Travel @ Samutprakan

Page 1

หนังสือแนะนำ�แหล่งท่องเที่ยวและของดี จังหวัดสมุทรปราการ

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๐ ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๑ VOL. 5 / NO. 10 / AUGUST - SEPTEMBER 2018

THE

NEW VIEW

หอชมเมืองสมุทรปราการ

่ วสนุก เทีย

รอบเทศบาลนครสมุทรปราการ GOOD OLD DAY ชิลล์และชมบรรยากาศเก่าๆ ่ ้านชานอ๊อว์ด ทีบ

Free Copy





สารจาก...

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ เราก�ำลังจะมีสงิ่ ใหม่ มุมมองใหม่ ทีเ่ กิดขึน้ ภายในจังหวัดสมุทรปราการ ของเรา มุมมองใหม่อันกว้างใหญ่ไพศาลที่เราอยากเชิญชวนทุกคนขึ้นไป ร่ ว มชมความงาม ความหลากหลายทางสถาปั ต ยกรรมและผั ง เมื อ ง ที่มีทั้งตึกรามบ้านช่อง วัดวาอาราม พื้นที่สีเขียวชอุ่มที่มีสายน�้ำเจ้าพระยา พาดผ่าน และวิถีชีวิตอันสงบงาม ซึ่งก็คือ เมืองสมุทรปราการที่เราอาศัย อยู่ร่วมกันนั่นเอง “อุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ” ถือเป็นการ ปรับเปลีย่ นปราการเก่าส�ำหรับจองจ�ำนักโทษในอดีต สูก่ ารเป็นแลนด์มาร์ก แห่งใหม่ของจังหวัดสมุทรปราการ ที่มีไฮไลต์อยู่ที่จุดชมวิว ๓๖๐ องศา ที่เราจะได้เห็นวิวทิวทัศน์ ความเป็นไป และวิถีชีวิตของชาวสมุทรปราการ ได้ อ ย่ า งชั ด เจน รวมทั้ ง เรื่ อ งราวของเมื อ งผ่ า นพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ภ ายใน อุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ ระหว่างรอร่วมชม ภาพใหญ่และใหม่เอี่ยมในมุมสูงของเมืองสมุทรปราการบน “อุทยาน การเรี ย นรู ้ แ ละหอชมเมื อ งสมุ ท รปราการ” ในอี ก ไม่ น าน เราไปท� ำ ความรู้จักหอชมเมืองกันให้มากขึ้นอีกนิด นอกจากมุมมองใหม่ๆ แล้วที่สมุทรปราการยังมีวิธีคิดใหม่ๆ ซึ่งเป็น พระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร นั่นก็คือ สะพานน�้ำยกระดับ โครงการระบายน�้ำบริเวณ สนามบินสุวรรณภูมิ ซึ่งเป็นสะพานระบายน�้ำแห่งแรกของประเทศไทย สิ่งก่อสร้างที่นอกจากจะสร้างจากแนวคิดที่น่าทึ่งแล้ว ยังเป็นประโยชน์ ต่อสาธารณะในหลากหลายมิติอีกด้วย แวะไปชมภาพแห่งความน่าทึ่ง และวิถีชีวิตที่ปรับเปลี่ยนไปอย่างมีชีวิตชีวาพร้อมๆ กัน เช่นเคย เมืองสมุทรปราการของเราก็ยังคงเป็นที่กิน เที่ยว ช้อป ในดวงใจของนักท่องเที่ยวมากมาย ร่วมกันค้นหาของดีที่ซุกซ่อนอยู่ใน เมืองน่ารักแห่งนี้ รวมทั้งพักผ่อนในบรรยากาศเก่าๆ อันอบอุ่น และ เที่ ย วชมบรรยากาศใหม่ ๆ ที่ จ ะสร้ า งแรงบั น ดาลใจและพลั ง ดี ๆ ครบทุกรสชาติและอารมณ์ในเมืองเล็กๆ ที่น่ารักแห่งนี้ มาร่วมเที่ยวชมศิลปวัฒนธรรม ความเป็นอยู่แบบชาวสมุทรปราการ ที่ จ ะสร้ า งความสุ ข และอบอุ ่ น ใจแก่ ผู ้ ม าเยื อ นได้ เ สมอ แล้ ว คุ ณ จะ ตกหลุมรักสมุทรปราการ

New enriching experiences are being crafted in our Samutprakarn province. Thus, we would like to invite you to admire the mixture of architectural designs and the layout of the city that encompasses houses, temples, green areas with Chaophraya River running across and the peaceful lifestyle of the locals in Samutprakan. “Samutprakan Learning Park and City Tower” is a transformation from an ancient fortress that used to imprison inmates in the past to a new landmark of Samutprakan. The highlight is the 360 degrees observation deck that displays the city’s landscape and the lifestyle of the locals. Moreover, the observation tower also houses a museum area that displays a collection of stories from the past. While we wait to bear witness the grand imagery of the city from Samutprakan Learning Park and City Tower, let us get more acquainted with the place. Apart from the new observation tower that allows visitors to experience the city from a different view, Samutprakan is also also home to a novel thinking that was initiated by the King Rama IX – the Aqueduct for irrigation close to Suvarnabhumi Airport, which is Thailand’s first aqueduct. Other than the astonishing idea behind it, the public also benefits from the aqueduct in various ways. Let’s take a look at the lively images of the amazing construction and the changing lifestyle of the locals together. As usual, Samutprakan is still the top destination for tourists to visit, eat and shop. Let’s uncover the hidden gems in this lovely city and indulge in the cozy vibe riddled with tradition that is likely to spark an inspiration and encourage a lively spirit. Witness the culture and the true local way of life that always kindle happiness and warmth for visitors. You may just fall in love with Samutprakan.


ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑๐ ประจำ�เดือนสิงหาคม-กันยายน ๒๕๖๑ Vol. 5 / No. 10

August - September 2018

ที่ปรึกษา CONSULTANT นายพูลทวี ศิวะพิรุฬห์เทพ Mr. Poonthavee Sivaphiroonthep ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปฏิบัติหน้าที่ Chief Administrator of the PAO Acting as นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ Chief Executive of the Samutprakan PAO คณะท�ำงาน นายธนวัฒน์ กล�่ำพรหมราช รองปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ นางสาวทองดี กูลศิริ หัวหน้าส�ำนักปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด นางสุรีวัน สุขพัตร์ หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป นางสาววชิราภรณ์ บุญเสริฐ นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ นางสาวชนันรัตน์ สมณศักดิ์ นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ นางสาวบัณฑิตา ลายคราม นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ นางปวีณา สีค�ำ เจ้าพนักงานธุรการช�ำนาญงาน

จัดท�ำโดย องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ถนนสุทธิภิรมย์ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗ โทรศัพท์ : ๐ ๒๓๘๙ ๐๖๐๐ แฟกซ์ : ๐ ๒๓๙๕ ๔๕๖๐ ต่อ ๒๐๙

WORKING GROUP

Mr. Tanawat Klamprommarach Deputy Chief Administrator of the Samutprakan PAO Miss Tongdee Kulsiri Head of the office of the PAO Mrs. Sureewan Sugapat Chief of General Administration Subdivision Miss Wachiraporn Boonsert Public Relations Officer, Professional Level Miss Chananrat Sommanasak Public Relations Officer, Professional Level Miss Banthita Laikram Public Relations Officer, Practitioner Level Mrs. Paweena Sikham General Service Officer, Experienced Level

CREATED BY

Samutprakan Provincial Administrative Organization Suthipirom Road, Paknam Subdistrict, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Province 10270 Tel : 0 2389 0600 Fax : 0 2395 4560 ext. 209


EDITOR'S TALK ในอาณาบริ เวณจั ง หวั ด สมุ ท รปราการ ๑,๐๐๔.๐๙๒ ตารางกิโลเมตร ที่ชิดติดกับ กรุ ง เทพมหานครนี้ มี เรื่ อ งราวและสถานที่ มากมายให้เรียนรู้และสัมผัส ทั้งวัดวาอาราม สถานที่ เ ที่ ย วตามธรรมชาติ วั ฒ นธรรมที่ น่ า สนใจ และผู ้ ค นหลากหลายอาชี พ ที่ มี เรือ่ งเล่ามายาวนานหลายรุน่ วันนีส้ มุทรปราการ ก�ำลังเติบโตและเบ่งบาน ชวนให้นกั ท่องเทีย่ ว แวะมาเที่ยวชมไม่ขาดสาย หนึ่ ง ในการท่ อ งเที่ ย วที่ ช วนตื่ น เต้ น ของเมืองปากน�้ำในวันนี้ที่ทุกคนรอคอยคือ การได้เห็นมุมมองใหม่ๆ ในสมุทรปราการ ในแบบที่เราไม่เคยได้เห็นมาก่อน เป็นการ เดิ น ทางไปสั ม ผั ส ภาพมุ ม กว้ า งที่ จ ะสร้ า ง แรงบันดาลใจใหม่ๆ ให้กับเราที่ “อุทยาน การเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ” หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า หอชมเมือง ไฮไลต์ อยู่ที่จุดชมวิว ๓๖๐ องศา ที่จะท�ำให้หลงรัก สมุทรปราการมากยิ่งขึ้น ท�ำความรูจ้ กั กับมุมใหม่ๆ ในสมุทรปราการ เสร็จแล้ว ก็แวะไปชมวิธีคิดใหม่ๆ ที่ชวนทึ่ง สะพานน�ำ้ ยกระดับ โครงการระบายน�ำ้ บริเวณ สนามบินสุวรรณภูมิ ซึ่งเป็นสะพานระบายน�้ำ แห่งแรกของประเทศไทย ไปชมน�้ำปริมาณ มหาศาลเดินทางลอยฟ้าข้ามถนนออกสู่ทะเล หลังจากนั้นก็แวะชิม ช้อป และแชร์ของดี ร้านดังเมืองสมุทรปราการ เป็นการพักผ่อน หย่อนใจที่ได้ทั้งความรู้และแรงบันดาลใจดีๆ กลับไป รอร่วมชมภาพใหญ่และใหม่เอีย่ มในมุมสูง ของเมืองสมุทรปราการบนหอชมเมืองได้ในอีก ไม่นาน ส่วนสะพานน�้ำยกระดับแห่งแรกของ เมืองไทยรอให้คุณไปชมมุมมองใหม่ๆ ได้แล้ว วันนี้ ที่นี่...สมุทรปราการ

Within the extensive land area of 1,004.092 square kilometers that encompasses Samutprakan next to Bangkok, there are places to visit, from temples, nature reserve to intriguing local cultures and tales that arepassed on from the early generations to be heard. Today, Samutprakan is growing and thriving into an alluring tourist spot. One of the exciting parts of Samutprakan tour today that everyone has been waiting for is the indulgence of a completely different experience – a journey to witness the panoramic imagery of the city that sparks inspiration at “Samutprakan Learning Park and City Tower”. The highlight is the 360 degree observation deck that is bound to make visitors fall in love with Samutprakan more and more. Once you get acquainted with the new perspective on Samutprakan, don’t forget to observe a novel thinking, the Aqueduct irrigation project close to Suvarnabhumi Airport, which is Thailand’s first aqueduct. Witness the water course that flows over the road and into the sea. Afterward, we make stops along the way for nibbles, shopping and sharing to others the specials of Samutprakan which made this trip an educative and inspiring getaway. The grand bird’s eye view of Samutprakan from the Observation Tower will be available real soon. As for Thailand’s first aqueduct, the flying water course is ready and waiting for you to visit and be amazed here at Samutprakan.


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN

CONTENTS

ISSUE 10

AUGUST - SEPTEMBER 2018

UPDATE

FEATURE

12 : KNOW IT FIRST

30 : COVER JOURNEY

เกร็ดน่ารู้ที่ไม่เคยรู้ของจังหวัดสมุทรปราการ

NEW VIEW, NEW VISION

รู้ก่อนเที่ยว

Samutprakan’s hidden gems

14 : HOT IN TOWN

เที่ยวที่ใหม่

สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีส�ำโรง (E15) SAMRONG STATION

BTS Sky Train Samrong Station (E15)

16 : DID YOU KNOW?

เกร็ดจังหวัดสมุทรปราการ

เที่ยวจากปก

อุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ จาก “ปราการเก่า” สู่แลนด์มาร์กแห่งใหม่ของจังหวัดสมุทรปราการ SAMUTPRAKAN LEARNING PARK AND CITY TOWER From an ancient fortress to a new landmark of Samutprakan

66 : ART ALONG THE WAY

ศิลป์ในเส้นทาง

อุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ SAMUTPRAKAN LEARNING PARK AND CITY TOWER

Tips about Samutprakan

68 : AROUND TOWN

18 : SMPK HISTORY

เที่ยวรอบหอชมเมือง

ที่นี่มีอดีต

สถานตากอากาศบางปู

ท่องทั่วเมือง

Touring around Samutprakan Learning Park and City

BANG PU

GREEN TRIP

20 : SOONER

88 : GREEN SPACE

ถนนท้ายบ้าน ย่านใหม่ในอนาคต

ฟาร์มเห็ดช่างแดงแห่งบางกะเจ้า ฟาร์มเพาะความสุขและมิตรภาพ

ไม่นานเกินรอ TAI BAN ROAD

22 : READY TO GO

พร้อมเที่ยว

เตรียมตัวล่องเรือเลียบคลอง How to prepare for a Canal-side boat trip

24 : MAP

แผนที่นักเดินทาง เที่ยวรอบหอชมเมือง

Map around Samutprakan Learning Park and City Tower

ย่านนี้สีเขียว

DAENG MUSHROOM FARM

Cultivating Happiness and Friendship

96 : NATURE JOURNEY

รักษ์ธรรมชาติ รุ่ย ไม้ใกล้ฝั่ง

BLUME The Coastal Tree


LIFESTYLE 102 : GOOD RECIPE

เมนูพื้นบ้าน

เมี่ยงคำ�ปากลัด สมุนไพรอโรคยา MIANG KAM PAK LAD

(Savory leaf wraps) A Herbal Medicine

106 : CRAFTSMANSHIP

พระพิฆเนศ เทพเจ้าแห่งศิลปะ

ศาสตร์จากแกะสลักกะลามะพร้าว 108 : OTOP SHOPPING

ของฝากของดี

ส่งมอบ “คุณค่า” และ “ความสุข” ด้วยสมุนไพรและเครื่องชุดสังฆภัณฑ์

PS. PRAPASRI

Delivering ‘Value’ and ‘Happiness’ with Herbal products and Offerings

112 : EAT & DRINK

เที่ยวไปชิมไป ชาน อ๊อว์ด

BAAN BAAN BANG KA JAO ROSE APPLE

121 : MAKE A RESERVATION

ค�่ำนี้นอนไหน

พี่พอเพียงน้องเพียงพอ ขุนสมุทรจีนโฮมสเตย์ PEE POR PEANG NONG PEANG POR

Khun Samut Chin Homestay

126 : SUMUTPRAKAN HOT SHOT

ภาพสวยสมุทรปราการ ชีวิตที่สวยงาม

LIFE IS BEUTIFUL

128 : CALENDAR

ปฏิทินกิจกรรม


U P D AT E

get to know

HOT IN TOWN | KNOW IT FIRST SMPK HISTORY | SOONER

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 11

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


K N OW I T F I R ST

GET TO KNOW SAMUTPRAKARN

รู้จักสมุทรปราการ ค�ำขวัญประจ�ำจังหวัด

ป้อมยุทธนาวี พระเจดีย์กลางน�้ำ ฟาร์มจระเข้ใหญ่ งามวิไลเมืองโบราณ สงกรานต์พระประแดง ปลาสลิดแห้งรสดี ประเพณีรับบัว ครบถ้วนทั่วอุตสาหกรรม THE PROVINCIAL SLOGAN Marine Battle Fortresses, Chedi in the Water, Large Crocodile Farm, Exquisite Ancient City, Phra Pradaeng Songkran Festival, Tasty Dried Snakeskin Gourami, Rap Bua Festival, Industrial Estate

ป้อมยุทธนาวี Marine Battle Fortresses

งามวิไลเมืองโบราณ Exquisite Ancient City

ปลาสลิดแห้งรสดี Tasty Dried Snakeskin Gourami สิงหาคม - กันยายน 2561

พระเจดีย์กลางน�้ำ Chedi in the Water

ฟาร์มจระเข้ใหญ่ Large Crocodile Farm

สงกรานต์พระประแดง Phra Pradaeng Songkran Festival

ประเพณีรับบัว Rap Bua Festival

ครบถ้วนทั่วอุตสาหกรรม Industrial Estate SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 13

นักท่องเที่ยวต่างชาติ 5 อันดับแรก

ที่มาเที่ยวสมุทรปราการมากที่สุด ได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร TOP 5

Most Popular Foreign Tourists to Samutprakan:

China, US, Japan, Australia, UK

Bike Lane ยอดนิยม ๒ เส้นทาง

๑. บางกระสอบ อ�ำเภอพระประแดง ระยะทางประมาณ ๑๑ กิโลเมตร ๒. Sky Lane รอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะทาง ๒๓ กิโลเมตร

รวมระยะทาง ๓๔ กิโลเมตร 2 MOST POPULAR BIKE LANES: 1. Bang Krasob, Phra Pradaeng District an approximate distance of 11 km. 2. Sky Lane around Suvarnabhumi Airport an approximate distance of 23 km.

TOTAL DISTANCE 34 KM.

จ�ำนวนนักท่องเที่ยว ที่มาเที่ยวสมุทรปราการ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกปีและสูงถึง

๒,๘๙๖,๘๔๙ เมื่อปี ๒๕๕๙ The estimated figure of tourists to Samutprakan rises every year and reacheda total of

2,896,849 in 2016

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


H OT I N TOW N / BTS SA M R O N G

SAMRONG STATION BTS SKY TRAIN SAMRONG STATION (E15)

สถานีส�ำโรง

สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส (E15)

“ส�ำโรง” เป็นต�ำบลที่มเี ขตติดต่อกับถนนสุขมุ วิททีเ่ ป็นเส้นทางจราจร หลักเข้าสู่เมืองกรุงเทพฯ ซึ่งจะพบปัญหาของคนท�ำงานส่วนใหญ่อยู่ที่ การจราจรติดขัด โดยเฉพาะเส้นหลักอย่างสุขุมวิท แยกปู่เจ้าสมิงพราย และแยกเทพารั ก ษ์ สถานี ร ถไฟฟ้ า ส� ำ โรงจึ ง เป็ น ทางออกที่ ดี ใ นการ แก้ปัญหาจราจรและยังเป็นการขนส่งคนเข้าและออกจากเมืองได้อย่าง มีประสิทธิภาพอีกด้วย สถานีส�ำโรงเป็นสถานีปลายทางของรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสุขุมวิท ซึ่งจะมี สถานีปลายทางอยู่ ๒ สถานี คือ แบริง่ และส�ำโรง สามารถสังเกตจากด้านหน้า และด้ า นข้ า งของขบวนรถไฟฟ้ า ได้ ว ่ า ปลายทางสถานี เ ป็ น สถานี แ บริ่ ง หรือสถานีส�ำโรง บริเวณที่ตั้งของสถานีส�ำโรงนับว่าเป็นจุดเชื่อมต่อที่ส�ำคัญของกรุงเทพฯ กั บ จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ ท� ำ ให้ ส ามารถสั ญ จรไปได้ ห ลายพื้ น ที่ ของสมุทรปราการตามเส้นทางเข้า - ออกของสถานีทั้งหมด ๖ ทางออก ทางออกที่ ๑ เป็นทางเดิน Sky Walk ข้ามคลองส�ำโรง เชื่อมต่อกับ แหล่งช้อปปิ้งศูนย์การค้าอิมพีเรียลเวิลด์ ส�ำโรง ในบริเวณหน้าศูนย์การค้า มีรถตู้ รถสองแถว และป้ายรถเมล์คอยให้บริการ ข้างๆ เป็นตลาดสด ส�ำโรงเซ็นเตอร์และต่อด้วยตลาดใหม่ส�ำโรงขนานกันไปกับตัวศูนย์การค้า ด้านหลังตลาดและศูนย์การค้าเป็นที่ตั้งของโรงพยาบาลส�ำโรงการแพทย์ และศาลเจ้าพ่อทัพ ศาลจีนเก่าแก่ และที่จอดรถสองแถวไปยังท่าเรือเภตรา และแพข้ามฟากไปตลาดพระประแดง ทางออกที่ ๒ เป็นที่ตั้งที่ท�ำการไปรษณีย์ส�ำโรง อยู่ข้างคลองส�ำโรง ซึง่ อยูต่ รงข้ามกับทางออกที่ ๓ และ ๖ ระหว่างทางออกทัง้ คูม่ สี ถานีตำ� รวจภูธร ส� ำ โรงเหนื อ คั่ น กลาง ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ เ ดิ น ทางมาจากเทพารั ก ษ์ จ ะใช้ บ ริ เวณ ทางออกนี้ได้

สิงหาคม - กันยายน 2561

ทางออกที่ ๔ และทางออกที่ ๕ เป็นส่วนเชื่อมต่อ สถานีใหม่ที่ท�ำการเปิดระหว่างปลายปี ๒๕๖๐ และ ปี ๒๕๖๑ ได้แก่ เส้นทางจากสถานีส�ำโรงไปถึงเคหะฯ นอกจากจะเป็นสถานีรถไฟฟ้าแห่งแรกที่เชื่อมโยง การเดินทางระหว่างจังหวัดสมุทรปราการกับกรุงเทพฯ แล้ว ในปี ๒๕๖๑ เส้นทางรถไฟฟ้าใหม่อีก ๘ สถานี ได้แก่ สถานีปเู่ จ้าสมิงพราย สถานีเอราวัณ สถานีโรงเรียนนายเรือ สถานีศาลากลาง สถานีศรีนครินทร์ สถานีแพรกษา สถานี สายลวด และสถานีเคหะฯ จะเป็นการเปิดเส้นทางการ ท่องเที่ยวสู่จังหวัดสมุทรปราการอย่างสมบูรณ์ เมื่อถึงวันนั้น การเดินทางสู่จังหวัดสมุทรปราการ ก็จะยิ่งสะดวกสบายขึ้น และแน่นอนว่าจะน�ำพาผู้คน จ�ำนวนมากทีย่ งั ไม่เคยรูจ้ กั หรือเดินทางมา ให้เข้ามาสัมผัส จังหวัดที่อยู่ใกล้เคียงกรุงเทพฯ แห่งนี้ว่า สมุทรปราการ มีดีกว่าที่ใครหลายคนคาดคิด!

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 15

S

amrong Sub-District is connected to Sukhumvit Road which is the main road that leads us to Bangkok inner suburbs. Most workers in Bangkok will find the traffic as their major problem, especially ones who are working nearby Sukhumvit Road, Pu Chao Saming Phrai intersection and Thepharak intersection. BTS Sky train has helped minimize traffic in the city and it is also an effective transportation system for the public to travel in and out of the city.

