BLOOM Magazine
຋§ºÒ¹ ³ »˜µµÒ¹Õ
º·ºÃóҸԡÒÃ
¡ÑºàÃ×èͧÃÒÇ´Õæ·ÕèàÂÕÂÇÂÒËÑÇã¨
Content
RY BLOOM STO
BLOOM WAY OF LIFE
“ คําวา Bloom (บลูม) หมายถึง เบงบาน ไมใช บูม (เสียงระเบิด) ”
3
6
8
OM CAL WISD BLOOM LO
BLOOM INSPIR ATION
12
14 IVE GROUP T A E R C M O BLO
*** ´Í¡ªºÒ (º¹Ë¹ŒÒ»¡) ¤×Í ´Í¡äÁŒ»ÃШӨѧËÇÑ´»˜µµÒ¹Õ
หลังจากหมอกแหงความขัดแยงคอยๆจางลงในพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใต เผยใหเห็นเมล็ดพันธุใหมที่แตกหนอและเริ่มเบงบานออกมา ในจังหวัดปตตานี ไมวาจะเปนกิจกรรมที่ตองการขจัดความหวาดระแวง ระหวางคนไทยเชื้อสายจีนกับคนไทยเชื้อสายมาลายูของกลุม Saiburi looker การสรางพื้นที่สรางสรรคใหกับคนรุนใหมไดนําเสนอไอเดียของกลุม Melayu Living การเปดพื้นที่แสดงงานศิลปะ และเรื่องราวดีๆของจังหวัดปตตานี ในนามของ Patani Contemporary Arts Gallery และกิจกรรมอื่นๆที่กําลัง เบงบานอยูในพื้นที่จังหวัดปตตานีขณะนี้นั้น นับเปนฟาหลังฝนที่งดงาม ทําใหเราเขาใจไดเปนอยางดีวา หลังจากเหตุการณรายๆยอมมีเหตุการณดีๆ ตามมาเสมอ แตถาถามคนตางจังหวัดวารูจักจังหวัดปตตานีในแงมุมไหน? สวนใหญ ก็จะตอบเปนเสียงเดียวกันวา เปนจังหวัดทีน่ า กลัว มีแตระเบิด (บูม) เปนจังหวัด ที่เกิดเหตุการณความไมสงบอยูบอยครั้ง หรือถาคนปตตานีเดินทางไปตาง จังหวัดเขาก็จะถามกันเปนเรื่องสนุกวา “ พาระเบิดมาดวยหรือเปลา? ” ซึ่ง สําหรับเราแลว มันไมตลกเลย เพราะเปนการเหมารวมคนทั้งจังหวัดวาเปน ผูกอความไมสงบใหประเทศชาติ ในขณะที่ความจริงแลวผูกอความไมสงบมี เพียงนอยนิด และเปนใครมาจากไหนเราเองก็ไมสามารถตอบคําถามนี้ไดเลย นี่อาจเปนเพราะสื่อที่นําเสนอเรื่องราวของจังหวัดปตตานีในแงลบ เกือบรอยเปอรเซ็น ทําใหผูรับขาวสารติดภาพคนสามจังหวัดวาเปนผูกอการ ราย ในขณะที่ผูกอการดีมีจํานวนมากกวาไมรูเทาไหร แตสื่อกลับไมพูดถึง ไมเฉพาะเรื่องราวของสามจังหวัดเทานั้นที่สื่อนําเสนอในดานลบ ถาหากวา ลองสังเกตขาวที่ถูกนําเสนอในตอนเชา เราจะไดรับรูขาวในดานลบมากกวา ดานบวกอยูเสมอ เชน ซีเรียถูกถลมดวยอาวุธยุทโธปกรณลํ้าสมัยจนพลเรือน เสียชีวิตหลายแสนราย ชาวโรฮิงยาตองหนีตายหัวซุกหัวซุนจนไมมีแผนดิน จะอาศัย สถานการณในสามจังหวัดชายแดนใตยังคงคุกรุน การละเมิดสิทธิ มนุษยชนเกิดขึ้นทั่วทุกแหงหน การเสียชีวิตของมนุษยเกิดขึ้นทุกวี่วัน เพราะ สื่อนําเสนอแตเรื่องแยๆทําใหหัวใจของผูเสพขาวหดหู ในขณะที่เรื่องราวดีๆ ที่จะทําใหหัวใจของเราเบงบานไดบางกลับมีนอยเหลือเกิน ดวยเหตุนี้พวกเราจึงอยากนําเสนอมุมมองของปตตานีในรูปแบบที่ แตกตางออกไปจากกรอบความคิดเดิมๆ ไมไดตางแคเพียงภาพ แตใหได รับรูถึงความรูสึกที่เบงบาน มากกวาความรูสึกที่หดหู หรือหอเหี่ยวเหมือน ทุกๆครั้งที่ผานมา เพราะหัวใจของเราตองการการเยียวยา เมื่อใดที่มันถูก ทํารายจากเหตุการณแยๆ หรือเรื่องราวเลวรายตางๆที่ผานเขามาในชีวิต “การเยียวยาหัวใจ” จึงเปนคําตอบที่ดีที่สุด เพราะถาหัวใจของเรามีพลัง ที่จะลุกขึ้นมาใชชีวิตตอ ทรัพยสินหรือวัตถุมีคาตางๆ ถึงแมจะมากมาย ขนาดไหนก็ตาม ก็คงจะไมมีความหมาย... ·ÕÁâçàÃÕ¹ÍÒÁÒ¹ÐÈÑ¡´Ôì 1
he will live in our hearth eternally.
