Crupostfinal(ชุมชน)

Page 1

จั น ทรเกษมโพสต์ C H A N D R A K A S E M P O S T

“ อานุภาพแห่งความจริง ”

หนังสือพิมพ์และข่าวฝึกปฏิบัติรางวัลพิราบน้อยสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย

ฉบับพิเศษ ชุมชนบางบัว

กทม.เวนคืนที่ดินรัฐสร้างเขื่อน ชาวบางบัววอนชีแ้ จงเรือ่ งช่วยเหลือ

ชาวบางบัวออก ร้องทุกข์หาหน่วยงาน เกีย่ วข้องเข้าช่วยเหลือ กรณีเวนคืนที่ดินสร้าง เขื่อน กทม.

จัดระเบียบคลองบางบัว กรรมการจัดการน�ำ้ ใช้พื้นทึ่ในการสร้างเขื่อน บรรเทาน�้ำท่วม ชาว บ้านหวัน่ การช่วยเหลือจากภาครัฐ ด้านประธาน ชุมชนบางบัวก�ำลังเร่งด�ำเนินการเจรจาอยู่

เวนกลับสู่รัฐ : หนึี่งในทะเบียนบ้านชั่วคราวที่ใกล้จะถูกรื้อถอนและกลับเป็นของรัฐเพื่อสร้างเขื่อน

อ่านต่อหน้า 6

ผู้เช่าทวงสิทธิ์สหกรณ์

เวนทีด่ นิ ช่วยเหลืออย่างไร

ปชช.ผู้อาศัยในพื้นที่ ที่ทางกทม.เวนคืนที่ดินรัฐเพื่อสร้างเขื่อน ในเขตชุมชนบางบัวตัดพ้อ ทวงถามถึงสหกรณ์จะเข้าช่วยเหลือ เบือ้ งต้นอย่างไร เพราะต้องโยกย้ายเพียงบางส่วน แต่จา่ ยเงินเข้า อ่านต่อหน้า 6 กองทุนสหกรณ์มาเท่ากันและพร้อมกัน

ปธ.บ้านบางบัว ยัน ‘บ้านมั่นคง’

มีโฉนดถูกตาม กม.

ปธ.ชุ ม ชนบางบั ว จั ด ตั้ ง โครงการบ้านมัน่ คง สร้างบ้าน ให้ ช าวบ้ า นในชุ ม ชน ยื น ยั น ชุมชนถูกมีโฉนดถูกกฎหมาย รองรั บ หากมี ก ารเรี ย กคื น ที่ จากรัฐบาล ส่วนอาสาสมัคร ชุ ม ชนสามั ค คี ร วมใจ กล่ า ว ถึ ง ที่ ดิ น ต้ อ งจ่ า ยค่ า เช่ า ที่ ดิ น ทุกๆเดือน แม้วา่ จะจ่ายเงินค่า บ้านหมดแล้ว อ่านต่อหน้า 6

สกู๊ปพิเศษ

‘เหี้ย’ สัญลักษณ์ความสัมบรูณ์ ของคูคลองชุมชน

‘ตัวเหี้ย’ สัตว์คุ้มคลองที่ครั้งหนึ่ง เคยพบเยอะในคลองบางเหีย้ (ตามชือ่ เดิ ม ที่ ช าวบ้ า นใช้ เ รี ย ก)และคลอง บางบัว แต่วันนี้สัตว์ตัวนี้ได้หายไป จากระบบนิ เ วศน์ บ ริ เ วณนี้ เ พราะ อะไร

อ่านต่อหน้า 3


จั น ทรเกษมโพสต์ C H A N D R A K A S E M P O S T

2

“ อานุภาพแห่งความจริง ”

ปีที่ 26 ฉบับประจ�ำเดือน มีนาคม พ.ศ. 2558

จั น ทรเกษมโพสต์ C H A N D R A K A S E M P O S T

การ์ตูนข่าว

“ อานุภาพแห่งความจริง ”

ยก ‘ปฏิรูป’

ริมคลองบางบัวรอบสอง จากมาตราการรื้ อ บ้ า นสองฝั ่ ง คลองตลอดเส้นลาดพร้าว ส่งผลกระ ทบโดยตรงต่อชาวชุมชนบางบัวเพราะ ต้องโยกย้ายถิ่นฐานเป็นครั้งที่สองนับ จากการแก้ไขเป็นชุมชนต้นแบบใน การกระจายความแออัดของประชากร ที่รุกล�้ำฝั่งคลอง การที่ต้องออกจากที่อยู่อาศัยคง เป็นเรื่องที่ใครคงไม่ปรารถนา แต่กับ ชุมชนแห่งนี้ทุกคนกลับยอมรับกับผล การตัดสินอย่างไม่มขี อโต้แย้งใดๆ จะ มีก็แต่เพียงเรื่องรายละเอียดของสิน ตอบแทนหรือการจัดหาที่อยู่ใหม่ให้ท่ี ดูเหมือนจะยังคุมเครือเพราะข่าวลือ ต่างๆที่ถูกปล่อยออกมามากมาย ต้องบอกว่าชุมชนริมคลองบางบัว เป็นที่ดินของภาครัฐซึ่งคงไม่แปลกที่ เมื่อเรียกคืนจะต้องยอมแต่โดยดี แต่ หน่วยงานที่ภาครัฐจัดให้เข้ามาช่วย เ ห ลื อ ค น เ ห ล ่ า นี้ ก็ ยั ง ค ง ไ ร ้ ก า ร เคลือ่ นไหว ทัง้ ทีก่ ารรือ้ ถอนใกล้เข้ามา ทุกๆที อาจเกิดจากข้อบกพร่องที่การ สื่อสารระหว่างรัฐกับชาวชุมชน หรือ ผิดที่การประสานงานของชาวชุมชน เองที่คลุมเครือก็ต้องแยกออกจากกัน ให้ถูกที่ถูกทาง สุดท้ายนี้ไม่ว่าบทสรุปจะออกมา อย่างไร แต่การรือ้ ถอนนัน้ เดินหน้าขึน้ ทุกวัน ชาวชุมชนตาด�ำๆทีย่ นิ ยอมออก จากพืน้ ทีเ่ หล่านี้ ความหวังสุดท้ายของ คนเหล่านี้ นัน้ คือเงินชดเชยทีจ่ ะน�ำไป เริ่มต้นชีวิตใหม่ ในที่ๆใหม่ที่สุดแล้ว แต่รัฐจะจัดให้ แต่ก็ยังต้องหวังต่อไป เพราะความล่าช้าของการประสาน งานนั้นเอง

#Sagitz

Contact : Sagitz Sarperius

Here บางบัวซิตี้ อดีต

ลาก่อยยยยยย!!

ปัจจุบนั

การ : เอกสิทธิ์ ประกอบดี ผู้ช่วยบรรณาธิการ : พรรษา บุญอยู่ เลขาณุการ : จั น ทรเกษมโพสต์ บรรณาธิ คุ ณ ากร ก� ำ ลั ง เสื อ ฝ่ า ยศิ ล ป์ : สั ช ฌุ ก ร เขี ย วขั น บรรณาธิ ก รณ์ : เจษฎา สมอดี C H A N D R A K A S E M P O S T

“ อานุภาพแห่งความจริง ”

กองบรรณาธิการ : พงศกร นวยฮา , ณัฐวุฒิ พิมพ์ทอง , กิตติพนั ธ์ แสวงสาย , ธณัฏฐ์พล จันทุม , วิทติ อดุลเดชาฤทธิ์ อาจารย์ที่ปรึกษา : อนิรุตน์ มีสกุล ส�ำนักงาน : 351/15 หมู่ 6 ซอยพหลโยธิน 49/2 ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 พิมพ์ที่ : เค.พี.จันทรเกษม 40/5 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร จังหวัดกรุงเทพมหานคร


จั น ทรเกษมโพสต์ C H A N D R A K A S E M P O S T

สกูป๊ พิเศษ

“ อานุภาพแห่งความจริง ”

