ ลูกกระวาน ใบกระวาน กานพลู โป๊ยกัก๊ อบเชย เปราะหอม น�ำมาคัว่ ให้หอมแล้วโขลกให้เข้ากัน

พักไว้ แล้วน�ำเครื่องพริกแกงเขียวหวานหรือ เครื่องพริกแกงสดประกอบด้วยข่า ตะไคร้ หอมแดง กระเที ย ม รากผั ก ชี ผิ ว มะกรู ด พริกขี้หนูแห้งและสด ขิงแก่ กะปิเคย โขลก ให้ละเอียด จากนั้นน�ำเครื่องพริกแกงทั้งสด และแห้งทีโ่ ขลกไว้แล้วมาโขลกรวมเข้าด้วยกัน อีกที จนได้เครื่องพริกแกงที่มีทั้งรสเผ็ดของ พริกแกงและความหอมของเครื่องเทศผสม ผสานกันอย่างลงตัวและมีเอกลักษณ์ ต่อมาเป็นขั้นตอนการแกงที่ปรุงแบบแกง ทัว่ ไป ติดไฟในเตาแล้วตัง้ กระทะ เคีย่ วหัวกะทิ ให้แตกมันแล้วพักไว้ น�ำเครือ่ งพริกแกงทีโ่ ขลก รวมกันมาผัดให้หอม ค่อยๆ เติมหัวกะทิลงไป ทีละน้อย แล้วผัดไปเรื่อยๆ จนหอมและมีมัน ของกะทิลอยขึ้นมา พอหอมได้ที่ก็ใส่กุ้งลงไป ผัดคลุกเคล้ากับเครือ่ งพริกแกงให้เข้ากันจนสุก

จากนัน้ ใส่กระชายซอย ตามด้วยกะลาอ่อน คน พอเข้ากัน คราวนี้เติมหางกะทิลงไป ปรุงรส ด้วยน�ำ้ ตาลปีบ๊ และน�ำ้ ปลา เคีย่ วต่อจนเครือ่ งปรุง ทั้งหมดสุกเข้ากันจนได้ที่ ก็ใส่พริกชี้ฟ้าและ ใบโหระพา คนให้เข้ากันอีกครั้ง ก็เป็นอันจบ กระบวนการ ยกตักใส่ถ้วยเสิร์ฟได้เลย แกงกรุ บ มะพร้ า วกิ น กั บ ข้ า วสวยหรื อ ขนมจีนก็เข้ากัน ชาวบางกอบัวนิยมกินแกล้ม กับปลาเค็มช่วยเพิม่ ความอร่อย ความพิเศษอยู่ ตรงรสอร่อยของกรุบมะพร้าวทีไ่ ด้ความหวาน หอมแบบกินมะพร้าวอ่อน มีความกรุบไม่เหมือน เครื่องปรุงอื่น คลุกเคล้าไปกับเครื่องพริกแกง ที่ ร วมความหอมอร่ อ ยของเครื่ อ งเทศและ พริ ก แกงเข้ า ด้ ว ยกั น นั บ เป็ น เอกลั ก ษณ์ ที่มาจากภูมิปัญญาด้านอาหารของชาวสวน บางกอบัวที่สืบทอดกันมายาวนาน SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


C R A F T S M A N S H I P / N I PA - PA L M DY E I N G

NIPA-PALM DYEING

ผ้ามัดย้อมลูกจาก

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 105

เห็นย้อมครามมากันเยอะแล้ว ครัง้ นี้ มาย้อมลูกจากกันบ้าง เราเดินทาง ไปที่โรงเรียนวัดคลองสวนเพราะ ทราบมาว่าที่นี่เขามีการทดลอง ย้ อ มผ้ า ด้ ว ยลู ก จากจนเห็ น ผล ผ่านการจดลิขสิทธิเ์ ป็นทีเ่ รียบร้อย ทัง้ ลวดลายและสีทตี่ ดิ ลงบนผ้านัน้ ก็คงทนถาวรหลังผ่านการซักไป แล้วประมาณ ๑๐ ครั้ง hey said before we could T ever love anyone, we have to first learn to love ourselves. Likewise, before judging others, we must take a good look at ourselves and realize our weaknesses. Now, if we were to reach out our hands to support the great nature, we must be able to take a good responsibility of the nature closest to us.

ความทรงจ�ำของ คุณครูศรีอุไร แก้วมณี อาจารย์พเิ ศษในโครงงานวิชาชีพของโรงเรียน วัดคลองสวน คือ “เตี่ย” คุณครูจ�ำได้ว่าเมื่อตอนเด็กๆ พอพ่อหรือที่ อาจารย์เรียกติดปากว่า “เตีย่ ” เก็บลูกจากมาผ่า เตี่ยจะชอบเตือนว่า “กินระวังหน่อยเพราะ ถ้าน�ำ้ ลูกจากมันกระเด็นใส่เสือ้ จะซักไม่ออก” ซึ่งความเป็นเด็กในตอนนั้น อาจารย์ก็ไม่ได้ คิดอะไร กระทั่งมีโอกาสมาสอนที่โรงเรียน วั ด คลองสวนซึ่ ง มี ส ถานที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นละแวก ชุมชนทีล่ อ้ มไปด้วยต้นจาก จนกระทัง่ วันหนึง่ เด็กนักเรียนคนหนึง่ หิว้ ลูกจากมาจากบ้านและ บอกกับครูวา่ “ครูครับเดีย๋ วผมจะไปผ่าลูกจาก มากิน” คุณครูศรีอุไรได้ยินแบบนั้นก็หันไป บอกว่า “เออ ระวังล่ะ อย่าให้น�้ำมันกระเด็น ใส่เสือ้ มันจะซักไม่ออก” เด็กคนนัน้ หันมาบอก อาจารย์วา่ “ครูครับ งัน้ ครูกย็ อ้ มผ้าผมเลยสิครับ” และด้วยประโยคของเด็กนักเรียนคนนั้นนี่เอง จึ ง เป็ น ที่ ม าของจุ ด เริ่ ม ต้ น ในความคิ ด ของ การน�ำลูกจากมาทดลองในการย้อมผ้า โดยใน ช่วงเวลา ๒ ปี คุณครูศรีอุไรซึ่งอยู่ในช่วงวัย เกษี ย ณแล้ ว ได้ ใช้ เวลาทดลองย้ อ มผ้ า ด้ ว ย ลูกจากผ่านสมมุติฐานหลายข้อที่ตัวเองตั้งขึ้น “อันดับแรกซึ่งเป็นข้อมูลจากรุ่นพ่อแม่เรา คือต้องทุบลูกจากก่อน จากนั้นเวลาผ่ามัน จะมี สี ใ นลู ก จาก ลั ก ษณะออกเป็ น ยางๆ น�้ ำ ๆ กระเด็ น ออกมา พอได้ ม าแล้ ว ก็ ล อง เอาทั้ ง ลู ก ไปต้ ม โดยไม่ ทุ บ ซึ่ ง ก็ มี สี อ อกมา

Since it is pretty common to see indigodyeing, it is now time to get to know nipa-palm dyeing. We travel to Wat Khlong Suan School as we were told about their successful experiment on natural dyeing with nipa palm fruits which has also been copyrighted. The pattern and color on the fabric remain vibrant even after a dozen washes. A memory of Teacher Sri-Urai Kaewmanee, a specialist instructor of Career Skills Development Project at Wat Suan Dok School is "Tia (a common term for dad among Chinese or Sino-Thai people)." The instructor remembers clearly back when she was a child, her father, whom she usually refers to as "Tia," collected some nipa palm fruits and about to cut them open. He would always warned her, "Eat carefully because if the juice of nipa palm fruit spills on your shirt, you won't be able to wash it off." As a child, she did not take his words seriously until she received an opportunity to teach at Wat Khlong Suan School, whose nearby community was surrounded with nipa palm trees. One day, one of her students brought nipa palm fruits from his home and said to her, "Miss, I'd like to cut open these nipa palm fruits to eat." As Teacher Sri Urai heard his request, she turned and said "Yeah, but be careful. Don't let the juice splash on you. You won't be able to wash it off." To her surprise, the student replied, "Miss, then why don't you just dye clothes with it?" That one sentence of her student triggered the idea of utilizing nipa palm fruits in clothes dyeing experiment. For SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


บ้างแต่เป็นสีจางๆ เราก็เลยลองเปลี่ยนวิธี โดยใช้ค้อนทุบลงไปที่ลูกจากก่อน จากนั้น น�ำไปผ่านน�ำ ้ ล้างในหม้อ เอ๊ะ ! สีมนั ออกมาดีเลย แต่ ไ ม่ เข้ ม ก็ เ อามาทดลองต่ อ อี ก ด้ ว ยการ เอาไปต้ม ก็เจอว่าใช่เลยนี่แหละ” สี ท่ี ไ ด้ จ ากการทุ บ ลู ก จากแล้ ว ค่ อ ยเอา ลงไปต้ ม นั้ น ได้ อ อกมาเป็ น สี ที่ เข้ ม ข้ น แต่ กระบวนการทดลองยั ง ไม่ จ บ เพราะสิ่ ง ที่ ส�ำคัญคือแล้วจะท�ำยังไงให้สตี ดิ ผ้าโดยทีไ่ ม่หลุด ลอกออกง่าย “เตี่ยของครูเคยบอกว่าเวลาเขาย้อมอวน ซึ่งเขาเรียกกันว่าเซี้ยบ เขาจะใช้เกลือแช่ลง ไปด้วยเพือ่ ให้อวนมีเส้นเหนียวทน และสีไม่หลุด ครู ก็ เ ลยลองเอาผ้ า ที่ ย ้ อ มแล้ ว ไปแช่ เ กลื อ ปรากฏสีมันก็ยังมีหลุดบ้าง ครูเลยเพิ่มเวลา มากขึน้ ในการแช่จนพบว่าไม่มสี หี ลุดลอกแล้ว แต่ครูรู้สึกอยากให้มันได้ผลดีกว่านี้อีกก็เลย ลองต้มผ้าไปนานๆ จนกว่าจะได้สีที่เราพอใจ กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