WE
LoVE
KING BHUMIBOL
àÃ×èͧÃÒǢͧ¾‹Í
㹤ÇÒÁ·Ã§¨Ó ·ÕèäÁ‹ÁÕǹ Ñ àÅ×͹ËÒÂ仨ҡ㨪ÒÇä·ÂÁØÊÅÔÁ Words : Nuttiya Graphic : Narissara Photographs : Sasa
B L O O M
4 MAGAZINE
WE LOVE
KING BHUMIBOL
พระองค์ทรงส่งเสริมการศึกษา แก่เยาวชนมุสลิม
แตเดิมเยาวชนชาวไทยมุสลิม โดยเฉพาะใน จังหวัดชายแดนภาคใตจะมีการศึกษาภาคสามัญ สูงสุดเพียงชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ซึ่งเปนภาคบังคับ แลวเขาเรียนภาคศาสนาเนื่องดวยผูปกครองเกรงวา บุตรหลานของตนจะไมรูศาสนาไมสามารถปฏิบัติ ศาสนกิจได นักเรียนจึงตองไปอยูกับโตะครู และเรียน หนังสืออยางไมมีหลักสูตร ดวยเหตุผลนี้ชาวไทยมุสลิม สวนใหญจึงถนัดแตภาษาทองถิ่น ไมสามารถเขียน อาน และใชภาษาไทยในการติดตอกับราชการ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 ทรงหวงใย เรื่องการศึกษาของชาวไทยมุสลิมเปนอยางมาก พระองค จึงมีพระราชกระแสรับสั่งใหกระทรวงศึกษาธิการ หาทาง สงเสริมและปรับปรุงการเรียนการสอนใหเปนระบบขึ้น
มุสลิมทุกคนที่อาศัยอยูบนผืนแผนดินไทยแหงนี้รักพระองค
ไมใชเพราะทรงเปนพระมหากษัตริยที่ครองราชยยาวนานที่สุดในโลก แตเปนความรักที่มาพรอมๆกับความสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงมีตอพสกนิกรชาวไทย โดยมิไดแบงแยกหรือเลือกทีร่ กั มักทีช่ งั ทรงเปนเอกอัครศาสนูปถัมภก ซึ่งในสวนของอิสลามนั้น เราก็ไดรับ พระมหากรุณาธิคุณจากพระองคทานอยางมากมาย เรามีอัลกุรอาน ฉบับพระราชทานที่ตีพิมพเปนภาษาไทย เรามีพระเจาแผนดินที่เสด็จ เปนองคประธานในพิธีเปดงานเมาลิดกลางแหงประเทศไทย ตัง้ แต การจัดงานครัง้ แรกในป พ.ศ. 2504 เราลืมตาอาปากมีคณ ุ ภาพชีวติ ที่ดีขึ้นจากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริที่เกิดขึ้นในจังหวัด ชายแดนใต ซึ่งเกิดจากการที่พระองคไดเสด็จพระราชดําเนินเพื่อ เยี่ยมเยือนพสกนิกรของพระองค เรามีโครงการแกลงดินที่ชวยแก ปญหาดินพรุในชายแดนใต เรามีเสรีภาพในการแตงกาย มีสิทธิ อันชอบธรรมในการปฏิบัติศาสนกิจตามหลักการศาสนา และเรามี ทีย่ นื อยางสงาภาคภูมบิ นผืนแผนดินไทย ก็ดว ยพระบารมีของพระองค พวกเราจึงขอนําเสนอเรื่องราวของพระมหากรุณาธิคุณอันหา ที่สุดมิได ที่พระองคทานมีตอพสกนิกรชาวไทยมุสลิม ในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต ที่พวกเรามิอาจลืมเลือนไปจากใจ...ตลอดกาล Kita kasih Raya kita Dan Sentiasa Berada di dalam Hati
เรารักในหลวงของเรา และพระองค์จะสถิตอยู่ในใจตราบนิจนิรันดร์
ดวยการสงครูเขาไปสอนในภาคสามัญ ทั้งยังจัดศึกษา ดูงานดานการศึกษาในกรุงเทพฯ และจังหวัดใกลเคียง โรงเรียนปอเนาะตางๆ ก็เริ่มมีการปรับปรุงและพัฒนา ขึ้นเปนลำดับมีการคัดเลือกโรงเรียนที่มีการบริหาร การเรียนการสอนดีเดน เพื่อเขารับรางวัลพระราชทาน เปนประจำทุกปนับตั้งแตปพ.ศ. 2512 เปนตนมา ทรงมี พระราชประสงคที่จะใหมุสลิมทุกคนไดรับการสงเสริม ดานการศึกษาอยางแทจริง โดยมีพระราชปรารภกับ รัฐมนตรี หรือขาราชการระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงมหาดไทยอยูเสมอถึงผลดำเนินงานดาน การศึกษาของพสกนิกรชาวไทยมุสลิม ปจจุบันนักเรียน ปอเนาะในจังหวัดชายแดนภาคใตเปนนักเรียนที่มี คุณภาพ มีการศึกษาทั้งภาคสามัญและภาคศาสนา ควบคูกันไป จนสามารถเขาศึกษาตอระดับวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยได จึงนับไดวาเปนพระราชกรณียกิจ ที่มีความสำคัญยิ่งตอลูกหลานชาวไทยมุสลิม
B L O O M
5 MAGAZINE