ปีที่ 26 ฉบับประจ�ำเดือน มีนาคม พ.ศ. 2558

‘เหี้ย’

"ตัวเหีย้ " หรือ "ตัวเงินตัวทอง" เป็นสัตว์ เลื้อยคลานด้วยรูปร่างที่แปลกประหลาด และพฤติกรรมส่วนตัวของมัน ท�ำให้ค�ำว่า ตัวเหี้ยกลายเป็นภาษาที่ไม่สุภาพในที่สุด แท้จริงแล้ว "เหีย้ " คือชือ่ ทีถ่ กู ต้อง แม้จะค�ำ ด่าทอที่ถูกเรียกในเชิงการค�ำศัพท์ใช้กับคน

ทัง้ นีค้ ำ� ว่า "สัตว์" นัน้ ก็เสมือนคือสัญญา ลักษณ์ของธรรมชาติ เราคงนึกถึงทีท่ มี่ คี วาม สมบรูณบ์ นพืน้ ป่าทีเ่ ขียวขจี สัตว์ทำ� ให้ระบบ นิเวศของธรรมชาติสมบูรณ์และพึง่ พาอาศัย กัน ดั ง นั้ น จึ ง มี ค� ำ ถามเกิ ด ขึ้ น รอบๆริ ม ฝั ่ ง คลองว่า "เหี้ยหายไปไหน?" คลองบางบัวคือ คลองลาดพร้าวที่ทอด ยาว แต่ยงั มีคลองบางเหีย้ (ค�ำเรียกชาวบ้าน) ประกอบในนัน้ ด้วยเช่นกัน ชาวบ้านได้เรียก คลองเหี้ยก็เพราะ "เหี้ย" เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งคลองเหี้ยติดกับคลองบางบัว ฉะนั้ น เหี้ ย ก็ เ สมื อ นสั ญ ลั ก ษณ์ ค วาม สมบูรณ์ของล�ำคลองชุมชนบางบัวเช่นกัน แต่ ป ั จ จุ บั น เป็ น เรื่ อ งยากที่ เ ราจะพบเห็ น "ตั ว เหี้ ย "ในล� ำ คลอง ซึ่งก็หมายความว่า ความอุดมสมบูรณ์ของแม่น�้ำล�ำคลองที่เคย มีในอดีตได้หายไป เพราะพฤติกรรมความ มักง่ายของมนุษย์ ทิ้งขยะลงคลอง อันเป็น เหตุให้น�้ำเสีย พร้อมทั้งเสียระบบนิเวศที่ มนุษย์และสัตว์อยูร่ ว่ มกันได้ ท�ำให้การพึง่ พา อาศั ย แม่ น�้ ำ ล� ำ คลองน้ อ ยกว่ า ในอดี ต ที่ สามารถใช้ประกอบในการอุปโภค บริโภค นางสาวณั ฐ ชา โตค� ำ นุ ช ชาวชุ ม ชน บางบัวกล่าวว่า "บริเวณรอบๆริมคลองอดีต จะสั ง เกตุ เ ห็ น เหี้ ย อยู ่ บ ่ อ ยครั้ ง เนื่ อ งจาก คลองนี้ติดกันเป็นระยะยาว ซึ่งอดีตน�้ำใน คลองทีส่ ะอาด แต่ปจั จุบนั น�ำ้ เสียมาก โดยที่ ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้เลยตลอดทัง้ คลอง อาจเพราะพฤติกรรมทิ้งขยะด้วยความมัก ง่ายของชาวชุมชนที่เป็นเหตุ และท�ำให้เหี้ย ทีเ่ คยอาศัยอาจจะอพยบย้ายถิน่ ฐานไปอยูท่ ี่ อื่น" อีกทั้งกรมป่าไม้ก�ำหนดให้ตัวเงินตัวทอง หรือตัวเหี้ยเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองหรือสัตว์ สงวน ห้ามท�ำการฆ่าเพื่อน�ำหนังมาแปรรูป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ่ า งๆ จึ ง ท� ำ ให้ เ ป็ น สั ต ว์ เศรษฐกิจ ทีส่ ามารถน�ำมาประกอบอาชีพได้

3

สัญลักษณ์ความสัมบรูณ์ ของคูคลองชุมชน

ไม่ใช่สัตว์ที่น่ากลัวแต่อย่างใด "ตนก็ตอ้ งการให้ระบบนิเวศทีเ่ คยเป็นใน อดีตกลับมา ซึ่งตนก็มีการน�ำอาหารหรือ โครงไก่ ส ดให้ ตั ว เหี้ ย แต่ ก็ เ ป็ น ไปได้ ย าก เนือ่ งจากน�ำ้ เสียเป็นเวลามากว่า 10 ปี แล้ว ถ้าเรายังไม่ช่วยกันมากเท่าที่ควร" นางสาว ณัฐชา กล่าวต่อเรื่องนี้อีก ตัวเหีย้ จะมีพฤติกรรมทีแ่ ปลกประหลาด แต่เป็นสัตว์สญ ั ญาลักษณ์ทแี่ สดงความอุดม สมบูรณ์ของธรรมชาติริมคลองบางบัวใน อดีต และปัจจุบันก็เป็นสัตว์เศรษฐกิจท�ำให้ ตัวเราต้องลองมองย้อนกับมาดูตัวเองให้ มากขึ้น ซึ่งพฤติกรรมอาจจะเป็นสิ่งที่บอก คุ ณ ค่ า ได้ ม ากกว่ า ชื่ อ หรื อ ความแปลก ประหลาด เหี้ยหายไปไหน? "ตัวเหี้ย" หรือ "ตัวเงิน ตัวทอง" เป็นสัตว์เลื้อยคลานด้วยรูปร่างที่ แปลกประหลาดและพฤติกรรมส่วนตัวของ มัน ท�ำให้ค�ำว่าตัวเหี้ยกลายเป็นภาษาที่ไม่ สุภาพในที่สุด แท้จริงแล้ว "เหี้ย" คือชื่อที่ถูก ต้อง แม้จะค�ำด่าทอที่ถูกเรียกในเชิงการค�ำ ศัพท์ใช้กับคน ทัง้ นีค้ ำ� ว่า "สัตว์" นัน้ ก็เสมือนคือสัญญา ลักษณ์ของธรรมชาติ เราคงนึกถึงทีท่ มี่ คี วาม สมบรูณบ์ นพืน้ ป่าทีเ่ ขียวขจี สัตว์ทำ� ให้ระบบ นิเวศของธรรมชาติสมบูรณ์และพึง่ พาอาศัย กัน ดั ง นั้ น จึ ง มี ค� ำ ถามเกิ ด ขึ้ น รอบๆริ ม ฝั ่ ง คลองว่า "เหี้ยหายไปไหน?" คลองบางบัวคือ คลองลาดพร้าวที่ทอด ยาว แต่ยงั มีคลองบางเหีย้ (ค�ำเรียกชาวบ้าน) ประกอบในนัน้ ด้วยเช่นกัน ชาวบ้านได้เรียก คลอง เหี้ ย ก็ เพราะ

" เ หี้ ย " เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่ ง คลองเหี้ ย ติ ด กั บ คลองบางบัว ฉ ะ นั้ น เ หี้ ย ก็ เ ส มื อ น สั ญ ลั ก ษณ์ ค วามสมบู ร ณ์ ข อง ล� ำ คลองชุ ม ชนบางบั ว เช่ น กั น แต่

