แบ่งปัน ว า ร ส า ร ISSN 1960-0300
ฉ บั บ พิ เ ศ ษ
ภาพรวมและพัฒนาการ ของการจัดการความรู้ ในสถาบันมะเร็งแห่งชาติ แนวคิดการพัฒนาองค์ ความรู้ของ นพ.ธีรวุฒิ คูหะเปรมะ 5 ทำ 5 ไม่ ที่ ใครๆ ควรรู้
ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ ส ถ า บั น ม ะ เ ร็ ง แ ห่ ง ช า ติ NCI KNOWLEDGE MANAGEMENT www.kmnci.com
ความหมายตราสั ญ ลั ก ษณ์
โรคมะเร็ง (Cancer) เป็นภาษาละตินที่มีรากศัพท์มาจากภาษา กรีก จากคำว่า Carcinos แปลว่า “ปู” เนื่องจากเนื้องอกมะเร็งสามารถ จับติดกับเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกายอย่างเหนียวแน่นคล้ายกับก้ามปู และ ยังลุกลามไปยังเนื้อเยื่อปกติที่อยู่รอบๆ ตลอดจนแพร่กระจายไปยังอวัยวะ อื่ น ๆ เปรี ย บเสมื อ นขาปู ที่ แ ผ่ อ อกจากตั ว ปู และพร้ อ มที่ จ ะเดิ น ไปยั ง ทิศทางใดก็ได้ ดังนั้นจึงใช้ “ปู” เป็นสัญลักษณ์ แทน “โรคมะเร็ง” และ ตราสัญลักษณ์ของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ได้ใช้รูปทรงก้ามปูแทนตัวปู โดยจัดวางเป็นสัญลักษณ์ของหัวใจ สือ่ ความหมายว่า “สถาบันมะเร็งแห่งชาติ รวมใจ รวมพลัง ต่อสู้โรคมะเร็ง”
Digital Mobile Mammography
รถเอกซเรย์เต้านมเคลื่อนที่ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร เชิงรุกเพื่อตรวจคัดกรอง มะเร็งเต้านม ระยะเริ่ม แรกสำหรับประชาชนจะ ใช้รปู แบบเข้าถึงชุมชนซึง่ เป็นพืน้ ทีใ่ นเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลหรือโรงพยาบาลประจำ จังหวัด เพื่อบริการให้กับประชาชนที่ขาดโอกาส มารับการรักษา ตรวจโรคมะเร็งอย่างเท่าเทียมกัน ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 40-60 ปี และสตรี กลุ่ ม เสี่ ย งให้ ค วามสนใจและมารั บ การตรวจ คัดกรองมะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรกมากยิ่งขึ้น สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ จึ ง มี แ นวคิ ด ใหม่ จั ด ทำรถเอกซเรย์ เ ต้ า นมด้ ว ย
ระบบดิจิทัลเคลื่อนที่คันแรกของ กระทรวงสาธารณสุ ข ที่ ทั น สมั ย ที่สุดในเอเชีย คุณสมบัติ พิเศษของรถคันนี้คือ สามารถเก็ บ ข้ อ มู ล ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
โดยไม่ ต้ อ งใช้ ฟิ ล์ ม ก็
สามารถนำเอาข้อมูลบันทึกลงแผ่นดิสก์ให้ผู้ป่วย เพื่อนำไปปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้ง่ายขึ้น หรือ อาจใช้ส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตได้หากต้องใช้ฟิล์ม ก็ ส ามารถถ่ า ยเป็ น ฟิ ล์ ม ออกมาดู ไ ด้ เ ช่ น กั น ซึ่ ง มี อุปกรณ์รุ่นใหม่ เครื่องเอกซเรย์เต้านมสตรีตาม สรีระที่แตกต่างได้ชัดเจนจะช่วยลดความเจ็บปวด และความกั ง วลของผู้ ป่ ว ย ซึ่ ง ภาพที่ อ อกมาจะมี ความละเอี ย ด คมชั ด มากยิ่ ง ขึ้ น รวมทั้ ง เครื่ อ ง อัลตราซาวด์ที่ช่วยในการตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง เต้านมให้ได้ผลแม่นยำมากยิ่งขึ้น แผนงานบริการสำหรับประชาชน จะช่วย ในการตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็งเต้านมทำให้ง่ายต่อ การตรวจ คัดกรอง เฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านม อย่างเป็นระบบ โดยสถาบันมะเร็งแห่ง ชาติได้นำรถ Digital Mobile Mammography ออกให้บริการแก่หน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งประชาชน ที่ ข าดโอกาสในการเข้ า ถึ ง บริ ก าร ตลอดจนการทำวิ จั ย และพั ฒ นาระบบ การตรวจคั ด กรองมะเร็ ง เต้ า นมใน อนาคต
วั ต ถุ ป ระสงค์ “วารสารแบ่งปัน ฉบับพิเศษ มีวัตถุประสงค์เพื่อ เป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ แบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ที่ได้จากการจัดกิจกรรมอันเกี่ยวข้องกับ การจัดการความรู้ภายในสถาบันมะเร็งแห่งชาติ รวมถึงความรู้ด้านโรคมะเร็งสำหรับ ประชาชนทั่วไป และบุคลากรสาธารณสุข” บรรณาธิการบริหาร ธีรวุฒิ คูหะเปรมะ บรรณาธิการ วีรวุฒิ อิ่มสำราญ กองบรรณาธิการ เกศกัญญา รัตนปัญญา ภรณี ขาวอ่อน โชคชัย สุขเหลือง มลินี สนธิไชย ธิดา ปัญจพันธ์พงศ์ วทินันท์ เพชรฤทธิ์ นภาพร อุดมผล วารีพร ศักดิ์สมบูรณ์ ผ่องพรรณ รมหิรัญ สมจิตร ประภากร พรนภา จันทรวีระกุล สุนันทา จริยาเลิศศักดิ์ พิกุล ใหลศุภสิน อาคม ชัยวีระวัฒนะ อารีย์ ประสิทธิพยงค์ ประสานงานการผลิตและงานสมาชิก วารีพร ศักดิส์ มบูรณ์, วรวลัญช์ ศักดิส์ นิ , พรพรรณ ชมงาม, ราชวุฒิ รัตนไตร เจ้าของ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ผลิตโดย คณะกรรมการพัฒนาการจัดการความรู้ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 268/1 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2354-7025 ต่อ 1525 โทรสาร. 0-2354-7018 E-mail : ncilibrary@yahoo.com เว็บไซต์ : www.kmnci.com ออกแบบ บริษัท สร้างสื่อ จำกัด 17/118 ซ.ประดิพัทธ์ 1 ถ.ประดิพัทธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. 10400 โทร. 0-2279-9636 โทรสาร 0-2618-7838 พิมพ์ท ี่ บริษัท พิมพ์ดี จำกัด
วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์
Content
CONTENT ฒ นาการของการจั ด การ 6 ภาพรวมและพั ความรู้ ภ ายในสถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ
Management 15 Knowledge แนวคิ ด การพั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ของ นพ.ธี ร วุ ฒิ คู ห ะเปรมะ NCI-Sharing Day
17 สรุปองค์ความรู้จากเวทีเสวนา
Department K-Sharing
29 กิจกรรมการจัดการความรู้ภายในกลุ่มพยาบาลเคมีบำบัด ความรู้ เ รื่ อ งโรคมะเร็ ง
32 - 5 ทำ 5 ไม่ ที่ ใครๆ ควรรู้
- มาทำความรู้ จั ก การตรวจคั ด กรองมะเร็ ง กั น เถอะ - หลั ก ใหญ่ ใ จความในการรั ก ษาโรคมะเร็ ง - การดู แ ลตนเองที่ บ้ า น ระหว่ า งหรื อ หลั ง การรั ก ษามะเร็ ง
ความรู้ เ พื่ อ สุ ข ภาพ
43 - ปรับสมดุลของร่างกายด้วยพืชสมุนไพร การแพทย์ ท างเลื อ ก
46 การแพทย์ทางเลือกกับโรคมะเร็ง ภาพข่ า ว
49 - กิจกรรม KM มุ ม ห้ อ งสมุ ด
50 - แนะนำหนังสือใหม่ - แนะนำวารสารใหม่
สารจากประธานคณะกรรมการ พั ฒ นาการจั ด การความรู้ ขอแสดงความยินดีกบั โครงการจัดทำวารสาร “แบ่งปัน” ฉบับพิเศษ องค์ความรูข้ องสถาบันมะเร็งแห่งชาติ โดย คาดหวังให้เป็นสือ่ สิง่ พิมพ์ทมี่ เี นือ้ หาสาระหลากหลาย ทางวิ ช าการที่ เ หมาะสมกั บ ผู้ อ่ า นทุ ก ระดั บ และ สามารถกระจายไปสู่สาธารณชนในวงกว้าง และ ทำให้หน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ ได้รับทราบความ เคลื่ อ นไหวภายในสถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ ซึ่ ง มี พัฒนาการแลกเปลีย่ น เรียนรู้ ถ่ายทอดประสบการณ์ และสามารถแบ่งปันทั้งในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ผมปรารถนาให้วารสาร “แบ่งปัน” เป็นเสมือน ศูนย์กลางการสือ่ สารทัง้ ภายในและภายนอกสถาบันฯ และขอเป็นกำลังใจให้เจ้าหน้าทีท่ กุ หน่วยงานในสถาบัน มะเร็งแห่งชาติได้ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเต็มความสามารถ เพื่ อ พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ข องสถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ ของเราให้มีคุณภาพและความก้าวหน้ายิ่งขึ้น (นายแพทย์ธีรวุฒิ คูหะเปรมะ) ประธานคณะกรรมการ
สารจากรองประธานคณะกรรมการ พั ฒ นาการจั ด การความรู้
เป็นที่ยอมรับโดยทั่วกันว่า องค์กรที่ประสบความสำเร็ จ สามารถอยู่รอดได้ในยุคปัจจุบัน คือองค์กรที่สามารถรับมือกับ ความเปลี่ยนแปลง และมีความพร้อมอยู่ตลอดเวลาในการปรับตัว ให้ทันต่อสถานการณ์ที่ไม่อาจคาดการณ์ได้ แสดงนัยว่า ความรู้ ความสามารถของคนในองค์กรนั้นทุกระดับ นับตั้งแต่ผู้บริหาร ระดับสูงจนถึงผู้ปฏิบัติงานระดับล่าง ล้วนเป็นปัจจัยหลักที่สำคัญ ที่สุดต่อความสำเร็จในการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน หรืออาจ กล่าวได้ว่า ความรู้ที่อยู่ในตัวคนนั้น สำคัญยิ่งกว่าทรัพยากรอื่นใด ในองค์กร สถาบันมะเร็งแห่งชาติให้ความสำคัญกับการจัดการความรู้ โดยเน้นการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เปิดโอกาสให้บุคลากรทุกคนทุก ระดับ มีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ทั้งใน ระดับองค์กร หรือระดับกลุ่มงาน/ฝ่าย ทั้งอย่างเป็นทางการและ ไม่เป็นทางการมาโดยตลอด นับตั้งแต่ปี 2549 จนถึงปัจจุบัน ย่างเข้าสู่ปีที่ 6 คณะกรรมการพัฒนาการจัดการความรู้ต่างเห็น พ้ อ งต้ อ งกั น ในการจั ด ทำสื่ อ กลางเพื่ อ เผยแพร่ กิ จ กรรมการ จัดการความรู้ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสถาบันมะเร็งแห่งชาติ อีกทั้งเป็น ช่ อ งทางในการให้ ค วามรู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เรื่ อ งสุ ข ภาพทั่ ว ไปและ ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับโรคมะเร็งในแง่มุมต่างๆ โดยใช้รูปแบบของ ภาษาที่ง่ายต่อความเข้าใจของประชาชน และที่สำคัญเพื่อเป็นสื่อ ให้ผู้ป่วยและประชาชนทั่วไปได้รับรู้ข้อมูลด้านโรคมะเร็งที่ได้รับ การกลั่นกรองว่าถูกต้อง น่าเชื่อถือ ในท่ามกลางสภาพสังคมที่ อุดมไปด้วยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโรคมะเร็งที่จำเป็นต้องใช้เหตุผล และวิ จ ารณญาณอย่ า งยิ่ ง ยวดในการบริ โ ภคข่ า วสารเหล่ า นี้ เนื่องจากมักมีประเด็นทางธุรกิจและผลประโยชน์แอบแฝงที่มา เกี่ยวข้องกับโรคมะเร็งอยู่เสมอ ในนามของทีมบรรณาธิการและคณะกรรมการพัฒนาการ จัดการความรู้ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้อ่าน จะได้รบั ความรูแ้ ละข้อคิดดีๆ และเป็นประโยชน์ผา่ นทาง “วารสาร แบ่งปัน” ที่ท่านกำลังอ่านอยู่นี้ ไม่มากก็น้อย ด้วยความเคารพ (นายแพทย์วีรวุฒิ อิ่มสำราญ) รองประธานคณะกรรมการพัฒนาการจัดการความรู้ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ บรรณาธิการวารสารแบ่งปัน แ บ่ ง ปั น
สารจากเลขานุการคณะกรรมการ พั ฒ นาการจั ด การความรู้
การที่ อ งค์ ก รส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานมี ก ารพั ฒ นา ชีวิตตัวเองก่อนนั้น นอกจากจะทำให้เกิดแรงจูงใจในการ ทำงานแล้ว สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่องค์กรจะได้รับ คือ ได้รับรู้ว่าคนแต่ละคนมีเป้าหมายในชีวิตเป็นอย่างไร มีอะไรบ้างที่องค์กรสนับสนุน
(นายแพทย์อาคม ชัยวีระวัฒนะ) เลขานุการคณะกรรมการ
ฉบั บ พิ เ ศษ
ภ า พ ร ว ม แ ล ะ พั ฒ น า ก า ร ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ ภ า ย ใ น ส ถ า บั น ม ะ เ ร็ ง แ ห่ ง ช า ติ
ภาพรวมและ พั ฒ น า ก า ร ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ ภายในสถาบันมะเร็งแห่งชาติ โดย นายแพทย์วีรวุฒิ อิ่มสำราญ รองผู้อำนวยการสถาบันมะเร็งแห่งชาติ
ความเป็นมา
ิ่ ม ป ร า ก ฏ ค ว า ม เป็ น เร ิ ต า ช ง ่ ห แ ง ็ ร ะเ ม ง ส ถ า บั น แพทย์วีรวุฒิ าย น าก ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ ข อ จ ง ั ล ห า ม น ้ ุลาคม 2549 เป็นต ต ่ ต แ ง ้ ั ต น ้ ึ ปฏิบัติงานที่ ข ม ่ ิ น เร เจ า ด ั ม ช ย ม า ้ ร ย ิ ต รูปธร า ช ง ่ ห แ วยการสถาบันมะเร็ง น ำ อ ้ ู ผ ง อ นคณะกรรมการ ร ธา ญ ระ า ป ร ำ ่ ง ส น ห อิ่ม ำแ งต ำร ติ จากอดีตที่ท่านเคยด า ช ง ่ ห แ ง ็ ร ะเ รกของโรงพยาบาล แ ม น น ั ค ้ ู บ ร า ม ถ ส วา ค าร ก ด ั จ น้าศูนย์พัฒนาการ ้านการจัดการความรู้ ด ม ร ร ก จัดการความรู้และหัวห จ ิ าก น ฒ ั าพ ม ์ รู้ ประสบการณ ราชวิถี จึงได้นำความ ำดับเหตุการณ์ดังนี้ ล าม ต ญ ั ำค ส ่ ี ท ม ร ร ก มีกิจ
ปีงบประมาณ 2550 เนื่องจากในแผนพัฒนาระบบราชการมุ่ง เน้นให้หน่วยงานเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ซึ่ง การจัดการความรู้เป็นตัวชี้วัดหลักตามการจัดทำ คำรั บ รองปฏิ บั ติ ร าชการ และประเมิ น ผลการ ปฏิ บั ติ ร าชการของส่ ว นราชการ ที่ น ำไปสู่ ก าร บริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ที่องค์กรจะต้องมี การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และสามารถประมวลผล ความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการ ปฏิ บั ติ ร าชการได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง รวดเร็ ว และ เหมาะสมต่อสถานการณ์ สถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ ในฐานะหน่ ว ย งานราชการที่ ก ำกั บ ดู แ ลเรื่ อ ง ศึ ก ษา ค้ น คว้ า วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยี วิ ช าการทางการแพทย์ ด้ า นโรคมะเร็ ง ให้ ก าร ศึกษาและฝึกอบรมแก่แพทย์ และแพทย์ประจำ บ้ า น ตลอดจนให้ บ ริ ก ารตรวจ วิ นิ จ ฉั ย และ บำบัดรักษา เพื่อพัฒนาวิชาการแพทย์ เฉพาะ ทางด้านโรคมะเร็ง จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ ในการนำแนวคิดการจัดการความรู้ เข้ามามี ส่วนช่วยในการปฏิบัติราชการขององค์กร โดย ได้ดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาการ จัดการความรู้ ที่มาจากทุกกลุ่มงาน/ฝ่ายต่างๆ ด้วยความสมัครใจ และหน้าที่ความรับผิดชอบ 5 ประการ ได้แก่ 1. การวางแผนปฏิ บั ติ ง านการจั ด การ ความรู้ของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ เพื่อสนับสนุน ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด บรรยากาศที่ เ อื้ อ อำนวยต่ อ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ และความรู้จาก ภายในองค์กร 2. การดำเนินงานและติดตามประเมิน ผลแผนปฏิบตั กิ ารโครงการการจัดการความรูข้ อง สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ทัง้ ในเรือ่ งของการจัดอบรม พัฒนาบุคลากรในสถาบันฯ การจัดทำเอกสาร ทางวิชาการติดต่อสื่อสาร เพื่อให้เกิดความรู้สึก เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของบุคลากรในสถาบัน 3. การจัดการความรู้ของสถาบันมะเร็ง แ บ่ ง ปั น
แห่งชาติ มุ่งเน้นการสื่อสารผ่านทางสิ่งพิมพ์ทาง วิชาการ เพื่อกระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากงานของเพื่อน ร่วมวิชาชีพ อีกทั้งยังเป็นแหล่งเผยแพร่ผลงาน และการทำงานวิจยั ในหน่วยงานต่างๆ ทางวิชาการ ทางด้านการจัดการความรู้ของสถาบันมะเร็งแห่ง ชาติ ให้เป็นที่รับรู้ในวงกว้าง 4. การจัดการความรู้ของสถาบันมะเร็ง แห่งชาติ มุ่งเน้นการสร้างเครือข่ายการจัดการ ความรู้กับองค์กรภายนอก เพื่อแลกเปลี่ยนความ รู้ ร วมทั้ ง เรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ งานที่ ก ำลั ง ปฏิ บั ติ ถื อ เป็นการแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกัน
การพัฒนาการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2550 สาระสำคั ญ ของการพั ฒ นาการการ จั ด การความรู้ ข องสถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ ใน ปีงบประมาณ 2550 ทีไ่ ด้ดำเนินการมีดงั ต่อไปนี ้ 1. โครงการสำรวจวัฒนธรรมองค์กรที่มี ผลต่อการจัดการความรู้ ในรูปแบบของการจัด ทำแบบสอบถาม เพื่ อ สำรวจความคิ ด เห็ น ของ บุคลากรในองค์กร 2. โครงการจัดซื้อตำราวิชาการด้านการ จัดการความรู้ ซึ่งคณะกรรมการฯ มีมติให้จัดทำ มุมหนังสือเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (และ เก็ บ ไว้ ที่ ศู น ย์ พั ฒ นาคุ ณ ภาพร่ ว มกั บ การรั บ รอง คุณภาพโรงพยาบาล) 3. โครงการอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารด้ า น การจัดการความรู้ เพื่อถ่ายทอดให้แก่บุคลากร ภายในองค์ ก ร โดยเชิ ญ วิ ท ยากรมาบรรยาย ได้แก่ เรื่ององค์ความรู้สำหรับผู้บริหารด้านการ จัดการความรูโ้ ดย นพ.พิเชษฐ์ บัญญัติ ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลบ้านตาก และเรื่องการจัดการ ความรู้ในความต้องการแนวทางของสถาบันเพิ่ม ผลผลิตแห่งชาติ และ กพร. โดย ดร.สมบัติ กุสมุ า วลี คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันพัฒน บริหาร- ศาสตร์
