CSR 25

Page 1









C

10


12


13


3.

14


15


พลังงานลม

C

ตารางผลการดำเนินงานภายใต้กฎหมายพลังงานหมุนเวียนในปี 2000 ประเภท ลักษณะเด่นและทิศทางการพัฒนา พลังงานลม พลังงานลมเป็นพลังงานทางอ้อมของพลังงานแสง อาทิตย์ เนือ่ งจากพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ทำให้ เกิดลม ดังนัน้ พลังงานลมจึงเป็นพลังงานทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม แต่พลังงานที่ได้จากลมนั้นค่อนข้างไม่แน่นอน เพราะกระแสลมไม่ได้คงที่ตลอดเวลา ดังนั้น จึงควรใช้ กระแสไฟฟ้าพลังงานลมควบคูไ่ ปกับไฟฟ้าจากแหล่งพลังงาน อืน่ ๆ การผลิตกระแสไฟฟ้าจากลมนัน้ ทำได้ดว้ ยกังหันลม ซึง่ สามารถทำการติดตัง้ ได้ในหลายๆ ภูมปิ ระเทศ เช่น กลาง ทะเล บนชายหาด บนเขา หรือแม้กระทัง่ บนแผ่นดินทัว่ ๆ ไป และกังหันลมยังมีทงั้ ขนาดใหญ่ กลาง และเล็ก ศักยภาพ ในการผลิตไฟฟ้ากระแสลมของประเทศเยอรมนียังไม่หมด เพียงเท่านี้ ทีผ่ า่ นมามีการหาพืน้ ทีท่ เี่ หมาะสมสำหรับสร้าง โรงงานไฟฟ้ากระแสลมเพิม่ ขึน้ อีกในทางใต้ของประเทศและมี การปรับปรุงกังหันลมขนาดเล็กแบบเก่า ให้เป็นกังหันลมทีใ่ ช้ เทคโนโลยีใหม่และขยายขนาดให้ใหญ่ขนึ้ อีก (repowering) การเพิม่ จำนวนและการปรับปรุงโรงไฟฟ้าพลังงาน พลังงานน้ำ น้ำมีคอ่ นข้างน้อยเช่นเดียวกับปีทผี่ า่ นๆ มา แต่ยงั มีโรงไฟฟ้า พลังงานน้ำขนาดเล็กอีกหลายๆ แห่งทีค่ วรได้รบั การฟืน้ ฟูให้ กลับมาใช้งานได้ใหม่ และการปรับปรุงเทคนิคในโรงงานทีม่ ี อยู่แล้วให้ทันสมัย อีกทั้งสร้างโรงงานไฟฟ้าเพิ่มเป้าหมาย ของรัฐบาลเยอรมนี คือ เพิม่ กำลังการผลิตกระแสไฟฟ้าจาก พลังงานน้ำไปพร้อมๆ กับการปรับปรุงสภาพนิเวศวิทยาของ แหล่งน้ำให้ดขี นึ้ ด้วย 16

ผลทีไ่ ด้จากการดำเนินนโยบาย มีการก่อสร้างโรงผลิตไฟฟ้าพลังงานลม มากขึน้ 21,088 แห่ง มีการผลิตกระแสไฟฟ้า พลังงานลมทัง้ หมด 37.8 ล้านกิโลวัตต์ (TWh) จากโรงไฟฟ้าพลังงานลมทัง้ หมด 21,164 โรง สัดส่วนของการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานลม ต่อกระแสไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานทั้งหมด คือ 6.5% ทีม่ า : กระทรวงสิง่ แวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ ของเยอรมนี [3]

มี ก ารผลิ ต กระแสไฟฟ้ า พลั ง งานน้ ำ เป็นจำนวน 19 ล้านกิโลวัตต์ (TWh) คิดเป็น 3.39% ของไฟฟ้าทัง้ หมดและสามารถช่วยลดการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 16 ล้าน