Additionally, Samrong is one of BTS Sky train’s last station for Sukhumvit line. The other one is Bearing station. To find out whether Bearing or Samrong is the last station, observe the front or the back of the train. The location of Samrong station is considered to be one of the most important access point of Bangkok and Samutprakan. By having 6 different exits, it allows people to travel to many parts of Samutprakan easily. Exit 1 is a sky walk which permits

people to walk across Samrong canal and it also connects to Imperial Samrong shopping mall. O ther transportation services such as vans, mini bus and bus stop are available in front of the shopping mall. Next to the mall is a market called “Samrong Center”. Further down is another market and at the back of these markets and shopping mall situates Samrong General Hospital, Thap shrine, Traditional Chinese Shrine and parking area for the mini vans which takes people to Petra pier and a Ferry that transport people to Phra Phadaeng market. Exit 2 takes you to Samrong Post Office and its located right beside Samrong Canal. This is directly opposite to exit 3 and 6. Furthermore, Samrong Police Station is Between these 2 exits. For those who are traveling from Thepharak, it is recommended to utilize exit 3 and 6. Exit 4 and Exit 5 is not yet available. However, is it supposed to connect the public to a new station that will be ready to operate in late 2017 or 2018. The

new route will transport people from Samrong Station to National Housing Authority. The Bangkok - Samutprakan sky train route will be activated by 2018 and it is the first route that connects the 2 provinces. Apart from that, there are 8 new stations that is being built. The following is Pu Chao Saming Phrai station, Erawan Museum station, Royal Thai Navy Academy station, Pak Nam station, Srinagarindra station, Phraeksa station, Sai Luad station and National Housing Authority station. The existence of these stations will definitely bring convenience to those who wish to travel around Sumutprakan. Once the construction process is finished, getting to Samutprakan will be much more convenient. Certainly, this will attract new tourists who have never been in the area to experience Samutprakan like they never expected!

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


D I D YO U K N O W ?

TIPS ABOUT SAMUTPRAKAN

เกร็ดจังหวัดสมุทรปราการ

รู้หรือไม่ อ�ำเภอพระประแดงในปัจจุบัน ไม่ใช่เมือง พระประแดงเดิ ม แต่ คื อ นครเขื่ อ นขั น ธ์ สร้างขึน้ เมือ่ สมัยรัชกาลที่ ๑ และเปลีย่ นเป็น เมืองพระประแดง หรือจังหวัดพระประแดง ในสมัยรัชกาลที่ ๖ สิงหาคม - กันยายน 2561

D

id you know that Phra Phradaeng District had another name in the past? It used to be known as Nakhon Khuean Khan and was built during the reign of King Rama I. Later on, the name was changed to Phra Phradaeng city or Phra Phradaeng Province in the reign of King Rama VI.

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 17

สมุ ท รปราการ มี ป ้ อ มปราการมากมาย ตั้งอยู่สองฟากฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา สร้างขึ้น เพื่ อ ป้ อ งกั น การรุ ก รานของข้ า ศึ ก เช่ น ป้ อ มประโคนชั ย ป้ อ มนารายณ์ ป ราบศึ ก ป้อมปราการ ป้อมกายสิทธิ์ ป้อมผีเสื้อสมุทร ป้อมตรีเพชร ป้อมคงกระพัน ป้อมเสือซ่อนเล็บ และป้อมพระจุลจอมเกล้า แต่ปัจจุบันเหลือ เพี ย ง 2 ป้ อ ม คื อ ป้ อ มพระจุล จอมเกล้า และป้อมผีเสื้อสมุทร There are many fortresses located on both sides of the Chao Phraya River in “Samutprakan” and the purpose was to protect the enemies from attacking. The following fortresses are Pra Khon Chai fortress, Narai Prap Suek fortress, Prakan fortress, Gai Ya Sit fortress, Phi Suea Samut fortress, Pom Phet fortress, Tri Phet fortress, Kong Ka Pan fortress, Sua Son Leb fortress and Phra Chula Chom Klao fortress. However, there are only 2 fortresses left for us to see today. These are Phra Chula Chom Klao fortress and Phi Suea Samut fortress

พระประแดง เป็นเมืองหน้าด่าน สมัยขอม (พ.ศ. ๑๔๐๐) ค�ำว่า ประแดง หรือ บาแดง แปลว่า คนน�ำสาร ฉะนัน้ หากมีเหตุการณ์ อะไรเกิดขึ้น เมืองหน้าด่านจะต้อ งรีบแจ้งข่าวสารไปให้เมืองหลวง (ละโว้) ทราบให้เร็วทีส่ ดุ มีความเชือ่ ว่า เมืองปากน�ำ้ สมุทรปราการก็เป็น ส่วนหนึง่ ของพระประแดงด้วย In year 858 or during Khmer period, “Phra Phradaeng” used to be a frontier. The word Pradaeng or Badaeng means “messenger ”. So, if there was problem, the frontier had to report the capital city (Lavo) as soon as possible. It was also believed that Pak Nam City in Samutprakan Province is a part of Phra Phradaeng district.

บางโฉลง ค� ำ ว่ า โฉลง เพี้ ย นจากค� ำ ว่ า จรรโลง (ภาษาขอม) แปลว่ า ยก ในที่ นี้ น ่ า จะหมายถึ ง ภูมิประเทศส่วนใหญ่แถบบางโฉลงสมัยก่อนมีการ “ยกยอ” ตามล�ำคลอง ส่วนในฤดูแล้งก็ “ยกเรือ” หรือลากเรือขึน้ เก็บ “บางโฉลง” เป็นต�ำบลทีม่ ลี ำ� คลอง มากถึง ๒๔ สาย ชาวบ้านส่วนใหญ่ทำ� สวน ท�ำไร่ ท�ำนา จึงให้ผลผลิตดีและสร้างอาชีพได้อย่างงดงาม

The word Chalong from “Bang Chalong” was mispronounced from the word “Jun-long” which means “carrying” in Khmer. In this case, it is suggested that it may have come from people’s behavior of carrying hand nets to scoop fishes back in the days. Similarly, in dry season, boats would be carried out of the river and put away. “Bang Chalong” is a Sub-District with up to 24 canals. Most of the locals are farmers therefore, they produce great crops.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


SMPK HISTORY / BANG PU

BANG PU RECREATION CENTER

สถานตากอากาศบางปู อีกหนึ่งกิจกรรมที่คนมาเที่ยวสมุทรปราการ ไม่ควรพลาด นั่นคือ การให้อาหารนกนางนวล ทีส่ ะพานยาวๆ ทอดไปในทะเล ทีช่ อื่ ว่า สะพาน สุขตา แล้วปิดท้ายด้วยมือ้ อาหารทะเลสดใหม่ที่ ศาลาสุขใจ ในสถานตากอากาศบางปู

O

ne of the activities you cannot miss out in Bang Pu is feeding the seagulls on a wooden pier that stretches out to the ocean. This pier is sometimes called “Suk Ta Bridge”. Then, finish off your day with some fresh seafood at Sala Sukjai (Sukjai gazebo) which is located in Bang Pu Recreation Center.

สะพานสุขตา ศาลาสุขใจ

Sukta Bridge and Sala Sukjai

านตากอาjaiกา, ศบางปูในอดีต ทางเข้าสถ e and Sala Suk

Sukta Bridg r entrance in the past. was Bang Pu Recreation Cente

สิงหาคม - กันยายน 2561

สถานตากอากาศบางปู หรืออีกชื่อหนึ่งคือ กองสถานพักผ่อน กรมพลาธิการทหารบก เกิดขึ้นเมื่อ จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายก รัฐมนตรีในขณะนั้น ได้เดินทางไปราชการ ที่จังหวัดชลบุรี และเห็นพื้นที่นี้ระหว่างทาง เห็นว่าเหมาะสมจะท�ำเป็นที่พักผ่อนหย่อน ใจ และตากอากาศ เนื่องจากมีบรรยากาศ ดี และไม่ห่างพระนครมากนัก จึงได้ให้จัดซื้อ ที่นี้ไว้เป็นจ�ำนวน ๔๖๓-๓-๓๗ ไร่ เพื่อจัดท�ำ เป็นทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจริมทะเล, ร้านค้าบริการ อาหารและเครื่องดื่ม, ที่พักบังกะโล ตั้งชื่อว่า “สถานตากอากาศชายทะเลบางปู” อาคาร สถานที่ ที่ ส ร้ า งในอดี ต นั้ น มี เ พี ย งบั ง กะโล ที่พัก สะพานสุขตา ศาลาสุขใจ ซึ่งยื่นออกไป ในทะเลถึง ๕๐๐ เมตร

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 19

พานสุขตา ุมมถ่ายรูปuresสวonยๆSuktบa นbridสgeะ take pict

ศาลาสุขใจ

ดนตรีและล

ศในวันอาทิตย์ Dancing to the ีลmusาic on Sundays

Sala Sukjai.

าหารบนสะntพานสุขตา อาคารไม้ ร้าs นอ a wooden restaura On the pier, lie

ความบันเทิงทุกวันอาทิตย์ Always entertaining on Sundays.

Bang Pu Recreation Center was also known as the leisure division of the Army Quartermaster Department. It was built by the Former Prime Minister of Thailand, Field Marshal Plaek Phibunsongkhram. While travelling to Chonburi, he discovered this piece of land and thought that it would be suitable to turn it into arecreation center. It is not too far nor too close to the capital city, therefore, he decided to purchase the 742,148 square meter land. Later on, he constructed a relaxation destination by the sea, a convenience store, bungalows and named the site “Bang Pu Recreation Center. However, in the past, the recreation center was only comprised of bungalows, Sala Sukjai and Sukta bridge which is approximately 500 meters long.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


SOONER

TAI BAN ROAD THE NEW TOURIST DESTINATION AND LEISURE SPOT OF PAK NAM

ถนนท้ายบ้าน ย่านใหม่ในอนาคต

ชื่อ "ต�ำบลท้ายบ้าน" นั้นมีที่มา ซึ่งก็เดาได้ไม่ยาก เพราะต�ำบล ท้ายบ้านนี้อยู่ท้ายปลายสุดของแผ่นดินสมุทรปราการ ในอดีตเป็น ป่าชายเลนรกทึบ ปัจจุบนั เป็นสุสานปากน�ำ้ และอนาคตจะเป็นถนน ท้ายบ้าน ตลาดใหญ่ซอื้ ขายสินค้าทุกประเภท ตัง้ แต่ผลผลิตทางการ ประมงและผลผลิตทางการเกษตร ทัง้ ขายปลีกและขายส่งครบวงจร

สิงหาคม - กันยายน 2561

I

t is not difficult to trace back to where the name Tai Ban came from because the sub - district is located at the edge of Samutprakan. The area which now accommodates Pak Nam Cemetery was once a wild mangrove forest. It will be developed to Tai Ban Road a large marketplace for various types of products ranging from fishery to agriculture both wholesale and retail.

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 21

ถนนท้ายบ้าน

จากพื้นดินชายเลนเดิมรกร้างเป็นสุสานฝังศพคนไทยเชื้อสายจีน ท้ายบ้าน จึงเป็นเหมือนดินแดนลีล้ บั ทีไ่ ม่คอ่ ยมีใครย่างกรายเข้าไป จนกระทั่งกลายเป็นที่ ตั้งของ “สวนสัตว์และฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ” ที่ได้ชื่อว่าเป็นฟาร์มจระเข้ ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ แห่งหนึง่ ถนนท้ายบ้านจึงเป็นทีร่ จู้ กั ในหมูน่ กั ท่องเทีย่ วนับแต่นนั้ มา เมื่อถนนท้ายบ้านถูกเล็งเห็นจากเทศบาลนครสมุทรปราการและองค์การ บริหารส่วนจังหวัดสมุทรปรากา ว่ามีศกั ยภาพมากพอทีจ่ ะพัฒนาเป็นศูนย์กลาง การค้าและท่องเที่ยวได้จุดแรก แหล่งการค้าและการท่องเที่ยวขนาดใหญ่ โครงการวางแผนพัฒนาจึงเกิดขึ้น ภายใต้ชื่อโครงการจัดท�ำบริการสาธารณะ โดยความร่ ว มมื อ กั น ระหว่ า งองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ด้ า นตลาดเชิ ง ท่องเที่ยว ศูนย์กลางการจ�ำหน่ายผลผลิตทางการประมง และศูนย์ส่งเสริม และพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัดสมุทรปราการ หรือทีน่ ยิ มเรียกกันว่าโครงการตลาด เชิงท่องเที่ยวสมุทรปราการ บนที่ดินของเทศบาลนครสมุทรปราการ ที่ดินกว่า ๒๔ ไร่ จะถูกพัฒนาเพื่อให้เป็นตลาดกลางจ�ำหน่ายและซื้อขายสินค้า ทุกประเภท รวมทั้งผลผลิตทางการประมงและผลผลิตทางการเกษตร บริการ ทั้งขายปลีกและขายส่งครบวงจร นอกจากนี้ยังมีการจัดสร้างโซนเพื่อรองรับ นักท่องเที่ยวไปพร้อมๆ กันด้วย ผืนดินขนาดเกือบ ๑๐๐ ไร่ ริมถนนท้ายบ้าน จะได้รับการพัฒนาให้เป็นพื้นที่ สาธารณะที่พร้อมพรั่งไปด้วยสวนสาธารณะขนาดใหญ่ โรงพยาบาล โรงเรียน นานาชาติ และพื้ น ที่ สี เขี ย วที่ จ ะเป็ น ปอดขนาดใหญ่ อี ก แห่ ง หนึ่ ง ของชาว สมุทรปราการในอนาคตอันใกล้นี้

TAI BAN ROAD

From a wild mangrove forest to a cemetery where Thai-Chinese locals are buried, Tai Ban is somewhat a mysterious area where a few has ventured across. It wasn’t until “Samutprakan Crocodile Farm and Zoo” was built on the area. This complex is known as the world’s largest crocodile farm and has since created a name for Tai Ban Road among tourists. As Samutprakan Municipality and the Provincial Administrative Office (PAO) realize that Tai Ban Road has the potential to become the trade center and a tourist destination, a development project is launched under the name “Public Service Development under the collaboration between local administrative office and community development authorities” or commonly known as Samutprakan tourism marketing project. The project will be developed on A 10-acre property will be developed into a central market for all kinds of products including local products from fishery and agriculture, offering a complete retail and wholesale services. Moreover, there is a designated accommodation area for tourists as well. A 40-acre piece of land next to Tai Ban Road will be developed into a public space with a public park, a hospital, an international school and a large green area that is bound to be another lung for Samutprakan in the near future.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


R E A DY T O G O

ล่องเรืออย่างไรให้ ปลอดภัยตลอดทริป !

เที่ ย วทางบกมาเยอะแล้ ว อยากให้ ลองเที่ ย วทางน�้ ำ ดู บ ้ า ง การล่ อ งเรื อ ชมธรรมชาติ สัมผัสวิถีชีวิตของผู้คน สองฝั่งคลองในวันหยุดพักผ่อนสบายๆ ช่างผ่อนคลายสุดๆ และบนความสนุก เราก็ ต ้ อ งไม่ ป ระมาท เหล่ า นี้ คื อ ค�ำแนะน�ำในการล่องเรือเทีย่ วแบบฟินๆ ใครสนใจอยากจะใช้ชีวิตสัญจรทางน�้ำ แบบผูค้ นสมัยก่อน ลองเตรียมตัวกันดู

HOW TO STAY SAFE THE ENTIRE BOAT TRIP!

We have mostly traveled on land; now it’s time to explore the river. A boat trip to admire the nature and the local culture from both sides of the river is quite a relaxing holiday; however, one must not be careless. We will give advice for a joyous boat ride for anyone who is interested in sailing as the early locals did in the past.

MUST HAVE!

HOW TO PREPARE FOR

A CANAL-SIDE

BOAT TRIP เตรียมตัวล่องเรือเลียบคลอง

เสื้อชูชีพ

ผู้ประกอบการเรือส่วนใหญ่มักจะมีพร้อมอยู่แล้ว แต่ถ้าทริปไหนที่มีเด็กๆ ไปด้วย เสื้อชูชีพส�ำหรับ เด็กมักจะหายาก เพราะส่วนมากจะเป็นไซส์ ผูใ้ หญ่ เตรียมเสือ้ ชูชพี พอดีตวั เด็กไปเองให้พร้อม จะได้นั่งเรือชมสองฝั่งคลองกันอย่างชิลล์ๆ LIFE JACKETS

Most boat operators will have a set ready for grabs. However, it is usually difficult to find kid-size life jackets. If you are visiting with children, be prepared and bring your own life jackets that fit.

WEAR WELL-FITTING CLOTHES

เสื้อผ้ากระชับ

จะเป็นทริปไหนๆ ก็ต้องแต่งตัวสวย แม้แต่ทริปล่องเรือเที่ยวก็ต้องพร้อม ถ่ายรูปเสมอ แค่แต่งกายให้รดั กุม งดเว้น กระโปรงพลิ้ ว มี ร ะบายหวานแหวว แล้วติดเสื้อแขนยาว หรือแจ็กเก็ตไป ด้วยจะดีมาก จะได้กันแดด กันลมได้ กันกิ่งไม้ใบไม้สองฝั่งคลองเกี่ยวแขน แบบไม่ทันได้ระวังตัว

สิงหาคม - กันยายน 2561

If you have made a plan to go on a boat trip, be sure to wear a well-fitting outfit that covers your body well. Long skirts that float with the breeze and colorful clothing items should be left for shopping mall visits. Bringing over a long-sleeve top or a jacket would be wise for p ro t e c t i o n a g a i n s t t h e sunlight, strong wind and tree branches that stick out from both sides of the river.

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 23

HEADGEAR

แว่นกันแดด

การเที่ ย วท่ า มกลางแสงแดดจ้ า และ สายตาจะต้องมองน�้ำที่สะท้อนกับแสงแดด ตลอดเวลา มองวิถีชีวิตของผู้คนสองฟากฝั่ง หรือจดจ่อกับธรรมชาติรอบๆ เส้นทาง เพื่อ ช่ ว ยถนอมสายตาให้ อ ยู ่ กั บ ร่ า งกายเรา ไปอีกนานๆ แว่นกันแดดช่วยได้เยอะ

Pi c k t h e o n e t h a t s i t s comfortably around the head such as hats which will help the journey more enjoyable, free of worry that the hat may fly off with the wind or tanning from the sunburn.

หมวก

เลือกหมวกที่ใส่กระชับ หมวกปีกกว้าง ใส่พอดีศีรษะ ช่วยให้การล่องเรือเที่ยวสนุก ไม่ต้องมาพะวักพะวนว่าหมวกจะปลิว หรือหน้าจะด�ำเพราะโดนแดดแผดเผา

ถุงกันน�้ำ / กระเป๋ากันน�้ำ

การล่ อ งเรื อ เที่ ย วควรมี สั ม ภาระติ ด ตั ว ให้นอ้ ยชิน้ เช่น กระเป๋าสตางค์ โทรศัพท์มอื ถือ กล้องถ่ายรูป หาถุงพลาสติกส�ำหรับใส่ของ หรื อ กระเป๋ า กั น น�้ ำ ที่ ป ิ ด มิ ด ชิ ด จะช่ ว ยให้ สิ่ ง ของมี ค ่ า ไม่ ต ้ อ งโดนน�้ ำ และเกิ ด ความ เสียหายได้

SUNGLASSES

Sunglasses will help protect your precious eyes amid the sunlight and bright reflection from the water surface while admiring the local culture from the riverbanks, so that they last a long time with you after the trip.

WATERPROOF BAGS / CARRY-ONS

You should have only a small amount of belongings on the journey such as wallet, mobile phone, camera, a plastic bag for belongings or a waterproof bag that can protect your valuables from water damage.

ขนม / น�้ำดื่ม

หากท้ อ งร้ อ งระหว่ า งล่ อ งเรื อ เที่ ย ว ทริปนั้นคงไม่สนุกแน่ๆ หาน�้ำหรือขนม ติดไม้ตดิ มือไปกินสักหน่อย เลือกอาหาร ที่สะดวกในการพกพาสักนิด กินเสร็จ แล้วจะได้น�ำขยะกลับมาทิ้งบนฝั่งได้

WEAR ADJUSTABLE SHOES

SNACKS / DRINKS

A trip would be ruined if your stomach rumbles mid-journey on the river. Do bring with you some drinks or snacks to ease your thirst and hunger and be sure to pick food items that are easy on-the-go so they can be easily put in the bin ashore.

รองเท้ารัดกุม

แนะน�ำรองเท้าผ้าใบ หรือรองเท้ารัดส้น รองเท้าหุ้มส้น เพื่อความสะดวกสบายในการก้าวขึ้น-ลงเรือ หรือหากวันนั้น ใส่รองเท้าแตะออกจากบ้านมาแล้ว ก่อนขึ้น-ลงเรือให้ถอด รองเท้าหิ้วจะปลอดภัยกว่า เผื่อก้าวพลาด ลื่นล้ม จะได้ ไม่ต้องติดขัดกับรองเท้ามากนัก

We would recommend sneakers or sandals for comfort when boarding - l e av i n g t h e b o a t . In case you wear flip-flops out on the day, make sure you take them off and carry them when boardingleaving the vessel to prevent accidents.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


M A P / TO U R I ST M A P O F SA M U T P R A K A N

แผนที่รอบอุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ SAMUTPRAKAN LEARNING PARK AND CITY TOWER

ร้านลิ้มด�ำรงค์ Lim Dam Rong

แผนที่ขุนสมุทรจีน

KHUN SAMUT CHIN'S MAP

ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง สมุทรปราการ City Pillar Shrine

วัดพิชัยสงคราม Wat Phichai Songkhram

อุทยานการเรียนรู้ และหอชมเมืองสมุทรปราการ Samutprakan Learning Park and City Tower พี่พอเพียงน้องเพียงพอ ขุนสมุทรจีนโฮมสเตย์ Pee Por Peang Nong Peang Por Khun Samut Chin Guesthouse

สิงหาคม - กันยายน 2561

อ่าวไทย Gulf of Thailand SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 25

TOURIST MAP OF SAMUTPRAKAN

แผนที่ท่องเที่ยวสมุทรปราการ

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


26

JANUA RY - FEBR UA RY 2017


@SAMUTPRAKAN T R AV E L

มกราคม - กุ ม ภาพั น ธ์ 2560

27


F E AT U R E

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 29

new view new vision COVER JOURNEY

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


COV E R J O U R N E Y / N E W V I E W

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 31

อุทยานการเรียนรู้ และหอชมเมืองสมุทรปราการ จาก “ปราการเก่า” สู่แลนด์มาร์กแห่งใหม่ของจังหวัดสมุทรปราการ

SAMUTPRAKAN LEARNING PARK AND CITY TOWER FROM AN ANCIENT FORTRESS TO A NEW LANDMARK OF SAMUTPRAKAN

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 33

เมื่ อ เรื อ ข้ า มฟากสายพระสมุ ท รเจดี ย ์ ปากน�ำ้ แล่นออกมาถึงกลางแม่นำ�้ เจ้าพระยา หอคอยสูงเด่นทีอ่ ยูอ่ กี ฝัง่ ของแผ่นดินก็ปรากฏ ในครรลองสายตา หอคอยที่เด่นตระหง่าน ล้อแสงแดด และแม้ในยามฝนพร�ำก็ยังคง เปล่งความสว่างไสวอยู่เสมอ “หอชมเมือง สมุทรปราการ” s the Phra Samut Chedi – Pak A Nam ferry sails to the middle of Chaophraya River, a soaring tower on the other bank stands iconicagainst the sun and glows during the storm: the “Samutprakan Observation Tower”

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 35

“เมืองปากน�ำ้ ” เป็นอีกชือ่ เรียกหนึง่ ของจังหวัดสมุทรปราการ จากบันทึก ประวัตศิ าสตร์ทำ� ให้ทราบว่าตัง้ แต่สมัย ยุคขอมเรืองอ�ำนาจ สมุทรปราการก็เป็น เมืองหน้าด่านแล้ว ด้วยความที่เมือง ตัง้ อยูบ่ ริเวณปากแม่นำ�้ เป็นทัง้ เส้นทาง การขนส่ง การค้าขาย และการศึกสงคราม สมุทรปราการจึงมีความส�ำคัญมาแต่ ครั้งอดีต ที่ ตั้ ง ของ “หอชมเมื อ ง” แต่ เ ดิ ม เป็น “ตะรางเก่า” เมื่อครั้งอยู่ภายใต้ การปกครองของเจ้าเมืองสมุทรปราการ ความที่ มี พื้ น ที่ อ ยู ่ ใ กล้ กั บ สถานี ร ถไฟ ปากน�้ำ การเดินทางขนส่งมาพร้อมกับ ชาวต่ า งชาติ แ ละชาวจี น ที่ ลั ก ลอบ สูบฝิ่น ฉกชิงวิ่งราว ลักเล็กขโมยน้อย นั ก โทษที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ท� ำ ให้ ใ ต้ ถุ น บ้ า น ของเจ้ า เมื อ งมี พื้ น ที่ คุ ม ขั ง นั ก โทษ ไม่ พ อ จึ ง ได้ แ ยกพื้ น ที่ ส� ำ หรั บ คุ ม ขั ง นั ก โทษออกมาจากตัวบ้าน ก่อสร้าง เป็ น ตะรางคุ ม ขั ง นั ก โทษ ต่ อ มาในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ได้เปลี่ยนมาเป็น “เรือนจ�ำ สมุทรปราการ” ภายใต้สงั กัดกรมราชทัณฑ์ พืน้ ทีจ่ งึ ขยายใหญ่ขนึ้ เพือ่ ก่อสร้างก�ำแพง สูง ๘ เมตร รายล้อมด้วยป้อมรักษาการณ์ ทั้ ง ๗ ป้ อ ม ลั ก ษณะการสร้ า งแบบ ก่ออิฐถือปูน “Pak Nam City” is another name for Samutprakan. From historical records, it was said that Samutprakan was the main outpost during the Khmer’s reign. Locating at the river mouth, Samutprakan has been the main logistics route, trade center and battle front since the early days.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


The Observation Tower was once on a prison cell area when the former governor of Samutprakan lived on the site. Standing close to the railway station, this saw arrival of foreign and Chinese smugglers as well as thieves. The increasing number of prisoners occupying the area under the governor’s manor led to the introduction of a designated area for prisoners that was separated from the manor. This was later changed to Samutprakan Central Prison under the department of corrections. Expansion took place which saw an erection of 8-meter high walls equipped with 7 towers mold with bricks and concrete.