ซึ่งลูกจากอ่อนกับลูกจากแก่ เวลาท�ำออกมา ก็ได้สีของความเข้มความอ่อนที่ไม่เหมือนกัน อีกนะ” หลังจากใช้เวลาในการน�ำผ้าลงไปต้มโดย แช่ผ้าไว้ในหม้อ ๑ คืน เพื่อให้สีที่นอนก้นอยู่ ในหม้อนั้นซึมผ่านเข้าไปติดผ้าได้ดี ก็มาถึง กระบวนการของการน�ำผ้าไปตากเพื่อให้สีติด แน่นเพิม่ ขึน้ แต่เวลาตากต้องตากให้แห้งสนิท วันไหนมีฝนตกสลับไม่เป็นไร ตากมันทิ้งไว้ แบบนั้นจนกว่ามันจะแห้ง จนเมื่อแห้งสนิทดี แล้วก็นำ� ไปแช่ในน�ำ้ เกลือ ซึง่ หลังจากแช่นำ�้ เกลือ ผ่านไปอีก ๑ คืน ก็น�ำไปซัก ซึ่งในขั้นตอนนี้ อาจต้องผ่านการซักเป็นสิบๆ ครัง้ โดยวิธสี งั เกต คือเมื่อไหร่ก็ตามที่ซักแล้ว ไม่มีสีอะไรออกมา จากผ้าเลยแม้แต่นิด แสดงว่าเป็นผ้าย้อม ลูกจากทีเ่ สร็จสมบูรณ์ ในส่วนของประเภทผ้า ที่จะน�ำมาย้อมสีลูกจากได้นั้น ถ้าเป็นผ้าที่ ท�ำมาจากใยสังเคราะห์ สีจะไม่ตดิ ส่วนผ้าไหม

two years during her retirement age, Teacher Sri-Urai had been exploring various dyeing techniques according to all her own hypotheses. "The first thing I did, which of course is what i learned from my parents generation, was smashing the nipa palm fruit. When I cut it open, the rather gluey fluid color inside the fruit splashed out. Well, at first, I tried boiling the whole fruit without smashing. The color did come out but it was pale. So, I decided to try another technique using a hammer to smash directly on to the nipa palm fruits before rinsing with water in a pot. The color did come out nicely too but it was still not dark enough. And so, I pushed the experiment a little further. I tried boiling the color and it turned out to be just right!" The color derived from smashing the nipa palm fruits before boiling was intense. However, the experiment process was not over as there was still SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 107

an important question left: how to keep the colorant fastened to the fabric without coming off so easily? "My Tia once told me that when he was dyeing his fishing net, which he called "Siep." he would add some salt to it to make the net stronger and the color even more durable. Therefore, I tried soaking dyed clothes in saline water. As some color still came off, I let them sit longer and longer until I found that no more color came off. Even so, I felt the result could get better so I boiled the clothes again and waited till they achieved the color that I was hoping for. Again, there is a difference between a young and an old nipa palm fruit as they offer different shades of color." After boiling the clothes and leaving it all soaked in the pot overnight so that the color that settled at the bottom of the pot could thoroughly infiltrate into the fabric, the next step was to hang the clothes to dry for a better fastness. I had to make sure they dried completely. If it rained sometimes during the day, that would still be fine. I would just keep them hanging till they dried. Once they were absolutely dry, I soaked them in saline water for another night and then they were ready for a wash. This washing process might take up to a dozen times. Only when not even the slightest bit of color came off, the nipa-palm-fruit dyeing could be considered complete. Now, in terms of fabrics that can be dyed with nipa-palm-fruit dyestuff, synthetic fabrics are undyeable whereas silk has a poor fastness. It appears that the fabrics with the best fastness to colorants from nipa palm fruits are muslin and linen which are both natural fabrics. When a shiny fabric like linen meets the colorant, the result is even more beautiful. At Wat Khlong Suan School, Teacher Sri-Urai brings her experiment from home and passes on the knowledge to her students. Some folds of dyed clothes are transformed into products including hats, keychains andlamps which are sewn and made by the hands of students with different ages. Some are distributed to teachers at the school to tailor a uniform, which they sometimes arrange to wear it on the same date. Who would have believed that a childhood memory of a retired teacher and a sentence said by her father could lead to a new craft work? The versatile nipa palm trees keep the investment very low but the patterns on each and every piece of fabrics in return are absolutely unique and special like none other in the world.

ก็ติดได้ไม่ดี ผ้าที่ย้อมลูกจากได้ดีที่สุด คือ มัสลินกับลินิน ซึ่งเป็นเส้นใยธรรมชาติที่ดี เหมาะกับการย้อมลูกจาก ยิง่ ลินนิ ซึง่ เนือ้ ผ้า มีความเงา พอเจอสีผสมเข้าไปก็ยงิ่ สวยใหญ่ ที่โรงเรียนวัดคลองสวน คุณครูศรีอุไร ได้น�ำสิ่งที่ตัวเองทดลองมาแล้วจากที่บ้าน น�ำมาส่งมอบต่อเป็นความรูใ้ ห้กบั เด็กๆ โดย ผ้าที่ผ่านการย้อมมาเป็นพับๆ แล้วถูกน�ำ มาแปรผลิตภัณฑ์เป็นหมวก พวงกุญแจ โคมไฟ ซึ่งเย็บและท�ำเองโดยเด็กนักเรียน

โรงเรียนวัดคลองสวน (พรหมอุทิศวิทยาคาร) เลขที่ ๑ หมู่ ๓ ถนนประชาอุทิศ ๙๐ ต�ำบลบ้านคลองสวน อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๙๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๙๔๔๙ ๘๖๑๗ (อาจารย์ศรีอุไร แก้วมณี)

ในช่วงวัยต่างๆ รวมทัง้ แจกจ่ายให้กบั คุณครู ในโรงเรี ย นเพื่ อ น� ำ ไปตั ดเป็นเครื่องแบบ และนัดใส่มาที่โรงเรียนในวันเดียวกัน ใครจะเชื่ อ ละคะว่ า จากความทรงจ� ำ วั ย เด็ ก ของคุ ณ ครู วั ย เกษี ย ณกั บ ประโยค ทีเ่ ตีย่ พูด จะน�ำมาซึง่ การคิดค้นเรือ่ งราวใหม่ ของงานฝีมือกับต้นจากสารพัดประโยชน์ ที่ลงทุนน้อยมาก แต่ผ้าทุกผืนที่ได้กลับมา มันคือลายเดียวชิ้นเดียวในโลก

WAT KHLONG SUAN SCHOOL (PHROM UTHIT WITTAYAKHAN) Address: 1 Moo 3, Pracha Uthit 90 Road, Ban Khlong Suan Sub-District, Phra Samut Chedi District, Samutprakan, 10290 Tel: 08 9449 8617 (Ajarn Sri-Urai Kaewmanee)

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


OTO P S H O P P I N G / S U N F LOW E R C A R P E TS

พรมอเนกประสงค์ ๑ ชิน้ เล็กๆ ทีว่ างขาย อยู ่ ใ นตลาดทั่ ว ไป มั ก มี จุ ด ประสงค์ ในการใช้งานเพียงเพื่อเช็ดเท้า แต่พรม ดอกทานตะวัน ๑ ชิน้ ของกลุม่ วิสาหกิจ ชุมชนเกษตรกรบางปูพัฒนา สารพัด ประโยชน์กว่านั้น เพราะนอกจากใช้ เช็ดเท้าแล้วยังสามารถใช้ตกแต่งบ้าน แขวนผนัง หรือเป็นที่รองนั่งบนเก้าอี้ ในส�ำนักงาน สร้างบรรยากาศรอบตัว ให้สดใสขึน้ small piece of multi-purpose A carpet placed on sale in the market are usually made to serve one sole purpose to wipe your feet. However, one piece of sunflower carpet of this Farmer Community Enterprise of Bang Pu Pattana is far more versatile. Besides feet wiping, it can also be used to decorate your house, put on a wall or used as a seat cushion on your everyday office chair to brighten up your days at work.

FROM A HAMMERED THAI SOUP SPOON HANDLE TO

MULTI-PURPOSE SUNFLOWER CARPETS จากด้ามช้อนถูกทุบแบนสู่

พรมอเนกประสงค์ดอกทานตะวัน กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 109

We are given an oppor tunity to meet up with Aunty Saiyut Poonsawad, the head of Farm Women Group of Farmer Community Enterprise of Bang Pu Pattana. If you only take a quick glance, you might think she is just an ordinary farmer who decided to just get up and make a business out of a pinch of local wisdom. However, after having a talk with her, it turns out that the way she works is no different from the new generation of designers. She always carries a notebook with her to jot down and roughly sketch her ideas and inspiration as they pop up whenever she attends a training, a seminar or even on her way to somewhere before they scatter. She tells us that when she was a child, the scene that she always saw was her grandparents and her own parents sitting together weaving mats using materials like reed and pandan leaves. By the time she grew up, due to the changing era, the wisdom from her grandparents generation became merely a faded picture. Nonetheless, one day, she had a chance to establish a Farm Women Group and constantly travel to many different places to observe and study. Over some years, she accumulated knowledge and life experiences in many dimensions little by little including management. At one point, she integrated all her long accumulated knowledges including the arts and skills in sewing, resources management and local wisdom from various regions she previously visited. "One day, I went to a carpet manufacturer on an observation trip. The carpet used leftover oil residue as the base layer for a tuft of cotton wool with carpet adhesive injected in between before going into a grinding machine which worked exactly like a local dried squid grinder. Then, they would cut and trim off the excess which immediately went to waste. When I first saw these stripy rims, I thought they looked familiar and that it could be woven into something nice and so I asked for a permission and brought a pile of them back home."