ต่อจากหน้า 1 ปัจจุบันเป็นเรื่องยากที่เราจะพบเห็น"ตัว เหี้ย"ในล�ำคลอง ซึ่งก็หมายความว่าความ อุดมสมบูรณ์ของแม่น�้ำล�ำคลองที่เคยมีใน อดีตได้หายไป เพราะพฤติกรรมความมัก ง่ายของมนุษย์ ทิ้งขยะลงคลอง อันเป็นเหตุ ให้น�้ำเสีย พร้อมทั้งเสียระบบนิเวศที่มนุษย์ และสัตว์อยูร่ ว่ มกันได้ ท�ำให้การพึง่ พาอาศัย แม่นำ�้ ล�ำคลองน้อยกว่าในอดีต ทีส่ ามารถใช้ ประกอบในการอุปโภค บริโภค นางสาวณัฐชา โตค�ำนุช กล่าว่า "บริเวณ รอบๆริมคลองอดีตจะสังเกตุเห็นเหีย้ อยูบ่ อ่ ย ครั้ง เนื่องจากคลองนี้ติดกันเป็นระยะยาว ซึ่งอดีตน�้ำในคลองที่สะอาด แต่ปัจจุบันน�้ำ เสียมาก โดยทีไ่ ม่สามารถใช้ประโยชน์ได้เลย ตลอดทัง้ คลอง อาจเพราะพฤติกรรมทิง้ ขยะ ด้วยความมักง่ายของชาวชุมชนที่เป็นเหตุ และท�ำให้เหี้ยที่เคยอาศัยอาจจะอพยบย้าย ถิ่นฐานไปอยู่ที่อื่น" อีกทัง้ กรมป่าไม้กำ� หนดให้ตวั เงินตัวทอง หรือตัวเหี้ยเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองหรือสัตว์ สงวน ห้ามท�ำการฆ่าเพื่อน�ำหนังมาแปรรูป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ่ า งๆ จึ ง ท� ำ ให้ เ ป็ น สั ต ว์ เศรษฐกิจ ทีส่ ามารถน�ำมาประกอบอาชีพได้ ไม่ใช่สัตว์ที่น่ากลัวแต่อย่างใด "ตนก็ตอ้ งการให้ระบบนิเวศทีเ่ คยเป็นใน อดีตกลับมา ซึ่งตนก็มีการน�ำอาหารหรือ โครงไก่ ส ดให้ ตั ว เหี้ ย แต่ ก็ เ ป็ น ไปได้ ย าก เนือ่ งจากน�ำ้ เสียเป็นเวลามากว่า 10 ปี แล้ว ถ้าเรายังไม่ช่วยกันมากเท่าที่ควร" นางสาว ณัฐชา กล่าวต่อเรื่องนี้อีก ตัวเหี้ย หรือ ตัวเงินตัวทอง จะมีพฤติกรรม ที่แปลกประหลาด แต่เป็นสัตว์สัญลักษณ์ที่ แสดงความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติรมิ คลอง บางบัวในอดีตและปัจจุบันก็เป็นสัตว์เศรษฐกิจ ท�ำให้ตัวเราต้องลองมองย้อนกับมาดูตัวเองให้ มากขึน้ ซึง่ พฤติกรรมอาจจะเป็นสิง่ ทีบ่ อก คุณค่าได้มากกว่า ชื่อหรือความ แปลกประหลาด


4

จั น ทรเกษมโพสต์ C H A N D R A K A S E M P O S T

“ อานุภาพแห่งความจริง ”

ปีที่ 26 ฉบับประจ�ำเดือน มีนาคม พ.ศ. 2558

อากาศร้อนท�ำพิษ

จิ้งหรีดตายยกเล้า!! จิ้งหรีดที่ชาวชุมชุนบางบัวเพาะเลี้ยงประกอบราย ได้ไว้ตายล้มลง เหตุจากอากาศเปลีย่ นแปลง ท�ำให้ชว่ ง หน้าร้อนต้นเดือนมีนาคม เริ่มน�ำไข่จิ้งหรีดมาลง หวัง สร้างรายได้ให้ครอบครัว ภายในชุมชนบางบัว มีหนึ่งครอบครัวที่เพาะเลี้ยง จิ้ ง หรี ด เพื่ อ สร้ า งรายได้ แ ก่ ค รอบครั ว ซึ่ ง น� ำ มาจาก สุวรรณจิ้งหรีดฟาร์ม จังหวัดเพชรบูรณ์ แต่ที่ผ่านมาใน ช่วงเดือนกุมภาพันธ์สภาพอากาศมีการเปลีย่ นแปลง ซึง่ เป็นช่วงการเปลี่ยนฤดู ท�ำให้จิ้งหรีดล้มตายลงเพราะ อากาศร้อน ประกอบกับการไม่มีเวลาเพาะเลี้ยงของ เจ้าของ เนื่องจากมีธุระที่ต่างจังหวัด การเพาะเลี้ยง จิ้งหรีดจึงต้องหยุดชะงักในเดือนนี้ แต่คาดว่าอีกไม่กี่ เดือนก็สามารถน�ำกลับมาเพาะเลี้ยงเพื่อสร้างรายได้ให้ กับครอบครัวตนอีก นางสมนึก จันทร์ทา กล่าวว่า ตนเริ่มน�ำจิ้งหรีดมา เลี้ยงในชุมชนบางบัว จากสุวรรณจิ้งหรีดฟาร์ม เป็น กิจการฟาร์มเลี้ยงจิ้งหรีดรับ-ส่ง-ขาย ในชุมชมของตน แต่การตอบรับไม่ดีนักเพราะกลัวจิ้งหรีดอาจสร้างเสียง รบกวนให้แก่ตน แต่จากการทีต่ นเพาะเลีย้ งมาจะมีเสียง แค่ตอนจิง้ หรีดก�ำลังจะวางไข่ เพียงแค่สองวันเท่านัน้ ซึง่ ตนท�ำมาระยะหนึ่งก็ไม่มีปัญหาอะไรจึงอยากจะแนะน�ำ ชาวชุมชนคนอื่นให้เพาะเลี้ยงด้วย แต่ก็ยังไม่ได้รับการ ตอบรับเท่าที่ควร นางสมนึก จันทร์ทา อ้างอีกว่าร้อยโทสงวน พลอย ขาว หัวหน้าชุมชนได้ให้คำ� ปรึกษาและสนับสนุนให้เพาะ เลี้ยงต่อจนเป็นธุรกิจหลักเลี้ยงครอบครัว เพราะการ เพาะเลี้ยงจิ้งหรีดสามารถท�ำรายได้ กิโลกรัมละ120150บาท ซึง่ ตนขายได้80-90 กิโลกรัมต่อครัง้ ทีเ่ พาะเลีย้ ง แต่ล่าสุดจิ้งหรีดล้มตายยกเล้า เพราะอากาศร้อนท�ำให้ ตนขาดรายได้ในครัง้ นีไ้ ป อย่างไรก็ตามครัง้ ต่อไปก็ยงั จะ น�ำมาเพาะเลี้ยงใหม่ เนื่องจากท�ำรายได้ดีและเลี้ยงง่าย ถ้าไม่ประสบปัญหาทางสภาพอากาศ

วิกฤต : โรงเพาะเลี้ยงจิ้งหรีดภายในชุมชนบางบัว

คนเขียน คมคิด

จิตส�ำนึกที่ปลายมือ เริ่มต้นด้วยมือเรา

วิถีชุมชน : ชาวบางบัวออกมาเก็บขยะเป็นบางครัวเรือน

“อย่ามัวแต่คิดว่าใครจะเริ่ม? ควรเริ่มต้นจากที่ตัวเรา”พ่อหนุม่ สเปน แม้ ในปัจจุบัน เราจะพบเห็น การรณรงค์เรื่องความสะอาดตาม