4. โครงการการจัดทำเว็บไซต์การจัดการ ความรู้ http://www.kmnci.com โดยโครงการนี้ ได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บุคลากร ภายในองค์กรมีการสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้กัน ผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต ไว้ที่ www.kmnci.com ซึ่งถือเป็นช่องทางในการแลกเปลี่ยนความรู้ของ บุคลากรอีกช่องทางหนึ่ง 5. โครงการศึ ก ษาดู ง านการจั ด การ ความรู้ น อกสถานที่ โดยคณะกรรมการฯ ได้ พิ จ ารณาคั ด เลื อ กบริ ษั ท ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ได้ แ ก่ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด ซึ่งจากการดูงานที่ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด นั้นทางบริษัทได้ใช้ เทคโนโลยี ร ะบบเครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ภ ายใน องค์กร ในการจัดการความรู้ด้านต่างๆ มีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องที่มีความสำคัญและจำเป็น สำหรั บ พนั ก งานทุ ก ระดั บ เฉพาะภายในบริ ษั ท และเครือข่าย แต่บุคลากรภายนอกไม่สามารถ เข้ามาแบ่งปันความรู้ได้ โดยใช้เทคนิคการจูงใจ พนั ก งานให้ มี ส่ ว นร่ ว มด้ ว ยวิ ธี ต่ า งๆ และทาง สถาบันฯ ยังมีการส่งบุคลากรไปอบรมสัมมนา เช่น งานประชุมเรื่องเทคนิคการแพทย์การส่ง เสริมสุขภาพ ที่โรงแรมแอมบาสเดอร์ จังหวัด ชลบุรี 6. โครงการการจั ด การความรู้ ข อง สถาบันมะเร็งที่อาศัยความร่วมมือกับหน่วยงาน อื่นๆ ทั้งภายในและต่างประเทศ ได้แก่ โครงการ พหุสถาบัน การฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน กรม การแพทย์ พยาบาลต่างชาติ ขอดูงาน ฝึกอบรม โครงการความร่วมมือระหว่างห้องสมุด WHO
HPV global Laboratory Network โครงการ ศึกษาทบทวน จัดทำแนวทางการตรวจวินิจฉัย และรักษาโรคมะเร็ง ตับ ปอด เต้านม ปากมดลูก ลำไส้ และกระเพาะอาหาร 7. โครงการการจั ด การความรู้ ข อง สถาบันมะเร็งผ่านทางสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ โดย คณะกรรมการฯ ได้พิจารณาจัดทำจุลสาร NCI และโปสเตอร์ เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ความ รู้วิชาการทางการแพทย์ และสาธารณสุข โดย เฉพาะด้านโรคมะเร็ง ประชาสัมพันธ์การจัดการ ความรู้ และกิจกรรมทั่วไป ให้เจ้าหน้าที่ภายใน สถาบันฯ ทราบ รวมทั้งเป็นสื่อกลางในการแลก เปลี่ ย นความรู้ ร ะหว่ า งชุ ม ชนนั ก ปฏิ บั ติ (COP: KM, NCI) และเพิ่ ม พู น ประสบการณ์ ร ะหว่ า ง หน่วย ซึ่งในปีนี้ได้มีการจัดทำจุลสาร NCI ราย 3 เดือน ทั้งหมด 2 ฉบับ
การพัฒนาการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2551 สาระสำคัญของการพัฒนาการการจัดการ ความรูข้ องสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ในปีงบประมาณ 2551 ที่ได้ดำเนินการมีดังต่อไปนี้ 1. โครงการการจั ด การความรู้ ข อง สถาบันมะเร็งผ่านทางสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือ การจัดทำจุลสาร NCI โดยในปีนี้จะจัดทำเป็น ฉบับที่ 3 และมีการจัดรูปเล่มใหม่ 2. โครงการการจัดทำเว็บไซต์การจัดการ ความรู้ (http://www.kmnci.com) โดยโครงการ ฉบั บ พิ เ ศษ
ดังกล่าวเกิดขึ้นตามมติที่ประชุมได้มอบหมายให้ งานห้องสมุดดำเนินการจัดทำหน้าเว็บไซต์ KM เพื่อใช้เป็นกลไกในการเผยแพร่ข่าวสารของการ พัฒนาการจัดการความรู้ของสถาบันมะเร็งแห่ง ชาติ ซึ่งสอดคล้องในหนึ่งพันธกิจของสถาบันฯ และตามแผนแม่ บ ทของกรมการแพทย์ จ ะต้ อ ง เผยแพร่ให้ประชาชน และหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน รวมทั้ ง สถาบั น การศึ ก ษาทั้ ง ใน ประเทศและต่ า งประเทศสามารถสื บ ค้ น ข้ อ มู ล
ได้ นอกจากนี้ ยั ง เป็ น การส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารใช้ ทรั พ ยากรสารสนเทศทางการแพทย์ ใ นการ ค้นคว้าวิจัย และปฏิบัติงานของแพทย์ พยาบาล บุคลากรภายในสถาบันฯ หรือแม้แต่ศูนย์มะเร็ง เครือข่ายภูมิภาค ได้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากร สารสนเทศด้านมะเร็ง ทั้งในรูปแบบของวารสาร
ออนไลน์ หนังสือ และมัลติมีเดียอื่นๆ ได้อย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยในระยะเวลาที่ ผ่านมาได้มีการปรับปรุงการนำเสนอของเว็บไซต์ อย่างต่อเนื่อง 3. โครงการสำรวจวั ฒ นธรรมองค์ ก ร ที่ มี ผ ลต่ อ การจั ด การความรู้ นั้ น ก็ มี ก ารทำมา อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนั้ น ยั ง ได้ มี ก ารจั ด ทำ โครงการพัฒนาคลังความรู้ ซึ่งเป็นโครงการที่ จั ด ทำขึ้ น เพื่ อ จั ด เก็ บ ความรู้ วิ ช าการทางการ แพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ด้ า นมะเร็ ง ให้ เ ป็ น คลั ง ความรู้ของสถาบันฯ และเพื่อส่งเสริมให้ชุมชนนัก ปฏิบัติ (CoPs) มีการแบ่งปันความรู้หรือทักษะ ตามสาขาวิชาชีพของบุคลากรทั้งภายในและนอก หน่วยงาน
4. โครงการการจัดการความรูข้ องสถาบัน มะเร็งแห่งชาติ ผ่านกิจกรรม K-Sharing Day ได้มีการจัดประชุมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็น ประจำอย่างต่อเนื่องจำนวน 6 ครั้ง ซึ่งสามารถ นำเสนอเรือ่ งเด่นน่าสนใจ อันได้แก่ การจัดประชุม เสวนาในหัวข้อเรื่อง “การฝังเข็มและการแพทย์ แผนจีน” การจัดประชุมเสวนาในหัวข้อเรือ่ ง “Unit
cost” มีเนือ้ หาเกีย่ วกับการแสดงผลคำนวณต้นทุน การผลิต ปี 2549 ของหน่วยงานต่างๆ ต่อด้วย เรือ่ งการจัดประชุมเสวนาในหัวข้อเรือ่ ง “โครงการ พัฒนาผูป้ ฏิบตั งิ านภายใต้กลุม่ ภารกิจอำนวยการ” โดยมีเจ้าหน้าที่กลุ่มภารกิจอำนวยการไปเข้าร่วม ประชุมที่โรงแรมริชมอนด์จังหวัดนนทบุรี โดย เนื้อหาประกอบด้วย การเสริมสร้างและพัฒนา
10 แ บ่ ง ปั น
ภาวะผู้นำ ภาพรวมเบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหาร ปฏิบัติงาน กระบวนการจัดทำแผนงาน การจัด ประชุมเสวนาในหัวข้อเรื่อง “โครงการ PMQA” โดยเป็นการนำเสนอเรื่องเกี่ยวกับหลักการจัดการ ความรู้ ที่ PMQA นำมาใช้ในการจัดการความรู้ การรวบรวมข้อมูล การถ่ายทอด การแสวงหา และการแลกเปลี่ยน และเรื่องเทคนิคการแพทย์กบั สุขภาพของประชาชน และสุดท้ายยังมีเสวนาทาง วิ ช าการที่ น่ า สนใจมากอี ก เรื่ อ ง คื อ โครงการ อบรมด้านการจัดการความรู้สำหรับบุคลากรใน หัวข้อ “ขับเคลื่อนองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้วย การจัดการความรู้” โดยได้รบั เกียรติจาก นาย แพทย์พเิ ชษฐ บัญญัติ รองนายแพทย์สาธารณสุข จังหวัดตาก มาเป็นวิทยากรบรรยาย
การพัฒนาการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2552 สาระสำคั ญ ของการพั ฒ นาการการ จั ด การความรู้ ข องสถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ ใน ปี ง บประมาณ 2552 ที่ได้ดำเนินการมี ดั ง ต่ อ ไปนี้ 1. โครงการการจัดทำเว็บไซต์การจัดการ ความรู้ (http://www.kmnci.com) โดยมุ่งเน้น การพั ฒ นามาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มี ก าร Update ข้อมูลข่าวสารใหม่ มีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับ การจัดประชุมต่างๆ ที่ทางสถาบันฯ จัดขึ้น และ ยังให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถลงทะเบียนออนไลน์เพื่อตอบรับการเข้าร่วมประชุมในแต่ละครั้ง ได้ การจัดทำสื่อมัลติมีเดียที่ใช้ในการนำเสนอ เนื้ อ หาที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ ผู้ เ ข้ า ชมเว็ บ ไซต์ ข อง สถาบันฯ ได้แก่ วิดีโอที่อธิบายถึงการตรวจหา มะเร็ ง เต้ า นม รวมทั้งยังมีการนำเสนอข่ า วทั น เหตุ ก ารณ์ เ กี่ ย วกั บ ด้ า นโรคมะเร็ ง ในแต่ ล ะวั น นอกจากนั้นแล้วยังมีการแบ่งปันความรู้สำหรับ บุคคลทีม่ คี วามสนใจในเรือ่ งเดียวกัน และมีบทความ ของผู้ที่อยากจะนำความรู้หรือประสบการณ์มา
เผยแพร่ให้กับคนในชุมชนของตนเองได้รับรู้ เช่น คอลัมน์ K-Sharing Day, CoPs HA เป็นต้น และยั ง มี กิ จ กรรมที่ เ ผยแพร่ สู่ ส าธารณชน และ กิ จ กรรมที่ เ ผยแพร่ วิ ช าการผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ อย่างไรก็ตามในเว็บไซต์ดังกล่าวได้นำเสนอการ ให้ความรู้ทางการแพทย์เกี่ยวกับโรคมะเร็ง และ การประชาสัมพันธ์การจัดอบรมระยะสั้นหลักสูตร ต่างๆ ที่เกี่ยวกับโรคมะเร็ง ให้ผู้ที่สนใจสามารถ เข้ า มาสมั ค ร และลงทะเบี ย นเข้ า รั บ การอบรม ทางออนไลน์ได้ด้วย รวมทั้งมี E-books ให้ท่าน อ่านจุลสารวารสารโรคมะเร็ง ปีที่ 28 ฉบับที่ 1-4 2551 ถึงปัจจุบันได้อย่างต่อเนื่อง 2. โครงการการจัดการความรูใ้ นลักษณะ การพัฒนาบุคลากร โดยส่งบุคลากรในสถาบันฯ ไปเข้าร่วมโครงการ KM Awards : KM Forum มีการนำเสนอผลงานโดยจัดทำโปสเตอร์เกี่ยวกับ ผลผลิตองค์ความรู้ด้านสุขภาพ 3. โครงการการจั ด การความรู้ ข อง สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ผ่านกิจกรรม K-Sharing Day สำหรับกิจกรรม K-Sharing Day ประจำปี 2552 ได้มีการดำเนินการจัดประชุมเสวนามา 8 ครั้งแล้ว ซึ่งสามารถนำเสนอเรื่องเด่นน่าสนใจ อั น ได้ แ ก่ การจั ด ประชุ ม เสวนาในหั ว ข้ อ เรื่ อ ง “การใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย” มี บทบาทสำคัญต่อวงการวิจัยไทย และส่งผลให้มี การเชิญวิทยากรภายนอกมาเสวนาในหัวข้อเรื่อง “การทำวิจัยและการบริหารโครงการวิจัย” โดย ได้รับเกียรติจากนายแพทย์ สุชาติ หาญไชยฉบั บ พิ เ ศษ 11
พิบูรย์กุล จากสถาบันประสาทวิทยา นายแพทย์ สมบู ร ณ์ ทรั พ ย์ ว งศ์ เ จริ ญ จากโรงพยาบาล ราชวิถี และนายแพทย์วิโรจน์ เหล่าสุนทรศิริ จากสถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ ร่ ว มเป็ น วิ ท ยากร บรรยาย การจัดประชุมเสวนาในหัวข้อเรือ่ ง “การ เขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร” โดยได้รับ เกียรติจาก รศ.พญ.กนกรัตน์ ศิรพิ านิชกร จากคณะ สาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล และ ดร.สุนนั ทา จริยาเลิศศักดิ์ และ นพ.อาคม ชัยวีระวัฒนะ เป็นผู้ดำเนินรายการและพิธีกร การจัดประชุม เสวนาในหัวข้อเรือ่ ง “ประสบการณ์การดูแลผูป้ ว่ ย ภาวะแทรกซ้อน การติดเชื้อรุนแรง” โดยได้รับ เกียรติจาก พญ.ฉันทนา หมอกเจริญพงศ์ นาง ธีราพร หลาบเลิศบุญ น.ส.บุปผาชาติ ขุนอินทร์ และ น.ส.ภั ท ราพร ภัทรวลี ร่วมเสวนา แลก เปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ และการจัดประชุม เสวนาในหัวข้อเรือ่ ง “บทเรียนและประสบการณ์ จากการเข้าร่วมประชุมต่างประเทศเกี่ยวกับ มะเร็งเต้านม” ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึง่ ในการประชุม วิ ช าการ 11 th International Conference Primary Therapy of Early Breast Cancer ณ St. Gallen ณ สมาพันธ์รัฐสวิส โดยได้รับ เกียรติจากนายแพทย์อาคม ชัยวีระวัฒนะ และ นายแพทย์วิโรจน์ เหล่าสุนทรศิริ นอกจากนี้ กิจกรรม K-Sharing Day ที่ได้ดำเนินการจัด ประชุ ม เสวนาแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ เ ป็ น ประจำทุ ก เดือน คณะกรรมการฯ ยังได้ดำเนินการเผยแพร่ ไว้ในเว็บไซต์ http://www.kmnci.com 12 แ บ่ ง ปั น
กิจกรรมผลิต/จัดทำวารสาร “แบ่งปัน” การพัฒนาวิชาการ และองค์ความรู้ใน สาขาต่างๆ อย่างเป็นระบบ และเผยแพร่ออกมา เป็น วารสาร “แบ่งปัน” ฉบับดังกล่าว นับว่า เป็นสัญลักษณ์หนึ่งที่แสดงถึงความเข้มแข็งทาง ด้ า นวิ ช าการของสาขานั้ น ๆ การพั ฒ นาการ จัดการความรู้ มีการพัฒนาในประเทศได้อย่าง ครอบคลุมทั่วถึง รวมทั้งมีวิวัฒนาการมาอย่าง ต่อเนื่อง ขณะเดียวกันวารสารฯ นี้เน้นการนำ เสนอส่วนที่เป็นบทความกึ่งวิชาการ รวมถึงการ พั ฒ นาความรู้ จ ากประสบการณ์ จ ริ ง ในการ ทำงาน และการพัฒนางานจากอุดมการณ์ แต่ก็ มีเนือ้ หาบางส่วนทีเ่ ป็นความคืบหน้าของหน่วยงาน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง จึงมีรูปแบบการนำเสนอ ในลั ก ษณะการเสวนา บทความวิ ช าการ กึ่ ง
วิ ช าการ กรณี ศึ ก ษา เกร็ ด วิ ช าการ และข่ า ว กิจกรรมต่างๆ อีกทั้งเป็นเวทีวิชาการร่วมกันของ สหวิ ช าชี พ ที่ มี บ ทบาทในการพั ฒ นาการจั ด การ ความรู้ ฉะนั้ น กองบรรณาธิ ก ารที่ ร่ ว มกั น จั ด ทำ วารสารฉบับนี้ จึงมีทั้งกลุ่มแพทย์ กลุ่มพยาบาล นั ก วิ ท ยาศาสตร์ นั ก เทคนิ ค การแพทย์ โดยมี คณะกรรมการพั ฒ นาการจั ด การความรู้ และ ฝ่ า ยทรั พ ยากรบุ ค คลเป็ น กองกลางในด้ า นการ บริหารจัดการ และประสานงาน เป็นเจ้าภาพ รวมทั้ ง เป็ น ที่ ป รึ ก ษาภายใต้ ก ารสนั บ สนุ น งบ ประมาณการจัดทำวารสารฉบับนี้เป็นฉบับพิเศษ ที่มีเนื้อหาสาระเริ่มต้นด้วย คุณลักษณะสำคัญ ของการพั ฒ นาการจั ด การความรู้ ด้ ว ยคอลั ม น์ ประจำฉบับ ได้แก่ Knowledge Person, NCI K-Sharing Day, Department K-Sharing ความรู้เรื่องโรคมะเร็ง ความรู้เพื่อสุขภาพ การ แพทย์ทางเลือก ภาพข่าว และมุมห้องสมุด ที่น่า สนใจติ ด ตามอ่ า นอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ วารสารแบ่ ง ปั น ยั ง อาศั ย การนำแนวคิ ด การ จัดการความรู้ ซึ่งพัฒนามาจากจุลสาร KM และ มี โ ครงการพั ฒ นาคลั ง ความรู้ ที่ ท ำมาอย่ า งต่ อ เนื่องตั้งแต่ปี 2550
กิจกรรม “คลังความรู้” กิจกรรม “คลังความรู้” เป็นกิจกรรม หนึ่งที่จัดขึ้น โดยมีหน่วยงานห้องสมุดเป็นผู้จัด ทำโครงการและดำเนินการ ซึ่งมีขั้นตอนในการ สำรวจองค์ ค วามรู้ ที่ มี อ ยู่ ใ นตั ว บุ ค ลากรที่ ช อบ เขี ย นบทความ หรื อ เข้ า ร่ ว มเสวนา รวมทั้ ง บุ ค ลากรที่ เ ชี่ ย วชาญพิ เ ศษ และเกษี ย ณอายุ ราชการไปแล้ ว แต่ ยั ง มาช่ ว ยงานด้ า นให้ ค ำ ปรึ ก ษาแนะนำอยู่ ใ นสถาบั น ฯ จึ ง ทำการแจ้ ง หนังสือเวียน หรือติดต่อโดยตรง ขอบทความที่ตี พิ ม พ์ ใ นวารสารบ้ า ง เขี ย นตำราวิ ช าการต่ า งๆ หรือเอกสารการบรรยาย มอบให้ห้องสมุดไปทำ Hard Copies/CD และได้รับการบริจาคหนังสือ เก่ า ที่ มี คุ ณ ค่ า โดยใช้ วิ ธี ก ารรวบรวม คั ด แยก หมวดหมู่องค์ความรู้ตามหมวดต่างๆ ที่ทางห้อง สมุ ด จั ด ทำขึ้ น โดย Scan ข้ อ มู ล ลงแผ่ น CD บั น ทึ ก บรรณานุ ก รมลงฐานข้ อ มู ล และจั ด ทำ ระบบสืบค้นข้อมูลแบบออนไลน์ โดยคลังความรู้ หรือห้องสมุด เป็นคลังเก็บทรัพยากรสารสนเทศ ดิจิทัลของสถาบันฯ เพื่อจัดเก็บองค์ความรู้ของ บุคลากรภายในสถาบันฯ คลังความรู้/ห้องสมุด ถือได้ว่าเป็นคลัง เก็ บ ทรั พ ยากรสารสนเทศดิ จิ ทั ล ของสถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ ที่ ริ เ ริ่ ม ขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. 2552 โดยห้องสมุดสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ดำเนินงาน ต่ อ ยอดจากห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ เพื่ อ ให้ จั ด เก็บองค์ความรู้ของบุคลากรภายในสถาบันมะเร็ง แห่งชาติ ในรูปแบบของ Hard Copies และสื่อ ดิจิทัล ข้อมูลจาก CD-ROM ข้อมูลในวารสาร อิเล็กทรอนิกส์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์และข้อมูล จากฐานข้อมูลออนไลน์ หรือตามทีค่ ณะกรรมการ พั ฒ นาการจั ด การความรู้ เห็ น ชอบให้ มี ก าร เลือกสรรองค์ความรู้เข้ามาจัดเก็บไว้ในคลังความ รู้อย่างเป็นระบบ โดยได้กำหนดนโยบายในการ จั ด เก็ บ ทรั พ ยากรสารสนเทศเข้ า คลั ง ความรู้ ดังนี้ 1. วิทยานิพนธ์ที่บุคลากรของสถาบันฯ ไปศึ ก ษาต่อระดับปริญญาโทและเอก
แล้วมอบให้สถาบันฯ 2. เอกสารการบรรยายทีแ่ พทย์ พยาบาล บุคลากรของสถาบันฯ ไปร่วมประชุม ฝึกอบรม ศึกษาต่อต่างประเทศกลับ มาบรรยายในเวทีเสวนา แลกเปลี่ยน เรี ย นรู้ ป ระสบการณ์ (K-Sharing Day) เป็นประจำทุกเดือน และมอบ เอกสารเหล่ า นั้ น ให้ จั ด เก็ บ เข้ า คลั ง ความรู้ และเจ้ า หน้ า ที่ ส รุ ป เนื้ อ หา สาระสำคัญไว้ 3. เชิ ญ วิ ท ยากรที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญ เฉพาะเรื่ อ งนั้ น ๆ มาเป็ น องค์ ป าฐก และมี ก ารซั ก ถามในเวที ก ารเสวนา (K-Sharing Day) มีเจ้าหน้าที่ของ KM สรุปเนื้อหาการบรรยาย เสวนา ดั ง กล่ า วไว้ เ ป็ น Content ในหนึ่ ง หน้ากระดาษ A 4 4. คณะกรรมการพั ฒ นาการจั ด การ ความรู้ มอบหมายให้ห้องสมุดจัดทำ หนังสือแจ้งเวียนให้บุคลากรทุกหน่วย งานส่งเอกสาร วิทยานิพนธ์ เอกสาร งานวิจัย รายงานที่กำลังดำเนินงาน รายงานฉบับสมบูรณ์แล้ว และรวม ถึงงานทีย่ งั ไม่ได้ตพี มิ พ์เผยแพร่ (Gray literature) บทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ในวารสารในประเทศ/ต่ า งประเทศ ส่งมาจัดเก็บเข้าสู่คลังความรู้ 5. องค์ความรู้จากผู้เกษียณอายุราชการ แบ่งเป็นการจัดหาข้อมูลมาเก็บไว้ใน คลั ง ความรู้ โ ดยแบ่ ง เป็ น ระยะเวลา 10 ปี (2542-2552)
