17 ปลื้ม

Page 1

ปลื้ม ป ลื้ ม ใ จ ไ ท ย วิ ถี

วิ ถี พ อเพี ย ง คิ ด ดี วิ ถี ไ ท ย รหัสคิดเพื่อชีวิตพอเพียง ความสุขแบบพอเพียงที่ฟาร์มเห็ดสุขใจ

กิ น ดี วิ ถี ไ ท ย เมนูพื้นบ้าน อาหารริมรั้ว

ท่ อ ง เ ที่ ย ว วิ ถี ไ ท ย ทริปเปี่ยมสุขที่บ้านบัว


เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอก รองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้​้าไป พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 จากวารสารชัยพัฒนา ประจาเดือนสิงหาคม พุทธศักราช 2542


เ อิ ญ นภวรรณ แสงศรีจันทร์ ศิลปกรรม ช่างภาพ

น้า ฟ้ า กัลยกร หัวนา ช่างภาพ พิสูจน์อักษร

เ มื่ อ เรามองไปบนผืนนาใหญ่กว้าง ท้องฟ้าสีคราม สายน้าที่ ทอดตัวจากแนวเขา ระยิบระยับ ยามกระทบแสง ความรู้สึก เบิก บาน ยินดีมักจะปรากฏขึนแม้อยู่ในช่วงเวลาอันแสนทดท้อ เป็นสิ่งที่สะท้อน ให้ เ รารู้ ว่ า ในความมื ด มี ค วามสว่ า ง ในความทุ ก ข์ มี ค วามสุ ข ในสิ่ ง ธรรมดา มี บ างอย่ า งที่ พิ เ ศษซ่ อ นอยู่ จึ ง ไม่ น่ า แปลกใจหากวิ ถี เกษตรกรรมที่เป็นอยู่อย่างเรียบง่าย แต่ลุ่มลึกด้วย ภูมิปัญญาแห่งความ พอเพียง... ยังคงเป็นมนต์เสน่ห์ของผืนแผ่นดินไทย ขอน้าเสนอความภาคภูมิใจในพลังของแผ่นดิน ...ปัญญา ของแผ่นดิน ที่ฝังรากลึกในชุมชนที่แตกต่าง หลากหลาย แต่หลอมรวม ด้วยความเป็นไทยภายใต้ร่มพระบารมีแห่งสถาบันพระมหากษัตริย์

น้า ฝ น กชมน หัวนา ช่างภาพ คอมพิวเตอร์

ค รู อั ญ กนกวรรณ แสงศรีจันทร์ ครูที่ปรึกษา

ทีม โรงเรียนภูซางวิทยาคม เลขที่ 318 หมู่ 10 ต้าบลสบบง อ้าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา 56110 โทรศัพท์ : 054-445583 โทรสาร : 054-445645

ฉบับนี เราจะพาคุณไปสัมผัส วิถีพอเพียง ที่ง่าย งาม และ ท้าให้เรายิมได้อย่างปลืมใจกับชุมชนเล็กๆ ในต้าบลบ้านตุ่น อ้าเภอเมือง จังหวัดพะเยา “ บ้ า น บั ว ” หมู่บ้านต้ นแบบเศรษฐกิจ พอเพีย ง รางวัล ชนะเลิศ ถ้ วยพระราชทานจากพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพ ลอดุล ยเดช รัชกาลที่ 9 เมื่อปี พ.ศ.2552 จนถึ งปัจ จุบั น ชาวบ้านบัว ยังคงด้าเนินชีวิตตามหลักของเศรษฐกิจพอเพียง จนเป็น แบบอย่างแก่ชุมชนอื่นๆ เป็นเครื่องพิสูจน์ให้เรารับรู้ว่า . . “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” คือหนึ่งในมรดกอันล้าค่า จากในหลวงรัชกาลที่ 9 ของปวงชนชาวไทย


คิ ด ดี วิ ถี ไ ทย P5 คิดให้ถึงแก่น รหัสคิดเพื่อชีวิตพอเพียง P6-7 คิดดีชีวิตดี ความสุขแบบพอเพียงที่ฟาร์มเห็ดสุขใจ