แม่น�้ำคูคลอง ที่เห็นอย่างแพร่หลาย บางทีในการท�ำสิ่งนี้อาจเป็นแค่ฉาก หน้าเพื่อท�ำให้ตัวเองดูดี มีหน้ามีตา ในสังคม จนลืมไปว่าในย่านชุมชน แม่น�้ำล�ำคลองต้องมีการดูแลอย่าง จริงจัง สนับสนุนอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ปลูกจิตส�ำนึกในเยาวชนรุน่ ใหม่ทำ� จน เรื่องเป็นเรื่องปกติ การปลูกจิตส�ำนึกอาจจะคิดว่าเป็น เรื่องยากที่จะท�ำได้ในตอนนี้ เพราะ สภาพสังคมในแต่ละที่ การดูแลเลี้ยง ดูไม่เหมือนกัน ท�ำให้คิดว่าน่าจะยาก และเรือ่ งอย่างนีค้ อ่ นข้างละเอียดอ่อน แต่คิดว่าไม่น่ายากเกินที่เราจะเรียนรู้ และปฏิบัติตาม เพื่อให้ชุมชนของเรา น่าอยู่มากยิ่งขึ้น เพราะเรื่องอย่างนี้คิดว่าไม่ท�ำ คง ไม่เป็นไร แต่ยากลืมคิดไปว่า ถ้าเราไม่ คิดจะเริ่ม แล้วเมื่อไรเราจะเริ่มสักที อี ก อย่ า งชุ ม ชนที่ เ ราอยู ่ ก็ เ ปรี ย บ

เสมือนบ้านของเรา ถ้าเราไม่ดแู ลบ้าน ให้สะอาดเรียบร้อย คนก็ไม่อยากเข้า อยากเยี่ยมชม ชุมชนของเรา ถ้างั้น เราควรที่จะปรับเปลี่ยนทัศนคติ เปิด มุมมองให้กว่าขึ้น และเริ่มง่ายๆ จาก ที่ตัวเป็นคนเริ่มก่อน ถึงแม้การทิง้ ขยะแค่เพียงชิน้ สอง ชิน้ คิดว่าคงไม่เป็นอะไรหรอก แต่เมือ่ ลองคิดดู ถ้าคิดอย่างนี้กันสัก 10 คน ขยะ 1-2 ชิน้ ก็เพิม่ 20 ชิน้ และถ้าคิด อย่างนีส้ กั 100 คน ขยะเราก็ 200 ชิน้ นี่คงไม่ต้องพูดถึงทั้งชุมชน คงน่าจะ เห็นใจคนที่เก็บขยะแค่เพียงเล็กน้อย ถ้าอย่างนั้นแล้วเราจะยังปล่อยคู คลองใกล้บ้านเรา มีเศษขยะ ส่งกลิ่น เหม็นท�ำไม เราน่าจะช่วยกันคนไม้ คนละมือเก็บขยะ หรือไม่กจ็ ดั กิจกรรม คลีนนิ่งเดย์ไปเลย คิดกิจกรรมนี้ยัง เป็นท�ำความสะอาดชุมชน ได้พบปละ พูดคุยกับคนในชุมชน ท�ำให้เรา หรือ คนแก่ ไม่ให้มอี าการติดบ้านจนเกินไป และที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ยั ง สร้ า งความ สามัคคีในชุมชนไปในตัวอีกด้วย


จั น ทรเกษมโพสต์ C H A N D R A K A S E M P O S T

“ อานุภาพแห่งความจริง ”

ปีที่ 26 ฉบับประจ�ำเดือน มีนาคม พ.ศ. 2558

5

น�ำ้ เน่าเสีย ท�ำพิษ ชาวบ้านบางบัวงดปลูกผักบุง้ ชาวบางบัวกลัวอันตราย งดปลูกผักบุ้ง เนื่องจากน�้ำเน่าเสีย ด้านนักศึกษา แนะ ปลูกผักในตลิ่งช่วยระบบนิเวศในน�้ำดีขึ้น ช่วยเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น�้ำ จากที่ชุมชนบางบัวเป็นชุมชนติดคลอง การลงส�ำรวจสังเกตเห็นการปลูกผักบุ้งอยู่ เพียงเล็กน้อย การค้นประวัตขิ อ้ มูลอดีตของ ชุมชนบางบัวพบว่าเมื่อก่อนชุมชนบางบัวมี การปลูกผักบุ้งเพื่อการค้าและรับประทาน กั น เองตามหลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ ในหลวงแต่หลังจากสภาพน�้ำที่เน่าเสียจึง ท�ำให้การปลูกผักบุ้งลดน้อยลง อีกทั้งชาว ชุมชนบางบัวก็ไม่รับประทานผักบุ้งที่ปลูก กันเองเพราะกลัวจะเกิดอันตราย นางสาวมลธิตา สุขสาระ ชาวบ้านชุมชน ที่เคยค้าขายผักบุ้งในตลาด กล่าวว่า เมื่อ ก่อนตนปลูกผักอยู่ริมแม่น�้ำ น�้ำในคลองใส มากท�ำให้การเพาะปลูกเป็นไปได้งา่ ยและผัก ทีป่ ลูกดูสะอาดเมือ่ ก่อนตนขายผักได้กำ� ไรตก วันละ 200-300 บาทต่อวันแต่หลังจากทีน่ ำ�้ เริ่มเน่าเสียท�ำให้การปลูกผักเป็นไปได้ยาก

กินไม่ได้ : ตลอดแนวล�ำคลองบางบัวเต็มไปด้วยผักบุ้งที่ล้อมรอบไปด้วยน�้ำเน่าเสีย นายสุชาติ มีนิยม นักศึกษาคณะศึกษา ขึ้นและท�ำให้ตนเลิกท�ำอาชีพนี้ไป ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กล่าว ด้าน นายทวัชชัย สุขสรรค์ ชาวบ้านที่ ปลูกผักบุ้งในปัจจุบัน กล่าวว่า ผักบุ้งเป็นผัก ว่า การปลูกผักบุง้ ในคลอง ตนไม่ทราบว่าเก็บ ที่เจริญเติบโตได้ในทุกสภาพน�้ำการปลูกใน มากินแล้วจะเป็นอันตรายหรือไม่ แต่สงิ่ หนึง่ พื้นที่ ที่น�้ำเน่าเสียจึงไม่แปลกเพราะตนเอง ที่เห็นได้ชัดคือ ระบบนิเวศ ภายในน�้ำดีขึ้น ก็ปลูกอยูแ่ ละน�ำมารับประทานได้อยู่ ตนเคย ท�ำให้ปลาภายในน�้ำมีที่พักพิง ไว้วางไข่ และ น�ำออกไปขาย แต่ล้างท�ำความสะอาดให้ ช่ ว ยเป็ น แนวกั้ น ตลิ่ ง ไม่ ใ ห้ น�้ ำ แซะตลิ่ ง ภายในอนาคตคงท�ำให้ระบบนิเวศดีขึ้น เรียบร้อยก่อนน�ำไปจ�ำหน่าย

‘ศรีปทุม’ จุดเริ่มต้นการพัฒนาคูคลองชุมชนบางบัว มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้มกี ารจัดกิจกรรมในการพัฒนา เขตชุมชน ได้ท�ำการพัฒนาในพื้นที่ใกล้ๆ ชุมชนบางบัวก็ เป็นพื้นที่ ที่ทางมหาวิทยาลัยมาช่วยพัฒนาชุมชนเช่นกัน โดยมีนักศึกษาได้มีการปลูกต้นกก ในคลองบางบัว เพราะ มีคุณสมบัติในการบ�ำบัดน�้ำเสีย และปรับสมดุลนิเวศน์ วิทยา ในโครงการนี้ ในช่วงแรกมีการช่วยบ�ำบัดน�้ำเสียอยู่บ้าง แต่ช่วงน�้ำท่วมใหญ่เมื่อปี 54 ท�ำให้ต้นกกเหล่านั้น มีการล้ม ตายและหายไปค่อยข้างเยอะ จนปัจจุบนั พบเห็นได้นอ้ ยมาก แล้วในชุมชนบางบัวแห่งนี้ อีกทั้งการจะปลูกต้นกก ก็เป็น เรื่องล�ำบากเพราะน�้ำขึ้นมาสูงมากกว่าช่วงเมื่อก่อนหน้านี้ อีกทัง้ ขาดความสนใจของชาวชุมชนทีจ่ ะลงไปปลูกอีก ท�ำให้ เกิดน�้ำเน่าเสีย และมีขยะ ที่มีให้เห็นได้ในปัจจุบัน นางสาว นุชรี ประกายมุข นักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม ชั้นปีที่ 3 รองประธานชุมนุมพัฒนาชุมชน กล่าวว่า ตนท�ำ ตามนโยบายของชุมนุม ปลูกต้นไม้เพื่อการพัฒนา โดยการ ศึกษาตามชุมชนต่างๆว่ามีปัญหาอะไรบ้าง และต้นไม้อะไร ทีจ่ ะสามารถแก้ปญ ั หาได้ในระยะยาว และการปลูกต้นกกใน ชุมชนบางบัว รุ่นพี่ที่อยู่ชุมนุมเป็นคนคิดกิจกรรมและปลูก ขึ้นเพื่อการพัฒนาปัญหาน�้ำเน่าในชุมชน แต่ก็มีนักศึกษาที่ อยู่ในชุมนุมหรือรุ่นน้องในหลายๆรุ่นก็ติดตามดูแลและเฝ้า