วัตถุประสงค์ • เพื่อให้บุคลากรในสถาบันมะเร็งแห่งชาติ สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ • เพื่อพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ และปฏิบัติ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ฉบั บ พิ เ ศษ 13
เป้าหมาย บุ ค ลากรทุ ก ระดั บ สามารถพั ฒ นาองค์ ความรู้และดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการ ความรู้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ด้ ว ยวิ ก ฤติ ก ารณ์ ท างการเงิ น ภายใน องค์กร/สถาบัน/หน่วยงานจึงมีการสร้างคลังเก็บ สารสนเทศอันเป็นภูมิปัญญาของสถาบัน/หน่วย งาน/องค์ ก ร ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ร วม และมี ก าร สงวนรักษาจัดทำดัชนีทไี่ ด้มาตรฐาน ผูใ้ ช้สามารถ สืบค้นทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นได้ เพื่อเป็น แหล่งที่จะเก็บเกี่ยวองค์ความรู้เฉพาะสาขาโรค มะเร็งและผลงานทางการแพทย์สาขาอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง เผยแพร่ สงวนรักษาผลงานได้อย่างเสรีและข้าม ระบบกั น ได้ บ นพื้ น ฐานที่ เ ป็ น ดิ จิ ทั ล เพราะ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางสำคัญในการ แลกเปลี่ยนสารสนเทศ ดังนั้น คณะกรรมการ พัฒนาการจัดการความรู้ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ได้ตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของ การจัดเก็บสารสนเทศดิจิทัล ซึ่งเป็น การเผย แพร่ผลงาน องค์ความรูเ้ ฉพาะโรคมะเร็งของสถาบันฯ ออกสูโ่ ลกภายนอกให้เป็นทีป่ ระจักษ์ และยัง ผลใน การใช้ประโยชน์ได้กว้างขวาง รวดเร็ว และประหยัด งบประมาณค่าใช้จา่ ยจำนวนมหาศาล เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของผูใ้ ช้บริการได้อย่างทัว่ ถึง
การจั ด ทำคลั ง ความรู้ (Institutional Repository-IR) มีองค์ประกอบ ดังนี ้ 1. โปรแกรมที่จะนำมาเป็นระบบคลังเก็บ/ คลังความรู้ 2. หน่วยงานหลักในการดำเนินการจัดทำ เช่น ห้องสมุด หน่วยงานวิจัย 3. สมาชิก (คนสร้างความรู้ ได้แก่ บุคลากร ภายในหน่วยงาน สถาบัน องค์กร) 4. คน/หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น บรรณารักษ์ ห้องสมุด ที่ดำเนินการคลังความรู้ให้เป็น ไปด้วยดี
14 แ บ่ ง ปั น
5. ตัวผลงาน (ประเภทผลงาน) 6. กระบวนการ (ที่ ท ำให้ บ รรลุ เ ป้ า หมาย เช่น นโยบายในการนำผลงานเข้ามาตรฐานสร้ า งสื่ อ ดิ จิ ทั ล มาตรฐานการลง Metadata) เมือ่ เดือนกรกฎาคม 2547 คณะกรรมการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของรัฐสภาแห่งราชอาณาจักร (Science and Technology Committee of the UK Parliament) ได้กล่าวถึง การจั ด ตั้ ง “ระบบคลั ง เก็ บ สารสนเทศระดั บ สถาบัน” เป็นการเก็บผลงานการพิมพ์ที่สามารถ เข้ า ไปอ่ า นได้ ท างออนไลน์ โ ดยไม่ ต้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ่ายแต่อย่างใด จากการสำรวจการขึ้นทะเบียน Open access archives ใน Institutional Archives Registry (http:/archives.eprints.org/ eprints.php) เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2552 พบ ว่า มีจำนวน 1,418 คลังความรู้ (แห่ง) และที่ Scholarly Publishing and Academic Resources Coalition (SPARC) มีจำนวนมาก กว่ า 11,400 คลั ง ความรู้ (แห่ ง ) สำหรั บ ประเทศไทยมีเพียงสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (Asian Institute of Technology-AIT) แห่ง เดียวที่ขึ้นทะเบียนไว้ที่ SPARC ซึ่งประมาณการ ได้ว่าภายใน 10 ปี สถาบันการศึกษาส่วนมาก จะหันไปดำเนินการคลังความรู้ หรือคลังเก็บสาร สนเทศระดั บ สถาบั น กั น มากขึ้ น (สุ ภ าพร ชั ย ธัมมะปกรณ์, ศูนย์บริการความรูท้ างวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สำนั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2552) กิ จ กรรม : สรุ ป รายชื่ อ ที่ ไ ด้ รั บ เข้ า เก็ บ
ในคลังความรู/้ หนังสือแจ้งเวียน จำนวน 10 ราย 155 เรื่อง คลังความรู้ ได้ดำเนินการแยกฐานวิทยานิ พ นธ์ ใ นโปรแกรม ELIB เพื่ อ สะดวกในการ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล วิ ท ยานิ พ นธ์ ไ ด้ เ สร็ จ แล้ ว เมื่ อ วั น ที่ 13 สิงหาคม 2552
แ น ว คิ ด ก า ร พั ฒ น า อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ข อ ง นพ.ธี ร วุ ฒิ คู ห ะเปรมะ เนื่องในโอกาสที่วารสาร “แบ่งปัน” ฉบับนี้เป็น ฉบับพิเศษ ซึ่งเป็นการรวบรวมองค์ ความรู้ของสถาบันมะเร็งแห่งชาติอีกหนึ่งฉบับ หลังจากที่คณะกรรมการได้ดำเนินงานด้านนี้ มาเป็นระยะเวลาพอสมควรและในคอลัมน์ Knowledge Management นีจ้ งึ ขอนำบทสัมภาษณ์ ของผู้อำนวยการ นพ.ธีรวุฒิ คูหะเปรมะ หรือ CKO ของเรา เพื่อให้ผู้อ่านได้เรียนรู้ และ เข้ า ใจถึ ง เนื้ อ หาสาระความรู้ ห ลากหลายทางวิ ช าการ ที่ น ำมาแลกเปลี่ ย น เรี ย นรู้ และ ถ่ายทอดประสบการณ์กันในเล่มนี้ 1. Q : ท่านมีหลักในการบริหารงานอย่างไรบ้าง A : หลักในการบริหารงาน 3 หลัก ได้แก่ เชือ่ ถือ เชือ่ ใจ และ เชื่อมั่น เมือ่ คนเข้ามารับการรักษา เราต้องทำตัวให้เป็นทีน่ า่ เชือ่ ถือ ไม่ ว่าจะเป็นส่วนของเจ้าหน้าที่หรือผู้บริหาร ผู้บริหารต้องทำตัวให้เป็นที่ น่าเชื่อถือของคนอื่น โดยในความเชือ่ ต้องมีหลักการ มีวชิ าการมีความ มุ่งมั่น ประการต่อมาเมื่อมีความเชื่อถือสิ่งที่จะต้องตามมาต้องเกิด ความน่าเชื่อใจ ถ้าเชื่อถืออย่างเดียวแต่เขาไม่เชื่อใจก็คงไม่เพียงพอ สุดท้ายเมื่อเขาเกิดความเชื่อถือและเชื่อใจแล้วก็ต้องทำให้เขาเกิดความ เชื่อมั่น มีหลายอย่างอาทิ เมื่อเข้ามาแล้ว สถานที่ดูดี บรรยากาศดี การต้อนรับและการให้บริการดี เขาก็เชื่อมั่นในการที่จะเข้ารับการ รักษา 2. Q : ท่ า นคิ ด ว่ า การจั ด การความรู้ มี ค วามสำคั ญ ต่ อ องค์กรอย่างไร A : ในปัจจุบันการจัดการความรู้ในองค์กรเป็นสิ่งสำคัญมาก เพราะเป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนาองค์กร เพราะการ จัดการความรู้จะช่วยนำความรู้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร โดย เฉพาะความรู้ส่วนใหญ่ที่ใช้ในการปฏิบัติงานจริง จัดเป็นความรู้ที่ฝังลึก ฉบั บ พิ เ ศษ 15
K n o w l e d g e P e r s o n
K nowledge Management
อยู่ในรูปของทักษะ ประสบการณ์ที่มีอยู่ในแต่ละ คน และสามารถปรั บ เปลี่ ย น ประยุ ก ต์ ไ ปตาม สถานการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ขององค์ ก ร ซึ่ ง มุ่ ง พั ฒ นา บุคลากรให้มีความรู้มากเพียงอย่างเดียวไม่เพียง พอ การบริหารจัดการความรู้จึงมีความสัมพันธ์ กั บ เรื่ อ ง องค์ ก รแห่ ง การเรี ย นรู้ (Learning Organization) เนื่ อ งจากถ้ า องค์ ก รจะพั ฒ นา ตนเองให้ เ ป็ น องค์ ก รแห่ ง การเรี ย นรู้ ก็ ต้ อ ง บริหารจัดการความรู้ภายในองค์กรให้เป็นระบบ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ บุ ค ลากรเรี ย นรู้ ไ ด้ จ ริ ง และมี ก าร พั ฒ น า ค ว า ม คิ ด อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง โ ด ย ส ร้ า ง บรรยากาศแห่ ง การเรี ย นรู้ ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น มี ก าร ถ่ายทอด แลกเปลี่ยนความรู้กัน 3. Q : ท่ า นมี วิ ธี ก ารพั ฒ นาองค์ ค วามรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานขององค์กร อย่างไรบ้าง A : - ที่ผ่านมาทางสถาบันฯ ได้มุ่งเน้น ให้บุคลากรภายในหน่วยงานทำงานเป็นทีมเวิร์ก ที่ มุ่ ง เน้ น การระดมความคิ ด (brain-storming) เช่ น มหกรรม CQI การนำเสนอผลงานของ แต่ละกลุ่ม - อย่างที่สอง คือ การจัดสัมมนา เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารหรื อ การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร (workshop) ระหว่างบุคลากรภายในองค์กร เช่น โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการงานสารบรรณ เช่น การเขี ย นหนั ง สื อ ราชการ/โครงการพั ฒ นา ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กร เพื่อให้ผู้ เข้ า ร่ ว มสั ม มนาได้ ฝึ ก กระบวนการคิ ด วิ เ คราะห์ การแก้ ไ ขปั ญ หา และการเพิ่ ม ทั ก ษะที่ เ ป็ น ประโยชน์การปฏิบัติงานต่างๆ - อย่ า งที่ ส าม คื อ การถ่ า ยทอด
16 แ บ่ ง ปั น
ประสบการณ์ตา่ งๆ ผ่านการจัดกิจกรรม K–sharing หรือ การถ่ายทอด แบ่งปันความรู้ และการนำเสนอ ผ่าน เว็บไซต์ www.kmnci.com เพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้ระหว่างบุคลากรภายในองค์กร รวมทั้ง ห้องสมุดก็ยังมีสถานที่แยกเฉพาะออกไป สามารถ เข้ า ถึ ง อิ น เทอร์ เ น็ ต และการสืบค้นวารสารต่าง ประเทศได้ (E-Library) ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวถือว่า เป็ น การสร้ า งสั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู้ ใ นลั ก ษณะ สังคมเครือข่าย (Social Network) อีกรูปแบบ หนึ่ง ดังนั้นกระบวนการเหล่านี้จะมีส่วนช่วยใน การพัฒนาองค์ความรู้ ให้เพิ่มประสิทธิภาพในการ ทำงานขององค์ ก รที่ ส อดคล้ อ งกั บ พั น ธกิ จ ของ สถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ นั่ น คื อ การมุ่ ง มั่ นผลิ ต และพัฒนาองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีดา้ นโรคมะเร็ง เพื่ อ เป็ น ข้ อ เสนอแนะเชิ ง นโยบาย สามารถ ถ่ายทอดสูเ่ ครือข่ายองค์กร บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชน ให้บริการทาง การแพทย์ในระดับ ที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ น ต้ อ งใช้ เ ทคโนโลยี ชั้ น สู ง อย่า ง เหมาะสม 4. Q : ท่ า นอยากจะฝากอะไรไปถึ ง ชาว NCI A : การเรี ย นรู้ ไ ม่ มี ค ำว่ า แก่ เ กิ น ไป หรือสายเกินไป และไม่มีจุดสิ้นสุด การเรียนรู้ที่ดี จะต้องสอนได้ดีด้วย (Learning Society คู่กับ Teaching Society) เมื่อเรียนรู้แล้วต้องนำมาใช้ เพื่อการพัฒนาไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาตนเอง หรือ พัฒนาองค์กร ซึ่งการเรียนรู้อย่างเดียวโดยไม่นำ ไปปฏิบัติ จะเข้ากับคำโบราณทีก่ ล่าวว่า “ความรู้ ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด”
K–Sharing คือ การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ ซึ่งถือว่าเป็น “หัวใจ” ของการทำการจัดการความรู้ เป็นการดึงเอา ความรู้ที่อยู่ ในตัวตนออกมาเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกัน คณะกรรมการพัฒนาการจัดการความรู้ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ได้จัดเวที K-Sharing Day ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากรในสถาบันฯ ที่ ได้ ไปอบรม/ดูงาน/สัมมนา ได้มีโอกาสฝึกถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ ได้รับ มาเล่าประสบการณ์ ให้ กับผู้ที่ ไม่ ได้ ไปรับทราบ ทั้งนี้ ในปี 2551 ได้จัด K-Sharing Day 7 ครั้ง และในปี 2552 จัด 10 ครั้ง โดยนำหัวข้อของบุคลากรที่ ไปประชุมต่างประเทศมาถ่ายทอดความรู้สลับกับผู้ที่ ไปประชุมในประเทศด้วย โดยมีความรู้รวมถึงเนื้อหาการแบ่งปันและแลกเปลี่ยน
ความรู้ ดังนี้ ครั้งที่ 1 เรื่อง “การใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัย” จากเวที K-Sharing day (การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้) ครัง้ ที่ 1/2551 วันที่ 3 ธันวาคม 2551 เวลา 13.30–15.00 น. ห้องประชุมสมชาย สมบูรณ์เจริญ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ สรุปเนื้อหาการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ คุณเสาวคนธ์ ได้เปิดประเด็นในเรื่องความ หมายของการวิ จั ย รวมถึ ง แนะนำแนวทางในการ ทำการวิ จั ย อย่ า งไรให้ ส ำเร็ จ และวิ ธี ใ นการแสวงหา ความรู้ ขั้นตอนในการวิจัย การเลือกหัวข้อการวิจัย ปั ญ หาของการวิ จั ย รวมถึ ง การวางแผนและการ ดำเนินการวิจัย คุ ณ รั ง สิ ย า ได้ น ำข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งการ เตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ผล ได้เล่าถึงชนิดของ โปรแกรมสำเร็จรูป ว่ามีทั้งที่ทำงานบนแบบพิมพ์คำ สั่ ง หรื อ ดอสและโปรแกรมที่ ท ำงานบนวิ น โดว์ เช่ น โปรแกรม SPSS คุ ณ ศุ ภ รั ต น์ ได้ แ ลกเปลี่ ย นความรู้ เ รื่ อ ง โปรแกรม SPSS และได้ ท ดลองนำข้ อ มู ล มาเป็ น ตัวอย่างให้เห็นถึงวิธีการคำนวณทางสถิติในการวิจัย รวมถึงประโยชน์จากการใช้งาน ซึ่งสามารถจัดให้อยู่ ในรู ป แบบตารางสรุ ป ผล กราฟแท่ ง กราฟวงกลม และสามารถนำข้อมูลนั้นไปประกอบการนำเสนองาน ในโปรแกรมอื่นๆ ได้ สิ่งที่ได้จากการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ 1. การทำการวิจัย ถ้าจะให้ประสบความสำเร็จนั้น ผู้วิจัยต้องกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้ ชัดเจน สามารถตอบคำถามปัญหาของการวิจัย ได้ แ ละต้ อ งออกแบบการวิ จั ย ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วัตถุประสงค์ 2. การเลือกกลุ่มตัวอย่างเหมาะสม ทำให้ผลการ วิจัยมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น 3. การเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลให้ถูกต้องนั้น มีส่วนสำคัญอย่างมาก ส่งผลถึงความเชื่อมั่นของข้อมูลที่ทำการวิจัย 4. สถิติในการวิจัยนั้นเป็นสิ่งที่ยากสำหรับนักวิจัย แต่เราสามารถให้ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญในด้านสถิติช่วยเหลือและแนะนำได้ วิทยากรผู้ร่วมแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ 1. คุณเสาวคนธ์ ศุกรโยธิน กลุ่มงานวิจัย 2. คุณรังสิยา บัวส้ม กลุ่ม งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. คุณศุภรัตน์ ประวันเณย์ กลุ่มงานพยาธิวิทยา พิธีกร คุณศุลีพร แสงกระจ่าง กลุ่มงานวิจัย
ฉบั บ พิ เ ศษ 17
ภ า พ ข่ า ว
NCI K-S haring D ay ผ่องพรรณ รมหิรัญ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ชำนาญงาน
ครั้งที่ 2
“การเข้าร่วมประชุมต่างประเทศ” เรื่อง WHO HPV LabNet ประเทศสมาพันธ์รัฐสวิตเซอร์แลนด์ จากเวที K-Sharing day (การแบ่งปัน และแลกเปลี่ยนความรู้) ครั้งที่ 2/2552 วันที่ 8 มกราคม 2552 เวลา 13.30–15.00 น. ห้องประชุมสมชาย สมบูรณ์เจริญ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
สรุปเนื้อหาการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ คุณสุคนธ์ ได้ไปประชุม WHO Global Human Papilloma-virus Laboratory Network (WHO HPV LabNet) ที่ประเทศสมาพันธ์รัฐสวิตเซอร์แลนด์ ได้กล่าวถึงประวัติ ของห้องปฏิบัติการที่มีมาตรฐานในการเฝ้าระวังในการกำกับดูแลรวมถึงผลกระทบจากการใช้ วัคซีนป้องกันการติดเชื้อ HPV ซึ่งมีเครือข่ายการเฝ้าระวังกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก HPV LabNet ขอให้ เ ครื อ ข่ า ยทำมาตรฐานการสุ่ ม ตั ว อย่ า งตรวจสำหรั บ การ ประเมินผลกระทบของผู้ที่ได้รับวัคซีน (Non–invasive sampling methods) มาตรฐานและ การประเมิน Self-sampling methods สำหรับการตรวจหา HPV DNA (dry swab, paper smear) การทดสอบวิธีอื่นๆ เช่น ปรับปรุงวิธีการสกัด DNA และการตรวจสอบ HPV ชนิดที่เฉพาะเจาะจง สิ่งที่ได้จากการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ 1. ได้ ท ราบถึ ง การปฏิ บั ติ ง านที่ ไ ด้ ม าตรฐานของ WHO ซึ่ ง ในปี 2009-2010 ประเทศไทยต้องส่งตัวอย่างไปตรวจที่สวีเดน รวมถึงได้รู้จักเครือข่ายของการเฝ้า ระวังกับประเทศต่างๆ 2. ได้ความรู้เรื่องการใช้วัคซีนในการป้องกันการติดเชื้อ HPV 3. เห็นถึงความก้าวหน้าของ LabNet และความสำคัญในการเป็นเครือข่าย วิทยากรผู้ร่วมแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ 1. คุณสุคนธ์ สุขวิรัช กลุ่มงานวิจัย 2. นพ.อารยะ อดุลพันธ์ แพทย์สถาบันมะเร็งแห่งชาติ พิธีกร นพ.วิโรจน์ เหล่าสุนทรศิริ แพทย์สาขาอายุรกรรม 18 แ บ่ ง ปั น
