Issue 14
หนังสือแนะนำ�แหล่งท่องเที่ยวและของดี จังหวัดสมุทรปราการ
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๔ ประจำ�เดือนธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒ Vol. 5 / No. 14 / DECEMBER 2018 - JANUARY 2019
The Land of Dharma
The Land of
Dharma ดินแดนแห่งธรรม
วัดโปรดเกศเชษฐาราม พระประแดง Wat Protketchettharam, Phra Pradaeng.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 05
สารจาก...
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ตราสัญลักษณ์ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ เป็ น รู ป พระธุ ตัง คเจดี ย์ท่ีป ระดิ ษ ฐานอยู่ ณ วั ด อโศการาม อำ�เภอเมืองสมุ ท รปราการ จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ ถื อ เป็ น ปูชนียสถานสำ�คัญคู่บ้านคู่เมือง องค์การบริหารส่วนจังหวัด สมุ ท รปราการจึ ง ได้ อั ญ เชิ ญ มาเป็ น ตราสั ญ ลั ก ษณ์ เพื่ อ ความเป็นสิริมงคลต่อพุทธศาสนิกชนและสื่อศรัทธาอันดีงาม ต่อพุทธศาสนาของพี่น้องชาวสมุทรปราการ ทั้ ง นี้ จั ง หวั ด สมุ ท รปราการเป็ น ที่ ย อมรั บ ว่ า เป็ น เมื อ ง ที่มีความสงบร่มเย็นมาช้านาน ผู้คนมีน้ำ�ใจไมตรีและยึดมั่น ในศาสนาที่ เ ป็ น ส่ ว นสำ � คั ญ ช่ ว ยจรรโลงชี วิ ต และสั ง คม ให้ เ ป็ น ปึ ก แผ่ น และมั่ น คงตลอดมา ดั ง ปรากฏวั ด วาอาราม อยู่ ใ นทุ ก ชุ ม ชนทั่ ว จั ง หวั ด มี พุ ท ธศาสนิ ก ชนเข้ า ไปทำ � บุ ญ และปฏิบัติธรรมมิได้ขาด ขณะเดียวกันก็มีโบสถ์คริสต์ มัสยิด และศาลเจ้าตั้งอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข สะท้อนให้เห็นถึง ความกลมเกลียวของชาวสมุทรปราการ แม้ตา่ งศาสนาก็สามารถ ไปมาหาสู่และเคารพในศรัทธาของกันและกัน ศาสนสถานต่างๆ ในจังหวัดสมุทรปราการล้วนมีประวัติ ความเป็นมาน่าเลื่อมใส บางแห่งเก่าแก่ยาวนานหลายร้อยปี ถือเป็นมรดกทางประวัติศาสตร์ของบ้านเมือง ผ่านความวิจิตร ของสถาปัตยกรรมเพื่อรองรับศรัทธาความเชื่อและสืบสาน คำ � สอนขององค์ ศ าสดาจนถึ ง ปั จ จุ บั น ทุ ก วั น นี้ ศ าสนสถาน จึงเป็นทีร่ จู้ กั ในฐานะแหล่งเรียนรูถ้ งึ ความเป็นมา สถาปัตยกรรม และประเพณี ควบคู่กับสถานที่ปฏิบัติธรรม ด้ ว ยเป้ า หมายสำ � คั ญ ในการเสริ ม สร้ า งสั ง คมให้ น่ า อยู่ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเพื่อให้เกิดความมั่นคง องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการตระหนักดีว่าศาสนา เป็ น สิ่ ง สำ � คั ญ ที่ จ ะช่ ว ยกล่ อ มเกลาจิ ต ใจของผู้ ค นให้ ยึ ด มั่ น ในความดีและอำ�นวยความสงบร่มเย็นให้เกิดแก่สังคม จึงได้ ดำ�เนินการทำ�นุบำ�รุงศาสนาอย่างเต็มที่ ส่งเสริมและเผยแพร่ ให้ ผู้ ค นเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมทางศาสนา และงานบุ ญ ประเพณี อย่างต่อเนื่อง เช่นเดียวกับที่นำ�เสนอใน @SAMUTPRAKAN ฉบับนี้ ทั้งนี้ เพื่อมุ่งหวังจรรโลงให้ศาสนาดำ�รงอยู่ในจิตใจ ของประชาชนอย่างยัง่ ยืนสมกับทีจ่ งั หวัดสมุทรปราการได้ชอื่ ว่า เป็นดินแดนแห่งธรรม
Phra Thutangkha Chedi of Asokaram Temple, Mueang District, Samutprakan province is a sacred place with historical significance. Thus, S a m u t p ra k a n P r ov i n c i a l Ad m i n i s t ra t i ve Organization respectfully invited the Chedi as its official symbol to bring wonderful blessings to Buddhist followers and to convey the beautiful faith of Samutprakan. Samutprakan Province has long been recognized for its peacefulness, its hospitality and its faith in religious teachings that plays an essential role in enhancing life quality and forging unity among the people. The harmonious co-existence of Buddhist temples, Christian churches, Masjids and shrines across the city is an epitome of how the people of Samutprakan naturally socialize with humble respect in each other's faith despite their religious background differences. Religious places of worship in Samutprakan are embedded with incredible centuries-old historical records. The architectural magnificence were crafted to reflect the faithful beliefs and pass on the virtuous teachings of each religious founder. At the present, these sacred sanctuaries have become valuable learning repositories regarding history, architecture, traditions and religious activities. Upon realizing such precious roles of religions on its society and a strong determination to drive forth social development for a better life quality, Samutprakan Provincial Administrative Organization is firmly committed to the promotion and the preservation of religions. As presented in this issue, @SAMUTPRAKAN sincerely wishes to encourage more faithful followers to discover and explore various religious activities and traditions as an initiative step to establish sustainable and virtuous faith in people's hearts.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๔ ประจำ�เดือนธันวาคม ๒๕๖๑ มกราคม ๒๕๖๒ Vol. 5 / No. 14
DECEMBER 2018 - JANUARY 2019
ที่ปรึกษา consultant นายพูลทวี ศิวะพิรุฬห์เทพ Mr. Poonthavee Sivaphiroonthep ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปฏิบัติหน้าที่ Chief Administrator of the PAO Acting as นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ Chief Executive of the Samutprakan PAO คณะทำ�งาน นายธนวัฒน์ กล่ำ�พรหมราช รองปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ นางสาวทองดี กูลศิริ หัวหน้าสำ�นักปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด นางสุรีวัน สุขพัตร์ หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป นางสาววชิราภรณ์ บุญเสริฐ นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการ นางสาวชนันรัตน์ สมณศักดิ์ นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการ นางสาวบัณฑิตา ลายคราม นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการ นางปวีณา สีคำ� เจ้าพนักงานธุรการชำ�นาญงาน จัดพิมพ์โดย องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ถนนสุทธิภิรมย์ ตำ�บลปากน้ำ� อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๘๙ ๐๖๐๐ แฟกซ์ ๐ ๒๓๙๕ ๔๕๖๐ ต่อ ๒๐๙
working group
Mr. Tanawat Klamprommarach Deputy Chief Administrator of the Samutprakan PAO Miss Tongdee Kulsiri Head of the office of the PAO Mrs. Sureewan Sugapat Chief of General Administration Subdivision Miss Wachiraporn Boonsert Public Relations Officer, Professional Level Miss Chananrat Sommanasak Public Relations Officer, Professional Level Miss Banthita Laikram Public Relations Officer, Professional Level Mrs. Paweena Sikham General Service Officer, Experienced Level Published by
Samutprakan Provincial Administrative Organization Suthipirom Road, Paknam Subdistrict, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Province 10270 Tel. 0 2389 0600 Fax 0 2395 4560 ext. 209
ผลิตโดย created by บริษัท แจสมิน มีเดีย จำ�กัด Jazzmin Media Co., Ltd. โทรศัพท์ ๐๘ ๖๓๓๙ ๑๑๘๑, ๐๘ ๕๙๐๖ ๔๗๘๑ Tel. 08 6339 1181, 08 5906 4781 อีเมล jazzmin-media01@hotmail.com e-Mail jazzmin-media01@hotmail.com ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZ INE
Travel
@samutprakan 07
editor's talk ท่ามกลางความเจริญในรูปแบบของเมือง ยุ ค ใหม่ ที่ มี ค วามก้ า วหน้ า ทั้ ง ด้ า นเศรษฐกิ จ และสั ง คม จั ง หวั ด สมุ ท รปราการยั ง มี ค วาม หลากหลายของวิถีดั้งเดิมที่ดำ�เนินไปด้วยความ ศรัทธาในศาสนาที่ช่วยยึดเหนี่ยวจิตใจให้เกิดสุข โดยมี ศ าสนสถานเป็ น สถานที่ สำ � หรั บ เข้ า ไป ปฏิบัติธรรมและร่วมทำ�บุญตามประเพณี ศาสนสถานของจังหวัดสมุทรปราการมิได้ มีเพียงวัดวาอารามในทางพุทธศาสนา แต่ยัง รวมไปถึ ง โบสถ์ ข องชาวคริ ส ต์ แ ละมั ส ยิ ด ของ พี่น้องมุสลิม ตลอดจนศาลเจ้า และรู ปเคารพ ต่ า งๆ ซึ่ ง สื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความเอื้ อ เฟื้ อ ของชาวสมุ ท รปราการที่ ย อมรั บ ศรั ท ธาของ ศาสนาอื่ น และอยู่ ร่ ว มกั น ได้ อ ย่ า งกลมกลื น นั บ เป็ น เสน่ ห์ ข องวิ ถี พ หุ สั ง คมอั น สงบสุ ข ของ จังหวัดสมุทรปราการ @SAMUTPRAKAN ฉบับนี้ จึงตั้งใจนำ�เสนอ เรื่องราวของวิถีศาสนาในจังหวัดสมุทรปราการ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความเป็นดินแดนแห่งธรรม ที่ ผู้ ค นยั ง คงยึ ด มั่ น ในศาสนาที่ ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด ความสงบสุ ข ทั้ ง แก่ ต นเองและสั ง คม พร้อมไปกับเป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องราวน่าสนใจ ทั้งด้านประวัติศาสตร์ งานศิลปะ และงานบุญ ประเพณี ด้วยจุดเริ่มต้นในวิถีทางและพื้นฐานสังคม ต่างกัน ศาสนสถานต่างๆ จึงมีรูปแบบที่เป็น เอกลักษณ์ดว้ ยสถาปัตยกรรมโดดเด่น ซึง่ สะท้อน ถึ ง ศรั ท ธาความเชื่ อ และวั ฒ นธรรมในอดี ต ที่ผ่านกาลเวลามาจนถึงปัจจุบัน เช่นเดียวกับ งานบุ ญ ประเพณี ต่ า งๆ แม้ ค นต่ า งศาสนา ก็สามารถเรียนรู้และชื่นชมร่วมกันได้ ท่ามกลางความสุขในจิตใจย่อมมีเรือ่ งราวดีๆ ให้เก็บเกี่ยวได้เสมอ หากนำ�เสนออย่างรู้คุณค่า และเพื่อประโยชน์แก่สังคม @SAMUTPRAKAN จึ ง หวั ง ว่ า เรื่ อ งราวน่ า สนใจของเส้ น ทางธรรม ที่ นำ � เสนอในฉบั บ นี้ จะเป็ น แรงบั น ดาลใจให้ ผู้ ส นใจเที่ ย วชมได้ มี ศ รั ท ธาและเข้ า ถึ ง ความ ร่ ม เย็ น ของศาสนาเพื่ อ จรรโลงชี วิ ต ให้ อิ่ ม บุ ญ และเปี่ยมสุขไปด้วยกัน
Amidst the city civilization with economic and social advancements, Samutprakan is abundant with traditional ways of living and faithful religious beliefs that has brought about peaceful livings, and religious sanctuaries to practice dhamma and perform religious ceremonies according to traditions. Places of worship in Samutprakan are not exclusively Buddhist temples as they also include Christian churches, Muslim Masjid, shrines and sacred images. Such harmonious diversity reflects the warm hospitality of Samutprakan locals towards other religions. This issue of @SAMUTPRAKAN portrays religious ways of life within Samutprakan province both to signify how religion has brought virtues and peace to a person's life and the society and to introduce local learning sources that unfold captivating histories, art, and traditional religious ceremonies. With diverse background, the architectural design of each sacred place remains its remarkable charm resonating faithful beliefs and cultures through time along with sacred religious ceremonies that even followers of different religions may also learn and cherish. @SAMUTPRAKAN wholeheartedly hopes that interesting aspects of religions presented in this issue will help inspire interested persons to come visit, revive the faith and, more importantly, restore peace and happiness to their lives.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
Travel
@samutprakan
contents
issue 14 DECEMBER 2018 JANUARY 2019
update
24 : Map
12 : know it first
เที่ยวศาสนสถานสมุทรปราการ
สถิติวัด โบสถ์คริสต์ มัสยิด ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ
feature
รู้ก่อนเที่ยว
The statistics of Buddhist temples, churches and masjids in Samutprakan
14 : hot in town
แหล่งเที่ยวห้ามพลาด
พระพุทธโลกเชฏฐ์ วิเศษกิตติปาล มหาชนบูชิต วัดบางปิ้ง
Phra Buddha Lokkachet Wisetkittipan Mahachonbuchit The Gigantic Buddha image
แผนที่นักเดินทาง
Wandering to religious sanctuaries in Samutprakan
28 : Cover journey
เที่ยวจากปก
แห่รูปหลวงพ่อปานทางทะเล
Luang Phor Pan Sea Procession
ชุมชนมุสลิม บ้านปากลัด
Muslim Community of Baan Pak-Lat
วัดอัครเทวดาราฟาแอล
Saint Raphael Church
ศาลเจ้าเสียนหลอไต้เทียนกง
at Wat Bang Ping
16 : DID YOU KNOW ?
Put on Thai outfit and offer alms at Khlong Phae
Tips about Samutprakan
72 : Art along the way
18 : SMPK History
พระธุตังคเจดีย์ วัดอโศการาม
เกร็ดจังหวัดสมุทรปราการ ที่นี่มีอดีต
ชีวิตชาวปากน�้ำในอดีต
ศิลป์ในเส้นทาง
Phra Thutangkha Chedi of Asokaram Temple
PakNam’s way of life in the past
74 : around town
20 : New Spot
เที่ยววัดเก่าเมืองปากน�้ำ
ที่เที่ยวใหม่ คลองตาก๊ก
Xian Loh Tai Tian Gong Shrine
แต่งผ้าไทย ตักบาตรพระ ที่คลองแพ
ท่องทั่วเมือง
Ancient Temples of PakNam City
Khlong Ta-kok Canal
GReen trip
22 : ready to go
86 : green space
เที่ยวสบายใจในอาราม
ห้องเรียนธรรมชาติ ห้องเรียนขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
พร้อมเที่ยว
Get to know religious places
ย่านนี้สีเขียว
Natural Classroom
94 : Nature journey
รักษ์ธรรมชาติ
ชมนกทุ่งสมุทรปราการ
Bird Watching at Thung Samutprakan
Travel
@samutprakan 09
lifestyle 100 : good Recipe
เมนูพื้นบ้าน ผัดตูมิฮ์
Phat Tu Mih
104 : craftsmanship
ท�ำมือ
๑๖ จน ๖๔ ช่างต่อเรือหางยาวคนเดียวในบางกะเจ้า
16 'Til 64 The only long-tail boatwright on Bang Kachao Island
108 : otop shopping
ของฝากของดี
จากดอกไม้ผ้าใยบัวสู่หนอนชาเขียวหลากสี
From Nylon Stocking Flowers to Colorful Green Tea Worms
112 : EAt & drink
เที่ยวไปชิมไป แม่คูซีน
Mae Cuisine
ไอ-สวน
I-Suan
แป๊ะเฮง
Pae Heng
122 : make a reservation
ค�่ำนี้นอนไหน
Into The Forest
Into The Forest
126 : sAmutprakan hot shot
ภาพสวยสมุทรปราการ ศรัทธา Faith
128 : Calendar
ปฏิทินกิจกรรม
U P D AT E
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
11
get to know
know it first | hot in town S M P K H i s t o r y | Ne w Sp o t
ผืนน�้ำเจ้าพระยาหน้าเมืองสมุทรปราการ ยามสะท้อนแสงเย็น ช่างงดงามยิ่ง The beautiful reflection of the evening sunset on Chao Phraya River at Samutprakan.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
k n ow i t f i r st
GET TO KNOW SAMUTPRAKAN
รู้จักสมุทรปราการ The statistics of Buddhist temples, churches and masjids in Samutprakan
สถิติวัด โบสถ์คริสต์ มัสยิดในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ
อ�ำเภอ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ อ�ำเภอบางบ่อ อ�ำเภอบางพลี อ�ำเภอพระประแดง อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ อ� ำเภอบางเสาธง
วัด ๒๕ ๒๓ ๑๔ ๓๘ ๑๖ ๙ ๑๒๕
โบสถ์คริสต์ ๒ ๑ ๓
มัสยิด ๓ ๓ ๓ ๒ ๒ ๑๓
Temple Church Masjid District Mueang Samutprakan District 25 2 3 Bang Bo District 23 3 Bang Phli District 14 3 Phra Pradaeng District 38 1 2 Phra Samut Chedi District 16 Bang Sao Thong District 9 2
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
125
3
13
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
13
The statistics of Buddhist monks and novices in Samutprakan
สถิติพระภิกษุและสามเณรในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ อ�ำเภอ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ อ�ำเภอบางบ่อ อ�ำเภอบางพลี อ�ำเภอพระประแดง อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ อ�ำเภอบางเสาธง
พระภิกษุ ๑,๐๙๑ ๔๙๖ ๕๒๖ ๑,๑๕๙ ๓๖๖ ๓๖๐ ๓,๙๙๘
สามเณร ๔๔ ๒๐ ๑๑๕ ๒๙ ๑๕ ๗๐ ๒๙๓
District Buddhist Monks Buddhist Novices Mueang Samutprakan District 1,091 44 Bang Bo District 496 20 Bang Phli District 526 115 Phra Pradaeng District 1,159 29 Phra Samut Chedi District 366 15 Bang Sao Thong District 360 70
3,998 293
อ้างอิงข้อมูลล่าสุดปี ๒๕๕๙ จากส�ำนักงานสถิติจังหวัดสมุทรปราการ และส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ
References : Latest 2016 Statistical Report by Samutprakan Provincial Statistical Office and National Statistical Office DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
h o t i n t o w n / P h r a B u d d h a L o k k a c h e t W i s e t k i t t i pa n M a h a c h o n b u c h i t
Phra Buddha Lokkachet Wisetkittipan Mahachonbuchit The Gigantic Buddha image at Wat Bang Ping
พระพุทธโลกเชฏฐ์ วิเศษกิตติปาล มหาชนบูชิต พระใหญ่วัดบางปิ้ง
เวลาเรานั่งรถไปตามทางด่วนพิเศษหมายเลข ๙ หรือถนนกาญจนาภิเษกด้านใต้ พอถึง ช่วงด่านศรีนครินทร์จะมองเห็นพระพุทธรูปสีขาวขนาดใหญ่สูงตระหง่านโดดเด่นสะดุดตา พร้อมกับธรรมจักรตรงด้านหลัง ดูเด่นงาม น่าศรัทธา และนมัสการ ส่วนใหญ่คงสงสัยว่า พระพุทธรูปใหญ่องค์นี้ตั้งอยู่ที่ใด พระพุ ท ธโลกเชฏฐ์ วิ เ ศษกิ ต ติ ป าล มหาชนบูชิต เป็นนามของพระพุทธรูปใหญ่ องค์นี้ ประดิษฐานอยู่ที่วัดบางปิ้ง วัดเก่าแก่ ของเมื อ งสมุ ท รปราการอี ก แห่ ง ตั้ ง อยู ่ ริ ม คลองบางปิ ้ ง ตามชื่ อ วั ด มี ท างแยกจาก ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
ถนนศรีนครินทร์เข้าไปถึงวัดไม่ไกล พระพุ ท ธโลกเชฏฐ์ วิ เ ศษกิ ต ติ ป าล มหาชนบูชิต เป็นพระพุทธรูปปางเปิดโลก สร้างขึ้นตามความประสงค์ของพระครูปลัด สมชาย กิ ต ติ ป าโล เจ้ า อาวาสวั ด บางปิ ้ ง
เพื่อสานต่องานจากพระครูพิพิธพัฒนพิธาน เจ้าอาวาสองค์ก่อนที่มรณภาพไป ในการสร้าง ศูนย์รวมจิตใจของวัดบางปิ้ง นอกเหนือจาก หลวงพ่อพระพุทธมงคลสุนทร (พระประธาน ในอุโบสถ) ให้ลุล่วง จึงน�ำแบบพระพุทธรูป ปางเปิดโลกมาจากวัดพุทธอุทยาน (ดอยอินทรีย)์ จั ง หวั ด เชี ย งราย แรกเริ่ ม ตั้ ง ใจสร้ า งให้ สู ง เพี ย ง ๒๕ เมตรเท่ า นั้ น โดยได้ รั บ การ ประทานนามจากท่ า นเจ้ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระมหารัชมังคลาจารย์ วัดปากน�้ำภาษีเจริญ Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
เมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ให้ว่า “พระพุ ท ธโลกเชฏฐ์ วิ เ ศษกิ ต ติ ป าล มหาชนบูชติ ” อันมีความหมาย “พระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐที่สุดในโลก พระกิตติปาลมหาเถร พร้อมด้วยศรัทธาสร้างท�ำให้วิเศษแล้ว เป็นที่ เคารพนับถือบูชาของมหาชนแล้ว” และสมควร เพิม่ ความสูงเป็น ๓๒ เมตร เพือ่ ความสวยงาม เหมาะสม เป็นศรัทธาแก่สาธุชนทีไ่ ด้รว่ มสร้าง จักได้มีอาการครบ ๓๒ สาเหตุที่เลือกพระพุทธรูปปางเปิดโลก มาก่อสร้างนัน้ เพือ่ เป็นพุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ และเพื่อเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา ปฏิบัติบูชา ระลึกถึงคุณขององค์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อความเจริญรุ่งเรือง ของพระพุทธศาสนาให้ยาวนานสืบต่อไป หลั ง จากวางศิ ล าฤกษ์ เมื่ อ วั น ที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ จึ ง เริ่ ม ก่ อ สร้ า ง ในเดื อ นกั น ยายนปี เ ดี ย วกั น กระทั่ ง แล้ ว เสร็ จ และจั ด พิ ธี ส มโภชในเดื อ นตุ ล าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ทางวั ด ได้ จั ด ท� ำ ลิ ฟ ต์ ใ ห้ ผู ้ มี จิตศรัทธาสามารถขึน้ ไปสักการบูชาได้สะดวก ถึ ง ลานที่ ป ระดิ ษ ฐานพระพุ ท ธโลกเชฏฐ์ วิเศษกิตติปาล มหาชนบูชิต ส�ำหรับส่วนฐานของพระพุทธโลกเชฏฐ์ วิเศษกิตติปาล มหาชนบูชิต แบ่งเป็น ๒ ชั้น ชั้นล่างเป็นพื้นที่ประกอบกิจกรรมทางสงฆ์ ชั้น ๒ เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ให้พุทธศาสนิกชนสักการบูชา พร้อมกับภาพ จิตรกรรมแสดงขั้นตอนการด�ำเนินงานสร้าง พระพุทธโลกเชฏฐ์ วิเศษกิตติปาล มหาชนบูชติ และภาพปริศนาธรรมของวันพระพุทธเจ้า เปิดโลก
aking Motorway No. 9 or south T of Kanchanaphisek road, upon approaching Sri Nakarin toll booth, white respectable Buddha image stands remarkably with a Buddhist Prayer Wheel in the back. Such a marvelous site makes any passerby wonder where its exact location is.
This enormous Buddha image called Phra Buddha Lokkachet Wisetkittipan Mahabuchonchit is installed at Wat Bang Ping, another ancient temple of Samutprakan, on the canalfront of Khlong Bang Ping, not too far from Sri Nakharin Intersection. The standing Buddha image in the attitude of opening up the Three Worlds was built according to the request of Phra Khru Palat Sochai Kittipalo, the current abbot of Wat Bang Ping to continue the unfinished task of Phra Khru Phiphit Phattanapithan, the previously deceased abbot, as another spiritual sanctuary besides Luang Phor Phra Buddha Mongkhon Sunthon, the principle Buddha image in the temple's ubosot. Originally, the model was brought from Wat Buddha Utthayan (Doi In See) in Chiang Rai and was supposed to be only 25 meters in height. On March 14, 2013, Than Chao Prakhun Somdet Phra Maharatchamangkhalajan of Wat Pak Nam Phasee Charoen granted the name: "Phra Buddha Lokkachet Wisetkittipan Mahabuchit," meaning "The World's Most Noble Lord Buddha, who has won a humble respect and worshiped by the people, built out of the pure faith of Phra Kittipala Mahathera." Thus, it was agreeable to increase its height to 32 meters to elaborate its true beauty and return the blessing to faithful people who had contributed to the construction with healthy 32 body parts.
15
The reason the attitude of opening the Three Worlds was chosen was to align with Buddhanussati (the recollection of the Lord Buddha), Dhammanussati (the recollection of Dharma) and Sangkhanussati (the recollection of Sangha) and to salute to Lord Buddha, Dharma, and Sangha for an infinite prosperity of Buddhism. After the foundation stone was laid on May 25, 2013, the construction started in the following September, completed and held a celebratory ceremony in October, 2016. For more convenience, the temple also provides an elevator to assist faithful Buddhist followers to pay their homage to Phra Buddha Lokkachet Wisetkittipan Mahachonbuchit on the upper floor. The base of Phra Buddha Lokkachet Wisetkittipan Mahachonbuchit is divided into two floors. The lower floor is a multi-purposed space for religious ceremony performances. The upper floor that enshrines the holy relics, is open to Buddhists who wish to pay their humble respect. Here, mural paintings on the walls portray the construction processes of Phra Buddha Lokkachet Wisetkittipan Mahachonbuchit along with Dharma riddles regarding the day Lord Buddha opened up the Three Worlds.
วัดบางปิ้ง ซอยมัณฑนา ๑ ต�ำบลบางเมือง อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๗๕๙ ๙๕๑๔ Wat Bang Ping Soi Manthana 1, Bang Mueang Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan, 10270 Phone: 0 2759 9514 DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
d i d yo u k n o w ?
ถนนสายลวด เป็นถนนสายสัน้ ๆ ทีแ่ ยก จากถนนสุขุมวิทตรงสามแยกโค้งโพธิ์ จนไปสิ้นสุดที่วงเวียนหอนาฬิกาปากน�้ำ รวมระยะทาง ๑.๘๕ กิโลเมตร ที่มาของชื่อถนนสายลวด เนื่องจาก สมั ย รั ช กาลที่ ๕ ทรงพระกรุ ณ า โปรดเกล้าฯ ให้มีการก่อสร้างเดินสาย โทรเลขแห่ ง แรกของประเทศไทยขึ้ น ระหว่างกรุงเทพฯ-สมุทรปราการ เพือ่ ให้มี การแจ้งข่าวจากสถานีน�ำร่องกลางทะเล อย่ า งทั น ท่ ว งที เมื่ อ มี ข ้ า ศึ ก ยกก� ำ ลั ง เข้าสู่ปากแม่น�้ำเจ้าพระยา ในส่วนของ จังหวัดสมุทรปราการมีการปักเสาเพื่อ เดินสายโทรเลขตามแนวริมน�ำ้ เจ้าพระยา เพื่อไปยังปากน�้ำ ตรงหน้าศาลาว่าการ เมื อ งในสมั ย นั้ น จากนั้ น จึ ง เดิ น สาย โทรเลขเลี ย บฝั ่ ง แนวถนนท้ า ยบ้ า น แล้วต่อสายใต้นำ�้ ไปทีก่ ระโจมไฟปากอ่าว ชาวบ้านเรียกสายโทรเลขทีเ่ ป็นเส้นเหล็ก นีว้ า่ สายลวด จึงเป็นทีม่ าของชือ่ “ถนน สายลวด” ตามแนวถนนทีป่ กั เสาโทรเลข ฝัง่ ท้ายบ้านนัน่ เอง Sai Luat Road is a short road diverted from the Khong Pho junction and ends at Paknam Clock Tower Roundabout with a total distance of 1.85 kilometers.
Tips about Samutprakan
เกร็ดจังหวัดสมุทรปราการ ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
The name Sai Luat was originated when King Rama V kindly granted his permission to install Thailand's first telegraph cable line between Bangkok and Samutprakan to enable a prompt news transmission from the pilot station in the middle of the ocean as the enemy raised its army against the estuary of Chao Phraya River. In Samutprakan, pillars were staked to install telegraph cables along the riverfront of Chao Phraya River in front of the City Hall back in the day before continuing along Thai Baan Road. The cables were, then, wired under the water all the way to the lighthouse situated at the river mouth. Thus, the locals literally called these telegraph lines made of wire "Sai Luat," which later became the name of the road.
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
17
ท้ายบ้าน เป็นท้องทีใ่ นเขตอ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ ที่อยู่ฝั่งด้านใต้ของคลองปากน�้ำเลียบริมฝั่งแม่น�้ำ เจ้าพระยาไปจนถึงปากแม่นำ�้ บริเวณหาดอมรา โดยมี ถนนท้ายบ้านตัดผ่านมาจากวงเวียนหอนาฬิกาไปจน สุดทาง ในอดีตเป็นที่อยู่ของชาวจีนที่อพยพเข้ามา โดยยึดอาชีพเลีย้ งเป็ดและท�ำการประมง ถือเป็นพืน้ ที่ ห่างไกลที่เดินทางข้ามไปจากตลาดปากน�้ำได้ล�ำบาก แต่ก็ถูกรวมเข้าเป็นส่วนท้ายของชุมชนตลาดปากน�้ำ จึงถูกเรียกว่า ท้ายบ้านตลาด หรือ ท้ายบ้าน ในปัจจุบนั Thai Baan is an area of Mueang District, Samutprakan, located in the south of Khlong Paknam along the Chao Phraya River and stretched all the way down to the estuary near Amara Beach with Thai Baan Road cutting through from Paknam Clock Tower Roundabout. In the past, it was home to Chinese immigrants who made their living on duck farming and fishery. Despite being a remote area with a great difficulty travel to and from Fresh Market, the area was considered as a backend of Paknam Market Community known as Thai Baan Talat or Thai Baan in the present.
ป้ อ มพระจุ ล จอมเกล้ า สร้ า งขึ้ น ในสมั ย รั ช กาลที่ ๕ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงให้ เตรียมการก่อสร้างป้อมปราการแห่งใหม่ ทีต่ ำ� บลแหลมฟ้าผ่า อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๔๒๗ พระองค์ทรงเห็นว่า สถานการณ์รอบด้านในขณะนั้น ศัตรู ต่ า งชาติ พ ยายามแสดงท่ า ที คุ ก คาม สยามอย่างทีส่ ดุ ถึงกับทรงต้องเร่งรัดการ ก่อสร้างและเสด็จฯ มาดูแลความคืบหน้า ด้วยพระองค์เองที่เมืองปากน�ำ้ หลายครั้ง แล้วยังทรงสละเงินส่วนพระองค์ในการ ก่อสร้างเพิม่ เติมให้อกี ในที่สุดป้อมปราการแห่งใหม่ก็สร้าง ส�ำเร็จเมื่อกลางปี พ.ศ. ๒๔๓๖ ติดตั้ง ปืนใหญ่อาร์มสตรองขนาด ๗ นิว้ ทีบ่ รรจุ กระสุนทางด้านท้ายจ�ำนวน ๗ กระบอก ส่วนชื่อป้อมปราการนั้น เหล่าเสนาบดี ได้ขอมติที่ประชุมให้เลือกชื่อป้อมจาก ที่ รั ช กาลที่ ๕ ทรงมี พ ระราชด� ำ ริ ว ่ า ป้อมพระจุลจอมเกล้า ตั้งแต่วันที่ ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๖ (ร.ศ. ๑๑๒) เป็นต้นมา จนทุกวันนี้
Phra Chulachomklao Fort was constructed during the reign of King Rama V when King Chulalongkorn ordered for a preparation to build a new fortress in Laem Fa Pha Sub-District of Phra Samut Chedi District since 1884. Upon realizing an extremely threatening situation from foreign enemies to the nation, he rushed the fortress construction, made a frequent visit to site in Paknam City himself and even provided his personal financial aid to accelerate the construction.
In the mid year of 1893, after the new .fortress construction was completed, seven end-loaded Armstrong guns with seven-inches long calibers were installed. Regarding the fortress's name, senior ministers requested the decision be made to honor King Rama V's Royal Initiation, hence, the name Phra Chulachomklao Fort since April 10, 1893.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
S M P K h i s t o r y / Pa k N a m ’ s way o f l i f e i n t h e pa s t
PakNam’s way
of life in the past
ชีวิตชาวปากน�้ำในอดีต
ละเที่ยวงานประเพณี รแ กา ส ั นม มา อ รื งเ อ ล่ ำ ้ น� าก วป ชา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖ ห่มผ้าแดงองค์พระสมุทรเจดีย์ wn the river to pay
m cruised do red Red Robe Offering The people ofanPad kpaNa the Sac rti their respect Phra SamutcipChateedi back in 1893. Ceremony to เมื อ งปากน�้ ำ ได้ ชื่ อ มาจากสภาพพื้ น ที่ ตั้ ง อยู ่ บริ เ วณปากแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาที่ ไ หลออกสู ่ อ่าวไทย ปากน�ำ้ จึงเป็นเมืองท่าหน้าด่านส�ำคัญ ทางการค้าขายและขนส่งสินค้า ท�ำให้มีผู้คน เข้ามาอยู่อาศัยและก่อตั้งเป็นชุมชนใหญ่ที่มี ประวัติศาสตร์ยาวนานนับร้อยปี ภาพถ่ายที่ บั น ทึ ก เหตุ ก ารณ์ ข องเมื อ งปากน�้ ำ จากอดี ต ได้แสดงให้เห็นถึงสภาพบ้านเมืองและวิถีของ ผู้คนที่ด�ำเนินชีวิตผูกพันกับสายน�้ำ ก่อนจะ พัฒนาการมาสู่เมืองใหญ่ในปัจจุบัน
T เรือคือปัจจัยส�ำคัญของชาวปากน�้ำในอดีต เมื่อเป็นทั้งบ้าน และพาหนะสัญจรทางน�้ำ Boats were essential to Paknam villagers both as a home and a water transportation.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
he name Paknam derived from its geographical location at the estuary of Chao Phraya River that flows into the Gulf of Thailand. Thus, Paknam has always been a significant outpost for trading and goods transportation with centuries-old communities of great diversity. Historical records of Paknam City in the old days reflect the beautiful bond between the people’s way of life and the stream before evolving to its present modernization.