เรามีโอกาสพบกับ คุณป้าสายหยุด พูลสวัสดิ์ ผู ้ น� ำ กลุ ่ ม แม่ บ ้ า นของกลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน เกษตรกรบางปู พั ฒ นา ซึ่ ง หากได้ รู ้ จั ก กั บ คุณป้าเพียงแค่ผ่านๆ เราอาจมองว่าคุณป้าก็ เหมือนชาวบ้านทั่วไปที่ลุกขึ้นมาท�ำธุรกิจจาก ภูมิปัญญาที่มีอยู่ในตัว แต่เมื่อลองได้นั่งคุย กับคุณป้าเป็นเรื่องเป็นราวแล้วพบว่าวิธีการ ท�ำงานของคุณป้าไม่ตา่ งอะไรกับนักออกแบบ รุน่ ใหม่ทวั่ ไปเลย คุณป้าจะมีสมุดติดตัว ๑ เล่ม เวลาต้ อ งไปสั ม มนาอบรมที่ ไ หนหรื อ เกิ ด แรงบันดาลใจอะไรขึน้ ระหว่างทาง คุณป้าก็จะ จดจะวาดมันลงไปเพื่อไม่ให้ตัวเองลืม คุณป้า เล่าว่าสมัยตอนเป็นเด็ก ภาพทีค่ ณ ุ ป้าเห็นทุกวัน คือปูย่ า่ และพ่อแม่ชว่ ยกันนัง่ สานเสือ่ จากต้นกก และต้นเตย จนคุณป้าโต ยุคสมัยเริม่ ผลัดเปลีย่ น ภูมิปัญญาสมัยปู่ย่าเหล่านั้นค่อยๆ เป็นภาพที่

รางเลือนไป กระทัง่ วันหนึง่ เมือ่ คุณป้ามีโอกาส ตั้งกลุ่มแม่บ้านขึ้นและได้ไปดูงานตามที่ต่างๆ คุณป้าจึงค่อยๆ เก็บเกี่ยวความรู้ในมิติต่างๆ อย่างละนิดละหน่อย ซึ่งรวมไปถึงเรื่องของ การบริหารการจัดการ กระทั่งมาถึงจุดหนึ่ง คุ ณ ป้ า ก็ น� ำ ความรู ้ จ ากศาสตร์ ทั้ ง หมด ที่สะสมมานาน ทั้งการเย็บผ้า การบริหารคน และความรู้จากภูมิปัญญาชาวบ้านในภาค ต่างๆ ที่เคยได้ไปแลกเปลี่ยนท�ำความรู้จัก มาจับทั้งหมดมาผนวกเข้าด้วยกัน “วันหนึ่งป้าได้ไปดูงานที่โรงงานผลิตพรม ซึ่งพรมมันท�ำมาจากกากน�้ำมัน ส่วนที่เหลือ แล้วเขาจะเอามาท�ำเป็นชั้นของปุยฝ้ายสลับ กับการฉีดกาวและเอาไปเข้าเครือ่ งบด ซึง่ การ ท�ำงานของเครือ่ งบดนีจ่ ะบดแบบบดปลาหมึก เลยนะ จากนั้นเขาก็เอามาตัด มันมีส่วนของ SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


เศษริมเป็นเส้นๆ ที่เขาตัดออกและเอาไปทิ้ง พอป้ า ไปเจอก็ เ อ๊ ะ ไอ้ เ ส้ นๆ นี่มัน คุ้น ๆ นะ ลั ก ษณะของมั น น่ า จะเอาไปสานอะไรได้ คิดแบบนัน้ ก็เลยขอเขากลับมาบ้านหอบหนึง่ ” หลังหอบส่วนที่เหลือใช้จากการผลิตพรม ของโรงงานกลับมาบ้าน คุณป้าเทลงพื้นและ แยกสีออกเป็นกองๆ ทดลองนั่งสานในแบบ ที่เคยเห็นแม่นั่งสานเสื่อจนได้ออกมาเป็นเสื่อ ผืนเล็กๆ ที่ยังไม่ลงตัว ต้องพัฒนาแนวคิดต่อ “คราวนี้ป้าก็ไปเดินตลาด ไปเจอพรมขาย ส�ำเร็จ เราก็เลยลองวัดขนาดพรมชิ้นว่าจะ ต้องมีขนาดกว้างยาวเท่าไหร่ พอกลับมาบ้าน ป้าก็มานั่งเย็บจนออกมาเป็นพรม มีกุ๊น แต่ง ขอบบ้าง ท�ำไปท�ำมาคราวนี้เลยเริ่มท�ำจริงจัง กลุ่มแม่บ้านของเรากลับไปที่โรงงานนั้นอีก เพื่อไปขอซื้อเศษที่เขาไม่ใช้ ขนมาเป็นคันรถ เลยนะ ซึ่งเศษริมพวกนี้มีหลายขนาดทั้งยาว ทัง้ สัน้ เราก็มานัง่ นึกว่าแล้วจะท�ำอะไรกับเศษ ที่มันไม่เท่ากันนี่ดีล่ะ” กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

ภูมิปัญญาชาวบ้านก็เรื่องหนึ่ง แต่อีกมุม ที่เรามองเห็นในตัวคุณป้าและกลุ่มแม่บ้าน กลุ ่ ม นี้ คื อ มี ค วามเป็ น ศิ ล ปิ น ในตั ว สู ง มาก เพราะคิดดูว่าเศษริมที่ไม่เท่ากันเลยสักนิด แต่คณ ุ ป้าและเพือ่ นๆ กลับใช้ความไม่เรียบร้อย เหล่านั้นมาสร้างพรมที่มีรูปทรงคดโค้งและ รอยหยักโดยใช้ดอกทานตะวันเป็นต้นแบบ และคนเขี ย นแบบก็ ไ ม่ ใช่ ใ คร คื อ คุ ณ ป้ า สายหยุดนี่เอง โดยมีอุปกรณ์ส�ำคัญ คือดินสอ และช้อนกลาง ๑ คัน “ป้าเอาไอ้ช้อนนั่นละมาทุบตรงส่วนด้าม ให้แบนที่สุดและใช้ดินสอวาดตามส่วนโค้ง ของมันออกมา จากแบบที่วาดก็ค่อยๆ เอามา ขยายในส่วนของการเย็บจริง อย่างพรมดอกไม้ ต่อชิ้นที่เห็นอยู่นี้มีส่วนประกอบที่ต้องน�ำมา เย็บเข้าด้วยกัน ๓๐ กว่าชิ้นนะ ต่อวันพวกเรา ผลิตพรมดอกทานตะวันได้ประมาณ ๑๐๐ ชิน้ เรียกว่าลูกน้องป้าเย็บกันเป็นไฟแลบเลยล่ะ ขายชิ้นละ ๓๕ บาท”

When she got home, aunty poured the excess from carpet manufacturing on to the ground and separated them by color. She experimented weaving them into a small mat the way her mother did in the past, although she still felt it was a bit lacking and needed more thought. "This time, I went for a walk in the market and ran into a ready made carpet and measured its size to get a rough idea on how long it should be on each side. When I got home, I kept sewing until it formed into a carpet with a little hem here and a little trim there. As I continued, it got serious. Our Farm Women Group went back to the manufacturer and asked if we could buy the leftover rims that they no longer use and we ended up coming back home with our car fully loaded with mixed sizes. We even had a brainstorm to explore the possibilities we could take with these uneven bits and pieces."

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 111

Local wisdom is one thing but what we clearly see in her and this Farm Women Group is how highly artistic they are. Just by looking at those rims in various measured its size into a carpet with little curves after a sunflower. The designer is no one else but Aunty Saiyut with only a pencil and a Thai soup spoon as her designing tools! "I just use a regular Thai stainless steel soup spoon, smashed its handle as flat as I possibly can and draw along its curve with a pencil. From there, I incorporated the model and develop it into a larger scale. Like this sunflower carpet that you can see here is made of over thirty pieces binded together. On an average, we produce up to a hundred sunflower carpets per day. Let's just say my subordinates all work at a lightning speed. It is sold at 35 baht per piece. Today, multi-purpose carpets by Farm Women Group of Farmer Community Enterprise of Bang Pu Pattana are certified by Community Product Standard Certification. Aunty handed us her business card displaying her name and a small crab logo which symbolizes the Farm Women Group. "We are from Bang Pu (where Pu is a Thai term for crab) so it has to be a crab. But what crab we should use...a black crab or a red crab... is another story." Aunty Saiyut explained. Nowadays, each page in Aunty Saiyut's notebook is filled with all the details and thoughts that she kept jotting down wherever she goes. Her little notebook is a great collection of her inspiration illustrated by her hand drawing and scribbles waiting to be put together into new product ideas in a unique style by the talented designer named Aunty Saiyut!

