13 ลื้นค้น

Page 1

"ลื้อค้น"

TAILUE DECEMBER 2017

TAILUE

เปิดประตู สูต ่ �ำนาน ถิ่นโบราณ "ไทลื้อ" ตามหาประวัติในต�ำนาน ถิ่นโบราณร่วมสมัย "ไทลื้อ" ชาติพันธุ์ที่ไม่เคยสูญสิ้น และจางหาย สืบสาน ตำ�นาน งานศิลป์ ถิ่นไทลื้อ


ปัจจุบันประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ที่เข้ามาอาศัยอยู่ รวมกันเป็นกลุม่ ๆ ในประเทศไทยของเรา ท�ำให้มวี ฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีต่างๆ มากมายให้เราได้ชมและศึกษา ซึ่งชาวลื้อหรือไทลื้อ ก็เป็นอีกกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งที่มีถิ่นอาศัยอยู่ในประเทศไทยเหมือนกับ กลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ แต่ชุมชนของชาวไทลื้อถือเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง มีการรวมกลุม่ กันจัดกิจกรรมเพือ่ กระชับความสัมพันธ์ในชุมชนอยูเ่ สมอ “ลื้อค้น” ชื่อนิตยสารที่หนึ่งในคณะผู้จัดท�ำได้คิดขึ้น และทุกคน ก็เห็นด้วยทีจ่ ะใช้ชอื่ นี้ ซึง่ ค�ำๆ นีก้ ค็ งท�ำให้ใครหลายคนคิดกันอยูไ่ ม่นอ้ ย ว่ามีความหมายว่าอย่างไร ค�ำว่า “ลื้อ” มาจาก “ชาวไทลื้อ” ที่ตั้ง ถิ่นฐานอยู่ที่แคว้นสิบสองปันนา ทางตอนใต้ของประเทศจีน มีเมือง เชียงรุ่งเป็นเมืองหลวง ซึ่งต่อมาพบว่ามีการเคลื่อนย้ายผู้คนมาเพื่อ ท�ำการค้าขาย ติดตามญาติพี่น้อง หาแหล่งที่ท�ำกินใหม่ ในปัจจุบันมี กลุม่ ชาติพนั ธุไ์ ทลือ้ กระจายอยูใ่ นเขตจังหวัดน่านของพวกเราด้วยครับ ส่วนค�ำว่า “ค้น” นั้นทุกคนก็คงจะทราบความหมายกันดีอยู่แล้ว ว่าหมายถึง การพยายามหาให้พบโดยวิธีสืบเสาะแสวง ซึ่งพอน�ำมา รวมกันแล้วก็อาจจะหมายถึง การค้นหาชาวไทลือ้ ซึง่ พวกเราอยากจะ น�ำเสนอ ประวัตคิ วามเป็นมา วิถชี วี ติ ความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว ของชาวไทลื้อให้ทุกท่านได้รับรู้กันครับ แล้วเราจะรออะไรกันครับเรามา “ลื้อค้น” ไปพร้อมๆ กันดีกว่า เชาว์วัตน์ ปิงยศ บรรณาธิการ “ลื้อค้น” MAGAZINE


ลื้อค้น History

4

ออกตามหาลื้อค้น "ค้นหาลื้อ"

ลื้อค้น Culture

6

สานสัมพันธ์แห่งวัฒนธรรมไทลื้อ

ลื้อค้น Travel

12

ขึ้นเหนือตามหาลื้อ

The Great of the King

14

พระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่

l TAILUE ลื้อค้น l บรรณาธิการ เชาว์วัตน์ ปิงยศ กราฟิก ชญานิน ต๊ะเฮิง ภาพถ่าย กนกพร จันค�ำ , ศิรินภา โฟโต้ พิสูจน์อักษร กฤษฎาภรณ์ นะพิชัย , ศิริลักษณ์ ยะวิญชาญ ที่ปรึกษา ยุทธนา กันทะสอน , วีระวรรณ คฤหานนท์


" ลื้อค้น

History "

TAILUE

DECEMBER 2017

44

ภาพ : ชญานิน ต๊ะเฮิง


ออกตามหาลื้อค้น

ค้นหา "ลื้อ"