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
19
เมืองปากน�้ำมีชุมชนหนาแน่นจากวัดกลางวร วิหาร ไปจนถึงริมแม่น�้ำ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๙
Paknam City was packed with communitie s from Wat Klang Worawihan to the rive rfront in 1946.
เรือประมง เรือขนของ และเรือพายสัญจร นทาง จอดเรียงรายสะท้อนความคึกคักของการเดิ ๔๗ ทางน�้ำของชาวปากน�้ำ เมื่อ พ.ศ. o๒๔ boats and row boats
s, carg A dense line of fishingofboat nam mirrored the liveliness water transportation in Pak back in 1904.
ชาวปากน�้ำยังอาบน�้ำจากล�ำคลองและใช้อุปโภค เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๙
The locals of Paknam still bathed in the river and utilized its water in 1956.
ถนนผ่านตลาดปากน�้ำจอแจ วยผ ู้คนและร้านคา้ ทีเ่ รียงรายตลอดสองฝั่ง เมอื่ ไปพ.ด้ศ. ๒๔๖๓
Both sides of the roa through Paknam Fresh Market was crowded with peodplethatandcut stal ls in 1920.
เรือนไม้ยกพื้นสูง น ใ ่ ญ ให ว รั ค บ รอ ค น ็ เป ชาวปากน�้ำอยู่กัน พ.ศ. ๒๕๔๖ in an elevated มุงด้วยจาก เมอื่ ther as a large family . d toge ipa Palm leaves in 2003 Paknam peusopeleroliofveed with N wooden ho
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
NEW SPOT
Khlong Ta-kok Canal Seagull bird-watching amongst the beautiful seashore
คลองตาก๊ก
ชมนกนางนวล ท่ามกลางชายฝั่งทะเลงาม ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
ทุกปีในช่วงฤดูหนาว การมาถึงของนกนางนวลถือเป็นสัญลักษณ์ คู่กับสะพานสุขตา ด้วยภาพของนกนางนวลนับพันตัวบินร่อนไปมา เหนื อ ผื น น�้ ำ ท่ า มกลางผู ้ ค นที่ เ ฝ้ า ดู แ ละโยนกากหมู ใ ห้ เ ป็ น อาหาร ในบรรยากาศสนุกสนานริมทะเล จนท�ำให้สถานตากอากาศบางปู กลายเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ มี ชื่ อ เสี ย งของจั ง หวั ด สมุ ท รปราการ มายาวนาน และขณะนี้ มีส ถานที่ อีก แห่ ง ให้ นั ก ท่ องเที่ ย วสามารถ เฝ้าชมนกนางนวลได้อย่างใกล้ชิดท่ามกลางสัมผัสทิวทัศน์งดงามของ ชายฝั่งทะเลสมุทรปราการได้เช่นเดียวกับสถานตากอากาศบางปู very year, winter is signified by the arrival of thousands Ewhere of seagulls hovering over the sea water at Sukta Bridge travelers enjoy watching and feeding pork rinds
to the seagulls, making Bang Pu Recreation Center a long famous tourist destination of Samutprakan province. However, recently, there is a new destination where travelers can closely observe seagulls on an equally beautiful coast of Samutprakan. Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
21
Khlong Ta-kok (or Ta-Kok Canal) is only nine kilometers further away from Bang Pu Recreation Center. At KM. 47 before reaching Suvarnabhumi Elevated Water Bridge, turn right into Soi Thetsaban Bang Pu 126 to enter Sufficiency Economy Community of Khlong Ta-kok, a fishery community where local villagers make their living on traditional coastal fisheries. It is typical to see small fishing boats docking and fishing nets hanging in the sun to dry along Khlong Ta-kok. At the road’s end at the canal mouth of Khlong Ta-kok, Khop Fah La Tawan, a seaside wooden restaurant, was originally co-founded by the locals of Khlong Ta-kok Community to generate income to the community. Undoubtedly, it is well-recognized for its fresh and delicious local seafood recipes at affordable prices. With elevated floor, the restaurant offers an infinite seaview with flocks of seagulls flying by. From Khop Fah La Tawan Restaurant, there is a cement bridge that leads all the way to the sea. After the former small wooden bridge with no rail gradually wore out after a long service, it was renovated into a stronger concrete bridge with proper pillars and rails for safety reasons. With a more convenient stroll down the bridge to witness the panoramic seaview and feed seagulls, the restaurant magnetizes more and more travelers to Khlong Ta-kok. In November, seagulls escape the the harsh cold winter from the North of the earth to Khlong Ta-kok. Travelers can watch flocks of seagulls hovering over the coast or floating in the sea and feed them by throwing pork rinds into the air just as they usually do at Bang Pu Recreation Center. Here, the place comes in a more compact scale but it offers a much closer and private observation with less crowded surroundings and at a much leisure pace. Seagulls, too, comfortably swoop by to fetch pork rinds from traveler’s hand, stroll close by, and perch on the electric wire above. Along with long Benches on the bridge, a small pavilion at the bridge’s end is a brilliant place by the coast of Samutprakan to enjoy the beautiful scenery in the afternoon particularly during the sundown when the sky turns spectacularly orange or red.
คลองตาก๊กอยู่เลยจากสถานตากอากาศ บางปูไปตามถนนสุขมุ วิทอีกเพียง ๙ กโิ ลเมตร จนถึงหลัก กม. ที่ ๔๗ ก่อนถึงสะพานน�้ำ ยกระดั บ สุ ว รรณภู มิ มี ท างเลี้ ย วขวาไปใน ซอยเทศบาลบางปู ๑๒๖ เข้าสูช่ มุ ชนพอเพียง คลองตาก๊ก ชุมชนประมงทีช่ าวบ้านยังยึดถือ วิถีอาชีพประมงชายฝั่งแบบดั้งเดิม มองเห็น เรือประมงล�ำเล็กๆ จอดอยู่ในคลองตาก๊ก และชาวบ้านมักน�ำอวนจับปลามาตากริมทาง ถนนไปสุดปลายทางที่ปากคลองตาก๊ก และมีรา้ นขอบฟ้าลาตะวันตัง้ อยูใ่ นบรรยากาศ เรือนไม้ริมทะเล ร้านอาหารแห่งนี้เป็นร้าน ของคนในชุมชนคลองตาก๊กร่วมกันตั้งขึ้นมา เพือ่ สร้างรายได้ให้ชมุ ชน จึงขึน้ ชือ่ เรือ่ งอาหาร ทะเลต�ำรับพื้นบ้านสดอร่อยในราคาไม่แพง บนร้านขอบฟ้าลาตะวันที่ยกพื้นสูงยังเป็นจุด ที่มองเห็นชายฝั่งทะเลกว้างไกลสุดสายตา ท่ามกลางฝูงนกนางนวลบินโฉบไปมา จากร้ า นขอบฟ้ า ลาตะวั น มี ส ะพานปู น ทอดยาวออกไปสูท่ ะเล เดิมเป็นสะพานไม้เล็กๆ ปราศจากราวกัน้ และผ่านการใช้งานมานานจน อยูใ่ นสภาพทรุดโทรม ต่อมาได้ปรับปรุงสร้าง ใหม่ให้เป็นสะพานคอนกรีตแข็งแรงพร้อมเสา และราวกั้นเพื่อความปลอดภัย ช่วยให้เดิน
ออกไปชมทิวทัศน์และให้อาหารนกนางนวลได้ สะดวกกว่าเดิม ส่งผลให้มคี นเดินทางมาเทีย่ ว ทีค่ ลองตาก๊กเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ นกนางนวลพากันบินย้ายถิ่นหนีอากาศ หนาวเย็ น จากตอนเหนื อ ของโลกมาถึ ง คลองตาก๊กราวเดือนพฤศจิกายน นักท่อง เทีย่ วจะพบเห็นนกนางนวลโผบินเหนือชายฝัง่ หรือว่ายลอยรวมฝูงอยู่ในน�้ำ และให้กากหมู เป็นอาหารแก่นกนางนวลได้เช่นเดียวกับที่ สถานตากอากาศบางปูในบรรยากาศทีเ่ หมือน ย่อส่วนลงมา นักท่องเทีย่ วไม่หนาแน่น อีกทัง้ สะพานไม่ใหญ่นัก สามารถดูและให้กากหมู นกนางนวลได้อย่างใกล้ชดิ มีความเป็นส่วนตัว มากกว่า นกนางนวลจะบินโฉบไป-มาอย่าง ไม่ตื่นกลัว บางครั้งลงมาโฉบกินกากหมูถึง ในมือ บางตัวลงมาเดินให้ดใู กล้ๆ บนสะพาน และเกาะบนสายไฟเหนือศีรษะ บนสะพานมี ม ้ า นั่ ง ยาวจั ด เตรี ย มไว้ ใ ห้ หลายตัว รวมทั้งบริเวณปลายสะพานเป็น ศาลาหลังเล็กๆ เหมาะส�ำหรับนั่งชมทิวทัศน์ ในยามแดดร่ ม ลมตก โดยเฉพาะก่ อ น พระอาทิ ต ย์ ต กท่ า มกลางแสงสี แ ดงส้ ม ฉาบท้องฟ้าในบรรยากาศงดงามก่อนตะวัน ลับขอบฟ้าจากชายฝัง่ สมุทรปราการ
ชุมชนพอเพียงคลองตาก๊ก ซอยเทศบาลบางปู ๑๒๖ ถนนสุขุมวิท ต�ำบลบางปู อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๘๐
Sufficiency Economy Community of Khlong Ta-kok Soi Thetsaban Bang Pu 126, Sukhumvit Road, Bang Pu Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan 10280 DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
r e a dy t o g o
ศาสนสถาน
นอกจากเป็นศูนย์รวมจิตใจของผูม้ จี ติ ศรัทธาแล้ว ศาสนสถานยังเป็นสถานที่ส�ำหรับปฏิบัติธรรม ของผูค้ นทีน่ บั ถือศาสนานัน้ ๆ ภายในศาสนสถาน แต่ละแห่งจึงประกอบไปด้วยสถานที่และอาคาร หลากหลายรูปแบบส�ำหรับใช้ประโยชน์ในด้าน ต่างๆ ดังนัน้ เมือ่ เราเข้าไปประกอบพิธที างศาสนา หรือเทีย่ วชมศาสนสถานแห่งใด ก็ควรรูจ้ กั สถานที่ ส�ำคัญภายในศาสนสถาน เพื่อจะได้ปฏิบัติตน ได้อย่างถูกต้อง ช่วยให้รบั บุญกุศล ความรู้ และ ความสุขกลับไปได้อย่างเต็มเปีย่ ม
Comfortable trip around religious places
Beyond a spiritual sanctuary of faithful followers, religious places are where religious ceremonies are held. Thus, there are buildings and areas to serve different purposes. It is vital to learn the prominent elements within these religious places to behave properly and fully welcome wonderful merits, knowledge and happiness. .
Get to know religious places
เที่ยวสบายใจในอาราม
วิหาร
วิ ห าร คื อ สถานที่ ป ระดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป หรื อ รูปแทนองค์พระพุทธเจ้าซึง่ เสมือนคล้ายดัง่ ทีป่ ระทับ ของพระพุทธเจ้าคู่กับอุโบสถ ต่างตรงที่วิหารไม่มี ขอบเขตสีมาหรือซุ้มเสมาล้อมรอบเหมือนอุโบสถ แต่ในปัจจุบนั บางวัดก็สร้างอุโบสถและวิหารรวมเป็น หลังเดียวกัน ไม่จ�ำกัดว่าเป็นสถานที่สร้างขึ้นเพื่อ พระสงฆ์ประกอบสังฆกรรมเพียงอย่างเดียว ฆราวาส สามารถเข้าไปประกอบพิธกี รรมต่างๆ ได้ และวิหาร ยังมีรูปแบบโครงสร้างต่างออกไปหลายแบบ อาทิ วิหารคด วิหารทิศ วิหารยอด และวิหารหลวง ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Vihara
Vihara (or Wihan in Thai) is where Buddha images or the representatives of the Lord Buddha are enshrined. Although it may seem similar to Ubosot, the boundary of Vihara is neither marked or surrounded by Sema. At the present, some temples merge Ubosot and Vihara into one solid building allowing both the monks and the laypersons to perform various types of Buddhist ceremonies. The architectural structures of Vihara can be varied from Wihan Khot, Wihan Thit, Wihan Yod and Wihan Luang.
อุโบสถ
อุโบสถ หรือโบสถ์ ถือเป็นสถานที่ส�ำคัญ และโดดเด่นที่สุดในเขตพุทธาวาส ซึ่งเป็น พื้นที่ส�ำหรับพระสงฆ์ใช้ประกอบพิธีกรรม โดยพระสงฆ์จะใช้อุโบสถเพื่อท�ำสังฆกรรม แต่ เ ดิ ม พระสงฆ์ จ ะใช้ พื้ น ที่ โ ล่ ง ที่ ก� ำ หนด ต�ำแหน่ง “สีมา” หรือซุม้ เสมาเป็นขอบเขต พื้นที่สังฆกรรม ต่อมาเมื่อมีผู้บวชมากขึ้น และภายในพื้นที่สังฆกรรมมักประดิษฐาน พระพุ ท ธรู ป องค์ ส� ำ คั ญ ท� ำ ให้ มี พุ ท ธศาสนิกชนมาสักการบูชาและร่วมท� ำบุญ เป็นจ�ำนวนมาก อุโบสถจึงถูกสร้างขึ้นเป็น อาคารถาวรและออกแบบ-ตกแต่ ง อย่ า ง งดงาม ถ้าเป็นพระอารามหลวง เรียกว่า พระอุโบสถ ทางภาคอีสาน เรียกว่า สิม Ubosot (Ordination Hall)
Ubosot or Bot, the most crucial and outstanding structure of a Buddhist temple, is where Buddhist monks perform religious services. In the beginning, "Sema" or "Sema was traditionally located in an open space to mark the sacred boundary of a religious service area. However, due to increasing number of new monks and Buddhists visiting to pay their homage and make merits, Ubosot was built into a permanent building with magnificent design and decoration. In Royal monasteries, it is referred to as "Phra Ubosot," and "Sim" in the northeastern region of Thailand.
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 23
ศาลาการเปรียญ
ศาลาการเปรียญเป็นอาคารในเขตสังฆวาส หรือพื้นที่ภายในวัดที่ก�ำหนดไว้เป็นที่อยู่ ของพระสงฆ์ เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั ภิ ารกิจ ส่วนตัวทีไ่ ม่เกีย่ วเนือ่ งกับพิธกี ารทางศาสนา เดิมศาลาการเปรียญใช้เป็นสถานที่เพื่อ การเรี ย นของพระสงฆ์ ภายหลั ง จึ ง ใช้ เป็นอาคารอเนกประสงค์ให้ฆราวาสได้ ใช้ประโยชน์ร่วมกันส�ำหรับบ�ำเพ็ญกุศล ในวั น พระและวั น ส� ำ คั ญ ทางศาสนา ศาลาการเปรี ย ญจึ ง มั ก ปลู ก สร้ า งเป็ น อาคารหลังใหญ่ ยกพื้นสูง กั้นฝาโปร่งๆ ภายในศาลาด้านหนึง่ ยกพืน้ เป็นอาสน์สงฆ์ ส�ำหรับพระสงฆ์ขึ้นนั่งเจริญพระพุทธมนต์ พร้อมทีต่ งั้ พระพุทธรูปและเครือ่ งบูชา Sala Kan Parien (Sermon Hall)
Sala Kan Parien is a Buddhist monk living residence where monks may operate personal matters irrelevant to the religious ceremonies. Originally, it was designed to provide monk's educational purposes but gradually became a multi-purpose building shared among Buddhists during merit-making ceremonies on Buddhist Subbaths or Buddhist holidays. Hence, Sala Kan Parien is often a tall building with high-raised floor and sparse partition walls. Inside, the floor is partially elevated to install platform seats for the monks, Buddha images and sacred offerings during chanting ceremonies.
Masjid
มัสยิด
มัสยิด หรือสุเหร่า เป็นศาสนสถานของชาวมุสลิม ชาวมุสลิมในแต่ละชุมชนจะสร้างมัสยิดขึ้นเพื่อ เป็นสถานทีป่ ฏิบตั พิ ธิ กี รรมทางศาสนา นอกจากนี้ มัสยิดยังเป็นโรงเรียนสอนอัลกุรอานและศาสนา สถานทีช่ มุ นุมพบปะ ประชุม เฉลิมฉลอง ท�ำบุญ และสถานทีพ่ กั พิงของผูส้ ญ ั จรผูไ้ ร้ทพี่ ำ� นัก โดยจะ ต้องรักษามารยาทของมัสยิด เช่น การไม่คละเคล้า ระหว่างเพศชายและหญิง การกระท�ำที่ขัดกับ บทบัญญัติห้ามของอิสลาม (ฮะรอม) ทั้งมวล ภายในมัสยิดจะมีองค์ประกอบตามความจ�ำเป็น ด้านประโยชน์ใช้สอยและความเรียบร้อยสวยงาม อาทิ โถงละหมาด ชุ ม ทิ ศ แท่ น แสดงธรรม โถงอเนกประสงค์ และทีอ่ าบน�ำ้ ละหมาด
Masjid or mosque is a religious sanctuary built by the Muslim in each community to carry out their religious ceremonies. It also acts as a school for Quran teaching and Islamic Studies, a gathering or a meeting place for celebrations or merit-makings, and a shelter for the homeless. Here, Masjid etiquettes must be strictly followed which include no mingling between male and female and any action against Islamic prohibitions. The beautiful interior decorations that serve necessary functions are ranged from Muslim prayer hall, the Qibla, the Minbar (a pulpit where the Imam stands to deliver the sermons), multi-purpose function hall and washrooms for Wudhu (the Islamic procedures for washing parts of the body).
โบสถ์คริสต์
ในทางคริสต์ศาสนาก็ไม่ต่างจากพุทธศาสนา โบสถ์ซึ่งในภาษาอังกฤษ เรียกว่า Church หมายถึง สถานที่ที่ผู้นับถือศาสนาคริสต์มารวมตัว เพื่อปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนาร่วมกัน หรือบ้านที่มีไว้เพื่อให้คริสตชน ได้มาชุมนุมพร้อมกับประกอบพิธีกรรมนมัสการพระเจ้า โดยโบสถ์ มักตกแต่งด้วยสถาปัตยกรรมโดดเด่นและงดงาม ประดับด้วยรูปปั้น รูปเคารพต่างๆ ประกอบส่วนต่างๆ ทีส่ ำ� คัญ อาทิ ประตูโบสถ์ หอระฆัง อ่างน�้ำโบสถ์ รูปสิบสี่ภาค และเครื่องเรือนศักดิ์สิทธิ์ Christian Churches
Similar to Buddhist Ubosot, church is where Christian followers gather to collectively perform religious rites as well as to celebrate the Holy Mass. Besides the exquisite architectural design and sacred statues, the significant elements of a church also include the gate, the bell tower, the Holy water stoup, the Stations of the Cross and other sacred furnitures. DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
m a p / to u r i st m a p o f sa m u t p r a k a n
คลองแพ Khlong Phae
มัสยิดดารอสอาดะห์ Masjid Daros Adah
วัดดวงหทัยนิรมลของแม่พระ Wat Duang Haruethai Niramon Khong Mae Phra (or Sacred Heart of Mary Church)
1
3
2 4 5
ศาลเจ้าเสียนหลอไต้เทียนกง Xian Loh Tai Tian Gong Shrine
อ่าวไทย Gulf of Thailand
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 25
tourist map of samutprakan
แผนที่ท่องเที่ยวสมุทรปราการ
1
วัดพิชัยสงคราม Wat Phichaisongkhram
4
วัดชัยมงคล Wat Chai Mongkhon
2
วัดกลางวรวิหาร Wat Klang Worawihan
5
วัดอัครเทวดาราฟาแอล Saint Raphael Church
3
วัดในสองวิหาร Wat Nai Song Wihan
วัดมงคลโคธาวาส Wat Mongkhon Khothawat
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
f e at u r e
Sacred Land cover journey
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 27
วัดไพชยนต์พลเสพย์ราชวรวิหาร ต�ำบลบางพึ่ง อ�ำเภอพระประแดง Wat Paichayonphonsep Ratchaworawihan, Bang Phueng Sub-District, Pra Pradaeng District.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
c o v e r j o u r n e y / L u a n g P h o r Pa n S e a P r o c e ss i o n
รูปเหมือนหลวงพ่อปาน ประดิษฐานบนรถบุษบก
The simulated image of Luang Phor Pan installed on the pavillion truck.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 29
Luang Phor Pan Sea Procession The grand tradition of faith
แห่หลวงพ่อปาน ทางทะเล
ประเพณียิ่งใหญ่ด้วยแรงศรัทธา หลังจากว่างเว้นไป ๒ ปี วันขึ้น ๔ ค�่ำ เดือน ๑๒ ในปีที่ ผ่านมางานประเพณียิ่งใหญ่ของชาวคลองด่านและจังหวัด สมุ ท รปราการก็ ไ ด้ ฤ กษ์ เ วี ย นบรรจบกลั บ มาจั ด อี ก ครั้ ง พร้อมกับภาพตระการตาที่หาชมได้ยาก เมื่อขบวนเรือแห่ รูปเหมือนหลวงพ่อปาน พระเกจิอาจารย์ชื่อดังของจังหวัด สมุ ท รปราการนั บ ร้ อ ยล� ำ พากั น แล่ น ออกจากคลองด่ า น สู่ท้องทะเลอ่าวไทย
A
fter two years of break, on the fourth day of the waxing moon in the 12th lunar month last year, the grand tradition of Khlong Dan and Samutprakan made its spectacular return as hundreds of boats joined the boat procession of the simulated image of Luang Phor Pan, the guru monk of Samutprakan, sailing out of Khlong Dan and into the open sea of the Gulf of Thailand.
The long inherited tradition of Luang Phor Pan Boat Procession is held on the fourth day of the waxing moon in the 12th lunar month of every year. Since most Khlong Dan villagers were fishermen, they usually stopped by to worship Luang Phor Pan before setting sail and it appeared that they always returned home with a boat full of fish. Thus, they have grown a dear level of respect and faith in Luang Phor Pan. Even after his passing, they keep organizing an annual Luang Phor Pan Procession up until the present day.
ธงหลวงพ่อปาน
Luang Phor Pan’s sacred flags.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
อัญเชิญรูปเหมือนหลวงพ่อปานขึ้นประทับบนคานหามเพื่อน�ำไปลงเรือบุษบก
The simulated image of Luang Phor Pan was respectfully invited onto the carrier before transferring to the pavillion boat.
ประเพณี แ ห่ อ งค์ ห ลวงพ่ อ ปานออกสู ่ ปากอ่ า วไทยจั ด ขึ้ น ตรงกั บ วั น ขึ้ น ๔ ค�่ ำ เดื อ น ๑๒ ของทุ ก ปี เป็ น ประเพณี ที่ ถื อ ปฏิบตั สิ บื มายาวนาน เนือ่ งจากชาวบ้านแถบ คลองด่านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท�ำประมง ดั ง นั้ น ก่ อ นที่ ช าวบ้ า นจะออกเรื อ หาปลา ต้องเดินทางมากราบไหว้หลวงพ่อปานเพื่อ ขอพรให้จับปลาได้คราวละมากๆ แล้วก็มัก สัมฤทธิผลสามารถจับปลาได้เต็มล�ำกลับมา ช่วยให้ชาวบ้านคลองด่านอยู่ดีกินดี พวกเขา จึ ง มี ค วามเคารพศรั ท ธาต่ อ หลวงพ่ อ ปาน อย่างมาก แม้เมื่อท่านมรณภาพไปแล้วยังได้ ร่วมกันจัดประเพณีแห่รปู เหมือนหลวงพ่อปาน สืบต่อมาจนถึงปัจจุบนั หลวงพ่ อ ปานเคยจ� ำ พรรษาและเป็ น เจ้าอาวาสวัดมงคลโคธาวาส วัดเก่าแก่ทสี่ ร้าง ขึ้นมาหลายร้อยปีตั้งแต่สมัยต�ำบลคลองด่าน ยังมีชอื่ เรียกว่าต�ำบลบางเหีย้ ขณะทีช่ าวบ้าน มั ก จดจ� ำ วั ด นี้ ใ นชื่ อ วั ด หลวงพ่ อ ปาน ด้ ว ย เพราะท่านได้ชื่อว่าเป็นพระอริยสงฆ์ที่ยึดมั่น เคร่งครัดทางพระธรรมวินัย เป็นเกจิอาจารย์ ชือ่ ดังทางวิปสั สนากรรมฐาน พร้อมกับพัฒนา สร้างความเจริญให้แก่วัดมงคลโคธาวาสและ คลองด่าน แม้หลวงพ่อปานจะมรณภาพไปนานกว่า ร้อยปีแล้ว ผู้คนยังคงเลื่อมใสศรัทธาเดินทาง ไปที่วัดมงคลโคธาวาสเป็นจ�ำนวนมาก เพื่อ ปิดทองและเคารพกราบไหว้รูปเหมือนของ หลวงพ่อปานในวิหาร ขณะเดียวกันมีการจัดงาน นมั ส การและแห่ รู ป เหมื อ นหลวงพ่ อ ปาน ทางน�้ำขึ้นทุกปี ในงานจะอัญเชิญรูปเหมือน หลวงพ่อปานจากวิหารลงเรือบุษบกขนาดใหญ่ ที่ ป ระดั บ ประดาอย่ า งสวยงามล่ อ งไปตาม คลองด่าน พร้อมกับเรือประมงของชาวบ้าน จ� ำ นวนมากเข้ า ร่ ว มขบวนแห่ อ อกไปที่ ปากอ่าวด้วย หลังจากนัน้ จึงเคลือ่ นขบวนกลับ เข้าฝั่ง แล้วอัญเชิญรูปเหมือนหลวงพ่อปาน ขึ้นรถบุษบกแห่ไปตามถนนสุขุมวิท จนถึง ตัวเมืองสมุทรปราการพร้อมขบวนรถติดตาม ขบวนแห่หลายร้อยคัน
นักแสดงสวมชุดเสือ สัญลักษณ์ของหลวงพ่อปาน
Actors in a tiger suit as a symbolic expression of Luang Phor Pan.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
31
Luang Phor Pan was the abbot of Wat Mongkhon Khothawat, a hundred-year old temple first established when Khlong Dan Sub-District was still known as Bang Hia. However, the locals recognized it by the name of Luang Phor Pan as he was both a noble monk and a guru monk who enforced strict Buddhist disciplines, famous inVipassana meditation and brought prosperity to Wat Mongkhon Khothawat and Khlong dan. Even a hundred years after Luang Phor Pan's passing, people remain their faith and respect in him and still travel to Wat Mongkhon Khothawat to apply a golden leaf on the simulated image of Luang Phor Pan. In every annual worshipping or boat procession, the simulated image of Luang Phor Pan is respectfully invited from the Vihara and enshrined on a large beautifully decorated boat before sailing down Khlong Dan Canal along with a fleet of local fishing boats towards the estuary. Upon its return to the shore, Luang Phor Pan's image is, then, transferred to a truck parade that travels down Sukhumvit Road and back to Samutprakan escorted by hundreds of cars and trucks. The festival takes place early in the morning of the fourth day of the waxing moon in the 12th lunar month. At 07.09 am, an auspicious timing, the simulated image of Luang Phor Pan is respectfully invited from the Vihara and boarded onto a boat at the pier in front of Wat Mongkhon Khothawat. Along the way, the holy procession is accompanied by a large crowd of faithful followers, fair ladies performing a traditional thai dance, a lion dance parade and a grand Thai orchestra. One of the most outstanding elements of Luang Phor Pan Procession is actors in tiger suits leading the parade as the tiger is a symbolic expression of Luang Phor Pan whose most renown amulet is a sacred tiger tooth carved into a sitting tiger. Back in the days after Luang Phor Pan created and distributed tiger amulets to Khlong Dan villagers, the town was recognized and news quickly spreaded about how Luang Phor Pan's tiger tooth brought about a powerful protection against weapons and all kinds of dangers and strong charismatic power.
เรือร่วมขบวนแห่รูปเหมือนหลวงพ่อปาน แล่นไปตามคลองด่านเพื่อออกสู่ปากอ่าว
Luang Phor Pan Boat Procession cruising down Khlong Dan canal towards the estuary.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
When the procession arrives at the pier in front of the temple, many villagers are waiting to join the parade in their small and large boats as the simulated image of Luang Phor Pan is respectfully transported onto a gracefully decorated boat. Then, the water procession sets sail from Wat Mongkhon Khothawat towards the estuary along with an immense parade of fishing boats of all imaginable sizes, many of which are decorated with vibrant colors, reflecting their strong faith in Luang Phor Pan. According to the tradition of fishermen, soon as the echo of firecrackers ends, the boat parade cruises down the canal of Khlong Dan in a festive atmosphere among the celebrating music of KlongYao (long and narrow traditional Thai drum), the grand Thai orchestra, the lion dance parade, the entertaining performances, dances and stereo on many fishing boats in the parade. It is obvious that the festival is not only a tradition filled with faith but also great fun and excitement. The longer the procession cruises down Khlong Dan, the more villagers join in with their boats. By the time the procession passes the estuary of Khlong Dan and into the Gulf of Thailand, an extremely far-stretched line of small and large boats cruising side by side is such a rare and remarkable sight that can only be witnessed in such grand tradition of pure faith. Luang Phor Pan Boat Procession continues to sail against the ocean waves and completes three rounds of circling around the estuary. According to the local belief, it will bring peace, happiness, prosperity and successful fishery to the people. Then, the most anticipated moment comes as the main boat that carries the sacred image docks in the middle of the sea and hands out Luang Phor Pan's sacred flags to all the faithful villagers who joined the boat parade. The fun is when each boat sails pass the main boat to receive the flag one after another. After completing three rounds of circling around the estuary of Khlong Dan, Luang Phor Pan Boat Procession cruises back to Khlong Dan to return to
คณะเชิดสิงโตท�ำการแสดงโชว์บนเรือ
The lion dance parade performance on the boat. ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 33
ขบวนเรือน้อยใหญ่นับร้อยล�ำแล่นตามกันไปกลางทะเลอย่างตื่นตา
A spectacular sight of hundreds of small and large boats sailing side by side towards the ocean.
พิ ธี แ ห่ รู ป เหมื อ นหลวงพ่ อ ปานเริ่ ม ขึ้ น ในยามเช้าของวันขึน้ ๔ ค�ำ่ เดือน ๑๒ โดยถือ ฤกษ์ดเี วลา ๐๗.๐๙ นาฬิกา อัญเชิญรูปเหมือน หลวงพ่อปานที่ประดิษฐานอยู่ภายในวิหาร หลวงพ่อปานออกมาขึ้นประทับบนคานหาม เพือ่ แห่ไปลงเรือทีท่ า่ น�้ำหน้าวัดมงคลโคธาวาส ตลอดทางมีศิษยานุศิษย์และพี่น้องประชาชน ผู้มีจิตศรัทธาจ�ำนวนมากร่วมขบวนแห่เพื่อ ความเป็นสิริมงคล พร้อมทั้งเหล่าสาวงาม นางร�ำ คณะเชิดสิงโตร่วมขบวนไปพร้อมกับ วงมโหรีบรรเลงประกอบไปตลอดทาง สิ่ ง โดดเด่ น ในขบวนแห่ รู ป เหมื อ น หลวงพ่อปานที่ขาดไม่ได้ คือนักแสดงสวม ชุ ด เสื อ น� ำ ขบวน เพราะเสื อ เปรี ย บเสมื อ น สัญลักษณ์ของหลวงพ่อปาน โดยมีเขี้ยวเสือ แกะเป็ น รู ป เสื อ นั่ ง เป็ น เครื่ อ งรางของขลั ง ที่มีชื่อเสียงของท่าน ครั้งนั้นหลวงพ่อปาน สร้ า งเสื อ เป็ น เครื่ อ งรางแจกจ่ า ยให้ กั บ
ชาวคลองด่ า น ส่ ง ผลให้ ช าวบ้ า นพากั น หลั่ ง ไหลมาที่ วั ด เพื่ อ รั บ แจกเสื อ และพา กัน โจษจั น ว่ า เสื อ หลวงพ่ อ ปานมี พุ ท ธคุ ณ ด้านคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด และเมตตา มหานิยม จนกลายเป็นเครื่องรางที่มีชื่อเสียง ของหลวงพ่อปาน เมื่ อ ขบวนแห่ ไ ปถึ ง ท่ า น�้ ำ หน้ า วั ด ที่ มี ชาวบ้านน�ำเรือน้อยใหญ่มาจอดเรียงรายเพื่อ รอร่วมขบวนทางน�ำ้ รูปเหมือนหลวงพ่อปาน จะถู ก อั ญ เชิ ญ ลงเรื อ บุ ษ บกที่ ต กแต่ ง อย่ า ง งดงาม เพือ่ ล่องออกจากหน้าวัดมงคลโคธาวาส ไปตามคลองด่าน มุ่งออกปากอ่าว พร้อมกับ เรื อ ของชาวบ้ า นแล่ น ตามเป็ น ขบวนใหญ่ มีทงั้ เรือประมงทุกขนาด เรือหาง เรือยนต์ ฯลฯ เรี ย กว่ า เรื อ ล� ำ ไหนที่ ส ามารถแล่ น โต้ ค ลื่ น ในทะเลได้ ชาวบ้านจะน�ำมาร่วมขบวนด้วย แรงศรั ท ธาต่ อ หลวงพ่ อ ปาน เรื อ หลายล� ำ ยังตกแต่งสวยงามเสริมให้ขบวนแห่ยิ่งน่าชม
ทันทีที่สิ้นเสียงประทัดดังสนั่นยาวนาน ที่ จุ ด ขึ้ น เป็ น สั ญ ญาณตามประเพณี ข อง ชาวประมง ขบวนเรือจะแล่นไปตามคลองด่าน ท่ามกลางบรรยากาศคึกคักสนุกสนานจากเสียง กลองยาว มโหรี เชิดสิงโต และเครื่องเสียง ของเรื อ ที่ ม าร่ ว มขบวน เรื อ แต่ ล ะล� ำ แน่ น ไปด้วยผู้คน บางล�ำมีการแสดงและเต้นร�ำ เป็นที่ครื้นเครง ถือเป็นเทศกาลงานประเพณี ทีไ่ ม่เพียงเปีย่ มด้วยจิตศรัทธาและยังเต็มไปด้วย ความสนุกสนานในรูปแบบงานรืน่ เริง ตลอดทางทีแ่ ล่นไปตามคลองด่าน มีชาวบ้าน น�ำเรือมาสมทบร่วมขบวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนเมื่ อ พ้ น ปากคลองด่ า นออกสู ่ อ ่ า วไทย จะมองเห็ น ขบวนเรื อ น้ อ ยใหญ่ นั บ ร้ อ ยล� ำ แล่นตามกันไปเป็นแนวยาวเหยียดอย่างตืน่ ตา สมกับเป็นงานประเพณียิ่งใหญ่ นับเป็นภาพ ที่หาชมได้ยาก หากไม่ได้เกิดจากแรงศรัทธา อย่างแท้จริง DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
เรือที่ประดิษฐานรูปเหมือนหลวงพ่อปานแล่นอยู่กลางทะเล
The pavillion boat carrying the sacred image of Luang Phor Pan sailing in the middle of the ocean.