ปั จ จุ บั น พรมอเนกประสงค์ โ ดยกลุ ่ ม แม่บ้านกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรบางปู พัฒนาได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ชุมชน (มผช.) เป็นที่เรียบร้อย คุณป้ายื่น นามบัตรของตัวเองให้เราดู บนนามบัตรนั้น ประกอบด้วยชือ่ คุณป้าและโลโก้กลุม่ แม่บา้ น ที่มีปูเป็นสัญลักษณ์ “เราอยูบ่ างปูเราก็ตอ้ งใช้ปสู ิ ส่วนจะปูอะไร ปูแดงปูดำ� ก็วา่ ไป” คุณป้าสายหยุดว่าแบบนัน้

ทุ ก วั น นี้ ห น้ า กระดาษในสมุ ด ที่ คุ ณ ป้ า จดโน่นจดนี่ไว้เต็มไปหมดและมักพกติดตัว ไปไหนมาไหนด้ ว ยเสมอ เต็ ม ไปด้ ว ยแรง บันดาลใจที่ทั้งวาดและเขียนสะสมไว้เพียง เพื่อรอจังหวะและโอกาสที่จะได้น�ำความคิด เหล่านั้นออกมาประกอบร่างในการสร้าง ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ด้วยสไตล์ของนักออกแบบ ที่ชื่อคุณป้าสายหยุด

กลุม่ วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรบางปูพฒ ั นา เลขที่ ๑๖๓ หมู่ ๔ ต�ำบลบางปู อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๘๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๗๐๗ ๖๗๑๑, ๐๘ ๙๐๕๓ ๗๕๔๕ FARMER COMMUNITY ENTERPRISE OF BANG PU PATTANA Address: 163 Moo 4, Bang Pu Sub-District, Mueang District, Samutprakan 10280 Tel: 0 2707 6711, 08 9053 7545 SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


E AT & D R I N K / C A F É D E C A N A L

MULTIPLE WAYS TO RELAX BY THE STREAM

CAFÉ DE CANAL

กาแฟริ ม คลอง ผ่อนคลายหลากสไตล์ชายน�้ำ

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 113

หลังจากซอกแซกเข้าไปตาม เส้นทางในซอยสุขสวัสดิ์ ๖๖ จนถึ ง ริ ม คลองขุ ด เจ้ า เมื อ ง ทันทีทพี่ บกับร้านกาแฟสุดเท่ แอบอยู่เงียบๆ ในบรรยากาศ ร่ ม รื่ น ริ ม คลองสายเล็ ก ๆ ก็ท�ำให้รู้สึกคุ้มค่าขึ้นมาทันที ที่เลือกมาชิมกาแฟที่นี่ fter turning into a A small alley down Soi Suksawad 66 onto

the waterside of Khlong Khut Chao Mueang (or Chao Mueang Dug Canal), upon finding a super cool coffee shop hiding secretly among a peaceful and shady environment next to a small canal will leave any visitor feel worthwhile of such journey deciding to grab a cup of coffee here.

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


แม้อยูล่ กึ เข้ามาในซอย ร้านกาแฟริมคลอง café De Canal ก็หาไม่ยาก แค่ตามป้ายตลาดน�ำ้ คลองขุดเจ้าเมือง ตลาดน�้ำแห่งใหม่ของย่าน สุขสวัสดิ์ที่เพิ่งเปิดได้ไม่นาน ก็ถึงร้านกาแฟ ริมคลองได้ง่ายๆ เพราะตั้งอยู่ติดกัน ตัวร้านเป็นอาคารเรือนกระจกสไตล์โมเดิรน์ ๒ หลัง ตั้งโดดเด่นอยู่ริมคลองขุดเจ้าเมือง สมชื่อ ด้านนอกมีทางเดินริมน�้ำเชื่อมถึงกัน พร้ อ มโต๊ ะ เก้ า อี้ ใ ห้ นั่ ง เล่ น ชมบรรยากาศ และปูพื้นไม้ไผ่ยื่นออกไปเป็นแบบเรือนแพ ริ ม น�้ ำ ให้ นั่ ง พั ก ผ่ อ นริ ม คลองอย่ า งใกล้ ชิ ด ดู ฝู ง ปลาสวายจ� ำ นวนมากแหวกว่ายในน�้ำ และสามารถสนุกกับกิจกรรมให้อาหารปลา ได้ดว้ ย ฝัง่ ตรงข้ามยังเห็นกอต้นจากขึน้ รวมกัน เป็นตัวแทนธรรมชาติที่เหลืออยู่ของคลอง ขุดเจ้าเมือง ช่วงกลางวันลูกค้าชอบเลือกนั่งสบายๆ ภายในห้องแอร์ของเรือนกระจกทั้ง ๒ หลัง หลั ง ใหญ่ เพิ่งสร้างเสร็จไม่นาน เป็นจุดตั้ง เคาน์เตอร์ให้ลูกค้าสั่งเครื่องดื่มและอาหาร แล้วจ่ายเงิน ก่อนไปเลือกมุมนัง่ ทีถ่ กู ใจ พนักงาน จะตามไปเสิ ร ์ ฟ ให้ ส่ ว นใหญ่ ลู ก ค้ า มั ก นั่ ง ในเรือนกระจกซึ่งตกแต่งอย่างเก๋ไก๋ ผนังอิฐ ทาสีขาวด�ำสบายตา เต็มไปด้วยมุมเซลฟี่เท่ๆ บนโต๊ะมีเกมไว้ให้เล่นเพลินๆ อีกด้วย Despite a long stroll into the alley, it is not difficult to locate this riverfront coffee shop called Café de Canal. Simply follow the sign that says Khlong Khut Chao Mueang Floating Market, which is the newest floating market in Suksawad neighborhood, and the coffee shop is right next to it. As suggested by the name, this coffee shop is consisted of two modern glass houses situated by the canalfront of Chao Muang Dug Canal. On the outside, walkways by the water are all connected and cozy seats are provided to sit back, relax and enjoy the open-air ambience. Bamboo floor extended into the canal in mimic of traditional bamboo houseboat allows visitors to get in sync with the serenity of the canal, watch a bunch of striped catfishes swimming by or have fun with fish-feeding activity. Looking across the canal, there are small clumps of Nipa Palm representing the remaining natural environment of Chao Muang Dug Canal.

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 115

During the daytime, customers usually prefer to sit comfortably in air-conditioned room of both glasshouses. The recently built big glasshouse is where the counter service is positioned. Here, the customers may order and pay for their drinks and food before walking inside to choose their favorite corner. The staff will then serve the food and drinks. The popular corner among the customers seems to be the inside the glasshouse which is decorated with brick walls painted in a sleek Black & White theme with many awesome corners for a selfie and some board games on the table to enjoy.

cake with soft ganage that everyone finds its soft texture and the richness of the chocolate so addictive. As for cold drinks, Cold-coffee of exclusive recipe and Mint-Latte are also very tempting to try, although the one that wins most customers' hearts is Matcha Frappe is rich in taste, the right sweetness and a perfect match with a large bowl of Strawberry Waffle with Vanilla ice-cream. The selling point of this coffee place is not limited to coffee and sweets, but also the marvelous taste of the Thai-Western Fusion food. When Toon or Nattaphon Ayucharoen, the

At cafĂŠ de Canal, the finest selection of coffee beans from various countries are medium-roasted at the right temperature for both a House Blend and a Classic Blend. Thus, every cup is neither too dark or bitter but rather gives a balanced flavor and aroma. It is recommended to pair your coffee with bestselling bakery like chocolate cake or chocolate

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


ทีน่ คี่ ดั สรรเมล็ดกาแฟชัน้ ดีจากหลายประเทศ ผ่านการคั่วอย่างเหมาะสมทั้ง House Blend และ Classic Blend คั่วกลาง ไม่เข้มหรือ ขมเกิ น ไป ให้ ร สชาติ ล ะมุ น ถู ก ใจคอกาแฟ สั่งกาแฟร้อนมาดื่มคู่กับช็อกโกแลตเค้กหรือ ช็อกโกแลตหน้านิ่ม เบเกอรี่ขึ้นชื่อของร้าน ทีล่ กู ค้าพากันติดใจในความอร่อยของเนือ้ เค้ก นุ่มๆ กับรสชาติช็อกโกแลตเข้มข้น รับรองว่า ใครได้ชิมเป็นต้องติดใจ หรือจะสั่งกาแฟเย็น สูตรพิเศษ ลาเต้มินต์ก็น่าลิ้มลอง ส�ำหรับ เครื่ อ งดื่ ม เย็ น ที่ ลู ก ค้ า ชื่ น ชอบต้ อ งยกให้ ชาเขียวปั่น อร่อยหวานมันเข้มข้น เข้ากันกับ ของหวานจานใหญ่ วาฟเฟิลสตรอว์เบอร์รี ไอศกรีมวานิลลา ร้านกาแฟริมคลองไม่ได้มีเพียงแค่กาแฟ และขนมหวานเป็ น จุ ด ขาย แต่ ต อบโจทย์ มากกว่านั้นด้วยความอร่อยของอาหารฟิวชัน ไทยตะวั น ตก ที่ เ ป็ น จุ ด ดึ ง ดู ด ลู ก ค้ า แบบ ร้ า นอาหารไปในตั ว เมื่ อ คุ ณ ตู น ณั ฐ พล อายุ เ จริ ญ เจ้ า ของร้ า นเคยเป็ น พ่ อ ครั ว ในร้านอาหารมาก่อน และมีความคิดอยาก ท�ำร้านของตัวเอง พอดีได้สถานที่ริมคลอง ตรงนี้ เห็ น ว่ า เหมาะจะท� ำ ร้ า นกาแฟกึ่ ง ร้ า นอาหารในบรรยากาศริ ม น�้ ำ จึ ง ตั้ ง ชื่ อ ง่ายๆ ตรงตัวว่า ร้านกาแฟริมคลอง เริ่มแรก ด้วยเรือนกระจกหลังเล็กเมื่อต้นปี จนเป็น