ท่ อ งเที่ ย ววิ ถี ไทย P8-11

ทริปเปี่ยมสุขที่บ้านบัว

กิน อยู่ วิถีไทย P12-13 อยู่ดีวิถีไทย

ผักพื้นบ้าน P14-15 กินดีวิถีไทย

อาหารริมรั้ว : แกงแค จากคนที่

คุณ


คิดดี วิ ถี ไ ท ย คิ ด ใ ห้ ถึ ง แ ก่ น

นภวรรณ

รหั ส คิ ด เพื่อชีวิตพอเพียง โลกทุ ก วั น นี้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง อย่า งรวดเร็ว โดยเฉพาะ การพัฒ นาด้า น เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ภู เ ขา ทะเล พรมแดนธรรมชาติ ที่ เ คยเป็ นอุ ป สรรคใน การติ ด ต่ อ ไปมาหาสู่ ข องคนบนโลก ดู เหมือ นเลื อ นหายไป เราก าลั งก้ า วเข้ า สู่ “โลกใหม่ ” ซึ่ งเป็ นโลกที่มิ ติค วามสัมพันธ์ และปั ญ หาทางเศรษฐกิ จ การเมือ ง และ สั ง คม มี ค วามซั บ ซ้ อ นมากขึ้ น มี ก าร เชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งกั น ย้ อ นกลั บ ไปมาจน เกื อ บจะเรี ย กได้ ว่ า ไร้ เ ส้ น แบ่ ง โลกที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยพลั ง อั น รวดเร็ ว และทรง ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง เ ท ค โน โ ล ยี ท า ใ ห้ สภาพแวดล้อมที่เราต้องเผชิญเปลี่ยนแปลง รวดเร็ ว เป็นไปในทิ ศทางที่ ค าดเดาได้ยาก และมีแนวโน้มผันผวนสูงขึ้น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เคยมีพระราชดารัส ในโอกาส วันขึ้นปีใหม่เมื่อ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2521 ไว้ว่า

“ความวิ ป ริ ต ผั น แปรของวิ ถี แ ห่ ง เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และอื่น ๆ ของ โลก ยากยิ่งที่ เราจะหลีกเลี่ยงให้พ้นได้ จึ ง ต้ อ งระมั ด ระวั ง ประคั บ ประคองตั ว เรา มากขึ้น” และนั บ ว่ า เราโชคดี ม ากที่ ไ ด้ เ กิ ด บน ผื น แผ่ น ดิ น ไทย ที่ ซึ่ ง รั ช กาลที่ 9 ได้ พระราชทานพระราชด ารั ส ชี้ แ นะแก่ พสกนิกรชาวไทย เพื่อนาไปใช้ในการแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และของโลกคื อ หลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ซึ่ ง เป็ น แนว ทางการด ารงชี วิ ต และปฏิ บั ติ ต นตั้ ง แต่ ระดับครอบครัว ระดับ ชุมชน จนถึงระดับ รั ฐ ให้ ด าเนิ น ไปในทางสายกลาง ไม่ ประมาท ไม่ โลภ ไม่เบี ยดเบี ยนผู้อื่นโดย คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผ ล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ตลอดจนใช้ความรู้และ คุณ ธรรมเป็ นพื้ นฐานในการด ารงชี วิ ต ให้ รอดพ้นจากวิกฤติ มีความมั่นคงและยั่งยืน ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงต่างๆ

คิดจะทำอะไร ? เพื่ออะไร ? เพรำะอะไร ? จะต้องทำอย่ำงไร ?

พร้อมหรือเป็นไปได้ที่จะทำให้สำเร็จหรือไม่ ? พอดี พอประมำณ กับตัวเรำหรือไม่ ?

พ ม

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั้น ไม่ เ พี ย งน าไปใช้ ไ ด้ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรมใน การเกษตร เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน แต่ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทุกระดับฐานะ และทุกสาขาอาชีพ โดยนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิดในการดาเนิน ชีวิต ดาเนินงานต่างๆ ก็จะทาให้เรามีชีวิ ต พอเพียง สมดุล และมีความสุขในท่ามกลาง กระแสการเปลี่ยนแปลง ที่ ร วดเร็ ว ของ โลกในปัจจุบัน ปลื้ ม แมกกาซี น ขอน าเสนอรหัส คิ ด 1 พ 2 ม 2 ค ซึ่งนามาจากองค์ป ระกอบ 5 ส่ ว น ของหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง หรื อ 3 ห่ ว ง 2 เงื่ อ นไข โดย ประยุกต์เป็นคาถามให้เราได้ตอบก่อนที่จะ ทาสิ่งใด ๆ และหากเราฝึกฝนการใช้รหัสคิด นี้ เราก็จะเป็นคนที่มีหลักคิด มีชีวิตพอเพียง สมดุลและความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง ในทุกมิติ มรดกอันล้าค่า จากในหลวงรัชกาลที่ 9 อยู่ในมือของเราทุกคนแล้ว

รหัสคิด เ พื่ อ

เมื่อมีกำรเปลี่ยนแปลง ไม่เป็น ตำมที่คิด หรือเกิดปัญหำขึ้น จะมีวิธีแก้ไขหรือทำงออกอย่ำงไร ?

ชี วิ ต พ อ เ พี ย ง มีควำมรู้ในเรื่องที่จะทำ มำกน้อยเพียงใด ?

สิ่งที่จะทำเป็นสิ่งที่ถูกที่ควรไหม ? ทำแล้วจะส่งผลกระทบกับใคร กับสิ่งใดบ้ำง ?