ภาพ : กนกพร จันค�ำ

5

DECEMBER 2017

การกระจายไปใน รัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์ เรียกชือ่ ตามเมืองทีอ่ ยูอ่ าศัย เช่น ลื้อเชียงตุง ลื้อเมืองยอง ส่วนการอพยพครั้งส�ำคัญของชาวไทลื้อ สูล่ า้ นนาเป็นการกวาดต้อนผูค้ นจากสิบสองปันนา เมืองเชียงตุง เมืองยอง ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 เพื่อช่วยฟื้นฟูบ้านเมืองในเขตจังหวัดเชียงใหม่ ล�ำพูน ล�ำปาง หรือเรียกว่า "ยุคเก็บผักใส่ซ้า (ตะกร้า) เก็บข้าใส่เมือง" ต่อมาพบว่ามีการเคลือ่ นย้ายผูค้ นตามมาภายหลังเพือ่ ท�ำการค้าขาย ติดตาม ญาติพนี่ อ้ ง หาแหล่งทีท่ ำ� กินใหม่ ในปัจจุบนั มีกลุม่ ชาติพนั ธุไ์ ทลือ้ กระจาย อยู่ในเขตจังหวัดแพร่ เชียงราย เชียงใหม่ น่าน ล�ำปาง พะเยา ล�ำพูน และภาคเหนือของประเทศลาว จังหวัดน่านก็เป็นอีกหนึ่งจังหวัด ที่มีกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ เข้ามา ตัง้ ถิน่ ฐาน โดยเฉพาะ กลุม่ ชาติพนั ธุ์ “ไทลือ้ ” ทีม่ อี ยูท่ วั่ จังหวัดน่านครอบคลุม ถึง 6 อ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอท่าวังผา ปัว เชียงกลาง ทุ่งช้าง สันติสุข และสองแคว มีชุมชนชาวไทลื้อประมาณ 63 ชุมชน ชาวไทลื้อนับถือพุทธศาสนาร่วมกับความเชื่อเรื่องผีโดยเฉพาะผีบ้าน ผีเรือน ผีเจ้านาย ผีอารักษ์ ซึ่งเป็นความเชื่อดั้งเดิมก่อนการนับถือ พุ ท ธศาสนาต่ อ มาได้ ผ สมผสานความเชื่ อ ระหว่ า งพุ ท ธศาสนากั บ การนับถือผี เช่นเดียวกับกลุม่ ชาติพนั ธุอ์ น่ื ในล้านนา ดังทีป่ รากฏในประเพณี พิธีกรรมส�ำคัญในท้องถิ่น ทั้งพุทธศาสนา และการเลี้ยงผี ในปัจจุบัน ก็จะมีพธิ กี รรมทีย่ งั พบเห็นได้อยูค่ อื การบวงสรวงเจ้าหลวงเมืองล้า ซึง่ จะ จัดขึ้นทุกๆ 3 ปี

TAILUE

วันนีเ้ ราได้มโี อกาสมาเทีย่ ว ทีช่ มุ ชนไทลือ้ บ้านดอนมูล อ.ท่าวังผา จ.น่าน ในขณะที่เราได้เดินเที่ยวรอบๆ ชุมชน เราได้สังเกตเห็นคุณยาย ท่านหนึ่งที่แต่งกายแปลกตาดูไม่เหมือนคนทั่วไป ท�ำให้พวกเราสะดุดตา จึงเดินเข้าไปทักทาย ท�ำให้ได้รู้จักคุณยาย ซึ่งคุณยายชื่อ ค�ำหล้า อินปา ชื่อเล่น ยายหล้า หรือแม่อุ้ยหล้า ยายหล้าได้บอกเราว่า "ตอนนี้ยายอายุ 85 ปี แล้ว อยู่ที่บ้านคนเดียว ลูก หลาน ก็ไปท�ำงานที่ต่างอ�ำเภอบ้าง ต่างจังหวัดบ้าง ถ้ามีโอกาสก็จะมาเที่ยวหา ยายเป็นคนที่โชคดีคนหนึ่งที่ ไม่มีโรคประจ�ำตัวที่ร้ายแรง ยังสามารถไปไหนมาไหนได้สะดวก แต่ก็จะ ปวดเอว หรือนั่งกับพื้นไม่ค่อยได้ ตามอายุของคนแก่" จากนั้นยายหล้า ก็พาเราเดินไปที่วัด ในระหว่างทางที่เดินไปนั้น เราได้สอบถามถึงชีวิต ความเป็นอยู่ของยายหล้าในสมัยก่อน ยายหล้าได้เล่าให้เราฟังว่า "ยาย เป็นคนทีน่ ตี่ งั้ แต่เกิด ไม่ได้ยา้ ยไปไหนมาไหนเลย ในสมัยก่อนแม่ของยาย เป็นผู้ที่ใกล้ชิดกับเจ้าหลวงเมืองล้า (ผู้ปกครองชาติพันธุ์ไทลื้อ) ในขณะที่ เจ้าหลวงเมืองล้าเสร็จจากศึกสงคราม เจ้าหลวงเมืองล้าก็จะเรียกหาแม่ ของยายให้ไปบีบ ไปนวด เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อาการปวดเมื่อย อยู่บ่อยๆ และแม่ของยายก็ได้เล่าถึงการอพยพเชื้อสายของชาติพันธุ์ของ ตนเองให้ยายฟังอยู่เสมอนั่นก็คือ ชาติพันธุ์ไตลื้อ (ไทลื้อ)" คุณยายยังได้เล่าถึงชาวไทลื้อตั้งที่ถิ่นฐานอยู่ที่แคว้นสิบสองปันนา ทางตอนใต้ของประเทศจีน มีเมืองเชียงรุ่งเป็นเมืองหลวง และชาวไทลื้อ ยังนิยมตั้งบ้านเรือนอยู่ตามที่ราบลุ่มแม่น�้ำ และมีประวัติการเคลื่อนย้าย