พระองค์ทรงส่งเสริมให้มีการสร้างมัสยิด มีมัสยิดอยูหลายแหง ที่มีความเกี่ยวพันกับพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวฯรัชกาลที่ 9 หนึ่งในนั้นคือ มัสยิดบูเก็ตตันหยง หรือ ที่ชาวบานในพื้นที่เรียกกันวา “ มัสยิดรายอ ” สมัยกอนมัสยิดแหงนี้ เปนเพียงมัสยิดเรือนไม แตหลังจากที่พระองคเสด็จมาสรางพระราชนิเวศน เมื่อปพ.ศ. 2515 ก็ไดพระราชทานเงินสวนพระองคจำนวน 300,000 บาท เพื่อสมทบทุนสรางอาคารมัสยิด และในทุกๆปที่พระองคเสด็จมาประทับ อยูที่นี่ ก็จะพระราชทานเงินสวนพระองคเพิ่มเติมทุกครั้ง ปละ 1-2 แสนบาท จนมัสยิดเสร็จสมบูรณจากงบประมาณสวนพระองค ทุกคนจึงพรอมใจ กันเรียกมัสยิดแหงนี้วา มัสยิดรายอ ซึ่งเปนคำที่ชาวไทยมุสลิม เรียก สรรพนามของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช นอกจากนี้ พระองคยังทรงพระราชทานพระราชดำรัสใหรัฐบาล จัดสรางมัสยิดกลางประจำจังหวัดตางๆ ใน 4 จังหวัด ชายแดนภาคใต ซึ่งมีการจัดสรางอยางประณีตสวยงาม เปนที่เชิดหนาชูตาแกประเทศ และทรงเสด็จพระราชดำเนินไปเปนองคประธานในพิธีเปดมัสยิดดวย พระองคเอง
โครงการแกล้งดิน คืนคุณค่าให้ผืนดินชายแดนใต้ เชื่อวาคนสวนใหญมักคุนเคยกับคำวา “แกมลิง” ซึ่งเปนโครงการในพระราชดำริของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวฯ รัชกาลที่ 9 ที่วาดวยเรื่องการจัดการน้ำ แตสำหรับคนในสามจังหวัดชายแดนภาคใตแลว คำวา “แกลงดิน” เปนอีกหนึ่งคำที่ทำใหคนในพื้นที่รูสึกสำนึกใน พระมหากรุณาธิคุณของพระองค “แกมลิง” วาดวยเรื่อง การจัดการน้ำแต “แกลงดิน” คือ คืนความสมบูรณใหกับ ผืนดิน ชวยใหคนในสามจังหวัดชายแดนภาคใตที่ประสบ ปญหาดินพรุ กลับมาสรางเงิน สรางงาน สรางรายไดจาก ผืนดินของตน แนวพระราชดำริแกลงดินเกิดขึ้นหลังจาก
เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ” ยุทธศาสตร เขาใจ เขาถึง พัฒนา ที่พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานเปนยุทธศาสตรในการ แกไขปญหาความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต เมื่อป พ.ศ.2547 เหมือนเปนการตกผลึกแนวพระราชดำริทั้งหมดผานคำสั้นๆแค 3 คำ นับเปนพระมหากรุณาธิคุณที่มีตอทุกหนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของใน การแกปญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตที่มีปญหายืดเยื้อยาว นานมากวา 12 ป และเปน 3 คำที่มีคุณอยางอเนกอนันตกับมุสลิม ในจังหวัดชายแดนใต
ที่พระองคทานไดเสด็จพระราชดำเนินแปรพระราชฐาน และทรงเยี่ยมเยืยนราษฎรในภาคใตอยางสม่ำเสมอ ตั้งแตป พ.ศ.2516 เรื่อยมา ทรงทราบวาราษฎรในพื้นที่ ภาคใต ประสบปญหาอยูมากมาย เชน ขาดแคลนพื้นที่ ทำกิน อันเปนสาเหตุสำคัญในการดำรงอาชีพ พื้นที่ดินพรุ ที่มีการระบายน้ำออกจะแปรสภาพเปนดินเปรี้ยวจัด เนื่องจากสารไพไรทที่มีอยูในดิน จึงมีพระราชดำริใหจัด ตั้งโครงการศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมา จากพระราชดำริขึ้น เพื่อศึกษาและปรับปรุงแกไขปญหา พื้นที่ดินพรุใหสามารถใชประโยชนทางการเกษตร และ ดานอื่นๆได ทาน คือ พอของคนไทยทุกคน พอ... ที่อยากจะทำสิ่งดีๆใหกบ ั ลูกๆ พอ...ที่ไมเคย บนวาเหนื่อย... ตลอดระยะเวลา 70 ป ที่ผานมา พอทำงานหนักทุกวัน ไมมีวน ั หยุด ไมมีวันลา ไมมีแมกระทั่งวันพักผอน ทานทำ ทุกๆอยางเพื่อลูกๆของทาน... ( บทสัมภาษณคนไทยคนหนึ่ง )
สามล้อเชื่อมใจ วิถีชีวิตบนความต่างของวัฒนธรรม Words : Nuttiya Graphic : Narissara Photographs : Sasa
ท
ามกลางกระแสขาวตามหนาสื่อตางๆ ที่นําเสนอเรื่องราวความรุนแรงของสามจังหวัด ชายแดนภาคใต บางครั้งก็ดูรุนแรงเกินกวาความ เปนจริง ทําใหคนตางจังหวัดตางเกิดความหวาดกลัว และไมกลาที่จะยางกาวเขามาในพื้นที่แหงนี้ ขณะที่ คนในพื้นที่เองก็ยังใชชีวิตตามปกติ ไปเรียนหนังสือ ไปทํางาน และอยูรวมกันไดอยางมีความสุขไมวา จะเปนคนพุทธ จีน หรือมุสลิม เพราะเหตุการณที่ เกิดขึ้นก็แคบางพื้นที่เทานั้นเอง ภาพหนึ่งที่สะทอนใหเห็นการอยูรวมกันไดเปน อยางดีของคนตางศาสนิกในจังหวัดปตตานี เคยโดงดัง ในหนาโซเชียลมีเดียเมื่อหลายปกอน คือภาพของคน มุสลิมที่ปนสามลอถีบ เพื่อพาพระรูปหนึ่งไปบิณฑบาต ในทุกๆเชา ซึ่งเปนวิถีชีวิตของคนที่นี่มาตั้งแตอดีตและ
...ทามกลางการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย เกิดขึ้นมาพรอมๆกับวิถีชีวิตความเปนอยู ขนบธรรมเนียม และประเพณีของบรรพบุรุษ ที่คอยๆเลือนหายไปจากพื้นที่ตามกาลเวลา...