ขบวนเรื อ แห่ รู ป เหมื อ นหลวงพ่ อ ปาน พากันแล่นฝ่าคลืน่ ลมวนรอบปากอ่าว ๓ รอบ ตามความเชื่อของชาวบ้านที่สืบทอดกันมาว่า หากอัญเชิญองค์หลวงพ่อปานแห่วน ๓ รอบ ที่บริเวณปากอ่าวจะท�ำให้ชาวบ้านอยู่เย็น เป็ น สุ ข และท� ำ การประมงเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง จากนั้ น จะเป็ น ช่ ว งเวลาส� ำ คั ญ ที่ เรื อ ทุ ก ล� ำ รอคอย เมื่อเรือบุษบกน�ำขบวนพร้อมแจกธง หลวงพ่อปานที่ชาวบ้านเคารพนับถือให้แก่ เรือที่ร่วมเดินทางบริเวณกลางทะเล ถือเป็น กิ จ กรรมสนุ ก สนานในเวลาที่ เรื อ แต่ ล ะล� ำ แล่ นผ่ า นเรื อบุ ษ บกพร้ อ มกับ รับ ธงที่ยื่น ให้ แล้วแล่นผ่านเลยต่อไปล�ำแล้วล�ำเล่า หลังจากแล่นวนรอบปากอ่าวคลองด่าน ครบ ๓ รอบ ขบวนเรื อ แห่ รู ป เหมื อ น หลวงพ่ อ ปานจะแล่ น ย้ อ นเข้ า สู ่ ค ลองด่ า น เพื่ อ กลั บ สู ่ ท ่ า น�้ ำ วั ด มงคลโคธาวาสอี ก ครั้ ง ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
พิ ธี ทั้ ง หมดใช้ เวลาเกื อ บ ๒ ชั่ ว โมง จนถึ ง เวลา ๐๙.๐๙ นาฬิกา จึงได้อญ ั เชิญรูปเหมือน หลวงพ่อปานขึ้นประดิษฐานบนรถบุษบกแห่ ไปทั่ ว จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ จากเขตแดน บางปะกงจนไปถึงปากน�้ำ เพื่อให้ชาวบ้าน ได้นมัสการและขอพรไปตลอดทาง ขบวนแห่ ทางรถยนต์ ก็ มี ก ารแจกธงหลวงพ่ อ ปาน เช่นเดียวกับทางเรือ พร้อมกับมอบสิ่งของ บริจาคให้แก่ชาวบ้านทีข่ าดแคลนตามจุดต่างๆ จนกระทั่งยามเย็น ขบวนแห่ทางรถจึงได้ กลั บ มาถึ ง วั ด มงคลโคธาวาส แล้ ว อั ญ เชิ ญ รูปเหมือนหลวงพ่อปานขึน้ สูว่ หิ ารให้ประชาชน นมัสการและปิดทองเพื่อความเป็นสิริมงคล และระลึกถึงคุณงามความดีของหลวงพ่อปาน ทีม่ ตี อ่ ชาวคลองด่านและจังหวัดสมุทรปราการ ตลอดมา
Wat Mongkhon Khothawat. Altogether, the festival takes approximately two hours. Next, at 09.09 am, it is time to invite the simulated image of Luang Phor Pan on to a truck parade that roams around Samutprakan province from Bang Pakong to Pak Nam so everyone would have an opportunity to worship and welcome wonderful blessings along the way. The truck parade, too, hands out Luang Phor Pan's sacred flags and, at certain stations, distributes donated items to villagers in need. In the evening, when the truck procession arrives at Wat Mongkhon Khothawat, the simulated image of Luang Phor Pan is again invited back to its original place of enshrinement. People are, then, welcome to pay their homage and apply their golden leaf on the image not only to receive splendid blessings but also to commemorate the good deeds Luang Phor Pan had long contributed to the people of Khlong Dan and Samutprakan. Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 35
เรือร่วมขบวนแห่แล่นเข้าไปรับธงหลวงพ่อปานจากเรือบุษบก
Boats sailing closer to receive Luang Phor Pan’s sacred flags from the main pavillion boat. DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
c o v e r j o u r n e y / M u sl i m C o mm u n i t y o f B a a n Pa k - L at
Muslim Community of Baan Pak-Lat The never-subsiding path of faith
ชุมชนมุสลิม บ้านปากลัด วิถีแห่งศรัทธาไม่เคยเลือนหาย
“ในสมัยก่อน ไม่วา่ คนมุสลิมจะโยกย้ายถิน่ ฐานไปทางไหน สิง่ แรกทีเ่ ขาจะนึกถึงและลงมือท�ำ เมื่อไปถึงยังแผ่นดินนั้น คือการสร้างมัสยิด” คุณอนันต์ ทรงศิริ คณะกรรมการศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชชุมชนมุสลิม-มลายูบ้านปากลัด กล่าวกับแขกผู้มาเยือน พร้อมกับเรื่องราวเล่าขานที่ถูกถ่ายทอดออกมาอย่างน่าประทับใจ โดยเฉพาะที่มาของชุมชนมุสลิมเก่าแก่ที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ จากมุสลิมรุ่นแรก ที่ เ ดิ น ทางจากประเทศอิ น เดี ย เข้ า มาค้ า ขายและปั ก หลั ก บริ เวณฝั ่ ง ตลาดพระประแดง ตั้งแต่สมัยก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
มัสยิดดารอสอาดะห์ มัสยิดหลังแรกของบ้านปากลัด Masjid Daros Adah, the first mosque in Pak Lat.
Travel
@samutprakan 37
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
มุสลิมปากลัดเข้ามัสยิดเพื่อร่วมพิธีละหมาดในวันศุกร์
Muslims of Pak Lat attend the Friday Prayer (Salat) at the mosque.
“มุ ส ลิ ม ชาวอิ น เดี ย กลุ ่ ม นี้ ค ้ า ขายเก่ ง ทั้งขยันและซื่อสัตย์ มีทักษะทางด้านบัญชี โดดเด่น ก็เลยเป็นที่โปรดให้ได้รับราชการ ท�ำงานรับใช้เจ้าเมืองนครเขื่อนขันธ์ เจ้าเมือง ก็กลัวว่าพอเสร็จงานก็จะกลับบ้านกันไปหมด จึงออกอุบายมาผูกมัดด้วยการหาลูกสาวของ ข้าราชบริพารมอญให้แต่งซะเลย” ขณะที่ มุ ส ลิ ม อี ก สายหนึ่ ง นั้ น เป็ น พวก เชลยศึกที่ถูกน�ำมาสมัยเจ้าเมืองปัตตานีเป็น ฝ่ายแพ้สงคราม ช่วงตอนต้นรัชกาลที่ ๑ เชลยศึก กลุ่มนี้ค่อนข้างมีความรู้ด้านศาสนา พอมา ปักหลักลงถิ่นฐานกันที่ปากลัด ก็ประกอบ สัมมาชีพรับราชการเป็นคนเก็บเบี้ยค่าที่ดิน ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
ส่งเจ้าเมือง จนเริม่ มีฐานะขึน้ มาเป็นชุมชนใหญ่ อย่างที่เราทราบกันดี มีชุมชนมุสลิมที่ไหน ต้องมีมัสยิดที่นั่น เพราะคนมุสลิมถือว่ามัสยิด เป็นสถาบันที่เป็นส่วนของการเคารพภักดี (อิบาดะห์) และการศึกษาไปในตัว มัสยิด ดารอสอาดะห์ มัสยิดหลังแรกของปากลัด จึงสร้างขึ้นในปี พ.ศ. ๒๓๖๗ เป็นอาคารไม้ บนเนื้อที่ ๓๐๐ ตารางวา ที่ได้รับบริจาคจาก ฮัจยีชาอิล บุตรโต๊ะวังปานา และเนื่องจาก เชลยส่วนใหญ่เป็นผูท้ รงภูมคิ วามรูท้ างศาสนา หรือที่เรียกกันว่า “โต๊ะอาเหล็ม” จึงมีมุสลิม จากพื้ น ที่ อื่ น มาขอเล่ า เรี ย นศาสนาเป็ น จ�ำนวนมาก จนชาวบ้านในยุคนั้นพูดกันว่า
"
In the past, wherever Muslims settled down, their first and foremost priority was building a mosque."
Anan Songsiri, one on the committee of Chalermrat Cultural Center of Muslim-Malay Community of Baan Pak Lat, shares with us impressive stories particularly on Samutprakan's oldest Muslim community established by the first Muslim generation that journeyed all the way from India to trade and eventually settled down along the shore of Phra Pradaeng Market even before Rattanakosin Period.
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 39
“ถ้าพายเรือจากต้นคลองเข้าสูห่ มูบ่ า้ นแขก จะได้ ยิ น แต่ เ สี ย งคนท่ อ งอ่ า นอั ล กุ ร อาน ไม่ขาดเสียงตลอดล�ำคลอง” มัสยิดดารอสอาดะห์หลังแรกสร้างเป็น ไม้สักชั้นเดียวใต้ถุนสูง เรือนไทยแบบมลายู หลั ง คาเป็ น กระเบื้ อ งวาว เสาไม้ สั ก ใหญ่ หลายต้ น มี น อกชานหรื อ ระเบี ย ง ประตู ไม้สักหนาสูงประมาณ ๓ เมตร ต่อมาเมื่อ มั ส ยิ ด เรื อ นไม้ ท รุ ด โทรมไปตามกาลเวลา มัสยิดดารอสอาดะห์หลังที่ ๒ จึงถูกสร้างขึ้น ทดแทนในปี พ.ศ. ๒๔๖๕ เป็นอาคารคอนกรีต
เสริมเหล็ก ๒ ชั้น และน�ำไม้สักจากมัสยิด หลังแรกมาใช้งานทั้งหมด ส�ำหรับมัสยิดหลัง ปัจจุบัน คือมัสยิดหลังที่ ๓ สร้าง พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นอาคารเสริมเหล็ก ๓ ชั้น และมีชั้นใต้ดิน สามารถรองรั บ ผู ้ ท� ำ ละหมาดได้ ม ากถึ ง ๑,๒๐๐ คน มั ส ยิ ด ดารอสอาดะห์ จึ ง ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ศาสนสถานและศูนย์รวมความสงบร่มเย็น ของชาวมุ ส ลิ ม ปากลั ด ตลอดเวลายาวนาน สมตามความหมายของชื่ อ ดารอสอาดะห์ ที่หมายถึง หมู่บ้านเจริญสุข
พี่น้องมุสลิมทักทายแสดงความเคารพระหว่างกัน Muslim fellows greet each other with respect.
"This group of Indian Muslims were excellent in trading,diligence and honesty. With outstanding skills in accounting, they were favored by the town ruler of Nakhon Khuean Khan to work in government services. Worrying that they would leave soon after their tasks were completed, the town ruler came up with the plan and married them to his Mon entourages' daughters. Another Muslim lineage was a group of people held captive back when the city ruler of Pattani was defeated in a war during the early reign of King Rama I. When they settled down in Pak Lat area, they also worked in government service DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชฯ จัดแสดงข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชนมุสลิมบ้านปากลัด พร้อมเครื่องใช้เก่าแก่และคัมภีร์อัลกุรอ่านโบราณ
Chalermrat Cultural Center exhibits historical information of the Muslim community of Pak Lat along with ancient appliances and an ancient copy of the Holy Quran
กล่าวได้ว่า บ้านปากลัดในอดีตคือแหล่ง ความรูท้ างวิชาการศาสนาอิสลามของประเทศ มาตลอดนานกว่ า ร้ อ ยปี ดั ง ปรากฏเป็ น หลักฐานจากผู้ที่ด�ำรงต�ำแหน่งจุฬาราชมนตรี ประมุขสูงสุดของชาวมุสลิมในประเทศไทย เกื อ บทุ ก ท่ า น ต่ า งเคยได้ ม าเล่ า เรี ย นกั บ ครูบาอาจารย์ในบ้านปากลัดทัง้ สิน้ และบุคคล เหล่ า นี้ ต ่ า งมี ลู ก ศิ ษ ย์ ลู ก หาไปทั่ ว ประเทศ หรื อ แม้ แ ต่ ใ นต่ า งประเทศอย่ า งมาเลเซี ย อีกทั้งยังได้สร้างความสัมพันธ์อันดีกับพี่น้อง ต่างศาสนาทีอ่ ยูร่ ายล้อม ไม่วา่ จะเป็นชาวมอญ ชาวไทยพุทธ หรือแม้แต่ชาวจีน ซึ่งก็มีอยู่ จ�ำนวนมาก ณ ที่นั้น จนต่างหล่อหลอมเป็น กลุ่มคนเดียวกันในที่สุด ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
“ปากลัด สันนิษฐานว่ามาจากภาษามลายู จากค�ำว่า “ตรึมปะฆือละฮ์” อันหมายถึง สถานที่ ร กครึ้ ม ตั้ ง แต่ ส มั ย รั ช กาลที่ ๑ ที่ปัตตานีแพ้สงครามสยาม ชาวมลายูที่มาตั้ง ถิ่นฐานที่บ้านปากลัด ก็เลยอยู่สืบต่อกันมา เคียงคู่กับคนพื้นที่ แต่คนส่วนมากจะรู้จัก ชาติ พั น ธุ ์ ป ากลั ด คื อ มอญ ทั้ ง ที่ จ ริ ง แล้ ว คนมลายูมาอยู่ในชุมชนนี้ก่อนคนมอญที่มา ในสมัยรัชกาลที่ ๒” คุณสมเดช มัสแหละ หนึ่งในคณะท�ำงาน เครือญาติสัมพันธ์ (รูทส์) ซึ่งเป็นคณะท�ำงาน ทีต่ งั้ ขึน้ ก่อนศูนย์วฒ ั นธรรมเฉลิมราชฯ มากว่า ๓๐ ปี โดยตั้งขึ้นเพื่อท�ำหน้าที่ติดตามบันทึก ทางประวั ติ ศ าสตร์ ที่ บ รรพชนหลงเหลื อ ไว้
collecting property taxes for the city lord until they grew wealthier and expanded into a larger community. As we all know, where there is a Muslim community, there is a Masjid (or a mosque), a sacred place of worship (Ibadah) and education to the Muslim. Built in 1824, Masjid Daros Adah was Pak Lad's first wooden mosque covering an area of 300 Square Wah (approximately 1,200 Sq. M.) donated by Hajji Cha-il, the son of Toh (a title of an Islamic Headman) Wangpana. Since most of the captives were well-educated with religious knowledge known as "Toh Arlem," a large amount of Muslims from other governing areas traveled here for religious lessons that villagers in that period all agreed: Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
41
"Soon as you've rowed your boat down to the canal entrance of Muslim villages, you will hear a constant symphony of people reading the Holy Quran." In the beginning, Masjid Daros Adah was a one-storey teakwood building with a three-meter high raised terrace and an elevated basement following the Thai-Malay architectural structure. Later, the deteriorated wooden building was replaced with a two-storey reinforced concrete building in 1922 and was reconstructed again in 2003 as a three-storey reinforced concrete building with a large basement that could shelter upto 2,000 worshippers during Salat times. Thus, the fact that Masjid Daros Adah has always been a precious religious place and a peaceful sanctuary to Muslims of Pak Lat for such a long period of time serves its true meaning of Masjid Daros Adah, a village with prospering happiness. Also, it is practical to say Baan Pak Lat was the Kingdom's important source of Islamic academics for a century as almost every Sheikhul Islam, the Supreme Leader of Muslims in Thailand, had been educated by teachers in Baan Pak Lat. These individuals, too, have followers across the country and even in foreign countries including Malaysia. Baan Pak Lat was where a good relationship among neighboring Mon Buddhists, Thai Buddhists and the Chineses was forged. "Presumably, Pak Lat is derived from the Malay word that pronounces "TruemPa-Khue-Lah" meaning a dense and shady place. Since the reign of King Rama I when Pattani was defeated in the war by Siam, Malays that settled down in Pak Lat continued to stay in the area along with the locals. Nevertheless, it is interesting that people usually think of the Mon as the original ethnic group of Pak Lat when in fact they arrived later during the reign of King Rama II."
มัสยิดดารอสอาดะห์เป็นศาสนสถานและศูนย์รวม ความสงบร่มเย็นของชาวมุสลิมปากลัดมายาวนาน Masjid Daros Adah has long been a religious place and a peaceful sanctuary to the Muslim community of Pak Lat.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
ชาวปากลัดเลือกซื้ออาหารฮาลาล
Pak Lat villagers are shopping for Halal food.
คุณสมเดชเป็นรุน่ ที่ ๕ นับจากบรรพชนคนแรก ที่มาจากปัตตานี คือ มุฮัมมัด ฟาตอนี และ เป็นกรรมการฝ่ายวิชาการของศูนย์วฒ ั นธรรม เฉลิมราชฯ ได้เล่าถึงเรือ่ งราวของพหุวฒ ั นธรรม หรือการอยูร่ ว่ มกันของสังคมทีผ่ คู้ นอยูร่ ว่ มกัน บนความหลากหลายและความแตกต่างอย่าง กลมกลืนกันว่า “ในอดี ต กลุ ่ ม ชาติ พั น ธุ ์ ที่ อ ยู ่ ด ้ ว ยกั น ต่ า งรั ก ใคร่ ป รองดองกั น ดี ม าก หลายครั้ ง มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น ทางด้ า นการแต่ ง งาน ก่อให้เกิดความผูกพันกันทางด้านเครือญาติ ปากลัด คือประวัติศาสตร์ของพหุวัฒนธรรม ทีน่ า่ สนใจ แต่ละชาติพนั ธุต์ า่ งมีวฒ ั นธรรมเป็น ของตัวเอง แต่สามารถอยู่ด้วยกันอย่างเคารพ ให้เกียรติกัน ในวันส�ำคัญของแต่ละความเชื่อ ซึ่งมีประเพณีที่ต่างกัน เช่น วันตรุษอีดทั้ง ๒ ของมุสลิม บรรพชนในอดีตก็น�ำขนมที่ท�ำใน วันส�ำคัญไปมอบให้กันและกัน การประกอบ อาชีพในอดีต ต่างเอื้ออาทรกันเป็นอย่างดี บรรพชนยุคนั้นต่างแลกเปลี่ยนสินค้า หรือ ท�ำมาค้าขายในที่แห่งเดียวกัน” ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
หากมี โ อกาสได้ เ ดิ น เที่ ย วชมบริ เ วณ รอบมั ส ยิ ด ดารอสอาดะห์ ก็ จ ะได้ สั ม ผั ส ร่องรอยของวิถีชีวิตที่กลมกลืนอย่างแยกกัน ไม่ออก ชาวปากลัดบอกว่าผูค้ นทีน่ สี่ ามารถท�ำ กิจกรรมร่วมกันได้ และแยกท�ำกิจกรรมของ แต่ละกลุ่มได้ด้วยเช่นกัน เช่น พี่น้องมุสลิม จะเข้ า มั ส ยิ ด ละหมาดทุ ก วั น ศุ ก ร์ ขณะที่ พี่ น ้ อ งไทยพุ ท ธก็ เข้ า วั ด ทุ ก วั น พระ พี่ น ้ อ ง มุสลิม ได้ไ ปนครเมกกะ พี่ น้ อ งไทยพุ ท ธไป สังเวชนียสถาน แม้จะแยกกันท�ำกิจกรรม แต่มี ความเชื่อมโยงของวัฒนธรรมและความเชื่อที่ เหมือนกัน หรือในวัฒนธรรมทางอาหาร พีน่ อ้ ง มุสลิมจะมีข้อก�ำหนดที่ต้องกินอาหารฮาลาล เท่านั้น ซึ่งหมายถึงอาหารที่สะอาด ถูกหลัก อนามัย มีกรรมวิธกี ารปรุงและการท�ำตามหลัก ของศาสนาอิสลาม พี่น้องไทยพุทธก็สามารถ กินอาหารนีไ้ ด้ รวมถึงมีวนั ส�ำคัญและวัฒนธรรม หลายอย่ า งที่ ทั้ ง ชาวไทยพุ ท ธและมุ ส ลิ ม มาร่วมกันท�ำ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษา วันส�ำคัญต่างๆ ของชาติ คือวิถีความเป็นอยู่ อย่างถ้อยทีถ้อยอาศัยต่อกัน
Somdet Masalae is one of the kinship network task force (Roots), which was established thirty years before the emergence of Chalermrat Cultural Center to trace the historical records left by ancestors, the fifth generation to move from Pattani and an academic committee of Chalermrat Cultural Center. He explained about cultural pluralism or the harmonious co-existence of people with cultural diversity, "In previous days, all ethnic groups lived in great harmony where marriage brought about strong kin relationship. Pak Lat has an interesting history of cultural pluralism of how each ethnic group still maintains its unique cultural identities, values and practices yet manages to live respectfully and honorably with others. On the Islamic New Year of both Muslims, our ancestors would offer holiday sweets to one another. Professionally, they were helpful and generous in trading goods and had no problem working in the same area."
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 43
Today, there are still traces of such seamless lifestyles left around Masjid Daros Adah. For example, while Muslims attend their Masjid to worship to Allah's kindness every Friday, Thai Buddhists make merits at the temple every Buddhist Sabbath but they would occasionally get together to jointly celebrate the King and the Queen's birthdays as well as other national holidays. Somdet adds that when the society changes, the lifestyle within the community changes but certain significant cultural identities such as traditional costumes, food and plays must be well preserved in order to pass on the the next generation. "The Cultural Center of Muslim-Malay Community of Baan Pak Lat was, thus, established to bring back "Truem-Pa-Khue-Lah" from the past. This Cultural Center is an information gathering source of Baan Pak Lat in several dimensions including thousands of historical photos and activities." Today, the Cultural Center of Muslim-Malay Community of Baan Pak Lat has been promoted to the one and the only Chalermrat Cultural Center in Samutprakan. Visitors are welcome to listen to the interesting history of Baan Pak Lat, witness ancient appliances along with a 150-year-old handwritten copy of the Holy Quran and historical photos of traditional cultures like Muslim Baby First Haircut Ceremony and Circumcision Ceremony. Traveling here to learn the ancient Muslim lifestyle in Pak Lat at Chalermrat Cultural Center will take you back in time to the neversubsiding history and faith.
วิถีชุมชนอันสงบร่มเย็นของบ้านปากลัดบริเวณมัสยิดดารอสอาดะห์
Baan Pak Lat Community’s peaceful way of life around Masjid Daros Adah.
คุ ณ สมเดชเล่ า ว่ า เมื่ อ สั ง คมเปลี่ ย น วิ ถี ชุ ม ชนก็ เ ปลี่ ย นไปด้ ว ย และมี บ างอย่ า ง ทีย่ งั คงรักษาไว้ได้ เช่น การแต่งกาย อาหารพืน้ ถิน่ ศิลปะการละเล่น อย่าง กระบี่ กระบอง เป็นต้น การจะรั ก ษาอั ต ลั ก ษณ์ ใ ห้ ยั ง คงอยู ่ และ สามารถย้อนอดีตให้คนรุ่นใหม่ได้ร�ำลึกถึงได้ จึงต้องมีการจัดตัง้ แหล่งรวบรวมประวัตศิ าสตร์ เอาไว้ “ศู น ย์ วั ฒ นธรรมชุ ม ชนมุ ส ลิ ม -มลายู บ้ า นปากลั ด จึ ง ถื อ ก� ำ เนิ ด ขึ้ น เพื่ อ น� ำ ‘ตรึมปะฆือละฮ์’ ในอดีตกลับมาสู่ปัจจุบัน อีกครั้ง ศูนย์วัฒนธรรมฯ นี้เป็นแหล่งรวบรวม ข้อมูลของบ้านปากลัดในหลายมิติ ทัง้ ภาพเก่า นั บ เป็ น พั น ๆ ภาพ สิ่ ง ของที่ เ ป็ น ร่ อ งรอย ประวัติศาสตร์ กิจกรรม และอื่นๆ”
ปั จ จุ บั น ศู น ย์ วั ฒ นธรรมชุ ม ชนมุ ส ลิ ม มลายูบ้านปากลัด ได้รับการยกระดับเป็น ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชชุมชนมุสลิม-มลายู บ้านปากลัด ซึ่งมีเพียงแห่งเดียวในจังหวัด สมุทรปราการ หากผู้ที่สนใจได้มีโอกาสมา แวะเยี่ยมชม มารับฟังข้อมูลของบ้านปากลัด แล้ว ยังสามารถเดินชมข้าวของเครือ่ งใช้เก่าแก่ รวมทั้งคัมภีร์อัลกุรอานโบราณเขียนด้วยมือ ทัง้ เล่ม อายุกว่า ๑๕๐ ปี รูปภาพประวัตศิ าสตร์ ที่ แ สดงถึ ง วั ฒ นธรรม ประเพณี อย่ า ง การโกนผมไฟ (อารีเบอร์จูกูร์) พิธีเข้าสุหนัต ซึ่งหาชมที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว ดังนั้น การเข้ามา เที่ยวชมและเรียนรู้เรื่องราววิถีมุสลิมปากลัด ที่ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชฯ เสมือนได้ย้อน วันเวลากลับไปหาอดีตที่เลือนหาย แต่ไม่เคย เลือนไปจากใจของคนรุ่นหลังได้เลย DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
cov e r j o u r n e y / Sa i n t R a p h a e l C h u r c h
Saint Raphael Church The light of faith to PakNam Christians
วัดอัครเทวดาราฟาแอล แสงสว่างแห่งศรัทธา ของคริสเตียนปากน�ำ้
เช้ า ตรู ่ วั น อาทิ ต ย์ บรรยากาศบริ เ วณ วัดอัครเทวดาราฟาแอลเนืองแน่นไปด้วย ผู ้ ค นที่ พ ากั น มาเพื่ อ ร่ ว มพิ ธี มิ ส ซาหรื อ พิ ธี บู ช าขอบพระคุ ณ ตามธรรมเนี ย มของ ศาสนาคริ ส ต์ นิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก ด้ ว ย แรงศรั ท ธาที่ ก ่ อ เกิ ด จากหลั ก ยึ ด เหนี่ ย ว ของศาสนาที่สอนให้เคารพศรัทธายึดมั่นใน ทางดี กล่อมเกลาจิตใจ และมีเมตตาต่อผูอ้ นื่ โดยมีวดั อัครเทวดาราฟาแอลเป็นเสมือนดัง่ ศูนย์รวมจิตใจของคริสตชนชาวปากน�้ำ หากย้อนไปราวร้อยกว่าปีกอ่ น ปากแม่นำ�้ เจ้าพระยาเป็นหน้าด่านชายทะเลทางผ่านของ เรือสินค้าทีจ่ ะเข้ามาติดต่อค้าขายกับกรุงเทพฯ เมืองปากน�้ำจึงเป็นเมืองท่าส�ำหรับขนถ่าย สิ น ค้ า สู ่ เ มื อ งหลวง พร้ อ มกั บ มี ค นต่ า งถิ่ น โยกย้ายมาเป็นแรงงาน ท� ำให้ปากน�้ำเป็น แหล่งชุมชนที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ ศาสนา และวั ฒ นธรรมมาตั้ ง แต่ ค รั้ ง อดี ต รวมถึงชาวจีนที่อพยพเข้ามารับจ้าง พวกเขา ปั ก หลั ก อยู ่ ที่ ย ่ า นท้ า ยบ้ า นตั้ ง แต่ ส มั ย ต้ น รั ต นโกสิ น ทร์ ชาวจี น เหล่ า นี้ ส ่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ นิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก มาจากแผ่นดินเกิด
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
E
very early Sunday morning, Saint Raphael Church is crowded with Christians who seek to join the Mass or the Eucharistic Celebration according to the tradition of RomanCatholic Church that centralizes on the faithful belief in the virtues and tender compassion towards others with Saint Raphael (The Archangel) Church as the spiritual center of Paknam Christians.
A hundred years ago, the estuary of Chao Phraya River was an outpost that merchant ships passed by to trade and transfer goods to Bangkok. Ever since migrant labor flocked into the area, Pak Nam became and has always been a community with diverse races, religions and cultures. In Thaai Baan area, most Chinese immigrants were original Roman Catholics from the mainland China. "My mother cruised here on a traditional Chinese junk from China with her father. My father was a Chinese born in Thailand but settled down in Thaai Baan. Back then, the area was covered with a forest far away from Paknam Market, thus, coming here was badly inconvenient. Villagers who were mostly Chinese migrant workers in goods transportation and Christian fellows came to this Saint Raphael Church. I was also born and baptized here. Basically, everyone became a Christian like their parents." said Phornthep Hanphattanakit, a 73 year-old Christian of Thaai Baan.
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 45
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
“แม่ลงเรือส�ำเภาตามเตี่ยมาจากเมืองจีน ส่วนพ่อเป็นคนจีนทีเ่ กิดเมืองไทย แล้วก็มาตัง้ รกรากกันที่ท้ายบ้าน ซึ่งแต่ก่อนเป็นพื้นที่ป่า มีชมุ ชนอาศัยอยูไ่ ม่มาก และอยูห่ า่ งจากตลาด ปากน�้ำ เดินทางถึงกันล�ำบากมาก ชาวบ้าน ส่วนใหญ่เป็นชาวจีนมาเป็นลูกจ้างขนสินค้า ที่มากับเรือ แล้วก็ถือคริสต์ศาสนาตามกัน มาที่โบสถ์ราฟาแอลแห่งนี้ ผมก็เกิดและท�ำ พิธีล้างบาปที่นี่ พี่น้องทุกคนก็เป็นคริสต์ตาม พ่อแม่” คุณพรเทพ หาญพัฒนากิจ ในวัย 73 ปี เล่าถึงวิถีของคริสตชนท้ายบ้านที่ยึดถือตาม พ่อแม่ตั้งแต่เกิด ภายหลังมีชุมชนชาวจีนคริสเตียนรวมกัน อยู่ที่ท้ายบ้านมากขึ้น จึงมีการสร้างวัดคริสต์ บริ เ วณริ ม แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา เพื่ อ ให้ เ ป็ น ศาสนสถานของชาวคริสเตียนท้ายบ้านตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๔๑๗ โดยคณะบาทหลวงจาก วัดแม่พระลูกประค�ำ หรือวัดกาลหว่าร์ ที่เป็น วั ด ของชาวโปรตุ เ กสที่ ก รุ ง เทพฯ ครั้ ง นั้ น ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
บาทหลวงซาลาแด็ง เจ้าอาวาสวัดกาลหว่าร์ ได้ล่องเรือมาเยี่ยมกลุ่มคริสเตียนที่ปากลัด และปากน�้ำ ในโอกาสนี้ท่านได้สร้างวัดขึ้น ด้วยไม้ไผ่เพื่อเผยแพร่ศาสนาที่ท้ายบ้าน เมื่อบาทหลวงแดซาลล์ เ ป็ น เจ้ า อาวาส วัดกาลหว่าร์ต่อจากบาทหลวงซาลาแด็งในปี พ.ศ. ๒๔๒๑ ท่านก็มาเยี่ยมกลุ่มคริสเตียนที่ ปากน�้ำ และพยายามหาซื้อที่ดินสร้างวัดแห่ง ใหม่ จนกระทัง่ ต้นปี พ.ศ. ๒๔๓๑ ท่านสามารถ ซื้อที่ดินส�ำหรับสร้างวัดเป็นที่ดินแปลงใหญ่ ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา และลงมือสร้างวัดให้ทัน วันที่ ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๑ เพือ่ ถวายให้เป็น เกียรติแด่อารักขเทวดา โดยพระคาร์ดินัลเวย์ มาเป็นประธานในพิธเี สกวัดใหม่ ท่านได้บนั ทึก ในรายงานประจ�ำปีของคณะ M.E.P. โดยใช้ ค�ำว่า “วัดนักบุญราฟาแอล” ทั้งที่ทราบว่า บาทหลวงแดซาลล์ได้ตงั้ ชือ่ วัดนีว้ า่ “วัดอารักขเทวดา” ส่วนชาวบ้านจะเรียกว่า “วัดปากน�ำ้ ” ต่อมาเมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๐
As Chinese Christian community grew larger, a Roman Catholic church was established on the bank of Chao Phraya River since 1874. When Father Saladaeng, the abbot of Holy Rosary Church (Kalawar Church), a Portugese church in Bangkok cruised down the river to visit Christian communities in Pak Lat and Paknam, he took the opportunity to build a church with bamboos at Thaai Baan to further disseminate religious knowledge. After Father Desalle, the following abbot, visited Paknam Christians and managed to purchase a large piece of land at the riverfront of Chao Phraya River and complete the church construction by October 2, 1888 as an tribute to the Archangel with an honorary presence of Cardinal Way in the new church opening ceremony. The Cardinal recorded the name "Saint Raphael Church" in M.E.P annual report knowing Father Desalle had already named it "The Archangel Church" Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 47
although the villagers generally called it "Wat Paknam." It was on August 7, 1937, when Cardinal Perros made a visit to Paknam and renamed the church to "Saint Raphael (The Archangel) Church or (Wat Akkhara Thewada Raphael in Thai)." The large and beautiful current building of Saint Raphael (The Archangel) Church was reconstructed under the supervision of Father BunThai Singsaneh and opened on October 23, 1979 by Cardinal Meechai Kitbunchu. Before Saint Raphael Church in Paknam, Christianity had long rooted on Phra Pradaeng bank since the area was still known as Nakhon Khuean Khan. The Chinese Christian community lived alongside Mon and Thai Buddhists at Pak Lat and made a living on trading and fishery. In 1866, Father Danielle, the abbot of Kalawar Church, cruised down the river to visit, proclaim the gospels to the Chinese at Pak Lat and build the first but small Christian church out of bamboo with no official title. Subsequently, during Father Desalle era, after several requests to the Thai Monarch for a larger piece of land, King Chulachomklao (King Rama V) granted his wish in 1880 and relocated the church from the market to the riverbank of Chao Phraya River. The new church was a one-storey teakwood building with galvanized iron sheets on the rooftop and an elevated basement. It was named Wat Duang Haruethai Niramon Khong Mae Phra (or Sacred Heart of Mary Church). 73 years later, the timeworn teakwood church was reconstructed and beautifully complimented with applied Neo-classic architectural art by Father Bunthai Singsaneh in 1957. However, half a decade later, it fell into a ruined condition again. Therefore, Sacred Heart of Mary Church is currently closed for a full renovation and temporarily switched to the wooden building to organize the Holy Mass.