" ลื้อค้น

Culture "

พี่น�้ำหนาว

แฟชั่นนิสต้ายุคใหม่ ที่หลงไหลมนต์เสน่ห์แห่ง "ไทลื้อ"

TAILUE

DECEMBER 2017

6

“พี่น�้ำหนาว สุพิชญา” ผู้ที่หลงใหลใน เสน่หข์ องการแต่งกายไทลือ้ ได้เล่าว่า ปัจจุบนั เสือ้ ผ้า การแต่งกาย ถือเป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญอีกทัง้ ยังมีแฟชั่นใหม่ๆเข้ามากระตุ้นจิตใจของ คนเราให้มีความต้องการที่จะซื้อมาสวมใส่ กั น อยู ่ เ สมอส� ำ หรั บ ชาวไทลื้ อ ก็ มี ลั ก ษณะ การแต่งกายที่โดดเด่น และเป็นเอกลักษณ์ โดยที่ชาวไทลื้อผู้หญิงทุกคนจะต้องทอผ้า และเย็บปักเสื้อผ้าไว้ใช้เอง มีลายผ้าไทลื้อ ทีส่ วยงาม และโดดเด่น ผูห้ ญิงจะโพกผ้าขาว ที่ศีรษะ นุ่งซิ่น สวมเสื้อแขนยาวสีน�้ำเงินเข้ม และใส่สไบ ส่วนผู้ชายจะนิยมใส่เสื้อสีเปิด (สีอ่อน,สีขาว) หรือสีด�ำ ใส่กางเกงขาก๊วย ส�ำหรับผ้าทอของชาวไทลือ้ จะมีลกั ษณะ เฉพาะที่โดดเด่นและชาวไทลื้อจะนิยมทอ

ไว้ใช้เอง คือ ผ้าซิน่ ทอไทลือ้ โบราณ ซึง่ จะแบ่ง โครงสร้างซิน่ ไว้ออกเป็นจ�ำนวน 3 ส่วน ได้แก่ 1. ส่วนหัวซิ่น ส่วนนี้จะนิยมใช้ผ้าฝ้ายมท�ำ โดยทัว่ ไปมีขนาดกว้างประมาณ 1 คืบ ผ้าซิน่ ส่วนนี้ ชาวไทลือ้ มีความเชือ่ เรือ่ ง “ขวัญ” ซึง่ เชือ่ ว่าขวัญจะติดอยูท่ หี่ วั ซิน่ เมือ่ เวลาเปลีย่ น ซิ่นผืนใหม่ ก็จะถอดหัวซิ่นผืนเดิมมาเย็บ ต่ อ กั บ ซิ่ น ผื น ใหม่ เ พื่ อ ให้ ข วั ญ อยู ่ กั บ ตั ว เหมือนเดิม 2. ส่วนตัวซิน่ ส่วนนีถ้ า้ เราเปรียบ เหมือนคนก็คือส่วนกลางของล�ำตัว จะเป็น เอกลักษณ์ และเป็นส่วนที่ได้แสดงเทคนิค ต่างๆ ในการออกแบบ 3. ส่วนตีนซิ่นโดย มากแล้วส่วนนี้จะนิยมน�ำผ้าฝ้ายสีเข้มมา ต่อกันเป็นผ้าผืนหรือจะเป็นตีนซิน่ ในรูปแบบ ต่างๆ