ที่ ติ ด ใจทั้ ง ในเรื่ อ งบรรยากาศ กาแฟ และ อาหารอร่อย จึงได้ขยายเป็นเรือนใหญ่ขึ้นมา เพื่อรองรับลูกค้าที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ รายการอาหารของที่นี่ไม่มีเนื้อหมู เพราะ แฟนคุณตูนเป็นมุสลิม ด้วยชุมชนละแวกนี้ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น มุ ส ลิ ม พ่ อ ครั ว คนเก่ ง อย่ า ง คุณตูนจึงคิดเมนูส่วนใหญ่เป็นอาหารทะเล ประยุ ก ต์ แ บบไทยและฝรั่ ง ได้ ล งตั ว ด้ ว ย สูตรเฉพาะ เน้นอาหารจานเดียวเพื่อความ สะดวกของลูกค้าในเวลาจ�ำกัด สปาเกตตี เ ส้ น ด� ำ ผั ด ฉ่ า ทะเล และสลั ด ปูอัดซอสงาคั่วญี่ปุ่น ถือเป็นอาหารจานเด็ด ที่ ลู ก ค้ า ชื่ น ชอบระดั บ ซิ ก เนเจอร์ ข องร้ า น เช่ น เดี ย วกั บ ข้ า วผั ด ต้ ม ย� ำ ทะเลใส่ กุ ้ ง และ ปลาหมึกผัดคลุกเคล้าเครื่องต้มย�ำรสจัดจ้าน ข้ า วผั ด ปลาสลิ ด ไข่ เ ค็ ม ที่ เ ลื อ กใช้ ป ลาสลิ ด ของดีเมืองสมุทรปราการมาประยุกต์เป็นเมนู ได้อย่างดี อาหารทีพ่ ลาดไม่ได้อกี จาน ขอแนะน�ำ ฮ่อยจ๊อปู เมนูกินเล่นที่กรอบอร่อยเต็มค�ำ ด้วยสูตรต้นต�ำรับของคุณย่า ร้ า นกาแฟริ ม คลองเป็ น ทั้ ง ร้ า นกาแฟ และร้ า นอาหารอร่ อ ยในบรรยากาศริ ม น�้ ำ มีมุม สวยๆ ให้ เ ลื อ กนั่ ง เพลิ น สบายทั่ ว ร้ า น ถึ ง อยู ่ ลึ ก เข้ า มาในซอย ก็ ไ ม่ น ่ า แปลกใจที่ ลูกค้าแวะเวียนมาอุดหนุน แล้วอย่างนี้คุณจะ ไม่อยากลองบ้างหรือ

ร้านกาแฟริมคลอง café De Canal ริมคลองขุดเจ้าเมือง ซอยสุขสวัสดิ์ ๖๖ แยก ๑ ต�ำบลบางพึ่ง อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๖๕๓๒ ๘๖๗๖ เปิดเวลา ๑๐.๐๐-๑๙.๐๐ นาฬิกา หยุดวันพฤหัสบดี café De Canal กาแฟริมคลอง CAFÉ DE CANAL Address: Rim Khlong Khut Chao Samut, Soi Suksawad 66, Yaek 1, Bang Phueng Sub-District, Phra Pra-Daeng District, Samutprakan 10130 Tel: 08 6532 8676 Open Hours: 10.00-19.00 (Closed on Thursday) café De Canal กาแฟริมคลอง

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 117

owner, who was once a professional chef at a restaurant, was planning on having a new restaurant of his own and found this location by the canalfront, he believed it to be a perfect spot for his new cafe & restaurant. Hence, he gave a simple and straightforward name, cafĂŠ de Canal. In the beginning, it started out with just a small glass house but as it grew more popular for its wonderful ambience, delicious coffee and food, a big glass house was built in addition to its original one to welcome the ever-increasing customers. Together with the fact that his girlfriend and the majority of the nearby

community are Muslim, a brilliant chef like Toon came up with a list of menus that are mostly seafood based with a beautiful fusion twist of Thai and Western styles. He primarily focuses on one-dish menus to provide more convenience for the customers with limited time.

Fish and Salted Egg is another wonder collaboration with Samutprakan's product excellence, gourami fish. Moving on to snack, Deep-Fried Crabmeat Roll is another must-try dish with all the crispiness and delicacy in every bite delivered straight out of Toon's grandmother's recipe.

Black Spaghetti stir-fried with seafood and spicy thai herbs and Crab Stick Salad with Japanese roasted sesame dressing are the top-selling signature dishes. Adding to the list, Spicy Seafood Tom-Yum Fried-Rice features fresh shrimps and squids with savory Tom-Yum spices. Fried-Rice with Crispy Gourami

cafĂŠ de Canal is both a coffee shop and a restaurant in a canalside ambience with all the photogenic corners to sit comfortably. Therefore, even the place is deep within the alley, it is not a surprise to see more and more customers come pouring in. Now, would you not like to give it a try? SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


E AT & D R I N K / J E P O R N S E A F O O D N O O D L E S

JE PORN SEAFOOD NOODLES TASTINESS IN EVERY BITE

ก๋วยเตี ย ๋ วทะเลเจ๊ พ ร ครบเครื่องเรื่องอร่อย ไม่น่าเชื่อว่าร้านอาหารเล็กๆ แบบบ้านๆ ริมทางเช่นนี้จะมีเมนูมากมายให้เลือกอร่อย ได้เต็มอิม่ ทัง้ อาหารจานเดียว ไปจนถึงซีฟดู้ รสเด็ด อยากเชื้อเชิญให้ผู้เดินทางผ่านไป แหลมฟ้าผ่าลองแวะชิมความอร่อย กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

ก๋วยเตีย๋ วทะเลเป็นซิกเนเจอร์ทเี่ จ๊พรน�ำเสนอ เป็นจุดขายมาแต่แรก แค่เห็นเครือ่ งเคราจัดแต่ง ใส่ชามอย่างน่ากินก็เชือ่ แน่วา่ อร่อย เน้นความสด ของซีฟดู้ เป็นเคล็ดลับส�ำคัญ ทัง้ วัตถุดบิ ในพืน้ ที่ และที่น�ำเข้าจากตลาดมหาชัย กุ้งสด หมึกสด

ได้รสหวานอร่อย ลูกชิน้ ปลาและเกีย๊ วปลาชัน้ ดี ไร้คาว ได้รสเนื้อปลาแท้ น�้ำซุปรสกลมกล่อม ใส่เครือ่ งปรุงต้มย�ำได้รสแซ่บพอเหมาะ จนลูกค้า ไม่ตอ้ งปรุงเพิม่ ก็อร่อยได้พอดี ยิง่ ก๋วยเตีย๋ วแห้ง จะรู ้ ถึ ง ความสดอร่ อ ยของเครื่ อ งปรุ ง ซี ฟู ้ ด ที่จัดใส่มาให้เต็มพิกัด ความทีเ่ ป็นคนชอบชิมอาหารและท�ำอาหาร เจ๊พร หรือ คุณณฐา พัฒนเอกภิญโญ จึงเริม่ คิด เปิดร้านอาหารเพือ่ บริการอาหารอร่อยแก่ลกู ค้า ทั้งเห็นว่าแหลมฟ้าผ่าเป็นแหล่งอาหารทะเล ทัง้ ที น่าจะเปิดร้านขายอาหารทะเลเมนูงา่ ยๆ บริการลูกค้า ร้านเล็กๆ ริมทางแห่งนีจ้ งึ เริม่ ขึน้ เมื่อ ๑๓ ปีที่แล้ว ภายในร้านจัดวางโต๊ะง่ายๆ ทาสีสวยหวานสบายตา เน้นความอร่อยของ รสชาติ อ าหารเป็ น จุ ด ขาย ด้ า นหลั ง มี โ ต๊ ะ รองรับลูกค้าพร้อมชมวิวของคลองสรรพสามิต เมือ่ รสอร่อยของก๋วยเตีย๋ วทะเลเป็นทีต่ ดิ ใจ ลูกค้า เจ๊พรจึงเติมเมนูอาหารตามสั่งราดข้าว เพิม่ อีก ทัง้ ผัดกะเพรา ผัดฉ่า ผัดพริกแกง ฯลฯ มีเครื่องปรุงทะเล หมู เนื้อและไก่ เป็นทาง เลือกครบครัน เน้นพริกแกงท�ำเองทุกอย่าง ได้ความหอมเครื่องเทศแบบไทยๆ จากนั้นก็ เพิ่ ม เมนู กับข้าวไปด้วย ทั้งต้ม ผัด และย�ำ มีตม้ ย�ำรสแซ่บหลายสูตรเป็นอาหารแนะน�ำ รวมทั้งอาหารสูตรพื้นบ้านปักษ์ใต้ ร้านเล็กๆ ของเจ๊ พ รจึ ง เต็ ม ไปด้ ว ยเมนู น ่ า กิ น ส� ำ หรั บ ลูกค้าทุกกลุ่ม ในส่วนของเครือ่ งดืม่ มีนำ�้ ผลไม้หลายอย่าง ที่ ท างร้ า นท� ำ เองไว้ เ สิ ร ์ ฟ ลู ก ค้ า แถมด้ ว ย ขนมหวานเป็นของก�ำนัลตอบแทนให้ลูกค้า ตักกินได้ฟรี แต่ละวันหมุนเวียนไปไม่ซ�้ำกัน เคล็ดลับทีส่ ามารถท�ำอาหารได้มากมายเช่นนี้ เพราะเจ๊ พ รเทรนที ม แม่ ค รั ว จากชาวบ้ า น ในพื้นที่ช่วยงานอย่างครบครัน เมื่อมาถึงแหลมฟ้าผ่า ร้านเจ๊พรจึงเป็น ทางเลือกที่ตอบโจทย์ความอร่อยได้ครบถ้วน ไม่ว่าอยากกินก๋วยเตี๋ยวทะเล หรือต้มย�ำกุ้ง รสแซ่บ รับรองอร่อยถูกใจทุกเมนู SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 119

unbelievable that such Icanta issmall roadside restaurant have so many temptingly delicious menus to offer ranging from à la carte menus to savory seafood dishes. We would like to invite anyone who plans to travel to Laem Fa Pha area to give it a go.