พระคาร์ ดิ นั ล แปร์ ร อสมาเยี่ ย มวั ด ปากน�้ ำ และได้ เซ็ น ชื่ อ ในบั ญ ชี วั ด และเปลี่ ย นชื่ อ วัดจาก “อารักขเทวดา” เป็น “อัครเทวดา ราฟาแอล” ส� ำ หรั บ วั ด อั ค รเทวดาราฟาแอลหลั ง ปั จ จุ บั น เป็ น อาคารสวยงามหลั ง ใหญ่ ริ ม แม่น�้ำเจ้าพระยา สร้างขึ้นในสมัยบาทหลวง บุ ญ ไทย สิ ง ห์ เ สน่ ห ์ ท� ำ พิ ธี เ สกเมื่ อ วั น ที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ โดยพระคาร์ดินัล มีชัย กิจบุญชู ก่ อ นที่ จ ะมี วั ด อั ค รเทวดาราฟาแอล ทางฝัง่ ปากน�ำ้ ศาสนาคริสต์ได้หยัง่ รากทางฝัง่ พระประแดงมาก่อนแล้ว ตั้งแต่ครั้งยังเป็น นครเขื่อนขันธ์ สมัยนั้นมีกลุ่มคริสเตียนจีน เข้ า มาตั้ ง ชุ ม ชนอยู ่ ร ่ ว มกั บ ชาวมอญและ ไทยพุ ท ธที่ ป ากลั ด ยึ ด อาชี พ ค้ า ขายและ ท�ำการประมง ในปี พ.ศ. ๒๔๐๙ บาทหลวง
ดานิแอล เจ้าอาวาสวัดกาลหว่าร์ ได้ล่องเรือ มาเยี่ยมและประกาศพระวรสารแก่ชาวจีน ทีป่ ากลัด พร้อมกับสร้างอารามไม้ไผ่หลังเล็กๆ ขึ้นมาเป็นวัดคริสเตียนแห่งแรก แต่ยังไม่มี ชื่อวัดอย่างเป็นทางการ ต่ อ มาในสมั ย บาทหลวงแดซาลล์ ไ ด้ พยายามติดต่อขอพระราชทานที่ดินเพื่อสร้าง วัดแห่งใหม่ เนื่องจากที่ตั้งเดิมมีพื้นที่คับแคบ จนปี พ.ศ. ๒๔๒๓ ท่านก็ได้รับพระราชทาน ที่ ดิ น จากพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ จึงได้ย้ายวัดจากใน ตลาดมาตัง้ ริมฝัง่ แม่นำ�้ เจ้าพระยาเรือ่ ยมาจนถึง ปัจจุบัน วัดแห่งใหม่ในที่ดินพระราชทานผืนนี้ สร้างเป็นเรือนไม้สักชั้นเดียว หลังคาสังกะสี และใต้ ถุ น สู ง ให้ น ามว่ า วั ด ดวงหทั ย นิ ร มล ของแม่พระ ด้วยความประสงค์สร้างถวายแด่ ดวงหทัยนิรมลของแม่พระ DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 49
According to Catholic tradition, Christians usually attend the church for the Holy Mass to celebrate the unison among faithful Christians brought by the Eucharistic sacrifice of Jesus Christ's body and blood via Eucharistic assemblies of the Breaking of the Bread on the Altar giving thanks to the Lord for the institution of His Son Jesus Christ to redeem their sins and death. Although the Mass can be performed everyday and optional in different timing, Sunday remains the most important day that every Christian needs to attend. Thus, every early Sunday morning, both the large church of Saint Raphael (The Archangel) Church and the temporary wooden church of Sacred Heart of Mary Church are fully packed with Christian followers. The celebration begins with celebrants collectively singing the entrance chant which has been adapted into Thai language to forge all hearts into one to glorify God and prepare for a proper Eucharistic celebration before carrying on to the Liturgy of the Word (including the proclamation of the Gospel) and the Communion Rites. The two foremost crucial parts of the M ass are the Prayers of Communion Rites which recite the transubstantiation of consecrated bread and wine to Jesus Christs' body and blood and the Receiving of the Communion. After all processes are completed, the Mass closes with a liturgical closing greeting and a blessing. Inspired by the fish of Tobiah, Saint Raphael (The Archangel) Church is a marvelous yet unusual fish-shaped architecture that faces Chao Phraya River. At the foot of the stairway, there are statues of Saint Raphael the Archangel holding a staff and a boy holding a fish. According to Bible, although Tobit, an Israeli man who was held captive at Nineveh, was a good and righteous man who loved helping out his fellow citizens and burying the dead, he lost all his money and his eyesight causing his family great anguish. Thus, God sent Saint Raphael down to earth as Azariah as a protective traveling companion of Tobiah , the son of Tobit, both on Tobiah's journey to
ภายหลั ง วั ด ไม้ สั ก ที่ ส ร้ า งตั้ ง แต่ ส มั ย บาทหลวงแดซาลล์ผา่ นการใช้งานมาถึง ๗๓ ปี ทีท่ รุดโทรมลงตามกาลเวลา บาทหลวงบุญไทย สิงห์เสน่ห์ เจ้าอาวาสของวัดดวงหทัยนิรมล ของแม่พระ ได้ด�ำเนินการสร้างโบสถ์หลังใหม่ จนแล้ ว เสร็ จ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ในแบบ สถาปัตยกรรมนีโอคลาสสิกประยุกต์ที่งดงาม แต่ภายหลังใช้งานมานานกว่าครึ่งทศวรรษ ก็อยูใ่ นสภาพทรุดโทรม ทางวัดดวงหทัยนิรมล ของแม่พระจึงระงับการใช้เพือ่ บูรณะซ่อมแซม พร้อมกับหันไปใช้เรือนไม้เพื่อประกอบพิธี มิสซาเป็นการชั่วคราวในปัจจุบัน ตามวิถีปฏิบัติของคริสตชนจะต้องมาเข้า โบสถ์เพือ่ ประกอบพิธมี สิ ซา ซึง่ ถือเป็นพิธบี ชู า ขอบพระคุณในความเป็นหนึ่งเดียวกันของ
คริสตชน มีองค์พระเยซูเจ้าเป็นเครื่องบูชา เพื่อไถ่บาปแทนมนุษย์ อาศัยพระกายและ พระโลหิ ต ที่ ย อมสละและพลี ชี วิ ต เพื่ อ เรา ผ่ า นทางพิ ธี ก ารหั ก ปั ง บนพระแท่ น เพื่ อ ขอบพระคุณพระบิดา ส�ำหรับการส่งพระบุตร ให้มาไถ่กู้มนุษยชาติ พิธมี สิ ซาสามารถท�ำได้ทกุ วันและเลือกท�ำ ในเวลาต่ า งกั น แต่ ถื อ เอาวั น อาทิ ต ย์ เ ป็ น วันส�ำคัญที่ทุกคนต้องมาประกอบพิธีมิสซา เช้ า วั น อาทิ ต ย์ จึ ง เป็ น ช่ ว งเวลาที่ ค ริ ส ตชน เดินทางมาโบสถ์มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นโบสถ์ หลังใหญ่ของวัดอัครเทวดาราฟาแอล หรือ เรือนไม้ชั่วคราวของวัดดวงหทัยนิรมลของ แม่พระ คริสตชนจะทยอยมารวมตัวกันภายใน อาคารตั้งแต่เช้า DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
Media to collect funds Tobit had left with his friend and his journey back home. Azariah also presented Tobiah a good and virtuous wife and miraculously cured his father's blindness by simply smearing fish's gall Tobiah had previously caught during his journey on his father’s eyes. Eventually, Saint Raphael revealed his true nature and identity to the father and son stating "I am the Angel Raphael, one of the seven angels who stand in the glorious presence of the Cardinal, sent by Him to answer your faithful prayers. Always remember to praise God." before disappearing into the sky. Thus, Saint Raphael is honored among the Christians as the Patron Saint of travelers and doctors. Every 23rd of October, a celebration is held at Saint Raphael (The Archangel) Church with an honorary presence of Cardinal to lead the ceremony and the remarkable procession around the church along with Christian celebrants. At the event, food is provided to attendees at the almshouse to reflect God's teaching to always tender compassion towards others.
เมื่อได้เวลาตามก�ำหนด ทุกคนจะร่วมกัน ร้องเพลงแห่เข้า ซึ่งเป็นการประยุกต์ค�ำร้อง เป็นภาษาไทยเพื่อใช้เสียงเพลงรวมให้เป็น น�้ำหนึ่งใจเดียวกันในการสรรเสริญพระเจ้า และให้เฉลิมฉลองศีลมหาสนิทอย่างสมควร จากนั้นจึงเข้าสู่ภาควจนะพิธีกรรม ตามด้วย พิธีการในภาคศีลมหาสนิท ค�ำภาวนาแห่งศีลมหาสนิท หรือการเสกปัง และเหล้าองุ่น ให้เป็นพระกายและพระโลหิต ของพระเยซู เ จ้ า ถื อ เป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ของ พิ ธี มิ ส ซา จนถึ ง การรั บ ศี ล มหาสนิ ท ของ สัตบุรษุ ซึง่ การรับศีลมหาสนิท นับว่าเป็นส่วน ส�ำคัญยิ่งในพิธีมิสซา เมื่อทุกคนรับศีลเสร็จ เรียบร้อยแล้วจะเข้าสู่เวลาปิดพิธี ด้วยการ อ�ำลาและอวยพร ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
จากริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา เมื่อมองมา ทางด้ า นหน้ า ของวั ด อั ค รเทวดาราฟาแอล จะเห็นสถาปัตยกรรมงดงามและแปลกตา คล้ายรูปปลาที่หันหน้าออกสู่แม่น�้ำ โดยได้ แรงบันดาลใจมาจากปลาของโทบียาห์ ตรงเชิง บั น ไดทางขึ้ น มี รู ป หล่ อ ของอั ค รเทวดา ราฟาแอลถื อ ไม้ เ ท้ า คู ่ ก ายและเด็ ก ชายที่ อุ ้ ม ปลาอยู ่ ด ้ ว ย ซึ่ ง ปลาของโทบี ย าห์ นี้ จ ะ ปรากฏอยู่ในภาพของอัครเทวดาราฟาแอล เสมอ และมีความเกี่ยวพันตามเรื่องราวใน พระคัมภีร์ที่กล่าวถึง โทบิต ชาวอิสราเอล ผู้ถูกจับเป็นเชลยที่เมืองนีนะเวห์ โทบิตเป็น ผู้ประพฤติดี ชอบช่วยเหลือเพื่อนร่วมชาติ
ช่ ว ยฝั ง ศพคนตาย แต่ เขากลั บ หมดสิ้ น ทรัพย์สินเงินทอง แถมยังตาบอด พระเจ้า จึงมอบหมายให้ทูตสวรรค์ราฟาแอลจุติลงมา ในนามของอาซาริยาห์ เพือ่ เป็นเพือ่ นร่วมทาง โทบียาห์ บุตรของโทบิต ไปยังแคว้นมีเดียเพือ่ เอาเงินที่ฝากไว้กับเพื่อน โดยคอยช่วยเหลือ ปกป้องคุ้มครองโทบียาห์ตลอดทางจนกลับ ถึงบ้าน พร้อมทั้งหาภรรยาที่ดีให้แก่เขา และ ยังรักษาดวงตาของโทบิต โดยใช้ดีปลาจาก ปลาที่จับได้ระหว่างทางป้ายตาโทบิตจนหาย จากตาบอด ในที่สุดอัครเทวดาราฟาแอลได้แสดงตน ให้สองพ่อลูกทราบ โดยบอกว่า “ข้าพเจ้า
51
คือทูตสวรรค์ราฟาแอลที่พระเจ้าส่งมาเพื่อ ตอบค� ำ ภาวนาของท่ า น ขอจงสรรเสริ ญ พระเจ้าต่อไปเถิด” ก่อนลาจากไป คริสตชน จึ ง นั บ ถื อ อั ค รเทวดาราฟาแอลเป็ น นั ก บุ ญ องค์อุปถัมภ์นักเดินทางและแพทย์ ทุกวันที่ ๒๓ ตุลาคม จึงมีการจัดพิธีฉลอง วัดอัครเทวดาราฟาแอลขึน้ มีพธิ ที างศาสนาที่ พระคาร์ดินัลเดินทางมาเป็นผู้นำ� ประกอบพิธี และน�ำขบวนแห่รอบวัดอย่างน่าชม ร่วมกับ คริสตชนจ�ำนวนมาก พร้อมกับจัดโรงทาน เลี้ ย งอาหารส� ำ หรั บ ประชาชนตามศรั ท ธา ค� ำ สอนขององค์ ศ าสดาที่ ใ ห้ ทุ ก คนแสดง ความเมตตาเอื้อเฟื้อต่อผู้อื่นเสมอ DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
c o v e r j o u r n e y / X i a n L o h Ta i T i a n G o n g S h r i n e
โคมไฟอร่ามงามเต็มลานหน้าศาลเจ้าเสียนหลอไต้เทียนกง
Illuminating lanterns across the courtyard in front of Xian Loh Tai Tian Gong Shrine.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 53
Xian Loh Tai Tian Gong Shrine Magnificent Shrine... the Thai-Chinese Relation
ศาลเจ้า เสียนหลอไต้เทียนกง อลังการศาลเจ้าใหญ่... สายสัมพันธ์ไทย-จีน
ไทย-จี น มี ค วามสั ม พั น ธ์ แ น่ น แฟ้ น ต่ อ กั น มานั บ พั น ปี สายธาร วัฒนธรรมเชื่อมประสานหยั่งรากลงในสังคม เช่นเดียวกับศรัทธา ความเชื่อทางศาสนาและรูปเคารพที่เป็นศูนย์รวมจิตใจ ริมถนน สุขุมวิทสายเก่ามีศาสนสถานที่สร้างขึ้นด้วยสายสัมพันธ์และศรัทธา ความเชื่อของพี่น้องเชื้อสายจีนตั้งอยู่ในอาณาบริเวณกว้างขวาง ศาลเจ้าแห่งนีใ้ หญ่โตและงดงามอลังการ เป็นศูนย์รวมของแรงศรัทธา ที่มาจากความร่มเย็นเป็นสุข ver a thousand year bond, Thai-Chinese cultures and O traditions have integrated and rooted deep into the society. In the same manner, a splendid religious sanctuary of faith was built on the old Sukhumvit Road.
Driving down Sukhumvit Road heading towards Bang Pu, at KM. 33 Soi Thetsaban Bang Pu 36, there is an outstanding sign that lets us know we have arrived at Xian Loh Tai Tian Gong Shrine or the sanctuary of the five deities in Thai. Situated on a 26.5-rai (or 42,400 sq.m.) property, the shrine is beautifully surrounded with a small park, green yard, stone garden and fish pond harmonizing with the Chinese gate and architectural design as if directly imported from China.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
เครื่องไหว้สักการะองค์ว่านซ่านแหย่ที่ศาลเจ้าหลังเล็ก Offerings for Wan San Ye at the small shrine.
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 55
เมือ่ ผ่านไปบางปูตามถนนสุขมุ วิทประมาณ หลัก กม. ที่ ๓๓ ตรงซอยเทศบาลบางปู ๓๖ เราจะสังเกตเห็นป้ายสูงเด่นบอกให้ทราบว่า ที่นี่เป็นที่ตั้งของศาลเจ้า ๕ พระองค์ ชื่อที่ เรี ย กง่ า ยๆ ในความหมายภาษาไทยของ ศาลเจ้ า เสี ย นหลอไต้ เ ที ย นกง มี ซุ ้ ม ประตู อั น ใหญ่ อี ก ฟากของคลองติ ด ชื่ อ ศาลเจ้ า เสียนหลอไต้เทียนกงเป็นตัวแทนความงดงาม ของศาลเจ้าที่อยู่ด้านใน ศาลเจ้าเสียนหลอไต้เทียนกง ตั้งอยู่บน เนื้อที่ ๒๖.๕ ไร่ บริเวณโดยรอบปลูกต้นไม้ จัดแต่งเป็นสวนหย่อม สนามหญ้า สวนหิน และบ่อปลา ดูกลมกลืนไปกับซุ้มประตูและ ศาลเจ้าสถาปัตยกรรมจีนราวกับเสมือนอยู่ ในประเทศจีน ก่อนเดินเข้าสู่ศาลเจ้าต้องผ่านซุ้มประตู ทางเข้าขนาดใหญ่ โดดเด่นด้วยเสากลมใหญ่ สี แ ดงสดเป็ น คู ่ ต ลอดแนว รองรั บ หลั ง คา มุงกระเบือ้ งสูงซ้อนหลายชัน้ ใต้หลังคาติดป้าย บอกชื่ อ มู ล นิ ธิ ธ รรมกตั ญ ญู (เสี ย นหลอไต้เทียนกง) ที่ดูแลศาลเจ้าแห่งนี้ทั้งอักษร ไทย-จีนให้ทราบอย่างชัดเจน ซุ้มประตูด้านในมีขนาดใหญ่และตกแต่ง สวยงามกว่า มีตวั หนังสือชือ่ ศาลเจ้า ๕ พระองค์ เป็นภาษาจีนโดดเด่นอยูด่ า้ นบน นอกจากเสา กลมใหญ่สแี ดง ตรงกลางยังมีเสาหินแกะสลัก เป็นรูปมังกรรัดพันอย่างวิจิตร แหงนมอง เพดานจะเห็นภาพวาดสไตล์จีน ท่ามกลาง ไม้แกะสลักเป็นรูปเทวดาองค์เล็กๆ นับพัน ทาสีทองเหลืองอร่าม ห้อมล้อมรอบหงส์และ มังกรราวกับอยู่บนสรวงสวรรค์
หลังคาและซุ้มประตูของศาลเจ้าเสียนหลอไต้เทียนกงงดงามอลังการตามแบบสถาปัตยกรรมจีน The roof and the entrance of Xian Loh Tai Tian Gong Shrine are magnificently decorated with Chinese architectural design.
Driving down Sukhumvit Road heading towards Bang Pu, at KM. 33 Soi Thetsaban Bang Pu 36, there is an outstanding sign that lets us know we have arrived at Xian Loh Tai Tian Gong Shrine or the sanctuary of the five deities in Thai. Situated on a 26.5-rai (or 42,400 sq.m.) property, the shrine is beautifully surrounded with a small park, green yard, stone garden and fish pond harmonizing with the Chinese gate and architectural design as if directly imported from China.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
ซุ ้ ม ประตู ทั้ ง ๒ อยู ่ ต ่ อ เนื่ อ งสลั บ กั บ ลานกว้ า งจนถึ ง ตั ว ศาลเจ้ า หลั ง ใหญ่ ที่ งดงามตระการตาด้ ว ยสถาปั ต ยกรรมและ ศิ ล ปกรรมจี น ที่ ถ อดแบบจากศาลเจ้ า หนานคุ น เซิ น ไต้ เ ที ย นฟู ่ เมื อ งไถหนาน ประเทศไต้ ห วั น ตามความศรั ท ธาที่ มี ต ่ อ เทพเจ้าโหงวหวังเอี้ยหรือเทพเจ้า ๕ พระองค์ ที่มีผู้อัญเชิญเข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ แล้ว ภายหลังเป็นที่นิยมเคารพ เลื่ อ มใส ศรั ท ธา ท� ำ ให้ ต ้ อ งสร้ า งศาลเจ้ า เสี ย นหลอไต้ เ ที ย นกงที่ บ างปู ขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยสถาปนิกและช่างชาวไต้หวัน ในแบบสถาปัตยกรรมแบบจีนที่จ�ำลองจาก ศาลเจ้ า ต้ น ต� ำ รั บ ที่ ไ ต้ ห วั น เพี ย งแต่ ข นาด เล็กกว่า ศาลเจ้าเสียนหลอไต้เทียนกงจึงงดงามด้วย ศิลปะจีนทั้งภายนอกและภายใน มองขึ้นไป บนหลังคาที่เห็นชัดตั้งแต่ระยะไกล ประดับ ตกแต่ ง ด้ ว ยโมเสกและกระเบื้ อ งเคลื อ บ หลากสีสันเป็นเหล่าทวยเทพหรือเซียน ผู้คน สัตว์มงคลของจีน ทั้งมังกร สิงห์ เสือ หงส์ ไก่ ฟ ้ า บอกเล่ า เรื่ อ งราวดั่ ง ฉากตามวิ ถี จี น พื้นบ้าน ด้านหน้าศาลเจ้ามีสงิ ห์คตู่ วั มหึมาตัง้ อย่าง โดดเด่น ถือเป็นสิงห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน เมื อ งไทย แกะสลั ก ด้ ว ยหิ น หยกเขี ย วจาก ประเทศจี น สิ ง ห์ ถื อ เป็ น สั ต ว์ ม งคลตาม ความเชื่อของชาวจีน เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ช่วย ปกป้องสิ่งชั่วร้าย ขจัดปัดเป่าปีศาจ และ อาถรรพ์ตา่ งๆ ทัง้ ยังช่วยเพิม่ ความเป็นสิรมิ งคล เรียกโชคลาภ และสร้างความสง่าน่าเกรงขาม บริ เวณทางเข้ า ศาลเจ้ า มี เ สาหิ น มั ง กร เช่นเดียวกับซุ้มประตู ฝาผนังหินแกะสลัก ลวดลายเป็นมังกร สัตว์ในเทพนิยาย เทวดา เหล่าขุนพลนักรบ และเรื่องราวต่างๆ อย่าง ประณีต หากเงยหน้าขึ้นไปชมบนเพดานที่ เจาะเป็นช่องทรงกลม จะเห็นงานไม้แกะสลัก ที่ละเอียดสวยงามเป็นรูปเทวดาองค์เล็กๆ งดงามมาก สวนหย่อมและสวนหิน จัดกลมกลืนไปกับศาลเจ้าคล้ายกับประเทศจีน
The harmonious blend of small park, stone garden and the shrine resembles the beautiful scenery in China. ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 57
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
Walking through an enormous gate with remarkably red round pillars along the way supporting the overlapping roof tiles with a large sign carrying the name Dhamma Katanyu Foundation (Xian Loh Dai Tian Gong), the shrine caretaker in both Thai and Chinese, there is another large gate with an even more meticulous decoration. In the middle, exquisite dragons were exquisitely carved wrapping around the pillars. Looking up the ceiling, there are heavenly Chinese mural paintings among thousands of miniature wooden angels painted in gold surrounded by swans and dragons. The magnificent construction of the shrine follows the original Chinese architecture and artistic works of Nankunshen Dai Tian Fu Shrine of Tai Nan, Taiwan. According to the faith towards Wu Wang Ye or the five deities, was first invited to Thailand in 1976 and became so popular that Xian Loh Dai Tian Gong Shrine was later built in Bang Pu in 1991 under the supervision of Taiwanese craftsmen to simulate a smaller sized Taiwanese shrine. The rooftops of Xian Loh Dai Tian Gong Shrine are gracefully garnished with Chinese art consisting of colorful mosaics and tiles that form into Chinese gods, angels, men as well as auspicious animals according to the local Chinese beliefs such as dragons, lions, tigers, swans, and pheasant-phoenixes. At the shrine's front, a couple of Thailand's biggest stone lions carved from green Jade stand majestically following the ancient Chinese belief and Feng Shui method that these auspicious animals do not only cast away evil spirits, curses and spells but also grant good blessings, draw in luck, fortune, and great prestige. At the entrance to the shrine, both the stone pillars and the walls are delicately carved with dragons, mythical creatures, angels, warlords according to ancient folk tales. Looking above, a circular niche in the ceiling houses an array of artistically carved wooden statues of tiny angels.
ฝาผนังหินแกะสลักเป็นเรื่องราวและสัตว์ในเทพนิยายอย่างประณีต
Stone walls are delicately carved with mythical creatures according to the ancient folk tales.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 59
คณะศิษย์ท�ำพิธีกราบไหว้สักการะ องค์ว่านซ่านแหย่ เทพเจ้าแห่งคุณงามความดี
Buddhist followers are performing the worshipping ceremony to the Wan San Ye, the Deity of Goodness.
Upon arriving at Xian Loh Dai Tian Gong Shrine, it is a tradition to pay homage to the five deities or collectively known as Wu Fu Xian Xui for good blessings. Inside the shrine, there is a station that sells offerings and provides staffs that help assist visitors with the worshipping sequences to each deity. Altogether, there are nine incense burners to place your joss sticks as there are also other gods and deities to pay respect to. Regarding the Chinese traditions, we should first pay respect to the Gods of Heaven and Earth in front of the chapel for a good health and a prosperous business. Further inside the large shrine, Wu Fu Xian Xui are the five deities that once served as leading noble warlords during the reign of Tang Daizong Emperor, the great king of Tang Dynasty that had brought greatness to the land of China 1,600 years ago.
เมื่อมาถึงศาลเจ้าเสียนหลอไต้เทียนกง ก็ควรร่วมไหว้เคารพเทพเจ้า ๕ พระองค์ หรือ เรียกรวมกันว่า อู่ฟู่เซียนซุ่ย เพื่อความเป็น สิริมงคล ถ้าไม่ได้เตรียมของไหว้มา ภายใน ศาลเจ้ามีจุดจ�ำหน่ายเครื่องสักการะไว้บริการ และเจ้าหน้าที่คอยให้ค�ำแนะน�ำในการไหว้ เทพเจ้ า ทั้ ง หมดภายในศาลเจ้ า ด้ ว ย โดย จุ ด ธู ป บู ช าองค์ เ ทพที่ จุ ด สั ก การะทั้ ง หมด ๙ จุ ด นอกจากเทพเจ้ า ๕ พระองค์ แ ล้ ว ภายในศาลเจ้ายังมีเทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อีกหลายองค์ ล้วนเป็นทีเ่ คารพสักการะทีต่ อ้ ง ไหว้ให้ครบถ้วน
ตามธรรมเนียมจีนต้องไหว้ฟา้ ดินด้านหน้า ต�ำหนักเป็นจุดแรก เพื่อสักการะเทพสุริยะ และพระแม่ธรณี บันดาลให้สุขภาพแข็งแรง ท� ำ มาค้ า ขึ้ น จากนั้ น เข้ า ไปไหว้ เ ทพเจ้ า ๕ พระองค์ ภายในศาลใหญ่ อู่ฟู่เซียนซุ่ยเป็นเทพเจ้าที่มาจาก ๕ ยอด ขุนพลในสมัยสมเด็จพระจักรพรรดิถังไท่จง กษัตริย์จีนราชวงศ์ถัง ผู้สร้างความยิ่งใหญ่ บนแผ่นดินจีนไว้เมื่อราว ๑,๖๐๐ ปีมาแล้ว ขุ น พลทั้ ง ๕ เป็ น ผู ้ มี ค วามเฉลี ย วฉลาด ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ทรงคุ ณ ธรรม กตั ญ ญู แ ละ จงรักภักดีต่อประเทศชาติ กระทั่งชื่อเสียง
The reputation of five warlords for their unrivaled intelligence, honesty, integrity, gratitude and loyalty to the nation was celebrated all the way to heaven and thus appointed gods to watch over mankind. The five deities from five families include Li Fu Xian Xui (the great warlord of Li family), Chi Fu Xian Xui (the great warlord form Chi family), Wu Fu Xian Xui (the great warlord from Wu family), Zhu Fu Xian Xui (the great warlord from Zhu family), and Fan Fu Xian Xui (the great warlord from Fan family) After worshipping Wu Fu Xian Xui, walk to the right to pay homage to Chong Ching Hu, the guardian of the five deities. Then, follow with the city pillar (Cheng Huang Ye) on the left of the large shrine who orchestrates the weather and protects the city from natural disasters and drought.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
The fifth station is next to Cheng Huan Ye, the shrine of Tao Bo Goddess (Tao Bo Nguang Gung), the stellar divinity who is also known as the mother of Nine Stars. Her inconceivable power of overseeing the welfare of all beings is often worshipped for a happy and peaceful family. Writing the name of the person whose birth sign year is against the current Chinese zodiac year and putting it into a round electric lantern placed inside the room are believed to bring brightness to his/her life and relieve all evilness. The sixth station deep inside is the shrine of Guan Yin or Guanyin Bodhisattva who eliminates any sickness whereas the seventh station belongs to Pae Gong, the earth lord who protects all the shrines. The eighth station is the shrine of Progenitor Goddess often worshipped by couples who do not have children for an offspring. Further to the right, the ninth station enshrines Wan San Ye, the Deity of Goodness, who grants wishes for a fruitful education and businesses. Strongly faithful in the five sacred deities, people visit this Xian Loh Dai Tian Gong Shrine every day and especially more so on important Chinese Festivals like Sart Chin (Thai for Spirit Festival), or the Chinese Moon Festival. The shrine also hosts many annual Chinese festive events such as Chinese New Year Festival, Theh Krachard Festival (Thai for Donation Festival), the Procession of the Five Deities, and the Lantern Festival, one of Samutprakan fascinating events to attend.
ของทั้ง ๕ เลื่องลือไปถึงสวรรค์ จนเบื้องบน แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น เทพเจ้ า ผู ้ ค อยดู แ ลหมู ่ ม วล มนุษย์โลก ประกอบด้วย ๕ พระองค์ จาก ๕ ตระกูล คือ หลี่ฝู่เซียนซุ่ย ยอดขุนพลจาก ตระกูลหลี่, ฉือฝู่เซียนซุ่ย ยอดขุนพลจาก ตระกู ล ฉื อ , อู ๋ ฝู ่ เซี ย นซุ ่ ย ยอดขุ น พลจาก ตระกูลอู,๋ จูฝเู่ ซียนซุย่ ยอดขุนพลจากตระกูลจู และองค์สุดท้าย ฟ่านฝู่เซียนซุ่ย ยอดขุนพล จากตระกูลฟ่าน หลังไหว้สักการะอู่ฟู่เซียนซุ่ยเสร็จแล้ว ก็เดินมาทางด้านขวาเพื่อไหว้เทพเจ้าจงจิงหู่ องครักษ์ของเทพเจ้าทั้ง ๕ เป็นอันว่า ๓ ตาม ด้วยจุดที่ ๔ เจ้าพ่อหลักเมือง (เฉิงหวงเหย่) อยู่ฝั่งซ้ายของศาลใหญ่ เป็นเทพผู้มีอ�ำนาจ ดลบันดาลเรื่องฟ้าฝนและภัยพิบัติต่างๆ ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
เพดานของซุ้มทางเดินและซุ้มประตูวาดเขียนลวดลายศิลปะจีนอย่างวิจิตร
The ceiling above the walkway and entrances are meticulously decorated with Chinese illustration. Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
61
ศาลเจ้าเสียนหลอไต้เทียนกงงดงามทั้งศิลปกรรมและแรงศรัทธาแห่งความร่มเย็นเป็นสุข
Xian Loh Tai Tian Gong Shine is not only filled with artistic splendor but also the wavering faith in peace.