ภาพ : ศิรินภา โฟโต้


7 TAILUE DECEMBER 2017

ลายของผ้าซิ่นรูปแบบต่างๆ ในผ้าซิ่นก็จะเล่าถึงเรื่องราวการอพยพ ย้ายถิ่นฐานของชาวไทลื้อ สิบสองปันนาที่ลงมาอาศัยอยู่บริเวณจังหวัดน่าน ในตัวซิ่นเองมักบอกเรื่องราวที่ชาวไทลื้อได้พบเจอระหว่างการเดินทาง เกิดเป็นจินตนาการปรากฏบนผืนผ้า ลายเถาวัลย์ ทีพ่ บในระหว่างการเดินทาง ลายผักกูด บ่งบอกถึงการหาอาหารทีเ่ ก็บกินตามทางเพือ่ ประทังชีวติ ระหว่าง การเดินทาง ลายเขี้ยวหมาป่า ซึ่งเป็นสัตว์ที่พบเจอระหว่างการเดินทาง ลายจันทร์ดาว เปรียบเสมือนดวงจันทร์ และดวงดาวทีค่ อยให้แสงสว่างในยาม ค�่ำคืน หรือลายตาแหลว และลายสักของผู้ชายที่ผู้หญิงไม่สามารถสักได้ ซึ่งเป็นลวดลายที่สื่อถึงการคุ้มภัยอันตราย จากสิ่งที่มองไม่เห็น เป็นต้น ในส่วนของตีนซิ่น ก็มี ลายบัวลอย ก็คือดอกบัวที่ใช้ถวายพระ แม้ว่า ความเชือ่ เดิมของชาวไทลือ้ จะนับถือผี หรือเชือ่ ในเรือ่ งของปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติ แต่เมื่อมีพุทธศาสนาเข้ามาชาวไทลื้อก็ได้มีการผสมผสานทั้งสอง ความเชือ่ ไว้ดว้ ยกันอย่างแนบเนียน ส่วนลายกาบ และลายหยดน�ำ้ เป็นลวดลาย ที่บ่งบอกถึงสิ่งที่ชาวไทลื้ออาศัยอยู่ กาบในที่นี้คือ กาบไม้ เป็นสัญลักษณ์ ของป่าไม้ หยดน�้ำก็คือสัญลักษณ์ของแม่น�้ำ เมื่อทั้งสองอย่างมารวมอยู่ ด้วยกันแล้วจึงแสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้ แม่นำ� ้ ล�ำธาร ส่วนสุดท้าย ก็คือ ลายสะเปา หรือหางสะเปาซึ่งก็คือเรือส�ำเภาที่ให้ความเชื่อว่าสะเปา จะเป็นพาหนะในการเดินทางสูโ่ ลกหน้า และยังหมายถึงความรู้ ความรุง่ เรือง ในทุกส่วนของตัวผ้าอีกด้วย


ไทลื้อ เจิ ง ลาย สืบสาน สายใยงานวิจิตร

ศิ

ส�ำหรับท่วงท่าต่างๆ ในการฟ้อนเจิง ฟ้อนดาบของผู้ชาย ชาวไทลื้อ (บ้านร้องแง ต.วรนคร อ.ปัว จ.น่าน) ในอดีต ได้กล่าวกันว่ามีแม่ท่าหลายท่าที่ฝึกไว้ ได้แก่ ท่าเกี้ยวเกล้า ท่าลายงามสูง ท่าลายงามต�ำ่ ท่าตากปีก ท่าปลาเหลีย้ มหาด ท่าแทงหว่าง ท่าตบมะผาบก้อม ท่าตบมะผาบเครือ ท่าแม่แก้ แม่ญับ ท่าเข้าส้นเข้าปลาย ท่าช้างงาตอก ท่าช้างงาหลั่ง เป็นต้น โดยที่บรรดาผู้ฝึกจะมีความเชื่อในเรื่องคาถาอาคม ตลอดจนมีขอ้ ห้ามบางประการทีห่ ากกระท�ำแล้วก็จะท�ำให้เกิด การเสื่อมได้ เช่น ไม่รับประทานอาหาร ไม่ดื่มน�้ำในงานศพ ห้ามดืม่ สุราร่วมแก้วเดียวกันกับผูอ้ นื่ เป็นต้น นอกจากนีจ้ ะต้อง เป็นผู้ประพฤติอยู่ในศีลธรรมไม่คิดข่มเหงท�ำลายผู้อื่น ปัจจุบันศิลปะการฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง และตบมะผาบ เป็นสิง่ ทีเ่ ยาวชนรุน่ ใหม่ในจังหวัดน่านให้ความสนใจทีจ่ ะฝึกฝน เพื่อที่จะใช้เป็นความสามารถในการแสดงศิลปะพื้นเมือง ของท้องถิ่น ถ้าหากใครที่ได้มีโอกาสมาเที่ยวที่จังหวัดน่าน ก็สามารถหาชมได้การแสดงศิลปะการฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง และ ตบมะผาบ ณ ถนนคนเดินข่วงเมืองน่าน หรืองานต่างๆ ของชุมชนในจังหวัดน่าน

