“วิถีเรือแจวโบราณ”
ลำ�สุดท้าย แห่งตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา
แ พ็ ค ก ร ะเ ป๋ า ไ ป กั บ บ ก.
ส
วัสดีครับ อย่างแรกต้องขอแนะนำ�ความเป็นไปเป็นมาของนิตยสารทีช่ อื่ ว่า ‘ การันต์ ’ หรือทีแ่ ปลว่า อักษร ต่�ำ สุดท้ายของคำ� ( การ = ผูท้ �ำ + อนฺต = ทีส่ ดุ ) ส่วนตัวผมแล้วมองเห็นว่าตัวการันต์ในภาษาไทยเรานี้ มีความสำ�คัญ มากในปัจจุบนั โดยถูกใช่มากกับคำ�ทับศัพท์ของอังกฤษ แต่ถกู ลืมไปในบางครัง้ ทีค่ นไทยใช่กนั จึงเกิดเป็นนิตยสารขึน้ มาในคำ�กำ�กับที่ว่า “ นิตยสารบอกกล่าวเรื่องราวที่ควรรู้ ” คำ�ถามแรกที่เกิดขึ้นก่อนการเดินทางครั้งนี้ในตัวกระผมเองคือ “ พวกเราทั้งหลายเคยตื่นมาเห็นแสงแดด ยามเช้าในเมืองหลวงหรือเปล่า ” เป็นโอกาสที่ดีมากสำ�หรับพวกเรา การเดินทางครั้งนี้เป็นเหตุที่ทำ�ให้ความขี้เกียจ ต้องไม่มี เพื่อได้เห็นอะไรมากมายที่มากกว่าทุกๆวันเคยเป็น แสงแดดทอดตกลงบนพืน้ การเดินทางเริม่ ขึน้ !! ในระหว่างการเดินทาง จากขึน้ สะพาน ลงสะพาน ในเมือง หลวง สิ่งที่ไม่คาดคิดก็เกิดขึ้นและเป็นที่ประทับใจตัวกระผมเองหลังขึ้นบนสะพาน สายหมอกสีขาวโพรนทอดยาว กว้างใหญ่สุดลูกหูลูกตา ทั้งปกคลุมตลอดเส้นทาง เหมือนหลุดออกไปอีกโลกหนึ่งเลยก็ว่าได้ อย่าเสียเวลาพูดพึมทำ�เพลง เตรียมแพ็คกระเป๋าไปกับ บก. หนีเมืองหลวงออกเดินทาง...ไปนครปฐม เที่ยว ตลาดน้ำ�วัดรำ�พญาและสุพรรณบุรี เที่ยววัดป่าเลไลยก์ วัดแค ดอนเจดีย์ กันเลยดีกว่า สัชฌุกร เขียวขัน บรรณาธิการ
ส า ร บั ญ ๔๐ ปี ความอร่อย “วิถีเรือแจวโบราณ” สังคมไทยกับการ ‘ไข่เค็ม’ ตลาดน้ำ� ตีตรา ลำ�สุดท้าย แห่ง วัดลำ�พญา ตลาดน้�ำ วัดลำ�พญา “วันทองสองใจ”
‘พระขุนแผน’ มหามงคล มหาแพง
“ศึกยุทธหัตถี” ศิลปะโมเดลยุค ใหม่
๓๔ ๖ ๗ ๘ การันต์
กองบรรณาธิการ สัชฌุกร เขียวขัน ฝ่ายศิลป์ สัชฌุกร เขียวขัน ติดต่อ ๓๖ อพาร์ทเม้นท์ ชั้น ๕ ห้อง ๕๐๕ ๑๙/๑๗ ซอย รัชดาภิเษก ๓๖ (เสือใหญ่อุทิศ) รัชดาภิเษก แขวง จันทรเกษม เขต จตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทร ๐๘๙๕๓๓๔๖๐๓ อีเมล keiokun.satchukorn@gmail.com
๓ เ ช ิญ ช ม เ ชิ ญ ชิ ม
๔๐ ปี ความอร่ อ ย
งยิ่ง