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 37

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 39

ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ การระบาดของยาเสพติด หนักขึน้ ส่งผลให้นกั โทษมีจำ� นวนเพิม่ ขึน้ จากเดิม ท�ำให้พื้นที่ของเรือนจ�ำไม่สามารถรองรับนักโทษ ได้เพียงพอ อีกทั้งรอบด้านของเรือนจ�ำก็เป็น ที่ พั ก อาศั ย ของชาวบ้ า น กรมราชทั ณ ฑ์ จึ ง มี นโยบายย้ายเรือนจ�ำสมุทรปราการไปยังสถานทีใ่ หม่ จากนั้นพื้นที่บริเวณเรือนจ�ำเก่าที่เคยเป็นเหมือน “ปราการ” จองจ�ำนักโทษในอดีต ก็ได้กลายเป็น พืน้ ทีว่ า่ ง และในทีส่ ดุ ได้ถกู น�ำมาใช้ประโยชน์โดย เป็นที่ตั้งของอุทยานการเรียนรู้และหอชมเมือง สมุทรปราการในปัจจุบัน “หอชมเมื อ ง” ตั้ ง อยู ่ ต รงเรื อ นจ� ำ เก่ า ปากน�้ ำ บริ เ วณด้ า นหลั ง ของสถานี ต� ำ รวจ สถานีต�ำรวจภูธรเมืองสมุทรปราการ สามารถ เดินทางโดยการเดินเท้าเข้ามาหรือขับรถยนต์ มาตรงถนนอมรเดชหรือซอยศรีสมุทร ๑ โดย ที่ จ อดรถอยู ่ บ ริ เวณทางด้ า นหน้ า ของทางเข้ า มี สั ญ ลั ก ษณ์ ข องอุ ท ยานการเรี ย นรู ้ เ ป็ น รูปลูกโลกและนกนางนวลหลายตัว สื่อให้เห็น ถึ ง ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องพื้ น ที่ แ ละประตู สู ่ อ่าวไทยในปัจจุบัน ด้านหน้าและด้านในอุทยาน การเรียนรูฯ้ ยังมีปอ้ มรักษาการณ์เก่าครบทัง้ ๗ ป้อม โดยตัวป้อมยังคงรูปเดิม แต่สภาพภายในตัวฐาน บันไดทางขึ้นทรุดโทรมจนไม่สามารถขึ้นไปได้ In 1937, the drug epidemic increased the number of inmates considerably which exceeded the pr ison’s cell capacity. Surrounded by residential area, the department of corrections relocated the prison. T h e f o r m e r facility that was once a stronghold and abandoned eventually found its use as Samutprakan Observation Tower & Knowledge Park. THE OBSERVATION TOWER now sits

on the former Pak Nam’s prison behind Mueang Samutprakan Provincial Police Station. Travel can be done by foot or by cars on Amondet Road or Soi Sri Samut 1 with parking available at the entrance. Th e K n ow l e d g e Pa r k b a d g e w i t h a shape of a globe with seagulls is embedded at the entrance. This demonstrates the abundance within the area and symbolizes its status as the entrance to the Gulf of Thailand. Inside the park, the 7 prison towers remain unchanged on the outside. However, the broken stair treads prevent visitors from going up the tower.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


พอก้ า วผ่ า นรั้ ว เหล็ ก เข้ า ไปจะพบกั บ สวนหย่อมด้านหน้าทีจ่ ดั ขึน้ เพือ่ เพิม่ ความร่มรืน่ และความสวยงาม ซึ่งพื้นที่ทางเดินด้านใน สามารถวิง่ ออกก�ำลังกายโดยรอบได้ ถัดเข้าไป จะเป็นบริเวณของหอคอยสูงกว่า ๑๗๙.๕๕ เมตร ตั้งตระหง่าน กรุล้อมรอบด้วยกระจกใสที่ สามารถมองออกไปเห็ น ทิ ว ทั ศ น์ ด ้ า นนอก บางชั้นสามารถเดินออกไปชมวิวด้านนอกได้ โดยมีระเบียงสูงระดับเอวอยู่รอบชั้น ภายในแบ่งเป็น ๖ โซน ได้แก่ โซน ๑ ปากน�ำ้ เมือ่ นานมา เล่าความเป็นมา และบทบาทส�ำคัญของเมืองปากน�ำ้ ตัง้ แต่อดีต จนปัจจุบัน โซน ๒ เข้าท่าเมืองหน้าด่าน บ่งบอก ความเป็นเมืองหน้าด่านการค้าที่เฟื่องฟูที่สุด แห่งหนึ่งในสมัยอยุธยา โซน ๓ ปรากฎเป็นปราการ เมืองหน้าด่าน ปราการที่ แข็ ง แกร่ ง แห่ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ อันรวมไว้ซงึ่ ความสามัคคีของผูค้ นหลากหลาย เชื้อชาติ สิงหาคม - กันยายน 2561

โซน ๔ ปราการป้องแผ่นดิน จุดเปลี่ยน ที่ส�ำคัญกับเหตุการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ อันน�ำมาซึ่ง การพัฒนาประเทศสยามไปสู่ความทัดเทียม นานาอารยประเทศ โซน ๕ ประตูด่านสานเศรษฐกิจ เมือง หน้าด่านทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่ ส�ำคัญของประเทศไทยในปัจจุบัน โซน ๖ มอง (กาล) ไกลไปด่านหน้า ร่วม เป็นพลังขับเคลื่อนสมุทรปราการให้ก้าวไปสู่ อนาคตอย่างมั่นคง Through the steel gate, a garden is arranged to give the area a shady feature with a path suitable for jogging. Further inside, there stands a majestic tower that reaches 179.55 meters in height, equipped with glass windows and terrace areas with waist-high fences on certain floors allowing visitors to fully enjoy the view.There are terrace areas on certain floors with waist-high fences. Each floor houses various exhibitions ranging from the history of Samutprakan, Pak Nam’s old railroad, Local culture, Gulf of Thailand’s learning center and Conventional area.

The Tower houses six different exhibition zones: Zone 1 : "Pak Nam in the old days" narrates the history and the significant roles of Pak Nam from past to present. Zone 2 : "Docking to the sea frontier" marks the city as one of the most prosperous trade district during Ayuddhaya period. Zone 3 : "Fortress emerged" explains how this indistructible fortress of Ratanakosin was forged by the unity among people of diversed races. Zone 4 : "Fortress of the Land" depicts how Siam's major turning point due to Franco-Siamese Crisis of 1893 led to a great country development and an equal status to other civilized countries. Zone 5 : "Checking point for economic coordination" Thailand's major economic and industrial frontier town at the present. Zone 6 : "Looking forward to the next" Be the driving force that prompt Samut Prakan to a stable future. SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 41

โครงสร้ า งภายในหอชมเมื อ ง ช่วยเผยร่องรอยความน่าตื่นตา อลั ง การที่ ก� ำ ลั ง จะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตอันใกล้นี้ The interior structure of the Observation Tower hints a glimpse of all the fascinations in the near future

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


ภาพจ�ำลองบางส่วนของความตื่นตาตื่นใจในหอชมเมือง

SIMULATED PICTURES OF THE FASCINATION AT OBSERVATIONAL TOWER

ส่วนแนะน�ำนิทรรศการในอนาคตประวัติพื้นที่และโครงการการจัดสร้างหอชมเมือง

Introduction to the exhibition area in the future, the history and the development project of the Observation Tower

เรือเมล์ที่จะพาทุกท่านย้อนเวลาไปยังสมุทรปราการเมื่อครั้งอดีต เล่าเรื่องราวความเป็นเมืองหน้าด่านในแต่ละยุคสมัยผ่านภาพยนตร์ที่ฉายรอบเรือ

The ferryboat that allows you to travel back to the Samutprakan in the early days, depicting the border town in each era through movies around the ferry.

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 43

นิทรรศการเทิดพระเกียรติรัชกาลที่ ๙ และรัชกาลที่ ๑๐

An exhibition in honor of King Rama IX and King Rama X

เพิ่มความพิเศษให้มื้ออาหารด้วยวิวสวยๆ จากมุมร้านอาหาร

An extraordinary dinner with marvelous views from our restaurant corner.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 45

โดยไฮไลต์ของหอชมเมืองอยู่ที่ชั้นสูงสุด ทีเ่ ป็นจุดชมวิว ๓๖๐ องศารอบตัวหอชมเมือง โดยมี ทั้ ง บริ เ วณที่ เ ป็ น กระจกกั้ น ด้ า นใน ด้านนอกที่มีระเบียงกั้นไว้ สามารถมองเห็น วิวแม่น�้ำเจ้าพระยาจากทางปู่เจ้าสมิงพราย มาทางปากน�้ำ พระสมุทรเจดีย์ ก่อนออกสู่ อ่าวไทย และพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นกลาง และ ถ้ า มองไกลออกไปอี ก ก็ จ ะเห็ น พื้ น ที่ สี เขี ย ว แหล่ ง สุ ด ท้ า ยอย่ า ง “บางกะเจ้ า ” ทั้ ง ยั ง ได้ เ ห็ น วิ ถี ชี วิ ต ชาวเรื อ การเดิ น เรื อ ขนส่ ง สินค้าที่แล่นผ่านแม่น�้ำเจ้าพระยาออกไปทาง อ่าวไทยหรือไม่ก็ตัดผ่านเข้าไปในกรุงเทพฯ ซึ่ ง เป็ น ทิ ว ทั ศ น์ ส วยงามจากมุ ม สู ง ที่ ห าได้ ยากยิ่งในปัจจุบัน The highlight is the 360 degree observation deck that includes indoor area and a terrace. The panoramic view extends across Chaophraya River from Phujao Saming Phray through the river mouth and beyond the Gulf of Thailand. You can also glance across Bangkok and further to the last green area, Bang Krachao, as well as witness the sailor’s way of life and shipping activities that take place across Chaophraya River to the sea or into Bangkok – a rare sight from above.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


ทัศนียภาพล�ำน�้ำเจ้าพระยา มองจากระเบียงชมวิวชั้นสูงสุด ของหอชมเมือง Chao Phraya River view from the observation deck on the top floor.

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 47

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


จากพื้ น ที่ เ ก่ า ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ในอดี ต แม้ จ ะเป็ น “ปราการเก่ า ” หรื อ ที่ คุ ม ขั ง นักโทษ แต่พื้นที่แห่งนี้ก็ได้ปรับเปลี่ยนไป สู่การเป็นแลนด์มาร์กแห่งใหม่ของจังหวัด สมุ ท รปราการ เพื่ อ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ มองเห็นภูมิทัศน์ของจังหวัดสมุทรปราการ ในทุ ก แง่ มุ ม ...ว่ า งดงามและน่ า เดิ น ทาง ท่องเที่ยวมากเพียงใด From a historic site, despite being a correctional facility or prison stronghold, this particular place has transformed into a new landmark of Samutprakan providing tourists with a panoramic view of the city which displays its unparalleled beauty worthy of a visit.

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 49

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 51

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


COV E R J O U R N E Y / N E W V I S I O N

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 53

THAILAND’S FIRST WATER BRIDGE SUVARNABHUMI AIRPORT DRAINAGE PROJECT

สะพานน�้ำยกระดับ

โครงการระบายน�้ำ บริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ

สะพานระบายน�ำ้ แห่งแรกของประเทศไทย

hose who are travelling along T the old Sukhumvit road towards Samutprakan province will spot the

water bridge and Sukhumvit road from eye level and will not even notice that this particular bridge is unique.

ถ้ามองจากระดับพืน้ ดิน ผูค้ นทีส่ ญ ั จรบนถนน สุขุมวิทสายเก่าไปยังจังหวัดสมุทรปราการ จะมองเห็นสะพานน�้ำยกระดับข้ามคลอง ชายทะเลและถนนสุขมุ วิท และคงไม่คาดคิด ว่ า สะพานแห่ ง นี้ จ ะแตกต่ า งกั บ สะพาน ยกระดับทั่วไปแต่อย่างใด

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


แต่หากมองจากมุมสูงเหนือระดับพื้นดิน ขึ้ น ไป จะเห็ น ว่ า สิ่ ง ที่ อ ยู ่ บ นสะพานแห่ ง นี้ คือมวลน�้ำที่ก�ำลังไหลขึ้นมาจากอีกฟากหนึ่ง ข้ามสะพานน�้ำลงไปสู่อีกฟากหนึ่ง เสมือน การยกคลองระบายน�้ำข้ามถนนนั่นเอง ใครที่ได้เห็นภาพสะพานระบายน�้ำแห่งนี้ น่าจะต้องรู้สึกคล้ายกันว่า เป็นสิ่งก่อสร้าง ที่ แ ตกต่ า งจากที่ เราเคยพบเห็ น โดยทั่ ว ไป และท�ำให้เกิดข้อสงสัยว่าท�ำไมจึงต้องสร้าง สะพานน�้ำข้ามถนนในลักษณะดังกล่าว ค� ำ ตอบก็ คื อ สะพานน�้ ำ แห่ ง นี้ ส ร้ า งขึ้ น ด้วยวัตถุประสงค์ส�ำคัญ คือการระบายน�้ำ ออกจากสนามบินสุวรรณภูมิ เพือ่ ป้องกันไม่ให้ เกิดน�ำ้ ท่วมในบริเวณสนามบินซึง่ เป็นประหนึง่ ประตูหน้าด่านของประเทศไทยที่เชื่อมต่อกับ นานาชาติ และพื้นที่โดยรอบก็เป็นชานเมือง ที่มีผู้อยู่อาศัยจ�ำนวนมาก ประกอบกั บ สภาพพื้ น ที่ เ ป็ น ที่ ลุ ่ ม ต�่ ำ เกิดสภาวะน�ำ้ ท่วมนองได้ง่ายเพราะเป็นพื้นที่ ที่ต�่ำกว่าพื้นที่อื่น ระดับพื้นดินเฉลี่ยต�่ำกว่า บริเวณอื่นในทุ่งราบเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก ตอนล่าง แน่นอนว่าหากสนามบินสุวรรณภูมิ เปิดด�ำเนินการ ปัญหาก็จะทวีความรุนแรง มากยิ่ ง ขึ้ น และหากเกิ ด ความเสี ย หายขึ้ น จากเหตุน�้ำท่วม ย่อมต้องท�ำให้ประเทศชาติ สูญเสียผลประโยชน์อย่างใหญ่หลวง สะพานแห่งนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของ “โครงการ ระบายน�ำ้ บริเวณสนามบินสุวรรณภูม”ิ ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบลบางปลา อ�ำเภอบางพลี และต�ำบลบางปู อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เกิ ด ขึ้ น จากแนวพระราชด� ำ ริ ข องพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชด�ำริกับนายก รั ฐ มนตรี ใ นขณะนั้ น ฐานะประธาน กปร. ณ วั ง ไกลกั ง วล อ� ำ เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคีรีขันธ์ เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ สรุปความว่า

While observing an image of this water bridge, viewers may sense that it is unalike from what they have seen in general. Yet, most of them may raise this question, “why was this bridge designed in this particular way?”. Here is the answer, the purpose of building this bridge is to drain water from Suvarnabhumi airport to prevent flood in such significant zone. The airport is Thailand’s gateway which allows people to connect internationally and the surrounding area is a suburb with many residents. Therefore, the existence of this bridge is vital. The property of Suvarnabhumi airport has low land conditions. The piece of land itself is lowest in the lower east side of the Chao Phraya Plateau. Besides, if Suvarnabhumi airport is operating while it floods, the issue will multiply. Surely this will affect the nation’s benefit in many ways. This specific bridge is one of the “Suvarnabhumi Airport Drainage Project” located in Bang-Pla SubDistrict, Bang Phli District and Bang-Pu Sub-District, Mueang District, Samutprakan Province. Also, the project was initiated by King Bhumibol Adulyadej. On the 1st of August 2003, His majesty once said to the Prime Minister at that time who also happens to be the chairman of “The Office of the Royal Development Projects Board” at Klai Kangwon Palace, Huahin District, Prachuap Khiri Khan Province: “When dredging the canal, don’t assume that it should only be draining water in Suvarnabhumi area. Look at a bigger picture and consider dredging it into the perfect size so it will accommodate water in the surrounding area as well.”

“การระบายน�้ำบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ ให้พิจารณาขุดลอกคลองระบายน�้ำโดยมี ขนาดที่เหมาะสมไม่ใช่เพื่อระบายน�้ำเฉพาะ บริเวณสนามบิน ให้พิจารณารวมบริเวณ รอบๆ ด้วย”

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 55

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 57

เหตุทไี่ ด้มพี ระราชด�ำริให้แก้ปญ ั หาดังกล่าว เนื่ อ งจากทรงห่ ว งใยว่ า ปั ญ หาพื้ น ที่ ลุ ่ ม น�้ ำ เจ้าพระยาฝั่งตะวันออกตอนล่างเป็นพื้นที่ลุ่ม มีระดับพืน้ ดินต�ำ่ บางแห่งมีลกั ษณะพืน้ ทีเ่ ป็น แอ่งท้องกระทะ สนามบินสุวรรณภูมิตั้งอยู่ บริเวณทางน�้ำหลาก และการสร้างสนามบิน ท�ำให้สูญเสียพื้นที่รองรับน�้ำกว่า ๒๐,๐๐๐ ไร่ อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ารพั ฒ นาพื้ น ที่ โ ดยรอบอย่ า ง รวดเร็วและไม่เป็นไปตามผังเมือง และหาก เกิ ด น�้ ำ ท่ ว มในบริเวณนี้ก็จะส่งผลต่อเนื่อง ต่อพืน้ ทีช่ นั้ กลางและชัน้ ในของกรุงเทพมหานคร ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล ส่งผลให้ รัฐบาลมองเห็นความจ�ำเป็นที่จะต้องแก้ไข ปัญหาดังกล่าว โดยต่อมากรมชลประทาน ได้ ท� ำ การว่ า จ้ า งสถาบั น ที่ ป รึ ก ษา ได้ แ ก่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อด�ำเนินงานศึกษาส�ำรวจและออกแบบ เบื้ อ งต้ น จนกระทั่ ง ก่ อ สร้ า งแล้ ว เสร็ จ ใน พ.ศ. ๒๕๕๓ ใช้เวลาในการก่อสร้าง ๖ ปี The reason why His Majesty was eager to solve the problem was because he was worried about the low land conditions in the area of the lower east side of the Chao Phraya Plateau. Suvarnabhumi airport is situated in a flood zone and the airport construction resulted a loss of over 7,900 acres of water storage area. The fast development of the surrounding area plus the failure of the city plan can likely cause flood to this zone. Last of all, if it floods, the middle and inner suburbs of Bangkok will surely be affected. His Majesty ’s vision give rise to the government to find a solution for this issue. Later on, the Royal Irrigation Department hired the following advisory institutes; Asian Institute of Technology, Kasetsart University and Thammasat University. The purpose of hiring was to survey and design the water bridge. After 6 years of construction, the bridge was finally completed in 2010.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 59

สะพานแห่ ง นี้ เ ป็ น อาคารคอนกรี ต เสริมเหล็กยกระดับ รูปตัวยู ท้องคลองกว้าง ๒๕ เมตร ก�ำแพงสูงข้างละ ๓.๑๕ เมตร สู ง จากถนนสุ ขุ ม วิ ท ประมาณ ๖ เมตร การท�ำงานของสะพานน�้ำยกระดับนี้ท�ำงาน โดยที่ มี อ าคารสะพานน�้ ำ ยกระดั บ และ อาคารทิง้ น�ำ้ เป็นอาคารรับน�ำ้ จากสถานีสบู น�ำ้ โดยยกระดั บ ให้ น�้ ำ ไหลไปตามสะพานน�้ ำ อัตราการไหล ๑๐๐ ลูกบาศก์เมตร/วินาที ข้ามคลองชายทะเลและถนนสุขุมวิทให้ลง สู่ทะเลโดยตรง ข้อมูลจากกรมชลประทานระบุวา่ อาคาร ประกอบในคลองระบายน�้ำ ประกอบด้วย ๑. อาคารสะพานน�้ำยกระดับและอาคาร ทิ้งน�้ำรูปตัดตัวยู ท้องคลองกว้าง ๒๕.๐ เมตร สูง ๓.๑๕ เมตร ยกสูง ๕.๐ เมตร ข้ามคลอง ชายทะเลและถนนสุขุมวิท ๒. สะพานรถยนต์ ๖ แห่ง อาคารรับน�้ำ จากคลองส� ำ โรง อาคารประตู ร ะบายน�้ ำ ด้านข้างคลองระบายน�้ำ ๒๒ แห่ง ๓. สถานีสูบน�้ำ ๑ แห่ง ระบายน�้ำได้ สูงสุด ๑๐๐ ลูกบาศก์เมตร/วินาที (เครื่อง สู บ น�้ ำ ๔ เครื่ อ ง) พร้ อ มระบบควบคุ ม การท� ำ งานของเครื่ อ งสู บ น�้ ำ ด้ ว ยระบบ คอมพิวเตอร์ ๔. สถานี ไ ฟฟ้ า ย่ อ ย, ระบบควบคุ ม ระยะไกล, ระบบโทรมาตรอุ ท กวิ ท ยา และส่วนประกอบอื่นๆ

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


This U-shaped concrete bridge is reinforced with steel and the diameter is 25 meters. Both sides of the walls are 3.15 meters high and the bridge is approximately 6 meters above Sukhumvit Road. The whole bridge is controlled by the water bridge structure and wastewater structure which water is incurred from the pumping station. Moreover, the water then flows through the sea canal, Sukhumvit Road and finally heads to the ocean. On average, the flow rate is 100 cubic meters per second. The Royal Irrigation Department provided infor mation below describing what the drainage canal is comprised of. • Water bridge structure and U-shaped wastewater structure is 25 meters in diameter, 3.15 meters high and 5 meters above the sea canal and Sukhumvit Road. • 6 car bridges, intake structure from Samrong canal, 22 drainage canal which is positioned on the side of flood gate. • 1 pumping station that can drain water up to 100 cubic meters per second. This includes 4 feed water pumps which is controlled by computer. • Electrical substation, remote control system, hydrological telemetry system and other components.