จุ ด ที่ ๕ อยู ่ ต ่ อ เนื่ อ งกั บ เฉิ ง หวงเหย่ เป็นต�ำหนักของเจ้าแม่เต้าบ้อ หรือเต๋าบ้อ (เต๋าบ้อหง่วงกุง) หรือเทพมารดาแห่งดวงดาว เชื่ อ ว่ า เป็ น ผู ้ ใ ห้ คุ ณ แก่ ด วงชะตา สั ก การะ เพื่อช่วยให้ครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข ตรงจุดนี้ มีหอ้ งตัง้ ตะเกียงทรงกลมมีชอ่ งบรรจุโดยรอบ ส�ำหรับผู้ต้องการแก้ชง เขียนชื่อใส่ไว้ในช่อง รอบตะเกียงไฟฟ้า ถือเป็นการช่วยเพิ่มความ สว่างให้กับชีวิต ขจัดปัดเป่าความไม่ดีออกไป จุดที่ ๖ อยูด่ า้ นในของศาลเจ้า เป็นต�ำหนัก ของเจ้าแม่กวนอิม หรือพระโพธิสัตว์กวนอิม ทรงช่วยเรื่องโรคภัยไข้เจ็บ ต่อด้วยจุดที่ ๗ แป๊ะกง เป็นเจ้าที่เจ้าทาง ผู้คุ้มครองพื้นที่
บริเวณศาลเจ้า และจุดที่ ๘ เจ้าแม่บงั เกิดเกล้า ถือเป็นผู้ให้ก�ำเนิด ใครอยากมีบุตรให้มาขอ กับเจ้าแม่บังเกิดเกล้าจะสัมฤทธิผลดั่งตั้งใจ ย้อนทบทวนล�ำดับการไหว้ที่ต�ำหนักใหญ่ เริ่มตั้งแต่ ไหว้ฟ้าดิน เทพเจ้าโหงวหวังเอี้ย เทพเจ้าจงจิงหู่ เจ้าพ่อหลักเมือง เจ้าแม่เต้าบ้อ เจ้าแม่กวนอิม แป๊ะกง และเจ้าแม่บงั เกิดเกล้า แล้ว ส�ำหรับจุดที่ ๙ จุดสุดท้ายในการไหว้ สักการะต้องเดินแยกไปทางศาลเจ้าหลังเล็ก ทางขวา เพื่อไหว้สักการะองค์ว่านซ่านแหย่ เทพเจ้าแห่งคุณงามความดี ผู้ประทานพร ด้านการศึกษาและการค้าขาย ด้วยความศักดิส์ ทิ ธิข์ องเทพเจ้า ๕ พระองค์
แต่ละวันจึงมีผู้ศรัทธาเดินทางมาที่ศาลเจ้า เสียนหลอไต้เทียนกงแห่งนี้ เพื่อกราบไหว้ สักการะเทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ขอพร หรือ แก้ชง ยิง่ ในวันส�ำคัญของจีนอย่างวันสารทจีน หรื อ วั น ไหว้ พ ระจั น ทร์ จ ะยิ่ ง มี ค นหลั่ ง ไหล มากราบไหว้ท�ำบุญกันมาก โดยเฉพาะช่วง ปีใหม่มักพากันเดินทางมาแก้ปีชง ศาลเจ้า เสียนหลอไต้เทียนกงยังเป็นสถานที่จัดงาน ส� ำ คั ญ ประจ� ำ ปี ข องจี น อี ก หลายงาน เช่ น เทศกาลวันตรุษจีน งานเทกระจาด งานแห่ เทพเจ้ า ๕ พระองค์ และเทศกาลโคมไฟ ที่ ถื อ เป็ น เทศกาลท่ อ งเที่ ย วที่ น ่ า สนใจของ จังหวัดสมุทรปราการอีกงาน DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
c o v e r j o u r n e y / P u t o n T h a i o u t f i t a n d o f f e r a lms at K h l o n g P h a e
Put on Thai outfit and offer alms at Khlong Phae Revive the waterfront community
แต่งผ้าไทย ตักบาตรพระ ที่คลองแพ
คืนชีวิตให้ชุมชนคนริมน�้ำ
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 63
ชาวบางกอบัวร่วมกันแต่งผ้าไทยออกมาตักบาตรพระทางน�้ำที่คลองแพ
Bang Ko-Bua villagers in traditional Thai outfits give alms to the monks by the waterfront at Khlong Phae.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
การพั ฒ นารุ ก ไล่ ข องเมื อ งที่ ข ยายตั ว ไม่ ห ยุ ด ได้ ก ร่ อ นแซะและค่ อ ยๆ กลื น กิ น วิ ถี ชุ ม ชนอย่ า งแผ่ ว เบาและเยื อ กเย็ น ไม่เว้นแม้แต่ “บางกอบัว” ๑ ใน ๖ ต�ำบล บนเนื้อที่ราว ๑๒,๐๐๐ ไร่ของบางกะเจ้า เกาะที่มีรูปร่างเหมือน “กระเพาะหมู” ใน เขตอ�ำเภอพระประแดงที่มีแม่น�้ำเจ้าพระยา หล่อเลี้ยงโอบอุ้มอยู่โดยรอบ จนกลายเป็น พืน้ ทีส่ เี ขียวขนาดใหญ่ใกล้กรุง อุดมสมบูรณ์ จนนิตยสาร Times ถึงกับยกย่องให้เป็น The Best Urban Oasis of Asia (พ.ศ. ๒๕๔๙) ที่ส�ำคัญพื้นถิ่นแห่งนี้ยังพรั่งพร้อมไปด้วย รากเหง้ าของอารยธรรมที่ตามรอยวิถีชีวิต วั ฒ นธรรม และภู มิ ป ั ญ ญาของคนไทย รุน่ ก่อนเอาไว้อย่างครบถ้วน ภายใต้รม่ เงาของ ไม้ใหญ่ร่มรื่น มีบ้านเรือนกระจายตัวบางตา ในบรรยากาศแบบชนบท หลายครอบครัวยังคง อาชี พ เกษตรกรรมที่ ดู แ ลรั ก ษาทะนุ ถ นอม เรื อ กสวนไร่ น าของตนเองไว้ กั บ ผลหมาก รากไม้ และการค้าขายสินค้าพื้นบ้านเล็กๆ น้อยๆ เป็นวิถีความพอเพียงของมนุษย์ที่อยู่ ร่วมกับธรรมชาติอย่างกลมกลืน
วิถีชุมชนที่สืบสานวัฒนธรรมประเพณีของการตักบาตรและท�ำบุญทางน�้ำ
The local community way of life that inherits the almsgiving and merit-making by boat traditions.
T
he constant urbanization has eroded and assimilated into many local community's way of life not with standing "Bang Ko Bua," one of the six sub-districts on a 12,000 rai (or 19.2 Sq. Km.) area of Bang Kachao. Enclosed by the Chao Phraya River, the pig-stomach shaped island in Phra Pradaeng District gradually becomes such an abundant green space near the city that it was dubbed by Times Magazine as The Best Urban Oasis of Asia (in 2006). Interestingly, the area is rich with roots of civilization including, lifestyle, cultures, and traditional wisdom from previous generations. Beneath the cool shade of large tall trees, houses are built scatteringly in a rural atmosphere. Many families still maintain their career as farmers and trade some local goods as a sustainable way to co-live peacefully with the nature.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 65
พระสงฆ์ลงเรือพายออกรับบิณฑบาตร
Monks getting on the rowboats to collect alms from villagers.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
According to the memory of Jinda Wonglek, who was born and raised in Khlong Phae, one of eight main canals of Bang Ko Bua, "In Spite of its three-kilometer distance, Khlong Phae was a key transportation route to the locals. Back in the days, there was a floating market at the estuary where villagers in the area and from Phra Khanong traded their local produces on bamboo rafts. Thus, the area was called Khlong Phae or the canal of rafts." "Sixty years ago when I was 12, after the road was cut, the canal lost its significance as people rarely commuted by boat. Plus, when the seawater gushed into the area in 1992, it damaged the local unique fruit trees that some became extinct. Nipa Palm fruit, pomelo, tangerine, sapodilla, lychee, Cavendish banana, cultivated banana, Nam Dok Mai mango, Nam Hom Coconut were once the main sources of income for the locals but the latter generations are no longer involved in farming and preferably study and work in the city. Gradually, elders are left lonely in the area." Despite all the dilemmas from irresistible urbanization, the locals of Bang Ko Bua strive to revive and conserve its precious charms through an annual event "Put on Traditional Thai Outfit. Give Alms to Monks. Worship the River And Canal." Scheduled on every National Mother's Day, the event allows its visitors to cruise along the canal and experience the local traditions and witness the local ways of life starting from Khlong Phae Bridge."
ชาวบ้านริมคลองแพร่วมใส่ตักบาตรและถวายเครื่องไทยธรรม
Villagers by the canalfront of Khlong Phae are offering alms to the monks.
นัน่ คือภาพในความทรงจ�ำของ คุณจินดา วงศ์ เ ล็ ก ซึ่ ง เกิ ด และเติ บ โตในคลองแพ คลองสายหลัก ๑ ใน ๘ คลองของบางกอบัว “คลองแพนี้เดิมทีชาวบ้านใช้เป็นเส้นทาง สัญจรหลัก ถึงจะยาวแค่ ๓ กิโลเมตร แต่ก็ พาเราไปไหนๆ ได้ทั่ว ก่อนหน้านี้มีตลาดน�้ำ อยู ่ ป ากแม่ น�้ ำ คนมาขายหมาก มะพร้ า ว กล้วยหอม คนจากฝัง่ พระโขนงก็เอาข้าวมาแลก อ้อย ขายข้าวสาร น�ำ้ ปลา น�ำ้ ตาล ผลหมาก รากไม้ คนเขาเลยเรียกคลองแพ มาจากแพ ทีพ่ อ่ ค้าแม่ขายจอดกันตรงบริเวณนีน้ นั่ เอง
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 67
ชาวบางกอบัวผูกพันและใช้คลองแพเพื่อสัญจรมาตั้งแต่อดีต
Bang Ko-Bua villagers have long been bonded with and traveled via Khlong Phae since the past.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
Aunty Tim or Pitsinee Kaewrungrueang, the president of Natural Resources and Environmental Protection Volunteer Network of Bang Ko Bua Sub-District, recites that in the past, people commonly traveled by boat even the monks rowed out to collect the alms from villagers on the waterfront. According to some elders, it was partly because both the villagers and the monks could avoid tipping over the slipper y garden ditches. Others believed that during rice farming seasons, villagers usually rested at a temporary hut in their rice field and would only return home when their tasks were completed, hence, they invited the monks to receive dry and fresh food offerings at their docks down the stream. Whatever the reasons may be, alms giving by boat is one of the highlight activities that the community wishes to revive. It does not only provide an opportunity to ask for forgiveness from the Goddess of Water but also to e n co u ra g e to d ay ' s c h i l d re n to reconnect with their traditional Thai cultures, develop a bond with the stream and natural environment and local wisdoms. Meanwhile, it will help travelers realize the crucial values of the green natural environment. Being a praised model in conservation and green economic development, the area is known for its great biological diversity of the last stream ecosystem in the lower Chao Phraya river basin with up to 700 plant species and 300 types of animals.
ชาวบ้านเตรียมจตุปัจจัยร่วมท�ำบุญ
The locals are preparing the four ecclesiastic essentials for the almsgiving.
“สมั ย ก่ อ นไม่ มี ถ นน เพิ่ ง มามี ต อนผม อายุ ๑๒ ตอนนีผ้ ม ๗๒ ก็เท่ากับ ๖๐ ปีพอดี พอตัดถนน คลองเลยลดความส� ำคัญลงไป คนใช้เรือน้อยลง บวกกับน�้ำเค็มเข้ามาตอนปี ๓๕ ผลไม้กเ็ สียหายหมด หลายอย่างทีโ่ ด่งดังมี เอกลักษณ์ของทีน่ กี่ ค็ อ่ ยๆ หายไป ตาล ส้มโอ ส้มเขียวหวาน ละมุด ลิน้ จี่ ล�ำไย กล้วยหอม กล้วยน�ำ้ ว้า มะม่วงน�ำ้ ดอกไม้ มะพร้าวน�ำ้ หอม เคยเป็นรายได้หลักของคนทีน่ ี่ แต่เด็กรุน่ หลังๆ ไม่มใี ครท�ำสวน ทุกคนไปเรียนไปท�ำงานในเมือง กันหมด ท�ำไปท�ำมาเหลือแต่คนแก่ๆ อยู่กัน อย่างเงียบเหงา” ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Today, the people of Bang Ko Bua Sub-District have established various activity groups such as Women and Career Development Group and Farmer Housewife Group that transforms natural materials like pong-pang seeds,
ในระหว่างที่มนต์เสน่ห์ของสวรรค์สีเขียว ซึง่ ถูกขนานนามว่าเป็น “ปอดของกรุงเทพฯ” ก�ำลังตกอยู่ในสภาพกลืนไม่เข้าคายไม่ออก ด้ า นหนึ่ ง ถู ก รุ ก ไล่ จ ากกระแสการพั ฒ นา ที่ ไ ม่ อ าจจะต้ า นทาน แต่ ใ นเวลาเดี ย วกั น อีกด้านหนึ่งก็คือความพยายามอนุรักษ์ฟื้นฟู ของดี เฉกเช่นกิจกรรม “แต่งผ้าไทย ตักบาตรพระ ร่ ว มสั ก การะแม่ น�้ ำ คู ค ลอง” ที่ ช าวชุ ม ชน บางกอบัวร่วมกันย้อนวันวานสืบสานความ เป็นไทย จัดเรือลอยล่องนที สัมผัสวัฒนธรรม ประเพณี ชมวิ ถี ชุ ม ชน โดยมี จุ ด เริ่ ม ต้ น จากสะพานคลองแพ และก� ำ หนดให้ มี ขึ้ น ในวันแม่ของทุกปี Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 69
แต่งผ้าไทยใส่บาตรพระ ยังเป็นการร่วมสักการะแม่น�้ำล�ำคลอง
Putting on traditional Thai outfits to offer alms to the monks is also considered a way of paying respect to the river and canals.
ป้าติม๋ หรือ คุณพิชญ์สนิ ี แก้วรุง่ เรือง ประธาน กลุม่ อาสาสมัครพิทกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมต�ำบลบางกอบัว กล่าวถึงกิจกรรม ทีท่ ำ� มาเป็นปีที่ ๒ นีว้ า่ สมัยก่อนยังไม่มถี นน บ้ า นเรื อ นราษฎรอยู ่ ริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ ล� ำ คลอง จะไปไหนก็ใช้ยานพาหนะทางเรือ พระสงฆ์ เองก็ใช้เรือพายบิณฑบาตไปรับอาหารจาก ชาวบ้านทีม่ าตักบาตรริมน�ำ้ คนเฒ่าคนแก่บอกว่า สมัยก่อนท้องร่องในสวนก็ลนื่ เดินตกหกล้มกัน ได้ง่าย สู้พายเรือทางน�้ำสะดวกทั้งคนท�ำบุญ และพระ กิจกรรมเรือ่ งตักบาตรทางน�ำ้ จึงเป็น
จุดเด่นที่ชุมชนช่วยกันรื้อฟื้น ทั้งเด็กรุ่นใหม่ ลู ก หลานของเราเองก็ จ ะได้ สั ม ผั ส กั บ สิ่ ง ที่ คนรุ่นพ่อรุ่นแม่เคยใช้ชีวิต นักท่องเที่ยวหรือ คนต่างถิ่นที่ไม่เคยพบเห็นก็จะได้มาชื่นชม บรรยากาศ อีกเสียงหนึง่ ก็บอกว่าสมัยก่อนพระไม่เดิน บิณฑบาต เนือ่ งมาจากช่วงเวลาหนึง่ ชาวบ้าน ไม่ว่างไปท�ำบุญที่วัดเพราะติดฤดูกาลท�ำนา ชาวบ้านทีท่ ำ� นาจะไปสร้างขน�ำโรงนาเป็นทีพ่ กั ชัว่ คราว เมือ่ ท�ำนาเสร็จจึงจะกลับมาบ้าน เมือ่ ว่างจากการท�ำนาจึงนิมนต์พระมารับบิณฑบาต
พร้อมกัน โดยจะเตรียมข้าวสารอาหารแห้ง อาหารสด มาตักบาตรเรียงรายไปตลอดล�ำน�ำ้ ไม่ว่าด้วยสาเหตุใดการจัดให้มีกิจกรรม ทางศาสนา นอกจากจะได้ ข อขมาต่ อ พระแม่คงคาแล้ว ยังท�ำให้เกิดผลพลอยได้ที่ ตามมาอีกมากมาย เพราะเด็กรุ่นหลังจะได้ ใกล้ชิดกับวัฒนธรรมแบบไทยๆ ที่ผสมผสาน อย่างกลมกลืนกับคนหลายเชื้อชาติ ที่ผูกพัน กับสายน�ำ้ ธรรมชาติแวดล้อม และภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิน่ อาคันตุกะผูม้ าเยือนเองก็จะได้ตระหนัก ถึ ง คุ ณ ค่ า ของธรรมชาติ จ ากพื้ น ที่ สี เขี ย ว DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
เยาวชนร่วมฟื้นฟู การตักบาตรพระทางน�้ำกับครอบครัว
Youths join their family in reviving the almsgiving-by-boat tradition.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
71
ตักบาตรพระทางน�ำ้ ยังเป็นการท่องเที่ยวและเรียนรู้วิถีชุมชนริมน�ำ้
Almsgiving by boat is an interesting way to enjoy your trip while learning the local lifestyle of the waterfront community.
coconut-palm leaf stalks and pine cones into hair accessories, hanging mobile decoration and many more. They also arrange activities to welcome visitors including an ecotourism trip to learn about the lifestyles of waterfront communities and all sorts of plants along both sides of the canal. All activities aim to generate income to the community and preserve the natural environment at the same time. It seems like the past conflict resolutions are falling into place more and more. However, it becomes evident that the strength of the community is not necessarily built with bricks, concrete or money but can also be achieved with a solid mindset and the harmony of people within the community.
ที่เป็นตัวอย่างในการอนุรักษ์และการพัฒนา บนฐานเศรษฐกิจสีเขียว ซึ่งดินแดนแถบนี้ ถูกยกย่องว่ามีความหลากหลายทางชีวภาพ ของระบบนิเวศสายน�้ำแหล่งสุดท้ายในลุ่มน�้ำ เจ้าพระยาตอนล่าง โดยค้นพบพืชประมาณ ๗๐๐-๘๐๐ ชนิด และสัตว์มากกว่า ๓๐๐ ชนิด สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข อง ระบบนิเวศแห่งนีไ้ ด้อย่างดี ในส่วนของประชาชนชาวต�ำบลบางกอบัว ปัจจุบันได้มีการรวมกลุ่มกันก่อตั้งเป็นกลุ่ม กิจกรรมที่หลากหลาย เช่น กลุ่มพัฒนาสตรี และอาชีพ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ที่น�ำวัสดุ จากธรรมชาติ อย่าง ลูกตีนเป็ด ทางมะพร้าว ลูกสน ลูกจิก มาผลิตเป็นสินค้าสวยงาม เช่น
ทีค่ าดผม กิบ๊ ติดผม โมบายส�ำหรับห้อยประดับ เป็นต้น มีการคิดกิจกรรมรองรับคนนอกชุมชน เช่น การท่องเทีย่ วทางเรือเชิงนิเวศ เพือ่ เรียนรู้ วิ ถี ชี วิ ต ชุ ม ชนริ ม น�้ ำ และพรรณไม้ ดั้ ง เดิ ม ริมสองฝั่งคลอง ซึ่งทั้งหมดนี้สร้างรายได้ให้ ชุ ม ชนได้ อ ย่ า งสอดคล้ อ งกั บ การพยายาม รักษาสภาพแวดล้อม ดูเหมือนว่าความย้อนแย้งที่ผ่านมาก�ำลัง คลีค่ ลายอย่างลงตัวมากขึน้ เรือ่ ยๆ และทีแ่ น่ๆ คือความเข้มแข็งของชุมชนใดๆ ไม่จำ� เป็นต้อง สร้างด้วยอิฐปูนหรือเม็ดเงิน แต่สร้างได้ด้วย รากอันแข็งแรงของจิตใจซึ่งสอดประสานกัน เป็นหนึง่ เดียวของผูค้ นเท่านัน้ DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
a r t a l o n g t h e way
Phra Thutangkha Chedi of Asokaram Temple, Thai Baan Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan
พระธุตังคเจดีย์ วัดอโศการาม
ต�ำบลท้ายบ้าน อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
เทคนิค : สีน�้ำ Technique : Water Color Painting ศิลปิน : พีรดา ชีพสัตยากร Artist : Pearada Cheepsatayakorn
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 73
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
a r o u n d t o w n / A n c i e n t T e m p l e s o f Pa k Na m C i t y
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 75
Ancient Temples of PakNam City
Pay homage at ancient sacred places
เที่ยววันมัดสการสิ เก่่างศัเมื อ งปากน� ำ ้ กดิ์สิทธิ์คู่เมือง ปากน�้ ำ เป็ น เมื อ งเก่ า แก่ ที่ มี ป ระวั ติ ก าร สร้ า งบ้ า นเมื อ งมายาวนาน ผ่ า นการ เปลี่ ย นแปลงและพั ฒ นาการทางสั ง คม มาหลายยุ ค สมั ย จนกระทั่ ง มี ค วามเจริ ญ รุดหน้าในทุกด้าน พร้อมกับการมาถึงของ รถไฟฟ้ า และหอชมเมื อ งสมุ ท รปราการ เป็นแลนด์มาร์กแห่งใหม่ แม้ ป ากน�้ ำ จะได้ รั บ การพั ฒ นาจนเป็ น เมื อ งใหญ่ เช่ น ในปั จ จุ บั น เต็ ม ไปด้ ว ยสิ่ ง ปลูกสร้างสมัยใหม่ ทว่ายังมีวดั เก่าแก่หลายแห่ง ทีม่ คี วามเป็นมาคูเ่ มืองตัง้ แต่ยคุ โบราณ ถึงวัด เหล่านีจ้ ะเปลีย่ นแปลงไปตามวันเวลาเช่นเดียว กับบ้านเมือง แต่สถาปัตยกรรมหลายแห่ง ที่ผ่านเวลาหลายร้อยปียังคงอยู่เป็นหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ของเมือง เหมาะส�ำหรับ เดินเทีย่ วย้อนประวัตศิ าสตร์ของหัวเมืองปากน�ำ ้ และชมความงดงามของสถาปัตยกรรมเก่าแก่ ทีม่ คี ณ ุ ค่า
enturies of constant changes C and development have complemented Paknam City with modern
construction and transportation alternatives including Samutprakan Observation Tower and Skytrains. However, the remainders of ancient temples make an ideal trip to trace back their historical significance to Paknam City while appreciating their architectural magnificence. Starting off with the oldest temple in Paknam and the first temple in Khlong Paknam community, Wat Chai Mongkhon is situated nearby Sri Nakharin Skytrain Station. According to registered antique records by Thai Fine Arts Department, the temple was bestowed with the title Wisungkhammasima in B.E. 1893 (A.D. 1350). Originally, it was known as "Wat Mon (or Mon Temple)" as it was built by Mon villagers in Khlong Paknam. Unlike average Thai temples, its Ubosot faced towards the north where the capital city of the Mon in the past, Hongsawadee City, was located. In B.E. 2477 (A.D. 1934), the name was later changed to "Wat Chai Mongkhon."
อุโบสถวัดชัยมงคล
The Ubosot at Wat Chai Mongkhon. DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
ภาพทางอากาศวัดชัยมงคล เมรุตั้งเด่นอยู่กลางลานวัด
An aerial photo of Wat Chai Mongkhon with its crematory in the middle of the temple court.
หน้าจั่วของอาคารไม้หลังเก่า
The gable roof of the old wooden building.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
เริ่มต้นที่ วัดชัยมงคล วัดเก่าแก่ที่สุดของ เมืองปากน�้ำ ทางเข้ามีป้ายชื่อวัดขนาดใหญ่ อยู่เหนือทางแยกจากถนนสุขุมวิทตรงสถานี ศรีนครินทร์ของรถไฟฟ้า BTS เข้าไปจนถึง วัดชัยมงคลริมคลองปากน�ำ ้ วัดแห่งนี้ถือเป็นวัดเก่าแก่ที่สุดและเป็นวัด แห่งแรกในชุมชนคลองปากน�้ำ มีอายุเกือบ ๗๐๐ ปี จากหลักฐานที่กรมศิลปากรส�ำรวจ และขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุของวัดไว้ พบว่า วิสงุ คามสีมาได้รบั พระราชทานราว พ.ศ. ๑๘๙๓ เดิมเรียกว่า “วัดมอญ” เพราะชาวมอญทีอ่ าศัย ตั้งหมู่บ้านริมคลองปากน�้ำได้ร่วมกันสร้าง วั ด นี้ ขึ้ น ความเป็ น วั ด มอญสั ง เกตได้ จ าก อุโบสถที่ไม่ได้หันไปทางทิศตะวันออกแบบ วัดไทย หากแต่หันไปทางทิศเหนืออันเป็น ที่ตั้งของกรุงหงสาวดี เมืองหลวงของชนชาติ มอญในอดี ต ภายหลั ง จึ ง เปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “วัดชัยมงคล” ในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ วั ด ชั ย มงคลเป็ น วั ด สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกายที่ส�ำคัญของเมืองสมุทรปราการ โดยเฉพาะด้านการศึกษา ภายในวัดมีบริเวณ กว้างขวางจึงมีสิ่งปลูกสร้างขนาดใหญ่ที่ใช้ Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 77
hall was built in B.E. 2472 (A.D. 1929) to perform various religious ceremonies like almsgiving and Buddhist preaching on Buddhist Holidays. In a similar manner, Phra Pariyat Dhamma Chai Mongkhon Wittaya Prasut School was primarily initiated to encourage Buddhist monks and novices to study the Buddhist Scripture but the place currently serves as a Buddhist monk residence. Granted with the title Wisungkhammasima in B.E. 2513 (A.D. 1970), the majestic ubosot (ordination hall) inside the monastery enshrined the main Buddha image in the attitude of meditation. Its surrounding landscape and old Mondop (a square Buddhist hall with a pyramidal roof ) were reconstructed into a garden where Buddhists could and still can practice dharma and organize a moral development camp serving its broad recognition as a developed temple model since B.E. 2534 (A.D. 1991)
มณฑปที่บูรณะใหม่อย่างสวยงาม
The Mondop after a magnificent renovation.
เป็นสถานศึกษาของสงฆ์ ขณะที่สิ่งปลูกสร้าง เก่าแก่ซึ่งทรุดโทรมไปตามกาลเวลาและผล จากน�ำ้ ท่วมใหญ่ในอดีต ได้รบั การปรับปรุงและ เปลีย่ นแปลงให้มสี ภาพดีขนึ้ ศาลาการเปรียญ ไม้หลังใหญ่ที่สร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๒ ถูกยกให้สงู ขึน้ เป็น ๒ ชัน้ เป็นสถานทีป่ ระกอบ พิธีกรรมทางศาสนา เช่น ท�ำบุญตักบาตร แสดงธรรม ในวั น ส� ำ คั ญ ทางพุ ท ธศาสนา เช่นเดียวกับโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมชัยมงคล วิทยาประสูติ เปิดท�ำการสอนตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๔๘๒ โดยสนับสนุนให้พระภิกษุสามเณรได้ศึกษา พระปริ ยั ติ ธ รรม ปั จ จุ บั น ใช้ ที่ เ ป็ น พ� ำ นั ก ของสงฆ์ อุ โ บสถหลั ง ใหญ่ โ ดดเด่ น งดงามอยู ่ ใ น เขตพุทธาวาส ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ มีพระประธานปางสมาธิ พื้นที่บริเวณอุโบสถและมณฑปเก่าแก่ทาง ด้านข้างทีไ่ ด้รบั การบูรณะใหม่ ได้รบั การปรับ ภูมทิ ศั น์ให้เป็นสวนส�ำหรับพุทธศาสนิกชนทีม่ า ปฏิบัติธรรมได้พักผ่อนและใช้เป็นฐานอบรม ค่ายคุณธรรม สมกับทีไ่ ด้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง มาตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๓๔
Wat Chai Mongkhon is an important Mahanikaya temple of Samutprakan par ticular ly in education as evidenced by its spacious Buddhist Monk School. Many of its timeworn constructions partly ruined by a huge flood in the past including the sermon hall were renovated. A new enormous two-storey sermon
Crossing Khlong Paknam, another Paknam's historical monument built near the end of King Songtham's reign in mid-Ayutthaya Period around B.E. 2170 (A.D. 1627) was formerly known as Wat Nai Derm Song Wihan but later shortened to Wat Nai Song Wihan. The name derived from how the temple's two ancient viharas have always stood
บานประตูอุโบสถแกะสลักรูปกินรีและลวดลายอย่างวิจิตร
The door panels of Ubosot are carved with Kinnaree and exquisite patterns.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
side by side. The renovation of the main vihara beautifully preserves the original architectural structure raising the base of over 24 Ayutthaya Buddha images. In the past, people made their prayers and asked for blessings at this main vihara before traveling afar or going to war. Three time smaller in size, the vihara in the back is the Mondop that houses simulated images of Luang Phor Toh, Buddha's Footprint, Luang Phor Sothorn among many other ancient Buddha images. Thereafter, Sirirat Sattha Road cut through the monastery dividing the property into two. On the other side of the road, an ancient ubosot similar to a Chinese pavilion was renovated in its original structure in B.E. 2549 (A.D. 2006) continued to enshrine the initial main Buddha image in the attitude of subduing Mara.
อุโบสถวัดในสองวิหาร
The Ubosot at Wat Song Wihan
ใกล้กบั วัดชัยมงคล เพียงแค่ขา้ มคลองปากน�ำ ้ มีวัดเก่าแก่ตั้งอยู่เคียงคู่กันอีกแห่ง วัดแห่งนี้ สร้างขึ้นหลังวัดชัยมงคล โดยสร้างขึ้นในสมัย กรุงศรีอยุธยาตอนกลาง ประมาณ พ.ศ. ๒๑๗๐ ตรงกับปลายรัชกาลพระเจ้าทรงธรรม วัดแห่งนีแ้ ต่แรกเดิมมีชอื่ เรียกว่า วัดในเดิม สองวิหาร ต่อมาเปลี่ยนให้สั้นลงเป็น วัดใน สองวิหาร ชื่อนี้ได้มาจากภายในวัดมีวิหาร โบราณ ๒ หลัง ตัง้ อยูค่ กู่ นั เป็นโบราณสถาน ส�ำคัญของวัดในสองวิหารและเมืองปากน�ำ ้ วิหารใหญ่ที่สร้างขึ้นสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้รับการบูรณะกระเบื้องมุงหลังคาที่ช�ำรุด เสียหาย โดยยังคงโครงสร้างสถาปัตยกรรม ดั้งเดิมไว้อย่างงดงาม ภายในมีฐานยกระดับ ประดิษฐานพระพุทธรูปสมัยกรุงศรีอยุธยา ๒๔ องค์ พระประธานปางสมาธิประดิษฐาน บนฐานชุ ก ชี ในอดี ต เมื่ อ ต้ อ งเดิ น ทางหรื อ
ออกศึกจะเข้ามาไหว้ขอพรที่วิหารใหญ่ก่อน ส่วนวิหารเล็กสร้างขึน้ ภายหลัง มีขนาดเล็กกว่า ๓ เท่า และได้รบั การบูรณะอย่างงดงามเช่นกัน ด้านหลังของวิหารมีวิหารหลวงพ่อโตเป็น พระมณฑปหลังใหญ่ตอ่ เนือ่ งกัน ประดิษฐาน หลวงพ่ อ โตจ� ำ ลอง พระพุ ท ธบาทจ� ำ ลอง หลวงพ่อโสธร หลวงพ่อโต และพระพุทธรูป เก่าแก่สมัยกรุงศรีอยุธยาหลายองค์ พืน้ ทีข่ องวัดในสองวิหารยังแบ่งเป็น ๒ ส่วน มี ถ นนศิ ริ ร าษฎร์ ศ รั ท ธาที่ ตั ด ขึ้ น ภายหลั ง คั่นกลาง อีกฝั่งของถนนเส้นเล็กๆ มองเห็น อุโบสถเก่าแก่ตงั้ อยูอ่ ย่างสวยงาม อุโบสถหลังนี้ สร้างตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ลักษณะทรง เก๋งจีน ภายหลังช�ำรุดทรุดโทรม จึงได้บูรณะ สร้างใหม่ให้คล้ายทรงเดิมในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ พระประธานปางมารวิชัยในอุโบสถยังเป็น องค์เดิม
Sirirat Sattha Road led to Wat Klang Worawihan, a royal monastery built in the reign of King Barommakot in late Ayutthaya period. According to the temple's historical record, after a monk guru named Phra Ajarn Chu docked his boat on a riverbank in a dense forest, villagers built him a hut roofed with Nipa-Palm leaves out of faith in his virtuous practices. Later on, it took four to five years after three laywomen found a location to successfully build a temple in a NipaPalm field in Khlong Bang Khong in B.E. 2299 (A.D. 1756). Phra Ajarn Chu, who was invited as the first abbot, named the temple "Wat Takothong" but villagers commonly called it "Wat Klang (Thai for The temple in the middle)" as it was located between Wat Nok (Wat Phichaisongkhram) and Wat Nai (Wat Nai Song Wihan).
เรือนยอดของวิหารหลวงพ่อโต
The pyramidal roof of the Vihara of Luang Phor Toh ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 79
มณฑปหลังใหญ่ของวัดในสองวิหาร มองเห็นอุโบสถของวัดชัยมงคลโดดเด่นอยู่ด้านหลังคนละฝั่งคลอง The grand Mondop at Wat Nai Song Wihan. At the back, the Ubosot of Wat Chai Mongkhon stands majestically on the other canal bank.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
After the second fall of Ayutthaya in B.E. 2310 (A.D. 1767), treasures were destroyed and people were herded all the way to the estuary. It was only after Taksin, the Great unified the Thonburi Kingdom and restored peace to the country that the long deserted Wat Klang was revived to its original grace. The old ubosot was rebuilt twice in Rattanakosin period: during the reign of King Rama I and during the reign of King Rama III when Wat Klang was raised to a royal monastery. The renovated ubosot was influenced by Chinese art and culture as its pediment was decorated with Chinese porcelains and ceramics whereas above the entrance and windows with delicate stuccos. It enshrines an enormous white main Buddha image in the attitude of subduing Mara along with other ancient Buddha images of His followers. The damaged ancient mural paintings on the wall, a partial depict of the Buddhist Scripture regarding the enlightenment of Lord Buddha, were also conserved and restored along with the ubosot.
หน้าบันลายปูนปั้นยุคต้นรัตนโกสินทร์ของวัดกลางวรวิหาร
The pediment is decorated with delicate stuccos in early Rattanakosin art at Wat Klang Worawihan.
ถนนศิ ริ ร าษฎร์ ศ รั ท ธาตั ด จากวั ด ใน สองวิหารไปถึง วัดกลางวรวิหาร ซึ่งเป็น พระอารามหลวงทีม่ คี วามส�ำคัญของเมืองปากน�ำ ้ เป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างขึ้นสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนปลายในแผ่นดินพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ บันทึกความเป็นมาของวัด เล่าถึงพระภิกษุ นามว่า อาจารย์ชู ผู้ล่องเรือมาขึ้นชายตลิ่ง ป่าจากที่รกชัฏ ชาวบ้านเลื่อมใสศรัทธาใน ศีลาจารวัตรทีด่ งี าม จึงสร้างกุฏหิ ลังคามุงจาก ให้เป็นที่จ�ำวัด ต่อมาอุบาสิกาหม้าย ๓ คน ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
ได้หารือเห็นพ้องต้องกันว่า จะจัดหาที่ดิน สร้างวัดขึ้นบริเวณสวนจากในคลองบางฆ้อง ใช้เวลาประมาณ ๔-๕ ปี จึงแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๒๙๙ และอาราธนาพระอาจารย์ชู เป็นเจ้าอาวาสองค์แรก ให้ชอื่ ว่า “วัดตะโกทอง” เนือ่ งจากระหว่างก่อสร้างได้ขดุ พบแหวนทอง โบราณใต้ ต ้ น ตะโก แต่ ช าวบ้ า นเรี ย กกั น ติดปากว่า “วัดกลาง” เพราะตั้งอยู่ระหว่าง วัดนอก หรือวัดพิชัยสงคราม และวัดใน หรือ วัดในสองวิหาร Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
81
วัดกลางวรวิหารเป็นวัดเก่าแก่สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศีอยุธยาตอนปลาย
Wat Klang Worawihan is an ancient temple built in late Ayutthaya period.