ครั้งที่ 3 เรื่อง “ประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยภาวะแทรกซ้อน การติดเชื้อรุนแรง” จากเวที K-Sharing day (การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้) ครั้งที่ 3/2552 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 13.30–15.00 น. ห้องประชุมสมชาย สมบูรณ์เจริญ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
สรุปเนื้อหาการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ พญ.ฉันทนา ได้เล่าถึงประสบการณ์การทำงานร่วมกับ พยาบาลหอผู้ป่วย ซึ่งได้ดูแลผู้ป่วยภาวะแทรกซ้อน การติดเชื้อ รุนแรง (Septic Shock) และอัตราเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นประมาณ 40–60% ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะติดเชื้อต้องเข้ารับการ รักษาในห้อง ICU ต้องหาสาเหตุและมีการเจาะเลือดส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ ตัวอย่างรายแรก ผูป้ ว่ ยเป็นหญิงอายุ 69 ปี เป็นมะเร็ง
ถุงน้ำดี (gall bladder) ถูกส่งมาจาก รพ.นพรัตน์ มาผ่าตัดที่ สถาบันมะเร็งฯ มีอาการท้องโต ทานอาหารไม่ได้ มีโรคประจำ ตัว คนไข้เสี่ยงต่อการเสียชีวิต การให้สารน้ำมากเพียงพอและ เหมาะสมในช่วงแรกก็จะทำให้มีโอกาสรอดชีวิต ผลการตรวจ ทางห้องปฏิบัติ-การพบว่า ไตทำงานผิดปกติ เม็ดเลือดขาวสูง แสดงว่าผู้ป่วยมีการติดเชื้อ ทำให้มีความเสี่ยงสูง ตั ว อย่ า งรายที่ ส อง ผู้ ป่ ว ยเป็ น ชาย เสี่ ย งต่ อ ภาวะ บกพร่องออกซิเจน อาการท้องอืด นอนราบไม่ได้ เสี่ยงต่อการ เกิดของเสียคลั่งในร่างกาย การติดเชื้อในช่องท้องยังไม่ทราบ ชนิดของเชื้อ จึงประเมินและให้การรักษาไปก่อนที่จะได้รับผล การเพาะเชื้อ ทำให้ผู้ป่วยรอดชีวิต นพ.อาคม ได้ร่วมสรุปเรื่องภาวะการแทรกซ้อน การ ติดเชื้อรุนแรงว่า เห็นด้วยกับการให้การรักษาไปก่อนที่จะได้ผล การเพาะเชือ้ และรักษาทางคลินกิ โดยการประเมินภาวะการณ์ตดิ เชือ้ สิ่งที่ได้จากการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ 1. ได้รับความรู้ เรื่องการดูแลผู้ป่วยภาวะแทรกซ้อน การ ติดเชื้อรุนแรง รวมถึงวิธีการและแนวทางในการรักษา ซึ่งสัมพันธ์กับหลายหน่วยงาน 2. เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นในเรื่องการติดเชื้อ ทำให้เกิดการ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ร ะหว่ า งงานอื่ น ๆ เช่ น พยาบาล หลายหน่วยและห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ กลุ่ม งานพยาธิคลินิก รวมถึงงานวิจัยโดยอาศัยกรณีศึกษา ที่ยกมา ทำให้มีการพูดคุยหารือกันในหลายๆ ด้าน เป็นเรื่องที่ดีมาก 3. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในเรื่องแนวทางหรือวิธี การรักษาผู้ป่วยกับแพทย์อื่นๆ ที่มีประสบการณ์
4. ได้ประสบการณ์การแบ่งปันความรู้แบบการเล่าเรื่อง หรือ Story telling โดยนำประสบการณ์ที่พบและการ โยงถึงปัญหา พร้อมช่วยกันหาวิธีแก้ปัญหา ซึ่งทำให้ เกิดความน่าสนใจมาก วิทยากรผู้ร่วมแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ 1. พญ.ฉันทนา หมอกเจริญวงค์ แพทย์สถาบันมะเร็งแห่ง ชาติ 2. คุณบุปผชาติ ขุนอินทร์ หัวหน้าหอผู้ป่วยหญิง 6 3. คุณภัทรพร ภัทรวลี พยาบาล ICU 4. คุณสุธาลักษณ์ ขวัญเจริญทรัพย์ พยาบาลหอผูป้ ว่ ยชาย พิธีกร นพ.อาคม ชัยวีระวัฒนะ แพทย์สาขาศัลยกรรม
ฉบั บ พิ เ ศษ 19
ครั้งที่ 4
“บทเรียนและประสบการณ์จากการเข้าร่วมประชุมต่างประเทศ” เรื่อง การรักษามะเร็งลำไล้ ในระยะสุดท้าย จากเวที K-Sharing day (การแบ่งปันและแลกเปลีย่ นความรู)้ ครัง้ ที่ 4/2552 วันที่ 4 มีนาคม 2552 เวลา 13.30–15.00 น. ห้องประชุมสมชาย สมบูรณ์เจริญ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
สรุปเนื้อหาการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ นพ.วิ โ รจน์ ได้ ไ ปประชุ ม ในหลายประเทศ เช่ น ฝรั่งเศส สวีเดน สหรัฐอเมริกา รัฐชิคาโกและรัฐซานฟรานซิสโก และได้นำภาพศิลปวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ มาเล่า สู่กันฟัง จากการไปประชุมเรื่อง การรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่ใน ระยะสุดท้าย ซึ่งมีเนื้อหาที่ลึกและละเอียดเฉพาะแพทย์มาก เกินไป จึงไม่ได้นำเนื้อหามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในครั้งนี้ สิ่งที่ได้จากการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ 1. ท่านผู้อำนวยการและท่านรองผู้อำนวยการ ได้ให้ คำแนะนำว่า เนื่องจากมีคนหลากหลายหน่วยงาน มาฟัง ซึ่งถ้าลงในรายละเอียดหรือเฉพาะด้านมาก ไป จะทำให้ผู้ฟังเกิดความเบื่อหน่ายเพราะไม่เข้าใจ ในเนื้อหา ดังนั้นถ้าไปประชุมวิชาการเฉพาะด้าน อย่าลงในรายละเอียดลึกเกินไป
2. การคาดหวั ง จากที่ ท่ า นให้ ไ ปศึ ก ษาดู ง านในต่ า ง ประเทศนั้น เพื่อต้องการให้บุคลากรได้พัฒนาความ รู้ด้านวิชาการใหม่ๆ และอยากให้มาเล่าถึงจุดเด่น ของการประชุมโดยพูดรวมถึงความก้าวหน้า สิ่งที่ ประทับใจในการประชุมและได้ประโยชน์อะไรจากที่ ไปประชุมบ้าง แล้วปรับเนื้อหาให้เหมาะสมกับผู้ฟัง 3. สิ่งเหล่านี้จะเป็นการแลกเปลี่ยน สิ่งที่ได้พบเห็นจาก ต่างประเทศมาแลกเปลี่ยนความรู้ในสถาบันมะเร็งฯ ซึ่งจะได้ประโยชน์ในด้านที่ทำให้เกิดมุมมองในอีก ด้านหนึ่งที่แตกต่างกันออกไป วิทยากรผู้ร่วมแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ นพ.วิโรจน์ เหล่าสุนทรศิริ แพทย์สาขาอายุรกรรม พิธีกร นพ.อาคม ชัยวีระวัฒนะ แพทย์สาขาศัลยกรรม
ครั้งที่ 5 เรื่อง “การทำการวิจัยและการบริหารโครงการวิจัย” จากเวที K-Sharing day (การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้) ครั้งที่ 5/2552 วันที่ 1 เมษายน 2552 เวลา 13.30–15.00 น. ห้องประชุมสมชาย สมบูรณ์เจริญ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
สรุปเนือ้ หาการแบ่งปันและแลกเปลีย่ นความรู ้ นพ.วิโรจน์ ได้เล่าถึงเรื่องประสบการณ์และปัญหาที่ พบของการวิจัยในการทำงานและมีแนวคิดว่า สถาบันมะเร็งฯ น่าจะมีงานวิจัยที่บูรณาการได้เพราะมีทั้ง Basic Science Research เช่นBiomarker Research, Infection Research, Herbal medical Research และยังมี Clinical trial ด้วยรวม ทั้งกล่าวถึงจุดอ่อนของการวิจัยว่า ไม่มีจุดศูนย์รวมหรือหาก ลุม่ ทำร่วม ไม่มี gossessories ไม่เฉพาะเจาะจง เบิกเงินยาก องค์กรทีช่ ว่ ยเหลือมีไม่มาก นพ.สมบูรณ์ จากศูนย์การวิจยั ทางคลินกิ รพ.ราชวิถี กล่าวว่าเน้นทีอ่ งค์กรแพทย์ พยาบาล ทันตกรรม เภสัชกร มุง่ มั่นที่จะทำการวิจัยโดย จัดทำแบบสอบถามแจกทุกหน่วยงาน เพื่อให้ทราบปัญหาในการทำการวิจัยและได้ตั้งทีมงานที่ผ่าน 20 แ บ่ ง ปั น
การอบรมเกี่ ย วกั บ งานวิ จั ย เพื่ อ คอยช่ ว ยเหลื อ บุ ค ลากรที่ ต้ อ งการทำการวิ จั ย มี ทั้ ง นั ก วิ ช าการสาธารณสุ ข นั ก Biostatistics และผูช้ ว่ ยนักวิจยั 4 คน ทีใ่ ห้คำแนะนำทัง้ การ เขียน 3 บท รับปรึกษาปัญหาและช่วยอำนวยความสะดวก ทุกอย่าง อยูป่ ระจำแต่ละแผนกครึง่ วัน มีการให้บริการสืบค้น ฐานข้อมูลเพือ่ หา Full paper and E-textbook ซึง่ ทีมงาน ดังกล่าวจะช่วยในการเขียนโครงร่างการวิจัยและการขอทุน สนับสนุน ซึง่ ทางรพ.ราชวิถจี ะมีเงินจากมูลนิธิ สามารถนำไป ใช้สนับสนุนงานวิจัยของบุคลากรในรพ. นอกจากนี้ยังมีการ พัฒนาศักยภาพบุคลากร โดยการจัดอบรมชีวสถิติและวิธีการ วิ จั ย รวมถึ ง การใช้ โ ปรแกรมวิ เ คราะห์ ส ถิ ติ ค อมพิ ว เตอร์ สำเร็จรูป มีการอบรมวิจัยคลินิกแพทย์ประจำบ้าน (บังคับ)
ปีละ 4 วันทุกปี รวมถึงมีการประกวดผลงานวิจยั นพ.สุชาติ ได้เล่าถึงประสบการณ์การบริหารแผน งานวิจัยเรือ่ ง Thai Epidemiologic Stroke (TES) Study: Data quality Management โดยกล่าวว่าต้องมีงบประมาณ การสนับสนุนงานวิจัย มีเลขาโครงการคอยติดตามงานและ ต้องมีห้องทำงานของโครงการวิจัยเครื่องมือ อุปกรณ์ต้องมี มาตรฐานและมีใบรับรอง ฝึกอบรม Staff ในการเก็บข้อมูล สำรวจข้อมูล ติดตามกรณีศกึ ษา ต้องมีการสรุปผลเป็นระยะๆ บริหารจัดการข้อมูลต้องมีคณ ุ ภาพ เนือ่ งจากเป็นงานวิจยั ทีท่ ำ ร่วมกับหลายหน่วยงานทั้งประเทศและใช้เวลาหลายปี ดังนั้น ต้องมีการประชุมรายงานผลและสรุปผลเป็นระยะๆ และต้อง ทำอย่างต่อเนือ่ ง สิง่ ทีไ่ ด้จากการแบ่งปันและแลกเปลีย่ นเรียนรู้ 1. ได้เห็นถึงปัญหาในการทำการวิจัยแต่ละโรงพยาบาลที่แตก ต่ า งกั น ไป รวมถึ ง การบริ ห ารจั ด การเกี่ ย วกั บ การวิ จั ย ทำให้เห็นถึงมุมมองทีแ่ ก้ปญ ั หาต่างๆ กัน 2. ปัญหาใหญ่ทเี่ หมือนกันคือ แหล่งเงินทุนสนับสนุนการวิจยั มีไม่มากและไม่เพียงพอต่อการที่จะทำโครงการใหญ่ๆ ที่มี ประโยชน์และคุณภาพ 3. ทำให้เห็นถึงรูปแบบและประสบการณ์การทำงานใหญ่ๆ ที่
ทำร่วมกันหลายหน่วยงานทั่วประเทศและใช้เวลาหลายปี ของสถาบันประสาทวิทยาและเห็นถึงความยากในการ บริหารและการทำงานร่วมกันในหลายองค์กร 4. ท่ า นผู้ อ ำนวยการ ท่ า นได้ ก ล่ า วสนั บ สนุ น บุ ค ลากรใน สถาบันมะเร็งฯ ว่า ถ้าท่านใดต้องการทำการวิจัย ท่าน อนุญาตให้หยุดไปเขียนงานวิจยั 10 วันโดยไม่เป็นวันลา ซึ่งจะให้การสนับสนุนการทำวิจัยอย่างเต็มที่ รวมถึงการ หาเงินทุน 5. จากการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ นี้ ทำให้ เ กิ ด การกระตุ้ น ให้ บุคลากรตืน่ ตัวในการอยากทำการวิจยั เพือ่ ให้เกิดผลงาน ใหม่ๆ เกิดขึน้ ในองค์กร วิทยากรผูร้ ว่ มแบ่งปันและแลกเปลีย่ นความรู ้ 1. นพ.วิโรจน์ เหล่าสุนทรศิร ิ แพทย์สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 2. นพ.สมบูรณ์ ทรัพย์วงศ์เจริญ แพทย์โรงพยาบาลราชวิถ ี 3. นพ.สุชาติ หาญไชยพิบลู ย์กลุ แพทย์สถาบันประสาทวิทยา พิธกี ร นพ.อาคม ชัยวีระวัฒนะ แพทย์สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
ฉบั บ พิ เ ศษ 21
ครั้งที่ 6 “บทเรี ย นและประสบการณ์ ก ารเข้ า ร่ ว มประชุ ม ต่ า งประเทศ” เรื่ อ งมะเร็ ง เต้ า นมระยะเริ่ ม แรก ประเทศสมาพั น ธ์
รั ฐ สวิ ต เซอร์ แ ลนด์ จากเวที K-Sharing day (การแบ่ ง ปั น และแลกเปลี่ ย นความรู้ ) ครั้ ง ที่ 6/2552 วั น ที่
6 พฤษภาคม 2552 เวลา 13.30–15.00 น. ห้องประชุมสมชาย สมบูรณ์เจริญ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ สรุปเนื้อหาการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้
ออกไป ทำให้เมืองใกล้ๆ กันคึกคักไปด้วย การจัดประชุมใน ครั้งนี้ใช้ห้องประชุมที่ใหญ่มากจุคนได้ถึง 4,000 คน มีรูป แบบที่ น่ า สนใจและการลงทะเบี ย นสามารถ print ใบ ประกาศนียบัตรออกมาได้เลย สามารถตรวจสอบชื่อและความ ถูกต้องได้ทันที มีความเรียบง่ายแต่ไม่มีที่พักและค่าใช้จ่ายแพง มาก
การเข้าร่วมประชุมต่างประเทศเรื่องเกี่ยวกับมะเร็ง เต้านมระยะเริ่มแรก ครั้งที่ 11 (11 th The International conference Primary Therapy of Early Breast Cancer) ที่ st.Gallen สมาพันธ์รัฐสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งมี นพ.วิโรจน์และ นพ.อาคม ได้เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ นพ.วิ โ รจน์ ได้ เ ล่ า ถึ ง บรรยากาศการเดิ น ทางและ ความรู้สึกที่ไปอยู่ต่างประเทศคือ สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย เยอรมนี ฝรั่งเศส ซึ่งล้วนแต่มีทิวทัศน์สวยงาม สำหรับการ ประชุ ม มี ก ารจั ด ประชุ ม ทุ ก 2 ปี เ ฉพาะ Expert เท่ า นั้ น เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับปัญหาและการรักษาคนไข้ มะเร็งว่าก้าวหน้าอย่างไร นพ.อาคม ได้เล่าถึงกลยุทธ์ในการเลือกทำเลในการ ประชุมว่า เจ้าภาพได้เลือกใช้สถานที่ที่อยู่ไกลออกไปและไม่ค่อย มีคนรู้จักเมืองนี้มากนัก เมื่อเป็นเมืองเล็กๆ จึงมีที่ไม่เพียงพอ สำหรับผู้มาร่วมประชุม จึงต้องหาที่พักอีกเมืองหนึ่งซึ่งห่าง
22 แ บ่ ง ปั น
สิ่งที่ได้จากการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ 1. ได้ เ ห็ น รู ป แบบการจั ด งานประชุ ม ใหญ่ ๆ ระดั บ นานาชาติ ว่ามีความพร้อมและเรียบง่าย แต่ทันสมัย ไม่จำเป็นต้องเลือกใช้เมืองที่มีคนรู้จักหรือมีชื่อเสียง แต่ให้คนได้รู้จักเมืองอื่นๆ ซึ่งก็มีจุดเด่นเหมือนกัน 2. ผู้ที่เข้าร่วมประชุมได้นำความคิดและมุมมองที่เกิดขึ้น หลายรู ป แบบ ทั้ ง จากการได้ มี โ อกาสได้ พ บปะกั บ ผู้เชี่ยวชาญ (Expert) เฉพาะทางทั่วโลก มาเล่าสู่กัน ฟัง 3. ทำให้ได้เห็นชีวิต การเป็นอยู่ รวมถึงศิลปวัฒนธรรม ของคนประเทศต่างๆ วิทยากรผู้ร่วมแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ 1. นพ.วิโรจน์ เหล่าสุนทรศิริ แพทย์สาขาอายุรกรรม 2. นพ.อาคม ชัยวีระวัฒนะ แพทย์สาขาศัลยกรรม วิทยากร นพ.อาคม ชัยวีระวัฒนะ แพทย์สาขาศัลยกรรม
ครัง้ ที่ 7
เรื่ อ ง “การเขี ย นบทความวิ จั ย เพื่ อ ตี พิ ม พ์ ใน
วารสาร” จากเวที K-Sharing day (การ
แบ่ ง ปั น และแลกเปลี่ ย นความรู้ ) ครั้ ง ที่ 7/2552
วั น ที่ 3 มิ ถุ น า ย น 2 5 5 2 เ ว ล า 1 3 . 3 0 –
15.00 น. ห้ อ งประชุ ม สมชาย สมบู ร ณ์ เ จริ ญ
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
สรุปเนื้อหาการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ การเขียนบทความวิจยั เพือ่ ตีพมิ พ์ในวารสาร ประเภท บทความทางวิชาการ ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ นิพนธ์ ต้นฉบับ ผลงานวิจัย บทความวิชาการทั่วไป บทความฟื้น วิชา/ทบทวนวารสาร/ปริทัศน์ รายงานผู้ป่วยบันทึก/เทคนิค ปกิณกะ/ข่าวสาร ฯลฯ โครงสร้างส่วนหน้า ประกอบด้วย ชือ่ เรือ่ ง ผูน้ พิ นธ์/
ผู้แต่ง ภาษาที่ใช้ให้ถูกต้อง บทคัดย่อมี 2 แบบ แบบอิสระ และแบบมีโครงร่างบังคับ ซึ่งบทคัดย่อ ประกอบด้วย ปัญหา ของการวิจัย วัตถุประสงค์ วิธีการ สรุปผล บทสรุป โดยถึง จุ ด สำคั ญ ย่ อ ใจความสำคั ญ และสื่ อ ความหมายครบถ้ ว น ประมาณ 200 คำ คำสำคัญ 3-5 คำ ส่วนเนื้อหาภายใน มีบทนำ วัสดุและวิธีการ ผล อภิปราย/วิจารณ์ผล กิติกรรมประกาศ เอกสารอ้างอิง ลักษณะของบทความที่มีมาตรฐาน ประกอบด้วย ความถู ก ต้ อ งของวิ ช าการต้ อ งมี เ อกสารอ้ า งอิ ง การเขี ย น บทความต้องกระชับ ชัดเจนมีเหตุผล แสดงเรื่องโดยลำดับ ใช้ ภ าษาที่ ถู ก ต้ อ ง ไวยากรณ์ แ ละเขี ย นคำให้ ถู ก ต้ อ งตาม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ส่วนผลการศึกษาควร แสดงในรูปตาราง แผนภูมิหรือกราฟ ตามความเหมาะสม และการเขียนควรเว้นวรรคตอนให้ถูกต้อง
สิ่งที่ได้จากการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ 1. ได้ เ รี ย นรู้ ถึ ง รู ป แบบการเขี ย นบทความวิ จั ย เพื่ อ ตีพิมพ์ในวารสารที่ถูกต้อง 2. ได้เห็นลักษณะของบทความที่มีมาตรฐาน ทำให้เกิด การเรียนรูแ้ นวทางการเขียนบทความทีม่ รี ปู แบบ และ นำมาพัฒนาต่อไป 3. กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ในการเขียนบทความวิจัย และมีโอกาสได้ปรึกษาปัญหาการเขียนบทความกับ ผู้เชี่ยวชาญ วิทยากรผู้ร่วมแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ 1. รศ.กนกรัตน์ ศิริพาณิชกร ภาควิชาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล 2. ดร.สุนันทา จริยาเลิศศักดิ์ กลุ่มงานวิจัย พิธีกร นพ.อาคม ชัยวีระวัฒนะ แพทย์สาขาศัลยกรรม
ฉบั บ พิ เ ศษ 23
ครั้งที่ 8 “บทเรียนและประสบการณ์จากการเข้าร่วมประชุมต่าง
ประเทศ” เรื่อง การบริหารโรงพยาบาล ในประเทศ
ญี่ ปุ่ น จากเวที K-Sharing day (การแบ่ ง ปั น
และแลกเปลี่ ย นความรู้ ) ครั้ ง ที่ 8/2552 วั น ที่ 29
กรกฏาคม 2552 เวลา 13.30–15.00 น.