‘ไข่เค็ม’ ตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา
ักท
จต่อน มสนใ
ควา
ร้อง ก ย ี ร เ ่ ี ป็นท
วอย่า ย ่ ี ท เ ง อ่
าเ
วันนี้กระผมได้มีโอกาสเดินทางออกจากเมือง
หลวง สูต่ ลาดน้�ำ วัดลำ�พญา ตำ�บลลำ�พญา อำ�เภอบางเลน จังหวัดนครปฐม เดินทางผ่านสายหมอกหนาตามข้างทาง สายลมเย็น แสงแดดส่องลงมาเพียงเล็กน้อย “กองทัพเดินด้วยท้อง”คำ�นี้ผุดขึ้นมาในหัวทัน ที่ในระหว่างเดินทางไปตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา ขึ้นชื่อว่า ตลาดต้องมีการค้าขายหรือมีอาหารอร่อยๆให้เลือกซื้อ รับประทาน หลังจากลงรถกระผมได้เริ่มมองหาอะไรใส่ ท้อง เมื่อกองทัพต้องเดินด้วยท้องเราจึงมุ่งหน้าสู่ตลาด น้ำ�วัดลำ�พญา... เดิมแล้ว ตลาดน้ำ�วัดลำ�พญาจัดตัง้ ขึน้ ด้วยความ ร่วมมือของ สภาวัฒนธรรมตำ�บลลำ�พญา วัดลำ�พญา และ ชาวตำ�บลลำ�พญา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการส่งเสริม อาชีพและรายได้ให้กับชาวบ้านและเกษตรกรในท้องถิ่น ให้เป็นแหล่งชุมนุมสินค้าเกษตรกรรม หัตถกรรม และ สินค้าพื้นเมือง เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ศึกษาวิถีชีวิตของ ชาวบ้านด้วยบรรยากาศคุ้งน้ำ�ที่สวยงาม และพืชพันธุ์ ธรรมชาติทเี่ ขียวขจีสองฝัง่ แม่น้ำ�ท่าจีน ท่ามกลางรอยยิม้ ของชาวบ้านและอากาศอันบริสุทธิ์ แต่ในปัจจุบันนี้เมื่อ มีนักท่องเที่ยวเข้ามา การพัฒนาจึงเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ถนนหนทาง หรือสถานที่ค้าขายก็ถูกปรับปรุง รวมไปถึง สินค้าที่นำ�มาขายก็ถูกรับมาและปรับราคาขึ้นเช่นกัน ไม่ ได้เกิดจากฝีมือชาวบ้านทั้งหมดเหมือนแต่เดิม แต่สงิ่ ทีม่ องหาจากคนด่งั เดิมหรือชาวบ้านแถวนี้ คือความเป็นภูมิปัญญาไทย
ดุดต วยสะ
ค็มส เ ่ ข ไ ง สีขอ หลังจากทีไ่ ด้เดินผ่านมาหลายร้าน กระผมสะดุด ตาอยู่หนึ่งร้าน สีของไข่แดงเด่นจนชวนให้มองเห็นแต่ ไกล กระผมไม่รีรอเดินเข้าไปอย่างไม่ลังเลใจ ซึ่งหน้าร้าน มีพร้อมทัง้ สินค้าตัวอย่างให้ลกู ค้าได้ลองชิมก่อนตัดสินใจ ส่วนตัวกระผมแล้วพอได้ลองชิมรูส้ กึ อร่อยจนติดใจ ถึงกับ ต้องซื้อติดไม้ติดมือกลับบ้าน ร้านขาย ‘ ไข่เค็มไอโอดีน ’ ถือว่าเป็นตำ�นานก็ ว่าได้ ไม่น่าเชื่อว่าร้านนี้เปิดนานกว่า ๔๐ ปี โดยเปิดมา พร้อมๆกับตลาดน้�ำ นายประชา ธรรมเจริญ กล่าวว่า “ไข่ เค็มไอโอดีนเกิดจากชาวบ้านในระแวงนี้ เป็นการรวมตัว กันของกลุม่ สตรีต�ำ บลลำ�พญาจัดทำ�ขึน้ โดยในหมูบ่ า้ นจะ มีฟาร์มเป็ดอยู่ จากนัน้ เราก็รบั ไข่เป็ดมาทำ� ตัวกระผมตัง้ แต่จ�ำ ความได้แม่กข็ ายอยูต่ ลาดน้�ำ นีแ้ ล้ว ซึง่ ตอนนีก้ ระผม ก็อายุ ๔๕ ปี มาขายแทนแม่ที่ขายเป็นประจำ� ราคาแพ็ คละ ๓๐ บาทเท่านั้น และไข่เค็มไอโอดีนยังเป็นสินค้า โอทอประดับ ๔ ดาว ร้านเปิดตามเวลาตลาด ๐๗.๐๐ ๑๖.๐๐ น.” ใครที่ได้มีโอกาสไปเที่ยวตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา กระผมชวนให้ลองชวนให้ชิมไข่เค็มไอโอดีน อย่าลืมไป แวะซื้อ ติดไม้ติดมือกลับบ้าน
การันต์
๔ วิ ถี ฅ น วิ ถี ไ ท ย
“วิถีเรือแจวโบราณ”
ลำ�สุดท้าย แห่งตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา
มองผ่านหน้าต่างเรือแจวที่กำ�ลังแล่นบนผิวน้ำ� สายลมและสายหมอกกระทบโดนหน้า ตาเริ่มสว่าง ทำ�ให้เห็นเรื่องราววิถีชีวิตชาวบ้านทั้งสองฟากฝั่งแม่น้ำ�ท่าจีน ณ ตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา
“เรือแจวโบราณ” ถ้าเราพูดถึงเรือแจวแล้ว ตลาดน้�ำ วัดลำ�พญา
นอกเนือ่ งจากพืชผักผลไม้ทมี่ ขี ายในตลาด อีกหนึง่ เรือ่ งทีน่ า่ สนใจไม่นอ้ ย ไปกว่ากัน คือ เรือแจวโบราณ ด้วยความโชคดีที่กระผมมีโอกาสได้นั่งเรือ แจว เป็นอีกไม่กที่ ี่ ทีย่ งั เหลือเรือแจวอยูใ่ ห้เราเห็นกัน ตลาดน้�ำ วัดลำ�พญา ตำ�บลลำ�พญา อำ�เภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ต ล า ด น้ำ � วั ด ลำ � พ ญ า เ ป็ น ต ล า ด ที่ ตั้ ง อ ยู่ ริ ม ฝั่ ง แ ม่ น้ำ � นครชัยศรี(แม่น้ำ�ท่าจีน)อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพมากนักใช้เวลาเดินทาง ประมาณ ๓๐ – ๔๐ นาที ตลาดน้ำ�วัดลำ�พญายังมีการให้บริการชมวิถีชีวิตชาวบ้าน สอง ฟากฝั่งแม่น้ำ�ท่าจีนด้วย มีทั้งเรือใหญ่ เรือลาก และเรือแจวโบราณ “เรือแจวโบราณ” ทีย่ งั หลงเหลืออยูเ่ พียงลำ�เดียวทีเ่ ปิดให้บริการ มาพร้อมกับตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา เดิมแล้วที่ให้บริการมีทั้งหมด ๕ ลำ�ด้วย