The ubosot also enshrined four simulated traces of Lord Buddha's Footprints before a new Mondop Jaturamuk, which was beautifully decorated with Chinese style stucco, porcelains and ceramics ensuing the old ubosot. Each gable end of the Mondop was garnished with a stucco of JatuLokaban (the Four Guardians of the world) according to Trai Phum Phra Ruang or as known as the Three Worlds. Heading towards Pra Khon Chai Road, the history of Wat Phichaisongkhram (Wat Nok) traces back to the reign of King Rama II. The King granted an order to move the city from the west of Chao Phraya River (south of Khlong Bang Pla Kod) to the east where today's Paknam City is located and initiated the construction of four fortresses namely Pra Khon Chai Fort, Narai Prap Suek Fort, Prakan Fort, and Kaiyasit Fort although they finished later in the reign of King Rama III.
ภายหลังเมื่อกรุงศรีอยุธยาแตกพ่ายในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ กองทัพพม่าเข้ากวาดต้อนผู้คน และท�ำลายทรัพย์สนิ มาถึงปากน�ำ ้ วัดกลางถูก ปล่อยร้าง จนกระทั่งสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราชทรงตั้งกรุงธนบุรี บ้านเมืองกลับคืน สู่ความสงบเรียบร้อย วัดกลางจึงได้ท�ำการ ซ่ อ มแซมท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ให้ ก ลั บ คื น สู ่ ส ภาพเดิ ม อีกครัง้ ส�ำหรับพระอุโบสถหลังเก่าถูกรือ้ สร้างใหม่ ปลายสมัยรัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ราวปี พ.ศ. ๒๓๔๕ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๓ ทรงปฏิ สั ง ขรณ์ พ ระอารามครั้ ง ใหญ่ แ ละ ยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวง และในปี พ.ศ. ๒๓๗๔ ได้สร้างศาลาการเปรียญหลังใหญ่ ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมเรือนไทยแบบเรือนหมู่ ไม้สักทั้งหลัง หน้าบันมีลวดลายไม้แกะสลัก ละเอียดอ่อน งดงาม หาดูได้ยาก และย้าย หมูเ่ รือนไม้ไปอยูด่ า้ นริมคลองปากน�ำ ้ ส่ ว นพระอุ โ บสถที่ ไ ด้ รั บ การปฏิ สั ง ขรณ์
ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลศิ ล ปะจี น ต้ น รั ต นโกสิ น ทร์ หน้ า บั น เป็ น ลายปู น ปั ้ น เครื อ เถาประยุ ก ต์ ประดับด้วยถ้วยชามเครื่องเคลือบ ซุ้มประตู หน้ า ต่ า งประดั บ ด้ ว ยปู น ปั ้ น ที่ มี ล วดลาย อ่อนช้อย ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปโบราณ พระประธานองค์ใหญ่ปางมารวิชยั สีขาว และ พระพุทธรูปบริวารหลายองค์ ผนังภายในเป็น จิตรกรรมพระปฐมสมโพธิกถา เกี่ยวข้องกับ เรื่องราวการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ซึ่งช�ำรุด เสี ย หายไปมาก และได้ รั บ การบู ร ณะไป พร้อมกับพระอุโบสถ ต่ อ มามี ก ารหล่ อ จ� ำ ลองพระพุ ท ธบาท สี่ ร อย ก่ อ นที่ จ ะสร้ า งพระมณฑปจั ตุ ร มุ ข เพื่อประดิษฐานในปี พ.ศ. ๒๔๔๙ หน้าบัน พระมณฑปเป็ น ลายปู น ปั ้ น ประดั บ ด้ ว ย เครือ่ งถ้วยชามเบญจรงค์ ศิลปะแบบจีนล้อกับ พระอุ โ บสถเก่ า ยอดมุ ข แต่ ล ะมุ ม ประดั บ รูปปูนปัน้ หน้าท้าวจตุโลกบาลตามเค้าโครงเรือ่ ง ไตรภูมพิ ระร่วง DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
อุโบสถหลังเก่าอันงดงามของวัดพิชัยสงคราม มีหอชมเมืองสมุทรปราการสูงเด่นอยู่ด้านหลัง
The graceful old Ubosot of Wat Phichaisongkhram with Samutprakan Observation Tower standing remarkably in the background.
As appointed by the King, Phraya Phichaisongkhram directed the four fortress construction within Wat Bho or Wat Nok area and took the opportunity to simultaneously revitalize Wat Nok. It was when King Rama II made his royal visit to present the robes to monks at this temple that He bestowed the name "Wat Phichaisongkhram." As hundreds of years passed, all four fortresses were demolished. However, their names are assigned to the four major roads of Paknam City as a tribute. Wat Phichaisongkhram, on the contrary, maintains its glory as in olden days. On the roadside of Pra Khon Chai Road, the remarkable religious buildings of Wat Phichaisongkhram stand tall behind the fence. The old ubosot was first established in Ayutthaya period and has recently been renovated. In front of the ubosot, there is a brilliant squarebased stupa with special decoration from Ayutthaya period which has long been held a precious historical heritage to Paknam City. The vihara next to the old ubosot is an enshrinement of many sacred Buddha images including simulated images of Luang Phor So Thorn, Luang Phor Baan Laem and Luang Phor Toh. Villagers often visit to pay their homage and apply gold leaves to Buddha images for good luck. Walking from Wat Phichaisongkhram down Amorndet Road, Samutprakan Observation Tower and Knowledge Park awaits to welcome its visitors with a full panoramic city view along with four aforementioned significant temples of Paknam City.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
จากวั ด กลางวรวิ ห าร ผ่ า นตลาดราชา ไปตามถนนศรีสมุทร ออกสูต่ ลาดปากน�ำ้ ตรง ถนนประโคนชัยทีเ่ ป็นเส้นทางวันเวย์เข้าเมือง หากเดินย้อนไปตามถนนประโคนชัย ผ่านศาล เจ้าพ่อหลักเมือง จนไปถึง วัดพิชัยสงคราม วัดส�ำคัญที่มีประวัติศาสตร์คู่กับเมืองปากน�้ำ มายาวนาน ย้อนไปตัง้ แต่ครัง้ สมัยรัชกาลที่ ๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองจาก ฝั่งตะวันตกของแม่น�้ำเจ้าพระยา (ใต้คลอง บางปลากด) มาตั้ ง ใหม่ ท างฝั ่ ง ตะวั น ออก บริ เวณตรงเมื อ งปากน�้ ำ ในปั จ จุ บั น แล้ ว ก่อสร้างป้อมปราการต่างๆ กระทั่งแล้วเสร็จ
ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ให้ชอื่ ว่า ป้อมประโคนชัย ป้อมนารายณ์ปราบศึก ป้อมปราการ และ ป้อมกายสิทธิ์ เมือ่ ครัง้ สร้างป้อมทัง้ ๔ ป้อม รัชกาลที่ ๒ ได้รับสั่งให้พระยาพิชัยสงครามเป็นผู้ควบคุม การก่อสร้างภายในเขตวัดโพธิ์หรือวัดนอก วัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ในการนี้ พระยาพิชยั สงครามจึงบูรณะวัดนอก ไปด้ ว ยพร้ อ มกั น เมื่ อ รั ช กาลที่ ๒ เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น มาทอดผ้ า พระกฐิ น ที่ วั ด นี้ จึงได้พระราชทานนามว่า วัดพิชัยสงคราม สืบแต่นนั้ มา Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 83
อุโบสถหลังใหม่ของวัดพิชัยสงคราม
The new Ubosot of Wat Phichaisongkhram.
ที่ตั้ง วัดชัยมงคล เลขที่ ๓๒๑ ถนนเทศบาล ๑๘ หมู่ ๒ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐ ๒๗๐๒ ๕๗๔๐ วัดในสองวิหาร เลขที่ ๑๕๙ ถนนศิริราษฎร์ศรัทธา หมู่ ๑ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ วัดกลางวรวิหาร ถนนศรีสมุทร ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๘๗ ๑๘๖๙, ๐ ๒๗๐๒ ๖๑๙๗, ๐ ๒๓๙๕ ๐๐๖๘ วัดพิชัยสงคราม เลขที่ ๒๙ ถนนประโคนชัย ต�ำบลปากน�ำ ้ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๘๙ ๒๘๙๕, ๐ ๒๓๙๕ ๑๖๓๗
Location:
ผ่านกาลเวลามานานกว่าร้อยปี ป้อมทั้ง ๔ ป้ อม ถู ก รื้ อ ทิ้ งไปหมดแล้ว เหลือเพียง ถนนสายส�ำคัญของเมืองปากน�้ำที่น�ำชื่อป้อม มาตั้ ง เป็ น อนุ ส รณ์ ขณะที่วัดพิชัยสงคราม ยังคงปรากฏดังเช่นวันวาน ริ ม ถนนประโคนชั ย จะมองเห็ น หมู ่ ศาสนสถานของวั ด พิ ชั ย สงครามโดดเด่ น ภายในรั้ ว อุ โ บสถหลั ง เก่ า ตั้ ง เด่ น อย่ า ง งดงาม อุ โ บสถหลั ง นี้ ส ร้ า งขึ้ น ตั้ ง แต่ ส มั ย กรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันได้รับการบูรณะให้ สมบู ร ณ์ แ ละงดงาม ด้ า นหน้ า ของอุ โ บสถ มี พ ระเจดี ย ์ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาทรงเครื่ อ ง งดงามน่าชม ถือเป็นมรดกทางประวัติศาสตร์
ที่ส�ำคัญของเมืองปากน�้ำ วิหารด้านข้างของอุโบสถหลังเก่า เป็นที่ ประดิษฐานของพระพุทธรูปมงคลหลายองค์ ทั้งองค์พระพุทธรูปจ�ำลองของหลวงพ่อโสธร หลวงพ่อบ้านแหลม และหลวงพ่อโต มีชาวบ้าน เข้ามาไหว้สกั การะปิดทองขอพรเพือ่ ความเป็น สิริมงคลทุกวัน จากวั ด พิ ชั ย สงครามมี เ ส้ น ทางเดิ น ไป ตามถนนอมรเดช อี ก ไม่ ไ กลก็ ถึ ง อุ ท ยาน การเรี ย นรู ้ แ ละหอชมเมื อ งสมุ ท รปราการ ที่ก�ำลังก่อสร้างใกล้แล้วเสร็จ พร้อมเปิดให้ ขึ้นไปชมทิวทัศน์และที่ตั้งวัดคู่เมืองปากน�้ำ ทัง้ ๔ วัด ได้อย่างเต็มตา
Wat Chai Mongkhon 321 Thetsaban 18 Road, Moo 2, Pak Nam Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Phone: 0 2702 5740 Wat Nai Song Wihan 159 Sirirat Sattha Road, Moo 1, Pak Nam Sub-District, Mueang District, Samutprakan Wat Klang Worawihan Sri Samut Road, Pak Nam Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Phone: 0 2387 1869, 0 2702 6197, 0 2395 0068 Wat Phichaisongkhram 29 Pra Khon Chai Road, Pak Nam Sub-District, Mueang District, Samutprakan Phone: 0 2389 2895, 0 2395 1637 DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
green trip
บางยอ ต�ำบลบางกะเจ้า Bang Yor, Bang Kachao Sub-District
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 85
green trip
g r e e n S pac e | n at u r e J o u r n e y
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
g r e e n s pa c e / N at u r a l C l a s s r o o m
Natural Classroom The world's largest learning space
ห้องเรียนธรรมชาติ ห้องเรียนขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
เขาว่ า คนเราโตมาแบบไหนก็ ถู ก หล่ อ หลอมให้ มี บุคลิกลักษณะในแบบเดียวกับสภาพแวดล้อมทีโ่ ตมา ใครถูกหล่อหลอมมาด้วยบรรยากาศสภาพแวดล้อม ของธรรมชาติสีเขียวและกับครอบครัวในวิถีของคน สมัยก่อน ที่พอถึงเวลามื้ออาหาร ลูกหลานก็จะมา นั่ ง ล้ อ มวงกั น พร้ อ มหน้ า พร้ อ มตา พื ช ผั ก ที่ น� ำ มา ปรุงอาหารก็ไม่ต้องไปหาซื้อให้เสียเวลาเสียสตางค์ เพราะเป็นพืชผักทีป่ ลูกตรงสวนครัวหน้าบ้านไว้กนิ เอง ความคุ้นเคยกับรูปแบบการใช้ชีวิตแบบนี้จึงส่งผล ให้ใครคนหนึง่ ทีไ่ ม่วา่ เขาจะไปยืนอยูต่ รงไหนของโลก จะเป็นคนทีร่ กั และหวงแหนธรรมชาติอยูเ่ สมอ t is said that our personalities are forged Iwho by our childhood surroundings. For those grew up among the green natural
environment and the traditional way of life, they would naturally gather up with their family when it was meal time and prepare food without spending a single baht as fresh homegrown vegetables were collected straight from their front yard. With the familiarity of such lifestyle, wherever they go, their love and cherish of nature remains the same.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 87
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 89 There is an observation that the level of civilization can be measured by the number of coffee shops in the area as it is one of the simplest businesses for a kick-start especially if there is enough space in front of their own house for a couple of tables, chairs and coffee making equipment. However, when tourists travel to an unfamiliar community, it raises an interesting question whether they would be more attracted to common coffee shops or Thai traditional desserts by the local housewives within the community. Off-Worawit Auamcharoen is another person who grew up within the Thai educational system that mainly relies on rote learning but later spends his life among the field and forest after finishing his university degrees. Currently, he is an intermediary agent selling chemical personal care products such as soap and shampoo as well as coin-operated laundry machines. With a Bachelor's degree in Botany and a Master’s degree in Environmental Biology, he worked at the Department of Science Services but gradually decided to return to his hometown, Bang Krachao, to pursue his career in agriculture on a 2.5 rai (4,000 sq.m.) property. Off admits that in actual agriculture outside the classroom, there were so many things he had to start learning from scratch from YouTube.
มีคนเคยตั้งข้อสังเกตว่า อยากรู้ว่า ที่ไหนเริ่มเจริญให้นับจ�ำนวนของร้าน กาแฟในเขตพื้ น ที่ นั้ น ไม่ ใช่ เ พราะ บริเวณนั้นเจริญแล้ว จึงจ�ำเป็นต้องมี ร้านกาแฟเยอะๆ เพื่อตอบสนองความ ต้ อ งการของหมู ่ ม วลนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ หมุนเวียนเข้ามา แต่เพราะว่าร้านกาแฟ เป็นอะไรทีท่ ำ� ได้งา่ ยทีส่ ดุ ยิง่ ถ้าหน้าบ้าน ตั ว เองพอมี ที่ ว ่ า งให้ ว างโต๊ ะ เก้ า อี้ และอุปกรณ์เครื่องท�ำกาแฟด้วยแล้ว การเปิ ด ร้ า นกาแฟยิ่ ง ง่ า ยแสนง่ า ย แต่ในทางกลับกัน ถามว่าเวลานักท่องเทีย่ ว เดินเข้ามาในชุมชนระหว่างร้านกาแฟ ที่เห็นกันเกร่อ กับร้านขายขนมไทย ที่มาจากฝีมือแม่บ้านในชุมชน อะไรจะ ดึงดูดผู้บริโภคได้มากกว่ากัน ? DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
"I could not directly apply what I previously learned in classes. For example, in Botany classes, I generally learned all the classification, mechanics, photosynthesis and minerals but when it came to actual plantation, it was a completely different story. Like the time when I planted bamboos, lime trees or coconut trees, I had to learn more specific fields and details to fully achieve my goals including the most suitable species or fertilizer for each plant. These days, I have multiple responsibilities and hardly any spare
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
time for watering but since it always took me at least three hours to finish dragging a boat that carried a water pump along the field, I searched for better solutions on YouTube. There, I found this Hurl Water System made of blue PE pipes with a number of holes drilled open. Soon as the water tap is opened, the water would automatically come hurling from these holes and onto the plants. I also installed additional air valves vertically along the irrigation pipelines to increase the pressure which results in a greater water flow."
คุ ณ อ๊ อ ฟ หรื อ วรวิ ท ย์ อ่ ว มเจริ ญ เป็ น อี ก คนที่ โ ตมากั บ รู ป แบบของการ ศึ ก ษาไทย ที่ เ รี ย นกั น ไปท่ อ งกั น ไป ตามต�ำราตามหลักสูตร แต่พอเรียนจบ ออกจากรัว้ มหาวิทยาลัยเพือ่ มาใช้ชวี ติ จริง กลางทุ่งกลางป่า จึงได้พบว่าที่เรียนมา แทบจะเอามาใช้ไม่ได้เลย ปัจจุบนั งานหลัก ของคุณอ๊อฟคือเป็นตัวกลางจ�ำหน่ายเคมี ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ใช้ดูแลตัวเอง เช่น สบู่ หรือยาสระผม รวมทัง้ ท�ำธุรกิจเครือ่ งซักผ้า แบบหยอดเหรียญ เขาเรียนจบปริญญาตรี ทางด้ า นพฤกษศาสตร์ และเรี ย นจบ ปริญญาโททางด้านชีววิทยาสิ่งแวดล้อม จากนั้นก็ไปท�ำงานอยู่ที่กรมวิทยาศาสตร์ และสุดท้ายจึงเลือกกลับมาท�ำเกษตรกรรม ที่บ้านของเขาในบางกะเจ้าบนที่ดินขนาด ประมาณ ๒ ไร่ครึ่ง คุณอ๊อฟว่าการอาศัย อยู ่ กั บ การเกษตรกรรมของจริ ง ที่ ไ ม่ ใช่ ห้องเรียนนั้น มีหลายอย่างที่เขาต้องเริ่ม เรียนรู้ใหม่โดยศึกษาเอาจากยูทูบ “เราเรี ย นมา แต่ พ อถึ ง เวลามั น ก็ ไม่ได้ใช้อย่างทีเ่ รียนมา อย่าง พฤกษศาสตร์ ทีเ่ คยเรียนตอนมหาวิทยาลัย เราเรียนเรือ่ ง การจ� ำแนก กลไก การสั ง เคราะห์แสง แร่ธาตุ แต่มันคนละเรื่องเลยกับเวลามา ปลูกจริง เช่น อย่างตอนจะลงไผ่ เราต้อง มาศึกษาแบบเฉพาะทาง เพราะสมัยเรียน เราเรี ย นแบบภาพกว้ า ง พอมาปลู ก ใน ที่ของตัวเองให้ได้ประโยชน์ตามที่คิดไว้ เราต้องศึกษาว่าจะปลูกไผ่แบบไหนที่จะ เกิ ด ประโยชน์ ไ ด้ หรื อ การปลู ก มะนาว มะพร้าว ควรจะเป็นพันธุ์ไหน จะใส่ปุ๋ย แบบไหน หรืออย่างตัวผมเอง ทุกวันนี้ มีความรับผิดชอบหลายอย่าง ไม่คอ่ ยมีเวลา การรดน�้ำในสมัยก่อน ผมจะใช้วิธีแบบ เรื อ ลาก ใช้ เ วลาประมาณ ๓ ชั่ ว โมง กว่าจะรดได้ท่ัว ผมเลยไปหาดูในยูทูบว่า มันพอจะมีทางอืน่ อีกไหม จนเข้าไปค้นเจอ
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan
Next to Off's field, there was a small road with a metal gate to indicate the border. Believing the material looked oddly uncomfortable and detached from the surrounding nature, Off replaced it with a row of hedge bamboo because its wood is durable enough for multi-purposes in the future and its shoots are also edible. Recently, he has also planted more aromatic coconut trees of Baan Phaew leaving six meters of space between each tree and Tahiti lime trees that bear large, seedless yet juicy fruits."
ระบบน�้ำพุ่ง โดยตัวท่อ PE สีฟ้าๆ พวกนั้น มันจะมีรูเจาะเอาไว้ พอเราเปิดน�้ำ น�้ำก็จะ กระจายเป็ น สายน�้ำ เส้ น ๆ ออกมาตามท่ อ โดยที่เราไม่ต้องไปเดินรดเอง และก็ใช้ท่อตั้ง (แอร์แวร์) ในการเพิ่มแรงดัน ซึ่งตัวท่อตั้งนี้ เป็นตัวดักอากาศ เพราะปกติน�้ำจะต้องขึ้นมา พร้ อ มกั บ อากาศอยู ่ แ ล้ ว ทั้ ง หมดนี้ คื อ ผม เรียนรู้มาจากยูทูบหมดเลย” ที่ดินข้างๆ ติดกับพื้นที่สวนของคุณอ๊อฟ โดยมีถนนเส้นเล็กๆ กั้นไว้นั้น ใช้รั้วเหล็ก
91
เป็นตัวก�ำหนดอาณาเขต แต่คุณอ๊อฟบอกว่า การใช้วสั ดุแบบนัน้ ดูนา่ อึดอัด และแปลกแยก กับธรรมชาติ เขาเลยเลือกปลูกไผ่เลี้ยงหวาน ไว้เป็นแนวเพราะไผ่ชนิดนี้ ส่วนไม้ของมัน มี ค วามแข็ ง แรงพอที่ จ ะน� ำ ไปใช้ ป ระโยชน์ อื่นๆ ได้ในอนาคต และส่วนหน่อก็กินได้ ส่วน มะพร้าวทีค่ ณ ุ อ๊อฟเพิง่ ปลูกไว้ โดยมีระยะห่าง จากกันประมาณต้นละ ๖ เมตร เป็นมะพร้าว จากบ้านแพ้ว มะนาวเป็นมะนาวตาฮิติที่มี ผลใหญ่ ไม่มีเมล็ด ให้น�้ำเยอะ
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
“ผมว่ามันไม่มีประโยชน์อะไรที่จะไปท�ำ ขนมปังเบเกอรี่หรืออะไรก็ตามที่มันไม่ใช่เรา แข่งกับคนอื่น อย่างบ้านผมท�ำขนม พวกป้าๆ ของผมแกท� ำ ขนมโบราณ ผมก็ อ ยากให้ อีกหน่อยที่ตรงนี้กลายเป็นที่ที่เราจะเอาขนม ซึง่ คนไม่คอ่ ยมีโอกาสได้เห็นหรือได้กินมาขาย เราจะมี ร ้ านตรงนี้ อย่ างแกงบวน ทุก วัน นี้ น้อยคนมากทีจ่ ะรูจ้ กั เชือ่ ไหมว่ามีคนมาติดต่อ ขอเช่าทีด่ นิ ผมท�ำพวกบ้านตึก บ้านเช่าด้วยนะ แต่ผมบอกไปว่าถ้าจะมาท�ำบ้านเช่า ผมยอม ปล่อยที่ผมให้เป็นป่ารกๆ ดีกว่า” คุณอ๊อฟท�ำให้เรานึกถึงค�ำว่าไม่ต้องไป นึกอยากเป็นเหมือนใครหรอก เป็นและท�ำ ในสิ่งที่รากเหง้าเราเป็นนี่ละ...ดีที่สุด "It makes no use to run another bakery shop or whatever that is not truly us just to compete with others. Since my aunties make traditional and local desserts, I really hope we could offer and sell these rare desserts or food that not many new generations know of in the near future. Believe it or not? I received many offers to rent my properties to build a row of buildings for rent. But I told them I'd rather let it turn into a dense forest." Off reminds us once again that there is no need to desperately live or be like the majority when being ourselves and sticking to our own roots are already the best things possible.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 93
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
n at u r e j o u r n e y / B i r d Wat c h i n g at T h u n g S a m u t p r a k a n
นกกระเต็นใหญ่ธรรมดา Stork-billed Kingfisher
Bird Watching at Thung Samutprakan Mingle with nature among the fresh earthy fragrance
นกอีแจว Pheasant-tailed Jacana
ชมนก
ทุ่งสมุทรปราการ เพลินธรรมชาติเคล้ากลิ่นอายดิน และยอดหญ้า
เมื่ อ มี โ อกาสผ่ า นไปแถวทุ ่ ง บางพลี หรื อ บริ เวณรอบสนามบิ น สุ ว รรณภู มิ เราจะ ได้เห็นท้องทุ่งเขียวขจีปรากฏอยู่ตลอดปี แสดงให้ เ ห็ น ความชุ ่ ม ฉ�่ ำ และสมบู ร ณ์ ด้วยน�้ำท่าของพื้นที่แถบนี้ หากเป็นช่วงที่ เกษตรกรเริ่มต้นไถหว่าน เปิดหน้าดินเพื่อ ท�ำนา ก็เป็นภาพวิถีชีวิตที่น่าเพลิดเพลิน เจริญตายิ่งนัก ด้วยลักษณะของพื้นที่ราบลุ่ม ทุ่งบางพลี จึงเต็มไปด้วยนาข้าว นาบัว บ่อปลา มีบงึ เล็กๆ
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 95
นกกระจาบทอง
Asian Golden Weaver
A
t Suvarnabhumi International Airport in Bang Phli, a widespread lush green field is commonly seen all year long reflecting the succulence and water resource abundance in the area. During the rice cultivation season, it is an even more delightful sight to see farmers plowing and planting rice.
With its lowland characteristics, Thung Bang Phli is full of paddy field, lotus field, fish ponds, small lakes and swamps which are perfect nesting sanctuary to over fifty local and migratory birds combined. Particularly, in mating season, meadow birds become more vibrant in color to attract the opposite sex. Moreover, the open-grassland or even the edges of the swamps covered with aquatic plants make it easier for bird enthusiasts to monitor behaviors of their favorite meadow birds. Here, the meadow birds freely stroll along ridges or tease each other while searching for food ranging from the seeds, roots and shoots of aquatic plants, prawns, shells, crabs, fishes, frogs, small tree frogs, small reptiles, and large insects. Lertnapha Bongbut, who pays a lot of visit to the area due to his fondness of birds in Thung Bang Phli, says...
"There are no less than fifty species of grassland birds commonly found in the local wetland area all year round including Yellow Bittern, Cinnamon Bittern, Asian Golden Weaver, Baya Weaver, PaintedSnipe, White-breasted Waterhen, Pheasant-tailed Jacana, Common Moorhen, Watercock, Bronze-winged Jacana, Ruddy-breasted Crake, White-browed Crake, Painted Stork, Asian Openbill, Great Egret, Little Egret, Little Grebe, Lesser Treeduck,Oriental Pratincole, Red Avadavat, Red-wattled Lapwing.
และหนองน�ำ้ กระจายอยูท่ วั่ ไป เหมาะส�ำหรับ เป็ น แหล่ ง อาศั ย พั ก พิ ง สร้ า งรั ง วางไข่ ข อง นกนานาชนิด ทั้งนกประจ�ำถิ่นและนกอพยพ รวมแล้วมากกว่า ๕๐ ชนิด ยิ่งพอถึงช่วงฤดู ผสมพันธุ์ บรรดานกทุง่ ทัง้ หลายจะเปล่งประกาย สีสันสดใสกว่าปกติ นัยว่าเพื่อเป็นการดึงดูด เพศตรงข้าม ความอุดมสมบูรณ์ของทุง่ บางพลี จึงดึงดูดให้นกประจ�ำถิน่ พากันมาจับจองพืน้ ที่ เพื่ อ จั บ คู ่ ผ สมพั น ธุ ์ และเลี้ ย งดู ลู ก น้ อ ยจน เติบใหญ่ นกทุ ่ ง เหล่ า นี้ เ ป็ น ที่ ชื่ น ชอบของบรรดา นักดูนก แถมยังได้รบั ความนิยมมากเป็นพิเศษ จากสภาพแวดล้อมทีเ่ ปิดโล่งของท้องทุง่ หรือ แม้กระทัง่ ตามริมบ่อริมบึงทีม่ พี ชื น�ำ้ ขึน้ ปกคลุม ช่วยให้ง่ายต่อการเฝ้าดูพฤติกรรมของพวกมัน บ้างก็ออกมาเดินอวดโฉมบนคันนา บางชนิดบิน หยอกล้อไล่กนั ไปตามแหล่งน�ำ ้ เพือ่ หากินราก และหน่อของพืชน�ำ ้ เมล็ดพืช กุง้ หอย ปู ปลา กบ เขียด สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก แมลง ขนาดใหญ่เป็นอาหาร คุณเลิศนภา บงบุตร นักดูนกที่หลงใหล นกทุง่ บางพลี ท�ำให้ตอ้ งแวะเวียนมาเยีย่ มเยือน บริเวณนีบ้ อ่ ยๆ เล่าว่า นกกระติ๊ดแดง Red Avadavat DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
นกกระจาบทองกับรัง
Asian Golden Weaver with nest
“ถ้าอยากมาดูนกทุ่ง นกที่อยู่ตามพื้นที่ ชุม่ น�ำ้ มีหลายชนิดด้วยกัน เช่น นกยางไฟหัวด�ำ นกยางไฟธรรมดา นกกระจาบทอง นกกระจาบ ธรรมดา นกโป่งวิด นกกวัก นกอีแจว นกอีลำ �้ นกอีลมุ้ นกพริก นกหนูแดง นกอัญชันคิว้ ขาว หรือพวกนกกาบบัว นกปากห่าง นกยางโทนใหญ่ นกยางเปีย นกเป็ดผีเล็ก นกเป็ดแดง นกแอ่น ทุ่งใหญ่ นกกระติ๊ดแดง นกกระแตแต้แว้ด นกเหล่านีพ้ บเห็นได้งา่ ย อยูป่ ระจ�ำถิน่ ตลอดปี พบเจอไม่ตำ�่ กว่า ๕๐ ชนิด “นอกจากนี้ยังมีนกที่อพยพผ่านมาเป็น บางช่วง เช่น นกอีเสือสีนำ�้ ตาล นกกระเต็นน้อย ธรรมดา นกกระเต็ น หั ว ด� ำ นกคอทั บ ทิ ม นกคอมรกต นกกลุ่มหลังนี้จะมาตั้งแต่ราว เดือนกันยายน เพื่ออาศัยอยู่ในช่วงฤดูหนาว เรือ่ ยไปจนต้นฤดูรอ้ นก็จะกลับไปท�ำรังวางไข่ ณ ถิน่ ก�ำเนิดทางตอนเหนือตามวงจรธรรมชาติ” คุ ณ เลิ ศ นภาเล่ า ว่ า การดู น กเป็ น งาน อดิเรกที่ควรส่งเสริมให้บุตรหลานได้มีโอกาส เพราะจะช่วยให้พวกเขาซึมซับถึงความรัก และหวงแหนในธรรมชาติ ยิ่งถ้าได้พักผ่อน มากันเป็นครอบครัว ก็เป็นเรื่องดีที่ได้สัมผัส กับธรรมชาติจริงๆ ทีอ่ ยูใ่ กล้แค่ชายทุง่ ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
“ถ้าสนใจมาดูนก ลองขับรถไปรอบๆ เลือก จุดทีค่ นไม่คอ่ ยพลุกพล่าน น�ำน�ำ้ สะอาดมาดืม่ เพราะอากาศค่อนข้างร้อน สวมเสื้อแขนยาว กันแดด พร้อมกับสวมหมวก พยายามอยูเ่ งียบๆ ท�ำตัวให้กลมกลืนกับธรรมชาติมากทีส่ ดุ เวลา ที่เหมาะสมเป็นช่วง ๖ โมงเช้าจนถึงสายๆ เมือ่ แดดแรง กับช่วงแดดร่มลมตกตอนเย็นได้ อีกรอบ” สิ่ ง ที่ นั ก ดู น กฝากทิ้ ง ท้ า ยไว้ คื อ พื้ น ที่ ธรรมชาติอันเป็นที่อยู่อาศัยของนกในเมือง หรือรอบๆ เมืองแบบนีล้ ดน้อยลงไปทุกวันเต็มที อาคารบ้านเรือน โรงงานอุตสาหกรรม ก�ำลัง รุกคืบเข้ามาแทนทีท่ อ้ งทุง่ สีเขียว จนน่ากังวลว่า ต่อไปนกน�้ำนกทุ่งพวกนี้คงไม่มีที่อยู่อาศัย และมันอาจกลายเป็นภาพชีวติ ทีห่ าชมได้ยาก ในอนาคตอันใกล้นอี้ ย่างน่าเสียดาย ท้องทุ่งบางพลีจึงเปรียบเสมือนโอเอซิส ที่เหลืออยู่ของบรรดานกทุ่งเหล่านี้ที่ได้พักพิง อาศัยและสืบเผ่าพันธุ์ให้ด�ำรงอยู่เป็นชีวิตเสรี ในธรรมชาติตอ่ ไป
นกพริก
Bronze-winged Jacana Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 97 On the other hand, migratory birds strictly sighted in certain seasons vary from Brown Shrike, Common Kingfisher, Black-capped Kingfisher, Siberian Rubythroat and Bluethroat. Every early September, they migrate to the area in an attempt to escape the cold winter and return to lay eggs in the north in early summer." Lertnapha adds that bird watching is a hobby that would help instill the love and cherish for nature in young children. Coming here on a family trip also helps reconnect people with refreshing nature. "If you're interested in bird watching, try driving around to pick a non-crowded area. As the weather can be rather warm, make sure to prepare some drinking water, wear long-sleeve tops and put on your hat. Then, try to blend in with the nature - stay as low and quiet as possible. The recommended timings are from six in the morning until late when the sun gets strong and in the evening when the daylight starts to fade."
นกยางไฟธรรมดา Cinnamon Bittern
นกกระติ๊ดสีอิฐ Chestnut Munia
นกกระจิบหญ้าสีเรียบ
Plain Prinia
นกคุ่มอกลาย
Barred Buttonquail
Our bird lover leaves his last thought that natural habitat for the birds either in or near the city is rapidly decreasing. As urban living spaces and industrial factories keep creeping into these green fields, it is worrisome that these poor meadow birds will no longer have a place to live and will regrettably become much rarer to see in the near future. Thung Bang Phli or the meadow of Bang Phli is, thus, the remaining oasis of these meadow birds to dwell and continue to breed independently in the nature.
นกยางกรอก Pond Heron DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
lifestyle
สะพานกาญจนาภิเษก - สะพานวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครฝั่งใต้ ต�ำบลบางครุ อ�ำเภอพระประแดง Kanchanaphisek Bridge - The Outer Ring Road encircling South Bangkok, Bang Khru Sub-District, Phra Pradaeng District.
