วิจารณ์1

Page 1

อรรถรส

1

ฉบับที่ ๑ ประจ�ำวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๘

นิตยสารสาระ เพื่อการเรียนรู้

บทน� ำ วั ด กั ล ย า ณ มิ ต ร

เป็ น สถานที่ สั ก การะบู ช าแก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เ ข้ า มารั บ ชม ความสวยงามของโบราณ สถาน โบราณวัตถุ ซึ่งได้รับ ความสนใจเป็ น อย่ า งมากแก่ ผู้ที่ศรัทธาในพุทธศาสนา แต่ เบื้องลึก“ความสวยงาม”นั้น ก็ ยังมี“ความขัดแย้ง” ที่เกิดขึ้น ระหว่างวัดและชุมชน โดยชาว บ้านร้องเรียนกรมศิลปากรให้ เข้ามาตรวจสอบความถูกต้อง ของ “ท�ำลายโบราณสถาน” ใน บริเวณวัดกัลยาณมิตรนั้น สุธิดา ทองพันธ์ บรรณาธิการ

ความขัดแย้ง

“วัดกัลยาณมิตร”

โบราณสถานที่มีค่า


2

“วั ด กั ล ยาณมิ ต ร” เป็นพระ อารามหลวง อยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ฝั่งใต้ เจ้าพระยานิกรบดินทร์ เมื่อครั้งเป็นพระยาราช สุภาวดี เจ้ากรมพระสุรสวดีกลาง มีจิตศรัทธา เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก ได้อุทิศ บ้านเรือนและซื้อที่ดินบริเวณใกล้เคียง เพื่อสร้าง วัดขึ้นเมื่อปีระกา พ.ศ. ๒๓๖๘ แล้วถวายเป็นพระ อารามหลวง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยู่หัว พระราชทานนามว่า “วัดกัลยาณมิตร” พระองค์ทรงสร้างพระวิหารและพระประธาน เป็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ชื่อ พระพุทธไตรรัตน นายก (หลวงพ่อโต) หรือเรียกตามแบบจีนว่า “ซ�ำปอฮุดกง หรือ ซ�ำปอกง” เป็นปางมารวิชัย ด้วยมีพระประสงค์จะให้เหมือนกรุงเก่า อย่างวัด พนัญเชิง และ เป็นวัดเดียวในประเทศไทยที่มี พระประธานเป็นพระพุทธรูปปางปาลิไลยก์

ความขัดแย้ง

“วัดกัลยาณมิตร”

โบราณสถานที่มีค่า

การเรียกร้องที่เกิดขึ้นจากชาวบ้าน วัดเป็นผู้ท�ำลายวัตถุ โบราณ การขัดแย้งระหว่างวัดกับชุมชน วัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร เป็นวัดเก่าแก่ ที่สร้างมาตั้งแต่รัชกาลที่๓ มีอายุ เกือบ ๒๐๐ปี มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมมากมาย แต่ปัจจุบันเกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างวัดกัลยาณมิตรและ ชาวบ้านชุมชนวัดกัลยาณมิตร ซึ่งเป็นปัญหาที่ยื้อเยื้อมานาน กว่า๑๐ปี แรกเริ่มทางวัดมีการท�ำลายวัตถุโบราณ เมื่อปี ๒๕๔๖ หลัง จากนั้นชาวบ้านจึงรวมตัวคัดค้านจากการกระท�ำของวัด แต่ไม่ สามารถหยุดยั้งได้ ท�ำให้วัตถุโบราณหลายชิ้นได้ถูกท�ำลายไป จน กระทั่งเมื่อปี๒๕๔๙ ทางวัดได้มีการฟ้องร้องขับไล่ชาวบ้าน