ปจจุบันก็ยังคงมีใหเห็นอยู สะทอนใหเห็นถึงความรัก ความผูกพัน และความไวเนื้อเชื่อใจกันของคนตางศาสนิก ตางจากขาวคราวที่เราไดยินมาอยางสิ้นเชิง นายมะ แวหามะ หรือ เปาะจิมะ ชายอายุ 70 ป (เปาะจิเปนภาษามาลายูใชเรียกชายสูงอายุ) เปนคนไทย มุสลิมที่มีอาชีพปนสามลอถีบ เปนเวลาเกือบ 40 ปแลว ที่เปาะจิมะประกอบอาชีพนี้ ซึ่งในปจจุบันเราจะพบเห็น คนปนสามลอถีบนอยมาก เพราะรายไดที่ไดรับจากการ ปนสามลอถีบไมเพียงพอกับการดํารงชีวิต คนรุนใหมจึง ไมนิยมปนสามลอถีบกัน จะมีใหเห็นก็เฉพาะคนวัย 60-70 ป ที่ประกอบอาชีพนี้ เปาะจิมะ เลาวา “ ในอดีตกอนที่รถตุกตุก และรถมอเตอรไซครับจาง จะเขามาใหบริการ การเดินทางของชาวปตตานีสวนใหญ นิยมนั่งสามลอพวง จึงมีผูโดยสารทั้งวันทั้งคืน แตเดี๋ยวนี้ มีเฉพาะที่ตลาดเชาเทานั้น และผูโดยสารสวนใหญก็เปน ลูกคาประจํา พอคาแมคาในตลาดบาง ลูกคาประจําที่มา ซื้อหาอาหารบาง รวมทั้งหลวงพอวีระ(พระวีระ จิตตธัมโม) ดวย ”
B L O O M
7 MAGAZINE
ปจจุบันอาชีพนี้สรางรายไดใหไมมากนัก เพียง วันละประมาณ 100 - 200 บาท หากมีลูกคาขาจรมา ใหปนชมเมือง วันนั้นก็จะมีรายไดเพิ่มขึ้นหนอย การปน สามลอก็เหมือนกับเราไดออกกําลังกายไปดวย สุขภาพ เราก็จะแข็งแรง อีกทั้งเรายังไดมาพบปะพูดคุยกับเพื่อน สามลอดวยกัน พบปะพูดคุยกับผูโดยสารที่ใชบริการ กันมานานตั้งแตรุนหนุมสาว” เปาะจิมะเลาพรอมรอยยิ้ม หลังจากนั้นเราไดถามถึงภาพสุดแสนประทับใจ ที่ปรากฏตามหนาสื่อตางๆ ระหวางเปาะจิมะกับพระวีระ จิตตธัมโมหรือ หลวงตาวีระ วาเกิดขึ้นไดอยางไร ? เปาะจิมะเลาใหเราฟงวา “กอนหนานี้จะมีบังเซ็ง คนปน สามลอถีบอีกคนที่คอยรับสงหลวงตาวีระ จากวัดตานี นรสโมสร หรือวัดกลาง ออกบิณฑบาตในชุมชน และ ตลาดละแวกใกลเคียงอยูเปนประจําทุกวัน แตหลังๆมานี้ บังเซ็งแกปวย และอายุแกก็มากแลว รางกายไมคอยจะ แข็งแรง เลยปนสามลอตอไมไหว ตนเองจึงรับอาสา ทําหนาที่นี้แทน เพราะเห็นใจหลวงตาวีระ แกก็อายุมาก แลว เดินเหินไมคอยสะดวก” เปาะจิมะอธิบายตอวา
“เราทุกคนเปนคนไทยเหมือนกัน ตางกันก็ตรง แคการนับถือศาสนา อยาใหสงิ่ นีม้ าแบงแยกมิตรภาพ ความรูสึกดีๆที่มีใหแกกัน ในสมัยศาสดามูฮัมหมัด (ศาสดาของอิสลาม) เอง ทานก็สอนใหเราทําดีกับ ทุกคน ไมแบงแยกวาศาสนาไหน ขนาดคนทําไมดี กับทาน ทานยังทําดีตอบแทนกลับไป เราตองปฏิบัติ ตามคําสอนของทานใหสมบูรณ หากทุกคนปฏิบัติ ตามคําสอนของแตละศาสนาไดอยางถูกตองและ สมบูรณแลว โลกนี้ก็คงจะสงบสุขขึ้น อีกอยางหนึ่ง เมื่อคนไทยเกิดไปเสียชีวิตอยูตางประเทศ เขาก็จะ บอกวาเปนคนไทยที่เสียชีวิต ไมใชคนอิสลาม หรือคนพุทธ เพราะเราทุกคนคือคนไทยเหมือนกัน ตอนนี้ตนรูสึกวาสนิทและผูกพันกับหลวงตา วีระมาก เพราะหลวงตาเปนคนใจกวาง ชวยเหลือ เกื้อกูลตลอด แบงปนสิ่งของ และตอบแทนคา เหน็ดเหนื่อยจากการปนสามลอรับสง สวนใคร จะมองวาไมเหมาะสม มาชวยเหลือคนตางศาสนา โดยเฉพาะกับพระสงฆดวยนั้น เรามองวา ไมเกี่ยวกัน เราแคชวยเหลือเขา ปนสามลอรับสง ไมไดกราบไหวบูชา จึงไมไดขัดตอหลักการของ ศาสนาอิสลาม” นับเปนภาพความประทับใจที่เกิดขึ้นในพื้นที่ จังหวัดปตตานี ซึ่งขัดแยงกับขาวที่สื่อตางๆพากันนํา เสนอออกมา คนปตตานีทกุ คนรูส กึ ดีใจและภาคภูมใิ จ ที่ไดเห็นภาพดีๆแบบนี้ ความผูกพันที่เกิดขึ้น ไมใช เพียงแคเฉพาะสองคนนี้เทานั้น แตนับเปนการ สะทอนใหเห็นถึงเรื่องราวในอดีต ที่ทุกคนอยูรวม กันอยางสันติสุข ไมมีการแบงแยก หรือขัดแยงเพียง เพราะการนับถือศาสนาที่ตางกัน... ...เขาใจ เขาถึง พัฒนา คือ คำดำรัสของ ในหลวงทาน ถาทุกคนมีสิ่งนี้ ความสงบสุข ในพื้นที่จังหวัดปตตานีจะกลับคืนมาอีกครั้ง...