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 61

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


ในกรณี ที่ เ กิ ด น�้ ำ ท่ ว มขั ง ในสนามบิ น สุ ว รรณภู มิ คลองระบายน�้ ำ สายหลั ก จะ ท�ำหน้าที่ระบายน�้ำจากบริเวณรอบสนามบิน สุวรรณภูมิ แล้วเร่งระบายน�้ำจากคลองส�ำโรง แล้วสูบระบายออกสู่ทะเล การสูบน�้ำออกสู่ ทะเลโดยตรงนีท้ ำ� ให้สามารถลดปัญหาน�ำ้ ท่วม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดพื้นที่น�้ำท่วมลง ๑๔๐ ตารางกิโลเมตร และช่วยลดความเสียหาย จากปัญหาน�้ำท่วมขัง ปัญหาน�้ำหลากและ อุทกภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่จาก ๑๐ วัน เหลือ ๒ วัน โดยพิจารณาจากปริมาณน�้ำฝนสูงสุด ในรอบ ๒๕ ปี ทีเ่ คยเกิดขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ นอกจากจะช่ ว ยแก้ ป ั ญ หาน�้ ำ ท่ ว มแล้ ว สะพานน�้ ำ ยกระดั บ ยั ง ช่ ว ยลดปั ญ หาการ จราจร ท�ำให้สามารถติดตามสภาพน�้ำหลาก และการท�ำงานของเครือ่ งสูบน�ำ้ ในการบริหาร จั ด การน�้ ำ หลากทั้ ง ระบบลุ ่ มน�้ ำ เจ้ าพระยา ฝั่งตะวันออกตอนล่าง เป็นแหล่งกักเก็บน�้ำ ส�ำหรับท�ำการเกษตร สร้างอาชีพด้านการ ประมงบริ เ วณปลายน�้ ำ และช่ ว ยเสริ ม การพั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรและ ระบบนิเวศของจังหวัดสมุทรปราการอีกด้วย In the event of flooding in Suvarnabhumi airport, the drainage canal will drain water in the area. These waters will then flow through Samrong canal and eventually be released to the ocean. Predictably, this system reduced the flood problem very effectively. Based on the incident of having the highest rainfall in 25 years in 1990, it reduced over 140 square kilometer of flood area and decreased the chance of facing immerse flood from 10 days to 2 days. Apart from minimizing the chance of flooding, the water bridge also helps reduce traffic. It enables us to track the water conditions and pump operation in the lower east side of the Chao Phraya Plateau. It also performs as a water storage for agriculture, encourage fisheries career downstream and enhance the development of agricultural and ecological tourism in Samutprakan Province.

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 63

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


สะพานน�้ ำ ยกระดั บ แห่ ง นี้ จึ ง เป็ น สิ่ ง ก่ อ สร้ า งที่ น อกจากจะสร้ า งจาก แนวคิ ด ที่ น ่ า ทึ่ ง แล้ ว ยั ง เป็ น ประโยชน์ ต่อสาธารณะในหลากหลายมิติอีกด้วย ทั้ ง นี้ ด ้ ว ยพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ที่ ท รงเชี่ ย วชาญเรื่ อ งน�้ ำ อย่ า งถ่ อ งแท้ และได้มีพระราชด�ำริเกี่ยวกับโครงการ ดั ง กล่ า ว จนน� ำ มาสู ่ ก ารปฏิ บั ติ ใ ห้ เรา ได้เห็นอย่างเป็นรูปธรรมเช่นทุกวันนี้

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 65

Not only the concept of this water bridge is interesting but it also assists the public in many ways. Without His Majesty’s gracious kindness, support and knowledge about water, this project wouldn’t have been as successful. His Majesty’s involvement has allowed people to follow his good practice as we see today

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


A R T A L O N G T H E WAY

SAMUTPRAKAN LEARNING PARK AND CITY TOWER

อุทยานการเรียนรู้ และหอชมเมืองสมุทรปราการ

เทคนิค : สีน�้ำ Technique : Water Color Painting ศิลปิน : พีรดา ชีพสัตยากร Artist : Pearada Cheepsatayakorn สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 67

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


A R O U N D T O W N / T O U R I N G A R O U N D T H E C I T Y O B S E R VAT I O N T O W E R

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 69

TOURING AROUND THE CITY OBSERVATION TOWER

เที่ยวรอบหอชมเมือง จากความสูงของจุดชมวิว บนหอชมเมือง สถานที่ท่องเที่ยวหรือแลนด์มาร์กแห่งใหม่ ของเมืองสมุทรปราการ ช่วยเปิดมุมมองอัน น่าตื่นตาของปากแม่น�้ำเจ้าพระยาในแบบที่ คนทัว่ ไปไม่มโี อกาสเห็นมาก่อน ทัง้ ยังเผยให้ เห็นทิวทัศน์รอบด้านกว้างไกลสุดสายตาไป ถึงเมืองหลวงตลอดจนหัวเมืองชายฝั่งทั้ง ด้านตะวันออกและตะวันตก

ith its elevated height, W the Observation Tower, a n ew to u r i s t at t ra c t i o n

พอมองใกล้ เข้ า มา หอชมเมื อ งยั ง เปิ ด มุมมองใหม่ของเมืองปากน�ำ้ ในแบบเบิรด์ อายวิว มองต�่ำลงจะเห็นเมืองปากน�้ำขนานไปตาม ริมฝั่งเจ้าพระยา มีหลังคาทรงไทยสีส้มของ ศาลากลางจังหวัดตั้งเด่นเป็นสัญลักษณ์ของ ตัวเมือง พร้อมด้วยอาคารราชการรูปทรงเดียวกัน เรี ย งรายต่ อ ไป เมื่ อ มองเลยข้ า มฝั ่ ง แม่ น�้ ำ จะเห็นเจดีย์สีขาวขององค์พระสมุทรเจดีย์ ตั้งโดดเด่นสมกับเป็นปูชนียสถานส�ำคัญของ สมุทรปราการมานานกว่าร้อยปี

loser to the site, the fresh bird’s C eye view opens up a new perspective of the city. Looking

and the latest landmark of S amutprak arn, unveils a splendid sight of Chao Phraya River's mouth in a way no one has ever witnessed before, exhibiting an endless panoramic view all the way to the metropolis as well as coastal provinces of the east and west.

down, you will see the city of Pak Nam running along the Chaophraya River bank and a symbolic traditional Thai building with orange roof: the city hall, along with government offices. Across the river, a white Phra Samut Chedi Pagoda stands iconic as the city’s heritage with over 100 years of history. The skytrain’s new route (Green route) under construction is seen riding along Sukhumvit Road from Sam Rong through the Observation Tower and toward Bang Pu, displaying a modern transport mode that will bring prosperity to Samutprakan once opened.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


บนหอชมเมื อ งยั ง มองเห็ น รางลอยฟ้ า ของรถไฟฟ้า BTS สายสีเขียวทอดตัวยาว คร่ อ มมาตามถนนสุ ขุ ม วิ ท จากทางส� ำ โรง แล้ ว เลี้ ย วผ่ า นหอชมเมื อ งต่ อ ไปทางบางปู แสดงถึ ง ระบบขนส่ ง อั น ทั น สมั ย ที่ จ ะน� ำ ความเจริ ญ มาสู ่ ป ากน�้ ำ เมื่ อ พร้ อ มเปิ ด ให้ บริการในไม่ช้า มองลงไปอีกด้านต้องสะดุดตากับโบสถ์ หลั ง ใหญ่ อั น งดงาม พร้ อ มทั้ ง ศาสนสถาน และสิง่ ปลูกสร้างภายในบริเวณวัดพิชยั สงคราม วัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองและสถานที่ท่องเที่ยว เด่ นของเมื องปากน�้ ำ เมื่อได้เห็น ภาพสวย จากมุมสูงแล้ว ก็ควรหาโอกาสเดินไปเทีย่ วชม Looking down on the other side, a large chapel is spotted standing in Wat Phichai Songkhram Temple area alongside various religious buildings. The temple which stands side-by-side with the city is a signature tourist spot that every visitor should pay a visit.

มุมมองวัดพิชัยสงครามจากยอดหอชมเมือง อารามแห่งนี้สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนปลาย เดิมมีชอื่ ว่า “วัดโพธิ”์ หรือ “วัดนอก” ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ 2 พระยาพิชัยสงคราม ได้มาสร้างป้อมปราการในเขตวัดไว้ป้องกัน ข้าศึก ได้แก่ ป้อมประโคนชัย ป้อมกายสิทธิ์ ป้อมนารายณ์ปราบศึก และป้อมปราการ ซึ่งในปัจจุบันได้ถูกรื้อถอนหมดแล้ว Pichai Songkram Temple view from the top of the observation tower. This monastery was built during the late Krungsri Ayudhaya period and “Wat Poh” or “Wat Nok” was its original name. During the Reign of King Rama II, Phraya Pichai Songkram has built several forts around the temple area including Prakonechai Fort, Kayasit Fort and Narai Prab Suek Fort. Inside the temple is a large bell shaped pagoda decorated with fine-looking Thai crockeries.

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 71

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


หอชมเมือง ที่มองเห็นได้จากบริเวณ ประตูทางเข้าวัดพิชัยสงคราม The Observation Tower view visible from theentrance of Pichai Songkram Temple.

You will be greeted with a magnificent white pagoda once you exit the Observation Tower and walk around the back along Amondet Road that parallels the temple wall toward Prakhon Chai Road. An entrance can be found nearby for visitors to enter and have a closer look.

เมื่ อ ลงจากหอชมเมื อ ง เดิ น อ้ อ มทาง ด้านหลังไปตามถนนอมรเดชทีเ่ ลียบขนานรัว้ วัด พิชยั สงคราม จนไปเจอสีแ่ ยกทีม่ ถี นนประโคน ชัยตัดผ่าน ภายในรั้ววัดพิชัยสงครามตรงมุม สีแ่ ยกมองเห็นเจดียส์ ขี าวเด่นตัง้ อยูอ่ ย่างงดงาม เดินไปอีกนิดมีประตูให้เลีย้ วเข้าไปชมได้ใกล้ๆ เจดีย์สีขาวอายุเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรี อยุธยา เป็นเจดีย์ทรงระฆังคว�่ำประดับด้วย ถ้ ว ยชามเบญจรงค์ ต กแต่ ง ลายปู น ปั ้ น เป็ น สิงหาคม - กันยายน 2561

สร้อยสังวาล เหล่าเทพพนมปูนปั้น และมีบัว กลุ่มปูนปั้นประดับรอบเจดีย์ ๓ ชั้น งดงาม สมกับเป็นปูชนียสถานส�ำคัญของเมืองปากน�ำ้ คู่กับพระอุโบสถหลังเก่าที่อยู่ถัดไป ซึ่งได้รับ การบูรณะให้มีความสมบูรณ์และงดงามมาก พร้ อ มกั บ ขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น โบราณสถาน ของชาติ ส่วนพระอุโบสถทรงปราสาทจัตรุ มุข หลังใหญ่ท่ีมองเห็นชัดเจนจากหอชมเมืองนั้น สร้างขึ้นใหม่ในภายหลัง

The pagoda which dates back to Ay u t t h a y a E m p i r e r e s e m b l e s a reverse bell-shape and is decorated with five-colored porcelain pieces. The monument is patterned with traditional ornaments; a three-level lotus pattern can be seen. Its beauty is worthy of the sheer faith and respect from believers as a scared monument of Samutprakan which stands alongside the ordination hall close by (Ubosot). The Ubosot was restored to its former glory with a designationof national heritage site. However, t h e fo u r- f a ce d Ubosot nearby that can be seen from the Observation Tower was built much later.

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 73

พระเจดี ย ์ วั ด พิ ชั ย สงคราม ศิ ล ปะ สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาตอนปลายซึ่ ง เป็ น พระเจดี ย ์ ท รงระฆั ง ที่ ป ระดั บ ด้ ว ย ถ้วยชามเบญรงค์ตกแต่งด้วยลายปูนปัน้ เป็นสร้อยสังวาลย์ และมีบัวกลุ่มปูนปั้น ประดับรอบเจดีย์ ๓ ชั้น Bell shaped pagoda in Pichai Sonkram Temple, a piece of art formed during the late Krungsri Ayudhaya period. It is decorated with Thai crockeries and uses stucco technique to create patterns of Thai breast chain.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 75

วิหารพระพุทธชินราชมงคลปราการ จุดท่องเที่ยว ย่ า นใกล้ ห อชมเมื อ ง ที่ น ่ า แวะเข้ า ไปสั ก การะ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ปางเดี ย วกั บ พระพุ ท ธชิ น ราชแห่ ง วั ด พระศรี ม หาธาตุ จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก ภายในมี ภาพจิตรกรรมฝาผนังวิจิตรสวยงามมาก เปิดให้ชม ทุ ก วั น ในเวลาราชการ ยกเว้ น เสาร์ - อาทิ ต ย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์

Situated near the Observation Tower, the Vihara of Phra Bhuddha Chinnarat Mongkolprakan is another spot to visit and pay homage to Phra Buddha Chinnarat, an identical style of buddha image with the one in Phra Sri Mahatat Temple, Phitsanulok province. Its interior wall is fully decorated with exquisite mural paintings. It opens every day during office hours and closes on weekends and public holidays. AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


ชมเจดี ย ์ แ ละพระอุ โ บสถเก่ า แก่ ข อง วั ด พิ ชั ย สงครามแล้ ว ย้ อ นออกมาที่ ถ นน ประโคนชัย ก่อนเดินเที่ยวต่อไป มาท�ำความ รู ้ จั ก กั บ ถนนสายประวั ติ ศ าสตร์ เ ส้ น นี้ ก ่ อ น ถนนประโคนชัยเป็น ๑ ใน ๔ ถนนสายส�ำคัญ คู ่ เ มื อ งปากน�้ ำ ชื่ อ ของถนนตั้ ง ขึ้ น เป็ น ที่ ระลึกถึงป้อมปราการส�ำคัญของเมืองปากน�้ำ ที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๒ มีการก่อสร้าง ป้ อ มปราการต่ า งๆ กระทั่ ง แล้ ว เสร็ จ ใน สมั ย รั ช กาลที่ ๓ ให้ ชื่ อ ป้ อ มประโคนชั ย ป้อมนารายณ์ปราบศึก ป้อมปราการ และ

สิงหาคม - กันยายน 2561

ป้อมกายสิทธิ์ ภายหลังป้อมทั้ง ๔ ป้อมช�ำรุด ทรุ ด โทรมจนต้ อ งรื้ อ ทิ้ ง ไป เหลื อ เพี ย งชื่ อ ที่ถูกน�ำมาตั้งเป็นชื่อถนนสายส�ำคัญของเมือง ปากน�้ำ ถนนประโคนชัยเป็นถนนเดินรถทางเดียว ที่เข้าสู่ตลาดปากน�้ำ และจะผ่านศาลเจ้าพ่อ หลักเมืองสมุทรปราการ (ปากน�้ำ) ซึ่งเป็น สถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิอ์ กี แห่งทีค่ วรแวะไปกราบไหว้ นมัสการเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล มีสถาปัตยกรรม เป็นศาลเจ้าพ่อแบบจีน ด้วยสาเหตุที่บริเวณ ชุมชนแห่งนี้มีชาวจีนเข้ามาตั้งรกรากค้าขาย

After enjoying the pagoda and t h e u b o s o t o f Wa t P h i c h a i Songkhram Temple, we take off onto Prakhon Chai Road. Let us first get acquainted with this historic road. Prakhon Chai Road is one of the four main roads in Samutprakan. Its name is in memory of a major fortress that was built during the reign of King Rama II. Construction of 4 major battle fortresses in Samutprakan took place and the project was completed in the era

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 77

of King Rama III. Each fort was given a name of Prakhon Chai Fort, Narai Prab Suek Fort, Prakan Fort and Kai Sit Fort. These were later demolished due to their ruins, leaving behind their names as the city main roads. Prakhon Chai Road is a one-way path leading to Pak Nam Market. It passes the City Pillar Shrine, which is another sacred ground everyone should visit for good fortune. The

architecture resembles a Chinese shrine, which is influenced by the Chinese settlers that came for trade in the past. They helped build the shrine by combining Chinese and Thai cultures. The city god inside the shrine resembles ancient Chinese nobility sitting on a throne. The city pillar is round edge and 3-meter high. The top of the pillar is bolted and carved with Thai blooming lotus patterns with a Chinese-style dragon climbing up the pillar.

เป็ น เวลาช้ า นาน จึ ง ได้ ร ่ ว มมื อ กั น สร้ า ง ศาลหลั ก เมื อ งแห่ ง นี้ ขึ้ น มาด้ ว ยการน� ำ วัฒนธรรมจีนมาผสมผสานกับวัฒนธรรมไทย ภายในศาลหลั ก เมื อ งมี เ จ้ า พ่ อ หลั ก เมื อ ง ลั ก ษณะเป็ น ขุ น นางจี น โบราณแต่ ง เครื่ อ ง แบบนั่ ง อยู ่ บ นเก้ า อี้ และเสาหลั ก เมื อ ง สมุทรปราการเป็นไม้กลมความสูง ๖ ศอก ส่ ว นยอดบนของเสาหลั ก เมื อ งกลึ ง เป็ น ดุ ม ลดหลั่ น ยอดเสาแกะสลั ก เป็ น พุ ่ ม แหลม รู ป ดอกบั ว ตู ม อย่ า งไทย แต่ แ กะสลั ก เป็ น มังกรปีนเสาหลักเมืองขึ้นไป

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 79

เดินเลยจากศาลเจ้าพ่อหลักเมืองตรงไป เรือ่ ยๆ จะไปถึงวงเวียนท้ายบ้าน แล้วอ้อมกลับ มาอีกด้านหนึ่งของตลาดปากน�้ำตามเส้นทาง เดินรถทางเดียวของถนนศรีสมุทร แต่ถา้ เลือก เดิ น แยกจากศาลเจ้ า พ่ อ หลั ก เมื อ งไปตาม ถนนหลักเมือง จะตัดตรงไปถึงถนนศรีสมุทร ตรงหน้าตลาดวิบูลย์ศรี ผ่านอาคารพาณิชย์ ของตลาดปากน�ำ้ ต่อเนือ่ งไป ส่วนใหญ่เปิดเป็น ร้านค้าขายของอุปโภคบริโภคและร้านอาหาร ตามสั่งสารพัดอย่างให้เลือกซื้อหา อิ่มอร่อย ในบรรยากาศตลาดการค้าที่คึกคักตลอดวัน ทันทีทอี่ อกมาถึงริมถนนศรีสมุทร บนถนน จะยิง่ คับคัง่ ไปด้วยยวดยาน เพราะเป็นเส้นทาง วั น เวย์ มุ ่ ง ออกจากเมื อ งปากน�้ ำ พอเดิ น เลี้ยวขวาไปตามฟุตบาทที่จอแจไปด้วยผู้คน จะเจอร้านลิ้มด�ำรงค์ ร้านขนมของฝากเก่าแก่ หน้ า ร้ า นมี เ ตาปิ ้ ง ขนมให้ สั ง เกต แวะชิ ม และซื้อขนมจาก ขนมพื้นถิ่นยอดนิยมของ เมืองปากน�้ำกลับไปเป็นของฝาก นอกจากนี้ ร้ า นลิ้มด�ำรงค์ยังท�ำข้าวเหนียวปิ้งขายคู่กับ ขนมจาก รวมทั้ ง ข้ า วเหนี ย วมะม่ ว งและ ข้าวเหนียวหน้าต่างๆ อีกด้วย Moving along the road away from the shrine, you will meet Wong Wian Tai Ban roundabout which will take you to the other side of Samutprakan on Sri Samut Road. However, you will enter Sri Samut Road just outside Pak Nam Market should you choose to walk from the shrine on Lak Mueang Road. You will pass a lineup of shop houses selling consumer goods and various food stalls offering a wide selection of deliciousness in the vibrant market environment. Sri Samut Road, is bustling with cars heading out of Samutprakan on a one-way street. Turning right and walk along the crowded footpath, you will find Lim Dam Rong Restaurant, an original Thai dessert house. A grill stands in front of the restaurant to let passersby taste and buy Kanom Chak, a local specialty from Samutprakan made from nipa palm fruits, as a souvenir. Other than Kanom Chak, Lim Dam Rong also offers toasted sticky rice with assorted fillings, mango & sticky rice and sweetened sticky rice with various toppings.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


จากนัน้ ข้ามถนนศรีสมุทร แล้วเดินเข้าไปใน ตลาดวิบลู ย์ศรีเพือ่ ชมทิวทัศน์แม่นำ�้ เจ้าพระยา บริเวณท่าเรือข้ามฟากไปฝั่งพระสมุทรเจดีย์ ที่สามารถมองเห็นได้จากหอชมเมือง ตลาด วิบลู ย์ศรีเป็นตลาดเก่าแก่ทเี่ น้นขายอาหารสด และอาหารแห้งสารพัน มีอาหารทะเลนานา ชนิดเป็นจุดเด่นสมกับเป็นหัวเมืองชายทะเล ตลาดวิ บู ล ย์ ศ รี ยั ง เชื่ อ มต่ อ กั บ ตลาดเพชร และตลาดบางฆ้ อ ง สามารถเดิ น เลื อ กซื้ อ ของกินทั้งสดและแห้งต่อเนื่องทั้ง ๓ ตลาด กลับไปปรุงอาหารได้ในราคาไม่แพง ฝั่งตรงข้ามตลาดวิบูลย์ศรีจะมีทางแยก ไปตามถนนนารายณ์ปราบศึก จากตรงนั้น จะเห็นสถาปัตยกรรมรูปทรงแปลกตาดูคล้าย ท่ อ ขนาดใหญ่ กั บ ช่ อ งโปร่ ง ทรงสู ง ด้ า นบน

สิงหาคม - กันยายน 2561

ตั้ ง โดดเด่ น กลางถนนเป็ น วงเวี ย นให้ ร ถ อ้ อ มผ่ า น นี่ คื อ อนุ ส รณ์ ส ถานเพื่ อ ร� ำ ลึ ก ถึ ง เส้ น ทางรถไฟสายกรุ ง เทพฯ-ปากน�้ ำ ซึ่ ง เป็นเส้นทางรถไฟสายแรกของประเทศไทย ที่ ตั ด จากกรุ ง เทพฯ มาถึ ง ปากน�้ ำ ในสมั ย รัชกาลที่ ๕ โดยสิ้นสุดที่ตลาดวิบูลย์ศรีซึ่งเคย เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟปากน�้ำเมื่อครั้งอดีต เดิ น ตามถนนศรี ส มุ ท รตรงไปเรื่ อ ยๆ จะผ่ า นศาลากลางจั ง หวั ด สมุ ท รปราการ จนมาบรรจบกับถนนสุขุมวิท และเมื่อเลี้ยว ไปทางขวาอีกนิดเดียวจะกลับมาถึงหอชมเมือง สมุทรปราการอีกครัง้ พร้อมสิน้ สุดการเทีย่ วชม เมื อ งปากน�้ ำ ผ่ า นสายตาจากหอชมเมื อ ง และลงมาเดินสัมผัสด้วยตนเอง

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 81

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 83

We later cross Sri Samut Road into Pak Nam Market to admire the riverside view from the pier with ferries crossing back and forth Phra Samut Chedi Pagoda – a landmark also visible from the Observation Tower. Pak Nam Market is an old market that offers a combination of fresh and processed food. Various types of seafood are the signature of the market that sits on the seaside city. The market also neighbors Petch Market and Bang Khong Market; visitors can browse and select a huge variety of ingredients from the 3 markets back home to cook a tasty meal for a comfortable price. Across the road, there is a Narai Prab Suek Road leading away from the market toward a strange-looking architecture resembling a large chimney with opening at the top that stands in the middle of the roundabout. This is a monument built in memory of the Bangkok – Pak Nam railroad that was the first route linking Bangkok and Pak Nam during the reign of King Rama V. Pak Nam terminal station once stood where Pak Nam Market now thrives. Traveling down the Sri Samut Road, you will pass the city hall and enter the Sukhumvit Road. Slightly down the right turn you will come back to the Samutprakan Observation Tower which marks the end of Samutprakan sight-seeing trip from the Observation Tower and walking tour.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


เต้ น ท์ ผ ้ า ใบแรงดึ ง สู ง บริเวณริม เขื่อน หน้าศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ ซึง่ เริม่ ติดตัง้ ในปีพ.ศ. ๒๕๖๑ ช่วยเปลีย่ น มุมมองใหม่ให้กับเมืองปากน�้ำ High tensile tent located nearby the damn in front of Samutprakan town hall. It was constructed in 2018 and it gives people a new perspective towards Paknam city.