นายชัยสิทธิ์ กิตติวณิชพันธุ์ ประธานชุมชนวัดกัลยาณมิตร

วัดกับชาวบ้านอยู่กันมาก็ตอนนี้ก็เกือบ ๑๙๐ ปีเจ้าอาวาทมา รูปนี้ ก็รูปที่๑๐ แล้ว ๑ ถึง ๙ ไม่มีปัญหาอะไร แต่มีปัญหาที่รูปที่ ๑๐ เพิ่งมาใหม่แล้วก็ไม่ได้เป็นคนที่นี้ พออยู่ได้สักพักเดียวก็มีการ ท�ำลายโบราณสถาน ซึ่งมันไม่ถูกต้องเพราะโบราณสถานต่างๆ มันคือประวัติศาสตร์ของชุมชน เป็นประวัติศาสตร์ของชาติ การ ทุบไปถือว่า เป็นการสร้างความเสียหายต่อชุมชนและกับชาติด้วย


3

นายชัยสิทธิ์ กิตติวณิชพันธุ์ ประธานชุมชนวัดกัลยาณมิตร กล่าวว่า “ตนก็ขอร้องว่าอย่าแต่ก็หยุดไม่ได้ก็ยังคงทุบต่อไป จนตนมี หนังสือไปหากรมศิลปากร กรมศิลปากรได้เข้ามาดูจึงออกหนังสือ ให้เจ้าอาวาทหยุดการท�ำลายโบราณสถาน ไม่หยุดจะผิดกฎหมาย เพราะมี พรบ. อยู่ ถ้ายังท�ำอยู่จะมีโทษทางอาญาและจ�ำคุกด้วย แต่ก็ไม่สามารถท�ำได้ ก็คงยังท�ำร้ายเช่นเคย ตนเพียงต้องการ จะปกป้องโบราณสถานประวัติศาสตร์ของชุมชน โดยเหตุการณ์ เรื่องนี้มีหลักฐานเอกสารชัดเจน”

โบราณสถานหรือโบราณวัตถุต่างๆ ซึ่งสะท้อนแห่งความ เป็นไทย หากไปอยู่ในการครอบครองหรือบุคคลที่ไม่เห็นคุณค่าก็ จะท�ำให้ความเป็นไทยหรือประวัติศาสตร์เลือนหายไป

“โบราณสถาน” หรือ “โบราณวัตถุ” หมายความว่า สังหาริมทรัพย์ที่เป็นของโบราณ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งประดิษฐ์หรือเป็น สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือที่เป็นส่วนหนึ่งส่วนใดของโบราณ สถาน โดยหลักฐานเกี่ยวกับประวัติของอสังหาริมทรัพย์นั้นเป็น ประโยชน์ในทางศิลป ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี ทั้งนี้ ให้ รวมถึงสถานที่ที่เป็นแหล่งโบราณคดี แหล่งประวัติศาสตร์ และ ชาวบ้านบริเวณวัด อุทยานประวัติศาสตร์ด้วย

ด้านนายชนินทร์ สุวรรณวัฒน์ กัลยาณมิตร กล่าวกับเรื่องนี้อีกว่า “สาเหตุ ห ลั ก ของความขั ด แย้ ง เกิ ด จากการท� ำ ลายวั ต ถุ โบราณภายในวัด ที่ชาวบ้านพยายามรักษาไว้ ผ่านไปประมาณ เดือนก็เริ่มท�ำลายโบราณสถานชิ้นแรกซึ่งเป็นหอระฆังคล้ายๆ ทรงโบราณ ซึ่งมันมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ เมื่อต้นปี ๒๕๔๖ โบราณสถานเริ่มถูกท�ำลาย จากนั้นมาก็มีการทุบรื้อมาเรื่อยๆ”

กรมศิลปากรเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบการอนุรักษ์ โบราณสถานและโบราณวัตถุ การซ่อม บูรณะ หรือสงวนรักษา นั้น จะต้องกระท�ำอย่างระวังมิให้เสียหายไปกว่าเดิม ทั้งนี้เพื่อ รักษาคุณค่าทางประวัติศาสตร์ศิลปกรรม และความเป็นโบรารส ถานและโบราณวัตถุของสิ่งนั้น กรมศิลปากรนั้นได้วางระเบียบ ปฏิบัติหลายประการว่าด้วยการอนุรักษ์สมบัติวัฒนธรรม แต่ละ ปัญหาความขัดแย้งเหล่านี้ยังไม่ได้ข้อสรุป ซึ่งกรม ข้อล้วนแต่เน้นเรื่องการรักษาให้คงคุณค่า ของเดิมให้ปรากฏเด่น ศิลปากรได้มีการด�ำเนินคดีกับทางวัดกัลยาณมิตร เนื่องจาก ชัดมากที่สุด เช่น ระเบียบข้อที่ ๑๔ ระบุว่า การท�ำลายวัตถุโบราณ ซึ่งขณะนี้อยู่ในการด�ำเนินการของศาล โบราณสถานคุณค่าประวัติศาสตร์ชาติไทย ยังเป็นเรื่องถกเถียง “โบราณสถานที่เป็นปูชนียสถานอันเป็นที่เคารพบูชา ซึ่ง กันอยู่เนื่องจากชาวบ้านได้กล่าวว่าทางวัดได้ท�ำลายโบราณ เป็นที่รู้จักคุ้นเคยกันดีของประชาชนโดยทั่วไป จะต้องบูรณะ สถานที่ทรงคุณค่าไป ขณะเดียวกันทางวัดได้คัดค้านเรื่องดัง ไว้โดยไม่มีการแก้ไข เปลี่ยนแปลงลักษณะสี ทรวดทรง ซึ่งจะ กล่าวโดยให้เหตุผลว่าเจดีย์ดี และกุฏิพระ เก่าแก่เหล่านั้นไม่ใช่ ท�ำให้โบราณสถานนั้นหมดคุณค่า หรือเสื่อมความศักดิ์สิทธิ์ไป” โบราณสถาน


4 > ป้ายที่ชาวบ้านเขียนติดไว้ฝา บ้านของตน เพื่อแสดงจุดยืน “พวกเราไม่ไป”

ด้านนาย ธราพงศ์ ศรีสุชาติ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักโบราณคดี ได้กล่าวว่า “เจดีย์หรือกุฏิพระรวมถึงสิ่งปลูกสร้างภายในวัด ล้วนเป็น โบราณสถานทั้งสิ้น ซึ่งการบูรณะหรือรื้อถอน จะต้องได้รับการ อนุญาตกรมศิลปากรก่อน รวมถึงได้มีการด�ำเนินคดี เนื่องจาก ทางวัดได้มีการทุบท�ำลายโบราณสถานจึงต้องมีกฎหมายเข้ามา เกี่ยวข้อง”

>บริเวณรอบๆวัดกัลยาณมิตร ทั้งอุโบสถ และหอระฆัง ในปัจจุบัน

ในปัจจุบันทรัพยากรของโลกเหลือน้อยลง ประเทศต่าง ๆ เกือบทั่วโลก ได้หันมาฟื้นฟูมรดกวัฒนธรรมให้คงอยู่เป็นหลัก ฐานทางประวัติศาสตร์ของประเทศ เป็นเกียรติและความภาค ภูมิใจ และเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจด้วยการจัดการโบราณ สถานและโบราณวัตถุให้เป็นธุรกิจอย่างหนึ่ง คือ “การท่องเที่ยว วัฒนธรรม” ท�ำรายได้ให้แก่ท้องถิ่นที่มีมรดกวัฒนธรรม ซึ่ง การคมนาคมในโลกปัจจุบันดีมาก การติดต่อกันและกันสะดวก ขึ้น ท�ำให้ “มรดกวัฒนธรรม” แสดงถึงเอกลักษณ์ของแต่ละ ประเทศได้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.