TAILUE

DECEMBER 2017

8

ลปะการป้องกันตัว ถือเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึง่ ทีพ่ บเห็น อ ยู ่ ทั่ ว ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ ที่ เ ร า เ ห็ น อ ยู ่ ห ลั ก ๆ ก็คือมวยไทยของทางภาคกลาง ปันจักสีลัตของทางภาคใต้ และมวยโบราณของภาคอีสาน ในด้านของชาวไทลือ้ ก็มศี ลิ ปะ การป้องกันตัวเป็นของตนเอง เรียกว่า "ศิลปะการฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง และตบมะผาบ" เป็นศิลปะการป้องกันตัว และแสดง ชั้นเชิงลีลาของลูกผู้ชายชาวไทลื้อ ซึ่งมีแม่ท่าที่งดงามยิ่งนัก ซึ่ ง อาจจะสื บ ทอดศิ ล ปะการฟ้ อ นเจิ ง ของชาวไทลื้ อ ใน สิบสองปันนา ในอดีตกล่าวกันว่าการฝึกฝนการฟ้อนเจิงของชายชาตรี สมัยนั้นผู้ที่ประสงค์จะฝึกฟ้อนเจิงจะไปสมัครเป็นลูกศิษย์ ของครูเจิงโดยบรรดาผู้ที่ต้องการจะเป็นศิษย์ จะต้องน�ำไก่ มาคนละ 1 ตัว ครูเจิงจะขีดวงกลมตรงกลางข่วง (ลาน) ในป่าช้า (ฌาปนสถาน) แล้วเชือดคอไก่เป็นการเสี่ยงทาย หากไก่ของใครตายอยู่ในวงกลมที่ครูเจิงขีดไว้ ผู้นั้นก็จะเป็น ผู้ที่ได้สืบทอดศิลปะเจิง แต่ถ้าหากไก่ของใครที่ดิ้นตายออก ไปนอกวงกลม ครูเจิงก็จะไม่อนุญาตให้ฝึกฝน โดยเชื่อว่า ผีครูไม่ให้สืบทอด

ภาพ : ศิรินภา โฟโต้


"สับหมึก"

ความเท่ห์ที่ผสมผสาน กับความเชื่อได้อย่างลงตัว

ภาพ : ชาญพิชิต พงศ์ทองส�ำราญ

DECEMBER 2017

หากไม่เปิดเปลือยจะไม่รู้ว่า มีความงามใดซ่อนอยู่ หากไม่สังเกต อาจหลงเข้าใจว่า บุรุษนุ่งเตี่ยว ยืนกลางล�ำธารอันใสเย็น

9 TAILUE

" การสับหมึก" หรือ “ลายสักยันต์ลงหมึก” ของชายชาวไทลือ้ ทุกคนทีถ่ อื เป็นคตินยิ มมาตัง้ แต่ สมัยบรรพบุรุษ ซึ่งถือเป็นศิลปะที่สวยงาม เกิดจากศรัทธา ความเชื่อ และสอนให้มีสติ ในการด�ำเนินชีวิต ถ้าเราท�ำในสิ่งที่ไม่ถูก ไม่ควร ผิดศีลธรรม เมื่อเห็นลายสับหมึก ที่อยู่บนร่างกายของตัวเราก็จะได้มีสติ ในยามทีบ่ า้ นเมืองมีศกึ สงครามก็จะเป็น สิง่ ทีเ่ ชือ่ ว่าจะสร้างภูมคิ มุ้ กันในด้านคาถา อาคมที่จะท�ำให้เกิดความฮึกเหิม และ คงกระพันในการต่อสู้กับข้าศึก ชายชาวไทลื้อจะนิยมการสับหมึก ที่ขา มี 2 ลักษณะ คือ 1. สักขาตั้งแต่ใต้หัวเข่าหรือ เหนือเข่าขึ้นไปจนถึงต้นขา หรือส่วน ด้านบนแต่จะไม่สกั เลยขึน้ มาจนถึงเอว หรือพุง 2. สักขาจากท่อนล่าง ขึ้นมา จนถึงบริเวณเอว และพุง จึงท�ำให้เรา มองเห็นเป็นพุงด�ำ เอวด�ำ ดังที่เรียกกันว่า "ลาวพุงด�ำ" ซึ่งเป็นที่นิยมกันมาก ในปัจจุบันการสับหมึกตามร่างกายจริงๆ หาชมได้ ย ากแต่ ก็ ยั ง มี เ ป็ น ภาพจิ ต รกรรม ให้ทุกท่านได้ชมกัน ซึ่งอยู่ที่จิตรกรรมฝาผนังวัด ภูมินทร์ อ.เมือง จ.น่าน