Seafood noodles have been Je Porn's signature dish from the very beginning. With just glimpse of fresh ingredients displayed in the dish, you can be sure of its promising taste. The key secret is the absolute freshness of each and every ingredient, which are all local produces. Delivered straight from Mahachai Seafood Market every morning, fresh prawns and squid are naturally sweet, likewise, fish balls and fish wontons are of the best quality, thus, never taste or smell fishy. Together with such freshness, Je Porn meticulously broils the soup and seasons it to that just-right Tom-Yam taste. As a person who loves food tasting and cooking, Je Porn, or Natha Pattanaekyothink, felt the urge to open up a restaurant where she can share her tasty recipes with customers. Since Laem Fa Pha is an amazing source of seafood, she decided to go with simple seafood dishes. This small streetside restaurant started out 13 years ago. There are some small pastel dining sets casually decorated inside, but the selling point of this shop is the tastiness of the food. At the back, there are a few more tables for those who would like to enjoy the view of Sapphasamit Canal. As her delicious seafood noodles becomes an addictive menu to the customers, Je Porn added many one-dish menu to the list including Phad Kra-pao, Phad Cha, Phad Prik-Gaeng and etc.

Customers can customize the meat in these spicy stir-fried dishes including seafood, pork and chicken. All curry pastes are homemade to ensure the unique aroma of Thai fresh herbs. Later, she added fried-rice, thai-style soups, thai-style spicy salad as well as southern-style local dishes. Hence, Je Porn's small restaurant is fully packed with mouthwatering menus for everyone.

ก๋วยเตี๋ยวทะเลเจ๊พร เลขที่ ๑๒๑/๑ หมู่ ๓ ต�ำบลแหลมฟ้าผ่า อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๙๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๕ ๘๕๗๑, ๐๘ ๔๖๖๘ ๖๑๙๘ เปิดเวลา ๐๗.๐๐-๑๗.๓๐ นาฬิกา หยุดวันเสาร์ JE PORN SEAFOOD NOODLES Address: 121/1 Moo 3, Laem Fa Pha Sub-District, Phra Samut Chedi District, Samutprakan, 10290 Tel: 0-2425-8571, 08-4668-6198 Opening times: 07.00-17.30 (closed every Saturday)

In terms of drinks, this place also offers a variety of homemade fresh fruit juices. At the end of the meal, customers can also enjoy complimentary desserts whose menu changes on a daily basis. The secret behind the capability to offer so many menus is the fact that Je Porn has been recruiting and training locals as her chefs. Once you make it to Laem Fa Pha, Je Porn shop is your best option for delicious food. Whether you're looking for a bowl of seafood noodles or spicy TomYam-Goong, we are sure you will love every one of them.

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


E AT & D R I N K / P R E M I O C O F F E E

PREMIO COFFEE สโลว์ไลฟ์ริมคลอง

SLOW LIFE BY THE CANAL

ร้านกาแฟกับบรรยากาศดีๆ ย่อมเป็นสิ่งที่อยู่คู่กันและตอบโจทย์ ความรื่นรมย์ให้แก่ผู้ช่ืนชอบจิบกาแฟได้เสมอ ไม่จ�ำเป็นต้อง เป็นร้านหรูหราหรือโอ่อ่าใหญ่โต ร้านกาแฟริมคลองนาเกลือก่อนถึงป้อมพระจุลจอมเกล้าแห่งนี้ เป็นทางเลือกส�ำหรับโจทย์ขอ้ นีอ้ ย่างชัดเจน Premio Coffee ตัง้ อยู่ อย่างสงบเงียบกลมกลืนไปกับแมกไม้ชายเลนริมคลอง บรรยากาศ ใกล้ ชิ ด ธรรมชาติ ช ่ ว ยให้ ร ้ า นกาแฟเล็ ก ๆ เป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น ในหมู ่ คนชอบกินกาแฟแกล้มทิวทัศน์สวยงาม จนเป็นหนึ่งในร้านกาแฟ ของสมุทรปราการที่นักเดินทางนิยมมาเช็กอิน Premio Coffee เป็น ร้านกาแฟสวัสดิก ารของอู่ท หารเรื อ พระจุลจอมเกล้า ร้านสไตล์ลอฟต์ ที่ตกแต่งอย่างเรียบง่าย มี ๒ ชั้น ชั้นล่างเป็นห้องกระจกกรองแสง จัดวางเก้าอี้นวมสีเขียวกลมกลืน ไปกับแมกไม้ภายนอกให้ลูกค้าจิบกาแฟในห้องแอร์เย็นฉ�่ำ พร้อม ชมทิวทัศน์ของคลองนาเกลือ เพลินตาไปกับแนวไม้สีเขียวร่มรื่น ของป่าจากฝั่งตรงข้าม มีฝูงนกยางและนกกาน�้ำบินผ่านไปมา

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

ช่วยเติมสีสันธรรมชาติ ป่าจากแน่นทึบเช่นนี้ไม่ใช่ภาพที่พบเห็น ได้ง่าย หากไม่ได้ดูแลอนุรักษ์ภายในเขตทหารเรือ ร้านเล็กๆ บรรยากาศเต็มร้อยแห่งนี้เน้นกาแฟและเครื่องดื่ม เป็นหลัก ส่วนขนมก็มบี ตั เตอร์เค้กและขนมปังปิง้ หน้าต่างๆ กาแฟสด จากเมล็ดกาแฟชัน้ ดีมใี ห้เลือกอร่อยครบครันทุกสูตร ส่วนเครือ่ งดืม่ เย็ น ๆ มี ช าเขี ย วนมสด น�้ ำ ผึ้ ง มะนาวโซดา ไวท์ ช็ อ กมั ก คิ อ าโต เป็นเมนูยอดฮิตส�ำหรับดื่มคลายร้อน ชั้นบนเป็นรูฟท็อปเปิดโล่งแบบ ๓๖๐ องศา พร้อมโต๊ะเก้าอี้ ให้ชมทิวทัศน์ล�ำคลองและผืนป่าได้กว้างไกล ถือเป็นมุมยอดฮิต ที่ ลู ก ค้ า ชอบขึ้ น ไปชมบรรยากาศและสู ด อากาศบริ สุ ท ธิ์ ใ นช่ ว ง แดดร่มลมตก ท�ำให้ร้าน Premio Coffee มีจุดชมวิวและเซลฟี่ ที่ไม่เหมือนใคร ยิ่งงดงามหากรอจนอาทิตย์ลับขอบฟ้า บรรยากาศสบายๆ ภายในห้องแอร์เย็นฉ�่ำ หรือรับลมเย็นบน รูฟท็อป กับเครื่องดื่มแก้วโปรดก็ช่วยให้เก็บเกี่ยวความสุขจากร้าน Premio Coffee กลับไปได้อย่างคุ้มค่า

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 121

coffee shop with a view has always A been a preferable choice to anyone who loves coffee. It does not have to be either extremely sophisticate or extravagant.

Located on the waterfront of Na-Kluea Canal before reaching Chulachomklao Fort, Premio Coffee is undoubtedly the best answer for this task. It harmoniously blends itself to the evergreen scenery of mangrove forest by the canal. The atmosphere that brings the nature up close to the people is what makes this place so popular among those who loves to sip coffee and enjoy the scenic view at the same time that it has now become one of the must check-in coffee shops in Samutprakan. Premio coffee is a welfare shop of Phra Chulachomklao Naval Dockyard. The twostory shop is simply designed and furnished with loft interior style. The ground floor is decorated with filtered glass walls and comfortable green couches that complement the green forest in the background. While sipping their favorite cups of coffee in an air-conditioned room, customers can also take pleasure of the beautiful sight of Na-Kluea Canal that flows through the green mangrove forest on the other bank where flocks of egrets and cormorants swooping by every now and then. A forest with such high density of trees cannot easily be seen outside the preservation area of the Royal Thai Navy. The prime service highlights of this tiny coffee shop with a superb background are the coffee and other beverages while dessert menus like Butter Cake and toasts with various toppings are also available. Fresh coffee menus are made of fine selection of freshly roasted coffee beans. Anyone who would like to freshen up after a long hot day is recommended to try best selling cold beverages like Green Tea Latte, Sparkling Honey Lemon and WhiteChoc Macchiato. On its open rooftop on the second floor, tables and chairs are provided for customers to watch a panoramic view of the canal and the far-stretched forest. It is a popular corner that visitors love to go up and breathe in fresh air in the evening. It gives Premio coffee an exceptional scenic and selfie spot especially during the sunset. Having a cup of coffee either in a relaxing atmosphere in a refreshingly cool airconditioned room or on the breezy panoramic rooftop lets you bring back home lots of good memories from Premio Coffee.

PREMIO COFFEE

ป้อมพระจุลจอมเกล้า ต�ำบลแหลมฟ้าผ่า อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๙๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๔๕๗ ๖๐๕๘ เปิดทุกวัน เวลา ๐๗.๐๐ - ๒๐.๐๐ นาฬิกา Premio Coffee PREMIO COFFEE Address: Chulachomklao Fort. Laem Fa Pha Sub-district, Phra Samut Chedi District, Samutprakan. 10290 Tel: 0 2457 6058 Opening Hours: 07.00 - 20.00 / Everyday Premio Coffee SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


M A K E A R E S E R VAT I O N / B A A N K L A N G S U A N

BAAN KLANGSUAN BANG KO-BUA COMFORT AND SERENITY AMIDST THE BIG GREEN GARDEN

บ้านกลางสวน บางกอบัว

พักผ่อนสงบสบายกลางสวนใหญ่ ที่ พั ก สงบเงี ย บเป็ น ส่ ว นตั ว ท่ า มกลาง บรรยากาศสบายๆ ย่อมเป็นที่ถวิลหาของ ผู ้ ต ้ อ งการพั ก ผ่ อ นในวั น หยุ ด หลั ง ผ่ า น ช่วงเวลาเหนือ่ ยล้าจากภารกิจการงานตลอด สัปดาห์ และหากไม่ตอ้ งการเสียเวลาเดินทาง ไกลส�ำหรับวันหยุดอันจ�ำกัด ที่นี่ย่อมเป็น ทางเลือกดีที่สุด หากคุ ณ คิ ด แบบนี้ . ..บ้ า นกลางสวน บางกอบัว ถือเป็นตัวเลือกเหมาะสมอย่างยิ่ง ในวันพักผ่อนใกล้กรุงที่อ�ำเภอพระประแดง บริ เ วณที่ ถู ก เรี ย กจากลั ก ษณะภู มิ ทั ศ น์ เปรี ย บคล้ า ยกระเพาะหมู แ ห่ ง นี้ รู ้ จั ก กั น ดี

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 123 peaceful and private accomA modation in a relaxing atmosphere is often the desired destination among people who look forward to taking a vacation after an exhausting week from work and responsibilities. Particularly, for those who prefer not to waste their precious time on traveling, here would be the best option.