ความทีว่ า่ จะมีทวั ร์น�ำ นักท่องเทีย่ วเข้ามา แต่ปจั จุบนั ไม่มที วั ร์นกั ท่องเทีย่ ว การแจวเรือจึงหายไป แต่ที่น่าตกใจ คือ ปัจจุบันนี้เหลือเรือแจวเพียงลำ� เดียวเท่านั้น ที่ขึ้นชื่อว่า ‘ โบราณ ’ ทำ�ไมคนไทยไม่ตระหนักถึงคำ�นี้ เรา ทุกคนต่างต้องตระหนักและช่วยกันรักษา สิ่งที่เป็นวิถีชีวิตแต่ดั่งเดิมของ ชาวบ้านทีอ่ าศัยอยูร่ มิ แม่น้ำ� ไว้มรดกให้ลกู หลานได้สบื ทอดและดำ�เนินวิถี นี้ต่อไป
ด้วยเหตุที่เรือแจวลดน้อยลง ลุงสมพงษ์ ศรีขวัญใจ เล่าว่า “ลุงแจวเรือมากว่า ๕๐ ปีแล้ว ตอนนีอ้ ายุ ๗๗ ปี อาชีพนีล้ ดน้อยลงเพราะว่าราย ได้ค่อนข้างน้อย จากเมื่อก่อนจะมีทัวร์นักท่อง เที่ยวเข้ามา รายได้จึงเกิดจากตรงนั้นมากกว่า เรือแจวที่ใช้ในปัจจุบันเป็นของทางวัด ค่าบริการ นั่งเรือแจว ๒๕ บาท ต่อหนึ่งรอบ เริ่มตั้งแต่ตลาด ไปถึงศาลเจ้าแม่ทับทิม นับเป็นหนึ่งรอบ รอบละ ประมาณ ๓๐ นาที หรือแบบเหมาเรือ ๕๐ บาท ต่อ ๑ ชั่วโมง ในหนึ่งวันมีคนใช้บริการประมาณ ๖๐-๗๐ เที่ยว โดยรายได้จะถูกแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ครึ่งหนึ่งเป็นของวัด อีกครึ่งหนึ่งเป็นของลุง” ด้วยรายได้ที่น้อยนิดไม่สามารถทำ�ให้ ลุงสมพงษ์ อยู่ได้แน่นอน แต่เป็นความภาคภูมิใจ มากกว่าที่จะเป็นการทำ�เพื่อแลกกับเงินตรา ลุงสมพงษ์ เล่าว่า “เป็นไปไม่ได้เลยหาก ตนจะอยู่ด้วยเงินจากการให้บริการเรือ แต่ที่ได้ คือความสุขที่ได้พูดคุยกับนักท่องเที่ยว และเพื่อ เป็นการรักษาเอกลักษ์ของตลาดน้ำ�นี้ไว้ ”
๕ “เป็นไปไม่ได้เลยหากตนจะอยู่ด้วยเงินจาก การให้บริการเรือ แต่ที่ได้คือความสุขที่ได้ พูดคุยกับนักท่องเที่ยว และเพื่อเป็นการ รักษาเอกลักษ์ของตลาดน้ำ�นี้ไว้ ” ลุงสมพงษ์
สุดสายตามีความสวยงามที่ซ่อนอยู่ แลกกับความเสี่ยงที่เกิดจาก การยืนบนเรือ วิถีเรือแจวโบราณ ณ ตลาดน้ำ�ลำ�พญา การลดน้อยลงของเรือแจวโบราณมีผลต่อภาพลักษณ์ของตลาด น้ำ�วัดลำ�พญาแน่นอน ผู้เกี่ยวข้องควรหาทางออกให้แก่เรื่องนี้มากกว่านิ่ง เฉย ก่อนทีเ่ รือแจวโบราณจะไม่มใี ห้เห็นอีกต่อไป รวมถึงการส่งเสริมให้เด็ก หรือชาวบ้านในระแวกริมสองฝัง่ แม่น�้ำ ได้มจี ดั การสอนหรือเรียนรูเ้ กีย่ วกับ การแจวเรือ เพือ่ ใช้เรือแจวโบราณเป็นเครือ่ งมือดึงดูดนักท่องเทีย่ วให้กลับ มาเทีย่ วตลาดน้�ำ ลำ�พญามากขึน้ และเป็นการอนุรกั ษ์วถิ ชี วี ติ แต่เดิมของคน ไทยตามริมแม่น้ำ�ไปในตัว การแจวเรือเป็นเรื่องยากสำ�หรับคนสมัยใหม่ โดยปัจจุบันการ แจวเรือไม่มีหนังสือหรือข้อมูลบอกเป็นหลักแหล่ง จะเกิดขึ้นจากคนที่มี ประสบการณ์เท่านั้น เช่น ข้อมูลจากความคิดเห็น ของ tid เว็บ YAHOO! “ก่อนจะแจวเรือ ควรฝึกพายเรือก่อน มันต่างกันตรงยืนกับนัง่ วิธี การบังคับเรือเหมือนกัน ส่วนมากคนอยู่ท้ายเรือจะเป็นคนบังคับเรือ ต่อไปจะกล่าวถึงการพายเรือเป็นหลัก วิธกี ารพาย (คนบังคับเรือ) การจับพายให้ถนัดมือไม้พายควรยืน่ ไปด้านหน้า(จะข้างซ้ายหรือขวาก็ได้) แล้วจ้วงใบพายลงไปในน้ำ�ดึงกลับเข้าหาตัว เมือ่ พายมาถึงตัวไม่ตอ้ งยกขึน้ บิดพาย(ตรงนีส้ ำ�คัญ)ให้สนั พายบิดไปข้างหน้าแล้วค่อยๆงัดพายให้ใบพาย ออกไปด้านข้าง (ตรงนีจ้ ะบังคับเรือให้ตรง) จนถึงหลังแล้วดึงพายขึน้ มาพาย ในลักษณะเดียวกันจนถึงฝั่ง พายข้างใดข้างหนึ่งไม่ต้องกลับไปกลับมา ถ้า มีคนช่วยพายนั่งข้างหน้าพายอย่างเดียวไม่ต้องงัดจะพายสลับข้างก็ได้
เรือแจวจะมีเสาสำ�หรับยึดด้ามพาย และ มี เรื อ สำ � หรั บ นั่ ง คนเดี ย วก็ ใช้ ห ลั ก การลั ก ษณะ เดียวกัน แต่ต้องนั่งกลางลำ� ต้องฝึกให้ได้จังหวะ และอยูบ่ นเรือไม่ตอ้ งเก้ง จะทำ�ให้เรือล่มได้งา่ ยๆ” เหตุนี้ “เรือแจวโบราณ” ควรอนุรักษ์ และส่งเสริมเพื่อให้เกิดการความเข้าใจแก่ชาว บ้านในระแวงสองฝัง่ แม่น้ำ� สร้างให้เป็นเอลักษณ์ สร้างรายได้ในชุมชน หรือเพือ่ เป็นเครือ่ งมอดึงดูด ให้นกั ท่องเทีย่ วเข้ามาชม มาเห็น ได้สมั ผัสวิถขี อง ชาวบ้านริมน้ำ�และวิถีไทยแห่งเรือแจว
วิถีแจวเรือ กว่า ๕๐ ปี การทำ�งานบนหยาดเหงือ กับการเปลี่ยนของร่างกายและไปของยุคสมัย
การันต์
๖ ต า ม ร อ ย อ ดี ต
สั ง คมไทยกั บ การตี ต รา
“วันทองสองใจ”
สังคมไทยในปัจจุบนั การตีตรา