TAILUE DECEMBER 2017

10


กับ

ข้าว ปลา

"ไทลื้อ"

“กองทัพต้องเดินด้วยท้อง” อาหารหลักๆ และของกินต่างๆ ทีช่ าวไทลือ้ ทีน่ ยิ มรับประทานกันภายในครอบครัว รวมไปถึง งานประเพณี ส�ำคัญต่างๆ ของชาวไทลื้อ เมนูอาหารก็จะคล้ายๆ กับอาหารของ ชาวเหนือ จะเป็นอะไรบ้างนั้น? เราไปดูกันเลยดีกว่า

3.ข้าวแดกงา (ข้าวคลุกงา) เป็นอาหารที่ท�ำได้ง่ายๆ ไม่ยุ่งยาก โดยเริ่มจากน�ำงาด�ำมาโขลกให้ละเอียด แล้วน�ำข้าวเหนียวที่นึ่งแล้วมา คลุกเคล้าให้เข้ากัน ถ้าหากรสชาติยังไม่อร่อยก็สามารถเติมเครื่องปรุง เช่น เกลือ หรืออื่นๆ ได้ตามใจชอบ

... ... ภาพ : กนกพร จันค�ำ

ส�ำหรับอาหารทั้ง 3 ชนิดนี้ เป็นเพียงแค่ส่วนหนึ่งที่เราน�ำมาเสนอ เท่านัน้ ซึง่ อาหารทีช่ าวไทลือ้ นิยมรับประทานนัน้ ยังมีอกี มากมาย เช่น แกงคั่ว ลาบไก่ ย�ำหัวปลี หลามไก่ เป็นต้น ถ้าหากทุกท่านมีโอกาส มาเทีย่ วทีจ่ งั หวัดน่านก็สามารถเลือกซือ้ เลือกชิมกันได้ ณ ถนนคนเดิน ข่วงเมืองน่าน ทุกวันศุกร์-อาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 18.00 น. เป็นต้นไป อีกทั้งยังได้รับชมศิลปะการแสดงของไทลื้อ และเมืองน่านอีกด้วย

DECEMBER 2017

2.ย�ำหัวอียอ (ย�ำบุก) บุกเป็นอาหารป่า โดยน�ำหัวบุกมาปอกเปลือก หัน่ น�ำไปต้มกับน�ำ้ ด่าง ซึง่ ท�ำจากน�ำ้ ขีเ้ ถ้าใสๆ จนสุกแล้วน�ำไปทุบนวด จนเป็นวุ้นใสๆ พักไว้ น�ำตะไคร้ ข่า ใบมะกรูด หอมแดง หั่นซอย จนละเอียด น�ำไปผสมกับบุกที่เตรียมไว้ ตั้งกระทะ ใส่น�้ำมันเล็กน้อย น�ำส่วนผสมทัง้ หมดลงผัดจนหอม ใส่พริกป่น งาด�ำ เกลือ ใส่นำ�้ มะเฟือง น�้ำมะนาว ให้ได้รสเปรี้ยวอย่างไหนก็ได้เพื่อไม่ให้ย�ำบุกระคายคอ และ ย�ำบุกก็ยังเป็นอาหารที่ช่วยลดคอเลสเตอรอลอีกด้วย

11 TAILUE

1.ห่อนึ่งไก หรือห่อนึ่งไกยี (ห่อนึ่งสาหร่ายน�้ำจืดจากแม่น�้ำน่าน) ห่อนึง่ ไก เป็นอาหารทีช่ าวไทลือ้ นิยมรับประทานกันมาตัง้ แต่สมัยบรรพบุรษุ ส�ำหรับวิธีการท�ำนั้นไม่ยุ่งยาก โดยเริ่มจาก การไปเก็บไกจากโขดหิน ตามแม่นำ�้ น่าน แล้วน�ำมาล้างท�ำความสะอาด จากนัน้ ก็นำ� เนือ้ ไกมาสับ ให้ละเอียด น�ำมาคลุกเคล้าให้เข้ากับพริก เกลือ และส่วนประกอบอืน่ ๆ ตามใจชอบ จากนั้นก็น�ำไปใส่ในใบตอง แล้วน�ำไปนึ่ง