ห้องประชุมสมชาย สมบูรณ์เจริญ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ สรุปเนื้อหาการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ การเข้ า ร่ ว มประชุ ม ด้ า นการบริ ห ารโรงพยาบาล Kameda Medical Center (International Patient Service) เมื อ งคาโมกาวา จั ง หวั ด ชิ บ ะ ประเทศญี่ ปุ่ น โรงพยาบาล คาเมดะ ให้บริการทางการแพทย์ระดับนานาชาติและชุมชน มี 1,000 เตียงมีแพทย์ Full Time 355 คน บุคลากรอื่นๆ 2,400 คน ตั้งอยู่ริมทะเล สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาลสะอาด มาก มีเฮลิคอปเตอร์จอดรับ-ส่งคนไข้ การบริหารจัดการในองค์กร มีผู้อำนวยการเป็นชาว อเมริกัน ใช้ Key Success Factors, Balance Scorecard และ Bench marking เป็นมาตรฐาน โดยให้ความสำคัญกับ
ผู้ ป่ ว ยเป็ น ศู น ย์ ก ลาง ในห้ อ งผู้ ป่ ว ยมี เ ครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ พ ร้ อ ม ผ่าตัด อุปกรณ์เตียง เครื่องมือเครื่องใช้จะจัดเก็บซ่อนไว้ในตู้เก็บ เป็นระเบียบ มีการใช้ข้อมูลเชื่อมได้อย่างทั่วถึงสามารถเรียก ข้ อ มู ล ดู ไ ด้ ทุ ก รู ป แบบและสามารถนำเสนอได้ ทั น ที มี ก ารใช้ เครื่อง MP3 พกติดตัวทุกคนแล้วจูนคลื่นให้เข้ากับระบบวิทยุ สามารถเปิดฟังได้ตลอดเวลาที่ทำงานโดยไม่มีเสียงรบกวนและ สั ง เกตดู ไ ม่ เ ห็ น แพทย์ พยาบาล เจ้ า หน้ า ที่ เ ดิ น เลยและไม่ มี เอกสาร ใช้ระบบเทคโนโลยีให้เกิดประโยชนสูงสุดและคุ้มค่า การบริหารใช้ปัจจัยด้านการเงิน แหล่งเงินมากกว่า 98% มาจากระบบประกันสุขภาพของประเทศ ความสำเร็จด้าน ลูกค้า เน้นการดูแลผูป้ ว่ ยและสภาพแวดล้อมแบบองค์รวม ได้รบั
การรับรองคุณภาพจากสถาบันภายในประเทศ มีระบบรับ-ส่งต่อผู้ ป่วยทางอากาศ ปั จ จั ย ด้ า นกระบวนการทำงานในองค์ ก ร การให้ บริการดูแลสุขภาพระดับโลกเป็นวิธีสู่ความยิ่งใหญ่ที่ไม่มีวันสิ้นสุด เน้นการดูแลผู้ป่วยและสภาพแวดล้อม มีการทำงานเป็นทีม คิด เป็นทีม และให้ความสำคัญกับทุกคนในทีมให้เหมือนตัวเอง รวม ทั้ง Evidence based medicine ใช้ Bench marking มีระบบ จัดการความเสี่ยง ใช้ระบบ Telemedicine ให้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง เสมอ มีการใช้ระบบ IT ในการบันทึกข้อมูลทางการแพทย์ ปัจจัย ด้านการเรียนรู้และการเติบโตพัฒนาภายในองค์กรให้ได้เท่ากับ Best practice ได้รับการรับรองมาตรฐานประเทศญี่ปุ่นหรือเหนือ กว่า ISO, JCI สิ่งที่ได้จากการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ 1. ได้เห็นเทคโนโลยีที่ทันสมัยและการบริหารโรงพยาบาลที่ มีคุณภาพ และมีขนาดใหญ่ถึง 1,000 เตียง 2. ได้เห็นความก้าวหน้าทางด้านการแพทย์ในด้านต่างๆ 3. ทำให้เกิดมุมมองที่หลากหลายในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิทยากรผู้ร่วมแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ 1. นพ.ชนินทร์ อภิวาณิชย์ แพทย์ 2. คุณจิราพรรณ เวศานนทเวช กลุม่ ภารกิจบริการวิชาการ พิธีกร ดร.พรทิพา ทิชา กลุ่มงานวิจัย
24 แ บ่ ง ปั น
ครั้งที่ 9 เรื่อง “เล่าเรื่องประสบการณ์ดูงานKM...NOK ฉายา “อยู่บ้านนอก...แต่หัวใจเซ็นเตอร์พอยด์” จากเวที K-Sharing day (การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้) ครั้งที่ 9/2552 วันที่ 26 สิงหาคม 2552 เวลา 13.30–15.00 น. ห้องประชุม สมชาย สมบูรณ์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
สรุปเนื้อหาการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ เวลา การจอง ผ่านระบบ Online ส่วนบริเวณทางเดินจะมีป้าย ประวั ติ แ ละจุ ด เด่ น ของ NOK บริ ษั ท เอ็ น โอเค- วิสัยทัศน์ตัวใหญ่มาก โดยเน้นให้สะดุดตาทั้งคนภายในและคน พรี ซิ ซั่ น คอมโพเนนท์ (ประเทศไทย) จำกั ด ตั้ ง อยู่ ที่ นิ ค ม ภายนอกเพื่อเป็นการประกาศวิสัยทัศน์ที่ชัดแจ้ง ส่วนบัตรพนักอุตสาหกรรมบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา NOK เป็น งาน จะสามารถใช้กับตู้ ATM ซึ่งตั้งอยู่ในโรงอาหารเพื่อให้
โรงงานที่ผลิตส่วนประกอบของ ฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ และชิ้นส่วน พนั ก งานใช้ รู ด บั ต ร โดยจะแสดงถึ ง ข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คลทั้ ง หมด อิเล็กทรอนิกส์ เป็นบริษัทที่ได้รับรางวัลมากมายทั้งจากหน่วย ทั้ ง ค่ า อาหาร การลา ประวั ติ ก ารทำงาน สิ ท ธิ์ ต่ า งๆ ของ งานของรัฐและเอกชน ซึ่งถือว่าเป็น best practice มีหน่วย พนักงาน เป็นต้น ที่โรงอาหารมีห้องคาราโอเกะให้พนักงาน งานจำนวนมากเลือกมาดูงาน ทำ KM โดยการนำเอากิจกรรม คลายเครียดด้วย คุณภาพมาผสมผสานกันเช่น 5ส.การจัดการสิ่งแวดล้อม ความ การเยี่ ย มชมภายในส่ ว นของโรงงาน จะต้ อ งแต่ ง ปลอดภัย ไคเซ็น การลดต้นทุน เป็นต้น โดยผ่าน SGA (Small กายให้สะอาดรัดกุม เนื่องจากเป็นเขตปลอดฝุ่น โดยจะเน้น Group Activity หรือกิจกรรมกลุ่มย่อย) โดยพนักงานทุกคน เรื่องความสะอาดเทียบเท่าห้องผ่าตัดและพนักงานห้ามแต่งหน้า ต้องเป็นสมาชิก ซึ่งเป้าหมายของบริษัทคือ 4 ศูนย์ อุบัติเหตุ ทาแป้งทำงานเป็นระเบียบเพราะว่าฝุ่นจากแป้งจะมีผลต่อชิ้น เป็นศูนย์ การหยุดงานของเครื่องจักรเป็นศูนย์ ข้อร้องเรียน ส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เล็กๆ เหล่านี้ให้เกิดความเสียหายได้ จากลูกค้าเป็นศูนย์ ของเสียจากการผลิตเป็นศูนย์ และมีการ ด้านห้องปฏิบัติการ ใช้ 5 ส. อย่างลงตัว อุปกรณ์ทุกชนิดมีวิธี ประกาศวัฒนธรรมองค์กร 10 ข้อ ชัดเจนให้ทุกคนปฏิบัติ ใช้ พ ร้ อ มติ ด รู ป ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ มี ภ าพถ่ า ยกำกั บ มี ก ารใช้ ป้ า ย การเยี่ยมชมสถานที่ภายนอก บริเวณโดยรอบจะมี สัญลักษณ์ การใช้สี ตีเส้นต่างๆ เพื่อเน้นความปลอดภัย หรือ การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่พนักงานทุกรูปแบบ ทั้งตามทาง ระมัดระวังในจุดต่างๆ จุดดับเพลิง จะมีทุกห้องให้เห็นเด่นชัด เดิ น ห้ อ งอาหาร แม้ ก ระทั่ ง ในห้ อ งน้ ำ จะมี ส าระน่ า รู้ ติ ด ทั่ ว และกำหนดผู้นำกลุ่มตามสีของธง ตู้เก็บเอกสาร มีเพียง 2 ใบ บริเวณ เมื่อเดินเข้ามาจะเห็นมีป้ายหน้าโรงงานโชว์ชั่วโมงการ เท่านั้น กระดาษหรือแฟ้มบนโต๊ะไม่มี ทุกอย่างใช้คอมพิวเตอร์ ปฏิบัติงาน 9,000,000 ชั่วโมง (เก้าล้านชั่วโมง) การทำงาน อยู่ในระบบ Online ทั้งหมด ทั้งใบสมัคร ใบลา เอกสารต่างๆ ติดต่อกันโดยไม่เกิดอุบัติเหตุ เป็นการเน้นเรื่องความปลอดภัย พนักงานทุกคนได้รับการฝึกใช้คอมพิวเตอร์และสามารถใช้งาน ได้รับรางวัล “Zero Accident Campaign” และบริเวณโดยรอบ เป็ น ทุ ก คน ระดั บ หั ว หน้ า จะมี ค อมพิ ว เตอร์ โ น๊ ต บุ๊ ก ให้ ทุ ก คน จะเน้นการรักษาสิ่งแวดล้อมและลดการใช้พลังงานเช่น คนสวน อุปกรณ์เครื่องเขียนสำนักงาน มีวางไว้ใช้ส่วนกลาง 1 ชุดใช้ เป็นตัวอย่างของคนทำงาน KM โดยการนำความรู้ที่มีอยู่ (มา ด้วยกันถ้าใครนำไปใช้ ให้นำป้ายรูปติดไว้ที่ตำแหน่งของอุปกรณ์ ทำน้ำจุลินทรีย์เองจากขยะสด) มาพัฒนางาน ณ จุดทำงานให้ ที่หยิบไป แฟ้มเอกสารก็ทำเช่นเดียวกัน จะสามารถรู้ได้ทันทีว่า เกิดความรู้สิ่งใหม่ และปัจจุบันโรงงานก็ได้ใช้ประโยชน์จากส่วน ใครนำไปใช้ ห้องพัสดุ เป็นระเบียบมากและของก็ไม่เยอะเกิน นี้ในการรักษาสิ่งแวดล้อม ความจำเป็น วางจัดเหมือนห้างสรรพสินค้า วัสดุทุกชิ้นจะมี การเยี่ยมชมบรรยากาศภายใน ภายในตัวอาคาร Barcode ติด ใช้ระบบมาก่อนใช้ก่อน เบิกและตัดจ่ายโดยใช้ แทบจะไม่เห็นการใช้กระดาษในการติดข่าวสารประชาสัมพันธ์ ระบบ Online ซึ่งสามารถรู้ได้ทันทีว่าของชิ้นไหนเหลือเท่าไหร่ เนื่องจากมีนโยบายการลดใช้กระดาษ ดังนั้นจึงเปลี่ยนมาใช้ จะเพิ่มหรือสั่งซื้อได้ทันที ไม่ต้องเปลืองพื้นที่สต็อก ห้องควบคุม บอร์ดอัจฉริยะที่เป็นระบบคอมพิวเตอร์เกือบทั้งหมด ซึ่งมีทั้ง คอมพิ ว เตอร์ มี ข นาดไม่ ใ หญ่ แ ต่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง มาก มี ระบบสั ม ผัส และ Online ที่ หน้ า ห้ อ งประชุ มก็ จ ะใช้จ อ LCD เซิร์พเวอร์ถึง 30 ตัว เนื่องจากใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมเกือบ แทนป้ายต้อนรับซึ่งสามารถดูข้อมูลการใช้ห้องประชุม เรื่อง ทั้งหมด ดังนั้นจึงมีการวางแผนการใช้งานอย่างดี มีระบบกัน
ฉบั บ พิ เ ศษ 25
เครือข่ายล่ม มีชุดสำรองการทำงาน 1,2 พร้อมทำงานต่อ เนื่ อ งได้ ทั น ที ติ ด ตั้ ง กล้ อ งวงจรปิ ด ทั่ ว โรงงาน เพื่ อ ให้ ร ะดั บ หัวหน้างานสามารถเช็กดูการทำงานจากหน้าจอได้ทุกจุด ว่า ทำงานกันอย่างไร มีปัญหาอะไรก็สามารถเห็นภาพได้ทันทีโดย ไม่ต้องเข้าไปในที่เกิดเหตุ ทำให้สามารถสั่งการแก้ปัญหาได้ทันที ซึ่งทันสมัยมากๆ โครงสร้าง KM ของ NOK กลยุทธ์เพื่อก้าวไปสู่ องค์กรแห่งการเรียนรู้ 1. Smart System–เทคโนโลยีสารสนเทศ สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า บริหารงานด้วยความ โปร่ ง ใส สร้ า งความสมดุ ล ระหว่ า งคนกั บ ระบบ 2. Small Group Activity (กิ จ กรรมกลุ่ ม ย่ อ ย) ปั จ จุ บั น มี 65 กลุ่ ม ครอบคลุมพื้นที่ทั้งองค์กร สมาชิกในกลุ่มจะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กันครั้งละ 10-30 นาที จะทำการสำรวจสิ่งที่ต้องปรับปรุงของ ทุกกิจกรรมเดือนละครั้งและถ่ายทอดความรู้เรื่องงานโดยการ สร้ า งบทเรี ย น One point lesson (OPL) ซึ่ ง หมายถึ ง ขบวนการถ่ายทอดความรู้ของ NOK ที่ใครเห็นอะไร รู้อะไร ใครเจออะไรดีๆ แล้วนำมาถ่ายทอดเป็นการสอนแบบสั้นๆ โดย ผู้รู้จะเขียนลงบนกระดาษแผ่นเดียว NOK ทำ KM ตามแนว ของ PQCDSME เพื่อ เพิ่มผลผลิต (P) เพิ่มคุณภาพ (Q) ลด ต้นทุน (C) การแก้ปัญหาส่งมอบของได้ทันเวลา (D) มีความ ปลอดภัย (S) มีความรู้และทัศนคติที่ดี (M) รักษาสิ่งแวดล้อม (E) การวั ด ผล KM–ค่ า ที่ พ นั ก งานทำได้ ต่ อ หั ว เพิ่ ม ขึ้ น ข้ อ ทักท้วงจากลูกค้าลดลง ลดต้นทุนการผลิตต่างๆ ส่งของลูกค้า ทันเวลา พนักงานลาออกน้อยลง แหล่งความรู้ จากการวิจัย ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต ประสบการณ์การทำงาน การฝึกอบรม เรียนรู้ด้วยตนเองผ่าน e-Leaning ผู้เชี่ยวชาญ ที่ปรึกษา สอนภาษาต่างประเทศ (อังกฤษและญี่ปุ่น) ทุกคนสามารถเข้าไปใช้ข้อมูลด้วยกันได้ ซึ่ง จะเป็นข้อมูลเดียวกันและเป็นปัจจุบัน (Real time) เช่น เวลา ประชุมจะใช้ข้อมูลกลาง ซึ่งจะลดปัญหาแต่ละฝ่ายมีข้อมูลไม่
ตรงกัน การจัดเก็บความรู้จากงาน (Knowledge Asset) ใช้ หลัก 4S ; Select : เลือกเฉพาะสารสนเทศที่มีค่าและควรจัด เก็บเท่านั้นและต้องง่ายต่อการใช้และเข้าถึง Share : สามารถ แบ่ ง ปั น กั น ได้ กั บ คนในองค์ ก ร ใช้ สื่ อ Team room, Web Portal ในการแชร์สารสนเทศ Show : ทุกคนสามารถที่จะเข้า ถึงข้อมูลได้ทุกประเภทตามที่มีสิทธิ์และมีเวทีมีโอกาสในการนำ เสนอผลงาน Search : การค้นหาได้สะดวกรวดเร็ว (เพียง 30 วินาที) และมีประสิทธิภาพ จุดแข็งของ NOK การจัดการบริหารด้านวิสัยทัศน์
26 แ บ่ ง ปั น
ชั ด เจนและสามารถกระตุ้ น การทำงานของพนั ก งานในทุ ก รูปแบบ ทั้งความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ ด้านภาษา ด้านทัศนคติที่ ดีต่อการทำงาน การคิดสร้างสรรค์งานใหม่ๆ โดยแต่ละกลุ่มจะ มีการคิดหาวิธลี ดพลังงานหรือสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เพือ่ นำเสนอ โดยมีรางวัลเป็นแรงจูงใจ การทำงานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ มาก พนักงานทุกคนสามารถให้ข้อมูลข่าวสารและนำเสนอได้ และพร้อมในการให้บริการ สามารถใช้ KM ได้อย่างผสมผสาน กับเครื่องมือคุณภาพอื่นๆ จุดอ่อนของ NOK ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานที่ จะพบปะพูดคุยกันมีน้อยมาก เนื่องจากใช้แต่คอมพิวเตอร์ติดต่อ กันทุกเรื่องแม้แต่เรื่องเล็กๆ น้อยๆ จนลืมไปว่าเราไม่ใช่อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ การใช้ระบบไคเซ็นเป็นการลดการสูญเสีย เน้น เพิ่มผลผลิตเป็นการได้ประโยชน์ของโรงงาน แต่คงลืมดูคนที่ ทำงานเคร่งเครียดอยูห่ น้างานตลอดเวลาทุกคนต้องกระตือรือร้น มิฉะนั้นก็อยู่ไม่ได้ ส่วนคนเก่าแก่ที่ทำประโยชน์ให้มามากและทำ งานมานานไปอยู่ ที่ ไ หน เมื่ อ องค์ ก รต้ อ งการแต่ วั ย หนุ่ ม สาว ทำงาน เพื่อให้ทันต่อการผลิตชิ้นงาน สิ่งที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ 1. ทำให้เห็นถึงการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาปรับใช้แทน กระดาษเพื่อลดพลังงานจนได้รับรางวัลและมีข้อมูลที่ Real time 2. การใช้ 5 ส. และสัญลักษณ์ความระมัดระวังความ ปลอดภัยในการทำงานในห้องปฏิบัติการ ที่สามารถ นำมาเป็นแบบอย่างและนำมาใช้ในการทำงาน 3. สามารถนำ SGA หรื อ กิ จ กรรมกลุ่ ม ย่ อ ย จาก ตั ว อย่ า งที่ เ ห็ น และบทเรี ย นหนึ่ ง หน้ า (One Point Lesson) มาลองวางแผนและปรับใช้กับงานที่ทำ 4. การชู ป ระเด็ น ”ชั่ ว โมงการทำงาน 9 ล้ า นชั่ ว โมง อุบัติเหตุเป็นศูนย์” และมีการตั้งเป้าไว้ในอนาคต 10 ล้ า นชั่ ว โมงการทำงาน เป็ น การคำนึ ง ถึ ง ความ ปลอดภัยในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ แล้วใน หน่วยงานเราจะสามารถนำประเด็นคล้ายๆ กันมา ลองตั้ ง เป้ า ในเรื่ อ งอื่ น ๆ ดู บ้ า งเพื่ อ ชู จุ ด เด่ น ในการ ทำงาน 5. ทำให้เกิดมุมมองใหม่ๆ ที่สามารถนำมาปรับใช้กับการ ทำงานได้ วิทยากรผู้ร่วมแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ คุณผ่องพรรณ รมหิรัญ กลุ่มงานพยาธิวิทยา พิธีกร
คุณอารีย์
ประสิทธิพยงค์ กลุ่มงานพยาธิวิทยา
ครั้งที่ 10
เรื่อง “ข่าวมะเร็งเชิงรุก : พลาสติกกับสิ่งแวดล้อม” จากเวที K-Sharing day (การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้) ครั้งที่ 10/2552 วันที่ 2 กันยายน 2552 เวลา 13.30–15.00 น. ห้องประชุมสมชาย สมบูรณ์เจริญ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
สรุปเนื้อหาการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ พลาสติกมีผลกระทบต่อสุขภาพกับการ เกิดมะเร็ง มี 4 ชนิด 1. Polyvinyl Chloride (PVC) เช่น ท่อน้ำ PVC ของเล่นเด็กๆ จุกนม เด็ ก เป็ น พลาสติ ก ที่ อ่ อ นยื ด หยุ่ น ดี ฟิ ล์ ม ถนอม อาหาร 2. Polystyrene (Styrofoam) เช่ น กล่องโฟมซึ่งมีสารStyrene เป็นสารอันตรายมีผล ต่ อ ระบบประสาทส่ ว นกลางและระบบเม็ ด เลื อ ด DNA และโครโมโซม เป็นสารก่อมะเร็งในกลุ่ม 2B ซึ่ ง รบกวนการทำงานของฮอร์ โ มนตาม ธรรมชาติและละลายได้ดีในน้ำมันและแอลกอฮอล์ 3. Polycarbonate เช่ น ขวดนมหรื อ ขวดน้ ำ เคลือบผิวด้านในบรรจุภัณฑ์ Bisphenol A เป็น สารทำหน้ า ที่ ค ล้ า ยฮอร์ โ มนเอสโตรเจน ไป รบกวนการทำงานของฮอร์โมนธรรมชาติเมื่อได้ รับความร้อนหรือเกิดจากการล้างโดยใช้น้ำยาล้าง จานที่เป็นกรดก็จะละลายได้ 4. Melamine เป็น พลาสติกที่ปลอดภัย นำไปใช้กับไมโครเวฟ เตา อบ จะทำให้เกิดอันตรายเมื่อพลาสติกชำรุดเก่า อุณหภูมิที่ปลอดภัยในการใช้เมลามีนจะอยู่ที่ระดับ 70-80 องศาเซลเซียส อาจได้รับสารก่อมะเร็ง ฟอล์มอลดีไฮด์ปนเปื้อนมากับอาหารได้ สารก่ อ มะเร็ ง ที่ เ กิ ด จากการทำลาย พลาสติก เช่น Polyvinyl Chloride การได้รับ สารนี้ในปริมาณที่เกินกำหนดจะทำให้เกิดมะเร็ง ตับชนิด Angiosarcroma ได้ Dioxin, Styrene, PAHs (polycyclic aromatic hydrocarbon), Acetaldehyde, Dioxin สาเหตุ ที่ พ ลาสติ ก ไม่ สามารถถูกย่อยสลายได้คือ พอลิเมอร์สังเคราะห์ น้ ำ หนั ก โมเลกุ ล สู ง และพอลิ เ มอร์ สั ง เคราะห์ มี คุณสมบัติไม่ชอบน้ำ ใช้ 3R เพื่ อ ลดภาวะโลกร้ อ น จาก พลาสติ ก คื อ Reduce ใช้ น้ อ ย Reuse ใช้ ซ้ ำ Recycle นำกลับมาใช้ใหม่ ชนิดของพลาสติกกับ การ Recycle มี 7 ชนิ ด พร้ อ มสั ญ ลั ก ษณ์ คื อ