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 85

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


GREEN TRIP

green trip

G R E E N C O M M U N I T Y | S P I R I T O F N AT U R E

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 87

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


G R E E N S PA C E / D A E N G M U S H R O O M FA R M

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 89

DAENG MUSHROOM FARM CULTIVATING HAPPINESS AND FRIENDSHIP

ฟาร์มเห็ดช่างแดง แห่งบางกะเจ้า

ฟาร์มเพาะความสุขและมิตรภาพ

เริม่ จากลองผิดลองถูก ผ่านอุปสรรคมากมาย จนมาถึงวันนี้ ฟาร์มเห็ดช่างแดงกลายเป็น ฟาร์มเห็ดครบวงจรแห่งเดียวของบางกะเจ้า เป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยว และเป็นศูนย์ เรียนรู้ของชุมชน ที่นอกจากจะสร้างรายได้ ให้แก่ผู้คนแล้วยังมอบความสุขให้ผู้ที่มา เยี่ยมเยือนอีกด้วย

t began with trials and error and IMushroom countless mistakes. Today, Daeng Farm has become a full-scale

mushroom farm in Bang Kachao and is a tourist destination as well as a local community’s learning center. Apart from providing the locals with income, the farm also gives happiness back to all visitors.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


types of mushrooms which all began from passion” says Daeng’s son – Thom, Danupol Hormbanyen, who happily tells us the story of this farm. When asked of the cultivating process, Thom gladly reveals us all the tricks that all that is needed is only a little amount of sawdust, gypsum, lime, salts, flour and food supplements mixing together in the right proportion into mushroom substrate which is later sterilized. Sterilization duration starts from flaming up the gas already takes up to 2 hours for the temperature to reach 100 °C with further 4 hours at less heat before the substrate is removed from the autoclave for cooling. Afterwards, the spores are mixed into the substrate and left in the fruiting chamber between 30-45 days before the puffballs are ready to be sold to other farms or for fruiting. The most challenging factor is Thailand’s hot weather. The mushrooms simply cannot adapt to the changing climate. If there are 3 consecutive days of rain, the mushrooms will grow much faster so less watering is needed. If the moisture increases then they will rot. If the weather is too hot, then the mushrooms won’t grow or will grow a tiny amount and slowly die. People who wish to start a mushroom farming business or to make some extra money should begin with marketable mushrooms such as oyster mushrooms or phoenix mushroom because there is no need for a wholesaler. However, a nursery is required to control the temperature. The puffballs need constant upkeep. The fruiting will take place after 7 days if the temperature does not go over 28 °C and moisture content at 70-80%.

aeng Mushroom Farm is a cozy D plantation started with the passion of Daeng, Somsak Chaikhueankhan

12 years ago when he collected spores for sale. However, he was not able to turn profits so he started studying more about fungus. Now, he is able to deliver mushrooms to other farms and across the country.

สิงหาคม - กันยายน 2561

“We started from scratch. There was a lot of damage and no fruition. My father enjoys farming. He likes to grow strange vegetables. For mushrooms, he cultivates those that mostly grow in the ground such as golden oyster mushroom and pink ginkgo which aren’t usually farmed. Moreover, we are in a tourist spot. The tourists enjoy it because we have various

“The reason why we hold no secret is because father lost a lot before he can succeed. It is like putting others in your shoes, because we failed before that’s why we want others to succeed. We want to help strengthen the local community. A lot of residents from Bang Krachao purchase puffballs from us. Then they would return in the morning to deliver the mushrooms. We gladly help with every step of fungiculture, even to those who don’t purchase puffballs from us free of charge. The recipe for fermented mushrooms is on our Facebook page. We have various recipes for processed mushrooms such as fried mushrooms, mushroom jelly, fermented mushrooms, and spicy mushroom sauce which are ordered from our regular customers or via Facebook” SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 91

ฟาร์ ม เห็ ด ช่ า งแดงเป็ น ฟาร์ ม เล็ ก ๆ ที่ ท� ำ ด้วยใจรักการเกษตรของ ช่างแดง-สมศักดิ์ ชัยเขื่อนขันธ์ ที่เมื่อ ๑๒ ปีก่อน เริ่มจาก การไปรับก้อนเชื้อเห็ดแล้วน�ำมาขาย แต่ได้ ไม่คุ้มเสีย จึงเริ่มศึกษาเองและจับสูตรได้ กระทัง่ สามารถผลิตก้อนเชือ้ เห็ดส่งลูกฟาร์ม และผลิตเห็ดขายส่งทั่วประเทศ “เราเริ่มต้นจากศูนย์เลย แรกๆ ก็เสียหาย เยอะ ท�ำแล้วไม่ออกดอก แต่คุณพ่อชอบท�ำ เกษตร แกจะชอบปลูกผักแปลกๆ อย่างเห็ด ก็พวกเห็ดทีเ่ พาะในดิน ส่วนมากทีอ่ นื่ ไม่คอ่ ยท�ำ เห็ดนางรมทอง เห็ดนางนวลสีชมพู อีกอย่าง เราอยูใ่ นแหล่งท่องเทีย่ ว เราท�ำแล้วนักท่องเทีย่ ว ก็ชอบ เพราะมีเห็ดหลายสายพันธุ์ ก็เริม่ ต้นจาก ความชอบครับ” คุณต้อม-ดนุพล หอมบานเย็น ลูกชายช่างแดงขออาสาเป็นผูบ้ อกเล่าเรือ่ งราว ฟาร์มแห่งนี้ให้แก่เรา

เมือ่ ถามถึงขัน้ ตอนการเพาะเห็ด คุณต้อม อธิบายแบบไม่กั๊กสูตรเลยสักนิดว่า เพียงแค่ มีขี้เลื่อย ร�ำ ยิปซัม ปูนขาว ดีเกลือ แป้ง อาหารเสริม แล้วน�ำมาคลุกเคล้าตามอัตราส่วน ท�ำเป็นก้อนแล้วก็ฆา่ เชือ้ เวลาการฆ่าเชือ้ นับจาก ทีจ่ ดุ แก๊ส กว่าจะขึน้ ถึง ๑๐๐ องศา จะใช้เวลา ประมาณ ๒ ชัว่ โมง แล้วหรีแ่ ก๊สรออีก ๔ ชัว่ โมง ถึงเอาก้อนเชื้อเห็ดออกจากเตา ทิ้งไว้ให้เย็น จากนั้ น เลื อ กเชื้ อ สายพั น ธุ ์ เ ห็ ด ที่ จ ะหยอด หยอดเสร็จเอาไปพักที่โรงเรือน ๓๐-๔๕ วัน ก้อนขาวก็พร้อมที่จะจ�ำหน่ายแก่ลูกฟาร์ม หรือพร้อมที่จะเปิดดอก แต่สงิ่ ทีย่ ากคือสภาพภูมอิ ากาศทีร่ อ้ นของ บ้านเรา เห็ดจะปรับตัวไม่ทนั ถ้าวันไหนฝนตก ๓ วันติด เห็ดจะออกเยอะมาก ก็ต้องรดน�้ำ น้อยลง เพราะถ้าความชื้นสูงมันก็กลายเป็น เชื้อรา ถ้าอากาศร้อนเห็ดก็ไม่ค่อยออกดอก หรือ ออกมาแล้ ว ดอกจะเล็ ก หรื อ เหี่ ย วแห้ ง แล้วฝ่อตาย

คนที่ ท� ำ เป็ น ธุ ร กิ จ หรื อ อาชี พ เสริ ม ควร เริ่ ม จากเห็ ด เศรษฐกิ จ เห็ ด นางรมฮั ง การี เห็ดนางฟ้าภูฏาน เพราะขายเองได้งา่ ย ไม่ตอ้ ง ผ่านพ่อค้าคนกลาง แต่จะต้องท�ำโรงเรือนขึน้ มา เพือ่ ควบคุมอุณหภูม ิ คอยดูแลหน้าก้อนเชือ้ เห็ด คอยแคะ หลังจากก้อน เชือ้ เห็ดเต็มรัดตัว ไม่เกิน ๗ วั น ก็ จ ะแทงดอก ถ้ า อุ ณ หภู มิ ไ ม่ เ กิ น ๒๘ องศา ความชื้นสัมพัทธ์อยู่ที่ ๗๐-๘๐ เปอร์เซ็นต์ เห็ดจะให้ผลผลิตที่ตรงเวลา “ที่ เราไม่ กั๊ ก สู ต รเพราะกว่ า คุ ณ พ่ อ จะ ประสบความส� ำ เร็ จ เนี่ ย ขาดทุ น ไปเยอะ เหมือนเอาใจเขามาใส่ใจเรา เพราะเราเคย พลาดมา ต้องใจรักด้วย แล้วใจอยากให้คนอืน่ ประสบความส�ำเร็จด้วย เราอยากมีส่วนช่วย ชุมชน อยากให้ตรงนี้เข้มแข็ง ในบางกะเจ้า ก็มีหลายท่านที่ซื้อก้อนเชื้อเห็ดเราไป ตอน เช้าก็มาส่งดอกเราแล้ว เราแนะน�ำทุกขั้นตอน ครับ หรือใครอยากทดลองเพาะเอง ถึงแม้ไม่ ได้ซื้อก้อนเชื้อเห็ดจากเราก็มาปรึกษาได้เลย AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


"เรามี ค วามสุ ข กั บ แค่ นี้ พ อ ความสุ ข เราไม่ ไ ด้ อ ยู ่ ท่ี เ รา ได้เงินมาเยอะๆ แต่เราเหนื่อย เกินไป เราก็สมดุลชีวติ ด้วยการ ทีเ่ อาก�ำไรแค่นแี้ หละ อยูก่ บั ผัก อยู่กับเห็ดตามรอยพ่อหลวง พอเพียงแล้ว"

Thom doesn’t stop there when his farming business is a success. He also opens a vegetarian restaurant where all the dishes are made from mushrooms and assorted vegetables, no meats. Even the drinks are extracted from the farm’s mushrooms. Snacks include candied mushrooms, mushroom jellies and mushroom crackers “The restaurant is doing really well. We only open on the weekend. At first there were only a few tables but the feedback has been surprising. This made me want to open a proper restaurant so I discussed with my mother and started off with a size of 6 sqm but later added 3 sqm to cater to สิงหาคม - กันยายน 2561

all the guests. If guests are in big groups, we would serve as if they are at a Chinese banquet. Sometimes reservations go up to over 100 guests and sometimes there are not enough mushroom products for sale. There are simply not enough mushrooms to be processed because the operation requires a large amount of mushrooms. We had to give priority to the farms so they wouldn’t lose their customers. Sometimes, if we fall short we would recommend other farms in the fungiculture network but if the faming customers are willing to wait for our plants then we are more than welcome. However, we need to let them know that the wait can last for months” SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 93

Apart from the restaurant, the Daeng Mushroom Farm also offers bike rental service which comes with a tour guide who also takes photographs on demand. This extra service was Thom’s idea. He grew up in the area with friends who know various paths in Bang Kachao locality. They want the visitors to get to know the natural beauty of Bang Krachao as much as they can. Instead of cycling along the defined routes, Daeng Mushroom Farm guides would take the tourists off to the routes where they can indulge in the true nature. A lot of people see opportunities for the mushroom farm to expand and generate more income. However, 32 year-old Thom tells us that he only wishes to live within his means and follows the King Rama IX’s economics of sufficiency principle. “We don’t want anything that big. Just let the cousins come and lend a helping hand from time to time is enough. We farm on weekdays and stop to welcome the guests because there are a lot of tourists on weekends. We keep it in the family. I don’t personally think that if we expand then we will make more money. Now I don’t have enough mushrooms to cultivate. We are happy as we are because our happiness is not making a lot of money but feeling exhausted. We need balance in life. Living alongside plants and mushrooms the way King Rama IX suggested with some profits is enough” It is made clear that happiness in Daeng’s family comes from doing something out of passion. Apart from sustainable business, happiness from seeing smiles on the faces of visitors and forming friendships is yet another profit. “You can see that everyone is happy here on the weekend. Customers who purchase puffballs are happy. As for the restaurant, many parents come up to me and say their children never eat vegetables; they don’t even want to try a mushroom but that changed when they tasted our fried mushrooms, then morning glory and beans. Nowadays, the kids regularly have vegetables with their meals. Little things like this make us smile. People who come here tend to chat to one another like family”

ไม่เสียค่าใช้จ่ายครับ แม้แต่สูตรท�ำแหนมเห็ด ในเฟซบุก๊ ผมก็บอกหมด เพราะเรามีผลิตภัณฑ์ แปรรูป เห็ดสามรส, วุ้นเห็ด, แหนมเห็ด, น�้ำพริกเห็ดด้วย ซึ่งจะมีกลุ่มที่สั่งซื้อเราจาก ทางไปรษณีย์และเฟซบุ๊กด้วย” เมื่อธุรกิจเพาะเห็ดอยู่ตัวและมั่นคงแล้ว คุ ณ ต้ อ มก็ ไ ม่ ห ยุ ด พั ฒ นาเพี ย งแค่ นั้ น ยั ง มี การต่ อ ยอดด้ ว ยการเปิ ด เป็ น ร้ า นอาหาร ที่ เ มนู ทั้ ง หมดไม่ มี เ นื้ อ สั ต ว์ มี แ ต่ เ มนู ผั ก และเมนู เ ห็ ด แม้ แ ต่ น�้ ำ ก็ เ อาเห็ ด มาสกั ด ขนมหวานก็มเี ห็ดเชือ่ ม วุน้ เห็ด ข้าวเกรียบเห็ด “ร้านอาหารน่าพอใจมาก เราจะเปิดแค่ วันเสาร์-อาทิตย์ จากมีไม่กโี่ ต๊ะ แล้วคนให้การ ตอบรับเยอะมาก มันบีบให้เราเริ่มอยากจะมี ร้านอาหาร ก็เลยคุยกับคุณแม่ ต่อยอดขึ้นมา ตอนแรกท�ำ ๖x๖ รองรับไม่ไหว ต้องต่อขึ้นมา อีกเกือบ ๓ เมตร ถ้าเข้ามาเป็นกรุ๊ปผมจะท�ำ เหมือนโต๊ะจีน บางครัง้ จองเข้ามาเป็นร้อยท่าน บางช่วงผลิตภัณฑ์แปรรูปก็ขาด ไม่พอขาย ดอกเห็ ด ไม่ พ อ เพราะการแปรรู ป แต่ ล ะ ครั้งต้องใช้ดอกเห็ดเยอะ ซึ่งเราต้องส่งก้อน เชื้อเห็ดให้ลูกฟาร์มก่อนเพื่อไม่ให้ลูกฟาร์ม เสียลูกค้า ซึ่งบางทีเราจะส่งต่อแนะน�ำให้ กลุม่ เพาะเห็ดทีเ่ ป็นพันธมิตรกัน แต่หากลูกค้า คนไหนยินดีที่จะรอเห็ดของเราก็โอเคครับ แต่เราก็ต้องแจ้งว่าอาจได้ช้าเป็นเดือนนะ”

นอกจากต่อยอดมีรา้ นอาหารแล้ว ฟาร์มเห็ด ช่างแดงยังมีบริการให้เช่าจักรยาน ซึ่งจะมีคน น�ำทางให้ ถ่ายรูปให้พร้อม การบริการเสริม ตรงนี้ เ กิ ด จากความคิ ด ของคุ ณ ต้ อ มที่ รู ้ จั ก เพื่ อ นที่ เ ติ บ โตและใช้ ชี วิ ต ที่ นี่ ม าตั้ ง แต่ เ ด็ ก เพือ่ นของคุณต้อมจะรูซ้ อยเล็กซอยใหญ่ พืน้ ที่ ของบางกะเจ้าทั้งหมด คุณต้อมและเพื่อนจึง อยากให้คนได้รู้จักพื้นที่ที่เป็นธรรมชาติของ บางกะเจ้าให้ได้มากที่สุด แทนที่นักท่องเที่ยว จะได้ปั่นแค่ที่เขามาร์กเอาไว้ แต่ไปกับคน น�ำทางของฟาร์มช่างแดงจะได้ไปในเส้นทาง ที่ได้สัมผัสความเป็นธรรมชาติอย่างแท้จริง หลายคนมองว่าธุรกิจฟาร์มเห็ดช่างแดง จะไปได้ไกลกว่านี้ มีโอกาสท�ำเงินได้มากกว่านี้ อีกหลายเท่า แต่คุณต้อม-ชายหนุ่มวัย ๓๒ ปี กลับบอกเราว่า ขอท�ำแค่ที่ไหว โดยยึดหลัก เศรษฐกิจพอเพียงของพ่อหลวง “เราไม่ได้ตอ้ งการท�ำใหญ่โตอะไรขนาดนัน้ ให้หลานๆ มาช่วย เราจะท�ำกันเอง วันธรรมดา ก็ทำ� ไป แต่วนั เสาร์-อาทิตย์เราหยุดท�ำ เรารับแขก เพราะที่นี่เป็นสถานที่ท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว จะเข้ามาเยอะ ท�ำเสร็จก็ไปส่ง หยุดแค่ธุรกิจ ในครอบครัว เราไม่ได้คดิ ว่าถ้าเราท�ำมากกว่านี้ เราจะได้เงินมากกว่านี้ อย่างตอนนี้ก้อนเชื้อ เห็ดผมก็ผลิตไม่ทัน ก็ไม่ค่อยมีก้อนเชื้อเห็ด เรามี ค วามสุ ข กั บ แค่ นี้ พ อ ความสุ ข เรา AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


I personally helped a group of mushroom farmers in Krabi. They have no market for their mushrooms; they messaged me asking if I could give them some recipes so I sent over recipes for fried mushrooms, fermented mushrooms and mushroom jellies. They set up booths at food events and succeeded. The sent over some gilled mushrooms as a token of gratitude and we formed a good friendship. We never grew gilled mushrooms and I never tasted them before. The merchants in Samutprakan selling fermented mushrooms salad came to me for recipes as well. Other than this, another of Thom’s goal is to help complete his father’s wish to help strengthen the community of Bang Kachao.