ปลื้ม

05


คิดดี วิ ถี ไ ท ย คิ ด ดี ชี วิ ต ดี

นภวรรณ

ความสุ ข แบบพอเพี ย ง ที่ ฟ าร์ ม เห็ ด

ปลื้ม

06

ส้าคัญที่สุด คือมีใจรักในสิ่งที่ท้า ถ้าเรามีใจรักแล้วไม่ว่าจะมีอุปสรรค มากมายแค่ไหน มันก็จะเป็นเพียง ประสบการณ์ชีวิตที่ให้เราได้ก้าวผ่าน และพาเราไปสู่จุดที่ดีขึ้น


ในช่วงของการเปลี่ยนผ่านฤดูกาลจากปลายฝน สู่ต้นหนาว สายลมแห่งความสุขน้าเราไปสู่ฟาร์มเห็ดเล็กๆ แต่ เปี่ยมไปด้วยความรักและอบอุ่น ท่ามกลางสวนยางพาราและนาไร่ รายล้อมด้วยขุนเขา บนเส้นทางคดเคียวท้ายหมู่บ้าน ปงใหม่ ต้าบลทุ่งกล้วย อ้าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา “ฟาร์มเห็ดสุขใจ” คุณแต๋ม – เอื้ออังกูร สุขใจ ผันชีวิตจากมนุษย์เงินเดือนในต่างจังหวัดนานกว่าสิบปีสู่ชีวิตเกษตรกรเธอ พาครอบครัวกลับสู่อ้อมกอดของบ้านเกิดมาใช้ชีวิตบนผืนดินมรดกของคุณยายปรับปรุงพืนที่สามไร่เศษ ให้เป็นทังที่อยู่ อาศัย โรงเพาะเห็ด แปลงผักอินทรีย์ ร้านอาหารและ โฮมสเตย์ ด้วยความหวังว่าฟาร์มเห็ดสุขใจแห่งนีจะเป็นที่บ่ม เพาะความสุข ของครอบครัวและแบ่งปันออกไปสู่คนในชุมชน เริ่มทำฟำร์มเห็ดตั้งแต่เมื่อไหร่และทำไมถึง คิดมำทำฟำร์มเห็ด เริ่ ม ท้ า ฟาร์ ม เห็ ด ตั งแต่ ปี พ.ศ. 2555 ก่ อ นหน้ า นั น 13 ปี ท้ า งานเป็ น ลู ก จ้ า ง ประจ้ า อยู่ ต่ า งจั ง หวั ด พอย้ า ยครอบครั ว กลับมาอยู่บ้านเกิดของตัวเองเพื่อดูแลยาย ก็ คิ ด จะกลั บ มาท้ า การเกษตร ซึ่ ง คนใน ชุมชนส่ วนใหญ่จ ะปลูกยางพาราแต่ตัว เอง คิดว่าถ้าปลูกยางพาราคงต้องรออีกหลายปี กว่ า จะได้ ผ ลผลิ ต เลยมองหาการเกษตร แบบอื่ น ตอนนั นเห็ น ว่ า ในชุ ม ชนยั ง ไม่ มี ฟาร์มเห็ดและส่วนราชการหลายๆ ที่ก็มีการ ส่งเสริ มการเพาะเห็ ด น่าจะมีแหล่งความรู้ และแหล่ ง ศึ ก ษาดู ง านให้ เ ราได้ เรี ย นรู้ หลายแห่ง จึงตัดสินใจที่จะท้าฟาร์มเห็ดค่ะ

กำรเริ่ ม ท ำฟำร์ ม เห็ ด ตอนนั้ น ใช้ ต้ น ทุ น อะไรบ้ำง ตอนนั น มี ต้น ทุ น คื อ ที่ ดิน มรดกของ คุณยายประมาณสามไร่ เศษ เงินเก็บ จาก การท้ า งานก้ อนหนึ่ ง มี แ รงงานคื อ คนใน ครอบครั ว 4 –5 คน ซึ่ ง เป็ น ผู้ ห ญิ ง เสี ย ส่ ว นใหญ่ มี ผู้ ชายคนเดี ย ว และมี ค วามรู้ เบืองต้นเกี่ยวกับการเพาะเห็ดซึ่งเรียนรู้จาก เพื่อนเกษตรกรในชุมชนจากเครือข่ายสังคม ออนไลน์ในอินเทอร์เน็ตค่ะ

