News Express ISSUE NO
3
Mar. 2013
เจาะลึกแนวคิดการออกแบบและติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัยอาคาร
ค
วามปลอดภัยนับเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอาคาร ในระยะยาวของผู้ ใช้สอยอาคาร และเป็นปัจจัยที่เจ้าของอาคาร พาณิชย์ตลอดจนนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ต่างมุ่งเน้นให้ความ ส�ำคัญ นอกจากปัจจัยในเรือ่ งของความโดดเด่นทางด้านสถาปัตยกรรมแล้ว อาคารสิ่งก่อสร้างควรมีการออกแบบให้มีความมั่นคงปลอดภัย เนื่องจาก ปัจจุบันมีการการก�ำหนดมาตรฐานความปลอดภัยในอาคารส�ำนักงาน โดยมีทีมวิศวกรคอยตรวจสอบหรือดูแลอาคารเพื่อป้องกันเหตุการณ์ที่ น�ำมาซึง่ ความสูญเสียต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ดัง้ นัน้ แนวคิดเกีย่ วกับการรักษา ความปลอดภัยจึงเป็นแนวคิดที่หลายฝ่ายต่างให้ความส�ำคัญ
อ่านต่อหน้า 3
Industry News พานาโซนิคพัฒนาโซลูชั่น-ลุยตลาดระบบรักษาความปลอดภัยในไทย เมือ่ วันที่ 22 มกราคมทีผ่ า่ นมา บริษทั พานาโซนิค ซิว เซลส์ (ประเทศไทย) ได้จัดงานเปิดบ้าน “Panasonic Pro-Security Asia Pacific Open House 2013” ณ ห้องประชุมใหญ่ พานาโซนิค ซิว เซลส์ ( ประเทศไทย ) เพื่อโชว์ โ ซ ลู ชั่ น สุ ด ล�้ ำ เ ผ ย โ ฉ ม หน้ า ศู น ย์ บั ญ ชาการระบบ รั ก ษาความปลอดภั ย อย่าง เต็มรูปแบบ ทั้งนี้ ลั่นพร้อม ก้าวขึน้ สูอ่ นั ดับ 1 ของตลาด โทรทัศน์วงจรปิดใประเทศไทย
อ่านต่อหน้า 5
www.secutechthailand.com
1
2
www.secutechthailand.com
Market Update
เจาะลึกแนวคิดการออกแบบและติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัยอาคาร Source: a&s INTERNATIONAL_MAY 2012
ค
วามปลอดภัยนับเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อการตัดสินใจเช่าอาคารในระยะยาว ของผู้ใช้สอยอาคาร และเป็นปัจจัยที่ เจ้ า ของอาคารพาณิ ช ย์ ต ลอดจนนั ก พั ฒ นา อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ต ่ า งมุ ่ ง เน้ น ให้ ค วามส� ำ คั ญ นอกจากปัจจัยในเรื่องของความโดดเด่นทาง ด้านสถาปัตยกรรมแล้ว อาคารสิ่งก่อสร้างควรมี การออกแบบให้มคี วามมัน่ คงปลอดภัย เนือ่ งจาก ปัจจุบนั มีการการก�ำหนดมาตรฐานความปลอดภัย ในอาคารส�ำนักงาน โดยมีทมี วิศวกรคอยตรวจสอบ หรือดูแลอาคารเพื่อป้องกันเหตุการณ์ที่น�ำมา ซึ่งความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน ดั้งนั้น แนวคิดเกีย่ วกับการรักษาความปลอดภัยจึงเป็น แนวคิดทีห่ ลายฝ่ายต่างให้ความส�ำคัญ การก�ำหนดพืน้ ทีใ่ ช้สอยอาคารอย่างชัดเจน การก�ำหนดพื้นที่ใช้สอยอาคารช่วยให้การ รั ก ษาความปลอดภั ย ในอาคารมีประสิทธิภาพ มากยิง่ ขึน้ ดังนัน้ การออกแบบอาคารจึงมีความส�ำคัญ ไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าแนวทางการรักษาความปลอดภัย การก� ำ หนดพื้นที่ใช้สอยอาคารตั้งแต่แรกเริ่ม มีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้สอยอาคาร เป็ น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ เมื่ อ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ในการใช้ ง านอาคารที่ ห ลากหลาย เจ้ า ของ อาคารหรื อ ผู ้ ใ ช้ ส อยอาคารควรก� ำ หนดพื้ น ที่ การใช้งานอาคารไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้นอกจาก การก�ำหนดพื้นที่ใช้สอยอาคารไว้อย่างชัดเจน จะช่วยลดความเเออัดในการใช้สอยอาคารแล้ว ยั ง มี ส ่ ว นช่ ว ยให้ ก ารใช้สอยอาคารเป็นไปตาม วัตถุประสงค์การใช้งานอาคาร ตลอดจนการบริหาร การจั ด การความปลอดภั ย มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
มากยิ่ ง ขึ้ น หากกล่ า วถึ ง การบริ ห ารจั ด การ ความปลอดภัยอาคารแล้ว การแบ่งพื้นที่ใช้สอย อย่างชัดเจนยังช่วยลดความเสี่ยงให้ผู้ใช้สอย อาคาร กล่าวคือ ความเสีย่ งในการใช้สอยอาคาร มักขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งานอาคาร เป็นหลัก บ้างก็มคี วามเสีย่ งสูง บ้างก็มคี วามเสีย่ ง เพียงเล็กน้อย ดังนัน้ การออกแบบอาคาร ทัง้ ในส่วน ของโรงแรม ห้างสรรพสินค้า อาคารส�ำนักงาน ควรค�ำนึกถึงจุดมุ่งหมายในการใช้งานเป็นหลัก
โดยอาศั ย หลั ก การออกแบบที่ ต ่ า งกั น ออกไป เพื่อให้สามารถตรวจจับความผิดปกติที่เกิดขึ้น ในอาคารได้อย่างฉับพลัน ทัง้ นี้ หากมีการออกแบบ อาคารโดยไม่ ค� ำ นึ ง ถึ ง การติ ด ตั้ ง ระบบรั ก ษา ความปลอดภั ย อาจท� ำ ให้ ก ารรั ก ษาความ ปลอดภัยไม่ค่อยมีประสิทธิภาพมมากนัก การรักษาความปลอดภัยพืน้ ทีส่ าธารณะ และพืน้ ทีส่ ว่ นบุคคล รูปแบบการรักษาความปลอดภัยในปัจจุบัน ส่วนใหญ่มักจะเป็นการรักษาความปลอดภัยที่ มุ่งเน้นการเฝ้าระวังแบบมุมกว้างหรือการรักษา ความปลอดภัยแบบภาพรวม ซึ่งอ�ำนาจในการ
พิจารณาติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยมัก ขึน้ อยูก่ บั ผูเ้ ช่าอาคารเป็นหลัก ดังนัน้ ผูเ้ ช่าอาคาร จึงสามารถปรับรูปแบบการรักษาความปลอดภัย ให้ตรงกับความต้องการของผู้เช่า ทั้งนี้ ในส่วน อาคารขนาดใหญ่ที่มีผู้เช่าหลายคน มักมีพื้นที่ ส่วนกลาง เช่น ร้านค้า ศูนย์อาหาร ซึ่งจัดเป็น พื้นที่ที่สามารถควบคุมได้ยาก เนื่องจากพื้นที่ ส่วนดังกล่าวออกแบบมาเพื่อดึงดูดผู้คน อนึ่ง ความเสี่ยงในการในการใช้สอยอาคารมักขึ้นกับ วัตถุประสงค์ของการใช้สอยอาคารนัน้ ๆ อาคารสาธารณะ (Public areas) ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ส่วนกลางมั ก มี ความเสี่ ย งต่ อ ภั ย ที่ เ กิ ด จากการ ก่อการร้ายเนื่องจากพื้นที่ส ่ ว นกลาง เป็ น พื้ น ที่ ที่ ไ ม่ ส ามารถประเมิ น จ�ำนวนผู้ที่เข้าออกอาคารได้ อีกทั้ง ยั ง เ ป ็ น พื้ น ที่ ที่ มี ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม การเข้ า ออกที่ จ� ำ กั ด โอกาสในการ กระท�ำความผิดก็จะมีสูง