Baan Klangsuan Bang Ko-Bua is considered the right alternative for a nice relaxing holiday getaway close to Bangkok in Phra Pra-Daeng District. Besides the landscape that resembles the shape of a pig's stomach, this Bangkok's Green Lung is best known for its far-stretching green oasis which is a major source of fresh air for the people of Samutprakan and Bangkok. Surrounded by the greenery of gardens and canal, Bang Ko-Bua is most suitable for a relaxing weekend destination. Located at the end of a pig-stomach like area, Bang Ko-Bua Sub-District is a much rather peaceful zone than the rest that are usually crowded with the locals in the community and tourists who travel to Bang Nam-Phueng Floating Market. Baan Klang-Suan (Thai for a house in the middle of the garden) is situated among an abundant fruit field of Bang Ko-Bua District. It is quite convenient to get there. You can either drive along Petchahueng Road and turn right at Soi Petchahueng 44 or take a public bus that travels from Phra Pra-Daeng to Bang Ko-Bua, get off at the entrance of Soi Petchahueng 44, then, hop on a motorcycle taxi and drop off at Baan Klangsuan. In front of the properties, the name Baan Klangsuan is displayed on a bamboo panel. The accommodation, on the other hand, is a two-story building that disguises itself among a green garden filled with big tall trees like coral trees and mango trees. The front yard is decorated with tables and chairs for visitors to rest in the shade with Sittipong Phuthavorn (Anek), the owner of Baan Klangsuan, welcoming and taking care of his customers in a friendly manner. Anek shared with us the initiation of Baan Klangsuan. In the beginning, when his mother first built this place, she intended to open a room-for-rent service. However, having realized its naturally splendid environment for relaxation, Anek strongly believed

ว่าหนาแน่นด้วยแมกไม้จนเป็นพื้นที่สีเขียว ผื น ใหญ่ แหล่ ง ผลิ ต โอโซนส� ำ คั ญ ให้ กั บ ชาวสมุทรปราการและกรุงเทพฯ ขณะเดียวกัน ท่ามกลางความเขียวขจีของเรือกสวนและ สายน�ำ้ ล�ำคลอง ท�ำให้บางกอบัวเหมาะส�ำหรับ เป็ น แหล่ ง พั ก ผ่ อ นในวั น หยุ ด โดยเฉพาะ เขตต� ำ บลบางกอบั ว พื้ น ที่ ป ลายสุ ด ของ กระเพาะหมู ฝั ่ ง ตรงข้ า มเขตพระโขนง ค่อนข้างสงบเงียบกว่าโซนด้านนอกทีห่ นาแน่น ด้วยชุมชนและนักท่องเที่ยวที่พากันเดินทาง มาตลาดน�้ำบางน�้ำผึ้ง

บ้านกลางสวนอยู่ท่ามกลางสวนผลไม้ของ บางกอบัวสมชือ่ สามารถเดินทางไปได้สะดวก ตามถนนเพชรหึงษ์ พอถึงซอยเพชรหึงษ์ ๔๔ ก็เลีย้ วขวาแยกเข้าไปอีกไม่ไกล หากใช้บริการ รถสาธารณะ ให้นั่งรถประจ�ำทางสายตลาด พระประแดง-บางกอบั ว ไปลงที่ ป ากซอย เพชรหึงษ์ ๔๔ จากนั้นนั่งมอเตอร์ไซค์รับจ้าง ไปส่งที่บ้านกลางสวนได้เลย หน้าบ้านกลางสวนเก๋ไก๋ด้วยป้ายชื่อบน แนวล�ำไม้ไผ่ ตัวที่พักเป็นตึก ๒ ชั้น อิงแอบ กลมกลืนไปกับต้นไม้ใหญ่ทั้งทองหลางและ SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


in a better opportunity to make it a homestay-ish resident to welcome travelers seeking for peace. Being an architect himself, Anek laid out his own design and decoration in harmony with existing plantation in the surrounding hoping his customers to fully engaged with the natural ambience of Bang Ko-Bua Garden and bring home as much happiness as possible.

มะม่วง แวดล้อมไปด้วยสีเขียวของสวนรอบด้าน สนามหญ้าด้านหน้าตัง้ โต๊ะ เก้าอีใ้ ห้นงั่ พักผ่อน ใต้ร่มคันใหญ่ โดยคุณอเนก สิทธิพงษ์ ภู่ถาวร เจ้ า ของบ้ า นกลางสวนคอยให้ ก ารต้ อ นรั บ และดูแลอย่างเป็นกันเอง คุณอเนกเล่าถึงที่มาของบ้านกลางสวนว่า แรกที เ ดี ย วคุ ณ แม่ ป ลู ก อาคารหลั ง นี้ ตั้ ง ใจ ท�ำเป็นห้องเช่า คุณอเนกกลับเห็นว่าหากท�ำ เป็นที่พักกึ่งโฮมสเตย์ไว้รองรับนักท่องเที่ยว ที่ต้องการความสงบเงียบน่าจะดีกว่า เพราะ มีสภาพแวดล้อมเหมาะแก่การพักผ่อนเป็น จุ ด ขายอยู ่ แ ล้ ว จึ ง เปลี่ ย นมาท� ำ เป็ น ที่ พั ก อย่างที่เห็น คุณอเนกเป็นสถาปนิกด้วยจึง ลงมื อ ตกแต่ ง พื้ น ที่ แ ละอาคารให้ ก ลมกลื น กั บ เรื อ กสวนโดยรอบให้ ถู ก ใจผู ้ ใช้ บ ริ ก าร เพราะต้องการให้ผมู้ าพักได้เก็บเกีย่ วความสุข และซึ ม ซั บ บรรยากาศของสวนบางกอบั ว กลับไปให้มากที่สุด ภายในห้องพักทั้ง ๗ ห้อง ทั้งชั้นล่างและ ชั้ น บนเพี ย บพร้ อ มรองรั บ ความสุ ข สบาย ของนักท่องเที่ยว เตียงนอนนุ่มๆ ทีวี ตู้เย็น และห้องน�้ำสะอาด ติดแอร์เย็นฉ�่ำทุกห้อง แต่ คุ ณ อเนกบอกว่ า ผู ้ เข้ า พั ก มั ก เลื อ กเปิ ด หน้าต่างรับอากาศบริสุทธิ์และสายลมจาก ธรรมชาติ แต่ละห้องมีประตูกระจกบานใหญ่ กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

เปิ ด ออกไปสู ่ ร ะเบี ย ง เพื่ อ ชมทิ ว ทั ศ น์ ข อง สวนด้ า นนอกที่ เขี ย วขจี ไ ปด้ ว ยพรรณไม้ หลากหลายประเภท ตั้งแต่บนพื้นร่องสวน เรื่อยไปจนถึงยอดมะพร้าวสูงชะลูด มักเห็น กระรอกวิง่ และกระโดดไปตามต้นไม้อย่างเริงร่า ยามค�่ ำ จากบนระเบี ย งยั ง มี โ อกาสเห็ น หิ่งห้อยบินส่องแสงวับๆ แวบๆ ตามต้นไม้ ในสวน แม้ไม่มากเป็นประกายระยิบระยับ ก็ ช ่ ว ยเติ ม เต็ ม บรรยากาศให้ น ่ า ประทั บ ใจ ในค�่ำคืนพิเศษสุดที่บ้านกลางสวน ยามเช้าเป็นช่วงเวลาที่บรรยากาศร่มรื่น มากที่สุด มีเสียงไก่ขันและนกนานาชนิดร้อง ปลุกให้ลุกจากที่นอนขึ้นมารับอากาศบริสุทธิ์ เพียงเดินออกไปที่ระเบียงก็ได้ดื่มด�่ำกับความ สดชื่นและทิวทัศน์ของสวนบางกอบัวแล้ว อาหารเช้าของที่นี่ก็มีให้เลือกง่ายๆ ด้วย โจ๊กอุ่นๆ หรือข้าวมันไก่ให้อิ่มอร่อย หรืออาจ เลือกเดินออกไปซือ้ หาของกินจากร้านค้าของ ชาวบ้านได้เอง จะได้เทีย่ วสัมผัสวิถขี องชุมชน บางกอบัวไปด้วย บ้านกลางสวนเตรียมจักรยานไว้ให้ผมู้ าพัก ปัน่ ออกไปเทีย่ วเล่นได้อย่างเพลิดเพลิน ให้เช่า ในราคาคันละ ๕๐ บาท โดยแนะน�ำให้ปั่น ออกไปเที่ยวสวนศรีนครเขื่อนขันธ์หรือสวน บางกะเจ้า ภายในพื้นที่ ๒๐๐ ไร่ ที่ร่มรื่นไป