ดูกิจกรรมทุกกิจกรรมที่ทางชุมนุมจัดขึ้น ล่าสุดทางชุมนุมมี กิจกรรมที่จะไปปรับทัศนียภาพในหลายๆชุมชนและชุมชน บางบัวก็อยูใ่ นรายชือ่ เช่นกัน ตนยังกล่าวต่ออีกว่าการลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจในแต่ละชุมชนดูอย่างปัจจัยในหลายๆปัจจัยเช่น น�ำ้ เน่าเสีย อากาศร้อน ฯลฯ เราจะใช้ตน้ ไม้ทสี่ ามารถแก้ปญ ั หา ในการปรับออกซิเจนในน�้ำเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาน�้ำเน่า นายศรายุทธ์ ศาตราเพชร นักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม ชัน้ ปีที่ 2 สมาชิกชุมนุมพัฒนาชุมชน กล่าวว่า ตนท�ำการปลูก ต้นไม้ในชุมชนมามากกว่า 100 ต้น ตนรู้สึกภูมิใจที่ได้เป็น ส่วนท�ำให้โลกร้อนน้อยลง และท�ำให้ชมุ ชนดีขนึ้ ตนกล่าวต่อ อีกว่าตนจะท�ำกิจกรรมของชุมนุมไปเรื่อยๆเพราะตนรักใน การช่วยเหลือสังคมและช่วยพัฒนา ต้นกกทีป่ ลูกอยูท่ ชี่ มุ ชน บางบัวตนก็เฝ้าดูแลอยู่อย่างต่อเนื่อง นายภาณุวิช แหลมทองหลาม ชาวชุมชนบางบัว กล่าว ว่า ในชุมชนบางบัวเห็นความเปลีย่ นแปลง ของต้นกก ทีช่ ว่ ย ในการบ�ำบัดน�้ำเสีย แต่ภายหลังที่เกิดน�้ำท่วมใหญ่ในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา ท�ำให้ต้นกกตาย และผลที่ตามมาอย่างเห็น ได้ชดั คือน�ำ้ ในบ่อเน่าเสีย อีกอย่างทางชุมชน ให้ความส�ำคัญ ในเรื่องความสะอาด เรียบร้อย กับคลองบางบัวน้อยลง จึง ปล่อยปละละเลย ไม่สนท�ำให้คลองเน่าเสีย เห็นขยะลอยเต็ม ไปหมด พบเห็นได้บ่อยจนคิดว่าเป็นเลยปกติไปเสียแล้ว


จั น ทรเกษมโพสต์ C H A N D R A K A S E M P O S T

6

“ อานุภาพแห่งความจริง ”

ปีที่ 26 ฉบับประจ�ำเดือน มีนาคม พ.ศ. 2558

ข่าวต่อ ต่อจากหน้า 1

เวนคืนรัฐ ผลส�ำรวจชุมชนคลองบางบัว ส�ำหรับ ปัญหาหลักของชุมชนคือการเวนคืนที่ดิน บริเวณเรียบคลองบางบัวซึ่งเป็นเรื่องที่ภาค รัฐมีโครงการมาก่อนหน้านีค้ อื โครงการปรับ ภูมิทัศตลอดสายคลองลาดพร้าว แต่ก�ำลัง เป็นเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อผู้เช่าอาศัยพื้นที่ ในละแวกสองฝัง่ คลองทีต่ อ้ งโยกย้ายถิน่ ฐาน ใหม่ ร้อยโทสงวน พลอยขาว ประธานชุมชน บางบัว เผยว่า การเวนคืนที่ดินจากรัฐบาล เพือ่ น�ำไปสร้างเขือ่ นกัน้ น�ำ้ ป้องกันปัญหาน�ำ้ ท่วม ในพื้นที่ชุมชนนี้ถือเป็นบริเวณที่อยู่ใน เขตการเรียกคืนที่ดิน โดยเฉพาะพื้นที่ที่ลุก ล�้ำริมคลองในตอนนี้ตนก�ำลังอยู๋ในขั้นตอน การเจรจลดย่อนกับหน่วยงานภาครัฐ เพื่อ ขอลดพื้ น ที่ รุ ก ล�้ ำ ทึ่ จ ะถู ก เวนคื น ส่ ว นค่ า ชดเชยหากมีการเรียกคืนทึด่ นิ จะชดใช้ให้ 2 กรณี คือ ค่าท�ำขวัญ และค่ารื้อถอน และ ประสานงานกับกระทรวงพัฒนาสังคมและ มนุษย์ในการหาทีอ่ ยูใ่ หม่ หากมีการเรียกคืน พื้นที่จากรัฐบาลขึ้นมาจริงๆ ด้านนางสาวไก่ (นามสมมุต)ิ หนึง่ ในชาว ชุมชนริมคลองบางบัว เผยถึงปัญหาดังกล่าว ว่า เดิมทีโครงการเวนคืนที่ดินนั้นมีมานาน แล้ว แต่การเวนทีด่ นิ คืนครัง้ นีต้ นไม่ทราบมา ก่ อ นเพราะมี ข ่ า วลื อ มาก่ อ นหน้ า นี้ เ ป็ น จ�ำนวนมาก และทางกรรมการของหมูบ้าน ไม่ได้มีการแจ้งชาวชุมชนแต่อย่างใด ตน ทราบข้อมูลทีแ่ น่ชดั จากข่าวทางโทรทัศน์ถงึ โครงการเวนคืนที่ดินริมคลอง 7 สาย ที่จะ น�ำไปท�ำโครงการของรัฐ โดยรายละเอียด ของข้อมูลตนไม่ได้รับการชี้แจงใดๆ นางสาวไก่ (นามสมมุติ) กล่าวต่ออีกว่า ที่ ดิ น บริ เ วณนี้ เ ป็ น ที่ ดิ น เช่ า โดยในส� ำ เนา ทะเบี ย นบ้ า นจะตี ป ั ๊ ม ว่ า “ทะเบี ย นบ้ า น ชั่วคราว” ซึ่งหากภาครัฐจะเข้ามาเวนที่ดิน คื น ตนก็ ยิ น ยอมที่ จ ะโยกย้ า ยออกตาม ระเบียบ หากแต่ตนต้องการค�ำชี้แจ้งต่างๆ ทั้งจากภาครัฐและทางกรรมการชุมชน ถึง รายละเอี ย ดการชดเชยต่ า งๆที่ มี ใ ห้ ช าว ชุมชน เพราะทีผ่ า่ นมามีขา่ วลือต่างๆออกมา มากมายแต่ก็ยังขาดคนออกมาชี้แจงหรือ หลักประกันใดมายืนยัน “ที่ดินฝั่งคลองชุมชนบางบัวเป็นที่ดินรัฐ เขาจะมาเอาคืนเราก็ต้องยอม แต่เห็นว่าจะ