ปลากุเลาเค็มกางมุ้ง Words : Nuttiya Graphic : Narissara Photographs : Sasa
Organic Food and Save the Sea
จ
ากการที่ทองทะเลไทยเผชิญกับวิกฤตและปญหาปลาในทะเล ลดนอยถอยลงไป เนื่องจากการทําประมงที่ผิดกฎหมาย การทํา ประมงที่เกินขนาด และการใชเครื่องมือประมงแบบทําลายลาง เชน อวนรุน อวนลาก ซึ่งเปนสาเหตุของปญหาตางๆ เชน หนาดิน ใกลบริเวณชายฝงถูกทําลาย ปญหาแรงงานทาส และยังเปนตัวการ ทําลายระบบนิเวศทางทะเลมากที่สุดอีกดวย แตตอนนี้พูดไดวาปตตานีเปนจังหวัดที่มีทรัพยากรทาง ทะเลที่อุดมสมบูรณมาก สวนหนึ่งเปนเพราะไดรับพระมหา ...ปลากุเลาที่นี่เนื้อแนน สมบูรณมาก กรุณาธิคุณจากสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เปนทุนของชุมชน ชาวบานใชกุเลาเปน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สื่อบอกเรื่องราวไปสูผูบริโภควา กินกุเลา พระราชทานโครงการพระราชดําริการทําปะการังเทียมมา ตัวหนึ่ง ไดบริจาคสวนหนึ่งมาชวยพี่นอง เราในการอนุรก ั ษทรัพยากร เราใหความ ชวย ประกอบกับความรวมมือของพี่นองชาวประมงและ สำคัญกับการไมใชสารเคมีและสารฟอกสี ผูหลักผูใหญในจังหวัดปตตานีไดเล็งเห็นถึงความสําคัญ ใชเกลือหวานปตตานีเปนสวนผสมหลัก เรื่องการอนุรักษฟนฟูทรัพยากรทางทะเล ซึ่งฮาลาลดวยตัวเอง ตองดูแลเหมือนลูก นายมะสุกรีกลาววา “ เรามีแหลงวัตถุดิบที่คอนขาง เอาออกผึ่งแดด เอามาผึ่งลม ใชทั้งสอง อุดมสมบูรณ พูดถึงปลากุเลา เรามักจะนึกถึงอําเภอตากใบ สวนผสมกัน กางมุงให ปลากุเลาตัวเล็ก แตที่จริงตากใบก็เอาวัตถุดิบจากเราไปแปรรูป 70 % ปลา ใชเวลาประมาณ 25 วัน ตัวใหญ 45 วัน ที่ตากใบ คือปลากุเลาจากบานเรา เลยมาคิดวาแลวทําไมเรา รับประกันไดวาเปนปลาอินทรียที่สะอาด ปราศจากสีและสิ่งปลอมปน... ไมเพิ่มมูลคาของเราเอง ประกอบกับสวนหนึ่งเรามีองคความรู ที่ไดจากงานวิจัย ทํางานวิจัยทองถิ่น ไปสืบคนไปเรียนรูวา
B L O O M
9 MAGAZINE
ในแตละชุมชนเขามีการแปรรูปสัตวนํ้าอะไรบาง และทําอยางไร ภูมิปญญาเหลานี้ชวยเพิ่มราคา สัตวนํ้าได อาหารทะเลสดที่ขึ้นชื่อของที่นี่คือ ปลา อินทรียสด ปลาอินทรียที่ไดจากเครื่องมือตกเบ็ด เครื่องมืออวนปลาอินทรีย และเบ็ดราว เรามีปลา อินทรีย ปลาเกา ชอนทะเล สากเหลือง อีโตมอญ ปลาโอ ปลากะพงขาว การที่เรารวมตัวลักษณะ แบบนี้ ทําธุรกิจตรงนี้ เพื่อพยายามสรางมาตรฐาน ราคาใหเปนธรรมกับชาวบาน เพราะอยางนอยที่สุด ชาวประมงพื้นบาน คือกลุมคนที่จับสัตวนํ้าอยาง รับผิดชอบ เขานาจะไดรับสิ่งดีๆจากสิ่งที่เขาทํา สิ่งที่เขาเคยถูกปลูกฝงการฟนฟูขึ้นมา เขานาจะได ผลตอบแทน อีกประการที่เราคิดทําตรงนี้ คือเรา ไมไดสงปลาอินทรีย หรือ ปลากุเลาไปอยางเดียว แตเราสงปลาไปพรอมกับเรื่องราว story ลูกคา สามารถบอกไดวาปลาอินทรียที่ปตตานีกวาจะได มานั้น ชาวประมงตองเรียนรูอะไรเกี่ยวกับปลา อินทรียบาง ตองเรียนรูนิสัยของปลาอินทรียวา เปนอยางไร การหากินของปลาอินทรียเปนเชนไร เครื่องมือที่ใชเพื่อที่จะจับปลาอินทรียใชเครื่องมือใด
ชาวประมงจับเฉพาะตัวใหญ ถาเปนตัวเล็กเขาจะ ปลอยไปเพื่อใหปลาโตขึ้นมา เขาทําประมงแบบ รับผิดชอบ เรื่องราวเหลานี้อยากจะสื่อสารใหกับ สังคมภายนอกไดรับรูดวย เขากินปลาเขาคิดถึงชาว ประมง ยามใดที่เราเจอปญหาเรื่องของประมงขึ้นมา เขาจะนึกถึงพวกเรา มีสวนรวมในการชวยเหลือเรา ในอนาคต ” ปจจุบันชาวบานรวมกลุมกันเปนเครือขาย ชุมชนประมงพื้นบานจํานวน 52 หมูบาน มีเรือกวา 2,900 ลํา ชาวประมงกวา 83,000 คน รองรับการ ประกอบวิสาหกิจชุมชน โดยไดรับความรวมมือจาก นักวิชาการทองถิ่นและภาครัฐในการยกระดับสินคา เพิ่มมูลคาพรอมสรางมาตรฐานในการผลิต โดยเฉพาะ ผลิตภัณฑประมงแปรรูป แตไมทิ้งภูมิปญญาทองถิ่น ดั้งเดิม คือเมื่อไดปลาสดๆ จากทะเล ก็จะแขวนปลา ใหสะเด็ดนํ้า นวดเนื้อปลาเพื่อความนุม ละเอียดเปน เนื้อเดียว ซึ่งกระบวนการเหลานี้ถูกบมเพาะทักษะ และความชํานาญจากรุนสูรุนจวบจนปจจุบัน...