Inside, all seven rooms on both floors are fully equipped with a comfortable bed, a television, a refrigerator, a clean bathroom and all air-conditioned. However, Anek reveals that his customers mostly prefer to keep their windows opened to welcome fresh air and cool breeze from the nature. There is also a large glass door connected to the terrace of each and every room which visitors can open to appreciate the greenery of the garden outside filled with a variety of trees from the ground up to tall coconut treetop. Squirrels are often seen cheeringly running and hopping between trees. When the night falls, there are chances to see tiny fireflies blinking their lights in the dark sky nearby trees in the garden. There wasn't much blinking but it was enough to make a night stay at Baan Klangsuan a little more special. Morning light brings along a cool and pleasant vibe. A beautiful morning melody of roosters crowing and all kinds of birds singing in the background encourages visitors to get off their beds to fill in their lungs with fresh air. With just one step to the terrace, the refreshing sight of Bang Ko-Bua garden stands ready for them to indulge. Here, customers can get themselves ready for the day with optional breakfast. They can choose between a bowl of warm and light congee and an appetizing chicken rice or take a walk in the neighborhood to try the local taste while observing the lifestyle in Bang Ko-Bua community. Baan Klangsuan prepares bicycles for its visitors to rent and have fun biking around the neighborhood at the price of 50 baht each. It is recommended to bike to Sri Nakhorn Khuean Khan Park or Bang Kra-Chao Park. Covering an extensive area of 200 Rai (320,000 SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 125

sq.m.), it is both a public park great for recreational activities and a botanical garden with a great diversity of plants to observe especially all aquatic plants and plants that can only grow in wetland. Therefore, in the morning this place is usually filled with people who come for an exercise, a bike-ride or a natural learning trail. For bird lovers, there is also a bird-watching tower in the center of the park. When it gets a bit late, get back on the bike and carry on with the journey to Bang Nam-Phueng Floating Market, the popular tourist attraction Just 1.5 kilometers away from Baan Klangsuan, anyone is welcome to take a stroll along gardens, farms and communities along with bikers who are also here to enjoy Bang Kra-Chao's hot hit activities before heading for delicious treats and buy some local products as souvenirs to support the community. Alternatively, for those who do not feel like going out, Baan Klangsuan provides a calm and relaxing corner by the dock of Khlong Pae. Customers can have a seat, enjoy sipping a cup of coffee underneath the Nipa Palm trees and basically live a slowlife in a pace so comfortable time no longer matters. Khlong Pae is a small stream that flows from Chao Phraya River into Bang Ko-Bua area that the locals drinks from and used in many different aspects of life. Even today when people's dependency on the stream has changed, the community of Bang Ko-Bua still preserves the stream so well that the charms of lifestyle and natural resources along the canal remain the same. For anyone who seeks for a boat-paddling to enjoy the natural setting, there are small boats of the locals available for rent at the price of 100 baht each. With lush green scenery on both banks of the canal and birds swooping by to welcome newcomers, there is a hundred-meters long nipa palm trees tunnel naturally growing tall on both sides while their leaves bending down towards the canal weaving into a tunnel. Such rare and beautiful natural sight makes it even harder to believe that it takes less than an hour from Bangkok to experience. With just one night and one day at Baan Klangsuan on a weekend, visitors can already experience so much lifestyles of Bang Ko-Bua filled with beautiful memories.

ด้วยแมกไม้นานาพรรณ เป็นทัง้ สวนสาธารณะ ส�ำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสวนพฤกษศาสตร์ ให้ศึกษาเรียนรู้ธรรมชาติ โดยเฉพาะไม้น�้ำ และไม้ชายเลน ยามเช้าจึงเต็มไปด้วยผู้คนมา เดินเล่นออกก�ำลังกายและปัน่ จักรยาน หากชอบ ดูนกจะยิ่งเพลิดเพลินบนหอดูนกกลางสวน พอสายหน่อยก็ปน่ั ไปเทีย่ วตลาดน�ำ้ บางน�ำ้ ผึง้ ต่อได้เลย แหล่งท่องเที่ยวสุดฮิตที่อยู่ห่างจาก บ้านกลางสวนเพียงแค่ ๑.๕ กิโลเมตร ลัดเลาะ ไปตามเส้ น ทางผ่ า นสวนและชุ ม ชนต่ า งๆ ร่วมกับบรรดานักปั่นจักรยานที่มาสนุกสนาน และออกก� ำ ลั ง กั บ กิ จ กรรมยอดนิ ย มของ บางกะเจ้า ก่อนไปหาของกินอร่อยๆ มากมาย แวะอุดหนุนสินค้าของชาวบ้านเป็นของฝาก กลับบ้าน หรือถ้าไม่อยากออกไปไหน บ้านกลางสวน ยังมีมุมสงบให้นั่งพักผ่อนที่ท่าน�้ำริมคลองแพ นั่งจิบกาแฟใต้ร่มใบต้นจาก สโลว์ไลฟ์สบายๆ จนเวลาผ่านไปโดยไม่รู้ตัว คลองแพเป็นสายน�ำ้ เล็กๆ ทีไ่ หลจากแม่นำ�้ บ้านกลางสวน บางกอบัว เลขที่ ๑๐ หมู่ ๑๐ ต�ำบลบางกอบัว อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๙ ๐๙๘๖ ๗๙๘๗ บ้านพักกลางสวน บางกอบัว

เจ้าพระยาเข้ามาหล่อเลี้ยงพื้นที่บางกอบัวให้ ชาวบ้านได้ใช้ประโยชน์ทั้งอุปโภคและบริโภค แม้ในวันนี้การพึ่งพาสายน�้ำจะเปลี่ยนไป แต่ ชุมชนบางกอบัวยังอนุรกั ษ์ดแู ลสายน�ำ้ ไว้อย่างดี วิถีชีวิตและธรรมชาติริมฝั่งยังคงเป็นเสน่ห์ ไม่เปลีย่ นแปลง หากต้องการพายเรือเทีย่ วชม ธรรมชาติ มีเรือล�ำเล็กๆ ของชาวบ้านจอด บริการให้เช่าพายเทีย่ วล�ำคลองล�ำละ ๑๐๐ บาท ท่ามกลางความร่มรื่นของแมกไม้สองฟากฝั่ง และนกนานาชนิ ด ที่ บิ น ออกมาต้ อ นรั บ แค่ พ ายไปไม่ ไ กลจะพบกั บ อุ โ มงค์ ต ้ น จาก ระยะทางนับร้อยเมตรที่ต้นจากขึ้นแน่นทึบ สองฟากฝัง่ โน้มใบมาสอดประสานกันดุจอุโมงค์ กลางน�้ำ นับเป็นความงดงามของธรรมชาติ ที่หาชมได้ยาก จนไม่น่าเชื่อว่าสามารถพบได้ เพียงเดินทางจากกรุงเทพฯ ไม่ถึง ๑ ชั่วโมง เพียง ๑ คืน ๑ วัน ที่บ้านกลางสวนก็เต็ม ไปด้วยเรื่องราวและวิถีสุขสงบของบางกอบัว ให้ผมู้ าเยือนเก็บเกีย่ วความสุขในวันสุดสัปดาห์ ได้อย่างเต็มอิ่ม BAAN KLANGSUAN BANG KO-BUA 10 Moo 10, Bang Ko-Bua Sub-District, Phra Pra-daeng District, Samutprakan, 10130 Tel: 09 0986 7987 บ้านพักกลางสวน บางกอบัว SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


SAMUTPRAKAN HOT SHOT

LIFE IS BEAUTIFUL

ชีวิตที่สวยงาม

ทุกๆ สถานที่จะสวยสมบูรณ์เมื่อมีชีวิตด�ำเนินเรื่องราว แวะเทีย่ วชมความสวยงามทางวัฒนธรรมและการด�ำเนินชีวติ ในเมืองปากน�ำ ้ แบ่งปันมุมโปรดในสมุทรปราการของคุณมาได้ที่ samutprakanmagazine@gmail.com

ของรางวัลเล็กๆ น้อยๆ รอคุณอยู่ และเมืองน่ารักน่าเที่ยวอย่าง “สมุทรปราการ” ก็รอคุณอยู่เช่นกัน

ปลายน�้ำเจ้าพระยา / สราวุธ THE DOWNSTREAM OF CHAO PHRAYA RIVER / SARAWUT กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 127 Every beautiful places has a story behind it. Visit the cultural beauty and people's way of life in Pak Nam city

Please feel free to share us photos of your favorite corner in Samutprakan samutprakanmagazine@gmail.com A little reward awaits you. As well as this lovely province, Samutprakan!

เมื่อยามน้ำ�ลง / อธิป DURING THE LOW TIDE / ATHIP SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018


C A L E N DA R / S A M U T P R A K A N 2 0 1 8 E V E N T

EVENT

CALENDAR

ปฏิทินท่องเที่ยว

จังหวัดสมุทรปราการ

RUB BUA TRADITION KHLONG SAM RONG, IN FRONT OF BANG PHLI YHAI NAI TEMPLE, BANG PHLI DISTRICT, SAMUTPRAKAN nd rd DURING 22 -23 OCTOBER 2018

กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๑

งานประเพณีรับบัว ประจ�ำปี ๒๕๖๑ คลองส�ำโรง หน้าวัดบางพลีใหญ่ใน (วัดหลวงพ่อโต) อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ วันขึ้น ๑๔ ค�่ำ เดือน ๑๑ ระหว่างวันที่ ๒๒ - ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

SA MU TPR A KA N TR AVE L MAG


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 129

PHRASAMUT CHEDI WORSHIPPING CEREMONY AND SAMUTPRAKAN’S RED CROSS FAIR PHRA SAMUT CHEDI DISTRICT AND IN FRONT OF SAMUTPRAKAN CITY HALL DURING 29th OCTOBER - 9th NOVEMBER 2018

งานนมัสการองค์พระสมุทรเจดีย์ และงานกาชาดจังหวัดสมุทรปราการ บริเวณฝั่งอ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ และฝั่งอ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ ระหว่างวันที่ ๒๙ ตุลาคม - ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑

SEPTEMB ER - OCTOB ER 2018




องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ

Samutprakan Provincial Administrative Organization samutprakan.pao@gmail.com

www.samutprakan-pao.go.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.