" ลื้อค้น Travel "

TAILUE

DECEMBER 2017

12

ภาพ : กนกพร จันค�ำ


@ กาแฟบ้านไทลื้อ

ว่าบรรยากาศดีมาก ติดอันดับต้นๆ ของประเทศ เริ่มจากตอนท�ำร้านล�ำดวนผ้าทอ มีลูกค้าทั้ง ผู้หญิง - ผู้ชาย ซึ่งอาจจะมากันเป็นครอบครัว หรือเป็นหมูค่ ณะ และไม่ชอบทีจ่ ะเลือกดูเสือ้ ผ้า จึงพากันไปนัง่ ทีศ่ าลาไม้หลังร้าน เขาจึงน�ำกาแฟ ซองส�ำเร็จรูป พร้อมทัง้ กระติกน�ำ้ ร้อน แก้วกาแฟ มาวางไว้ให้เพื่อเป็นการบริการลูกค้า ในระยะ ต่อมาลูกค้ามีจำ� นวนมากขึน้ จึงคิดอยากจะเปิด ร้านกาแฟตัวเขาและลูกสาวไปเรียนรู้การคั่ว การกะเทาะเปลือกกาแฟ จากเจ้าหน้าทีข่ องมูลนิธิ แม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ ดอยตุง จังหวัดเชียงราย เพือ่ เป็นการลดต้นทุนการผลิต ได้อีกทางหนึ่ง ส�ำหรับจุดเด่นของที่นี่ คุณพนมได้บอกกับ พวกเราว่า “ทีน่ เี่ ป็นชุมชนไทลือ้ เราคิดทีจ่ ะดึง ความเป็นไทลื้อออกมา ซึ่งบางคนอยากจะมา สัมผัสวิถชี วี ติ ของชาวไทลือ้ ว่าเขาท�ำอะไรกันบ้าง

จึงคิดมาชมการทอผ้าไทลื้อ และขณะเดียวกัน ก็ยังได้สัมผัสการท�ำนาของชาวไทลื้อ และชิม กาแฟไทลื้ออีกด้วย” พวกเราได้ถามถึงรายได้ของร้านกาแฟ บ้านไทลื้ออัน slow life แห่งนี้ คุณพนมได้ บอกว่า “วันธรรมดา ถ้าฝนไม่ตก มีลกู ค้าเรือ่ ยๆ ขายได้ไม่ต�่ำกว่าวันละ 150 แก้ว วันเสาร์อาทิตย์ ขายได้ไม่ต�่ำกว่าวันละ 300 แก้ว ช่วงวันหยุดเทศกาล เคยขายได้วัน ละกว่า 1,000 แก้ว” ส�ำหรับร้านกาแฟบ้านไทลื้อ แห่งนี้ ถือว่าเป็น “ร้านในฝันของ นักชิมกาแฟ” หลายๆ คนเลยทีเดียว เราจึ ง อยากจะเชิ ญ ชวนทุ ก คนๆ มาลองลิ้มรสกาแฟไทลื้อ และสัมผัส บรรยากาศ วิถีชีวิตของชาวไทลื้อ ณ กาแฟบ้านไทลื้อ แห่งนี้

DECEMBER 2017

ณ ร้านกาแฟแห่งหนึง่ ทีด่ ไู ม่เหมือน ร้านกาแฟทีไ่ หนๆ เพราะสถานทีน่ เี้ ป็นร้านกาแฟ ที่ติดธรรมชาติอันสวยงาม มีนักท่องเที่ยว มาเที่ยวกันมากมาย มีการ Review ผ่านทาง social media จึงท�ำให้ใคร หลายๆ คนอยากจะมาสัมผัสบรรยากาศ อันสดชื่น ณ กาแฟบ้านไทลื้อ ซึ่งวันนี้ พ ว ก เ ร า มี โ อ ก า ส ไ ด ้ พ บ กั บ คุณพนม แก้วเทพ เจ้าของกิจการ ร้านกาแฟบ้านไทลือ้ คุณพนม ได้เล่า ให้พวกเราฟังว่า “ก่อนหน้าที่จะมา เปิดร้านกาแฟ ตนได้เริ่มเปิดกิจการ ร้านผ้าทอไทลือ้ มาก่อน จากนัน้ ก็เปิดร้านกาแฟ บ้านไทลือ้ ควบคูก่ นั จนปัจจุบนั ก็เปิดร้านกาแฟ บ้านไทลื้อแห่งนี้ได้ถึงห้าปีกว่าแล้ว” คุณพนม บอกก่อนยิ้มกว้าง และย้อนให้ฟังถึงที่มาของ การลงทุน ท�ำร้านกาแฟที่หลายคนชื่นชมกัน