ความผิ ด ให้ ใ ครสั ก คน ถึ ง ว่ า เป็ น เรื่ อ ง ยากมากเพราะเราทั้งหลายต่างก็ไม่มี ตัววัดความจริงว่าคนโน้นหรือคนนี้ผิด อย่างเช่น สังคมไทยกับการตีตรา “วัน ทองสองใจ” จริงแค่ไหนที่เราตีตรานาง วันทองแบบนั้น ต้องเกรินเรื่องก่อน เพื่อให้เกิด ความเข้าใจตรงกัน นางวันทองเป็นบุตรสาวของพัน ศรโยธา และนางศรีประจัน ครอบครัว ของนางวั น ทองเป็ น ตระกู ล พ่ อ ค้ า ที่ มี ฐานะดีพอสมควร นางจึงได้รับการเลี้ยง ดูเป็นอย่างดี นางเป็นคนสวยรูปร่างอร ชนอ้อนแอ้น กิริยามารยาทแช่มช้อย ซึ่ง ความสวยของนางนั้นปรากฏให้เห็นชัด ตั้งแต่ยังเป็นเด็ก และยังมีผมสวย ดังที่ กวีพรรณนาไว้ว่า
“ทรวดทรงส่งศรีไม่มีแบน อรชรอ้อนแอ้นประหนึ่งเหลา ผมสลวยสวยขำ�งามเงา ให้ชื่อเจ้าว่าพิมพิลาไลย” นางไม่ค่อยฉลาดเท่าใดนัก ทำ� อะไรก็ทำ�ตามประสาหญิงชาวบ้าน เมื่อ โตเป็นสาวก็เริ่มคิดเรื่องคู่ครอง จึงทำ�ให้ ดูเหมือนว่านางวันทองไม่รักนวลสงวน ตัว นางวันทองก็ยังมีภาพลักษณ์ด้านดี ที่เห็นได้ชัด คือ ความละเอียดอ่อน ไม่ ว่าจะเป็นในเรื่องการรับรู้ถึงความดีของ ผู้อื่นที่ปฏิบัติต่อนาง ดังนั้นจะเห็นได้ว่า แม้นางจะไม่ได้รักขุนช้างแต่ด้วยความ ดีของขุนช้างและความผูกพันที่อยู่กัน
มา ๑๕ ปี ทำ�ให้นางเป็นห่วงเป็นใยความ ทุกข์สขุ และความรูส้ กึ ของขุนช้างไม่นอ้ ย หรือ อารมณ์ที่ละเอียดอ่อนในการเป็น แม่ศรีเรือนที่ดี เป็นคนกล้าที่จะยอมรับ ชะตากรรมของตัวเอง มีน�้ำ ใจเมตตา และ ให้อภัยโดยไม่เคียดแค้น ในที่สุดพระพันวษาต้องให้นาง เลื อ กว่ า จะอยู่ กั บ ใครระหว่ า งขุ น แผน หรือขุนช้าง แต่นางวันทองก็ไม่สามารถ ตัดสินใจได้ เพราะถึงแม้ขุนแผนจะเจ้าชู้
พ ังการแสดงภาอง น พ า ฝ พ า ภ 1 กิโลเมตร ลี่ยนแปลงสังคมใหม่ข บ อ ื ก เ ว า ย ม ป า ศิลปะบนคว เก่าในการเปลี่ยนแปลงเ สะท้อนสังคม คนมีอำ�นาจ
๗ เ ปิ ด ก ร อ บ
‘พระขุนแผน’ มหามงคล มหาแพง พระขุนแผนพิมพ์ใหญ่ วัดใหญ่ชัยมงคล เป็นพระสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างโดยเนื้อ ผงผสมดิน แล้วนำ�ไปเคลือบด้วยน้ำ�ยาที่เคลือบ ลังคาโบรถ แต่เคลือบเฉพาะด้านหน้า เป็นพระที่ สมเด็ดพระเรศวรมหาราชเป็นผู้ที่สร้าง เมื่อคราว เฉลิมฉลองชัยชนะในการทำ�ยุทธหัตถีจ.สุพรรณบุรี เชื่อว่า ถ้าใครแขวนพระขุนแผน จะเสริมพุทธคุณ ด้านเมตตามหาเสน่ห์และคงกระพันชาตรี มีการ ประเมินราคากันไว้ถึง ๕ ล้านบาท
การันต์