B L O O M
10 M A G A Z I N E
จักสานย่านลิเภา Words : Nuttiya Graphic : Narissara Photographs : Sasa
น
างสมจิตร เพชรประวัติ ประธานกลุมผูผลิต และผูประกอบการในชุมชนแหงนี้ กลาววา “ การทํายานลิเภา มีมาตั้งแตป พ.ศ. 2537 จนถึงปจจุบันก็ประมาน 23 ปแลว คนที่นี่สานยานลิเภาเปนอาชีพเสริมรองจากการกรีดยาง และทํานา โดยมี ปาลั่น ชูศรี ผูริเริ่มสานยานลิเภาเปนคน ฝกสอน จุดประสงคที่กอตั้งกลุมจักสานยานลิเภานี้ขึ้นมา เพราะอยากใหชาวบานมีรายไดเพิ่มขึ้น โดยใชเวลาวาง หลังจากการทําสวนยาง” การจักสานยานลิเภาหากเปนชิ้นเล็ก จะใชระยะเวลา ในการทําประมาณ 1-2 วัน หากเปนชิ้นใหญประมาณเดือน กวาๆ เด็กๆที่ปาเคยสอนจะมีอายุประมาณ 7-12 ป ปาจะเริ่ม จากการสอนทําชิ้นเล็กๆกอนสําหรับคนที่พึ่งฝก เชน จานรอง แกว กําไล ถาเริ่มชํานาญแลวก็จะใหทําชิ้นใหญ เชน กระเปา ตะกรา หมวก ในการทํายานลิเภามี วัสดุอุปกรณเพียงแคมีด, แปน, กรรไกร, และเข็ม เทานั้นเอง ผลิตภัณฑของคนที่นี่สวนใหญจะมีออเดอรสั่งมาจาก บริษัททั้งในกรุงเทพฯ และตางประเทศ สวนมากเขาจะสั่งเปน กระเปา ถาด หมวก และตะกรา เพราะมีลวดลายที่เปน เอกลักษณไมเหมือนที่อื่น เราไดถามปาวา “ไมคิดจะเปดราน หรือบริษัทของตัวเองบางหรอคะ” ปาบอกกับเราวา “ อยากอยูแบบพอเพียงมากกวา มีแคไหนก็แคนั้นไมมีขอผูกมัด บางครั้งบริษัทสั่ง 50 ชิ้น แตเราจะสงใหเขาเทาที่มี บางเดือนก็สงใหเขา 5 ชิ้น
ถาเยอะหนอยก็ประมาณ 20-50 ชิ้น เพราะแตละชิ้นตองใช ระยะเวลาในการทําคอนขางนาน และปจจุบันมีคนทํากันอยู แค 2-3 คน ตางจากสมัยกอน ถาเปดเปนบริษัทก็คงตอง เหนื่อยมากขึ้น ตองหาคนทําเพิ่มขึ้น ตองเรียนรูการตลาด และอุปสรรคอีกหลายอยางที่ตองเจอ ปาอยากอยูแบบพออยู พอกินมากกวา ที่ยังทําอยูเพราะเปนสิ่งที่เรารัก เรามีความสุข กับมัน เลยไมอยากทิ้งมัน อยากอนุรักษภูมิปญญาของคนที่นี่ ใหยาวนานที่สุด” สุดทายนี้ปาอยากฝากอะไรถึงคนรุนใหมบางไหมคะ? “...ปาอยากฝากใหคนรุนใหมหันมาสนใจและใหความสําคัญ กับภูมิปญญาทองถิ่นของตนเองใหมากขึ้น เพราะแตละทองถิ่น จะมีของดีที่มีเอกลักษณแตกตางกันออกไป คนตางประเทศเอง ยังชืน่ ชมในภูมปิ ญ ญาของคนไทย หากคนรุน ใหมสามารถประยุกต ใชกบั งานออกแบบสมัยใหม จะสามารถเพิม่ มูลคาของผลิตภัณฑ ไดมากยิ่งขึ้น แตถาหากไมสนใจที่จะอนุรักษหรือสืบสานตอ อีกไมนานภูมิปญญาของบรรพบุรุษของเราก็จะคอยๆจางหาย ไปตามกาลเวลา ซึ่งเปนเรื่องที่นาเสียดายอยางยิ่ง ”
Words : Nuttiya Graphic : Narissara Photographs : Sasa
B L O O M
11 M A G A Z I N E
หรือทางตานี หมายถึง เมืองปตตานี สวนลองจวนเปน การเจอกันระหวางชายผากับตัวผา ซึ่งนอกจากชื่อนี้ แลวยังมีชื่ออื่นที่ใชเรียกอีก เชน ผาลีมา ผาลองจวน ผายกตานี ” ผาจวนตานี เปนผาลายโบราณของตำบลทรายขาว อ.โคกโพธิ์ จ.ปตตานี ทอดวยไหม มีอตั ลักษณตรงเชิงผา ดานซายและดานขวา ลักษณะลวดลายมีหลากหลาย อาทิลายเข็มขัดทอง ลายปูกะ ลายตะเกียง และลาย ดวงดาว เปนผาพืน้ เมืองทีน่ ยิ มใชในชนชัน้ สูงซึง่ สืบทอด มากวา 200 ป
“ นุงจวนตานีสีตอง ยกเปนตะเกียงทองเฉิดฉาย พระนุงใหเฟอยเลื้อยลอยชาย คาดปนเหนงสายลายทองเรือง ” (คัดจากบทหนึ่งในเรื่องดาหลัง) จากพระราชนิพนธในสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
ความเจริญทางดานการคานำพาวัตถุดิบจากตางชาติ เขามา เชน ไหมจากเมืองจีน ดิ้นเงินทองจากอินเดีย สียอมผา นำเขา ตลอดจนชางฝมือแขนงตางๆที่เดินทางมาพักคางแรม ไปจนถึงยายมาตั้งถิ่นฐานในนครปตตานี เมื่อครั้งยังเปนเมือง ทาปลายดามขวาน ทำใหมีการแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและกัน หนึ่งในนั้นคือ ความรูการทอผาที่ผสมผสานเทคนิคมัดหมี่เขากับ วิธีทอผาทองถิ่น จนกลายเปนผาไหมมัดหมี่ลายจวนตานี หรือ “ ผาจวนตานี ” ครูนัชฎาภรณ พรหมสุข ครูชางศิลปหัตถกรรมป พ.ศ. 2559 ประเภทเครื่องทอ (ผาจวนตานี) อธิบายถึงชื่อของผาจวนตานี ใหเราฟงวา “ คำวา จวน มาจาก จูวา ในภาษายาวี แปลวา รอง
“ สังเกตงายๆผาจวนตานีนี้จะใชสีตัดกัน ตัวผามัก เปนสีพน้ื มีชายสีแดงลักษณะเปนลายทางแนวตัง้ หลาย แนวแตละแนวจะใสลายตางกัน ซึง่ เปนลายทีจ่ นิ ตนาการ ขึน้ จากวิถชี วี ติ ทองถิน่ ” ครูนชั ฎาภรณ อธิบายวิธกี ารสังเกต ผาจวนใหเราฟง และยังไดกลาวอีกวา “เมือ่ กอนจวนตานี วูบไหวเหมือนแสงเทียนเลย ถาไมมีใครเอามือปองลมไว ก็คงดับ ” เมือ่ เดือนตุลาคม พ.ศ.2542 สมเด็จพระนางเจาสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 ก็ไดโปรยน้ำพระราชหฤทัย ลงสูหัตถศิลปของเมืองปตตานีชิ้นนี้ “ ผาไหมลีมาสวยงามมาก สมควรที่จะคนควาทดลอง ตอไป ” พระราชเสาวนียของพระองคทำใหผาจวนตานีที่ ในอดีตอาจเปนเพียงเทียนที่วูบไหวใกลดับแสง กลับมา สองสวางอีกครั้ง... ครูนัชฎาภรณ กลาววา “ ปจจุบันในกลุมทอผา ตำบลทรายขาวมีการสอนการทำผาจวนตานีใหกับ นักเรียนในพื้นที่ และเปดโอกาสใหกับผูที่สนใจไดศึกษา เรียนรู เพราะตองการใหงานหัตถศิลปที่เปนเอกลักษณ ของเมืองปตตานีชิ้นนี้คงอยูตอไป ” นับเปนอีกหนึ่งความภาคภูมิใจของคนใน จังหวัดปตตานี ที่มีมรดกทางงานหัตถศิลปที่งดงาม เชนนี้อยู หากคนในพื้นที่เองไมอนุรักษ และรักษา มรดกอันล้ำคาชิ้นนี้ไว อีกไมนานผาจวนตานีคงเปน เพียงเรื่องเลาขานใหคนรุนหลังฟง...