ในกำรทำฟำร์มเห็ด เจอปั ญหำอะไรบ้ ำ ง แล้วมีวิธีแก้ไขปัญหำหรือหำทำงออกของ ปัญหำอย่ำงไร ปั ญ หาส้ า คัญ อย่ า งแรกเลยคือ ความรู้ ด้านการท้าเกษตรปัญหาที่สองคือการตลาด มีอยู่ช่ว งหนึ่งเจอปัญ หาหนักมาก จนหยุด ท้า ฟาร์มไปเกือบ 6 เดือน แต่ก็ไ ด้ใ ช้เวลา ช่ว งนั นทบทวนตั ว เองว่ า ที่ ผ่า นมาเราท้ า ฟาร์มเห็ดที่หนึ่ง 4 โรงเรื อน รวมหมื่นกว่ า ก้อน มั นเกินก้ า ลังเรา เวลาที่ เห็ด ออกมา พร้อมๆ กัน ในบ้านมีแต่กองเห็ด จากที่มอง ว่าในชุมชนไม่มีฟาร์มเห็ดแต่จริงๆ แล้ว เขา เพาะเห็ดเป็ นอาชีพเสริมกันเยอะมากเห็ด ออกที่ ห นึ่งนี่แทบร้องไห้ไ ม่รู้จ ะเอาไปขาย ทีไ่ หน แม่ค้าคนกลางก็กดราคา ทิงไว้นาน เห็ ดก็เน่ า เสี ย ไปนั่ งขายที่ ตลาดเองก็ต้อ ง ทะเลาะกับแม่ค้าเดิม ที่เขาขายอยู่ก่อนแล้ว สารพัดปัญหา ... แต่เราก็ไม่ท้อ ช่วงที่หยุด ท้า ฟาร์ม ก็ไ ปขอศึกษาจากฟาร์มเห็ดของ เพื่อน ใช้เวลาวันเดีย ว แต่เราพยายามเก็บ ข้อมูล จดบั นทึกทุ กอย่า ง แล้ว น้า สิ่งที่ ไ ด้ กลั บ มาเริ่ ม ท้ า ฟาร์ ม ต่ อ โดยครั งนี เริ่ ม คิ ด วางแผน การเพาะเห็ ด ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การตลาด ท้ า แบบค่ อยเป็ น ค่อยไป หมั่ น เรี ย นรู้ สั ง เกต และพบว่ า ทุ ก ปั ญ หามี ทางออกของมันอยู่แล้วเพียงแต่เราต้องรู้จัก คิด โดยเฉพาะการคิดบวกส้าคัญมาก

พัฒนำกำรของฟำร์มเห็ดสุขใจและทิศทำง ในอนำคต เริ่มจากที่เราเพาะเห็ดเพื่อขายสด พอ พบปัญหาเห็ดล้นตลาด ก็หันมาแปรรูปเห็ด เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ห็ ด สวรรค์ น้ า พริ ก เห็ ด แหนมเห็ด ต่อมาลูกค้าเริ่มรู้จัก มาแวะเวียน ที่ ฟาร์ มมากขึนเริ่มมีเ สีย งเรีย กร้อง ให้ ที่ ฟาร์ม บริก ารอาหารด้ว ย เพราะฟาร์มอยู่ ไกลตัวเมืองกว่าจะมาถึงลูกค้าก็เริ่มหิว เรา เลยท้าร้านอาหารเล็กๆ และตอนนีก็เริ่มท้า แปลงผักอินทรีย์ส้าหรับใช้ในร้านอาหาร ที่ เห ลื อก็ จ้ า หน่ า ย ให้ ลู ก ค้ า น้ า กลั บ ไ ป ท้า อาหารที่บ้ าน แล้วล่า สุดก็ท้ า ที่พัก แบบ โฮมสเตย์ เ พื่ อ รองรั บ ลู ก ค้ า ที่ อ ยากมา ท่ องเที่ ย วเรี ย นรู้ วิถี เกษตรชุ มชนค่ะ ส่ว น ทิศทางในอนาคต อยากจะท้าเป็นฟาร์มเห็ด สุขใจให้เป็นแหล่งถ่ายทอดองค์ความรู้ด้าน การแปรรูปอาหารในชุมชน และพัฒนาเป็น แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรค่ะ ใช้หลักคุณธรรมอะไรในกำรดำเนินกิจกำร ฟำร์มเห็ดสุขใจ ความซื่อสัตย์ต่อลูกค้า ค่ะ ผลผลิตของ เรา เราพยายามท้ า ให้ ดี ที่ สุ ด เราอยาก บริโภคของที่ มีคุณภาพ ลูกค้า ก็ต้องได้รับ เช่ นเดี ย วกั บ เรา ส่ ว นการบริ ห ารงานใน ฟาร์มก็จ ะใช้ห ลัก เอาใจเขามาใส่ใ จเรามี ความยุติธ รรมกับ ทุ กคนเพราะแรงงานใน ฟาร์มคือคนในครอบครัว เพื่อน ญาติพี่น้อง ในชุ ม ชนเราทั งนั น และที่ ส้ า คั ญ คื อ การ แบ่งปัน ทุกคนอยากมีความสุขดังนัน ถ้าเรา มีความสุข ไม่ว่าจะแรงงานหรือลูกค้าทุกคน ย่อมสมควรได้รับความสุขเช่นเดียวกับที่เรา ได้รับค่ะ