ไม่ได้อยู่ที่เราได้เงินมาเยอะๆ แต่เราเหนื่อย เกินไป เราก็สมดุลชีวิตด้วยการที่เอาก�ำไร แค่ นี้ แ หละ อยู ่ กั บ ผั ก อยู ่ กั บ เห็ ด ตามรอย พ่อหลวง พอเพียงแล้ว” เป็นการย�้ำชัดแล้วว่า ความสุขที่ยิ่งใหญ่ ที่ ก ่ อ เกิ ด ในใจของทุ ก คนในครอบครั ว ของ ฟาร์มช่างแดงนั้นมาจากการท�ำทุกอย่างด้วย ใจรั ก อย่ า งแท้ จ ริ ง ซึ่ ง ผลลั พ ธ์ ที่ ไ ด้ ต ามมา นอกจากจะเป็ น รายได้ ที่ มั่ น คงแล้ ว ยั ง มี ความสุ ข ที่ เ กิ ด จากรอยยิ้ ม ของคนที่ เข้ า มา เยี่ยมชมสถานที่แห่งนี้และมิตรภาพที่มาจาก การมอบความจริงใจและสิ่งดีๆ ให้แก่กัน “จะเห็นว่าวันเสาร์-อาทิตย์คนทีเ่ ข้ามาจะ มีรอยยิ้มกันทุกคน คนที่มาซื้อก้อนกลับเขาก็ แฮปปี้ อย่างผมเปิดเป็นร้านอาหาร ผูป้ กครอง หลายๆ ท่านก็มาบอกผมว่า ลูกเขาไม่เคยกิน ผักเลย กินเห็ดก็ไม่กล้า พอมาเจอเห็ดทอดเรา ก็เริ่มจากการกินผักเป็น ก็แฮปปี้ พาลูกมากิน ผักบุง้ ถัว่ งอก ทุกวันนีล้ กู เขาเริม่ กินผักเก่งแล้ว เริม่ จากทีน่ ี่ แค่นเี้ ราก็มรี อยยิม้ แล้ว คนทีม่ าทีน่ ี่ ก็พดู คุยกันเหมือนเป็นเพือ่ นเป็นพีเ่ ป็นน้องกัน” “อย่างผมสอนชาวบ้านที่อยู่จังหวัดกระบี่ เขาท�ำเห็ดแล้วไม่มีตลาด เขาก็แชตมาหาผม ว่าผมหวงสูตรมั้ย เขาอยากแปรรูป ผมก็ส่ง สูตรไป เห็ดสามรส แหนมเห็ด วุ้นเห็ด เขาก็ ประสบความส�ำเร็จ ออกบูธ เขาก็สง่ เห็ดแครง จากกระบี่มาขอบคุณผม เราก็ได้มิตรภาพที่ดี สิงหาคม - กันยายน 2561

อีกอย่างเห็ดแครงผมไม่เคยเพาะ ยังไม่เคยกิน ผมก็ได้กิน ที่เขาขายเห็ดแหนม แหนมคลุก กันในสมุทรปราการเขาก็มาถามผมนะ” นอกเหนือไปกว่านั้นการมีส่วนช่วยท�ำให้ ชุ ม ชนบางกะเจ้ า เข้ ม แข็ ง มากขึ้ น ก็ เ ป็ น อี ก วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ที่ คุ ณ ต้ อ มอยากต่ อ ยอด เจตนารมณ์นี้ของคุณพ่อให้ส�ำเร็จ “ฟาร์มเราจะมีนักท่องเที่ยวหลายชาติ มี ไ กด์ ฝ รั่ ง เข้ า มาทุ ก วั น วั น เสาร์ - อาทิ ต ย์ จะเยอะ เราไม่เก็บค่าอะไรทัง้ สิน้ ให้คนเข้ามาดู มาศึกษาฟรี เวลาคนเข้าโรงเห็ดจะมีคนคอย แนะน�ำตลอด บางคนก็บอกว่าท�ำไมไม่ท�ำ ป้ายติดไว้ว่าเห็ดนี้คืออะไร มีประโยชน์อะไร บ้าง ผมบอกว่าผมไม่ท�ำละครับ เพราะมันสู้ คนไม่ได้ คนยังถามตอบได้ ป้ายมันถามตอบ ไม่ได้ คุณสงสัยตรงไหนคุณถามมาเลย “เราไม่ได้ท�ำเชิงธุรกิจเกินไป คืออยาก คืน ก�ำไรให้ชุมชนบ้ า ง อยากให้ บางกะเจ้ า มีศูนย์เรียนรู้ เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เข้ามา เพราะส่ ว นมากเดี๋ ย วนี้ พื้ น ที่ เ กื อ บทั้ ง หมด จะเป็นธุรกิจแทบทั้งหมด ท�ำอะไรก็เป็นเงิน เป็นทองหมดแล้ว แต่ยังไม่มีใครคืนให้กับ ชุมชนให้มันเข้มแข็งกว่านี้” และนีค่ อื หนึง่ ใน “ชุมชนสีเขียว” ทีส่ ามารถ สร้างตัวเองได้อย่างมัน่ คงและมีความสุข พร้อมทัง้ ยั ง ช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ ชุ ม ชนของตั ว เองมี ค วาม เจริญก้าวหน้าอย่างถาวรอีกด้วย

“Our farm is frequented by tourists from many countries. There are western tour guides that visit daily, more so on the weekends. We don’t charge any fees; we simply allow all visitors to freely watch and learn. The staff are happy to provide information to visitors who enter the farming area. Some people ask why we don’t put up signs with details of each mushroom, what are their uses, etc. I would say no because it is unmatched with real people who can give you clear answers. The signs cannot do that; any questions are welcomed here. We are not too focused on the business side as we wish to provide the community with profits. We want Bang Kachao to have a learning center for tourists to visit as most of the area nowadays is commercialized; everything is money. No one has yet given back to strengthen the community.” This is a “green community” that is able to live happily and sustainably while helping the local community to prosper.

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 95

ฟาร์มเห็ดช่างแดง เลขที่ ๘/๖ หมู่ ๑๒ ต�ำบลบางกอบัว อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๔๓๑๗ ๗๔๐๙, ๐๘​ ๙๐๖๘​ ๘๘๖๙ ​ Facebook: ฟาร์มเห็ดช่างแดง พระประแดง

Daeng Mushroom Farm 8/6 Moo 12 Bang Ko Bua, Phra Pradaeng, Samutprakan 10130 For more information, please call 08 4317 7409 or 08 9068 8869 Facebook: @Daengteam2

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


N AT U R E J O U R N E Y / B L U M E

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 97

BLUME

THE COASTAL TREE

รุ่ย

ไม้ใกล้ฝั่ง รุ่ย เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มักขึ้นอยู่ บริเวณน�้ำกร่อยแถบป่าชายเลน แทรก อยู ่ กั บ ต้ น โกงกาง มองจากภายนอก ต้นรุ่ยกับโกงกางจะมีลักษณะไม่ค่อย แตกต่างกันนัก

B

lume is a mid-size perennial plant that grows on coastal saline alongside mangrove trees. With naked eyes, Blume and mangroves are not particularly different.

Sakhla Village is believed be the only place where a dozen of Blume grow by the local’s aquafarms. The elders point out that Blume has become increasingly rare as time goes by and is unknown to the younger generation. Although the plant can be used to cook and make desserts, it is not very popular because of the complicated preparation. However, the stem is often used as firewood for cooking and possesses the same characteristics as firewood from typical mangrove trees.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


The bark of the tree is rough and rugged with roots crawling up from the ground. The flowers blossom into light green color. The fruit is long in shape resembling beans. The young beans are green in color but will eventually turn brownish-purple when ripe and drop from the tree. They are mildly bitter and puckery, and are not very popular because of the bitter taste that lingers on the tongue reminding d i n e r s o f wo r mwo o d. Ripe beans that fall to the bottom of the trees can be used to prepare meals; however, the taste must be treated. The most common method is to boil in syrup. The skin of the beans is first removed until the pulp inside the pod is seen. This is difficult because only a broken tile can be used to skin off Blume beans; any shaper tools may cut off the pulp along with the skin. The bean pulp is later boiled to rid of the bitterness and later bathed in limewater. We ask the locals as to how they can tell whether the beans are no longer bitter. They claim that the bitterness will be gone after a few baths. They also let us in on a little tip that adding a small amount of ashes into boiling water will speed up the flavoring process. Some people prepare the beans for the entire day before cooking them. Even though Blume has many uses, a few people are aware of its existence. If you are interested in seeing what the trees are like at Ban Sakhla Village, pay a visit to the aquafarming area outside the village to witness a rare coastal plant called ‘Blume’.

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 99

หมู่บ้านสาขลานับว่าเป็นแหล่งเดียวที่มีต้นรุ่ย ปลูกเรียงรายอยู่เกือบนับสิบต้น ขึ้นอยู่ริมฝั่ง ตามคันวังของชาวบ้านในหมู่บ้าน คนเก่าแก่ หลายคนบอกว่านับวันรุ่ยเริ่มหายากขึ้นทุกที คนรุ่นใหม่เริ่มไม่ค่อยรู้จักแล้ว แม้รุ่ยจะน�ำ มาประกอบอาหารทัง้ คาวหวานได้แต่กไ็ ม่คอ่ ย เป็นที่นิยมเท่าไรนัก เพราะท�ำยาก แต่ล�ำต้น นิ ย มน� ำ มาท� ำ เป็ น ฟื น ใช้ ป ระกอบอาหาร คุณสมบัติเหมือนกับฟืนที่ท�ำจากต้นโกงกาง เปลื อ กของล� ำ ต้ น รุ ่ ย ค่ อ นข้ า งหยาบ รากจะโผล่ขึ้นเหนือผืนดิน ดอกออกเป็นช่อมี สีเขียวอ่อน ผลของรุ่ยยาวเรียวเป็นฝักคล้าย ฝักถั่ว ถ้าผลยังอ่อนจะเป็นสีเขียว เมื่อแก่ จนร่วงลงใต้โคนต้นจะเป็นสีน�้ำตาลอมม่วง รสชาติของฝักรุย่ แบบอ่อนจะขม ฝาด คนไม่นยิ ม กินเพราะรสขมที่ติดลิ้นเหมือนกับบอระเพ็ด นั่นเอง แม้ฝักแก่ที่ร่วงอยู่ตามโคนต้นจะน�ำ มาประกอบอาหารได้แต่ก็ต้องผ่านการท�ำให้ รสฝาดที่หลงเหลืออยู่หายไปเสียก่อน ที่นิยม ท�ำมากที่สุดคือการน�ำไปเชื่อม

เราถามชาวบ้านว่า เมื่อไรจะรู้ว่า "รุ่ย" หายฝาด ค�ำตอบที่ได้คือ ต้มไปสัก ๓ น�้ำก็รู้เรื่องแล้ว เคล็ดลับคือ ใส่ขี้เถ้าลงไปในน�้ำด้วย เพราะขี้เถ้ามีคุณสมบัติ ช่วยท�ำให้รุ่ยนั้นหายฝาดได้ บางคนก็กะเวลาเป็นวัน เพื่อให้ฝักรุ่ยลาขาด จากความฝาดของมัน

ในการน�ำฝักรุย่ ไปประกอบอาหารทุกครัง้ ต้องผ่านการขูดเปลือกออกเสียก่อนจนเห็น เนื้อข้างในฝัก การขูดเปลือกก็แสนยากเพราะ ต้องใช้กระเบื้องที่แตกขูดออก หากใช้มีดที่มี ความคมมากกว่ากระเบื้องจะเฉือนเนื้อของ ฝั ก รุ ่ ย ออกไปหมดเสี ย ก่ อ น จากนั้ น น� ำ ไป แช่นำ�้ ปูนใสก่อนเอาไปต้มจนความฝาดนัน้ หาย เราถามชาวบ้ า นว่ า เมื่ อ ไรจะรู ้ ว ่ า หายฝาด ค�ำตอบที่ได้คือต้มไปสัก ๓ น�้ำก็รู้เรื่องแล้ว แถมยั ง ให้ เ คล็ ด ลั บ ว่ า ควรใส่ ขี้ เ ถ้ า ลงไปใน น�้ำด้วย เพราะขี้เถ้ามีคุณสมบัติช่วยท�ำให้ รุ่ยนั้นหายฝาดได้ บางคนก็กะเวลาเป็นวัน เพื่ อ ให้ ฝ ั ก รุ ่ ย ลาขาดจากความฝาดของมั น ก่อนน�ำไปประกอบอาหารตามกรรมวิธี แม้ส่วนต่างๆ ของรุ่ยจะน�ำมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ได้แต่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักนัก ถ้าใคร อยากมาเยี่ยมชมแหงนคอมองต้นรุ่ยที่อยู่ ตรงหมู่บ้านสาขลา สามารถมาเยี่ยมชมได้ ที่นี่ โดยเดินออกจากหมู่บ้านมาตรงคันวัง ก็ จ ะได้ เ ห็ น กั น ว่ า ไม้ ใ กล้ ฝ ั ่ ง ที่ ชื่ อ “รุ ่ ย ” หน้าตาเป็นอย่างไร AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


LIFESTYLE

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 101

inspired trip

E AT & D R I N K | G O O D R E C I P E O T O P S H O P P I N G | M A K E A R E S E R VAT I O N SUMUTPRAKAN HOT SHOT | CALENDAR

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


G O O D R E C I P E / M I A N G K A M PA K L A D

MIANG KAM PAK LAD

(SAVORY LEAF WRAPS) A HERBAL MEDICINE

เมี่ยงค�ำปากลัด สมุนไพรอโรคยา สิงหาคม - กันยายน 2561

หากเราเดิ น ลั ด เลาะจากริ ม คลองลั ด หลวง ผ่านหน้าวัดจวนตรงทางเข้าหมู่บ้านบ้านดัง และเดินข้ามสะพานไปอีกฝั่งของคลองเราจะ เข้าสู่กวานเว่ขะราว ค�ำว่า “กวาน” เป็นภาษา มอญ แปลว่า หมู่บ้าน หมู่บ้านเว่ขะราวจึงเป็น ทีอ่ ยูข่ องคนเชือ้ สายมอญในอ�ำเภอพระประแดง เรามาที่นี่เพื่อตามหา “เมี่ยงค�ำปากลัด” ของกินเล่นธรรมดาแต่แสนอร่อยและขึ้นชื่อ “เมี่ยงค�ำปากลัด” เป็นอาหารขึ้นชื่อประจ�ำ หมู่บ้าน โดยมีป้าคิดซึ่งสืบทอดการท�ำเมี่ยงค�ำ จากรุ่นคุณแม่ต่อเนื่องมานานกว่า ๕๐ ปี

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 103

hile walking W along Lad Luang Canal, the two of us

passed a temple and Ban Dang village. As we walk further down, we crossed a bridge to the other side of the canal to enter “Kwan Ve Ka Rao”. The word “Kwan” in Mon language means village, therefore, the locals in Kwan Ve Ka Rao village are mostly Mons that are living in Phra Phadaeng District.

We came all the way here to look for “Miang Kam Pak Lad”, the famous savory leaf wraps. The village is famous for “Miang Kam Pak Lad”, a signature recipe which aunty Kid’s mother has passed on to her 50 years ago. “Aunty Kid” offered us a warm welcome by preparing us with some food in a “Khan Toke” (wooden utensils often used in northern Thailand). There’s actually a trick to enhance the taste of savory leaf wraps that not many k nows of. The trick is to consume it while there is an ongoing conversation with your relatives or visitors.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


“ป้าคิด” เตรียมส่วนประกอบการกินจัดไว้ ในขันโตกรอต้อนรับพวกเรา การกินเมี่ยงค�ำ ให้อร่อยมีเคล็ดลับอย่างหนึ่งที่ใครหลายคน อาจจะไม่รู้ นั่นคือ ต้องกินระหว่างล้อมวง พูดคุยกันในหมู่ญาติหรือแขกที่มาเยี่ยมเยียน เริ่มต้นด้วยการเจียนใบพลูทั้งหัวและท้าย ให้สวยเสียก่อนจะหยิบสิง่ ทีจ่ ะต้องตักใส่เป็นค�ำ อย่างละเล็กอย่างละน้อย เช่น ขิงที่ถูกหั่น จนเหลือชิ้นเล็ก หอมแดงหยิบมาสัก ๑ เสี้ยว มะนาวที่ถูกหั่นเป็นเสี้ยวเล็กๆ ก็หยิบมาตาม ชอบใจ กุ้งแห้งตัวขนาดเท่าหัวนิ้วก้อยจาก คลองด่านก็ถกู หยิบใส่ตามมา โรยมะพร้าวคัว่ ที่ ซ อยเป็ น เส้ น เล็ ก บางด้ ว ยมื อ และถั่ ว To make these savory leaf wraps, we begin by cutting the edge of the betel leaf and forming it into a cone shape. Next, tiny pieces of ginger, a slice of shallot, a small piece of lemon, a piece of Khlong Dan dried shrimp which is a size of a finger nail, finely sliced roasted coconuts, freshly roasted peanuts and delicious sauce is added into the cone. We were told that coral tree leaf is another alternative, so, beginners like ourselves decided to go with this option because the flavor is less bitter. Once the sauce is drizzled into the bite sized cone, we then put the savory leaf wrap into our mouth.

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 105

The strong flavor of the ginger didn’t only come from the ginger I placed in the leaf but it also came from the sauce. Grilled ginger is a part of the ingredient to this sauce and its blended with other elements. Additionally, the herbs contained in the savory leaf wraps doesn’t only fulfil our stomach but it also helps curing diseases too. What a menu! “Miang Kam Pak Lad” is full of natural flavors from fresh ingredients. Each element is finely cut so that the flavor balances out when consumed, even if you decide to have it with betel leaf or coral tree leaf that seems to taste bitter. But, because the ingredients are extremely fresh and the sauce is super delicious, “Miang Kam Pak Lad” became many people’s desired dish. In fact, one serve may not be enough for those who favors herbs! Aunty Kid’s Miang Kam Pak Lad is very well known in Phra Phadaeng area. Whenever they are being sold around the neighborhood at 9 in the morning, it often runs out in a blink of an eye. Nevertheless, the savory leaf wraps can be ordered in advance for 100 baht per set at the very end of Kwan Ve Ka Rao street. Once you’re there, you may also get the opportunity to learn some history about Phra Phadaeng as well.

เมี่ยงค�ำปากลัด หมูบ ่ า้ นเว่ขะราว เลขที่ ๓๒/๓ หมู่ ๔ ต�ำบลบางพึง ่ อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทร. ๐ ๒๘๑๗ ๒๒๐๒

Miang Kam Pak Lad 32/3, Moo 4, Kwan Ve Ka Rao Village, Bang Pueng Sub-District, Phra Phradaeng District, Samutprakan Province, 101300 TEL. 0 2817 2202

ลิสงที่เพิ่งคั่วเสร็จอุ่นๆ แล้วราดด้วยน�้ำจิ้ม สู ต รเด็ ด ลงบนส่ ว นผสมทั้ ง หมดที่ ห ่ อ ด้ ว ย ใบชะพลู หรือใบทองหลาง มีให้เลือก ๒ แบบ แต่มือใหม่อ ย่ า งฉั น ขอรั บเป็ น ใบทองหลาง สี เขี ย วอ่ อ นดี ก ว่ า เพราะรู ้ สึ ก ว่ า ให้ ร สชาติ ที่อ่อนกว่า และไม่ขม พอราดน�้ำจิ้มลง ก็ห่อเป็นค�ำแล้วจึงหยิบ ใส่ปาก รสชาติขิงจึงแผ่ซ่าน ไม่ได้มาจากขิง ที่ฉันหยิบใส่เพียงอย่างเดียว แต่เจ้าสมุนไพร ตัวนี้ได้ถูกน�ำมาผสมไว้ในน�้ำจิ้มด้วยการน�ำ ไปย่างไฟเหมือนส่วนประกอบอื่นๆ ในน�้ำจิ้ม แล้วน�ำมาปัน่ รวมกันจนกลายเป็นน�ำ้ จิม้ รสเลิศ และมีกลิ่นหอม ป้าคิดบอกว่าทุกอย่างที่ใส่ ในเมี่ ย งค� ำ เป็ น สมุ น ไพรทั้ ง นั้ น แก้ โรคได้ กินเมี่ยงค�ำนอกจากจะอิ่มท้องแล้ว ยังเป็น การดูแลร่างกายไปในตัว เรียกได้วา่ อิม่ ท้องแล้ว ยังบ�ำบัดการกินด้วยสมุนไพรไปโดยไม่รู้ตัว รสชาติของเมีย่ งค�ำปากลัด ถือว่าเป็นรสชาติ ของธรรมชาติลว้ นๆ โดดเด่นทีว่ ตั ถุดบิ ทีส่ ดใหม่ และความพิ ถี พิ ถั น ในการคั ด เลื อ กวั ต ถุ ดิ บ น� ำ มาหั่ น ซอยเป็ น ชิ้ น เล็ ก ชิ้ น น้ อ ย เมื่อกิน

ทุ ก อย่ า งรวมกั น จะให้ ร สชาติ ที่ ก ลมกล่ อ ม ไม่ฝาด แม้ว่าจะห่อด้วยใบชะพลู หรือใบ ทองหลาง ซึ่งเป็นใบไม้ที่ดูเหมือนว่าน่าจะขม ไม่น่าจะน�ำมากินได้ แต่ด้วยความสดใหม่ของ วัตถุดิบ และน�้ำจิ้มรสชาติดี ท�ำให้ “เมี่ยงค�ำ ปากลัด” เป็นรสชาติของธรรมชาติที่กินได้ อย่างเอร็ดอร่อย ใครทีช่ อบกินสมุนไพร ชุดเดียว อาจไม่พอ ทุกวันนี้ “เมี่ยงค�ำปากลัด” ของป้าคิด กลายเป็น ชื่อที่ชาวพระประแดงรู้จักไปทั่ว พอหอบเมี่ยงค�ำออกไปตั้งขายในซอยชุมนุม พานิ ช หรื อ ซอยบาจาชุ ด ละ ๑๐๐ บาท ช่วง ๙ โมงเช้า ไม่กอี่ ดึ ใจของทีห่ อบไปก็หมดลง ถ้ า ใครอยากจะกิ น จริ ง ๆ หรื อ มี อ อร์ เ ดอร์ สั่ ง ไปถวายพระก็ ส ามารถมาที่ บ ้ า นป้ า คิ ด สุดถนนหมู่บ้านเว่ขะราว นอกจากจะได้ของ ที่ต้องการกลับไปแล้ว ยังอาจได้ฟังเรื่องราว เก่ า ๆ สมั ย พระประแดงเป็ น เมื อ งท่ า แสน คึกคักเป็นของแถมกลับไปอีกด้วย เรียกได้ว่าทั้งได้ความรู้ อิ่มท้อง อิ่มใจ ไปในขณะเดียวกัน AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


CRAFTSMANSHIP / GANESHA

จาก “กะลามะพร้ า ว” ที่ ไ ม่ มี ใ คร เหลียวแล แต่กลับมีคนเห็นและสร้าง ให้เกิด “คุณค่า” จนมูลค่าเพิ่มพูน กลายเป็นการสร้างรายได้ให้แก่ตนเอง จนพอเลี้ยงชีพได้ ho would have thought that W an ordinary coconut shell would make enough money for themselves to earn a living?