AD

17


พลังงานชีวมวลนั้นได้มาจากวัสดุทางธรรมชาติ เช่น เศษฟาง ไม้ ข้าวโพด อ้อย ธัญพืชต่างๆ น้ำมันพืช รวมไปถึงขยะจากพืช มูลสัตว์และมนุษย์ การผลิตพลังงาน ชีวมวลนีก้ ใ็ นกฎหมายพลังงานหมุนเวียนภายใต้กฎกระทรวง ว่าด้วยชีวมวล (Biomasseverordnung) ระบุไว้ชดั เจนว่าวัสดุ ชนิดใดบ้างและเทคนิคขัน้ ตอนการผลิตแบบใดบ้างทีส่ ามารถ นำมาใช้ในการผลิตได้และเงือ่ นไขทางสิง่ แวดล้อมใดทีผ่ ผู้ ลิต ต้องปฏิบตั ติ ามเพือ่ ทีจ่ ะได้รบั การสนับสนุนภายใต้ขอ้ กำหนด ของพระราชบัญญัตพิ ลังงานหมุนเวียน

ในปี ค.ศ. 2009 มีการผลิตกระแส ไฟฟ้าจากชีวมวลเป็นจำนวนประมาณ 28.6 ล้าน กิโลวัตต์ (TWh) คิดเป็นสัดส่วน 5.2% ของการ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนทัง้ หมด (ในการ ทำความร้อนใช้พลังงานจากชีวมวลเป็นสัดส่วนถึง 91% จากพลังงานที่ใช้ทำความร้อนทั้งหมด เนื่องจากประเทศเยอรมนีมีอากาศหนาวเย็น พลังงานที่จะใช้ทำความร้อนจึงเป็นสัดส่วนที่ สำคัญ)

พลังงานแสง แสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานทีม่ นั่ คงและสามารถ อาทิตย์ ใช้ได้ในระยะยาว พลังงานแสงอาทิตย์สามารถใช้ได้โดยตรง โดยนำมาทำความร้อน และสามารถให้กระแสไฟฟ้าได้จาก การใช้ photovoltaic

กระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ได้ เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นหน้ามากเช่นเดียวกับปีทผี่ า่ นๆ มา คือ มีจำนวนทัง้ สิน้ 6.2 ล้านกิโลวัตต์ (TWh) ซึ่งเป็นครั้งแรกที่คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าหนึ่ง เปอร์เซ็นต์ของการผลิตไฟฟ้าทัง้ หมด นอกจากจะ มีการนำพลังงานหมุนเวียนมาใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้าแล้ว ยังนำมาใช้ในการทำความร้อน และใช้เป็นเชือ้ เพลิงอีกด้วย

พลังงาน ชีวมวล

18


19


C

20


21


22


C

23


24


25


C

26


28


29


C

30


32


C

33


34


35


36


ดุสติ นนทะนาคร

C

37



CSR

Course



42


43


44


45


ใบสมัครสมาชิกวารสารธุรกิจกับสังคม (CSR Journal) ชื่อ ................................................................................ นามสกุล ................................................................. ตำแหน่ง ....................................................................... บริษัท ..................................................................... สถานที่ส่งนิตยสาร (โปรดระบุชื่อที่อยู่ให้ชัดเจน) .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... เบอร์ โทรติดต่อ โทรศัพท์บ้าน

-

โทรศัพท์มือถือ โทรสาร

-

-

-

-

E-mail ............................................................................................................................................................. สมัครสมาชิก สมัครสมาชิก 1 ปี (4 ฉบับ) ราคา 300 บาท (ปกติค่าสมาชิกต่อฉบับคือ 90 บาท) ประสงค์จะตอบรับวารสาร เริ่มตั้งแต่ฉบับเดือน .................................................. เป็นฉบับแรก ขั้นตอนการสมัครสมาชิก เงินสด (เฉพาะกรณีสมัครด้วยตนเอง) โอนเงินเข้าบัญชี SVN Thailand ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก บัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 180-832-4782 จำนวนเงิน .......................................... บาท วันที่โอน .................................................................. หลังจากชำระเงินค่าสมัครแล้ว กรุณาส่งสำเนาใบโอนเงิน ชื่อและที่อยู่ที่ต้องการให้ออกใบเสร็จ พร้อมใบสมัครมาทางแฟกซ์ : 0-2978-2593 หรือทางไปรษณีย์มาที่ กองบรรณาธิการวารสารธุรกิจกับสังคม บริษัท สร้างสื่อ จำกัด 17/118 ซอยประดิพัทธ์ 1 ถนนประดิพันธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร.0 2279 9636, 0 2271 4339 โทรสาร 0 2618 7838


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.