ปลื้ม

07


กชมน

กัลยกร

ทริปเปี่ยมสุขที่

“บ้านบัว” เอ้ก อี เอ้ก เอ้กก เสียงไก่ขันยามเช้าตรู่ปลุกให้ ฉันตื่นจากความฝัน เช้า นีหนาวเหน็บ จนไม่อยากลุกออก จากผ้ า ห่ ม เสี ย จริ ง ๆ แต่ วั น นี เรามี นั ด ส้ า คั ญ รออยู่ . .. เที่ ย ว “บ้ า นบั ว ” คิ ดแล้ ว ก็ตื่นเต้นกว่า การลุ้น กดบั ต ร คอนเสิร์ต ฉันท้าภารกิจส่วนตัวอย่างรีบเร่งจากนันก็หอบ สัมภาระขึนรถและออกเดินทางทันที ฉันนั่งรถมองไปสอง ข้ า งทาง ด้ ว ยจิ ต ใจที่ จ ดจ่ อ อยากจะให้ ถึ ง จุ ด หมาย ปลายทางอย่า งรวดเร็ว ฉั นใช้เวลาเดินทางไปถึงบ้ านบั ว รา ว 2 ชั่ ว โม ง ฉั น แล ะ เ พื่ อ น ๆ เ ต รี ย ม อุ ป ก ร ณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ต่ า ง ๆ ลงจากรถ เพื่ อ มาสั ม ผั ส กั บ บรรยากาศภายนอก

ปลื้ม

08

พระอาทิตย์สาดส่องแสง แดดอ่อนๆ ทะลุกลุ่ม หมอกมากระทบตัว ท้าให้รู้สึกอบอุ่นขึนมาบ้าง พวกเราอยู่ ที่ ศู นย์ การเรีย นรู้ ของชุม ชนเพื่ อดู แผน แล้ ว จึ งชวนกั น เดินเล่น ในหมู่บ้ า น เราเห็นผัก ขึนตามรัวบ้า นทุ กหลังที่ เดินผ่าน ขณะที่ฉันเดินเพลินจนสุดถนน ก็ได้ยินเสียง กรุ๊ง กริ๊ง ดังมาแต่ไกล ฉันจึงเงี่ยหูฟัง ทันใดนันก็ เหลือบไปเห็น ระฆังเล็ก ๆ แขวนอยู่ตามชายหลังคาวัดจ้านวนมาก และ ที่นี่ก็คือ “วัดบ้านบัว” ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้าน วัดที่ นี่จ ะมี 2 ชัน โดยชั นบนจะเป็ นวิ ห ารเพื่ อประกอบ พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ส่วนชันล่างจะเป็นที่ส้าหรับ จัดกิจกรรมในชุมชน ฉันจึงเดินเข้าไปกราบไหว้พระพุทธรูป และเดิน ดูร อบ ๆ ภายในวั ด จะเห็ นได้ว่ า วั ดนี ยัง มีข อง เก่าแก่ โบราณเก็บไว้อยู่


และก็อีกตามเคย คุณยายแนะน้าที่ เที่ ย วในหมู่บ้ านต่อ ความจริงแล้ว บ้ า นแทบทุ กหลังในหมู่บ้ า นบั ว ล้ว นน่า แวะ เที่ยวชม คุณยายชีจุดเตาแกลบชีวมวลให้พวกเรา คือ ที่บ้าน คุณลุงเสาร์แก้ว ใจบาล พอไปถึงก็ได้คลายความสงสัยตลอด ทางว่า เตาแกลบชีวมวลเป็นอย่างไร? คุณลุงต้อนรับเราอย่าง คล่องแคล่วพร้อมอธิบายการท้างานของ เตาแกลบชีวมวล ว่า มันก็คือ เตาที่ ใ ช้หุงต้มโดยมีแกลบเป็ นเชือเพลิง ซึ่งแกลบก็ ได้มาจากโรงสีของหมู่บ้าน เป็นการลดรายจ่าย คุณลุงยังสร้าง เตาแกลบเอาไว้ เพื่อจ้าหน่าย เป็นการสร้างรายได้อีกด้วย

หลังจากไหว้พระ ขอพรเสร็จเรียบร้อย เราก็เดินเลียวขวา ประมาณ 50 เมตร แล้วเลียวขวาอีกครังตรงสามแยก เดินตรงไปอีก 100 เมตร เจอบ้านที่มีสุ่มไก่เรียงรายอยู่ใต้ถุนบ้าน พืนใต้ถุนมีรอยขีด ของปากกาเป็ นวงกลมขนาดต่า งกันออกไป และเครื่องมือจั กสาน เช่ น มี ด ขวาน และไม้ ที่ ผ่ า เป็ นซี ก ๆ ไว้ คุณ ลุงเจ้ า ของงบ้ า นใจดี สาธิตวิธีการจักสานสุ่มไก่ให้ดู คุณลุงยังแนะน้าต่อว่าใกล้ๆ แถวนียังมี “สวนสตรอว์ เบอร์รี่อินทรี ย์ ” พวกเราไม่รอช้า รีบ ลาคุณลุงแล้ว ไป เยี่ย มชมสวนสตรอว์ เ บอร์รี่ คุณ ยานเจ้ า ของสวนพาเราชมสวนที่ นอกจากจะปลูกสตรอว์เบอร์รี่แล้ว ยังมีพุทรานมสด และผัก ผลไม้ ที่ ปลูกแบบอินทรีย์อีกหลายชนิด คุณยายการันตีความปลอดภัยอย่างนี พวกเราเลยอดไม่ได้ที่จะขอชิมสตรอว์เบอร์ รี่ลูกเล็กๆ แต่หอม หวาน อย่าบอกใครเชียว