“GANESHA”

THE GODDESS OF ART COCONUT SHELL CARVING

พระพิฆเนศ เทพเจ้าแห่งศิลปะ ศาสตร์จากแกะสลักกะลามะพร้าว

สิงหาคม - กันยายน 2561

จากอาชีพช่างจิลเวอรีทที่ ำ� งานศิลปะ เชิงพาณิชย์ ในยามว่าง “เดชา สนธินชุ ” หยิบกะลามะพร้าวในสวนหลังบ้านมา ทดลองท� ำ งานศิ ล ปะเป็ น งานอดิ เรก จนในที่ สุ ด งานอดิ เรกนั้ น กลายเป็ น งานศิลปะที่สวยงามจนเป็นที่ยอมรับ “ผมอยูบ่ างยอ ทีบ่ า้ นมีสวนมะพร้าว อยู่แล้ว พอเห็นมันนานเข้าก็หยิบมา แกะสลัก เราเป็นช่างจิวเวอรีม่ ามากกว่า ๑๕ ปีอยู่แล้ว มันจึงไม่ยาก พอเริ่มเบื่อ งานนั้นก็เอางานนี้มาท�ำเป็นงานอดิเรก ท�ำมาเกือบ ๑๐ ปีได้แล้ว” กะลามะพร้าวถูกแกะสลักทีละชิ้นๆ อย่างประณีต “คุณเดชา” ตั้งใจกับการ ท�ำงานทุกครัง้ เพือ่ ให้ผรู้ บั มองเห็นมูลค่า ของงานจากกะลามะพร้าว การท�ำงาน ในตอนแรกๆ เป็นการผลิตงานชิ้นใหญ่ ที่เน้นสิ่งที่แสดงถึงศิลปะความเป็นไทย เช่น แกะสลักเป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ แกะสลั ก พระพุ ท ธรู ป และผลงานที่ ภูมิใจที่สุดที่ถือเป็น “งานชิ้นเอก” หรือ Masterpiece ของเขาคือ “รูปแกะสลัก พระพิฆเนศ”

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 107

‘Decha Sontinuch’, a jeweler who is also a hobby artist began playing around with a coconut shell he discovered in his backyard. After getting to experiment his skills over a period of time, people finally started to see the potential in his art work. “I live in Bang-Yor and there’s a coconut farm at my place. Plenty of these coconut shells has been lying around for years so I decided to carve on it. I’ve actually been a jeweler for over 15 years already, so the technique wasn’t too difficult for me. When I get bored of my main job, I tend to pick up a coconut shell and carve it as my hobby and this is what I’ve been doing for almost 10 years.” Decha delicately carves the coconut shells one by one. Every effort is made to ensure that the recipient sees the value of the product. The design of his carving are mostly related to Thai fine art such as animals that lives in the Himmapan forest (a forest in the Thai literature), Buddha statue and his masterpiece is a carving of Ganesha. “There was an OTOP event happening around 4-5 years ago and the reason why I picked Ganesha was mainly because he is the goddess of art. It took me almost a month

“ตอนนั้ น ผมท� ำ งานแกะสลั ก พระพิ ฆ เนศ เพราะว่ามีการคัดสรรงาน OTOP เมื่อประมาณ ๔-๕ ปีก่อน คือพระพิฆเนศเป็นเจ้าแห่งศิลปะ ผมเลยเลือกทีจ่ ะแกะสลักรูปท่าน เก็บรายละเอียด เกือบเดือน เพื่อให้สมบูรณ์ที่สุด” “พระพิฆเนศ” หรือ “พระคเณศ” ตามความ เชือ่ ของศาสนาพราหมณ์เป็นเทพเจ้าแห่งความรู้ เป็นเลิศและปราดเปรื่องในศิลปวิทยาทุกแขนง ผู้ที่เรียนหรือท�ำงานด้านศิลปะจึงนับถือเคารพ บูชา ซึ่งพระพิฆเนศยังได้ถูกน�ำมาใช้เป็นตรา ของหน่วยงานต่างๆ เกี่ยวข้องกับศิลปะ ได้แก่ ตราสัญลักษณ์ของกรมศิลปากร ตราสัญลักษณ์ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ตราสัญลักษณ์ของ วิทยาลัยช่างศิลป ตราสัญลักษณ์ของสถาบัน บัณฑิตพัฒนศิลป์ คุณเดชาได้แกะสลัก “พระคเณศ” ในปางยืน ๔ กร ตามความเชื่อที่ว่าเป็นปางประทานพร รายละเอียดแม้จะมีไม่มากแต่ก็ใช้เวลาในการ แกะสลักเป็นองค์นานเกือบ ๑ เดือน “งานแกะไม่ใช่การแกะแบบแผ่น แต่ท�ำเป็น ลอยองค์ขึ้นมา เวลาขึ้นจะยาก วิธีท�ำก็ต้องตัด กะลาเป็นชิ้นส่วนแล้วต่อขึ้นมาเป็นองค์ ดูตาม แบบที่วาดเองคล้ายการท�ำปูนปั้นแต่ไม่มีโครง” ผลงานที่เกิดจากกะลามะพร้าวที่หลายคน มองข้าม ได้กลายมาเป็นงานที่มีมูลค่าด้วยการ “แกะสลัก” ที่นอกจากจะใช้เวลาแล้วยังใช้ใจ ในการสร้างสรรค์เพือ่ ให้งานทีอ่ อกมาเต็มไปด้วย คุณค่า...ทั้งคุณค่าที่เห็นด้วยตาและคุณค่าทาง จิตใจของผู้สร้างสรรค์นั่นเอง

to perfect the details and ensure it is absolutely flawless.” Believers of Brahmanism believes that ‘Ganesha’ or also known as Ganesh are the goddess of knowledge who is dazzled in all kinds of art. Ganesha is one of the best-known and most worshiped deities amongst many art students and artists. Moreover, he is illustrated as a hallmark of various arts related organization such as the Fine Arts Department, Silpakorn University, Nakhon Si Thammarat College of Fine Arts and Bunditpatinasilpa Institute. Additionally, people believe that Ganesha’s standing pose with 4 arms depicted on the coconut shell means he’s giving blessings. It took Decha almost a month to carve one of these even though it doesn’t seem like there’s much fine points. “My style of carving involves creating a dimension and attempting to create a floating effect for the focal point. To achieve this, I have to cut the coconut shell into pieces and assemble it into a shape of Ganesha. You can see it from my sketch, it is quite similar to stuccoing but without framing.” The majority may not see the value in coconut shells, but surprisingly, carving has added a price to it. Apart from spending hours and hours on the details, it requires the artists to be creative in order to make it valuable. Valuable both in people’s eye and in the artists’ heart. Contact: Decha, Coconut shell product (086 076 1638)

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


O T O P S H O P P I N G / P S . P R A PA S R I

erbal products in fine H bottles sit orderly alongside Buddhist Offerings on a

shelf of a retail store with a large sign that says “OTOP Prapasri”. This halts passersby and strike up interest while some stop to ask about the products. As for myself, I stop to sit down and have a chat with the owner who stands in front of her product line, Ps. Prapasri Prapasri Paisarnrattana started off experimenting with her knowledge in herbalism by mixing herbal shampoo from sesame oil and coconut oil. “I used to own a beauty salon but I wanted to do something less demanding as I grew old. My mother has always made herbal balls so I used the knowledge to make shampoo and conditioners, which were later registered as OTOP in 2003” Ps. Prapasri started from processing herbs into hair care products such as shampoo, conditioners and hair oil that are mixed with sesame oil and coconut oil. Later, she started making herbal soap. Howev-

PS. PRAPASRI DELIVERING VALUE AND HAPPINESS WITH HERBAL PRODUCTS AND OFFERINGS

ส่งมอบ “คุณค่า” และ “ความสุข” ด้วยสมุนไพรและเครื่องชุดสังฆภัณฑ์ สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 109

ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่อยู่ในขวดบรรจุภัณฑ์ อย่างดี วางเรียงสลับกับเครือ่ งชุดสังฆภัณฑ์ ไว้อย่างเป็นระเบียบบนแผงวางขายในห้าง สรรพสินค้าแห่งหนึ่ง พร้อมป้ายขนาดใหญ่ เขียนว่า “OTOP ประภาศรี” ท�ำให้หลายคน หยุดดูด้วยความสนใจ บางคนก็หยุดเพื่อ สอบถามสินค้าที่ตัวเองสนใจ ส่วนฉันเองก็ หยุดเดิน และนั่งลงพูดคุยกับผู้เป็นเจ้าของ ผลิตภัณฑ์ Ps. Prapasri ที่มายืนต้อนรับ อยูด่ า้ นหน้า

คุณป้าประภาศรี ไพศาลรัตน์ เริม่ ต้นจากการ หยิบจับความรู้สมุนไพรที่ตัวเองมีอยู่แต่เดิม แล้วมาทดลองท�ำเป็นแชมพูสมุนไพรทีท่ ำ� จาก น�้ำมันงาและน�้ำมันมะพร้าวก่อนตัวอื่น “แต่ก่อนป้าเปิดร้านเสริมสวยอยู่ พอเรา แก่ตวั ลงก็อยากท�ำอะไรทีส่ บายหน่อย ตอนแรก แม่ ข องป้ า ก็ ท� ำ ลู ก ประคบสมุ น ไพรอยู ่ แ ล้ ว ป้าเลยเอาความรู้เรื่องสมุนไพรมาลองท�ำเป็น แชมพูท�ำครีมนวดดูก่อน พอเราท�ำได้ จึงไป จดทะเบียนเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ตอนปี ๒๕๔๖”

ผลิตภัณฑ์ Ps. Prapasri เริม่ มาจากการน�ำ สมุนไพรมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์บ�ำรุงผม ได้แก่ แชมพู ครีมนวด น�้ำมันใส่ผม ที่ท�ำจาก น�้ำมันงาและน�้ำมันมะพร้าว แล้วจึงเริ่มมาท�ำ สบูส่ มุนไพรในเวลาต่อมา แต่คณ ุ ป้าประภาศรี ไม่ได้หยุดอยูแ่ ค่การหยิบจับสมุนไพรมาแปรรูป เท่านั้น ภายในกลุ่มชุมชนที่คุณป้าประภาศรี อาศัยอยู่มีหลายครัวเรือนที่รายได้ไม่เพียงพอ ต่อความต้องการ นอกจากคุณป้าประภาศรีจะ ชักชวนเพื่อนบ้านในชุมชนมารวมตัวกันเป็น AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


“กลุ่มอาชีพผลิตภัณฑ์สมุนไพรประภาศรี” แล้ว ยังท�ำผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ขึ้นมาที่ไม่ใช่ตัว สมุนไพรเหมือนเดิม แต่เป็นเครื่องสังฆภัณฑ์ ที่มีการบรรจุหีบห่อตัดเย็บอย่างสวยงาม “ป้าชอบท�ำบุญเข้าวัด พอจะนึกท�ำอะไร อีกสักอย่างก็อดไม่ได้ที่จะท�ำพวกสังฆภัณฑ์ เวลาขายนี่ ข ายเป็ น ชุ ด นะ มี ชุ ด รวมใหญ่ ชุดรวมเล็ก ชุดผ้าอาบน�ำ้ ฝน แล้วก็ราคาไม่แพง เพื่อให้คนมีก�ำลังซื้อไปถวายพระ เวลาป้าท�ำ ป้าประณีตมาก เย็บตัดด้วยตัวเองเรียบร้อย เวลาท� ำ ของถวายพระนี่ ต ้ อ งท� ำ ละเอี ย ด เราอยากให้ ท ่ า นได้ ใช้ ข องดี ๆ เวลามี บ วช สามเณรภาคฤดูร้อน ก็จะมีคนเหมาไปจัด เตรียมถวาย ป้าจะไปดูความเรียบร้อย”

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 111

คุณป้าประภาศรียงั เล่าให้ฟงั อีกว่าผลิตภัณฑ์ ส่วนใหญ่ของ Ps. Prapasri ถูกน�ำส่งออกไป ต่างประเทศจากการได้รบั ใบประกาศนียบัตร เป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ๕ ดาว และยังมีราคา ไม่สูงมากเพราะส่วนตัวของคุณป้าประภาศรี อยากให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มและส่งมอบของ ที่ มี คุ ณ ค่ า เพื่ อ ให้คนที่ซื้อไปได้รับ ความสุข จากการให้ครั้งนี้ นอกจากการขายผลิตภัณฑ์เหล่านี้แล้ว คุ ณ ป้ า ประภาศรี ยั ง เป็ น ปราชญ์ ช าวบ้ า น ในการถ่ายทอดความรู้ด้านการท�ำสมุนไพร และตั ด เย็ บ เครื่ อ งสั ง ฆภั ณ ฑ์ ใ ห้ แ ก่ ผู ้ ส นใจ ได้ เข้ า มาเรี ย นรู ้ ที่ บ ้ า นด้ ว ยตนเอง คุ ณ ป้ า บอกว่ า การให้ ค วามรู ้ แ ก่ ค นที่ อ ยากรู ้ เ ป็ น สิง่ ทีด่ ี มีคณ ุ ค่าทางจิตใจ และตัวเองมีความสุข จากการสอนด้วย สิง่ ของทีว่ างเรียงรายอยูต่ รงหน้าฉัน จึงเป็น เสมือนการส่งมอบ “คุณค่า” และ “ความสุข” ให้แก่ผู้ซื้อที่เดินมาหยิบจับ เลือกชม รวมถึง ผูข้ ายอย่างคุณป้าประภาศรีทไี่ ม่เคยเหนือ่ ยล้า ในการบอกเล่ า ถึ ง คุ ณ ค่ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ด้วยรอยยิ้มแห่งความสุขนั้นเองที่ท�ำให้ฉัน เข้าใจแล้วว่า ความสุขทีแ่ ท้จริงอยูท่ กี่ ารได้ทำ� ในสิ่งที่รักและการได้ส่งมอบความสุขนั้น แก่ผู้อื่นนั่นเอง

She also tells us that most of Ps. Prapasri products are exported since the brand was accredited a 5-star OTOP and have relatively low price because she personally wants the local community to generate income and be able to deliver value and happiness to customers.

passes on the knowledge of herbalism and customized offering for those who are interested from her own home. She also says that providing knowledge to those who seek after it has a strong sentiment and that she is always happy from doing so. Apart from the products, I suddenly feel that the Prapasri is also a scholar that merchandises displayed in

front of me represent ‘value’ and ‘happiness’ that are delivered to buyers as well as the proprietor, Prapasri, who never gets tired from selling her products with a smile that makes me realize that true happiness lies within doing what you love and being able to pass on that happiness to others.

er, Prapasri did not stop at herbal products. Many families in her community live inadequately so she brought them together and formed “Ps. Prapasri herbal cooperative” as well as introduced non-herbal products: Offerings that are wrapped in fine packages. “I like to make merits and visit the temple. Offerings popped up in my mind when I started thinking about new product line. We sell in sets ranging from large to small, including bathing suit. We don’t put high price tag because we want everyone to be able to afford giving offerings to monks. When I make the packages, I make sure to be very meticulous with the sewing and cutting. Offerings for monks need to be delicately made; we want them to be offered fine things for use. I have a team who organizes events for summer novice ordination, of which I usually manage”

PS. PRAPASRI

๕/๒๗๐ ซอย ๓๘ การเคหะเมืองใหม่บางพลี ถนนบางนา-ตราด ต�ำบลบางเสาธง อ�ำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๕๔๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๑๕๕๗ ๒๕๙๒

PS. PRAPASRI Address: 5/270 Soi 38 National Housing Authority Muang Mai BangPhli, Bangna-Trad Road, Bang Sao Thong, Samutprakan 10540 Tel: 08 1557 2592 AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


E AT & D R I N K / S H A N O U A D

SHAN OUAD THE HOUSE OF LOVE

"ชาน อ๊อว์ด"

"บ้าน" ของความรัก

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 113

“ถิน่ สาวงามเมืองมอญ นามนครเขือ่ นขันธ์” เป็นค�ำขวัญของอ�ำเภอพระประแดงที่รอ ต้ อ นรั บ เราอยู ่ เ มื่ อ ข้ า มสะพานปู น สี ข าว เข้ามาในตัวเมืองตลาดพระประแดง ตลาดพระประแดงเป็นแหล่งการค้าของ คนในชุ ม ชนหลายเชื้ อ ชาติ เมื่ อ เดิ น เข้ า ไป ภายในตัวตลาดจะพบซอยเล็กซอยน้อยที่พา เราไปสู่หมู่บ้านมอญหลายหมู่บ้าน รวมทั้ง ยังน�ำไปสู่ริมคลองลัดหลวง คลองเก่าที่อดีต เคยเป็นเส้นทางสัญจรหลักของพระประแดง คู่กับคลองลัดโพธิ์ ณ วันนี้ ร้านรวงเก่ายังคง มีชีวิตชีวาด้วยบรรยากาศเก่าๆ โดยมีร้าน กึ่งเก่ากึ่งใหม่อย่าง “ชาน อ๊อว์ด” ที่เปิดมา เป็นปีที่ ๑๐ แล้วแทรกตัวอยู่ในชุมชน

Nakhon Khuen Khan, home “Phra to the beautiful Mon ladies”, Pradaeng D istric t ’s

slogan is inscribed on the white cement bridge that leads you towards Phra Phadaeng Market. Phra Phadaeng market is a trade source to people in many ethnic communities. Once you step inside the market, there are many small streets that leads you to the several Mon villages. It also takes you to Lad Luang canal which used to be Phra Phadaeng and Lad Pho’s main thoroughfare. Presently, the shops in the area still feels lively yet with an old atmosphere and one of the old shops called “Shan Ouad” has been present for over 10 years.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


ป้ายชื่อร้านบนไม้ทาสีแดงตัดกับภาษามอญ ทีบ่ รรจงเขียนเป็นสีทองบอกว่าเราได้มายืนอยู่ หน้าร้าน “ชาน อ๊อว์ด” แล้ว ประตูไม้ที่เปิด ออกท�ำให้เห็นบรรยากาศภายในทีเ่ ป็นบ้านไม้ แสนอบอุ ่ น ข้ า วของถู ก จั ด อยู ่ ใ นตู ้ ก ระจก ได้แก่ บรรดาของเล่นในอดีตที่เจ้าของร้าน สะสมไว้เมื่อครั้งยังเป็นเด็ก บางส่วนก็มาจาก คนในชุมชนฝากไว้จนกลายเป็นครอบครัว ของเล่ น ขนาดใหญ่ แทรกด้ ว ยชั้ น หนั ง สื อ เล็กๆ ที่กระจายอยู่ทั่วพื้นที่ในร้าน และเมื่อ เดินออกไปจนสุด จะพบทางเดินที่ยื่นลงไป ในคลองพร้ อ มเรื อ ล� ำ เก่ า ปลดประจ� ำ การ ที่ตอนนี้กลายเป็นที่อยู่ของปลาในคลองแทน สิงหาคม - กันยายน 2561

พอหันหลังให้คลองจะพบบันไดทางขึ้นชั้น ๒ ของร้านแอบอยู่ข้างๆ ด้านบนเป็นพื้นที่ ที่จัดไว้ส�ำหรับนั่งเล่นกัน ตรงกลางเปิดโล่ง ให้เห็นบรรยากาศของร้านชั้นล่าง “ชาน อ๊อว์ด” เป็นภาษามอญ แปลว่า รั ก สุ ด ใจ ชื่ อ นี้ แ ทนสายใยความรั ก ของคน ในครอบครัวที่หวังว่าร้านเล็กๆ แห่งนี้จะมอบ ไออุ่นให้ผู้มาเยือนเหมือนบ้านหลังหนึ่งของ พวกเขา เมื่อแรก ชาน อ๊อว์ด เป็นเพียงห้องสมุด ที่เปิดบริการให้คนในชุมชนเท่านั้น ต่อมา ได้เปลี่ยนเป็นร้านกาแฟเล็กๆ จากการซื้อ เครื่องท�ำกาแฟสดมาท�ำกันเองในครอบครัว

การริ เริ่ ม ท� ำ อะไรใหม่ ๆ ที่ แ ต่ เ ดิ ม ไม่ เ คยมี อย่างการท�ำร้านกาแฟในชุมชน มาพร้อมกับ การเรียนรู้ที่จะท�ำและคิด เพื่อให้ถูกอกถูกใจ ผู้มาเยือน จากนั้นก้าวต่อไปของ ชาน อ๊อว์ด ก็มาพร้อมกับการเข้าใจและปรุงให้เป็นสูตร ของความรักทีล่ งตัว จนใครต่อใครต้องแวะมา เมนูของร้านชาน อ๊อว์ด ได้แก่ กาแฟ ชา นมสด เสริมด้วยขนมกินเล่น อาทิ เค้ก ขนมปังปิ้ง และวาฟเฟิลสูตรพิเศษของร้าน และเนื่ อ งจากมี เจ้ า ต้ น อั ญ ชั น เลื้ อ ยเล่ น อยู ่ รอบบ้าน จึงถูกจับมาเป็นเมนูน�้ำที่แสนอร่อย อย่าง “อัญชันนมสด”

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 115

‘Shan Ouad’ means deep love is Mon language. The name symbolizes the love between the owner’s family and the owner hopes to share this love to his customers.

Upon your arrival, you will spot a sign written in both Mon and Thai language. It is imprinted in gold on a piece of wood painted in red. The opened wooden door allows us to see the warm ambience inside the wooden house. As you walk inside the house there are glass cabinets filled with old toys that the owner used to collect and some of these toys were deposited by the community, resulting the shop with a great toy collection. Also, the collection includes small book shelves which is placed all over the shop area. As you keep walking, you will find a walk way that leads you to a canal and a decommissioned ship which is now a home to the marine life. Turn your back to the canal and you will see a set of stairs that takes you to the second floor. The area above has an open space in the middle which allows customer to sit back and see the surroundings down below.

Initially, Shan Ouad used to be a library that was only opened to the community. Later on, it developed into a small coffee shop where the owner’s family began by purchasing a coffee machine. The determination to learn and do something new have enabled Shan Ouad to meet what their customers are looking for.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


หากใครที่ ก� ำ ลั ง หาที่ แ วะพั ก นั่ ง เล่ น มองหาที่ที่ตัวเองจะปล่อยอารมณ์ได้อย่าง สบายๆ เมื่ อ เหน็ ด เหนื่ อ ยหลั ง จากเดิ น ดู บ้ า นเก่ า ในตลาดแล้ ว ลองเดิ น เข้ า มาจาก ซอยบาจาแหล่งชุมชนจีนเก่าจนพบกับป้าย ทางเข้า “บ้านดัง” ก็จะพบกับร้านชาน อ๊อว์ด ที่ จ ะเติ ม ความรู ้ สึก ของทุก คนที่ผ่านเข้ามา อย่ า งเป็ น กั น เองจนเต็ ม สมชื่ อ ร้ า น “ชาน อ๊อว์ด” ที่แปลว่า รักสุดใจ นั่นเอง

ร้านชาน อ๊อว์ด เลขที่ ๑๑๓๓ ถนนบ้านดัง ต�ำบลตลาด อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๙ ๓๖๑๙​ ๒๙๔๕ ร้านเปิดเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐-๑๙.๐๐ นาฬิกา SHAN OUAD Address: Shan Ouad, 1133, Ban-Dang Road, Talad Sub-District, Phra Phradaeng District, Samutprakan Province, 10130 Tel: 09 3619 2945 Facebook: Shan Ouad Cafe Opening times: 9am-7pm on Saturday-Sunday

Additionally, Shan Ouad’s menu comprises of coffee, tea, milk and desserts such as cake, toast and their special waffle recipe. Since there are so many butterfly peas trailing all over the shop, the plant was adapted into a delicious drink menu called “Butterfly pea milk”. If anyone is looking for a perfect spot to relax after a long day at the market, try walking through an old Chinese community in Baja Street and you will find an entrance to “Ban Dang”. The path will lead you to Shan Ouad, a coffee shop that will make customers feel fulfilled just like the meaning of “Shan Ouad”, deep love.

สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 117

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


E AT & D R I N K / B A A N B A A N B A N G K A J A O

BAAN BAAN BANG KA JAO

บ้านบ้าน บางกะเจ้า

อร่อยโรแมนติกริมน�้ำ

สิงหาคม - กันยายน 2561

ร้านนีอ้ ยูค่ อ่ นข้างลึกลับ แต่ถา้ ใครอยากกินของ อร่อยก็ต้องพยายามกันหน่อย เห็นด้วยมั้ย ? เอาจริงๆ การเดินทางมาร้าน “บ้านบ้าน บางกะเจ้า” ก็ไม่ได้ยุ่งยากอะไร (แต่เข้าไปไกล นิดหนึ่ง) เพียงขับรถหรือปั่นจักรยานเข้าซอย เพชรหึงษ์ ๒๐ มาเรือ่ ยๆ จะมีปา้ ยบอกทางเป็นระยะ ถึ ง แล้ ว ก็ จ อดรถไว้ บ ริ เวณลานจอดของร้ า น แล้วเดินเข้าไปอีกประมาณ ๑๐๐ เมตร ก็จะ เจอกับบ้าน ๒ ชั้น อยู่ติดริมแม่น�้ำเจ้าพระยา บอกเลยว่ า อาหารหลั ก ร้ อ ยแต่ อ ร่ อ ยระดั บ โรงแรม แถมวิวให้ชิลล์รอบๆ ระดับหลักล้าน เชียวนะเออ ยิ่งมาช่วงเย็นๆ โพล้เพล้หน่อยๆ ฝั่งตรงข้ามแม่น�้ำจะเปิดไฟระยิบระยับเข้ากับ ฟ้าสีบลูๆ ดูดีสุด เอาเป็นว่าใครมาบางกระสอบ แล้วไม่ได้เช็กอินร้านนี้คือพลาดอย่างแรง! ในส่วนของอาหาร มีทั้งแนวภาคเหนือ อย่าง แกงฮั ง เล น�้ ำ พริ ก หนุ ่ ม แคบหมู ไส้ อั่ ว ที่สุด ของที่สุดยกให้ “ลาบหมูคั่วจาวเหนือ” อร่อย เกินบรรยาย หรือจะเป็นเมนูกินง่ายๆ อย่าง หมูกรอบคั่วเกลือ หมูทอดตะไคร้ กุ้งทอดซอส มะขาม สัง่ ข้าวสวยร้อนๆ หรือกินกับข้าวผัดแหนม ข้าวผัดหมูทอด ก็เข้ากันมาก ส่วนเครื่องดื่มมีทั้ง กาแฟ โกโก้ อิตาเลียนโซดา หรือจะสั่งเบียร์เย็นๆ มานั่งจิบรับอากาศโล่งๆ ที่โซนเอาต์ดอร์ก็ได้ มื้อนี้เอาใจไปเลย สิบเต็มสิบ! SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 119

o get to this restaurant, T it is considerably mysterious so, effort is required for those who wants to try out something extremely delicious!

Getting to “Baan Baan Bang Ka Jao” isn’t difficult (although it’s quite a long way), you can decide whether you would like to drive or ride a bicycle to Soi Petchahueng 20. Once you are inside the Soi (or also known as street), signs will direct you to the restaurant which parking area is available. Walk further down for approximately 100 meters and you will find a two-story house located by the banks of Chao Phraya river. Though the price of this restaurant is inexpensive but the food is hotel quality. The view here is indescribable, especially during the evening and the lights shining from the other side of the river couldn’t match with the beautiful blue sky any better. So, don’t miss out this magnificent restaurant while you are in Bang Ka Jao! As per the food, there are northern Thai cuisine such as Hang Leh (pork curry), Nam Prik Num (northern Thai green chilli dip), pork crackling, Sai Uau (northern Thai spicy sausage) and best of all is “Lab Mhoo Kua Chao Nua” (northern Thai spicy minced pork salad). This dish is known to be finger liking good! Additionally, roasted crispy pork, fried pork with lemongrass and deep-fried shrimp with tamarind sauce is offered at the restaurant. These menus are usually eaten with some steamed rice, fermented pork fried rice or pork fried rice. You can also order a coffee, iced/ hot chocolate, Italian soda or beer is while gazing at the view in the outdoor area.

BAAN BAAN BANG KA JAO

ซอยเพชรหึงษ์ ๒๐ ต�ำบลบางกระสอบ อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๓๔๓๑ ๑๑๖๕ เปิดทุกวัน เวลา ๑๑.๐๐-๒๒.๐๐ นาฬิกา BAAN BAAN BANG KA JAO Address: Soi Phetchahueng 20, Bang-Krasob Sub-District, Phra Phadaeng District, Samutprakan Province, 10120 Tel: 08 3431 1165 Opening times: Every day from 11am-10pm

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


E AT & D R I N K / R O S E A P P L E

ROSE APPLE มื้อเบาๆ กับกาแฟ และร้านสวย

สิงหาคม - กันยายน 2561

ร้ า นนี้ เ หมาะมากกั บ คนชอบชิ ม และแชะ ในยุคที่โทรศัพท์มือถือและโซเชียลกลายเป็น ปัจจัยที่ ๕ ไปเรียบร้อย ขอบอกว่าร้านนีเ้ ป็นอีกที่ ที่ไม่ควรพลาด ด้ ว ยบรรยากาศสวนสวยๆ และสไตล์ ร ้ า น ที่ออกแบบ-ตกแต่งทันสมัยแนวลอฟต์หน่อยๆ อยูใ่ นซอยเพชรหึงษ์ ๒๕ นีเ้ อง เห็นป้ายร้าน “Rose Apple” ระหว่างทางไม่ตอ้ งสงสัยหรือตัดสินใจนาน แวะมาพักกายพักใจ อิม่ อร่อยกับหลากหลายเมนู ในร้านให้หายเหนื่อยแล้วค่อยไปเที่ยวกันต่อ ใครมาแล้วต้องบอกว่าอยากมาอีก เพราะ บรรยากาศร้านนี้น่าหลงใหลจนต้องเหลียวหลัง ตั้งแต่สวนสวยๆ และต้นไม้หลายหลากที่เจ้าของ บรรจงตกแต่งไว้เป็นอย่างดี ตัวร้านเป็นกระจกใส มี ๒ ชั้น ให้เลือกนั่งตามชอบใจ ส่วนเมนูมีทั้ง แนวเบาๆ อย่างสลัดต่างๆ ไปจนถึงเมนูหนักๆ เช่น ข้าวแกงกะหรีไ่ ก่ทอด ให้กนิ อิม่ เต็มพุง แถมมี เบเกอรีหน้าตาดีท�ำสดใหม่ทุกวันให้ได้ลิ้มลอง กันอีกมากมาย จะถ่ายรูปอัปลงโซเชียลมุมไหน ชีวิตก็ดี๊ดี เพราะแสงในร้านธรรมชาติสุดๆ SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 121

ajority of Rose Apple’s M visitor enjoys eating and social media at the same time. This restaurant is another one that you definitely can’t miss out.

It is situated in Soi Petchahueng 25 and it has a modern loft style interior design with a garden. As soon as the “Rose Apple” sign is spotted, do not hesitate to walk inside, eat and relax Rose Apple’s ambient is ravishing and only those who have been here will understand it. The outdoor area is beautifully decorated with trees and the wall of the indoor section is made out of glass. The two-story restaurant is open for customers to select their seats freely. Moreover, the menu contains both light and heavy food such as salads and deepfried chicken on rice. Freshly made burgers are also available for customers to order. So, don’t forget to take a picture before you leave!

ROSE APPLE

เลขที่ ๖๕ หมู่ ๑๐ ซอยเพชรหึงษ์ ๒๕ ต�ำบลบางกระสอบ อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๙ ๓๖๙๔ ๕๖๖๑ เปิดทุกวัน (ยกเว้นวันอังคาร) เวลา ๐๙.๐๐-๒๑.๐๐ นาฬิกา

ROSE APPLE Address: 65, Moo 10, Soi Phetchahueng 25, Bang Krasob Sub-District, Phra Phradaeng District, Samutprakan Province, 10130 Tel: 09 3694 5661 Opening times: Every day (except for Tuesdays) from 11am-10pm AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


M A K E A R E S E R VAT I O N / H O M E S TAY

CLOSE YOUR EYES HUG YOUR PILLOW ENJOY YOUR DREAMS AT

“PEE POR PEANG NONG PEANG POR” KHUN SAMUT CHIN HOMESTAY หลับตา กอดหมอน นอนฝันที่

พี่พอเพียงน้องเพียงพอ ขุนสมุทรจีนโฮมสเตย์

เมือ่ ร่างกายถูกใช้งานเกินขีดจ�ำกัด ก็ถงึ เวลา ต้องพักผ่อนกันบ้าง ...หลั บ ตานึ ก ถึ ง สถานที่ แ สนสงบสั ก แห่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง มี วิ ถี ชี วิ ต ใกล้ ชิ ด ธรรมชาติ และเหมาะสมจะเป็ น สถานที่ พั ก ผ่ อ น ชาร์จแบตให้แก่ร่างกายที่แสนเหนื่อยล้า แต่ว่าสถานที่นั้นอยู่แห่งใด ? “ขุนสมุทรจีน” อาจเป็นสถานทีท่ เี่ ราก�ำลัง ตามหา ที่นี่เป็นหมู่บ้านเกาะกลางแม่น�้ำที่อยู่ ใกล้ปากอ่าวไทย เป็นสถานทีใ่ กล้ชดิ กับผืนน�ำ้ มากที่ สุ ด ในสมุ ท รปราการ บนเกาะเล็ ก ๆ ทีต่ ดั ขาดการเข้าถึงทางบกกลับมีหมูบ่ า้ นตัง้ อยู่ ที่นี่ รวมทั้งโรงเรียน วัด อนามัยประจ�ำพื้นที่ และบ้านหลังน้อยมุงจากที่ถูกเนรมิตให้เป็น “โฮมสเตย์” ต้อนรับผู้มาเยือน สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 123

hen your body has been W overworked, it is time for a little break. …Close your eyes and imagine of a peaceful place by the nature which would be suitable to for a recharge. But where could that place be? “Khun Samut Chin” might be the one place we seek. Here lies a village in the middle of a river close to the Gulf of Thailand. It is the closest n e i g h b o r to t h e o p e n s e a i n Sumutprakan. Though isolated from the mainland, this little island is home to a school, a temple, community health services and small thatched-roof house that was magically turned into a guesthouse for visitors. Getting here is not as difficult as you would think. Simply take a pick-up taxi or a shuttle van from Phra Samut Chedi Pier – just look for “Sakhla” sign on a small building. One on the van, do not forget to let the driver know to stop at Pa Li Pier. Once you get off the van and walk into a small alley, you'll see elderlies resting in their boats or on the pier. We make a casual eye contact and tell them to go to “Tha Ban Puyai”. They will know exactly where that is. You can expect a special fee of 100 baht for the first passenger and 10 baht per next passenger.

ส�ำหรับการเดินทางมาทีน่ ไี่ ม่ยากอย่างทีค่ ดิ เพี ย งแค่ นั่ ง รถสองแถวหรื อ รถตู ้ จ ากท่ า น�้ ำ พระสมุทรเจดีย์ สังเกตบ้านทีเ่ ขียนว่า “สาขลา” เท่านัน้ พอขึน้ รถแล้วอย่าลืมบอกว่า “ลงท่าเรือ ป้าลี่ด้วย” หลังลงจากรถและเดินเข้าซอย มาที่ท่าเรือป้าลี่แล้ว ก็จะเห็นคุณลุงคุณป้า นอนพั ก กั น อยู ่ ใ นเรื อ บ้ า ง ท่ า เรื อ บ้ า ง เรา แค่ ส บตากั บ คุ ณ ลุ ง คุ ณ ป้ า พร้ อ มบอกไปว่ า “ท่าบ้านผูใ้ หญ่” คุณลุงคุณป้าเจ้าของเรือทีข่ บั

รับ-ส่งก็จะรูก้ นั ทันทีวา่ ทีไ่ หน ซึง่ ค่าโดยสารทีน่ ่ี ก็ แ สนพิ เ ศษเพราะคิ ด คนแรก ๑๐๐ บาท คนต่อไปเสียเพียง ๑๐ บาทเท่านั้น การเดิ น ทางโดยเรื อ ติ ด หางเสื อ ใช้ เวลา เพียงแค่ ๑๐-๑๕ นาทีจากท่าเรือป้าลี่ก็จะถึง จุดหมาย ระหว่างนั้นก็พอมองเห็นธรรมชาติ จากสองข้ า งทางที่ เ ป็ น ป่ า ต้ น จาก วิ ถี ชี วิ ต ริมแม่นำ�้ ทีม่ คี นหาปลา เด็กๆ กระโดดเล่นน�ำ้ รวมถึ ง สนุ ก ไปกั บ การโต้ ค ลื่ น เมื่ อ มี เ รื อ

It only takes 10-15 minutes on a ferry from Pa Li Pier to the destination. The journey is riddled with the nipa palm trees and forest on both sides of the river. Here you can see fishing village culture and witness kids enjoying the water and surfing on the waves from boats passing each other. Once you get off a boat and walk on the ridge for about 500 meters you will reach Visitors Service Center or Ban Puyai Wissanu of Khun Samut Chin to let the village chief know the background of the visitors. He will tell you a brief history of Khun Samut Chin and the current situation. Afterward, he will call in the guesthouse to pick you up by boat. Alternatively, you can walk to the guesthouse by heading towards Noom Noi Shrine. Just turn left toward the concrete and wooden bridge, and keep walking straight. Just be careful not to fall off the wooden bridge if you’re not used to walking on one.

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


สวนทางกัน พอขึน้ จากเรือแล้ว จึงเดินบนคันดิน เข้ า ไปประมาณ ๕๐๐ เมตร ก็ จ ะถึ ง ศู น ย์ อ�ำนวยความช่วยเหลือนักท่องเที่ยวหรือบ้าน ผูใ้ หญ่วษิ ณุแห่งขุนสมุทรจีน เพือ่ ให้ผใู้ หญ่บา้ น รับทราบว่าคนที่มาพักเป็นใคร มาจากไหน รวมถึงบรรยายสถานทีพ่ เิ ศษอย่างขุนสมุทรจีน ให้ฟงั ถึงความเป็นมาและสถานการณ์ทหี่ มูบ่ า้ น ก� ำ ลั ง เผชิ ญ อยู ่ ใ นตอนนี้ แล้ ว ทางผู ้ ใ หญ่ จะโทรศัพท์นัดแนะให้ทางโฮมสเตย์ขับเรือ มารับเราเองหรือถ้าอยากจะเดินไปยังทีพ่ กั เอง

สิงหาคม - กันยายน 2561

ก็ ส ามารถเดิ น ได้ เพี ย งแค่ เ ดิ น ตรงมาทาง ศาลเจ้าพ่อหนุ่มน้อยลอยชาย เลี้ยวซ้ายเพื่อ ขึ้นสะพานไม้สลับปูนแล้วตรงมาตลอดทาง แต่ระวังพลัดตกเพราะไม่ชินสะพานที่ท�ำจาก ไม้เข้าล่ะ เพียงแค่เราก้าวเข้ามาหยุดตรงหน้าบ้าน เจ้าของที่พัก เจ้าหมาปอมเมอเรเนียนตัวเล็ก ก็ จ ะทั ก ทายเสี ย งดั ง อยู ่ ด ้ า นหน้ า โฮมสเตย์ “พีพ่ อเพียงน้องเพียงพอ” ทีเ่ ปิดมาได้ ๓-๔ ปีแล้ว และมีบา้ นพักทัง้ หมด ๗ หลัง โดยชือ่ แสนน่ารัก

มี แรงบั น ดาลใจมาจากชื่ อ ลู ก สาวคนเดี ย ว ของครอบครัว “พี่พอเพียงน้องเพียงพอ” เป็นหนึ่งใน โฮมสเตย์ ข องหมู ่ บ ้ า นขุ น สมุ ท รจี น ที่ อ ยู ่ ใ น ความดูแลของผู้ใหญ่บ้าน โดยราคาค่าเข้าพัก เพียงคนละ ๖๐๐ บาทเท่านั้น ราคานี้รวม อาหาร ๓ มื้อ โดยใช้วัตถุดิบสดๆ ในหมู่บ้าน ที่ ไ ด้ จ ากการนั่ ง เรื อ ออกไปยั ง ปากอ่ า วเพื่ อ สรรหาอาหารที่ ส ดใหม่ ม าให้ ผู ้ ม าเยื อ นได้ ลองลิ้มรสชาติ รวมไปถึงกิจกรรมระหว่างวัน

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 125

A small Pomeranian dog will greet you as you stop in front of “Pee Por Peang Nong Peang Por” guesthouse which has been opened for 3-4 years. There are 7 houses in total. The name of the place is inspired by the name of the owner’s only daughter. “Pee Por Peang Nong Peang Por” is one of the guesthouses in Khun Samut Chin under village chief’s care. The stay costs a mere 600 baht per person which comes with 3 freshly cooked meals per day using fresh ingredients from the local fishermen that venture to the sea seeking fresh catches for visitors to taste. There are also activities during the day such as catching clams and planting mangrove trees. The locals mentioned that the best time of a year is winter that comes with constant breeze. You can also watch the sunset at the guesthouse or take a walk on the ridge next to Wang Kung (shrimp farms) in the village toward Wat Khun Samut Trawat (Wat Klang Talay). You can also enjoy the nature’s greatness by the Gulf of Thailand from the bridge that extends into the sea. As the night comes, the light in every house is off leaving the moonlight to shine on the village with bugs singing a perfect lullaby to send us off to a sleep in a little home. As birds signal a new day, you will find yourself waking up to a peaceful setting and a cool weather that embraces you. Looking out, you will see a warming sunlight that shines from the sky. Your seemingly exhausted body will be energized and freshened as you take a deep breathe from the fresh air. Perhaps it is because of the enchanting spell that was cast upon us since the moment we set foot on Khun Samut Chin. The time comes when we must wave goodbye to the little house on the ridge that had become our home on this trip. We cannot help but feel slightly dismayed by the thought of all the chaos that one must face. We can only just close our eyes and embrace the nature in our thoughts and dream of the day that we revisit this place to recharge our life energy…

ในหมู่บ้าน ได้แก่ งมหอยแครง และปลูกป่า ชายเลน คนต้อนรับบอกเราว่าฤดูเที่ยวที่ดีที่สุดคือ ฤดูหนาวเพราะอากาศไม่ร้อนเกินไป มีลม พั ด โชยตลอดเวลา ตกเย็ น ก็ ส ามารถนั่ ง ดู พระอาทิ ต ย์ ต กจากบ้ า นพั ก ได้ ชิ ล ล์ ๆ หรือจะเดินบนคันดินข้างวังกุ้งในหมู่บ้านเพื่อ ไปสักการะพระพุทธรูปปางห้ามสมุทรตรง วัดขุนสมุทราวาส (วัดกลางทะเล) นัง่ ดืม่ ด�ำ่ กับ บรรยากาศปากอ่าวไทย ซึมซับความยิ่งใหญ่ ของธรรมชาติจากตรงสะพานทีย่ นื่ ออกไปก็ได้ เมื่อเวลากลางคืนมาเยือน บ้านทุกหลัง ก็ดับไฟ เหลือเพียงแสงจากพระจันทร์ส่อง ลงมา เสียงน�้ำและเสียงแมลงก็เป็นดั่งเสียง เพลงขับกล่อมชั้นเลิศ พาเราเข้าสู่ห้วงนิทรา แสนสบายในบ้านพักหลังน้อย เสียงนกร้องบ่งบอกถึงเช้าวันใหม่ เมือ่ ลืมตา

พีพ่ อเพียงน้องเพียงพอ ขุนสมุทรจีนโฮมสเตย์ โทรศัพท์ ๐๘ ๑๒๙๗ ๗๒๗๒, ๐๘ ๙๖๘๗ ๓๑๕๐, ๐๘ ๒๓๔๓ ๙๑๑๐

ตื่ น ขึ้ น มาก็ จ ะพบกั บ บรรยากาศแสนสงบ ความเย็นของอากาศยามเช้าห่มคลุมร่างกาย ยามมองออกไปก็จะพบกับแสงสีแดงอ่อนจาก พระอาทิตย์ เมื่ อ สู ด อากาศแสนบริ สุ ท ธิ์ ที่ ร ายล้ อ ม ร่ า งกายที่ แ สนอ่ อ นล้ า ก็ ดู เ หมื อ นจะสดใส ขึ้นมาทันที บางทีอาจเป็นเพราะมนต์เสน่ห์ แห่งความสุขที่ทักทายเราตั้งแต่ก้าวขึ้นบน เกาะขุนสมุทรจีน.... ถึงคราวโบกมือลากระท่อมหลังน้อยบน คันดินทีท่ ำ� หน้าทีเ่ สมือนบ้านอันแสนสงบก็อด ใจหายไม่ได้ เมือ่ นึกถึงความวุน่ วายทีต่ อ้ งเผชิญ ฉั น ท� ำ ได้ เ พี ย งหลั บ ตาซึ ม ซั บ บรรยากาศ ท่ามกลางธรรมชาติ กอบเก็บความสวยงาม และความรู้สึกกลับไปนอนวาดฝัน นับวัน รอคอยทีจ่ ะกลับมาทีน่ อี่ กี ครัง้ เพือ่ ชาร์จแบต พลังงานความรู้สึกให้เต็มเหมือนเดิม...

PEE POR PEANG NONG PEANG POR KHUN SAMUT CHIN GUESTHOUSE Tel: 08 1297 7272, 08 9687 3150, 08 2343 9110 AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


SAMUTPRAKAN HOT SHOT

LIFE IS BEAUTIFUL

ชีวิตที่สวยงาม

ทุกๆ สถานที่จะสวยสมบูรณ์เมื่อมีชีวิตด�ำเนินเรื่องราว แวะเทีย่ วชมความสวยงามทางวัฒนธรรมและการด�ำเนินชีวติ ในเมืองปากน�ำ้ แบ่งปันมุมโปรดในสมุทรปราการของคุณมาได้ที่ samutprakanmagazine@gmail.com

ของรางวัลเล็กๆ น้อยๆ รอคุณอยู่ และเมืองน่ารักน่าเที่ยวอย่าง “สมุทรปราการ” ก็รอคุณอยู่เช่นกัน

ชีวิตริมคลอง ตลาดโบราณบางพลี / ปราณี CANAL LIFE, AGE-OLD BANGPHI MARKET สิงหาคม - กันยายน 2561

SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 127 Every beautiful places has a story behind it. Visit the cultural beauty and people's way of life in Pak Nam city

Please feel free to share us photos of your favorite corner in Samutprakan samutprakanmagazine@gmail.com A little reward awaits you. As well as this lovely province, Samutprakan!

ไปพบเพื่อนใหม่ ที่ สะพานสุขตา บางปู / นภาพร MEET NEW FRIENDS @ SUKTA BRIDGE, BANG PU / NAPAPORN AU GU ST - SEPT EMB ER 2018


C A L E N DA R / S A M U T P R A K A N 2 0 1 8 E V E N T

EVENT

CALENDAR

ปฏิทินท่องเที่ยว

จังหวัดสมุทรปราการ

83rd RUB BUA TRADITION KHLONG SAM RONG, IN FRONT OF BANG PHLI YHAI NAI TEMPLE, BANG PHLI DISTRICT, SAMUTPRAKAN nd rd 22 -23 OCTOBER 2018

สิงหาคม - กันยายน 2561

งานประเพณีรับบัว ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ครั้งที่ ๘๓ คลองส�ำโรง หน้าวัดบางพลีใหญ่ใน (วัดหลวงพ่อโต) อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ วันขึ้น ๑๔ ค�่ำ เดือน ๑๑ วันที่ ๒๒ - ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ SA MU TPR A KA N TR AVEL MAG A ZI N E


TRAVEL

@SAMUTPRAKAN 129

PHRASAMUT CHEDI WORSHIPPING CEREMONY AND SAMUTPRAKAN’S RED CROSS FAIR PHRA SAMUT CHEDI DISTRICT AND IN FRONT OF SAMUTPRAKAN CITY HALL DURING 29th OCTOBER - 9th NOVEMBER 2018

งานนมัสการองค์พระสมุทรเจดีย์ และงานกาชาดจังหวัดสมุทรปราการ บริเวณฝั่งอ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ และอ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ วันที่ ๒๙ ตุลาคม - ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑

AU GU ST - SEPT EMB ER 2018




องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ

Samutprakan Provincial Administrative Organization samutprakan.pao@gmail.com

www.samutprakan-pao.go.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.