มีคา่ ชดเชยให้ ป้าก็ไม่รวู้ า่ จะได้เท่าไร เขาจะ มีที่ทางให้ย้ายไปอยู่เหมือนครั้งที่แล้วก็ไม่รู้ เพราะไม่มีใครพูดอะไรเลย คนที่ประชุมก็ ประชุมแต่กรรมการไม่มีใครบอกอะไรชาว บ้านเลย” ทั้งนี้ จะด�ำเนินการก่อสร้างเขื่อนทั้ง 2 ฝั ่ ง ตลอดแนวคลอง เป็ น ระยะทาง 24 กิโลเมตร ต้องการความกว้างคลองที่ 38 เมตรตลอดแนว จ�ำเป็นต้องมีการเวนพื้นที่ คืน โดยจะเริ่มจากด้านเหนือของกรุงเทพฯ คือคลองลาดพร้าว ทีบ่ ริเวณคลองสองพืน้ ที่ สายไหม ผ่ า นพื้ น ที่ เ ขตดอนเมื อ ง เขต บางเขนมีชอื่ ว่า คลองถนน จากนัน้ เข้าพืน้ ที่ เขตจตุจกั ร คือคลองบางบัว คลองลาดพร้าว ในพื้นที่เขตห้วยขวางและไปบรรจบที่คลอง แสนแสบบริเวณบางกะปิ ส�ำหรับโครงการดังกล่าว จ�ำเป็นต้องรื้อ ถอนย้ายบ้านเรือนที่รุกล�้ำเข้ามาตามแนว คลอง โดยจากการส�ำรวจเบื้องต้น คลอง ลาดพร้ า วผ่ า นพื้ น ที่ 8 เขต ได้ แ ก่ เขต ห้วยขวางมีบ้านเรือนรุกล�้ำ 792 หลัง เขต จตุจกั ร 1,063 หลัง เขตหลักสี่ 818 หลัง เขต ดอนเมือง 279 หลัง เขตสายไหม 1,383 หลัง เขตลาดพร้าว 25 หลัง เขตวังทองหลาง 29 หลัง และเขตบางเขน ซึ่งรวมบ้านรุกล�้ำ ทั้งหมดจ�ำนวนกว่า 3,000 หลังคาเรือน มี ประชากรจ�ำนวนกว่า 13,900 คน

ตามขนาดพืน้ ทีข่ องชาวบ้าน หากในอนาคต มีการเรียกคืนที่ดินจากรัฐบาล จะมีการจ่าย ค่าชดเชยให้กบั ชาวบ้านตามความเหมาะสม "ทางชุมชนมีโฉนดที่ดินรวมของชุมชน เพื่อยืนยันว่าชุมชนที่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยทางมหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นผูอ้ อกแบบ ตัวบ้านให้ชาวบ้านในชุมชน" ร้อยโทสงวน กล่าว นายมานิต ศรีสวัสดิ์ อาสาสมัคร ชุมชน สามัคคีรวมใจ ชุมชนใกล้เคียงชุมชนบางบัว กล่าวว่า การเช่าที่ดินเพื่อสร้างบ้านภายใน ชุมชนสามัคคีรวมใจและชุมชนบางบัว เป็น โครงการของกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ ผ่านองค์การพัฒนา ชุมชน โดยจะต้องจ่ายค่าเช่าทีด่ นิ ทุกๆเดือน ตามขนาดพื้นที่ของแต่ละครอบครัว แม้ว่า จะผ่อนเงินค่าสร้างบ้านหมดแล้ว ซึ่งแต่ละ ชุ ม ชนจะมี โ ฉนดที่ ดิ น ของชุ ม ชน เพื่ อ เป็นการยืนยันว่าเป็นชุมชนที่ถูกต้องตาม กฎหมาย หากมีการเรียกคืนทีด่ นิ จากรัฐบาล แต่ชาวบ้านหลายคนคงไม่เห็นด้วยหากมี การเรียกคืนที่ดินอย่างกะทันหัน "เพื่อประโยชน์แก่ชาวบ้าน หากมีการ เรี ย กคื น ที่ ดิ น แบบไม่ ไ ด้ ตั้ ง ตั ว อาจส่ ง ผล กระทบต่อชาวบ้านในชุมชนทั้งหมด เพราะ คงเป็นเรือ่ งล�ำบากมากในการหาพืน้ ทีใ่ หม่ให้ ชาวบ้าน" นายมานิต กล่าว อย่างไรก็ตาม จากการสอบถามชาวบ้าน ภายในชุ ม ชน พบว่ า ชาวบ้ า นในชุ ม ชน ต่อจากหน้า 1 บางบัวจ่ายเงินผ่อนทั้งเงินที่ใช้สร้างบ้าน และค่าเช่าทีด่ นิ ยังไม่มปี ญ ั หาเรือ่ งค่าใช้จา่ ย แต่ชาวบ้านหลายคนยังกังวลในเรื่อง การ เนือ่ งจากวันที่ 17 มีนาคม บริเวณชุมชน เรียกคืนที่ดินจากรัฐบาลอยู่ บางบั ว เขตบางเขน กรุ ง เทพฯ ได้ มี ก าร ส� ำ รวจความเป็ น อยู ่ ข องชาวบ้ า นภายใน ชุมชนบางบัวและชุมชนสามัคคีรวมใจ ต่อจากหน้า 1 ร้อยโทสงวน พลอยขาว ประธานชุมชน บางบัว กล่าวว่า ชุมชนบางบัว และชุมชน สามัคคีร่วมใจ ซึ่งเป็นชุมชนใกล้เคียงเป็น ชุมชนที่ ก่อตัง้ มานาน โดยตนนัน้ ไม่ใช่คนใน จากกรณีทที่ างชุมชนบางบัวเป็นชุมชนที่ พืน้ ที่ แต่มาอยูใ่ นชุมชนนีต้ งั้ แต่ ปี พ.ศ.2517 มีที่ดินเป็นของภาครัฐซึ่งปล่อยมีการเช่า โดยโครงการ"บ้านมัน่ คง" เกิดจากการทีช่ าว พื้นที่ในการสร้างที่อยู่อาศัยตั้งแต่การปรับ บ้ า นในพื้ น ที่ ร วมตั ว กั น ตั้ ง เป็ น กลุ ่ ม ออม โยกย้ายกระจายประชากรทีแ่ ออัดของชุมชน ทรัพย์ กระจายไปตามชุมชนต่างๆภายใน ครั้งก่อน ซึ่งมีการตั้งสหกรณ์เพื่อเก็บเงิน กรุงเทพฯ ให้ชาวบ้านกู้ในการสร้างบ้าน อ้อมจากผู้ที่เช่าพื้นที่ และน�ำเงินในส่วนนี้ หลังละ 150,000 บาท ผ่อนส่งรายเดือนผ่าน ปล่อยให้คนในชุมชนกู้เพื่อน�ำไปสร้างที่อยู่ ประธานหรือคณะกรรมการของชุมชน ส่วน อาศัยส�ำหรับรายใหม่ต่อไป ที่ดินภายในชุมชน ชาวบ้านจะต้องแยกจ่าย นาย ไข่ (นามสมมุติ) เผยว่าตั้งแต่ที่ต้น เป็นรายเดือนเฉลี่ยเดือนละ 50-100 บาท อยู่ในชุมชนนี้มาตนได้จ่ายเงินออมให้แก่

โฉนดถูก กม.