ปลื้ม

09


คุณลุงเสาร์แก้ว ไม่ได้ท้าเตาแกลบอย่างเดียวเท่านัน ยังมีสวนองุ่น อินทรี ย์ ที่ห ลั งบ้ านอีกด้ ว ย คุณ ลุงเล่าว่า “ในสมัย ก่อนชาวบ้า นที่นี่ใ ช้ สารเคมีในการเกษตร มีอยู่ค รังหนึ่งมีค นป่ว ยต้องการเลือดจากคนใน หมู่บ้ าน แต่เมื่อพากันไปบริจ าคเลือดกลับพบว่า เลือดของพวกเขาไม่ สามารถให้ ค นป่ ว ยได้ เ พราะมี การปนเปื้ อนของสารจากยาฆ่า แมลง ผู้ใหญ่ บ้านมองเห็นจุดเปลี่ ยนที่จ ะท้า ให้ชาวบ้า นมีสุข ภาพที่ดี จึ งชวน ชาวบ้านหันมาท้าการเกษตรแบบอินทรีย์ จนปัจจุบันบ้านบัวกลายเป็น แหล่งเกษตรอินทรีย์ที่มีความสมบูรณ์ทังต้นน้า ดิน อากาศ ”

ถั ด จากบ้ า นคุ ณ ลุ ง ประมาณ 50 เมตร ฉั น สะดุ ด ตากั บ ป้ า ย “สปาบ้ านทุ่ง ” เข้ าไปสอบถามได้ข้อมูลมาว่า เหมาะส้าหรับ ผู้ที่ ชอบ ผ่อนคลายโดยการอบสมุนไพรแบบไทย ๆ ด้วยภูมิปัญญาดังเดิม สปา ที่ นี่ตั งอยู่ ใ ต้ ต้ นขนุ น บนพืนหินกรวดแม่น้ า ถู กล้อ มเป็ นวงกลมด้ว ย อิฐ มอญ ก่อนเข้ า สปาต้ องเปลี่ย นเสือผ้า เป็ นชุ ดกระโจมอกส้า หรั บ ผู้หญิง ส่วนผู้ชายก็นุ่งผ้าขาวม้าสบาย ๆ เมื่อพร้อมแล้วเจ้าของสปาใจดี จะเตรียมเตาพร้อมหม้อดินสมุนไพรร้อนได้ที่ วางใกล้ที่นั่ง จากนันครอบ ด้ว ยสุ่ มไก่ที่ ปิดรอบด้ว ยใบตองและผ้า ใช้เวลาประมาณ 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง ให้ไอร้อนจากสมุนไพรอบอวลใน สุ่มไก่และค่อย ๆ ซึมซาบ เข้าสู่ร่างกาย มีวิวทุ่งนาเขียวขจีให้พักสายตาในขณะที่อบสมุนไพร

ปลื้ม

10


เมื่ อ ผ่อนคลายสบายตัว แล้ว ฉันก็เลียวซ้ายเข้า ซอยถนนลูกรัง เห็น อุโมงค์ ไม้ ไผ่เขีย วชอุ่ม ยาวสุดลูกหูลูกตา สามารถถ่ายรูป ได้ตามใจชอบ เมื่อได้รูปที่พอใจแล้วก็กลับออกมา เลียวขวา ตรงไปเรื่อย ๆ จะเห็นบ้านที่ มีน้ าพุ อยู่ หน้ า บ้า น นั่ นก็คือ “บ้ า นต้นเต๊า” ซึ่งเป็ นโฮมสเตย์ของที่นี่ มี อาหารบริ การให้แก่นักท่ องเที่ ย ว และมีผักหลายชนิดที่ ส ามารถเก็บ มา ประกอบอาหารได้ สะอาดและปลอดภัย เพราะปลอดสารเคมี

สแกน QR Code ด า ว น์ โ ห ล ด

Banbua AR

การได้มา บ้านบัว ครังนี ท้าให้ฉันได้สัมผัสหมู่บ้านเล็ก ๆ ที่อยู่กันอย่าง พอเพี ย ง ทุ ก คนใช้ ห ลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของพระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 จนกลายเป็นหมู่บ้านต้นแบบ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้คนทั่วสารทิศ จากหลายหน่วยงาน หลายชุมชน แวะเวียนมาที่นี่เพือดูเป็นแบบอย่าง ฉันคิดว่าพวกเขาคงรู้สึกได้ เหมือนกับฉันตอนนีว่า หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้เป็นหลักการ ที่อยู่ในต้าราวิชาสังคมในห้องเรียน แต่เป็นสิ่งที่น้ามาใช้ได้จริงและเหมาะกับ วิถีชีวิตของคนไทยอย่างที่สุด วิถีที่เรียบง่าย แต่งดงามและเปี่ยมสุข เป็นบุญ และความโชคดียิ่งแล้วที่ฉันได้เกิดบนแผ่นดินไทย