13 TAILUE

ร้านในฝันของนักชิมกาแฟ


TAILUE

DECEMBER 2017

14

THE GREAT : of the KING พระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่

@ Nan Hospital โรงพยาบาลนาน ่


15

DECEMBER 2017

ทีโ่ รงพยาบาลน่าน หลังจากนัน้ สมุหราชองครักษ์ ก็ได้นำ� หนังสือ จากส�ำนักงานสมุหราชองครักษ์ มาแจ้ง ความว่า "พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรง พอพระราชหฤทัยกับการท�ำงาน ของเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลน่าน แ ล ะ มี พ ร ะ ร า ช ป ร ะ ส ง ค ์ ที่จะสนับสนุนเครื่องมือแพทย์ และความต้องการอื่น" เมื่อวันเสาร์ ที่ 23 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2511 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนิน เยี่ยมผู้บาดเจ็บจากการสู้รบ ทีโ่ รงพยาบาลน่านอีกครัง้ และมีพระราชปฏิสนั ถาร กับ นายแพทย์ บุญยงค์ ว่า “เงิน 240,000 บาท ที่หมอขอไปนั้น ฉันเอามาให้แล้ว เงินนี้ให้เธอ น�ำไปท�ำการก่อสร้างเอง...โดยไม่ตอ้ งผ่านทางราชการ ฉันไว้ใจเธอ สร้างเสร็จขอให้บอกไป ฉันจะมาเปิด” เมื่อการก่อสร้างอาคารรองรับผู้บาดเจ็บจาก การสู้รบเสร็จสิ้น พระองค์ทรงพระราชทานนาม อาคารใหม่ว่า “พิทักษ์ไทย” นายแพทย์ บุญยงค์ ยังได้กล่าวทิ้งท้ายว่า "ทุกวันนี้พระราชด�ำรัส ฉันไว้ใจเธอ ของในหลวง รัชกาลที่ 9 ยังดังก้องอยู่อย่างไม่มีวันลืม"

TAILUE

ถือเป็นพระจริยาวัตร อันงดงามยิ่งของพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ที่พสกนิกรคนไทยไม่เคยลืมเลือน ตลอด 70 ปี แห่งการครองราชย์ ส�ำหรับการเสด็จฯ ยังถิน่ ทุรกันดาร ต่างๆมากมาย น�ำมาซึง่ เรือ่ งราวที่ ประทับใจยิง่ เพราะพระองค์ได้ให้ ค ว า ม ใ ก ล ้ ชิ ด ติ ด ต า ม ชี วิ ต ทวยราษฎร์ทั้งยามสุข ยามทุกข์ และพระองค์ท่าน ก็ได้เสด็จฯ มายังพื้นที่จังหวัดน่านถึง 22 ครั้ง น�ำมา ยังความปลาบปลื้มปิติ เป็นล้นพ้น แก่ประชาชน ชาวน่าน นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร อายุ 84 ปี อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน เปิดเผยว่า เมื่อปี พุทธศักราช 2510 ในหลวง รัชกาลที่ 9 พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาล ที่ 9 เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยมทหารที่กองทัพภาคที่ 3 จังหวัดน่าน หลังจากนั้นก็มีนายทหารวิ่งเข้ามา กราบบังคมทูลฯว่ามีนายทหารถูกยิงได้รบั บาดเจ็บสาหัส น�ำตัวออกจากแนวหน้าไม่ได้ พระองค์จึงเสด็จฯ ประทับเฮลิคอปเตอร์ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางฯ พระบรมราชินนี าถ ทรงน�ำ ทหารทีบ่ าดเจ็บออกมาได้ และถูกส่งตัวมารับการรักษา


งดงามวิหารไทลื้อ ลือชื่อผ้าทอสีธรรมชาติ แหล่งน�้ำสะอาดวังปลา ผืนป่าเขียวขจี ยึดวิถีวัฒนธรรมไทลื้อ ชุมชนไทลื้อบ้านดอนมูล

นิตยสารในโครงการ กล้าใหม่ ใฝ่รู้ ปี 12


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.