สหกรณ์บางบัว


จั น ทรเกษมโพสต์ C H A N D R A K A S E M P O S T

สหกรณ์มาโดยตลอดโดยตัดจ่ายเป็นราย เดือนทั้งค่าเช่าและค่าส่วนกลางที่มีราย ละเอียดเรียกเก็บ แต่ไม่เคยได้ขอดูเอกสาร หรือข้อมูลเกี่ยวกับยอดเงินเลย นาย ไข่ กล่าวต่ออีกว่า เรื่องการเก็บ เงิยของคณะกรรมการในชุมชน โดยไม่เคย มีใครขอตรวจสอบแต่อย่างใด หน�ำซ�ำ้ ยอด การเรียกเก็บเงินรายเดือนที่วัดจากพื้นที่ เช่าเป็นตารางวา ของพื้นที่บ้านก็เพิ่มขึ้น โดยไม่ได้มีการให้รายละเอียดใด ทั้งนี้ค่าเช่าที่เพิ่มขึ้นนั้น แต่เดิมกรม ธนาลักษณ์เป็นคนเรียกเก็บเงิน โดยขึน้ อยู่ กับพื้นที่โดยอยู่ในราคา ตารางว่าละ 18 บาท แต่ปจั จุบนั ด้วยราคาอยูท่ ตี่ ารางวาละ 50 บาทโดยมีสว่ นต่างทีเ่ พิม่ ขึน้ ถึง 32 บาท ตั้งแต่ที่มีการเริ่มเปลี่ยนมาจ่ายตรงเข้าสู่ ระบบสหกรณ์ ซึ่ ง ตนยั ง คงไม่ เ ห็ น เงิ น จ�ำนวนที่เก็บนี้น�ำออกมาสรา้งประโยชน์ ใดๆแก่ชุมชนเลย อย่างไรก็ตามในกรณีการจ่ายเงินค่า เช่าที่สหกรณ์ หากมีผู้ใดฝ่าฝืนไม่จ่ายตาม ก�ำหนดก็จะถูกส่งฟ้องตามสัญญาเช่าที่ท�ำ ขึน้ ซึง่ จะเข้าสูก่ ระบวนการทางศาล แต่สงิ่ ที่น่าสังเกตุคือ ทางชุมชนต้องมีประชากร บ้างส่วนที่ต้องโยกย้ายออกจากพื้นที่จาก กรณีการเวนคือที่ของภาครัฐ ชาวชุมชน กลุ่มนี้เองจะได้รับสิทธิ์ชดเชยใดๆหรือไม่ จากการเข้าร่วมสหกรณ์ที่ผ่านมา ทางทีม ข่าวจะติดตามกรณีดังกล่าวต่อไป

ห้องสมุด 2 ชม. จากการลงพื้นที่ท�ำข่าว ะพบปัญหา ที่ทางชาวบ้านในชุมชนแจ้งมาว่า ทาง ห้องสมุดในชุมชนที่ไม่มีผู้ดูแล และจะ เปิดเพียงวันละ 2 ชั่วโมงต่อวัน ในเวลา 12.00-14.00น. ซึ่งเป็นเวลาที่น้อยมาก ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ต ้ อ งการจะใช้ บ ริ ก าร นายสุรยิ า ชีวพิทกั ษ์ผล นักเรียนโรงเรียน บางบัว เผยกับผู้สื่อข่าวว่า ตนมักจะหา ที่ ท� ำ การบ้ า นโดยหวั ง พึ่ ง ที่ ห ้ อ งสมุ ด ชุมชน แต่เวลาเปิดท�ำการของห้องสมุด นัน้ น้อยมาก ท�ำให้ตนท�ำการบ้านไม่เสร็จ และห้องสมุดนัน้ มีหนังสือไม่พอกับความ ต้องการ บางที่เวลาตนอยากจะหาที่พัก ผ่อนอ่านหนังสือมีเวลาไม่พอเพราะต้อง คอยดูเวลาตลอด ท�ำให้ตนไม่มีสมาธิกับ การอ่านหนังสือตนจึงอยากให้ห้องสมุด ภายในชุมชนเปิดให้บริการนานกว่านี้

“ อานุภาพแห่งความจริง ”

ปีที่ 26 ฉบับประจ�ำเดือน มีนาคม พ.ศ. 2558

7

ผักเพื่อชุมชน : ปลูกโดยลุงสมจิตรแต่คนทั้งชุนชมสามารถมาเก็บไปประกอบอาหารได้ทุกคนที่อยู่ในบางบัว

ลุงสมจิตรยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

ตามปรัชญาพ่อหลวงท�ำ“สวนผักดาดฟ้า” ทีมข่าวจันทรเกษมโพสต์ ได้ลงพื้นที่ ตรวจสอบภายในชุมชนพบว่าชุมชนบางบัว มีโครงการปลูกผักบนดาดฟ้าตามปรัชญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย งของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั ฯ มีการน�ำพืชผักสวนครัวมา ปลูกด้วยปุย๋ คอกโดยไม่ใช้สารเคมี อีกทัง้ ยัง น�ำโครงการชั่ง หัวมันเข้า มาปลูกภายใน ชุมชน นายสมจิตร แก้วอยู่ รองประทานกองทุน หมู บ ้ า นบางบั ว เผยว่ า ตอนเด็ ก ตนไม่ มี โอกาสได้ศึกษา จึงได้ช่วยพ่อแม่ปลูกพืชผัก กินผักทีป่ ลูกหากมีพนื้ ทีน่ อ้ ย มีแปลงผักน้อย แนะน�ำว่าให้ปลูกผสมผสานลงไปในแปลง เดียวกันเลย โดยควรเลือกผักที่มีอายุใกล้ เคียงกัน เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการแปลง ส�ำหรับพืชล้มลุกอายุยืน เพื่อให้สะดวกใน การดูแลรักษา และป้องกันการผสมพันธุก์ นั โดยควรหมัน่ ตัดแต่งอยูเ่ สมอ เพราะพืชชนิด นี้ ห ากตั ด แล้ ว จะแตกใหม่ สามารถใช้ ไ ด้ ตลอด ที่ส�ำคัญไม่ควรปล่อยทิ้งไว้จนมีดอก แก่ เพราะอาจจะท�ำให้มีแมลงวันทองมา รบกวน และแพร่ ก ระจายไปยั ง ต้ น อื่ น สวนครัวตนได้เข้ามาอยูก่ รุงเทพฯ ตนได้ น�ำประสบการณ์ในการปลูกผักมาใช้ภายใน ชุมชนของตนเอง ก่อนที่จะวางแผนในการ ปลู ก สิ่ ง ส� ำ คั ญ หลั ก ส� ำ คั ญ คื อ การปลู ก พื ช หมุนเวียนและการปลูกพืชต่างๆชนิดกันไว้ ในแปลงใกล้ๆกันเพือ่ ป้องกันปัญหาแมลงมา

ยกเว้นแต่ว่าตั้งใจจะเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ปลูก ต่อ แต่สงิ่ ทีส่ ำ� คัญยังขาดแรงสนับสนุน จาก ชาวชุมชุนด้วยกัน ตนกล่าวต่ออีกว่า ตนยังได้น�ำโครงการ ชั่ ง หั ว มั น ตามพระราชด� ำ ริ เข้ า มาปลู ก ภายในชุมชน เพราะปลูกง่ายและดูแลไม่ ยาก ท�ำให้ได้หาพื้นที่ในการเพาะปลูกใน พืน้ ทีช่ มุ ชน จนได้ทบี่ นดาดฟ้าของสถานทีร่ บั เลี้ยงเด็กในชุมชนบางบัว ในการเพาะปลูก ผักครัง้ นี้ ท�ำมา 9 เดือนกว่าแล้ว ทัง้ ยังน�ำผัก ไปแจกจ่ายชาวบ้าน หรือชาวบ้านก็สามารถ เก็ บ ผั ก เหล่ า นั้ น ไปได้ อี ก ด้ ว ย แต่ ต ้ อ งขอ อนุญาตคุณลุงก่อน ร้อยโทสงวน พลอยขาว ประธานชุมชน บางบัวเผยว่า “สวนผักดาดฟ้า” ที่คุณลุง สมจิตร แก้วอยู่ ปลูกนั้น ในบางครั้งลุงก็น�ำ ผักมาแบ่งให้คนภายในชุมชน แต่ถ้าหากไม่ เจอคุณลุงสมจิตรเราก็สามารถขึน้ เก็บผักได้ พอลุงกลับมาก็ไปบอกลุงให้รวู้ า่ ได้ขนึ้ ไปเก็บ ผักบนดาดฟ้า พืชผักสวนครัวที่ลุง สมจิตร ได้ปลูกนั้นตนเห็นว่าเป็นสิ่งที่ดีเป็นต้นแบบ ของเยาวชนภายในชุมชนทีส่ นใจในเรือ่ งพืช ผั ก สวนครั ว คิ ด ว่ า เป็ น ความคิ ด ที่ ดี ที่ มี โครงการนี้ภายในชุมชน ตนยังสนับสนุน โครงการปลูกผักบนดาดฟ้า เพราะเป็นการ ปลูกฝังทางด้านความคิดและการเป็นอยู่ แบบพอเพียงให้แก่คนรุน่ หลัง อีกทัง้ เป็นการ ลดค่าใช้จ่ายภายในชุมชน