ปลื้ม

11


กิน อ ยู่ วิ ถี ไ ท ย

อ ยู่ ดี วิ ถี ไ ท ย

นภวรรณ

ผั ก พื้ น บ้ า น

หลายรส หลากสรรพคุณ

ผั ก พื้ น บ้ า น ข อ ง ไ ท ย เป็ น ภู มิ ปั ญ ญาของบรรพบุ รุ ษ ที่ ไ ด้ คัด สรรพืชพรรณที่มีความหลากหลาย และคุ ณค่ า ทางอาหารสู ง บางชนิ ด มี สรรพคุณทางยาที่ดี แต่หลายคนกลับ มองข้าม หันไปบริโภคผักนาเข้าจาก ต่างประเทศซึ่ง นอกจากจะมีร าคาสู ง แล้ว บางชนิดอาจมี สรรพคุณน้อยกว่า ผั ก พื้ น บ้ า นที่ เ ราสามารถปลู ก ได้ เ อง โดยไม่ต้องเสียเงินซื้อ แถมยังปลอดภัย กว่าอีกด้วย . . . จะดีกว่าไหมหากเรา จะหันกลับมามองคุณค่าในสิ่งที่เรามี

ร ส ฝ ำ ด ช่วยสมานแผล แก้ท้องร่วง บรรเทาอาการอักเสบของระบบทางเดินอาหาร บ้ารุงธาตุในร่างกาย เช่น ยอดมะม่วง ยอดจิก ยอดมะกอก ยอดกระโดน

ร ส ห ว ำ น ร่างกายดูดซึมได้เร็ว ท้าให้ ชุ่มชื่น ช่วยบ้ารุงก้าลัง แก้อ่อนเพลีย เช่น เห็ด ผักหวานป่า ผักขีหูด บวบ น้าเต้า

ร ส เ ผ็ ด ร้ อ น แก้ท้องอืด แก้ลมจุกเสียด ขับลม บ้ารุงธาตุ เช่น กระเทียม ดอกกระทือ ดอกกระเจียวแดง ดีปลี พริกไทย ขิง ข่า ขมิน กระชาย

ปลื้ม

12

ร ส เ ป รี้ ย ว ช่วยขับเสมหะ ช่วยระบาย เช่น ยอดมะขามอ่อน มะนาว ยอดชะมวง มะดัน ยอดมะกอก ยอดผักติว

ร ส ห อ ม เ ย็ น บ้ารุงหัวใจ ท้าให้สดชื่น แก้อ่อนเพลีย เช่น ดอกขจร เตยหอม โสน บัว ผักบุ้งไทย

ร ส มั น บ้ารุงเส้นเอ็น เป็นยาอายุวัฒนะ เช่น กระถิน ขนุนอ่อน ลูกเนียง สะตอ ถั่วพู ฟักทอง ชะอม

ร ส ข ม บ้ารุงโลหิต ช่วยให้เจริญอาหาร ช่วยระบาย เช่น มะระขีนก ยอดหวาย ใบยอ ดอกขีเหล็ก สะเดา เพกา ผักโขม


ป ลู ก เ ลี้ ย ง ง่ ำ ย มักไม่มีแมลง จึงไม่ต้องดูแลมาก และไม่ต้องใช้สารเคมี

ข้ อ ดี

หลำยชนิด มีกลิ่นช่วยไล่แมลง ปลูกร่วมพืชอื่นจะช่วยลด ปัญหาแมลงศัตรูได้

มีให้กินตลอดทั้งปี สับเปลี่ยนไปเรื่อยๆ และ มีคุณค่าทางอาหารสูง

ประหยัด ค่ ำ ใ ช้ จ่ ำ ย เพราะปลูกได้เอง และบางชนิด เก็บได้ตามหัวไร่ปลายนา

บริโภคผักพื้นบ้าน

อย่ า งฉลาด  บริโภคผักตำมฤดูกำล

ได้ออกกำลังกำย สุขภำพแข็งแรง ได้กินผักสด ปลอดสำรเคมี

 บริโภคแต่ผักที่รู้แน่ว่ำไม่เป็นพิษ  บริโภคตำรับอำหำรที่ใช้ผัก หลำยชนิด เช่น แกงแค น้ำพริกผักจิ้ม

ประหยัดรำยจ่ำยในครอบครัว เป็นกิจกรรมของครอบครัว เสริมสร้ำงควำมอบอุ่น และปลูกฝังนิสัย รักธรรมชำติ ให้ลูกหลำน

4 steps สา ห รั บ มื อ ใ ห ม่ หั ด ป ลู ก

ปลื้ม

13


กิ น อ ยู่ วิ ถี ไ ท ย

กิ น ดี วิ ถี ไ ท ย

อาหารริมรั้ว

กชมน

นภวรรณ

แกงแค จากคนที่ คุณ

วันนี้ ฉันมีภารกิจพิเศษจากคุณยายให้เดินเที่ยวเกือบทั่ว

หมู่บ้านพร้อมกับมีดและตะกร้าใบใหญ่ ฉันไม่ลืมที่จะใส่ หมวกสานปี ก กว้ า งเพราะคงต้ อ งออกเดิ น ตั งแต่ ช่ ว ง บ่า ยแก่ ๆ เพื่อจะได้ กลั บ บ้า นทั นเวลาปรุง อาหารของ คุณยาย