5 B L O O M
12 M A G A Z I N E
Places To
Get Inspired
...àÃÒÍÒ¨¨ÐµŒÍ§ÂÍÁÃѺ¤ÇÒÁ¨ÃÔ§·ÕèÇ‹Ò ºÒ§¤ÃÑé§ ºÒ§àÇÅÒ àÁ×èͤÇÒÁ¤Ô´¢Í§àÃÒà¡Ô´ µÕºµÑ¹¢Öé¹ÁÒ ¤Ô´ÍÐäÃäÁ‹ÍÍ¡ ¡ÒÃà»ÅÕè¹ʶҹ·Õè à»ÅÕè¹ÁØÁÁͧ à»ÅÕ蹺ÃÃÂÒ¡ÒÈ ¡çÊÒÁÒö ª‹ÇÂãËŒàÃÒ¤Ô´ÍÐäÃä´Œ§‹Ò¢Öé¹ àÃÒ¨Ö§ÍÂÒ¡¹ÓàʹÍʶҹ·ÕèÊÌҧáçºÑ¹´ÒÅã¨ãËŒ¡º Ñ ¤Ø³ ËÒ¡ÁÕ âÍ¡ÒÊà´Ô¹·Ò§áÇÐàÇÕ¹ÁҨѧËÇÑ´»˜µµÒ¹Õ àÁ×ͧ·ÕèàµçÁä»´ŒÇÂàʹ‹Ë áÅÐàÃ×èͧÃÒÇ ¡çÅͧÁÒÊÑÁ¼ÑÊ ¡Ñº 5 ʶҹ·ÕèÊÌҧáçºÑ¹´ÒÅ㨹Õé áŌǤس¨Ð¾ºÇ‹ÒäÍà´Õ´Õæà¡Ô´¢Öé¹ä´ŒäÁ‹ÂÒ¡àÅÂ
& fe’ Ca
1
In_ t_a f
ry Galle
In_t_af Cafe’& Gallery รานกาแฟแนวอินดี้ ที่ใช
ตึกเกาแนวชิโนโปตุกีส ตกแตงรานแบบ “วาบิ ซาบิ” นั่นคือ การโชวปูนเปลือยดิบๆ มองความไมสมบูรณของวัสดุเหลานั้น เปนความงาม ชั้นลางมีสวนที่มีหลังคาใหลูกคานั่งพื้น และ สวนที่เปดโลง ที่ลูกคาสามารถดื่มชากาแฟและชมวิวของ แมนํ้าปตตานีไปดวย สวนชั้นสองเปนหองละหมาด ที่นี่จะจัดแสดงงานศิลปะ ภาพถาย และมีกิจกรรม ที่จะจุดประกายไอเดียของคุณตลอดทั้งป ไมเชื่อ!ก็ลอง แวะมา Check in ดู 19/37 ถ.พูนสวัสด ตําบล อาเนาะรู อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี
In_t_af Cafe’& Gallery
Patani Contempo rar yA r
y ller a G ts
Patani Contemporary Arts Gallery
เกิดขึ้นภายใตฐานคิดเพื่อเปนพื้นที่จัดนิทรรศการ แสดงผลงานศิลปะของศิลปนตางๆ ทั้งในและนอกพื้นที่ จัดงานเสวนา บรรยาย เวิรคช็อปเกี่ยวกับงานศิลปะ และ เปนที่วางหนังสือเกี่ยวกับงานศิลปะ ทั้งหนังสือวิชาการ หนังสือนิทรรศการ และศิลปนิพนธของนักศึกษา ทั้งนี้หวัง ใหเปนพื้นที่ศิลปะของจังหวัดชายแดนใต และเปนแหลง คนควาขอมูลของผูที่ตองการหาไอเดียใหมๆ Patani Contemporary Arts Gallery
91/21 ถ.หนองจิก ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปตตานี
2
B L O O M
Benjametha Ceramic ถาพูดถึงงานเซรามิกรวมสมัย
Benjame tha Ce ram ic
3
13 M A G A Z I N E
ที่มีเอกลักษณสะทอนถิ่นฐาน และกลิ่นอายของวัฒนธรรม ทองถิ่น ไมมีใครไมรูจัก “เบญจเมธาเซรามิก” จากคอนเซปต Nature & Peace สูงานออกแบบผลิตภัณฑหัตถกรรม รูปแบบใหมทป่ี ระยุกตศลิ ปะไทยและมาลายูทอ งถิน่ ไวดว ยกัน โรงงานเบญจเมธาเซรามิก ตั้งอยูบนพื้นที่ทามกลาง ธรรมชาติอันเงียบสงบ มีทุงนาเขียวขจี มีสวนของโรงงาน ฟารมและที่อยูอาศัย คุณสามารถแวะมาเยี่ยมชม และ ซึมซับแรงบันดาลใจใหมๆไดที่นี่
4
6/4 Moo 6, Tambon Khuan, Amphoe Panare, Pattani
Benjametha Ceramic
หอศิลปวัฒนธรรมภาคใต
Œ ¤ãµ Ò À
ËÍÈÅÔ » Dz Ñ ¹ ¸Ã ÃÁ
แหลงรวมขอมูลศิลปวัฒนธรรมในภาคใตจากอดีต จนถึงปจจุบัน ที่นี่จะแบงออกเปนหลายโซน โซนแสดงงาน ศิลปะรวมสมัย จะมีงานศิลปะแสดงหมุนเวียนไปทั้งป โซนแสดงงานจิตกรรมบนฝาผนัง โซนหอวัฒนธรรมภาคใต แหลงเรียนรูประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี และ ภูมิปญญาของคนในสามจังหวัดชายแดนใต เปดใหเขาชมวันจันทร- วันศุกร 9:00 น.-16:00 น. ËÍÈÔÅ»ÇѲ¹¸ÃÃÁÀҤ㵌 สถาบันวัฒนธรรมศึกษา กัลยาณิวฒ ั นา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จ.ปตตานี
u
Melayu Living คือชื่อของกลุมคนรุนใหมที่รวมตัวกัน
เพื่อสรางความเคลื่อนไหวอยางสรางสรรค โดยใชความ รวมมือของคนในพื้นที่ เรื่องราวทางประวัติศาสตร และการ นําเสนอวัฒนธรรมเฉพาะของทองถิ่น ประกอบรวมกันเพื่อ สรางบันทึกบทใหมใหกับพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต ลาสุดทางกลุมไดจัดกิจกรรม Walking Tour (เดินอารมณดี) เปนการเดินชม ยานเมืองเกา และเปดเวที เสวนา หัวขอ “ยาน: คุณคาจากอดีต และมุมมองตออนาคต” ติดตามกิจกรรมสรางสรรคดีๆแบบนี้ไดที่เพจ : Melayu Living Melayu Living