1. PET หรือ PETE ได้แก่ ขวดน้ำดื่ม ขวดน้ำอัดลม ขวดน้ำมันพืช 2. HDPE ขวดน้ำยาซักผ้า น้ำยาล้าง จาน ถุงก๊อบแก๊บ 3. PVC หรือ V ท่อน้ำ ฟิล์มถนอม อาหาร ผ้าม่านห้องน้ำ เฟอร์นิเจอร์ ขวดของใช้ ของ เด็กเล่น 4. LDPE ถุงขยะ ถุงซักแห้ง กล่องพลาสติกใส่ อาหาร ที่ทำน้ำแข็ง 5. PP ขวดใส่ซอส ถ้วยโยเกิร์ต กล่องที่ใช้ในไมโครเวฟ ถุงพลาสติกประเภทถุงร้อนหรือ ถ้วยจาน 6. PS ได้แก่ กล่องโฟมใส่อาหาร กล่องใส่ไข่ โฟมกันของแตก 7. Other ในขวดนมเด็กเกือบทุกยี่ห้อ ขวด Nalgene ข้อคิดเพื่อความปลอดภัยในการใช้พลาสติก 6 ประการคือ 1. หลีกเลี่ยงการใช้พลาสติกที่ทำด้วย Polycarbonate ซึ่งมีสัญลักษณ์สามเหลี่ยม7PC เพื่อใส่ น้ ำ หรื อ อาหารโดยเฉพาะของที่ ต้ อ งใช้ กั บ เด็ ก อ่ อ น
2. หลีกเลี่ยงการใช้ภาชนะพลาสติกทุกชนิดในการอุ่น อาหารด้ ว ยเครื่ อ งไมโครเวฟและอาหารประเภทไขมั น
ฉบั บ พิ เ ศษ 27
3. หลีกเลี่ยงการใส่น้ำด้วยขวดพลาสติก ควรใช้ขวดแก้วหรือภาชนะอื่นแทน 4. หากจำเป็นต้องใช้ขวดน้ำพลาสติก ควร ใช้พลาสติกหมายเลข 1 และ 2 เหมาะ สำหรั บ ใช้ เ พี ย งครั้ ง เดี ย วเท่ า นั้ น ไม่ แนะนำให้ น ำกลั บ มาใช้ ใ หม่ 5. ควร เรี ย นรู้ คุ ณ สมบั ติ ข องพลาสติ ก แต่ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท เ พื่ อ ก า ร ใ ช้ ง า น ที่ ถู ก ต้ อ ง
6. หลีกเลี่ยงการใช้ถุงพลาสติก ควรใช้ ทางเลือกอื่นๆ เช่น นำถุงผ้าไปเองหรือ ใช้ถุงกระดาษแทน ข้อมูลควรรู้เกี่ยวกับพลาสติก ทุกหนึ่งนาทีมีการใช้ถุงหิ้วอย่างน้อย 1 ล้านใบ ไม่ถึง 5%ของถุงพลาสติกที่ถูก นำกลั บ มาใช้ ซ้ ำ การย่ อ ยสลายถุ ง พลาสติกจะใช้เวลานานถึง 500-1,000 ปี แต่ละปีสัตว์ทะเลมากกว่า 100,000 ตั ว ต้ อ งตายจากผลของขยะพลาสติ ก กรุงเทพฯ ต้องเก็บขยะมากถึง 8,500 ตัน/วัน พลาสติกชีวภาพหรือพลาสติกที่ ย่อยสลายได้ คือพลาสติกที่ผลิตขึ้นจาก วัตถุดิบธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นพืช เช่น ข้ า ว โ พ ด อ้ อ ย มั น ส ำ ป ะ ห ลั ง ซึ่ ง สามารถย่อยสลายได้โดยจุลินทรีย์ที่มีอยู่ ในธรรมชาติ พลาสติกชีวภาพมี 2 ชนิด คื อ 1. Polylactic Acid หรื อ PLA
2. Polyhydroxy alkanoates หรื อ PHAs สำหรับทางการแพทย์ เช่น ไหม ละลาย แผ่ น ดามกระดู ก และผิ ว หนั ง เทียม อุปกรณ์ทางการแพทย์จะค่อยๆ สลายตัวด้วยปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส โดน ระบบเมตตาบอลิ ซึ ม ในร่ า งกายมนุ ษ ย์ ภายหลั ง การเสร็ จ สิ้ น การใช้ ง าน ด้ า น อื่นๆ การเกษตรและบรรจุภัณฑ์ พลาสติกชีวภาพต้องพัฒนาอีก มากเพื่อให้ได้คุณสมบัติที่เหมาะสมและ เทียบเท่ากับพลาสติกทั่วไป สิ่งที่สำคัญ ที่ สุ ด คื อ ราคาต้ น ทุ น การผลิ ต ยั ง สู ง อยู่
28 แ บ่ ง ปั น
มากและพลาสติกชีวภาพมีคุณสมบัติเช่นเดียวกันกับพลาสติก คงไม่มีใคร ปฏิเสธที่จะใช้พลาสติกชีวภาพเพื่อรักษาโลกใบนี้ให้น่าอยู่ต่อไปยิ่งขึ้น สิ่งที่ได้จากการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู ้ 1. ได้ความรู้เรื่องพลาสติกกับสิ่งแวดล้อม ทำให้ได้ตระหนักถึงภัย ของพลาสติกที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งอย่างคาดไม่ถึง 2. ทำให้คำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้พลาสติกในชีวิตประจำวัน ซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพรวมถึงสิ่งแวดล้อม 3. สามารถนำความรู้ ไ ปถ่ า ยทอดต่ อ บุ ค คลอื่ น ๆ ได้ ซึ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ รวมถึงการระมัดระวังในการใช้งาน ได้อย่างคุ้มค่า และปลอดภัย วิทยากรผู้ร่วมแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู ้ คุณอรวรรณ พู่พิสุทธิ์ ศูนย์ข่าวมะเร็งเชิงรุก พิธีกร ดร.พรทิพา
พิชา กลุ่มงานวิจัย
D epartment K -Sharing
กิจกรรมการจัดการ ความรู้ภายในกลุ่ม พยาบาลเคมีบำบัด Department Sharing ในฉบับนี้ก็เป็นรูปแบบเล่าเรื่อง การแบ่งปันความรู้ในกลุ่มพยาบาล ซึ่งพยายามทำให้รูปแบบ การแบ่งปันความรู้เป็นเรื่องง่ายๆ เพราะโดยความเป็นจริงเราก็ ทำกันอยู่แล้วเป็นวัฒนธรรม แต่ขาดการนำมาร้อยเรียงและเล่า สู่กันฟังให้เห็นภาพเป็นกระบวนการ ลองติดตามดูนะคะว่าของ พยาบาลเขา share สิ่งที่ทำกันอย่างไร
เริ่มเมื่อเดือนตุลาคม 2551 ผ่านมา 1 ปี สถาบันมะเร็งแห่งชาติ มีนโยบายจัดตั้งศูนย์เคมีบำบัดผูป้ ว่ ยนอก แยกหน่วยฉีดยาเคมีบำบัดออกจาก งานบริการพยาบาลผูป้ ว่ ยนอกเคมีบำบัดทีร่ บั ผิดชอบ บริการตรวจ รักษา ติดตาม ผู้ป่วยที่รักษาด้วยวิธีเคมีบำบัด รวมทั้งให้บริการฉีดยาเคมีบำบัด แบบผู้ป่วยนอก ปัญหาที่ตามมาก็หนีไม่พ้นเรื่องอัตรากำลัง เพราะมีการ เพิ่มผู้ป่วยที่ส่งมาจากคลินิกศัลยกรรมและเต้านม และคลินิกนรีเวช เพิ่มขึ้น อีก ซึ่งเดิมกลุ่มนี้จะให้ยาเคมีโดยรับเป็นผู้ป่วยในกลุ่มภารกิจบริการวิชาการ (กลุ่มการพยาบาล) ก็ได้มีการบริหารอัตรากำลังโดยการจัดการลื่นไหลจาก หอผู้ ป่ ว ยมาปฏิ บั ติ ง านที่ ศู น ย์ เ คมี บ ำบั ด ฯ ให้ เ พี ย งพอกั บ ภาระงาน เนื่องจากการบริหารยาเคมีบำบัดต้องใช้พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ และยิ่งมีกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลที่กำหนดให้พยาบาลที่ฉีดยาเคมีบำบัด
ฉบั บ พิ เ ศษ 29
D e p a r t m e n t K - S h a r i n g
โดย สมจิตร ประภากร หัวหน้า กลุ่มงานวิชาการพยาบาล
ต้ อ งผ่ า นการอบรมและได้ รั บ ประกาศนี ย บั ต รรั บ รอง คุณสมบัติเพื่อสามารถฉีดยาได้ ยิ่งเป็นความยากลำบากใน การจั ด อั ต รากำลั ง พอสมควรที เ ดี ย ว และปั ญ หาที่ พ บอี ก ประการหนึ่งคือ ระบบการบริหารยาเคมีสำหรับผู้ป่วยใน ซึ่ง มีเวลานอนอยู่ในหอผู้ป่วยมากกว่าผู้ป่วยนอก จะมีกระบวนการจัดการที่ต่างกันออกไปบ้างในรายละเอียด ทำให้น้องๆ จากหอผู้ป่วยที่ลงมาปฏิบัติงานที่ศูนย์ฯ เกิดความไม่เคยชิน พยาบาลที่อยู่ประจำศูนย์ฯ ต้องให้คำแนะนำและเริ่มเกิดการ เรียนรู้วิธีซึ่งกันและกัน หลังจากนั้นกลุ่มก็เริ่มมีความคิดว่า น่าจะมีเวทีที่จะมาพูดคุยกันในทีมพยาบาลที่ต้องหมุนเวียนมา ปฏิบัติงานที่ศูนย์ฯ จึงได้แจ้งมาที่งานพัฒนาสารสนเทศและ การจัดการความรู้ทางการพยาบาลให้มาเป็น “คุณอำนวย” ให้หน่อย และช่วยเป็น “คุณลิขิต” ให้ด้วย เพราะเราจะได้ พยาบาลส่ ว นอื่ นที่สนใจ เช่น กลุ่มที่ไม่ได้ห มุ น เวี ย นลงมา ปฏิบัติงานที่ศูนย์ฯ และน้องพยาบาลใหม่ๆ เข้ามาร่วมแสดง ความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้ รับเคมีบำบัดด้วย ดังนั้นการพบกันครั้งแรกก็เริ่มขึ้นราวเดือน มีนาคม 2552 และมีการพบกันในห้องประชุมอีกราว 3 ครั้ง แต่ละครั้งก็ได้ข้อสรุปจากความเข้าใจที่แตกต่าง รวม เป็นแนวทางเดียวกัน โดยมี คุณพรจันทร์ สัยละมัย เป็น “คุณประสาน (Network Manager)” ให้ มีทมี น้องๆ ศูนย์ฯ ได้แก่ คุณวิลาวัลย์ เล้าสกุล คุณณัฐกฤตา พลังฤทธิ์ เข้า ร่ ว มแลกเปลี่ ย นด้ ว ยทุ ก ครั้ ง น้ อ งหอผู้ ป่ ว ยเคมี บ ำบั ด หญิ ง ชั้น 7 ก็นา่ รักมาก นำทีมน้องทีม่ ปี ระสบการณ์ 1-2 ปี เข้าร่วม ฟัง กลุ่มที่มีประสบการณ์การบริหารยา (ทำงาน 3 ปี ขึ้น ไป) ก็เข้าร่วมประชุมด้วย สำหรับหอผู้ป่วยชาย หัวหน้าหอ ผู้ป่วย คือ คุณธีราพร หลาบเลิศบุญ ก็เข้าร่วม share เอง พร้อมกับน้องๆ ส่วนหอผู้ป่วยพิเศษ และหอผู้ป่วยหญิงชั้น 6 ก็ไม่น้อยหน้า ส่งทีมเข้าร่วมด้วย การประชุมแต่ละครั้งเต็มไป ด้วยบรรยากาศเป็นกันเอง ทุกคนแสดงความคิดเห็นต่างบ้าง สนับสนุนบ้าง แต่ก็มีข้อสรุปร่วมกัน ส่วนที่ต้องดำเนินการ แก้ไขหรือปรับปรุง คุณธีราพร ในฐานะ พี่ Head ก็รีบ ดำเนิ น การให้ แ ละเนื่ อ งจากเราต้ อ งสรุ ป ผลการดำเนิ น กิจกรรม CoPs ให้อยู่ในเนื้อที่หน้ากระดาษที่กำหนด ก็ขอ 30 แ บ่ ง ปั น
รวบยอดสรุปผลการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ร่วมกันดังนี้นะคะ 1. การบริหารยา Oxaliplatin ข้ อ ควรระวั ง และหลี ก เลี่ ย ง เช่น การหลีกเลี่ยงของเย็น 2. การบริหารยาทีต่ อ้ ง protect light/การสื่ อ สารในที ม เพื่ อ ให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ท ราบ เรื่ อ งยาที่ ต้อง protect light เกิดการ ประสานงานกับเภสัชกร ใน การจั ด เตรี ย มยากลุ่ ม ที่ ต้ อ ง protect light 3. เทคนิคการไล่อากาศในหลอด ฉีดยาและในสายให้สารน้ำ 4. การบริหารยาในกลุม่ Taxans การเฝ้าระวังภาวะ Hypersensitivity, การบริหารยา Premed, และการ Titrate ยา 5. เพิ่มการสื่อสาร เรื่องยาที่มี ระยะเวลาในการใช้หลังการ ผสมแล้ ว ที่ ส่ ง มาจากห้ อ ง เภสัชกรรม (ห้องผสมยา) 6. เทคนิคการ push ยา 7. การเกิ ด hypersensitivity ของยา carboplatin, Oxaliplatin ใน cycle หลั ง ๆ และการเฝ้าระวัง 8. การเลือกใช้ set ที่เหมาะสม และเทคนิ ค การเลื อ กเส้ น ใน ผู้ป่วยที่มีการให้หลายๆ ครั้ง 9. สถานการณ์การเกิด Hypersentivity ในกลุ่มยา protocol FOLFOX4 ที่หอผู้ป่วยเคมี บำบัดเฝ้าระวังและรวบรวม
เป็น evidence รวมทั้งอาการที่พบและเกิดการกำหนดแนวทางการเฝ้า ระวังเมื่อบริหารยา protocol FOLFOX4 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เราก็คงดำเนินการต่อไป และเป็นการเพิ่มความรู้ จากประสบการณ์ เนื่องจากเราเป็นแหล่งจัดอบรมหลักสูตรการพยาบาลเคมี บำบัด เพื่อการรับรองการฉีดยาตามระเบียบของสภาการพยาบาล สุดท้ายของ ฉบับนี้ก็ต้องขอขอบคุณ พี่ๆ น้องๆ พยาบาล กลุ่ม Cops เคมีบำบัด ที่รับบท “คุณกิจ (Knowledge Pracititoner, KP)” รวมตัวกัน ต่อยอดความรู้และแลก เปลี่ยนประสบการณ์ต่อกัน และ ขอขอบคุณ คุณพรจันทร์ สัยละมัย ที่ทำหน้าที่ “คุณประสาน (Network Manager)” อย่างไม่เหน็ดเหนื่อย คุณดาวรุ่ง เทพสุวรรณ ที่รับบท “คุณอำนวย (Knowledge Facilitator, KF)” อย่างเต็มที่ และคุณจรีพร สิงห์งาม ที่รับบท “คุณลิขิต (Note Taker หรือ Historian)” ให้ทีม และที่ขาดไม่ได้ คือ คุณอัคริยา สมรรคบุตร รองผู้อำนวยการ กลุ่ม ภารกิจบริการวิชาการ พี่ใหญ่ หรือ CEO ของน้องๆ กลุ่มพยาบาล ที่ให้การ สนับสนุนและเป็นกำลังใจในทุกด้าน เพื่อคุณภาพบริการและความปลอดภัยของ ผู้ป่วยเป็นสำคัญ ก่อนจบก็ขอฝากประโยคที่ผู้เขียนชื่นชอบ และใช้เป็นโจทย์หนึ่งในการ พัฒนานะคะ “Knowledge resides in the users and not in the collection. ความรู้อยู่ในผู้ใช้ ไม่ใช่อยู่ในแหล่งรวมความรู้” (Y. Maholtra) (คัดลอกจาก http://www.dopa.go.th/iad/km/km_des.html) จากใจ ......... “คุณเอื้อ (Chief Knowledge Officer, CKO)” กลุ่มพยาบาล
ฉบั บ พิ เ ศษ 31
5 ทํ า 5 ไ ม่ ที่ ใ ค ร ๆ ค ว ร รู้
ค วามรู้ เ รื่ อ งโรคมะเร็ ง
ทำ
5 ไม่ ที่ ใ ครๆ ควรรู้
โดย พรนภา จันทรวีระกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ
เจ้ า หน้ า ที่ ส ถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ แ ละประชาชนที่ ม ารั บ การตรวจสุ ข ภาพที่ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ คงพอจะคุ้นเคยกับมือน้อยๆ สีแดง สีเขียว ที่มีเครื่องหมาย กากบาทและเครื่องหมายถูกประทับอยู่กับตัวอักษร 5 ทำ 5 ไม่ อยูบ่ า้ ง แต่จะมีใคร ทราบบ้างไหมว่า นีเ่ ป็นความคิดของนายแพทย์ธรี วุฒิ คูหะเปรมะ ผู้อำนวยการสถาบัน มะเร็งแห่งชาติ ที่ต้องการจะกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่ควรประพฤติปฏิบัติ 5 ประการ และละเว้นการกระทำที่ไม่สมควรอีก 5 ประการเช่นเดียวกับเบญจศีล เบญจธรรมของ ศาสนาพุทธนั่นเอง โดยผู้ป ฏิ บั ติ จ ะได้ รั บ อานิ ส งส์ เ ป็ น สุ ข ภาวะปราศจากโรคภั ย มา เบียดเบียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะห่างไกลจากโรคมะเร็งอีกด้วย 5 ทำ ได้แก่ ออกกำลังกายเป็นนิจ – ควรออกกำลั ง กายให้ ชี พ จรเต้ น ได้ ถึ ง 60% ของความ สามารถสูงสุดทีห่ วั ใจจะเต้นได้ หรือให้รสู้ กึ ว่าเหนือ่ ยนิดหน่อย พอมีเหงือ่ ออก หรือยังสามารถพูดคุยระหว่างการออกกำลังกาย ได้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครัง้ ครัง้ ละ 30 นาที 32 แ บ่ ง ปั น
ทำจิตแจ่มใส – พยายามบริหารจัดการกับความวิตกกังวล คลายความเครียด และพักผ่อนให้เพียงพอ กินผักผลไม้ – กินผัก ผลไม้ ให้ได้ครึ่งหนึ่งของปริมาณอาหารในแต่ละมื้อ อาหารหลากหลาย – กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ไม่ซำ้ ซาก จำเจ และใหม่สด สะอาด ปราศจากเชือ้ รา ตรวจร่างกายเป็นประจำ – อายุ 35 ปี ขึ้ น ไป ควรตรวจร่ า งกายเป็ น ประจำ เพื่ อ หา ปัจจัยเสี่ยงโรคมะเร็ง 5 ไม่ ได้แก่ ไม่สูบบุหรี่ - บุหรี่ เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของโรคมะเร็งปอด กล่องเสียง
ช่องปาก หลอดอาหาร กระเพาะปัสสาวะ กระเพาะอาหาร
ตับอ่อน ไต ผิวหนัง และปากมดลูก ไม่มีเซ็กซ์มั่ว - สตรี ที่ มี เ พศสั ม พั น ธ์ ตั้ ง แต่ อ ายุ น้ อ ย และมี เ พศสั ม พั น ธ์ กั บ
ผู้ชายหลายคน จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งปาก- มดลูก ไม่มัวเมาสุรา - แอลกอฮอล์ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ โรคมะเร็ ง ได้ แ ก่ มะเร็ ง ช่องปาก ลำคอ หลอดอาหาร ปอด ตับอ่อน และตับ ผูท้ ี่ ดื่มสุรามากกว่า 60 กรัมของ Ethanol ต่ อ วั น จะเพิ่ ม ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง เป็น 9 เท่าของผู้ที่ไม่ดื่ม ไม่ตากแดดจ้า - ผิวหนังป้องกันไม่ให้รังสีอุลตราไวโอเลตจากแสงแดดทำลาย เนื้ อ เยื่ อ ใต้ ผิ ว หนั ง ส่ ว นที่ ถู ก แสงแดดแล้ ว เกิ ด อาการบวม แดงและปวดเป็นระยะเวลานานๆ จะมีโอกาสเป็นมะเร็งผิวหนัง
ได้ ควรหลีกเลี่ยงแสงแดดช่วงเวลา 10.00 น.–15.00 น. ไม่กินปลาน้ำจืดดิบ - เพราะอาจมีตัวอ่อนของพยาธิใบไม้ตับ ทำให้เกิดมะเร็งท่อ
น้ำดีในตับได้ คำพูดที่คล้องจองกันนี้ ทำให้ง่ายต่อการจำ หากผู้ใดได้ประพฤติปฏิบัติตามนี้แล้ว จะทำให้เป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา ดังพุทธวัจนะที่ว่า “อโรคยา ปรมาลาภา ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ”
ฉบั บ พิ เ ศษ 33
ค วามรู้ เ รื่ อ งโรคมะเร็ ง ม า ทํ า ค ว า ม รู้ จั ก ก า ร ต ร ว จ คั ด ก ร อ ง ม ะ เ ร็ ง กั น เ ถ อ ะ
โดย มลินี สนธิไชย นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
มาทำความรู้ จั ก ก า ร ต ร ว จ คั ด ก ร อ ง ม ะ เ ร็ ง
กันเถอะ ในปัจจุบนั โรคมะเร็งจัดเป็นปัญหาทีส่ ำคัญทางด้านสาธารณสุข ของโลก จากสถิติองค์การอนามัยโลก ปี 2550 มีผู้เสียชีวิตด้วยโรค มะเร็ง 7.9 ล้านคน(1) นอกจากจะทำลายชีวิตประชากรเป็นจำนวน มากแล้ว แต่ละประเทศยังต้องสูญเสียเงินงบประมาณในการดูแลและ รักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งเป็นจำนวนมากอีกด้วย
องค์การอนามัยโลกจึงออกแผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ (National Cancer Control Programmes) เพื่อใช้เป็นแนวทางการป้องกันและ ควบคุมโรคมะเร็ง ซึ่งหนึ่งในแนวทางที่อยู่ในแผนการ คือ การตรวจคัดกรอง มะเร็ง (cancer screening) เพื่อใช้ในการตรวจหาโรคมะเร็งตั้งแต่ระยะก่อนที่จะ มีการแสดงอาการของโรค โดยผู้ที่มาตรวจคัดกรอง คือ ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อ โรค ที่ยังไม่มีอาการผิดปกติใดๆ โดยมุ่งหวังว่าการตรวจพบมะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่ม แรกที่ยังไม่แสดงอาการจะสามารถรักษาให้หายขาด โดยใช้ขั้นตอนการรักษาที่ไม่ ซับซ้อนและผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ด(2) ี ในประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว การตรวจคั ด กรองมะเร็ ง มี ก ารใช้ กั น อย่ า ง แพร่หลายและมีการพัฒนาวิธีและขั้นตอนที่ใช้ในการตรวจคัดกรองมะเร็งมาอย่าง ต่อเนื่อง รวมไปถึงการจัด Campaign ต่างๆ รณรงค์ให้ประชากรที่อยู่ในกลุ่ม เสี่ยงเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็ง เพื่อให้การตรวจคัดกรองมะเร็งครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายและบรรลุวัตถุประสงค์ คือ ลดอุบัติการณ์ของโรคและอัตราการ ตาย แต่สำหรับประเทศที่กำลังพัฒนาซึ่งรวมถึงประเทศไทย การตรวจคัดกรอง 34 แ บ่ ง ปั น
มะเร็งส่วนใหญ่รัฐบาลไม่ได้รองรับค่าใช้จ่าย การ ตรวจคัดกรองมะเร็งจึงเป็นแบบตามทีโ่ อกาสอำนวย (opportunistic screening) ผู้เข้ารับการตรวจคัด กรองมะเร็งต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายด้วยตนเอง ประชากรที่มีรายได้ต่ำจึงยังเข้าไม่ถึงการตรวจคัด กรองมะเร็ ง และถึ ง แม้ ว่ า ในปั จ จุ บั น รั ฐ บาลได้ มี โครงการรณรงค์ให้ประชากรเข้ารับการตรวจคัด กรองมะเร็งโดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย เช่น มะเร็งปากมดลูก แต่ก็ยังไม่ครอบคลุมประชากรกลุ่ ม เป้ า หมายเนื่องจากประชากรยังขาดความรูแ้ ละความ เข้าใจถึงประโยชน์ข องการตรวจคั ด กรองมะเร็ ง ภาพรวมการตรวจคัดกรองมะเร็งในประเทศจึงยัง ไม่เห็นผลเป็นที่ชัดเจนนัก ดังนั้น ทางองค์การ อนามั ย โลกจึ ง ได้ ก ำหนดแนวทางที่ จ ะใช้ ใ นการ ตรวจคัดกรองมะเร็งชนิดต่างๆ เพื่อให้ประสบผล สำเร็จ โดยวิธีที่จะนำมาใช้ในการตรวจคัดกรอง (Screening test) มี ร าคาถู ก แต่ ต้ อ งคงไว้ ซึ่ ง
หลักการที่สำคัญคือ เป็นวิธที ที่ ำได้งา่ ยไม่ยงุ่ ยาก ซับซ้อน ใช้เวลาไม่นาน มีประสิทธิภาพ (Sensitivity), มีความจำเพาะต่อโรค (Specificity), ให้ผลเป็น บวกในกรณี ที่ เ ป็ น โรค (Positive-predictive values), ให้ ผ ลเป็ น ลบในกรณี ที่ ไ ม่ เ ป็ น โรค (Negative-predictive values) และเป็ น วิ ธี ที่ ผู้เข้ารับการคัดกรองยอมรับได้ (Acceptability) นอกจากนี้แล้วที่สำคัญ คือ อุบัติการณ์ของโรค สูงเพียงพอคุ้มค่าต่อการตรวจคัดกรองประชากร ที่มีความเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็ง และ ทรัพยากรทางการแพทย์ต้องมีประสิทธิภาพเพียง พอต่อการวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง การรักษาโรค และการติดตามผลการรักษาได้อย่างถูกต้อง(3) จากปั จ จั ย ดั ง กล่ า วการตรวจคั ด กรอง มะเร็งที่ทำแล้วเห็นผลได้ชัดเจน คือ มะเร็งปากมดลูก เนื่องจากมีอุบัติการณ์ของโรคสูง จากการ ศึ ก ษาของ International Agency for
Research on Cancer (IARC/WHO) พบว่า การตรวจคั ด กรองมะเร็ ง ปากมดลู ก ด้ ว ยวิ ธี ท ำ Pap smear สามารถลดอุบตั กิ ารณ์ของโรคได้กว่า ร้อยละ 80(4) ซึ่งในบางประเทศหลังจากทำการ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกแล้วพบว่าอุบัติการณ์
ของโรคลดลง(5) ปัจจุบันในด้านการแพทย์ได้มี การศึกษาวิจัยอย่างต่อเนื่องและมุ่งเน้นไปที่การ หาวิ ธี ต รวจคั ด กรองมะเร็ ง ที่ มี ค่ า ใช้ จ่ า ยลดลง เช่ น การตรวจคั ด กรองมะเร็ ง ปากมดลู ก ด้ ว ย เทคนิค Visual Inspection with Acetic Acid (VIA) และ Liquid-based cytology (LBC) แทนวิธี Pap smear เป็นต้น อย่างไรก็ตามใน แต่ละประเทศจะเลือกใช้วิธีการใดในการตรวจคัด กรองมะเร็งขึน้ อยูป่ จั จัยหลายสิง่ รวมทัง้ ทรัพยากร บุคคลและทรัพยากรทางการแพทย์ดว้ ย อ้างอิง (1) Quick Cancer Facts. Available at: http://www.who.int/cancer/en/index.html (2) Screening and early detection of cancer Available at: http://www.who.int/ cancer/detection/en/index.html (3) S c r e e n i n g f o r v a r i o u s c a n c e r s Available at: http://www.who.int/cancer/ detection/variouscancer/en/index.html (4) Progress in reproductive health research. Available at: http://www.who.int/hrp/ publications/progress65.pdf (5) Nieminen P, Kallio M, Hakama M. The effect of mass screening on incidence and mortality of squamous and adenocarcinoma of cervix uteri. Obstet Gynecol 1995;85:1017-1021. ฉบั บ พิ เ ศษ 35
ห ลั ก ใ ห ญ่ ใ จ ค ว า ม ใ น ก า ร ร ก ษ า โ ร ค ม ะ เ ร็ ง
ค วามรู้ เ รื่ อ งโรคมะเร็ ง
หลั ก ใหญ่ ใ จความในการรั ก ษา
โรคมะเร็ง
โดย อารีย์ ประสิทธิพยงค์ นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการพิเศษ
มะเร็ง เป็นโรคทีค่ ร่าชีวติ ประชากรโลกมาแล้วอย่าง
มากมาย มะเร็งบางชนิ ด สามารถรั ก ษาให้ หายขาดได้ ถ้ า ตรวจพบในระยะเริ่ ม แรก การรักษาทำได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับระยะของ โรค ชนิดและขนาดของก้อนมะเร็ง ตลอด จนปัจจัยประกอบอืน่ ๆ เช่น ภาวะโภชนาการ ภูมิคุ้มกัน จิตใจ การรักษาโรคมะเร็งโดย ทั่วๆ ไปได้ แบ่งได้เป็น 4 วิธี คือ 1. การผ่ า ตั ด เป็ น วิ ธี ที่ นิ ย มใช้ กั น มาก แพทย์ จ ะ พิจารณาเงื่อนไขต่างๆ ของผู้ป่วย ได้แก่ ตำแหน่งและขนาดของก้อนเนื้อมะเร็ง ชนิดของเซลล์มะเร็ง รวมถึงโอกาสแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งไปยังอวัยวะอื่น โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อรักษาให้หายขาด ซึ่งได้ผลดีกับมะเร็งระยะเริ่มแรก เช่น การผ่าตัดเลาะ ก้อนเนื้อและเนื้อรอบๆ ก้อนมะเร็งรวมทั้งต่อมน้ำเหลืองและท่อทางเดินน้ำเหลืองบริเวณ ใกล้เคียงออกทั้งหมด และการผ่าตัดเพื่อรักษาแบบประคับประคอง เนื่องจากโรคมะเร็ง บางชนิดไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่ผู้ป่วยจะทุกข์ทรมานจากอาการของโรค เช่น อาการปวด ตกเลือด เป็นต้น ข้อควรระวังหลังการผ่าตัดคือ ต้องดูแลแผลให้สะอาดอยู่ เสมอ ระมัดระวังไม่ให้ท่อระบายหรือสายสวนต่างๆ ที่ติดมากับร่างกายเลื่อนหลุด สังเกต อาการผิดปกติที่ต้องรีบมาพบแพทย์ เช่น แผลอักเสบ บวม แดง ปวดแผลมาก แผลแยก มีสิ่งผิดปกติไหลซึมจากแผล มีไข้สูง ปวดท้องรุนแรง เป็นต้น 2. การฉายรั ง สี คื อ การนำรั ง สี ซึ่ ง เป็ น อนุ ภ าคพลั ง งานสู ง หรื อ คลื่ น แม่ เ หล็ ก
ไฟฟ้ามาใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง มีวิธีการหลัก 2 วิธี คือ การฉายรังสีและการใส่แร่ การฉายรังสี เป็นการรักษาโดยต้นกำเนิดรังสีอยู่ห่างหรือนอกตัวผู้ป่วย ซึ่งการ 36 แ บ่ ง ปั น
ฉายรังสีจะครอบคลุมได้บริเวณกว้างทั้งตัวก้อน มะเร็งและส่วนที่ลุกลามบริเวณใกล้เคียงหรือ ต่อมน้ำเหลือง จึงเป็นการรักษาเพื่อควบคุม โรคมะเร็งไม่ให้แพร่กระจาย การใส่ แ ร่ เป็ น การนำแร่ ซึ่ ง เป็ น ต้ น กำเนิ ด รั ง สี ม าฝั ง ไว้ ใ นก้ อ นมะเร็ ง หรื อ โพรง อวัยวะที่เป็นมะเร็ง เช่น การใส่เครื่องมือเข้าไป ในช่ อ งคลอดและตั ว มดลู ก เพื่ อ รั ก ษามะเร็ ง ปากมดลูก เป็นต้น 3. เคมีบำบัด คือการใช้ยาต้านมะเร็ง ในการทำลายเซลล์ ห รื อ ควบคุ ม เซลล์ ม ะเร็ ง โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ วิธีการให้ยาอาจใช้วิธี การรั บ ประทานหรื อ การฉี ด ยาเคมี บ ำบั ด
ทุกชนิดจะกระจายทั่วร่างกายเพื่อทำลายเซลล์ มะเร็ง โดยการขัดขวางการแบ่งตัวหรือขัดขวาง การเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ยาเคมีบำบัด สามารถทำลายเซลล์ที่มีการแบ่งตัวเร็วได้ผล ดีมาก ขณะเดียวกันยาจะทำลายเซลล์ปกติที่มี การแบ่งตัวเร็วด้วย ได้แก่ เซลล์เยื่อบุทางเดิน อาหาร เซลล์ไขกระดูก ระบบสืบพันธุ์ และ รากขุมขน จึงทำให้เกิดผลข้างเคียงแต่เป็นการ เกิ ด เพี ย งชั่ ว คราวเท่ า นั้ น และเซลล์ จ ะฟื้ น ตั ว กลับสู่สภาวะปกติโดยเร็วเมื่อหยุดยา ยาเคมี บำบั ด ไม่ ท ำให้ เ กิ ด ความเจ็ บ ปวด แต่ ย าบาง ชนิดเมื่อฉีดแล้วอาจทำให้เกิดอาการแสบร้อน ตามหลอดเลือดขณะฉีดยา ซึ่งไม่เกิดอันตราย ใดๆ และจะหายไปเองหลังจากฉีดยาครบ
4. การรั ก ษาแบบผสมผสาน เป็ น การรักษาโรคมะเร็งโดยใช้วิธีการรักษาตั้งแต่ 2 วิธีขึ้นไปร่วมกัน อาจเป็นรังสีรักษาร่วมกับ เคมีบำบัด รังสีรักษาร่วมกับการผ่าตัด หรือ การใช้ เ คมี บ ำบั ด ร่ ว มกั บ การใช้ ย าฮอร์ โ มน หรือใช้หลายๆ วิธี ร่วมกัน การจะเลือกใช้วิธี ใดขึ้นอยู่กับมะเร็งแต่ละกลุ่มแต่ละชนิด ภาวะ แทรกซ้อนที่เกิดจากการรักษาแบบผสมผสาน จะเป็ น ภาวะแทรกซ้ อ นร่ ว มที่ เ กิ ด ขึ้ น จากผล การรักษาที่มากกว่าหนึ่งวิธี การดูแลตนเอง ในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแบบผสมผสาน จึง เป็ น การปฏิ บั ติ ตั ว ตามคำแนะนำของทุ ก วิ ธ ี
ร่วมกัน แหล่งที่มา 1. หนังสือ “คู่มือการดูแลตนเองของผู้ป่วย โรคมะเร็ ง เมื่ อ เข้ า รั บ การรั ก ษา” ของ สถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 2. “การรักษาโรคมะเร็ง” www.siamca.com/ knowcancer/index.php?...25... 3. “รู้ จั ก มะเร็ ง ” www.ThaiCancerTreat ment.com. 4. “การรักษามะเร็งตามหลักสากล” www.hutpaza.com/index.php/2009/ 04/standard-treat-cancer/
ฉบั บ พิ เ ศษ 37
ก า ร ดู แ ล ต น เ อ ง ที่ บ้ า น ร ะ ห ว่ า ง ห รื อ ห ลั ง ก า ร รั ก ษ า ม ะ เ ร็ ง
ค วามรู้ เ รื่ อ งโรคมะเร็ ง
การดู แ ลตนเองที่ บ้ า น ระหว่างหรือหลัง การรักษามะเร็ง
โดย สมจิตร ประภากร หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการพยาบาล
38 แ บ่ ง ปั น
นับเป็นครั้งแรกของคอลัมน์นี้ที่ได้ มาเป็นส่วนหนึ่งของวารสาร KM-NCI ผู้ เขียนขอพูดคุยผ่านคอลัมน์นี้กับท่านผู้อ่าน แบบสบายๆ สำหรับท่านผู้อ่านที่อาจเป็น ทั้งบุคลากรสาธารณสุข และผู้ป่วยมะเร็ง ในเรื่อง การดูแลตนเองที่บ้าน ระหว่าง หรือหลังการรักษามะเร็ง เป็นที่ทราบกัน ดีอยู่ว่า โรคมะเร็งเป็นโรคเรื้อรัง แม้ได้รับ การรั ก ษาผ่ า นไปแล้ ว ไม่ ว่ า จะด้ ว ยการ ผ่าตัด ให้ยาเคมีบำบัด หรือฉายแสง/ใส่แร่ แล้วก็ตาม การดูแลตนเองอย่างสม่ำเสมอ และปฏิบัติตัวถูกต้องเหมาะสม คือ ปฏิบัติ ตัวตามสุขบัญญัติ 10 ประการ ที่เราได้ เรียนกันตั้งแต่เด็กๆ นั่นแหละค่ะ ก็ทำให้ เรามีความสุข ใช้ชีวิตปกติได้ ทำทุกอย่าง ที่พอดีและเหมาะสมกับร่างกาย ไม่ว่าจะ เป็ น เรื่ อ งการรั บ ประทานอาหาร ดื่ ม น้ ำ ออกกำลังกาย พักผ่อน นอนหลับ และทำ จิตใจให้สงบ มองโลกในแง่ดี ปรับกายและ จิตให้เกิดความสมดุล เราก็จะมีความสุข และเผชิ ญ กั บ ปั ญ หาอุ ป สรรคต่ า งๆ ได้ อย่ า งเข้ ม แข็ ง ไม่ มี ใ ครอยากป่ ว ย โดย เฉพาะเป็นโรคมะเร็ง แต่เมื่อเป็นแล้ว เราก็ ต้ อ งพยายามเรี ย นรู้ ที่ จ ะอยู่ กั บ มะเร็ ง นั้ น จิตสบาย กายก็สขุ ภูมติ า้ นทานก็จะเข้มแข็ง แต่ วั น นี้ สิ่ ง ที่ จ ะเอามาฝากคื อ การดู แ ล ผลกระทบจากการรักษาทีพ่ บบ่อยๆ ดังนีค้ ะ่ การรักษา โดยการผ่าตัด : การ ผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งมักจะเกิดความสูญเสีย อวั ย วะอาจเป็ น ภายนอก ที่ เ ห็ น เด่ น ชั ด เช่น การผ่าตัดมะเร็งศีรษะและลำคอรวม ถึงช่องปาก เป็นต้น หรือการผ่าตัดทีส่ ญ ู เสีย อวั ย วะภายใน แม้ ม องไม่ เ ห็ น แต่ ก็ มี ผ ล กระทบกับการทำหน้าที่ของร่างกาย เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งลำไส้ หรือ
บางครั้ ง ก็ เ กิ ด ความสู ญ เสี ย สั ญ ลั ก ษณ์ ท างเพศ เช่ น มะเร็ ง เต้ า นม มะเร็ ง ปากมดลู ก มะเร็ ง ที่ อ งคชาต เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนมีผลกระทบทางด้านจิตใจ และ การทำหน้าทีข่ องร่างกาย รวมถึงการดำรงชีวติ ในสังคม เดิม การดูแลตนเอง หลังการรักษาให้ปฏิบัติตัวตาม คำแนะนำของพยาบาลเพื่อการฟื้นฟูสภาพให้กลับคืน ใกล้เคียงปกติ หรือต้องฝึกและปรับตัวในการทำกิจวัตร ประจำวัน หลีกเลี่ยงความพิการอันอาจเกิดขึ้นได้ เช่น การบริหารข้อไหล่หลังการผ่าตัดมะเร็งเต้านมเพือ่ ป้องกัน ภาวะข้อไหล่ติด เป็นต้น (ท่าการบริหารมีเอกสารแจก ฟรีในเกือบทุกโรงพยาบาล หากสนใจก็อาจขอมาที่งาน ส่งเสริมสุขภาพ สถาบันมะเร็งฯ ได้) หรือ การบริหาร ช่องปาก เพื่อหลีกเลี่ยงภาวะปากแคบหลังการฉายแสง ระบบศี ร ษะและลำคอ รวมทั้ ง การบริ ห ารขยายช่ อ ง คลอดป้ อ งกั น ภาวะช่ อ งคลอดตี บ หลั ง การฉายแสง บริเวณช่องท้องส่วนล่าง และการใส่แร่ที่ช่องคลอดใน ผู้ ป่ ว ยมะเร็ ง ระบบอวั ย วะสื บ พั น ธุ์ ส ตรี เช่ น มะเร็ ง ปากมดลูก เป็นต้น การรักษาด้วยเคมีบำบัด : เมื่อเอ่ยชื่อใครๆ ก็ กลัวผลจากการรักษา ของทุกอย่างเมื่อมีประโยชน์ก็ อาจมีโทษติดมาด้วย ยาเคมีที่รักษามะเร็งก็เช่นเดียวกัน ใช้รักษาส่วนที่ไม่ต้องการแต่ก็มีผลกระทบกับส่วนดีของ ร่างกายด้วย อาการทีพ่ บบ่อยๆ จากผลของยาส่วนใหญ่
ก็เป็นที่รู้กัน คือ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ท้องผูก เยื่อบุของระบบทางเดินอาหารทั้งหมด ตั้งแต่ปากถึงก้น เกิดการอักเสบเป็นแผลได้ แต่ละอาการจะพบได้แล้วแต่ ผลข้ า งเคี ย งของยาชนิ ด นั้ น ๆ ปั จ จุ บั น แพทย์ จ ะให้ ย า ป้องกันไว้ได้ระดับหนึ่ง ลดความรุนแรงของอาการที่ก่อ ให้เกิดความไม่สขุ สบาย การปฏิบตั ติ วั นัน้ ควรเริม่ เตรียม ตั้ ง แต่ ก่ อ นให้ ย า การทำให้ ร่ า งกายเข้ ม แข็ ง มี เ ลื อ ด สมบูรณ์ เพิ่มพลังในการป้องกันภาวะแทรกซ้อน เป็น
สิ่งจำเป็น ผู้ป่วยควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ บำรุงเลือด และสิ่งสำคัญ จิตใจต้องเข้มแข็งพร้อมที่จะ เผชิญก็จะช่วยลดความไม่สขุ สบายจากอาการแทรกซ้อนได้ ญาติก็มีส่วนสำคัญไม่แพ้กัน ในการให้กำลังใจ คอย ฉบั บ พิ เ ศษ 39
ดูแ ลเอาใจใส่ สุ ขภาพจิตของผู้ป่วยก็จะ ดีขนึ้ เมื่อรักษาผ่านไปแล้ว ก็ยังคงต้อง ปรับสุขนิสัยให้ถูกต้องตามคำแนะนำ ใน ช่วงเวลาก่อนการรักษา แพทย์หรือพยาบาล จะอธิ บ ายผลข้ า งเคี ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ให้ ผู้ ป่ ว ยและญาติทราบถึงผลที่อาจเกิดขึ้น เช่น ผมร่วง การเปลี่ ย นแปลงของเล็ บ และผิวหนัง อาการชาตามปลายมือ ปลาย เท้า อาการหนาวๆ ร้อนๆ คล้ายคนวัยหมด ประจำเดือน อาการคล้ายไข้หวัด ยาบาง ตัวมีผลต่อระบบสืบพันธ์ุ เช่น การมีบตุ ร เป็นต้น ผู้ป่วยบางรายที่ได้รับยาเคมีแบบ ไม่ต้องนอนโรงพยาบาลจำเป็นต้องสนใจ และให้ ค วามสำคั ญ กั บ คำอธิ บ ายจาก แพทย์หรือพยาบาลต้องสังเกตอาการผิด ปกติที่ต้องมาพบแพทย์ หรือการปฏิบัติ ตั ว เมื่ อ เกิ ด อาการ สิ่ ง เหล่ า นี้ เ ป็ น สิ่ ง ที ่