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 99
inspired trip
good recipe | craftsmanship | oto p s h o p p i n g | e at & d r i n k | m a k e a r e s e r vat i o n | sAmutprakan hot shot | calendar
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
g o o d r e c i p e / P h at T u M i h
Phat Tu Mih
A traditional Muslim recipe of Pak Lat
ผัดตูมิฮ์
ต�ำรับมุสลิมพื้นถิ่นปากลัด ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 101
became Phra Pradaeng District. Together with traditional customs and cultures, the community manages to preserve its identity in their traditional Malay-Muslim recipes. "Traditional Malay-Muslim dishes often seen in merit making events become much rarer to find because of their complicated recipe, decreasing previous generation cooks and less popularity among the new generation. I guess the often made menu these days is Phat Tu Mih.” Ninom or Sister Pranom Arthan, a Muslim lady chef of Baan Pak Lat, inherits everyday recipes and cooking skills from her mother. Her curry and rice shop generally offers Muslim food and southern thai curries except for Phat Tu Mih which is made only once a week.
hra Pradaeng District is not only P home to Thais and Mons but also a large group of Thai-Muslims with
Baan Pak Lat Muslim Community as their oldest communit y in Samutprakan. Since the early reign of King Rama I in Rattanakosin Period, Muslim fellows, who were herded from Pattani City to Pak Lat City, settled down and formed a community until the place gradually
Tumth (pronounced Tu-Mih) is a Malay word that refers to stir-fried food. However, according to the cooking process, when the Muslim moved to Pak Lat, they added the Thai word "Phat (stir-fried)." Thus, the literal translation of Phat Tu Mih is "stir-fried stir-fried." In this case, the term is also applicable to plain stir-fried dishes aside from spicy stir-fried dishes with curry paste. The main seafood ingredients like banana shrimps and mussels instead of meat reflects the identity of M a l ay - M u s l i m c u i s i n e s. A s t h e ancestors of the Muslim of Baan Pak Lat came from Pattani City or M e l ay u ( M a l ay ) , a c o a s t a l c i t y with abundant seafood resources particularly shrimps, shells, crabs and fishes, they naturally featured these ingredients in their recipes.
เมื อ งพระประแดงไม่ ไ ด้ มี เ พี ย งชาวไทย และชาวมอญ ที่ นี่ ยั ง มี ช าวไทยมุ ส ลิ ม กลุม่ ใหญ่อาศัยอยูร่ ว่ มด้วย และชุมชนมุสลิม บ้านปากลัดยังเป็นชุมชนมุสลิมเก่าแก่ที่สุด ในจังหวัดสมุทรปราการ พีน่ อ้ งมุสลิมถูกกวาดต้อนจากเมืองปัตตานี มาสู่เมืองปากลัด ตั้งแต่สมัยต้นรัชกาลที่ ๑ ของกรุงรัตนโกสินทร์ ราวปี พ.ศ. ๒๓๒๙ ก่อนที่ จะมีการตั้งนครเขื่อนขันธ์ และตั้งชุมชนอยู่ เรือ่ ยมาจนเป็นอ�ำเภอพระประแดง ชาวมุสลิม บ้ า นปากลั ด ไม่ เ พี ย งรั ก ษาขนบธรรมเนี ย ม และวัฒนธรรมไว้ได้อย่างยั่งยืน แต่ยังรวม ไปถึ ง อาหารมุ ส ลิ ม ต� ำ รั บ มลายู ห ลายเมนู ที่ ยังสืบสานอัตลักษณ์และรสชาติดั้งเดิมของ บรรพบุรุษไว้ได้ “อาหารมุสลิมมลายูดั้งเดิมมักจะท�ำกัน เวลามี ง านบุ ญ แต่ เ ดี๋ ย วนี้ ก็ น ้ อ ยลงไปแล้ ว เพราะท�ำยาก แม่ครัวรุ่นเก่าๆ ก็เหลือน้อยลง คนรุ่นใหม่ก็ไม่ค่อยนิยมแล้ว ที่ยังท�ำอยู่บ่อยๆ ก็ผัดตูมิฮ์” คุณนินอม หรือ พีป่ ระนอม อาจหาญ แม่ครัว มุสลิมของบ้านปากลัดเอ่ยถึงเมนูมุสลิมมลายู ที่ จ ะมาแนะน� ำ ให้ รู ้ จั ก คุ ณ นิ น อมบอกว่ า สื บ ทอดฝี มื อ ท� ำ อาหารมาจากเมนู ข องแม่ ที่ท�ำกินในครัวเรือนทุกมื้อ ตอนนี้คุณนินอม เปิ ด ร้ า นข้ า วแกงอยู ่ ที่ บ ้ า น ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น อาหารมุ ส ลิ ม และแกงสู ต รทางใต้ รวมทั้ ง ผัดตูมิฮ์ที่มักท�ำสัปดาห์ละครั้ง
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
ค�ำว่า ตูมฮิ ์ เป็นภาษามลายูทใี่ ช้เรียกอาหาร ประเภทผัด ตามกรรมวิธีการปรุงของเมนูนี้ ครั้นพอโยกย้ายมาถึงปากลัด ก็เติมค�ำว่าผัด ในภาษาไทยเข้าไปอีก เลยแปลความหมาย ทั บ กั น ว่ า ผั ด ผั ด ในที่ นี้ ถื อ ว่ า ใช้ เรี ย กผั ด แบบจืดก็ได้ คือแยกจากพวกผัดพริกแกง ส� ำ หรั บ เครื่ อ งเคราพวกเนื้ อ สั ต ว์ ที่ ใช้ มี กุ้งแชบ๊วยกับหอยแมลงภู่เป็นหลัก ซึ่งเป็น อาหารทะเล ตรงนีแ้ สดงให้เห็นถึงการสืบสาน ของอัตลักษณ์ด้านอาหาร เพราะต้นธารของ มุสลิมบ้านปากลัดมาจากเมืองปัตตานีหรือ มลายูที่เป็นหัวเมืองชายทะเล อาหารการกิน
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
จึงเน้นปรุงด้วยกุ้ง หอย ปู ปลา หรือสัตว์น�้ำ จากทะเล เพราะเป็นวัตถุดบิ ทีห่ าง่าย ลูกหลาน เมืองปากลัดก็ยังคงยึดถือตามถึงเดี๋ยวนี้ เครื่องปรุงอย่างอื่นมีหน่อไม้ไผ่ตง น�ำมา หั่นเป็นเส้นแล้วต้มจนสุก คุณนินอมบอกว่า อาจประยุกต์ใส่ยอดมะพร้าวแทนได้ แต่ให้ รสชาติต่างจากหน่อไม้สด แล้วยังมีถั่วฝักยาว หั่นเฉียง กระเทียม พริกไทย และรากผักชี โขลกหรือปัน่ เข้าด้วยกันอย่างละเอียด น�ำ้ ตาล และน�้ำปลาส�ำหรับปรุงรส รวมทั้งมะพร้าว คั่วและกะทิเป็นเครื่องปรุงส�ำคัญที่ขาดไม่ได้ ส�ำหรับผัดตูมิฮ์
Other Phat Tu Mih's ingredients include Rough Giant Bamboo Shoots, which need to be cut into a long line and boiled till cooked. Ninom hints that although it can be replaced with coconut shoots, the taste will be slightly different. Next, diagonally slice the long beans. Then, finely smash or blend garlic, pepper and coriander roots together. Prepare some roasted coconut shreds and coconut milk. For the seasoning ingredients, prepare some granulated sugar and fish sauce. Similar to other stir-fried menus, first, light the stove, put the pan over and add some vegetable cooking oil. Add finely blended garlic, pepper and
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 103
กรรมวิ ธี ก ารผั ด ก็ เ หมื อ นกั บ เมนู ผั ด ทั่ ว ไป ติดไฟ ตั้งกระทะ ใส่น�้ำมันพืชลงไป จากนั้น น�ำกระเทียม พริกไทย และรากผักชีที่โขลก รวมกันลงไปผัดให้หอม แล้วใส่กุ้งตามไปผัด คลุกเคล้าให้เข้าเนือ้ จึงใส่กะทิลงไปผัดด้วยกัน ตามด้วยมะพร้าวคั่ว แล้วผัดต่อจนหอม หาก กะทิงวดลง ให้เติมลงไปผัดด้วยเรือ่ ยๆ ถ้าแห้ง หรือกะทิขน้ ไปก็ให้เติมน�ำ้ สุกเล็กน้อย จากนัน้ จึงใส่เนือ้ หอยแมลงภูท่ ลี่ วกสุกแล้ว คุณนินอม แนะเคล็ดลับ ไม่ควรใส่หอยแมลงภู่พร้อม กับกุ้ง เพราะหอยแมลงภู่จะเละก่อนผัดเสร็จ จากนั้นจึงใส่หน่อไม้ลงไป ตามด้วยถั่วฝักยาว แล้ ว จึ ง ปรุ ง รสด้ ว ยน�้ ำ ปลาและน�้ ำ ตาลให้ ถู ก ปากตามชอบ ผั ด คลุ ก เคล้ า ให้ เข้ า กั น เป็นอันเสร็จ ตักขึ้นเสิร์ฟได้เลย ผัดตูมิฮ์เป็นผัดที่อร่อยด้วยรสหวานมัน จากกะทิ แ ละมะพร้ า วคั่ ว เป็ น เอกลั ก ษณ์ ของอาหารมุสลิม ต่างจากผัดของไทยทั่วไป ผสมผสานกับความสดหวานของอาหารทะเล อย่างกุ้งและหอยแมลงภู่ นับเป็นเมนูอร่อยที่ ท�ำไม่ยาก แม้ไม่เป็นทีร่ จู้ กั แพร่หลาย เนือ่ งจาก เป็นอาหารมุสลิมพืน้ ถิน่ ทีม่ ตี น้ ต�ำรับจากมลายู แต่หาชิมได้ที่บ้านปากลัด โดยเฉพาะร้าน ข้าวแกงของคุณนินอม แต่ตอ้ งมาให้ถกู วันหรือ สั่งท�ำเป็นพิเศษก็ได้
coriander roots until fragrant. Follow with banana shrimps and keep stirring until well-mixed. Pour in some coconut milk, roasted coconut shreds and stir constantly until fragrant. If the coconut milk reduces, add a small amount of coconut milk at a time and remember to keep stirring. On, the other hand, if the coconut milk gets too thick or dry, add some water. Subsequently, add scalded mussels. Ninom suggests the secret that mussels and shrimps should never be added at the same time from the beginning as the mussels will be too mushy before the dish is ready. After that, add bamboo shoots and follow with long bean slices. As a final touch, season with fish sauce and sugar to taste. Mix well and the dish is ready to serve. Phat Tu Mih is rich with the creaminess and beautiful aroma of coconut milk and roasted coconut shreds, which are
distinctive characteristics of Muslim food unlike any regular Thai food. It is a refreshing combination between the freshness, the natural juiciness and the sweetness of local seafood like shrimps and mussels. This delightful traditional Malay-Muslim dish is not difficult to make but, unfortunately, not very popular. It is only available in Baan Pak Lat especially at Ninom's rice and curry shop. You just have to come at the right time or make a special request in advance.
คุณประนอม อาจหาญ
ต�ำบลบางพึ่ง อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๑๘๖๐ ๑๒๘๑ Pranom Arthan Bang Phueng Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan, 10130 Phone: 08 1860 1281
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
craftsmanship / 16 'Til 64
16 'Til 64
The only long-tail boatwright on Bang Kachao Island
จากอายุ 16 ถึง 64 ช่างต่อเรือหางยาวคนเดียว ในบางกะเจ้า
เวลานั่ ง เรื อ หางยาวข้ า มฟาก เรามั ก จะ มั ว สนใจแต่ วิ ว ทิ ว ทั ศ น์ ร อบตั ว ที่ อ ยู ่ ต าม เส้นทางน�้ำ จนวันนี้มีโอกาสได้มาถึงบ้าน ของผู ้ ช� ำ นาญด้ า นการต่ อ เรื อ หางยาว จึงท�ำให้พบว่าเรือหางยาวเป็นสิ่งประดิษฐ์ ที่จัดได้ว่าเป็นหัตถศิลป์ไทยซึ่งควรได้รับ การอนุรกั ษ์ ลุงบรรจบ เชิงชน อยูใ่ นวงการ เรื อ หางยาว ท� ำ อาชี พ รั บ -ส่ ง ผู ้ โ ดยสาร มาตั้ ง แต่ อ ายุ ๑๖ ปี ลุ ง บรรจบบอกว่ า “ความพิ เ ศษของเรื อ หางยาวขึ้ น อยู ่ กั บ ความผู ก พั น ของแต่ ล ะคน” ซึ่ ง นอกจาก ความผู ก พั น ที่ เ กิ ด จากสั ม มาชี พ แล้ ว ในช่ ว งเวลาที่ เรื อ เสี ย ลุ ง บรรจบก็ มั ก จะ ลองผิดลองถูกกับการซ่อมเอง พอซ่อมไป ซ่ อ มมา ก็เลยลองต่อ เรือเสียเอง โดยใช้ ความรู ้ จ ากครู พั ก ลั ก จ� ำ ที่ เ คยสั ง เกตจาก ช่ า งซ่ อ มเรื อ ตามที่ ต ่ า งๆ เขาซ่ อ มกั น ปั จ จุ บั น ลุ ง บรรจบอายุ ๖๔ ปี มีลูก ชาย ที่เติบโตมากับเรือรับจ้างของพ่อ จนวันนี้ ลูกชายของลุงบรรจบก็รบั จ้างขับเรือหางยาว ในช่วงค�ำ่
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
hen boarding on a long-tail W boat ferr y, we are usually attracted by the scenery along the
stream. Thus, having an opportunity to visit the house of long-tail boat building expert makes us realize this precious Thai handicraft deserves proper consevation. Uncle Banchob Choengchon has been in the long-tail boat business picking up and sending off passengers since he was only sixteen years old. He says to us, "the specialty of long-tail boats depends up the bond of each person." Beyond the bond formed through his daily carer, whenever the boat broke or was impaire, Uncle Banchob would always try to repair the boat himself learning right from wrong. After awhile, he began to build a boat himself applying all the knowledge he had previously observed from boat repairmen. At the moment, Uncle Banchob is 64 years old. His son who grew up alongside his father's ferry boat is now a long-tail boat steerman during nighttime.
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 105
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
"Nowadays, when my son returns from his daily work, he would take out the long-tail boat I built to pick up passengers and come back home around one in the morning. Whenever and wherever there is a long-tail boat race, my son would always join the race." Long-tail boats can be categorized by their features such as Ruea Kratoey (Drag Boat) that has a narrow beam and high-pointed bow, Ruea Song Ton (a two-tier bottom Boat) and Ruea Kraba (a boat with a square bow and stern similar to a pickup truck) or as commonly known as Ruea Kradot (a waterskipping boat), which is Uncle Banchob's expertise. Back in the days, Ruea Kradot was formerly larger in size and used in rice transportation although its size has greatly been reduced which makes it popular in long-tail boat races. Uncle Banchob adds that, with skillful building, its advantages can be ranged from the easiness in steering, a less wobbly boat and a safer ride for passengers.
“ทุ ก วั น นี้ เ วลาลู ก ชายเขากลั บ จาก งานประจ�ำ เขาก็จะเอาเรือที่ลุงต่อให้ ออกไป ขั บ รั บ จ้ า ง จะกลั บ เข้ า บ้ า นอี ก ที ก็ ตี ห นึ่ ง และเวลาเขามีจัดแข่งเรือที่ไหน ลูกชายก็ไป แข่งกับเขาด้วย” เรือหางยาวแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ คือ เรือกะเทยที่มีลักษณะหัวแหลม เรือสองตอน และเรือกระบะ หรือที่นิยมเรียกโดยทั่วไปว่า เรือกระโดด ซึ่งเป็นเรือที่ลุงบรรจบมีความ เชี่ยวชาญมาก โดยเรือกระบะในสมัยก่อน จะมีขนาดใหญ่ ชาวนามักเอาไว้ใช้บรรทุกข้าว แต่ปัจจุบันเรือกระบะมีขนาดเล็กลง เป็นที่ นิยมในการน�ำไปใช้แข่งเรือ ลุงบรรจบบอกว่า ข้อดีของเรือประเภทนี้ คือ ขับง่าย ไม่โคลงเคลง ปลอดภั ย ส�ำ หรั บ ผู ้ โ ดยสาร เพราะแม้จะมี ลักษณะของการกระโดด แต่จะกระโดดมาก หรือกระโดดน้อยก็ยงั ขึน้ อยูก่ บั ชัน้ เชิงของการ ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
ประกอบด้วย ปัจจุบันเมื่อพูดถึงช่างต่อเรือ ในบางกะเจ้ า แล้ ว ก็ มี ลุ ง บรรจบคนเดี ย ว นี่ละค่ะ และวิธีการต่อเรือของลุงนั้นยังใช้ วิ ธี แ บบโบราณ คื อ ต้ อ งมี ก ารขึ้ น โครงจาก กระดูกงูก่อน โดยตอกยึดกับพื้นทั้งหมด และ จึงค่อยหาระดับ และท�ำการประกอบ ในขณะ ที่ ก ารต่ อ เรื อ โดยทั่ ว ไปนั้ น จะมี ก รรมวิ ธี ที่ ซับซ้อนน้อยกว่า คือวาดเป็นแผงด้านข้าง ออกมา และเอาเลือ่ ยตัดตามทีว่ าดไว้ ไม่ตอ้ งมี การขึ้นโครง ในโรงจอดเรือหน้าบ้านของลุงบรรจบมี เรือจอดอยู่ ๓ ล�ำ ล�ำแรกคือเรือกระบะ อีกล�ำ คื อ เรื อ สองตอนที่ ลุ ง ตั ด ให้ เ หลื อ ตอนเดี ย ว ส่ ว นล� ำ ที่ ถู ก ยกลอยอยู ่ เ หนื อ พื้ น ประมาณ ๒ เมตรได้ เป็นเรือเก่าแก่ที่ไม่ได้ถูกใช้งาน มานาน ส� ำ หรั บ ไม้ ที่ นิ ย มน� ำ มาต่ อ เรื อ นั้ น จะเป็ น ไม้ สั ก ไม้ ต ะเคี ย น และไม้ ม ะยม
At the present, Uncle Banchob is the only boatwright in Bang Krachao. According to traditional boat building techniques, it is essential to first set up the building frame starting with a keel bearer nailed to the planks before adjusting to the right waterline level and putting together other parts. Meanwhile, the general boat building has less complicated processes as it simply starts by drafting a panel on each side from the center and sew the wood accordingly without having to build the frame first. Inside Uncle Banchob's boat garage, there are three boats: the first is Ruea Kraba, the second is Ruea Song Ton which he modified to make it shorter and the third is an antique boat lifted above the floor. Popular woods for boat building are teakwood, iron wood and red cedar wood. Generally, it takes approximately 15 days to complete building a boat which may cost between 40,000-50,000 baht. After the name of the boat is decided, the owner would ask a Calligraphy specialist to paint the design on the side of the boat. For example, the Ruea Kraba in front of the Uncle's house was named Nong Namphet after his grandchild. Besides the three boats docking in front of the uncle's house, there are two more boats that he built by himself nearby.
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 107
As we were wondering, Uncle Banchob easily lifts up the bow to prove that these traditional boats are not as heavy as it may seem. Usually, whenever he or his son wants to sail out, both the Uncle and his son would simultaneously lift the bow and the stern, place it on a wheelbarrow and drag the boat out to the shore. Born and raised in Bang Krachao, Uncle Banchob is not only a boat building expert but he knows the river course like the back of his hands. Thus, if you would like to wander around Bang Krachao by boat, we recommend you to contact Uncle Banchob in advance. He hints that Bang Krachao looks particularly beautiful at night.
โดยในการต่อเรือ ๑ ล�ำ จะใช้เวลาประมาณ ๑๕ วั น มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยอยู ่ ที่ ป ระมาณล� ำ ละ ๔๐,๐๐๐-๕๐,๐๐๐ บาท และผู้เป็นเจ้าของ เรือก็มักจะตั้งชื่อให้กับเรือของตัวเอง จากนั้น ให้ช่างเฉพาะทางออกแบบอักษรและเขียน ชื่ อ ไว้ ที่ ข ้ า งเรื อ อย่ า งเรื อ กระบะที่ จ อดอยู ่ หน้าบ้านลุง ชื่อเรือน้องน�้ำเพชร ซึ่งมาจาก ชื่อหลานของลุงบรรจบ นอกจากเรือที่จอด อยู่หน้าบ้าน ๓ ล�ำแล้ว ยังมีเรือต่อเองอีก ๒ ล�ำ ทีล่ งุ บรรจบน�ำไปจอดไว้ตรงเพิงจอดเรือ ริมน�ำ้ ที่อยู่ด้านนอกตัวบ้าน ยืนมองเรือกระบะที่ลุงบรรจบประกอบ ขึ้นมาแล้ว ก็นึกสงสัยว่าเวลาที่จะต้องขนย้าย เพือ่ น�ำไปใช้งานทีแ่ ม่นำ �้ เขาจะต้องใช้คนยกกัน สักกี่คน เพราะขนาดต่อล�ำก็ไม่ใช่จะเล็กๆ
ว่าแล้วลุงบรรจบเลยยกหัวเรือลอยขึน้ จากโครง รองรับให้ดู เพื่อพิสูจน์ว่าน�้ำหนักของเรือไม่ได้ หนักอย่างที่คิด ปกติเวลาจะใช้งาน ลุงบรรจบ กับลูกชายจะช่วยกันยกหัวท้าย เพื่อน�ำไปวาง บนรถเข็น แล้วจึงค่อยลากเรือไป นอกจากลุงบรรจบจะรับต่อเรือแล้ว สิง่ ทีเ่ รา อยากแนะน�ำมาก คือด้วยความที่ลุงเป็นคน พื้นที่โดยก�ำเนิด รู้จักเส้นทางเรือเป็นอย่างดี ฉะนั้น หากใครอยากมาเที่ยวบางกะเจ้าด้วย เส้นทางน�้ำ เราแนะน�ำให้ลองติดต่อลุงบรรจบ ดูค่ะ ลุงว่าความสวยงามที่สุดของบางกะเจ้า คือช่วงเวลากลางคืน ติดต่อลุงบรรจบ : โทร. ๐๖ ๔๔๐๔ ๑๑๕๐
Uncle Banchob Choengchon Phone: 06 4404 1150
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
OTO P S H O P P I N G / F r o m N y lo n Sto c k i n g F low e r s
From Nylon Stocking Flowers
to Colorful Green Tea Worms
จากดอกไม้ผ้าใยบัว สู่หนอนชาเขียวหลากสี
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 109 abric Flowers may not sound Frather like an unusual surprise and found commonly. If that is what you are thinking, wait until you finish reading the following story.ไ
In the past, there were upto 20 handicraft groups in Samutprakan that specialized in flower making and had all been officially registered. Unfortunately, at the present, only Nanthaphan Handmade Flowers, a community enterprise of Women's Group of Bang Kaew Sub-District, remains. This raises an interesting question why. Nantaphan Thanasupphawat (Kaen), the founder of the group, explains that as artificial flowers were not considered a necessity in life but rather luxury goods, they could only sell at certain seasons. The more products did not sell, the sooner they led to sunk costs, overstock products and gradually the dissolution of all flower crafting groups. Kaen reveals that if she had insisted to continue making only artificial flowers, there would have been a single community enterprise with expertise in handmade flower making left in Samutprakan. "When green tea became popular, we mixed synthetic fabrics with nylon stocking fabrics forming them into green tea worm keychains and refrigerator magnets. I still remember our first exhibition at Muang Thong when our customers had to wait in line because they were all sold out and we had to make more instantly. Although many try to copy our work, none has ever gotten it right due to certain forming techniques and rhythm."
ว่าด้วยงานดอกไม้ผ้าแล้ว ไม่ใช่ของแปลก มันคือของฟุ่มเฟือย จะขายได้ก็ต่อเมื่อช่วง อะไร หาได้ทั่วไปเสียด้วยซ�้ำ คุณคิดแบบนี้ เทศกาลเท่านัน้ จึงท�ำให้ปริมาณความต้องการ ดอกไม้ประดิษฐ์ในช่วงปกติไม่ได้มีมากนัก ใช่ไหมคะ ? ถ้าอย่างนัน้ ต้องอ่านให้จบค่ะ ท�ำออกมาก็เสียเวลาเปล่า เพราะขายไม่ได้ สมั ย ก่ อ นสมุ ท รปราการมี ก ลุ ่ ม ที่ ท� ำ งาน ทุนจม ของล้นสต็อก กลุม่ ท�ำดอกไม้ทเี่ คยมีอยู่ ฝี มื อ ประเภทดอกไม้ อ ยู ่ ถึ ง ๒๐ กลุ ่ ม ก็เลยค่อยๆ สลายตัวไปทีละกลุม่ ส่วนคุณแก่น ซึ่ ง ได้ รั บ การจดทะเบี ย นและขึ้ น ทะเบี ย น นั้น ถ้าเธอยังคงผลิตสินค้าประเภทเดียวเป็น อย่างเป็นทางการ แต่ ณ ตอนนี้เหลือเพียง ดอกไม้ประดิษฐ์อยู่ วันนี้ในสมุทรปราการก็ กลุ ่ ม เดี ย ว คื อ นั น ทพั น ธ์ ด อกไม้ ป ระดิ ษ ฐ์ คงจะไม่เหลือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ท�ำดอกไม้ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนกลุ ่ ม สตรี ต� ำ บลบางแก้ ว ประดิษฐ์อยูเ่ ลยแม้แต่กลุม่ เดียว เท่านั้น ซึ่งนี่ละความน่าสนใจ ท�ำไมจึงเป็น “มีช่วงหนึ่งชาเขียวก�ำลังดัง เราก็เอาเลย โดยการใช้ใยสังเคราะห์มาผสมกับงานผ้าใยบัว เช่นนี้ ? คุณนันทพันธ์ ธนาศุภวัฒน์ หรือ แก่น ผูก้ อ่ ตัง้ ท�ำ เป็ น พวงกุ ญแจหนอนชาเขียวกับ หนอน กลุ ่ ม ให้ เ หตุ ผ ลว่ า อาจเป็ น เพราะดอกไม้ ชาเขียวติดตู้เย็น ปรากฏว่าขายดีมาก จ�ำได้ ประดิษฐ์ไม่ใช่เรื่องจ�ำเป็นส�ำหรับการใช้ชีวิต ตอนไปขายที่งานเมืองทองฯ ครั้งแรก ขายดี DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
Judging from the look, green tea worms made of stuffed Polyester (synthetic fabrics) and sewn together with nylon stocking fabrics should not be difficult to imitate. However, if the stuffing is too compromised, the worm will smoosh when sewing to create the pattern of the worm's body and transform into a sick-looking worm in an instance. If the sewing and tying is not done at the right pattern, the worm will not turn out as charming.
ขนาดลู ก ค้ า ต้ อ งมายื น รอยื น เฝ้ า จนของ ไม่พอขาย ต้องท�ำเพิม่ กันเดีย๋ วนัน้ พีข่ ายตัวละ ๒๐ บาท จนทุกวันนีข้ ยับเป็นตัวใหญ่ ขายตัวละ ๑๐๐ บาท มีคนพยายามจะก๊อบปี้งานเรา เยอะมาก ซือ้ ของเราไปเป็นตัวอย่าง แต่ทำ� ยังไง ก็ทำ� ออกมาไม่เหมือน อาจจะด้วยเทคนิคและ จังหวะในการปัน้ ด้วย” ดูจากรูปร่างหน้าตาสินค้าหนอนชาเขียว ยั ด ไส้ ด ้ ว ยโพลี เ อสเตอร์ (ใยสั ง เคราะห์ ) และเย็บร่างด้วยผ้าใยบัวแล้ว หากใครคิดจะ ลอกเลียนแบบก็ไม่นา่ จะยากอะไร แต่นลี่ ะค่ะ ที่เขาว่าของทุกอย่างมันต้องใช้ประสบการณ์ โดยเฉพาะเรื่ อ งของเทคนิ ค และจั ง หวะ เพราะเอาแค่ปั้นโพลีเอสเตอร์ให้เป็นรูปทรง ของหนอน ถ้าปัน้ ก้อนไม่แน่น เวลาผูกด้ายเพือ่ สร้างลายหนอน ตัวหนอนก็จะเละคามือผู้ทำ � ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
กลายเป็นหน้าตาของหนอนป่วยในบัดดล หรือ การมัดด้ายเองถ้าเว้นจังหวะของการสร้างลาย ไม่สวย หนอนก็ไม่ได้อารมณ์อกี ย้ อ นไปช่ ว งเริ่ ม ต้ น ของความสนใจใน งานดอกไม้ประดิษฐ์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มแรกของ คุณนันทพันธ์กบั งานฝีมอื สมัยนัน้ คุณนันทพันธ์ กับคุณปฐมพล ธนาศุภวัฒน์ (สามี) ท�ำงานอยู่ บริษทั เอกชน กระทัง่ จนปี ๒๕๔๒ ช่วงฟองสบู่ แตก ทั้งคู่ตัดสินใจลาออกจากงานมาอยู่บ้าน ซึง่ ในตอนนัน้ กระทรวงแรงงานเปิดสอนฝึกงาน อาชีพให้กบั ผูว้ า่ งงาน คุณนันทพันธ์กบั สามีจงึ ลองไปเรียนอยูห่ ลายวิชา แต่คณ ุ นันทพันธ์เกิด ติดใจกับสีสันของดอกไม้ผ้าใยบัวเข้า เลยเริ่ม ฝึกจริงจังจากการท�ำดอกกุหลาบ และเปิด แผงเล็กๆ ตัง้ ขายดอกกุหลาบหน้าบ้านในช่วง วั น วาเลนไทน์ ปรากฏขายดิ บ ขายดี ช นิ ด
In the beginning, Nanthaphan and her husband (Pathomphon Thanasuppawat) worked at a private company until 1999, when economic bubble burst, they decided to resign and stay home. During their time off, Nanthaphan and her husband took several occupational skill trainings held by the Ministry of Labor for unemployed people. Attracted by the vibrant colors of nylon stocking flowers, Kaen started to actively practice the flower crafting starting with roses. On a Valentine's Day, she set up a small stall in front of her own house and, to her surprise, her roses were quickly sold out that she had to gain more unemployed people in the neighborhood and set up a housewife group.
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 111
"Back then, I would buy all these how-to books and study each step by myself. Then, I applied what I learned to other types of flowers like my favorite Lilies or our current bestselling auspicious banana trees that people love to place on their working table believing it will help smoothen their professional life and attract more wealth. Moreover, auspicious orange trees are believed to bring in prosperity and good fortune." At the community enterprise of Women's Group of Bang Kaew Sub-district, works are assigned according to the person's best expertise and interests. For instance, some excel in fabric flower making while some have incredibly precise hands in forming the green tea worms and some are brilliant in doll-clothes making, which are also among our top hit products. For any interested person in nylon stocking flower making, Kaen is more than willing to pass on the knowledge at her house free of charge.
ไม่พอขาย ต้องหาคนช่วยท�ำ อันเป็นทีม่ าของ การตัง้ กลุม่ แม่บา้ นจากการรวบรวมเพือ่ นบ้าน ในละแวกทีย่ งั ว่างงานอยู่ “จากตอนนัน้ เราก็ซอื้ หนังสือพวกการฝีมอื ดอกไม้ประดิษฐ์ผ้าใยบัวมาศึกษาท�ำต่อเอง พลิกแพลงจากที่เห็นในหนังสือไปสู่ดอกไม้ ประเภทอื่นๆ เช่น ลิลลี่ ซึ่งเป็นดอกไม้ที่เรา ชอบท�ำมาก หรืออย่างทุกวันนี้สินค้าเราที่ ขายดีมาก คือ ต้นกล้วย เพราะจากทีศ่ กึ ษามา ต้นกล้วยถือเป็นต้นไม้มงคล น�ำไปตั้งบนโต๊ะ เพือ่ เป็นเคล็ด ท�ำให้ราบรืน่ เงินทองไหลมาเทมา หรือต้นส้มก็ถอื เป็นความอุดมสมบูรณ์เป็นโชค เป็นลาภ”
การแบ่งงานของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มสตรี ต�ำบลบางแก้วใช้หลักความจริงเลยค่ะ แม่บา้ น แต่ ล ะคนจะมี ทั ก ษะเฉพาะตั ว ที่ ต ่ า งกั น บางคนถนัดดอกไม้ บางคนเป๊ะมากในเรือ่ งของ การปั้นตัวหนอน บางคนเก่งในการท�ำเสื้อผ้า ของตุก๊ ตาซึง่ เป็นสินค้าอีกประเภททีข่ ายดีเป็น เทน�้ำเทท่า คุณแก่นก็จะใช้วิธีแจกจ่ายงานให้ ถูกกับตัวบุคคล ซึง่ ถ้าใครสนใจการท�ำดอกไม้ ผ้าใยบัว หรือเห็นสินค้าของกลุ่มสตรีต�ำบล บางแก้วแล้วถูกใจ นึกอยากจะท�ำเป็นบ้าง คุณแก่นก็ยินดีที่จะส่งต่อความรู้โดยสามารถ ติดต่อขอไปเรียนที่บ้านคุณแก่นได้ ไม่เสีย ค่าใช้จา่ ยค่ะ
นันทพันธ์ดอกไม้ประดิษฐ์ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มสตรีต�ำบลบางแก้ว โทรศัพท์ ๐๘ ๖๐๒๔ ๘๐๕๕, ๐๘ ๙๑๘๕ ๖๖๗๑ Nanthaphan Handmade Flowers Community Enterprise of Women's Group of Bang Kaew Sub-District Phone: 08 6024 8055, 08 9185 6671
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
e at & d r i n k / M a e C u i s i n e
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 113
Mae Cuisine Palatable Seafood in Mama's house
แม่ ค ซ ู น ี อร่อยอาหารทะเลในบ้านแม่ บรรยากาศริมทะเลท่ามกลางสายลมเย็นๆ ย่อมเป็นเสน่ห์ดึงดูดลูกค้าให้เข้ามาชิมอาหาร ทะเลอร่อยๆ ถ้าเป็นร้านที่มีบรรยากาศสบายๆ รู้สึกผ่อนคลายเหมือนกินอาหารอยู่ที่บ้าน ก็ยงิ่ เป็นทีถ่ กู ใจเหมือนได้มาพักผ่อนไปด้วย นีเ่ องทีเ่ ป็นเสน่หข์ องร้านแม่คซู นี ร้านทีจ่ ะท�ำให้ คุณรู้สึกเหมือนนั่งกินอาหารในบ้านริมทะเลของตัวเองเลยทีเดียว
T
ogether with a beautiful seaview and a cool seabreeze, Mae Cuisine's cozy atmosphere has always been an amazing magnet that attracts customers to try out delicious seafood in a relaxing atmosphere as if in their own seafront house.