“การตัดสินคนอื่นด้วยความโง่ เขลาของตนเอง” จนมีเรื่องราวทะเลาะเบาะแว้งหึงหวงกัน อยู่เสมอ แต่ก็เป็นรักแรกและยังมีลูกด้วย กันคือพลายงามอีกด้วย ขุนช้างแม้จะขี้เหร่ แต่ก็มีความ รักจริงและรักเดียว แถมดูแลนางอย่าง ดี เ พราะมี เ งิ น ทองร่ำ � รวย การที่ น างไม่ สามารถตัดสินใจได้เด็ดขาดนีเ่ อง จึงทำ�ให้ ถูกพระพันวษาสั่งประหารชีวิตด้วยความ กริ้ว และเป็นเหตุให้ถูกประณามว่า เป็น วันทองสองใจบ้าง นางวันทองสองผัวบ้าง ทั้งๆที่ชีวิตนางวันทองน่าเห็นใจไม่น้อย เพราะถูกสองหนุ่มยื้อกันไปยื้อกันมา แม้ ไม่เต็มใจ แต่ก็อยู่ในภาวะจำ�ยอมเพราะ ช่วยตัวเองไม่ได้ ถ้ า สั ง คมยั ง มองว่ า นางวั น ทอง เป็นคนสองใจ การบอกกันแบบนัน้ สองใจ ก็ต้องไม่มีเรื่องการโดนหลอกเข้ามาเป็น ส่วนเกี่ยวข้อง โดยความจริงต้องเกิดมา จากใจ แต่เธอแค่โดนหลอกว่าขุนแผนตาย จึงต้องตามขุนช้างไป
ลองคิดตามว่าผู้หญิงในสมัยก่อน คงหาเลี้ยงตัวเองไม่ได้อย่างสมัยนี้ ดังนั้นก็ต้องหาทางให้ตัวเองกับลูกรอดก่อน อีกทั้งตอนที่โดนประหาร ให้เลือกขุนแผน ขุนช้าง หรือเลือกลูกล่ะ “ของแบบนี้ มันคงเลือกไม่ได้ง่ายๆจริงไหม” คนหนึ่งคือสามีที่รัก คนหนึ่งคือผู้มีพระคุณ อีกคนก็ลูก ให้ตัดสินใจ ภายในเวลาไม่นานก็เป็นเรื่องยากแล้ว สรุป วันทองไม่ผิด แต่พวกผู้ชายในเรื่องนั่นล่ะที่ผิด ลองคิดอีกทีผชู้ ายสมัยนัน้ เป็นอย่างไร ความเท่าเทียมในสมัยนัน้ ไม่มี เห็นได้ชดั ๆ ขุนแผนก็เจ้าชูม้ เี มียไปทัว่ แต่พอฝ่ายหญิงทำ�บ้างดันมาโวยวายเอา เรือ่ ง อันนีใ้ ช้ไม่ได้ ขุนช้างละก็ผดิ ทีม่ าหลอกวันทองแบบนัน้ กษัตริยท์ รี่ บั หน้าที่ ตัดสินก็ผิด ที่ใช้วิธีตัดสินโง่ๆ “สั่งประหารชีวิตด้วยความกริ้ว” ต้องเปลี่ยนชื่อเป็น “การตัดสินคนอื่นด้วยความโง่เขลาของตนเอง”
การันต์
๘ ห น ้า ก า รั น ต์
“ศึกยุทธหัตถี”
ศิลปะโมเดลยุคใหม่
มหาวีรกรรมบอกความยิ่งใหญ่ของพระนเรศวรฯ ชัยชนะที่ไม่อาจลืมได้ ในรูปแบบเล็กที่เข้าใจง่าย
กระผมขอนับถอยหลังกับมหาวีรกรรมการต่อ