ผูป้ ว่ ยและญาติไม่ควรละเลย และพยาบาล ผู้ ใ ห้ ก ารดู แ ลต้ อ งตระหนั ก ในการให้ คำแนะนำ ทวนซ้ ำ เพื่ อ ยื น ยั น ความ เข้าใจในการปฏิบัติ รวมทั้งการประเมิน อาการก่อนให้ผู้ป่วยกลับบ้าน การรักษาด้วยรังสีรักษา (ฉาย แสง/ใส่แร่) : ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะพบปัญหา ในแต่ ล ะอวั ย วะของร่ า งกายที่ ไ ด้ รั บ รั ง สี รวมถึ ง อวั ย วะใกล้ เ คี ย ง การปฏิ บั ติ ตั ว ตามคำแนะนำเป็นสิง่ จำเป็น การฉายแสง มีผลข้างเคียงเฉียบพลันและผลข้างเคียง ระยะยาว ผลเฉียบพลันที่มักพบบ่อยใน กรณีที่มีการฉายแสง/ใส่แร่ ที่ช่องคลอด ของผู้ ป่ ว ยมะเร็ ง ปากมดลู ก หรื อ เยื่ อ บุ มดลู ก เนื่ อ งจากบริ เ วณดั ง กล่ า วเป็ น ตำแหน่งที่เกิดความอับ/เปียกชื้น ทั้งจาก การปั ส สาวะ อุ จ จาระและการล้ า งทำ ความสะอาดบริ เวณอวัยวะสืบพันธุ์ ถ้ า 40 แ บ่ ง ปั น
ปฏิ บั ติ ไ ม่ ดี ไม่ ถู ก ต้ อ ง จะเกิ ด แผล มี ก ารปริ แ ยกของ ผิวหนัง เกิดการอักเสบ และอาจเกิดการติดเชื้อตามมา ผู้ ป่ ว ยจะเจ็ บ ปวดและทุ ก ข์ ท รมานมาก แต่ ถ้ า ดู แ ลดี ๆ อาการเหล่านี้จะเกิดน้อยลง มีผลกระทบรบกวนความสุข สบายน้อยลงเช่นกัน (การดูแล จะเขียนถึงในฉบับหน้า ค่ะ) ในส่วนของการฉายแสงบริเวณศีรษะและลำคอ จะ เกิดภาวะน้ำลายแห้ง ปาก คอ แห้ง เกิดอาการเจ็บปาก ซึ่งต้องดูแลให้ดีก็จะลดอาการที่รบกวนความสุขสบายลง ได้ ส่ ว นผลข้ า งเคี ย งระยะยาวของรั ง สี ที่ ต้ อ งกล่ า วถึ ง เพราะอาการนี้จะพบได้หลังการฉายประมาณ 6 เดือน ขึ้นไป ถึง 10 ปี ได้แก่ ทวารหนักอักเสบ และกระเพาะ ปัสสาวะอักเสบ ดังนั้นหากภายหลังฉายแสง เมื่อผู้ป่วยมี อาการทวารหนักอักเสบและกระเพาะปัสสาวะอักเสบต้อง แจ้งแพทย์ให้ทราบว่าเคยรักษาด้วยการฉายแสงมาแล้ว แพทย์จะได้ให้การวินิจฉัยและรักษาได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม เกิดผลดีกับผู้ป่วยเอง ปั จ จุ บั น นี้ มี ม ะเร็ ง บางอวั ย วะที่ มี ก ารรั ก ษาเคมี บำบัดร่วมกับรังสีรกั ษา (Concurrent Chemo-Radiation Therapy) ซึ่งได้ผลดีในการรักษามะเร็งระบบศีรษะและ ลำคอ นั้นจะเพิ่มความซับซ้อนในการดูแล พยาบาลต้อง วางแผนการพยาบาลเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่มีโอกาส เกิดมากกว่าและอาจมีระดับความรุนแรงมากกว่าปกติ อย่างเหมาะสม
การดูแลตนเองหลังการรักษาทั่วๆ ไป 1) การรั บ ประทานอาหาร : รั บ ประทาน อาหารให้ เ พี ย งพอและมี คุ ณ ค่ า ทางอาหารครบทุ ก หมู่ ดื่ ม น้ ำ วั น ล ะ 2 , 0 0 0 – 3 , 0 0 0 ซี ซี (2-3 ลิตร) แต่ถ้ายังมีอาการเจ็บคอ หรื อ กลื น ลำบาก ควรรั บ ประทานอาหาร อ่ อ นต่ อ ไปจนกว่ า อาการจะดีขึ้น
2) การดูแลความสะอาดของร่างกายและผิวหนัง :
ผู้ป่วยหลังการผ่าตัด ถ้าแผลผ่าตัดไม่มีความผิดปกติ เช่น มี การติดเชื้อ แผลไม่ติด แพทย์จะอนุญาตให้อาบน้ำหรือทำความ สะอาดร่างกายได้ตามปกติ โดยไม่ขัดถูบริเวณแผล ในผู้ป่วย หลังครบการฉายรังสีสามารถทำความสะอาดหรืออาบน้ำได้ถ้า ไม่ มี แ ผลและแพทย์ อ นุ ญ าต โดยแนวทางของสถาบั น มะเร็ ง
แห่งชาติเป็นดังนี้ ในช่วงสัปดาห์ที่ 1-2 แนะนำให้ดูแลความ สะอาดของร่างกายและผิวหนังโดยอาบน้ำผ่านๆ ไม่ขดั ถู ฟอกสบู่ หลังอาบซับให้แห้ง สัปดาห์ที่ 3 อาบน้ำฟอกสบู่ ไม่ขัดถู หลับ อาบซับให้แห้ง และสัปดาห์ที่ 4 อาบน้ำตามปกติ หลับอาบซับ ให้แห้ง และนวดด้วยครีม เพื่อป้องกันภาวะผิวหนังแข็งตึง 3) การออกกำลั ง กายและการบริ ห าร : ผู้ ป่ ว ย สามารถออกกำลังกายได้ โดยทำเท่าที่ร่างกายสามารถทนได้ และต้ อ งบริ ห ารร่ า งกายในอวั ย วะส่ ว นที่ อ าจเกิ ด ผลข้ า งเคี ย ง ตามคำแนะนำของพยาบาล เช่น บริเวณที่ฉายรังสีช่องปาก ต้องบริหารช่องปากเพื่อป้องกันภาวะปากแคบ การฉายรังสี บริเวณช่องท้องและอุ้งเชิงกราน ในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ต้อง บริหารช่องคลอดเพื่อป้องกันช่องคลอดตีบตัน เป็นต้น หรือ กรณีทำผ่าตัดมะเร็งเต้านม กับการบริหารไหล่ เป็นต้น ทัง้ นีผ้ ปู้ ว่ ย ตระหนักและเห็นความสำคัญในการปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอต่อ เนื่องตลอดชีวิต 4) การนอนหลับและการพักผ่อน : ผู้ป่วยควรนอน วันละ 8–10 ชั่วโมง และอาจหาเวลาพักผ่อนในช่วงกลางวัน
1–2 ชั่วโมง ถ้าทำได้ 5) การมีเพศสัมพันธ์ : ผู้ป่วยสามารถมีเพศสัมพันธ์ได้ ตามปกติ แต่ในผู้ป่วยมะเร็งระบบอวัยวะสืบพันธุ์ เช่น ผู้ป่วย มะเร็งปากมดลูกที่ได้รับการฉายรังสีควรได้รับการตรวจจาก แพทย์เพื่อดูความพร้อมของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ ซึ่งแพทย์จะนัด มารับการตรวจติดตามในช่วง 6-8 สัปดาห์หลังการรักษา และ ในระหว่ า งการรั ก ษาแพทย์ อ าจแนะนำให้ คุ ม กำเนิ ด กรณี ที่ ต้องการมีบุตรหลังการรักษาควรปรึกษาแพทย์เพื่อดูความพร้อม ของภาวะเจริญพันธุ์ 6) การดูแลแผล : ในกรณีผู้ป่ว ยที่มีแผลต่างๆ เช่ น แผลหลังการผ่าตัดหรือหัตถการต่างๆ การดูแลแผลควรเปลี่ยน หรือทำความสะอาดแผลเมื่อเปียกชื้น รวมทั้งสังเกตสิ่งผิดปกติ บริเวณแผล เช่น ปวด บวม แดง ร้อน ถ้ามีอาการดังกล่าวให้ กลับไปพบแพทย์เพื่อดูความผิดปกตินั้นๆ แผลที่เกิดจากการฉาย รังสี การดูแลแผลควรเปลี่ยนหรือทำความสะอาดแผลจนกว่าจะ
ผู้ ป่ ว ย ค ว ร น อ น
วันละ 8–10 ชั่วโมง และ อาจหาเวลาพั ก ผ่ อ นใน ช่ ว ง ก ล า ง วั น
1–2 ชั่ ว โมง ถ้ า ทำได้
ฉบั บ พิ เ ศษ 41
หาย และใช้ น้ ำ ยาล้ า งแผลตามลั ก ษณะ ของแผล โดยในช่วง 2-3 สัปดาห์หลัง
ครบรังสียังต้องระวังเรื่องการปิดแผลบน ตำแหน่งที่ฉายรังสีเหมือนในระหว่างฉาย รังสี 7) การสั ง เกตอาการผิ ด ปกติ ต่างๆ ที่ต้องกลับมาพบแพทย์ก่อนวัน นั ด เช่ น มี ก้ อ นบริ เ วณอวั ย วะต่ า งๆ ปัสสาวะออกน้อยหรือปัสสาวะเป็นเลือด มีเลือดออกตามอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย แขน ขาอ่อนแรง เป็นต้น 8) การตรวจติดตามการรักษา หลังครบการรักษา ผู้ป่วยต้องมารับการ ตรวจติ ด ตามผลการรั ก ษา เพื่ อ ดู ภ าวะ แทรกซ้ อ นหลั ง การรั ก ษา การแพร่ กระจายของโรค และการกลับซ้ำของโรค นอกจากการดู แ ลในเรื่ อ งต่ า งๆ ข้างต้น ผู้ป่วยควรทำจิตใจแจ่มใส ร่วม 42 แ บ่ ง ปั น
กิจกรรมของครอบครัว สังคม ได้ตามความพร้อมของ ร่างกาย ซึ่งจะมีส่วนช่วยเพิ่มความสมบูรณ์ของภาวะ สุขภาพให้กลับคืนสู่สภาพปกติได้โดยเร็ว ในส่วนของพยาบาลผู้ดูแล นอกจากการให้คำ แนะนำการปฏิบัติตัวอย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้ว แต่ ก็ไม่ควรละเลยการรับฟังปัญหาของผู้ป่วยที่มีผลต่อการ ปฏิ บั ติ ต ามคำแนะนำ เพื่ อ หาแนวทางปรั บ หรื อ แก้ ปั ญ หาให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ ผู้ ป่ ว ย และสิ่ ง ที่ เ ป็ น ประโยชน์ที่พยาบาลไม่ควรมองข้ามคือการแลกเปลี่ยน เรียนรู้กับผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล โดยการรับฟัง ซักถาม วิธีการจัดการกับอาการรบกวนที่เกิดขึ้น ประเมินความ ถู ก ต้ อ งเหมาะสมของการแก้ ปั ญ หาหรื อ ทุ เ ลาอาการ ตามบริบทของผู้ป่วย เพื่อนำมาปรับปรุงและเพิ่มเติมคำ อธิบายหรือคำแนะนำผู้ป่วยรายต่อไปได้ ทั้ ง นี้ ต้ อ งพิ จ ารณาให้ ร อบคอบและอาจต้ อ ง ศึกษาหาหลักฐานเชิงประจักษ์เพิ่มขึ้นในบางกรณี เพื่อ การตัดสินให้เป็นข้อมูลสนับสนุนในการนำมาพัฒนาคำ แนะนำวิธีการปฏิบัติตนของผู้ป่วยต่อไป
ค วามรู้เพื่อ สุขภาพ
ของร่างกายด้วย
ป รั บ ส ม ดุ ล ข อ ง ร่ า ง ก า ย ด้ ว ย พื ช ส มุ น ไ พ ร
ปรับสมดุล โดย ธิดา ปัญจพันธ์พงศ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
พืชสมุนไพร
สมุนไพรปรับสมดุลของร่างกายตามฤดู ฤดูฝน (วสันตฤดู) มักเกิดโรคเกี่ยวกับธาตุลมพิการ อาการจะ เกิดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ถึงเดือนตุลาคม จากฤดูร้อนเปลี่ยนเป็นฤดู ฝน เริ่มมีฝนตกและมีฝนตกชุกมากกลางฤดู การเปลี่ยนฤดูทำให้สิ่ง แวดล้อมเปลี่ยนแปลงอากาศชื้นแฉะ และมีผลไปถึงธาตุภายในร่างกาย ถูกกระทบทำให้เจ็บป่วยได้ ธาตุที่ถูกกระทบมากที่สุดในฤดูฝน คือ ธาตุ ลม อาการที่มักเกิดจากธาตุลมพิการ ได้แก่ การเต้นของหัวใจผิดปกติ ภาวะหัวใจขาดเลือด ความดันโลหิตผิดปกติ ความรู้สึกหวั่นไหว ความ วิตกกังวล อาการชักกระตุก การปวดตามร่างกาย ปวดหลัง ปวดไหล่ อาหารไม่ย่อย ท้ อ งอื ด ท้ อ งเฟ้ อ แน่ น จุ ก เสี ย ด เกิ ด แก๊ ส ในกระเพาะ อาหาร และลำไส้มา ฉบั บ พิ เ ศษ 43
พืชสมุนไพรที่เหมาะสมกับการบริโภคในฤดูฝน เพื่อแก้ไขอาการหรือป้องกันโรค ควรบริโภคพืช ผักสมุนไพรที่มีรสเผ็ดร้อน และรสสุขุม ได้แก่ ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด กระเทียม พริกไทย โหระพา กะเพรา ขิง กระชาย ขมิ้น พริก ดีปลี ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน กานพลู เป็นต้น พืชผัก สมุนไพร ดังกล่าวนำมาปรุงประกอบอาหารบริโภคบ่อย ๆ จะช่วยป้องกันการเกิดโรคเกี่ยวกับธาตุลม พิการได้ นอกจากนี้ยังนำมาต้มเป็นน้ำสมุนไพรดื่ม ดังสูตรต่อไปนี้
1. น้ำตรีกฏุก ใช้ ส มุ น ไพรในพิ กั ด ตรี ก ฏุ ก 3 ชนิ ด คื อ เหง้าขิงแห้ง เมล็ดพริกไทย ดีปลี น้ำหนักเท่าๆ กัน นำมาต้มเติมน้ำผึ้ง หรือน้ำตาลทรายเล็กน้อย ดื่ม ครั้งละ 1 แก้ว วันละ 3 เวลา จะช่วยขับลมใน กระเพาะอาหารและลำไส้ได้ดี
2. น้ำตะไคร้ ใช้ต้นตะไคร้ทุบพอแตก 1 กำมือ ต้มเป็นน้ำตะไคร้ดื่มก็ได้
3. น้ำขิง ใช้ เ หง้ า ขิ ง แก่ ส ด ทุ บ ให้ แ ตก ต้ ม น้ ำ ดื่ ม บรรเทาอาการท้ อ งอื ด เฟ้ อ แน่ น จุ ก เสี ย ดและ อาการคลื่นไส้อาเจียน 4. น้ำกานพลู ใช้ดอกกานพลู 5-8 ดอก ต้มน้ำดื่ม หรือชง เป็นชาดืม่ ช่วยขับลม ช่วยป้องกันไม่ให้เด็กอ่อนท้องขึน้ ท้องเฟ้อได้
44 แ บ่ ง ปั น
5. น้ำข่า นำเหง้าข่ามาหั่นเป็นแว่น 5-8 แว่น ต้มน้ำ ดื่ม แก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด
6. น้ำกระชาย นำรากและเหง้ากระชายครึ่งกำมือ นำ มาต้มเอาน้ำดื่ม หรือปั่นเป็นน้ำกระชายสดช่วย แก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด
7. น้ำกะเพรา ใช้ ใ บและยอดกะเพรา 1 กำมื อ ล้ า งให้ สะอาด ต้ ม น้ ำ ดื่ ม แก้ อ าการท้ อ งอื ด ท้ อ งเฟ้ อ แน่ น
จุ ก เสี ย ด และปวดท้ อ งได้ และยั ง ช่ ว ยแก้ อ าการ คลื่นไส้อาเจียนที่เกิดจากธาตุไม่ปกติได้
8. น้ำขมิ้นชัน นำขมิ้นสด 1 หัวแม่มือ ล้างเปลือกให้สะอาด ทุ บ ให้ แ หลกนำมาชงน้ ำ ดื่ ม ช่ ว ยขั บ ลม แก้ ท้ อ งอื ด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด อาหารไม่ย่อย หรือใช้ขมิ้นผง เป็นแคปซูลก็ได้
ฉบั บ พิ เ ศษ 45
ก า ร แ พ ท ย์ ท า ง เ ลื อ ก กั บ โ ร ค ม ะ เ ร็ ง
ก ารแพทย์ ท างเลื อ ก
การแพทย์ทางเลือกกับ
โรคมะเร็ง
46 แ บ่ ง ปั น
โดย ธิดา ปัญจพันธ์พงศ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
มนุษย์ไม่ว่าชาติใด ภาษาใด และจะ อยู่ส่วนใดของโลกก็ตาม ย่อมมีวิชาแพทย์ เป็นของตัวเองมาตั้งแต่เดิมด้วยกันทั้งสิ้น
เมื่ อ โลกมี ค วามเจริ ญ ขึ้ น ความรู้ วิ ท ยาศาสตร์ เ จริ ญ ก้ า วหน้ า วิ ช าแพทย์ แ ผนโบราณก็ เปลี่ ย นเป็ น แผนปั จ จุ บั น มากขึ้ น และในแต่ ล ะ ประเทศมีการแพทย์หลัก และการแพทย์พื้นบ้าน ไม่เหมือนกัน บางครั้งก็แยกจากกันยาก เพราะนำ ความรู้ ท างการแพทย์ ม าผสมผสานกั น ภายใน ประเทศเอง และจากต่ า งประเทศ จนเกิ ด เป็ น แพทย์ทางเลือก (Complementary and Alternative Medicine: CAM) อื่นๆ ขึ้น การแพทย์ทางเลือกกับโรคมะเร็ง การเลื อ กใช้ แ พทย์ ท างเลื อ กของผู้ ป่ ว ย มะเร็งส่วนใหญ่มักเลือกใช้สมุนไพรควบคู่ไปกับการ แพทย์แผนปัจจุบัน โดยการตัดสินใจของผู้ป่วยและ ครอบครัวมักไม่ได้วางแผนร่วมกันกับแพทย์แผน ปัจจุบัน ซึ่งมีผลต่อคุณค่าด้านจิตใจของผู้ป่วยและ ญาติมาก แต่ผลลัพธ์ที่ได้ยังหาคำตอบได้ไม่ชัดเจน บางครั้งมีผลกระทบทำให้เกิดความล้มเหลวในการ รั ก ษาทั้ ง 2 ทาง บางครั้ ง ก็ ไ ด้ ผ ลดี ขึ้ น มาบ้ า ง การพิจารณาการเลือกใช้แพทย์ทางเลือก ควรมี หลักดังนี้ 1. ถูกโรค 2. ถูกเวลา 3. ปลอดภัย 4. คุ้มค่ามีประโยชน์ 5. ไม่รบกวนการรักษาอีกแผนหนึ่ง การแพทย์ทางเลือกที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นการ แพทย์แบบผสมผสาน (Complementary Medicine) และใช้ร่วมกับแผนปัจจุบันได้ เป็นการดูแลแบบ องค์รวม เพื่อจัดสมดุลให้กับร่างกาย เช่น สมาธิ บำบัด ดนตรีบำบัด โภชนบำบัด สปา โยคะ จี้กง สุ ค นธ์ บ ำบั ด วารี บ ำบั ด ศิ ล ปะบำบั ด เป็ น ต้ น
ฉบั บ พิ เ ศษ 47
ช่วยให้ผู้ป่วยผ่อนคลายจากความตึงเครียด ลดความวิตกกังวล ลดความ เจ็บปวด และความทุกข์ทรมาน เพิ่มภูมิต้านทานในร่างกาย ช่วยให้มีความ สุขเพิ่มขึ้น และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ส่วนสมุนไพรตำรับหรือสมุนไพรเดี่ยว ควรเลือกใช้ก่อนการรักษา หรือหลังจบการรักษาแล้ว ซึ่งมีตำรับที่เป็นมาตรฐาน และน่าเชือ่ ถืออยูห่ ลาย ตำรับ ระหว่างรักษาสามารถใช้สมุนไพรบางประเภทได้ เช่น ประเภทบำรุง ธาตุ ปรับธาตุ บำรุงกำลัง และบำรุงเลือด ได้ตามความเหมาะสม ควรงด สมุนไพรล้างพิษ และฆ่าฤทธิ์ต่างๆ ในระหว่างรักษา เช่น รางจืด หญ้านาง แดง เป็นต้น เพราะจะมีผลไปฆ่าฤทธิ์ยาต่างๆ ได้ สำหรับการแพทย์ทางเลือกที่ใช้ทดแทนการแพทย์แผนปัจจุบันโดย สิ้นเชิง (Alternative Medicine) เป็นการตัดสินใจของผู้ป่วย และญาติ โดย ไม่พึ่งพิงการแพทย์ปัจจุบัน ควรพิจารณาถึงผลการรักษาระยะยาว และ คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเป็นหลัก ก่อนตัดสินใจเลือก ค้นคว้าหาข้อมูลสถิติผล การรักษา ราคาค่าใช้จ่าย ความคุ้มค่า และความปลอดภัยเป็นประการ สำคัญยิ่ง
48 แ บ่ ง ปั น
โครงการส่งเสริมพัฒนาบุคลากรด้านคุณธรรม จริยธรรม
KM Awards : KM Forum
• จั ด ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 17 กั น ยายน 2552 ณ ห้ อ งประชุ ม สมชาย สมบู ร ณ์ เ จริ ญ ชั้ น 5 สถาบั น มะเร็งแห่งชาติ โดยมีวิทยากร คือ พระอาจารย์ธวัชชัย ธมฺมธีโป จาก ศู น ย์ พั ฒ นาจิ ต เฉลิ ม พระเกี ย รติ บ้ า น วั ง เ มื อ ง อ . ท้ า ย เ ห มื อ ง จ.พั ง งา ซึ่ ง ผู้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ ประกอบด้ ว ย อธิ บ ดี ก รมการ แพทย์ ผู้อำนวยการสถาบันมะเร็งฯ รองผู้ อ ำนวยการสถาบั น มะเร็ ง ฯ หัวหน้ากลุม่ งาน/ฝ่าย และเจ้าหน้าที่ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
งาน “ถักทอสายใย ร่วมใจวาระเกษียณชาว NCI”
• จั ด ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 25 กั น ยายน 2552 ณ ห้ อ ง ประชุมสมชาย สมบูรณ์เจริญ เพื่อมอบของที่ระลึก และร่วมเลี้ยงรับรองแก่ผู้เกษียณอายุราชการและผู้ เกษียณอายุราชการก่อนกำหนด โดยในครั้งนี้มีผู้ เกษียณอายุราชการจำนวน 4 ท่าน และผู้เกษียณ อายุราชการก่อนกำหนดจำนวน 8 ท่าน
• จั ด ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 24-25 กั น ยายน 2552 ณ โรงแรมเอเชี ย แอร์ พ อร์ ต กรุ ง เทพฯ โดยสำนั ก พั ฒ นาวิ ช าการ แพทย์กรมการแพทย์ ซึ่งสถาบันมะเร็ง แห่งชาติได้ส่งผลงานนวัตกรรม เพื่อ นำเสนอในงานนี้ 2 เรื่อง คือ 1. เรื่อง สงวนสิทธิ์การไหลหยดเพื่อ ความปลอดภัยของคุณ (กล่องดวงใจ) เสนอเป็น Poster Presentation 2. เรือ่ ง แผ่นรอง BP Cuff เสนอเป็น
Poster Presentation และ Oral Presentation ฉบั บ พิ เ ศษ 49
แนะนำหนังสือใหม่
ประจำเดือนกรกฎาคม-กันยายน 2010
50 แ บ่ ง ปั น
W E N
แนะนำวารสารต่างประเทศใหม่ ประจำเดือนกรกฎาคม-กันยายน 2010
ฉบั บ พิ เ ศษ 51
52 แ บ่ ง ปั น