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
คุณจ๊อด หรือ ศักดิช์ ยั วัฒนวิศาลกุล เปิดร้าน แม่คูซีนโดยเลือกท�ำเลริมทะเลเป็นจุดขาย ใช้ชอื่ แม่คซู นี สร้างความอบอุน่ เป็นกันเองและ รูส้ กึ เหมือนกินอาหารฝีมอื แม่ เลือกปลูกเรือนไม้ สูงคล้ายเรือนนาให้รู้สึกปลอดโปร่งโล่งสบาย และรับลมเย็นๆ จัดแต่งผสมผสานทั้งสไตล์ วินเทจ โมเดิรน์ และลอฟต์ ให้เป็นเอกลักษณ์ พร้อมเปิดเพลงไทยย้อนยุคลูกกรุงและลูกทุ่ง ให้เข้ากับบรรยากาศสบายๆ คุ ณ จ๊ อ ดมี ป ระสบการณ์ ท� ำ ร้ า นอาหาร มานาน เริ่ ม ต้ น ได้ รั บ ถ่ า ยทอดจากคุ ณ แม่ ซึง่ เป็นเจ้าของสวนอาหารลานทอง ร้านอาหาร ทะเลแห่ ง แรกของจั ง หวั ด สมุ ท รปราการ สมัยเมื่อ ๔๐ กว่าปีท่ีแล้ว จึงคลุกคลีอยู่กับ การท�ำอาหารและบริการจากคุณแม่มานาน แล้วน�ำประสบการณ์ตรงมาสร้างจุดเด่นให้กบั ร้านแม่คูซีน โดยน�ำเอกลักษณ์ของอาหาร ๓ สไตล์ ทีน่ กั กินคุน้ เคยในรูปแบบภัตตาคาร สวนอาหาร และคาเฟ่มามิกซ์กนั ออกมาเป็น อาหารลูกผสมให้มีจุดเด่นและแตกต่างจาก ร้านอืน่ โดยเน้นอาหารทะเลเป็นหลัก
Jod or Sakchai Wattanawisankun handpicked the beautiful seafront location for his restaurant and named it Mae Cuisine to convey the homey vibe one usually feels when enjoying his or her mom-made food. The tall and spacious wooden barn-like structure allows a free-flowing cool ventilation from the sea. The interior decoration is a unique mixture of vintage, modern and loft styles. To highlight its laid back atmosphere, a playlist of easy listening Luk Krung and Luk-thung music keeps playing in the background. Originally inherited from his mother who owned Lan Thong (Garden-Style) Restaurant, Samutprak an's first seafood restaurant forty years ago, Jod applied all his knowledge and direct experiences when strategizing the key selling points for Mae Cuisine. He incorporated the uniqueness of the food offered in restaurant, garden-style restaurant and café into a distinctive fusion food with seafood as the key ingredient. ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 115
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
เมนูซฟี ดู้ ของร้านแม่คซู นี ไม่เน้นเมนูเผาหรือ นึ่งเหมือนร้านอาหารทะเลทั่วไป แต่เลือกวิธี ปรุงรสชาติให้เหมาะกับอาหารทะเลแต่ละอย่าง ให้ความส�ำคัญกับคุณภาพวัตถุดบิ ทีค่ ดั สรรจาก แหล่งอาหารทะเลชัน้ ดีทงั้ อ่าวไทยและอันดามัน ไม่วา่ จะเป็นปู กุง้ กัง้ ฯลฯ มาปรุงให้ถกู ลิน้ ได้รส อร่อยตามความชอบของลูกค้า ออกมาเป็นเมนู ซีฟดู้ ฟิวชันในแบบไทยๆ อย่าง แกงกะทิเนือ้ ปู อร่อยด้วยความหวาน ของเนื้อปูเป็นก้อนๆ ตัดกับเครื่องแกงเผ็ด
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
เข้มข้นและหอมกะทิที่ไม่ใส่จนมันเกินควร เนื้อกั้งผัดพริกขี้หนูสวนยกให้เป็นเมนูพิเศษที่ ไม่ได้หากินง่ายๆ กัง้ ตัวโตต้มทัง้ ตัว แกะแต่เนือ้ เอามาผั ด กั บ พริ ก ขี้ ห นู ส วนและกระเที ย ม เนื้ อ กั้ ง จากสตู ล นุ ่ ม หวานกิ น ทั้ ง ตั ว เต็ ม ค� ำ เข้าเครื่องกับรสเผ็ดหอมของพริกขี้หนูสวน จากราชบุรี ปูทะเลผัดซอสไข่เค็ม เลือกปูทะเล ตั ว ใหญ่ ม าผั ด กั บ ซอสไข่ เ ค็ ม ให้ ร สอร่ อ ย ต่างจากผัดผงกะหรีท่ คี่ นุ้ เคยทัว่ ไป แกงส้มกุง้ ก็นำ� มะม่วงดิบมาใส่ดว้ ย ได้ทงั้ ความสดหวาน
ของกุ้งและรสเปรี้ยวของมะม่วงน�้ำดอกไม้ดิบ เข้ากันกับพริกแกงส้มหอมเข้มข้น ส่วนเครือ่ งดืม่ เย็นๆ มีน�้ำผลไม้หลายอย่างให้เลือกดื่มชื่นใจ รวมทั้งน�้ำหมากเม่า ลูกไม้พื้นถิ่นที่ส่งมาไกล จากจังหวัดสกลนคร เมนูซีฟู้ดชวนชิมเหล่านี้เป็นความพิถีพิถัน ของร้านแม่คูซีนในการเลือกสรรวัตถุดิบชั้นดี มาปรุงได้อย่างน่ากิน และท�ำให้ซฟี ดู้ จานเด็ด มีเรื่องราวน่าสนใจควบคู่ไปกับความอร่อย ริมทะเล
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 117
Mae Cuisine's highlighted seafood are not typically roasted or steamed menus but rather prepared with a more suitable cooking method for each selective seafood ingredient from the finest source like the Gulf of Thailand and Andaman Sea. Fresh crabs, shrimps, mantis shrimps among many others are carefully cooked to fulfill the customer's taste buds via interesting Thai-fusion style seafood menus. For instance, Kaeng Kathi Nuea Pu (Crabmeat Curry) is a contrast of juicy lump crab meat against the rich and spicy coconut curry. Nuea Kang Phat Phrik Khee Nu Suan, a rare and special dish, is a mingle of sweet, tender and mouthful mantis shrimp meat delivered from Satun province and frangrantic yet spicy bird-chillies from Ratchaburi province. Pu Tha-Le Phat Sot Khai Khem features jumbo sea crabs and unconventional salted egg sauce instead of yellow curry powder. Kaeng Som Kung, here, is a beautiful blend of sweet juicy shrimps and sour green Nam Dok Mai mango in an intensely aromatic sour soup. Out of all refreshing cool juices, Mae Cuisine also offers Mak-Mao juice, a drink made of Thai Blueberries, the local fruit delivered all the way from Sakon Nakhon province. All these mouthwatering seafood menus portray how Mae Cuisine Restaurant carefully selects the ingredients and creatively prepare each and everyone of them. Mae WCuisine's delightful food do not only come with interesting stories but also with splendid seaview.
ร้านแม่คูซีน ซอยเทศบาลบางปู ๘๘ ต�ำบลบางปูใหม่ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๘๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๑๘๓๗ ๒๔๘๗ เปิดทุกวัน เวลา ๑๑.๐๐-๒๒.๐๐ นาฬิกา maecuisine Mae Cuisine Café & Restaurant Soi Thetsaban Bang Pu 88, Bang Pu Mai Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan, 10280 Phone: 08 1837 2487 Open: Daily from 11.00 am-10.00 pm maecuisine
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
e at & d r i n k /
I-Suan Coffee & Dessert
I-Suan Coffee & Dessert Tune into relaxation of the refreshing greenery
ไอ-สวน เพลินสบายกับกลิ่นอายสีเขียว เพี ย งเดิ น ผ่ า นเข้ า ไปในร้ า นไอ-สวน คุณจะรู้สึกถึงความร่มรื่นไปกับบรรยากาศ ผ่ อ นคลายเสมื อ นก� ำ ลั ง อยู ่ ท ่ า มกลาง พื้ น ที่ สี เขี ย วและไอความสดชื่ น ของสวน ซึ่งตอบโจทย์ได้ดีกับเครื่องดื่มและเบเกอรี่ แสนอร่อยในช่วงเวลาพักผ่อนของคุณ ร้านไอ-สวน I-Suan Coffee & Dessert อยู ่ ก ่ อ นถึ ง วั ด บางกอบั ว พื้ น ที่ สี เขี ย วของ บางกะเจ้าทีเ่ ต็มไปด้วยสวนผลไม้ ร้านไอ-สวน จึงจัดแต่งด้วยไอเดียกลิ่นอายของสวนสีเขียว ที่ ลู ก ค้ า จะรู ้ สึ ก สดชื่ น ไม่ ว ่ า จะเลื อ กนั่ ง ที่ เก้ า อี้ ไ ม้ ด ้ า นนอกท่ า มกลางเฟิ ร ์ น กอใหญ่ หรือเลือกนั่งห้องกระจกแอร์เย็นฉ�ำ่ ด้านใน ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
ทั้งกาแฟและสมูทตีเหมาะกับเค้กโฮมเมด หลายอย่ า ง ทั้ ง เค้ ก ใบเตยมะพร้ า วอ่ อ น นูเทลลาชีสเค้ก ช็อกโกแลตบอมบ์ และเค้กส้ม นอกจากนี้ ยั ง มี ข องกิ น เล่ น และอาหาร จานเดียวหลายอย่าง เมนูที่ลูกค้าชื่นชอบ คือ สปาเกตตีขี้เมาทะเลสดหวานด้วยกุ้ง หมึก และหอยแมลงภู ่ นิ ว ซี แ ลนด์ ผั ด คลุ ก เคล้ า เส้นสปาเกตตีที่ปรุงด้วยพริกและเครื่องเทศ ให้รสแซ่บจัดจ้านตามต�ำรับไทย เมื่ อ ได้ อ ร่ อ ยทั้ ง กาแฟ เครื่ อ งดื่ ม และ เบเกอรี่ ท่ า มกลางบรรยากาศร่ ม รื่ น ของ ร้านไอ-สวน ลูกค้าจึงไม่เพียงติดใจรสชาติ เครื่ อ งดื่ มและอาหาร แต่ ยั ง พร้อมกลับ มา เช็กอินเพื่อผ่อนคลายเสมอๆ
นอกจากกาแฟร้ อ นและเย็ น ที่ ท างร้ า น คัดสรรเมล็ดกาแฟชั้นดีมาบดชงเป็นกาแฟ สูตรของร้านไอ-สวน โดยเฉพาะคาราเมล มักคิอาโตได้ทั้งความหอมและรสหวานมัน ลงตัวพอดี สมูทตีหลายอย่างก็เป็นสูตรพิเศษ ของทางร้านที่เน้นส่วนผสมให้ความอร่อย เข้มข้นทุกแก้ว ทั้งมิกซ์เบอร์รี่ที่ใส่ผลเบอร์รี่ หลายอย่ า งกั บ โยเกิ ร ์ ต และมะนาว Pina Colada ที่ใช้ส่วนผสมของสับปะรด มะนาว มะพร้าว และมินต์ อยากแนะน�ำอเมริกาโน น�ำ้ มะพร้าวเข้มข้นด้วยกาแฟผสมกับรสหวาน หอมของน�้ำมะพร้าว ถือเป็นสูตรเอกลักษณ์ จากสวนบางกอบัว Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 119
tepping inside of I-Suan Coffee S & Dessert, you can instantly feel the cool relaxing shade and the refreshing scent of the green garden which make a perfect compliment to its delicious drinks and bakeries on your days off.
Sitting in the heart of lush green Bang Kachao surrounded by fruit fields before arriving at Wat Bang Ko Bua, I-Suan Coffee & Dessert infuses a refreshing green ambience into its decoration. Customers may choose a seat outside among large clumps of ferns or inside the glass wall room with air conditioner. Both hot and cold coffee at I-Suan Coffee & Dessert, particularly Caramel Macchiato, are made of a fine selection of coffee beans that are carefully grounded and blended
ไอ-สวน เลขที่ ๗/๓ หมู่ ๓ ระหว่างซอยเพชรหึงษ์ ๔๙-๕๑ ถนนเพชรหึงษ์ ต�ำบลบางกอบัว อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๑๖๒๒ ๘๙๑๒ เปิดเวลา ๐๙.๐๐-๑๙.๐๐ นาฬิกา หยุดวันพฤหัสบดี ไอ-สวน I-Suan Coffee & Dessert
to the right aroma, intensity, and sweetness. Many smoothies are special recipes with incredibly flavorful ingredients as seen in the Mixed Berry Smoothie that features a bunch of berries, rich yogurt and lime juice or Pina Colada which is a wonderful combination of pineapple, lime juice, coconut juice and mint. Another recommended signature drink is Americano with coconut juice, a surprising blend of coffee intensity and Bang Ko Bua coconut juice's fragrance and sweetness.
Phat Khee Mao Tha-le Sot or the hot and spicy stir-fried spaghetti with fresh and juicy shrimps, squids, New Zealand mussels and Thai herbs. With I-Suan Coffee & Dessert's delightful choices of coffee, drinks and bakeries among a cool shade of the green garden, customers do not only come back for more deliciousness but also to tune into the relaxation.
Both the coffee and smoothies make a great pair to many homemade cakes such as Pandan and Young Coconut Cake, Nutella Cheesecake, Chocolate Bomb Cake and Orange Cake. Moreover, appetizers and main dishes are also available. One of customer's favorites is Spaghetti I-Suan Coffee & Dessert 7/3 Moo 3, Between Soi Phetchahueng 49-51, Phetchahueng Road, Bang Ko Bua Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan, 10130 Phone: 08 1622 8912 Opens: Daily from 09.00am-07.00pm except every Thursday ไอ-สวน I-Suan Coffee & Dessert DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
e at & d r i n k /
Pa e H e n g
ริมถนนเพชรหึงษ์ ตรงข้าม อบต.บางยอ มีร้านเป็ดเจ้าอร่อยเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ นักชิมมานานแล้ว ไม่ว่าจะเป็นคนท้องที่ หรือนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาคุ้งบางกะเจ้า ต้องพากันแวะกินเป็ดที่ร้านแป๊ะเฮง สมกับ เป็นหนึ่งในร้านอาหารแลนด์มาร์กชื่อดัง ของเมืองพระประแดง เพียงเดินเข้าไปในร้าน แล้วเห็นตู้กระจก ที่ใส่ทั้งเป็ดย่างและเป็ดพะโล้แขวนห้อยเต็มตู้ บนเขียงก็มเี ป็ดย่างเรียงซ้อนกันเพือ่ รอแล่เนือ้ เป็นกองพูน รวมทั้งมีเตรียมอยู่ในกะละมัง อีกต่างหาก เท่านีย้ อ่ มรูไ้ ด้ทนั ทีวา่ ร้านแป๊ะเฮง ขายดีขนาดไหน ด้วยกิตติศัพท์ความอร่อย ทัง้ เป็ดย่างและเป็ดพะโล้ เพราะทางร้านเลือก เป็ดรุ่นชั้นดีมาท�ำ จึงได้เป็ดหนังบาง เนื้อนุ่ม น�ำมาปรุงย่างด้วยสูตรอบน�้ำผึ้งและต้มพะโล้ ได้อร่อยมาก ความอร่ อ ยเคี ย งคู ่ กั น ทั้ ง เป็ ด ย่ า งและ เป็ดพะโล้ ลูกค้าจะเลือกสั่งเป็นข้าวหน้าเป็ด หรือก๋วยเตี๋ยวก็ไม่ผิดหวัง แล้วยังให้ปริมาณ เยอะด้ ว ย ลู ก ค้ า ที่ ม าเป็ น กลุ ่ ม จึ ง ชอบสั่ ง เนื้อเป็ดสับใส่จานมากินกับข้าวเปล่า อร่อย จุใจกว่า เนื้อเป็ดชิ้นใหญ่หนานุ่มน่ากินทั้ง เป็ดย่างและเป็ดพะโล้ ในส่วนของเป็ดพะโล้ ยังสั่งขา ปีกเป็ด เครื่องใน ไส้ และเลือดเป็ด มากิ น ได้ อี ก ด้ ว ย ถ้ า ให้ ค รบเครื่ อ งต้ อ งสั่ ง เกาเหลามาซดน�้ำพะโล้ให้ลื่นคอ น�้ำซุปพะโล้ถือเป็นจุดเด่นของก๋วยเตี๋ยว พอๆ กับเป็ด ด้วยสูตรปรุงรสเครื่องยาจีน
Pae Heng Enticing Duck Dishes in Two Styles
แป๊ะเฮง
อร่อยกับเมนูเป็ด ๒ สไตล์ ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 121 n Phetchahueng Road right O across Bang Yo Sub-District Administration Organization, Pae
Heng has long been a favorite name to both epicurean masters and travelers of Bang Kachao. It is one of the must-visit restaurants and landmarks of Phra Pradaeng District. Setting our foot into the restaurant, a sight of chubby roasted ducks and braised ducks in five spices hanging neatly in the glass display cabinet while some piling up on the cutting board waiting to be sliced and served not to mention all the duck meat in enamel basins can immediately suggest how well Pae Heng sells. The reputation of their tasty duck menus is a result of Pae Heng's precise selection of ducks: thin skin layer, tender meat, perfect for both Honey Roasted Duck Recipe and Chinese Braised Duck in five spices. Due to the compatible deliciousness of both menus, customers will not be disappointed when served on top of rice or with noodles and soup. However, customers who come in groups usually order a large entrée of chopped duck meat to share and bowls of rice separately to fully enjoy the thick yet tender and juicy duck meat. For braised duck in five spices, customers can also order the drumsticks, wings, organs as well as boiled coagulated duck blood or request for a Kao-Lao to try a combination of all the duck parts in soup without the noodles. The duck soup in five spices is just as brilliant as the noodles. With a master blend of chinese spices, the soup is neither too salty or intense and hardly need any further seasoning. Each bowl is always fully served with
duck meat, duck organs and tender coagulated blood. At Pae Heng, a bowl of Ba-Mi Ped Yang (egg noodles with roasted duck and soup) is served with coagulated blood without the organs. Ba-Mi Haeng (Dried egg noodles), on the other hand, is a bowl of green egg-noodles topped with the same gravy sauce of Khao Na Ped (roasted duck meat over rice). Another intriguing point of Pae Heng lies in its price. Comparing to the amount of appetizing duck meat in each dish, the food here is a bargain, which easily explains why the restaurant is always packed particularly during lunchtime. With many ordering the whole duck as takeaways, it is no longer a huge surprise to see such large amount of roasted and braised ducks in front of the shop.
อย่างกลมกล่อม ไม่เข้มข้นเกินไป ซดได้ลน่ื คอ แทบไม่ต้องปรุง เครื่องเคราในชามก๋วยเตี๋ยว ก็ใส่แบบจัดเต็ม ทั้งเนื้อเป็ด เครื่องใน และ เลือดนิม่ ๆ ถ้าเป็นบะหมีเ่ ป็ดย่างจะใส่เนือ้ เป็ด มาให้ พ ร้ อ มกั บเลื อ ดเป็ ด โดยไม่มีเครื่องใน ส�ำหรับบะหมีแ่ ห้งจะใช้บะหมีห่ ยกและราดน�ำ้ สูตรเดียวกับข้าวหน้าเป็ด ราคาถือว่าเป็นจุดเด่นอีกอย่างของร้าน แป๊ะเฮง ทัง้ อร่อยและถูกเมือ่ เทียบกับปริมาณ เนื้อเป็ดที่ให้มา จึงมีลูกค้าแน่นร้านตลอด ยิ่งช่วงเที่ยงแทบจะเล่นเก้าอี้ดนตรีกันเลย แถมลูกค้ายังชอบสั่งเป็ดย่างเป็นตัวกลับบ้าน จึงไม่น่าแปลกใจที่เห็นเป็ดย่างเต็มตู้ เต็มเขียง และในกะละมังไว้รองรับลูกค้าเยอะขนาดนัน้
แป๊ะเฮง ปากซอยเพชรหึงษ์ ๑๗ เยื้อง อบต. บางยอ ถนนเพชรหึงษ์ ต�ำบลบางยอ อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๙๐๖๙ ๕๕๓๖, ๐๘ ๘๐๑๑ ๙๐๔๑ เปิดทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐-๑๕.๐๐ นาฬิกา แป๊ะเฮงเป็ดย่างอบน�้ำผึ้ง Pae Heng Soi Phetchahueng 17, diagonal to Bang Yo Sub-District Administration Organization, Phetchahueng Road, Bang Yo Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan, 10130 Phone: 08 9069 5536, 08 8011 9041 Open: from 08.00 am - 03.00 pm / Daily แป๊ะเฮงเป็ดย่างอบน�้ำผึ้ง DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
m a k e a r e s e r vat i o n / I n t o T h e F o r e s t
Into The Forest A chill-out day in the urban forest
Into The Forest วันสบายในป่ากลางเมือง เมื่อเข้าไปพักผ่อนใน Into The Forest คุณจะรูส้ กึ ได้ถงึ ความเป็นส่วนตัว ท่ามกลาง แมกไม้สีเขียว บึงน�้ำกว้าง อากาศสดใส เสียงนกร้องขับขาน ราวกับอยู่ท่ามกลาง ธรรมชาติ ใ นผื น ป่ า ทั้ ง ที่ รี ส อร์ ต แห่ ง นี้ อยู่ห่างจากถนนบางนา-ตราดเพียงไม่ถึง ร้อยเมตร เนิ่ น นานมาแล้ ว ที่ พื้ น ที่ สี เขี ย วผื น ใหญ่ ภายใน Into The Forest ซ่อนเร้นอยู่ไม่ไกล จากถนนบางนา-ตราดหรือฝั่งตรงข้ามของ ศูนย์การค้ายักษ์ใหญ่เมกาบางนา เพื่อเป็น ที่พักกายของผู้คนที่ปรารถนาอยากพักผ่อน ใกล้ชิดธรรมชาติโดยไม่ต้องเดินทางไปไกล ที่ ม าของ Into the Forest จึ ง เริ่ ม ขึ้ น ในรู ป แบบของรี ส อร์ ต กลางกรุ ง ภายใต้ คอนเซปต์เป็นรีสอร์ตที่ซ่อนตัวอยู่กลางเมือง
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 123
L
ong ago but not too far away from Bangna-Trat Road or right across Mega Bangna Shopping Mall, Into The Forest and its large green piece of land disguises itself among the chaotic city. In hope to bring people closer to nature on a vacation without having to travel too far, it started out as a private hidden urban resort among a large lagoon and lush green scenery as if you have stepped into a forest. Upon arriving at a wide-open lobby, the comfortable and cozy atmosphere instantly relaxes its visitors as if in an absolute private residence. Looking out the window, an impressive landscape of freshwater lagoon lies beautifully before the eyes. Next to the lobby are bright and spacious banquet facilities enclosed by glass walls. From the lobby, a walk path leads to an infinity swimming pool seamlessly connected to the freshwater lagoon that can naturally make you feel like you are swimming in the lagoon. A large court around the swimming pool is not only a delightful resting corner to enjoy sipping your pleasant drink from the bar but also a wonderful outdoor recreational area particularly after nightfall. Walking across the court by the swimming pool, villas line along both sides of the lagoon. Altogether, there are sixteen rooms including 12 Deluxe Suite Rooms and four Deluxe Family Rooms, which are two-room suites allowing all family members to spend time closely.
ในรู ป แบบของวิ ล ล่ า ท่ า มกลางบึ ง น�้ ำ และ แมกไม้ เขี ย วขจี เบื้ อ งหลั ง รั้ ว อิ ฐ ปู น เปลื อ ย ที่เก็บบังโลกส่วนตัวของผู้มาพักผ่อนภายใน ไว้ในพื้นที่สีเขียวผืนใหญ่ที่เต็มไปด้วยแมกไม้ ราวกับจ�ำลองป่าสีเขียวไว้ ณ ตรงนี้ เพียงผ่านประตูเข้าไปถึงล็อบบี้ที่เปิดโปร่ง โล่งกว้างรอบด้าน บรรยากาศความเป็นกันเอง จะช่ ว ยให้ คุ ณ รู ้ สึ ก ผ่ อ นคลายเหมื อ นอยู ่ ใ น บ้านพักส่วนตัวและการบริการที่สะดวกสบาย และจะยิ่งประทับใจเมื่อมองผ่านออกไปเห็น บึงน�้ำกว้างที่เปิดเผยมุมมองแลนด์สเคปของ Into The Forest อย่ า งสวยงาม ขณะที่ ด้านข้างเป็นห้องส�ำหรับจัดเลี้ยงกว้างขวาง ดูโล่งสบายด้วยกระจกรอบด้าน DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
จากล็ อ บบี้ มี ท างเดิ น น� ำ ไปสู ่ ริ ม บึ ง น�้ ำ ที่ ท�ำเป็นลานเปิดโล่งต่อเนื่องไปกับสระว่ายน�้ำ ที่อยู่ติดริมบึงจนกลมกลืนกันเป็นส่วนหนึ่ง ของธรรมชาติ ช่วยสร้างความรู้สึกเหมือน ก�ำลังว่ายน�ำ้ อยูใ่ นบึงนัน่ เอง บริเวณลานกว้าง ริ ม สระมี มุ ม ส� ำ หรั บ นั่ ง พั ก ผ่ อ นและจิ บ เครื่องดื่มจากบาร์เล็กๆ จึงเหมาะส�ำหรับเป็น ลานกิจกรรมกลางแจ้ง โดยเฉพาะในตอนเย็น เรื่อยไปจนถึงยามค�่ำคืน จากลานสระน�้ ำ มองผ่ า นบึ ง ข้ า มไปยั ง ห้องพักที่สร้างอยู่ริมน�้ำเรียงรายต่อกันไปทั้ง สองฝั่ง ด้วยจ�ำนวนห้องพักทั้งหมด ๑๖ ห้อง เป็นห้อง Deluxe Sweet ๑๒ ห้อง และห้อง ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Deluxe Family ๔ ห้อง ที่เป็นห้องคู่ส�ำหรับ ครอบครัวได้พักผ่อนร่วมกันอย่างใกล้ชิด ทางเดินสูห่ อ้ งพักร่มรืน่ ไปตามร่มไม้ พอไป ถึงบริเวณโซนที่พักยิ่งปกคลุมไปด้วยต้นไม้ ใหญ่ชวนให้นกึ ถึงบรรยากาศยามไปพักผ่อนใน รีสอร์ตท่ามกลางธรรมชาติแถวเมืองกาญจน์ หรือเชียงใหม่มากกว่าจะเป็นชานกรุงแบบนี้ ด้วยความตั้งใจของทาง Into The Forest ที่ต้องการให้ผู้เข้ามาพักรู้สึกใกล้ชิดในแบบ รีสอร์ตธรรมชาติอย่างแท้จริง พร้อมกับเน้น สิ่งปลูกสร้างเป็นแบบโมเดิร์นไทยประยุกต์ ตัวที่พักเป็นสไตล์ลอฟต์ โครงสร้างง่ายๆ ด้วย ปูนเปลือย ให้กลมกลืนไปกับบึงน�ำ้ และต้นไม้
โดยน�ำงานไม้มาตกแต่งให้ซอฟต์ลง อย่าง หลั ง คาที่ ปู ด ้ ว ยแผ่ น ไม้ ต ามสถาปั ต ยกรรม พืน้ ถิน่ ของลาวเหนือ และน�ำเข้าจากลาวเหนือ โดยตรง ภายในห้องพักเน้นบรรยากาศโปร่งโล่ง และกว้ า งขวางเพื่ อ สร้ า งความเป็ น ส่ ว นตั ว ห้องนอนเปิดโล่งด้วยบานกระจก เพียงรูด ผ้าม่านเปิดออกก็สามารถนอนชมทิวทัศน์ของ บึงน�้ำและแมกไม้ได้อย่างสบายตา หรือเปิด ประตูกระจกเดินออกไปนอกชานเพื่อนั่งรับ ลมริมสระน�้ำ เหมาะแก่การพักผ่อนสบายๆ ห้องน�้ำก็กว้างขวาง จัดวางอ่างอาบน�้ำอยู่ชิด ด้านริมน�้ำ มีเพียงแค่ระแนงไม้กั้นที่ช่วยให้ รู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของบึงน�้ำขณะแช่อาบน�้ำ อย่างสบายตัว ถัดจากโซนที่พักต่อไปด้านหลังเป็นอาคาร หลั ง ใหญ่ แวดล้ อ มไปด้ ว ยแมกไม้ มี ห ้ อ ง ฟิตเนสส�ำหรับออกก�ำลัง รวมทั้งห้องสัมมนา กว้างขวางบนชั้น ๒ จุได้มากกว่า ๑๕๐ คน ในบรรยากาศของอาคารเรือนไม้ที่มองไปเห็น สีเขียวของต้นไม้รอบด้าน ให้ความรูส้ กึ เหมือน ทั้งมาสัมมนาและพักผ่อนไปด้วยพร้อมกัน โดยมี พื้ น ที่ ชั้ น ล่ า งส� ำ หรั บ เลี้ ย งอาหารและ เครื่องดื่ม Into The Forest จึงเป็นรีสอร์ตซ่อนเร้น ท่ามกลางธรรมชาติชานกรุง ส�ำหรับช่วงเวลา พักผ่อนสบายๆ และสงบส่วนตัว โดยไม่ต้อง เดินทางออกไปแสวงหาธรรมชาติในต่างจังหวัด ไกลๆ ให้เสียเวลา แต่ได้บรรยากาศเช่นเดียวกัน หรือหากคุณต้องการเปลี่ยนบรรยากาศ จากป่าไปหาความสะดวกสบายในบางเวลา ก็ ไ ม่ ต ้ อ งเสี ย เวลาขั บ รถไปไหน เพี ย งเดิ น ออกไปขึ้นสะพานลอยข้ามถนนบางนา-ตราด ประมาณ ๑๐ นาที ก็ถึงศูนย์การค้าเมกา บางนา ศูนย์รวมความทันสมัยที่สามารถเดิน เที่ยว ซื้อของ ชมภาพยนตร์ หรือกินอาหาร อร่อยๆ ก่อนกลับสู่ห้องพักในป่ากลางเมือง ของคุณได้สบายๆ Into The Forest จึ ง เป็ น รี ส อร์ ต ที่ ตอบโจทย์ผู้ต้องการพักผ่อนอย่างสงบเงียบ และใกล้ชิดธรรมชาติในบรรยากาศที่ไม่มีที่ใด เสมอเหมือน Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 125
Along the walkway to the villas and the villa zone itself are covered with evergreen trees resembling a similar atmosphere of hidden resorts among abundant nature commonly found in Kanchanaburi or Chiang Mai rather than suburban area like this. Originally, Into The Forest aspired to closely reconnect its visitors to its luscious natural environment. Thus, the resort design is an applied Thai architecture in a modern sense where exposed concrete structure of the villa subtly blends in with lagoon and trees. Wooden decorations such as wooden roof tiles according to the local architecture of northern Lao were imported directly to soften and symphonize the overall ambience. The interior space design of each villa remains bright, sparse, spacious and private. With a clear glass bedroom door, visitors can simply draw open the curtain to enjoy the refreshing view of the lagoon and trees or open the glass door and step outside to fully embrace the cool breeze by the swimming pool. For a more comfortable stay, the sizable bathroom is provided with a bathtub facing towards the lagoon with only a wooden lath in between to keep visitors synchronized with the view while leisurely taking a soak. The neighboring zone to the villas is a large building amidst the green wonderland. Inside, there are fitness room for gym enthusiasts, a large seminar room on the second floor that can house upto 150 guests, and a banquet area that facilitates food and drinks on the ground floor. With such serene surroundings, the guests feel as if they are not only attending a seminar but also taking a vacation at the same time. Hence, Into The Forest is a secluded re s o r t i n a n a b u n d a n t n a t u r a l environment in a suburban area and an ideally peaceful and private vacation stay without wasting precious time on a long distance trip to appreciate the nature. Moreover, if you wish to switch from the forestry atmosphere back to the city convenience, just cross the footbridge over Bangna-Trat Road and take an approximate ten-minute walk to Mega Bangna Shopping Mall. The Mall is central to the area's modernity where you can stroll around, shop, see a movie or have an appetizing meal before heading back to your room in an urban forest.
Into The Forest เลขที่ ๒๗/๒๑ ซอยอยู่ทอง (บางนา ๕๕) ต�ำบลบางแก้ว อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๕๔๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๐๓๗ ๔๖๔๕ Into The Forest Resort
Into The Forest 27/21 Soi Yu Thong (Bangna 55), Bang Kaew Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan 10540 Phone: 0 2037 4645 Into The Forest Resort DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
samutprakan hot shot
Faith ศรัทธา
ศรัทธา / อานนท์ บุญทวี Faith / Anon Bunthawee
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
Sa mu tpr a ka n Tr avel mag AZI NE
Travel
@samutprakan 127
ศรัทธา / พรพรรณ จิตเกษม Faith / Phonphan Chitkasem
ศรัทธา / สนาน ทองค�ำเปลว Faith / Sanan Thongkhamplew
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
c a l e n da r / S a m u t p r a k a n 2 0 1 9 E v e n t
Event
Calendar
ปฏิทินท่องเที่ยว
จังหวัดสมุทรปราการ
SEAGULL WATCHING
BANG PU RECREATIONAL CENTER. BANG PU MAI SUB-DISTRICT, MUEANG DISTRICT, SAMUTPRAKAN FROM DECEMBER 2018 - APRIL 2019
ธันวาคม ๒๕๖๑ - มกราคม ๒๕๖๒
ดูนกนางนวล
บริเวณสถานตากอากาศบางปู ต�ำบลบางปูใหม่ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ Sa m ut pr a ka n Tr avel magAZI NE
Travel
@samutprakan 129
PHRA PRADAENG SONGKRAN FESTIVAL
PHRA PRADAENG DISTRICT, SAMUTPRAKAN 20 - 22 th
nd
APRIL 2019
งานประเพณีสงกรานต์ พระประแดง
ระหว่างวันที่ ๒๐-๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
DECEMB ER 2018 - JA N UA RY 2019
องค์พระสมุทรเจดีย์ ต�ำบลปากคลองบางปลากด อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ Phra Samut Chedi Pagoda, Pak Khlong Bang Pla-kod Sub-District, Phra Samut Chedi District.
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
Samutprakan Provincial Administrative Organization samutprakan.pao@gmail.com
www.samutprakan-pao.go.th