จั น ทรเกษมโพสต์ C H A N D R A K A S E M P O S T

8

“ อานุภาพแห่งความจริง ”

ปีที่ 26 ฉบับประจ�ำเดือน มีนาคม พ.ศ. 2558

เนียน-ปังเก็บขวดขายช่วยยายลดภาระ

งเบา : ่นสองพี งร่วมแรงแข่ นเก็บขวดขายแบ่ งเบาภาระขอบครัววในขณะที กง่ากยง่าย แบ่งเบาแบ่: สองพี ้องร่​่นว้อมแรงแข่ งขันเก็งบขัขวดขายแบ่ งเบาภาระของครอบครั ในขณะที่ค่คลองเต็ ลองเต็มมไปด้ ไปด้วยขยะจากน� วยขยะ จากน�้ำมื้ำอมืคนมั อคนมั

สอง

พี่น้องพายเรือเก็บขวด-ขยะ ในคลองบางบัวส่งต่อให้ยายขาย สร้างราย ได้ จุ น เจื อ ครอบครั ว ชาวชุมชนเผยเป็น กิจกรรมประจ�ำของทั้งคู่หลังเลิกเรียน วันที่ 18 มี.ค.บริเวณ ชุมชนบางบัว แขวง อนุสาวรีย์ เขตบางเขน พบเด็กชาย 2 คน พายเรือเก็บขวดในคลองบางบัว จึงได้เข้า ถามความเป็นมาของกิจกรรมดังกล่าว ด.ช.ภูมิไทย แจ่มสาคร หรือน้องเนียน หนึ่งในเด็กเก็บขวดให้ข้อมูลว่า ตนใช้เวลา ว่าง หลังเลิกเรียนหรือวันหยุด ในการเก็บ ขวด ส่วนมากจะเป็นกิจกรรมเก็บขวดไป และเล่นน�ำ้ กับน้องควบคูไ่ ปด้วย เมือ่ น�ำขวด ไปให้ยายก็จะได้ค่าขนมบ้างมาแบ่งกับน้อง บางวันก็อาศัยทานข้าวที่บ้านของนางราตรี โดยตนเรียกว่าแม่เหมา เพราะดูแลตนมา ตั้งแต่เด็ก ด.ช.ภูมิไทย หรือน้องเนียน กล่าวต่ออีก ว่า ไม่ได้มแี ต่เพียงตนและน้องทีอ่ อกมาเก็บ ขวด บางครั้งที่ตนและเพื่อนคนอื่นๆที่มา เล่นน�ำ้ ตนและเพือ่ นก็จะพากันช่วยเก็บขวด ที่ลอยมาตามน�้ำเช่นกัน ด้ า นนางสาวณั ฐ ชา โตค� ำ นุ ช ชุ ม ชน บางบัว เผยว่า เด็กชายทั้งสองคนเป็นพี่-

น้องกัน ด.ช.ภูมิไทย แจ่มสาคร (เนียน) ป.4 และ ด.ช.นพนันท์ แจ่มสาคร (ปัง) ป.2 ทั้งคู่ ก�ำลังศึกษาที่โรงเรียน ไทยนิยมสงเคราะห์ ทัง้ คูจ่ ะใช้เวลาว่างหลังจากเลิกเรียนและวัน หยุดเพื่อพายเรือเก็บขวดที่เป็นขยะลอยใน คลองชุ ม ชนบางบั ว รวบรวมเพื่ อ น� ำ ไปให้ นางราตรี พันธุเ์ ผือก ผูเ้ ป็นยายน�ำไปขายต่อ เป็นเงินมาเลี้ยงดูทั้งคู่ กล่าวต่ออีกว่า แต่เดิม นางราตรี เป็นผู้ เลี้ยงดู เนียนและปัง มาตั้งแต่เด็ก แต่ทั้งคู่ พักอาศัยอยูก่ บั พ่อ-แม่ ซึง่ อย่างใกล้เคียงกัน แต่เด็กทั้งสองคนมักจะมาอาศัยทานอาหาร ที่บ้านของ นางราตรี เป็นส่วนใหญ่ อีกทั้ง นางราตรีไม่มีรายได้หลักจากการท�ำงาน การทีเ่ ด็กทัง้ คูเ่ ก็บขวดมาให้เพือ่ น�ำไปขายถือ เป็ น การแบ่ ง เบาภาระค่ า ใช้ จ ่ า ยได้ บ ้ า ง เพราะยิง่ ในช่วงเวลานีเ้ ป็นช่วงปิดเทอม เด็ก ส่วนมากจะพากันติดเกมส์คอมพิวเตอร์และ ชวนกันไปใช้บริการร้านเกมส์ในชุมชนใกล้ เคียง นางราตรี พันธุ์เผือก ยายของเด็กชาย ทัง้ สอง กล่าวว่า เด็กทัง้ คูอ่ ยูใ่ นการดูแลของ ตนมาตั้งแต่เด็ก เด็กทั้งคู่จะน�ำขวดที่ได้จาก การเก็บมามอบให้ประจ�ำเพื่อที่ตนจะน�ำไป

ขายต่อโดยมีพ่อค้ามารับซื้อถึงที่บ้าน เงิน บางส่วนตนก็ได้น�ำมาเป็นค่าขนมให้กับทั้ง สองคนเพราะดูแล้วเด็กทั้งคู่มีความขยัน และกตัญญู กล่าวต่ออีกว่า เด็กทั้งคู่มักจะมาทาน ข้าวทีบ่ า้ นเป็นประจ�ำ ตนก็เลีย้ งดูเพราะเป็น ลูกหลาน และการเก็บขวดมาขายของเด็กทัง้ สองก็เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เป็นการปลูกจิตส�ำนึกให้ตัวเด็กรักล�ำคลอง บางบัว เพราะเหลือคนไม่มากแล้วที่จะออก มาเก็บขยะเพื่อให้คลองกลับมาสะอาด อีก ทั้งหากตัวเด็กเองไม่มีกิจกรรมดังกล่าว เด็ก ก็อาจจะน�ำเวลาว่างไปท�ำอย่างอื่นที่ไม่เกิด ประโยชน์ อาทิ การติดเกมส์คอมพิ​ิวเตอร์ ยาเสพติด ฯลฯ จากการเก็บข้อมูลจากชาวชุมชน เพิ่ม เติ ม จึ ง ทราบว่ า แต่ เ ดิ ม ชาวชุ ม ชนมี ก าร รณรงค์เก็บขยะในล�ำคลอง แต่ในภายหลัง ขาดการเอาใจใส่ เพราะมีผู้ลักลอบทิ้งขยะ มากขึ้น แต่ก็ยังพบบางบ้านที่ออกมาเก็บ ขยะเช่ น กั น แต่ ที่ เ ห็ น เก็ บ เป็ น ประจ� ำ คื อ น้องเนียนและน้องปัง แต่ก็ยังไม่มีภาครัฐ หรือหน่วยงานใดเข้ามาสนับสนุนเด็กทั้ง สองคน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.