ต.อาเนาะรู อ.เมือง จ.ปตตานี
ing Liv
5
Me lay
การเบงบานของคนทำงานสรางสรรค ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต Melayu Living ‘มลายู ลีฟวิ่ง’ (Melayu Living) คือ ชื่อของกลุมคน รุนใหมที่รวมตัวกันเพื่อสรางความเคลื่อนไหวอยางสรางสรรค โดยใชความรวมมือของคนในพื้นที่ เรื่องราวทางประวัติศาสตร และการนําเสนอวัฒนธรรมเฉพาะของทองถิ่น ประกอบรวมกัน เพื่อสรางบันทึกบทใหมใหกับพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต
Saiburi Looker ¹Ñ¡à½‡ÒÁͧáË‹§àÁ×ͧÊÒÂ
“ áÇŒ§·Õèá Ñ ”
: ¤ÇÒÁÃعáç à¡çºÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ§ÒÁ นิรันดร เลาะนะ หรือ ยี และ สุไลมาน เจะแม หรือ ลี คือ สองหนุมผูรักในอําเภอบานเกิด ที่พยายามนําเสนอความ สวยงามของแวง ทั้งในดานธรรมชาติ และวัฒนธรรม เพื่อใหคน ในชุมชนรูสึกวา ชีวิตยังมีดานสวยงามอยู เปนการใชธรรมชาติ และวัฒนธรรมที่สวยงามเปนตัวบําบัดความตึงเครียดจากความ รุนแรง โดยการนําเสนอผานทางหนังสั้น เรื่อง “แวงที่รัก” นอกจาก หนังสั้นแลว เขายังจัดคายสอนเยาวชนในพื้นที่ทําหนังสั้น ตั้งแต เขียนบท ถายทําและตัดตอ เพื่อใหเยาวชนในพื้นที่ไดแสดงถึง ความคิด ความรูสึกของตนเองออกมาผานงานหนัง
SAIBURI LOOKER สําหรับพวกเขามีความหมายวา “มุมมองของผูคนในการมองความเปนสายบุรี” เพื่อนําเสนอ ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ และวิถีชีวิตความเปนอยูของคน ในสายบุรี โดยสื่อออกมาทางภาพถาย ผานมุมมองของผูดูแล เพจทั้ง ๖ คน ไมจํากัดวาจะตองนําเสนอแตเรื่องราวที่เกี่ยวกับ ประวัติศาสตรหรือเรื่องราวเกาๆ ในอดีตเทานั้น แตจะนําเสนอ เหตุการณที่เกิดขึ้นในปจจุบันแตอาจถูกมองขามไป และเรื่องราว เหตุการณสําคัญ สถานที่สําคัญซึ่งถูกละเลยปลอยทิ้งไว ทางทีม งานสายบุรีลุกเกอรก็จะไปสืบเสาะศึกษาเรื่องราวเหลานั้น ถายทอดออกมาเปนภาพถาย พรอมคําบรรยายใตภาพ เพื่อให ผูที่เขามาชมไดเขาใจในมุมมองที่ชางภาพตองการที่จะสื่อออก มาได
Patani Contemporary Art Gallery Patani Contemporary Arts Gallery พิพิธภัณฑ ศิลปะกาวเล็กๆ ในปตตานี โดย ผศ.เจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ อาจารยคณะศิลปกรรมศาสตร ม.อ.ปตตานี เพื่อเปนพื้นที่ กลางสําหรับงานศิลปะพื้นที่จังหวัดชายแดนใต ขับเนนให เห็นวาศิลปะเปนสิ่งสําคัญเพื่อการพัฒนาศักยภาพชีวิต ของมนุษย อาจไมมีประโยชนตอสังคมแตไมเคยทํารายใคร ดวยความหวังวาเยาวชนในวันหนาจะใชจิตใจในการพัฒนา สังคม บนฐานความดี ความงาม และความจริง
¡ÅØ‹Áª‹Ò§ÀÒ¾à¾×èÍÊѹµÔªÒÂᴹ㵌 (PPS)
คนรุนใหม ที่มีใจรักในการถายภาพ ไดรวมตัวกันสรางสรรคเรื่องราว ดีๆ หลากหลายมุมมองของจังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส ผาน ภาพถายสวยๆ และมีความหมาย จัดแสดงนิทรรศการหมุนเวียนไปใน สามจังหวัดชายแดนใต ภายใตชื่อกลุมชางภาพเพื่อสันติชายแดนใต PPS
B L O O M
15 M A G A Z I N E
“ ¤ÓÇ‹ÒÊÒÁ¨Ñ§ËÇÑ´Áѹ¶Ù¡¾Ø‹§ÁÒ·Õè¤ÇÒÁäÁ‹Ê§º ᵋʋǹµÑÇàÃÒäÁ‹àª×èÍÇ‹Ò໚¹ÃÐàºÔ´áºººÙÁ ᵋ¾×é¹·Õ軘µµÒ¹ÕÊÓËÃѺàÃÒ໚¹ºÅÙÁ (bloom) ·Õèá»ÅÇ‹Ò຋§ºÒ¹ à¾ÃÒÐÁÕ¤¹ÃØ‹¹ãËÁ‹·Õè¼ÅÑ¡´Ñ¹ ¢Í§´Õæ àÃÒÍÂÒ¡à»ÅÕ蹡ÒÃÃѺÃÙŒºÒ§Í‹ҧãˌ䴌 ” Melayu Living