ปลื้ม

14

“ผักหละ (ชะอม) กับมะแคว้ง (มะเขือพวง) ไปขอบ้านยายอ่อน แล้วเลยไปบ้านป้าไรเก็บมะห่อย (มะระขีนก) มะเขือกรอบ กับพริกขีหนู เอายอดเอาใบมั นมาด้ ว ยนะ ที่ ส วนหน้ า บ้ า นแกมีเ ยอะแยะ ยายขอ ไว้แล้ว บ้านยายรวยที่อยู่บนเนินน่ะ มีตูน (คูน) ตัดมาสัก 3–4 ก้าน กับ ผักแคบ (ต้าลึง) ข้างรัว ทังยอดทังใบเอามาเยอะๆ ก่อนเข้าบ้านแวะ เก็บยอดผักเผ็ด (ผักคราด) กับยอดโกสนข้างรัวบ้านลุงชมมาด้วย แล้ว ที่เหลือมาเก็บในสวนครัวเรานี่แหละยายปลูกไว้เยอะแยะ ถั่วปู (ถั่วพู ) ถั่วฝักยาว ผักป้อมเป้อ (ผักชีฝรั่ง) ผักแค (ชะพลู) ผักพญายอ ผักดีด (ต้อยตั่ง) แล้วก็ ดอกแก (ดอกแค) น่ะ เอาไม้สอยมาให้หมดเลยนะลูก มันจะบานหมดแล้ว”


ฉันเดินเข้าบ้านพร้อมตะกร้าที่เต็มไปด้วยผักทุกชนิด ที่ ย ายบอก กลิ่น หอมลอยมาเตะจมู ก ฉั น ตามด้ ว ยเสี ย ง ตะโกนของยายจากในครัว “ยายผัดน้าพริกกับไก่ไว้รอแล้ว รีบเอาผักมาเด็ดมาล้างเร็วเข้า ” ฉันจามไปชุดใหญ่ก่อนจะ นั่งลงเด็ดผักกับยาย ยายบอกว่าระหว่างฉันไปเก็บผักยายให้ น้องโขลก พริกแห้ง กระเทียม หอมแดง ตะไคร้ เกลือ และ กะปิ รอไว้ “ไก่บ้าน ที่เอามาท้า อาเราเค้าเอามาให้เพราะ เลียงไว้เยอะจนต้องเอามาท้ากินบ้าง เวลาผัดไม่ต้องใส่น้ามัน นะ เพราะในไก่ก็มีมันอยู่บ้างแล้วเอาน้าพริกลงไปรวนกับไก่ เลย แกงแคนี่นะ ...เรามีอะไรก็มาเอามาแทนไก่ได้หมดนะ หมู ปลา กบ หรือถ้าไม่อยากกินเนือ แกงแคผักอย่างเดียว ก็อร่อย” ยายบอกแล้วลุกไปดูหม้อแกง “อีกสักพักก็ใส่ผัก ได้แล้ว เดี๋ยวยายจัดการผักเอง หนูไปเอาข้า วสารมาคั่วให้ ยายดีกว่า ทิงให้เย็นแล้วค่อยเอาใส่เครื่องปั่น ข้าวคั่วใหม่ๆ นี่แหละ หอมดี”

เย็นวันนี ฉันเจริญอาหารกว่าทุกวัน เพราะความเหนื่อย จากการเก็บผักแกงแคยังไม่พอ ก่อนมือเย็น ฉันต้องตระเวน เอาแกงแคแบ่งไปที่บ้านอาและทุกบ้านที่ฉันไปเก็บผักมา แต่ ที่ท้าให้มือนีพิเศษและมีคุณค่าไปอีกคือ แกงแคท้าให้ฉันเห็น ความใส่ใจของยายในการท้าเพื่อให้ได้อาหารที่ดีต่อสุขภาพ จากผัก สมุนไพร นานาชนิด มือที่ไม่ต้องจ่ายเงินซือวัตถุดิบ แม้ แ ต่ บ าทเดี ย ว แต่ ก ลั บ ได้ อ ร่ อ ยกั น ตั งหลายครั ว เรื อ น ดีกว่า ไก่ท อด พิซซ่า แฮมเบอร์เกอร์ อาหารจานด่ว นจาก เมืองฝรั่งเป็ นไหนไหน ตอนนี แกงแค เป็ นหนึ่งในอาหาร พืนบ้านทางเหนือที่ฉันต้องขอสูตรยายไว้ แล้วคุณล่ะมีสูตร อาหารพืนบ้านของไทยในดวงใจบ้างหรือยัง?

ติดตามวิธีทาอาหาร จากผักพื้นบ้านริมรั้ว เมนูอื่นๆ ได้ที่นี่

ข่ำงปอง

ข้ำวหนุกงำ สมู้ตทีผักกำด

ปลื้ม

15


@pluemjaithaiwithee


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.