สู้ของพระนเรศวรฯ “ศึกยุทธหัตถี” ซึ่งจริงๆแล้วเรื่อง ราวของศึกนีถ้ กู นำ�มาเขียนบ้าง สร้างเป็นภาพยนตร์บ้าง มีอยู่มากมายหลายมุม หลายท่ี แต่สิ่งที่ทำ�ให้สะดุดใจไม่ น้อยในการเดินทางไปอนุสรณ์ดอนเจดีย์ อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี คือ โมเดลการรบของพระนเรศวรฯ พระบรมราชานุ ส รณ์ ด อนเจดี ย์ สมเด็ จ พระ นเรศวรมหาราช ทรงสร้ า งเจดี ย์ ขึ้ น เพื่ อ เฉลิ ม ฉลอง ชัยชนะในสงครามยุทธหัตถี ทีท่ รงมีตอ่ พระมหาอุปราชา แห่งพม่า เมื่อปี พ.ศ. ๒๑๓๔ เหตุการณ์ส�ำ คัญทีเ่ กิดขึน้ บนแผ่นดินสุพรรณบุรี เมื่อกว่า ๔๐๐ ปีที่ผ่านมา ส่งผลให้คนไทยทั้งชาติ ยึดมั่น เคารพ ศรัทธา ในสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างเหนียว แน่นมาโดยตลอด ภายในองค์เจดีย์ได้มีการสร้างห้อง แสดงประวัติศาสตร์ ทั้งภาพแสงสีเสียง และหุ่นจำ�ลอง การยกทัพของพม่าและไทย หลายร้อยตัว โดยกระผมจะ ขอพูดถึงเรื่อง หุ่นจำ�ลองการรบหรือที่เรียกว่า โมเดล หุ่นจำ�ลองการรบหรือที่เรียกว่า โมเดล สิ่งที่ มนุษย์ได้สร้างขึ้นเพื่อแสดงแทนของจริงและง่ายต่อการ ศึกษา สามารถทำ�ความเข้าใจในระบบง่ายกว่าของจริง
โมเดลกับคนไทยนั้นเริ่มเข้ามาเป็นที่รู้จักเมื่อ ประมาณ ๔๐ ปีที่แล้ว คือ ประมาณปี ๒๔๙๘ โดยเริ่ม มาจากนักเรียนนอกในสมัยนั้นหอบหิ้วกันเข้ามาเผย แพร่ในเมืองไทย วงการโมเดลเมืองไทยได้เริม่ เป็นรูปร่าง เมื่อประมาณปี ๒๕๑๙ โดยกลุ่มคนผู้สนใจหลายๆ คนที่ พบปะกันตามร้านขายโมเดลได้ก่อตั้งชมรมชุดพลาสติก จำ�ลองแห่งประเทศไทย หลังจากนัน้ เริม่ เข้ามามีบทบาท ในงานศิลปะในด้านต่างๆของไทย ถูกนำ�มาประยุกต์ใช้ เพื่อสร้างรายได้และเกิดเป็นอาชีพ “ศึ ก ยุ ท ธหั ต ถี ” ถู ก นำ � มาแสดงเป็ น โมเดล ให้เข้าใจง่ายและดูยิ่งใหญ่ เป็นการจำ �ลองรูปแบบศึก ยุทธหัตถีในครัง้ อดีต ให้กบั คนรุน่ หลังได้ยอ้ นดู และศึกษา ถึงการความเป็นมาของศึกครั้งนี้ การฆ่าฟัน การล้มตาย ของวีรชนในศึก เป็นเหตุการณ์ทสี่ �ำ คัญของสุพรรณบุรี ที่ ควรรำ�ลึกถึงเหตุการณ์ในศึกครั้งนี้ การจำ�ลองจะช่วยให้ มองได้ลึกขึ้น ละเอียดขึ้น ความเข้าใจมากกว่างานเขียน เป็นอีกทางเลือกของทุกท่านทีต่ อ้ งการความเพลิดเพลิน และได้ความรูท้ เี่ ห็นเป็นรูปร่างพร้อมเข้าใจได้งา่ ย เชิญรับ ชมโมเดล “ศึกยุทธหัตถี” ศิลปะความงามยุคใหม่เข้าใจ ง่าย ที่อนุสรณ์ดอนเจดีย์ อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
การันต์