รูปแบบทั่วไปในการ รั ก ษาความปลอดภั ย ของอาคารหรื อ พื้ น ที่ สาธารณะเหล่านี้อาจมีการติดตั้งกล้องวงจรปิด หรื อ มี พ นั ก งานรั ก ษาความปลอดภัยคอยดูแล ความสงบเรียบร้อย หรือในบางกรณี เช่น โรงแรม อาจมี เ พี ย งพนั ก งานที่ ยืนประจ�ำประตูเท่านั้น ในส่วนของห้างสรรพสินค้าผู้เช่าอาคารควรหา แนวทางรองรั บ ความหนาแน่ น ของลู ก ค้ า เพื่อให้การให้บริการเป็นไปอย่างทั่วถึง จึงควร มีการติดตั้งกล้องวงจรปิด ระบบป้องกันอัคคีภัย และแผนการให้ความช่วยเหลือและแผนอพยพ กรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน ส�ำหรับพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัย ผู้เช่าอาคารจะจะพิจารณาถึงปัจจัยความเสี่ยง
www.secutechthailand.com
3
Market Update
ที่มาพร้อมกับความแออัดคับคั่ง เนือ่ งจากมีกลุม่ คนบางจ�ำนวนมากที่หมายก่อเหตุวินาศกรรม ทั้งนี้ ผู้ก่อการร้ายอาจมีเป้าหมายที่จะลงมือ ก่อเหตุอุบัติภัยหมู่ (Mass casualty incident: MCI) ในพื้นที่ดังกล่าว อันน�ำมาซึ่งความสูญเสีย ทางชีวิตและทรัพย์สินเป็นจ�ำนวนมหาศาล อนึ่ง ปั จ จุ บั น รู ป แบบการรั ก ษาความปลอดภัย ในที่ สาธารณะถือได้วา่ มีมาตรฐานและสามารถตรวจสอบ และควบคุมจากศูนย์ควบคุม (Command center) สามารถเฝ้าระวังภัยในพืน้ ทีต่ า่ งๆ เช่น ห้องรับรอง บริเวณห้องโถงหน้าลิฟต์ ภายในลิฟต์โดยสาร ลานจอดรถ ประตูทางเข้าหลัก ตลอดจนประตู ฉุกเฉิน และบันได ทั้งนี้ ผู้เช่าอาคารสามารถ ตรวจสอบระบบรักษาความปลอดภัยด้วยตัวเอง หรื อ ว่ า จ้ า งมื อ อาชี พ เข้ า มาดู แ ลระบบรั ก ษา ความปลอดภัยในหน่วยงานหรือองค์กร ขณะทีพ่ นื้ ทีส่ ว่ นบุคคล ( Private areas) จัดว่า มีความเสี่ยงน้อยกว่าพื้นที่สาธารณะ แต่ยังคงมี ความจ�ำเป็นทีต่ อ้ งติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัย เพือ่ ให้สามารถระบุตวั บุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากยิ่ ง ขึ้ น อาจมี ก ารติ ดตั้งระบบควบคุม การ เข้า-ออกอาคาร (Access control) อาจมีพนักงาน รั ก ษาความปลอดภั ย เพื่ อ คอยท� ำ หน้ า ที่ ต รวจ สอบผู้คนที่เดินทางเข้าออกอาคาร อาจมีความ จ�ำเป็นต้องแลกบัตรประจ�ำตัว หรือมีการติดบัตร ในฐานะผู้มาเยือน เป็นต้น เนื่องจากพื้นที่ส่วน บุคคลไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกเข้าออกได้ และผูท้ เี่ ข้าออกส่วนใหญ่มกั จะเป็นเจ้าของอาคาร หรือผู้ที่ใช้สอยอาคารทั่วไป รวมไปถึงพนักงาน ประจ�ำ ดังนั้นจึงสามารถตรวจสอบผู้เข้าออก ได้อย่างชัดเจน รวมถึงระบุตัวบุคคลได้ชัดเจน ความเสี่ยงที่จะเกิดการก่อเหตุร้ายจึงน้อยกว่า เมื่ อ เที ย บกั บ พื้ น ที่ ส าธารณะ กระนั้ น พื้ น ที่ ส่วนบุคคลยังคงมีความจ�ำเป็นต้องติดตั้งระบบ รักษาความปลอดภัย ถึงแม้วา่ จะมีผเู้ ข้าออกอาคาร ส่วนใหญ่เป็นพนักงาน แต่ผู้เช่าอาคารยังคงต้อง ค�ำนึงถึงแนวทางการักษาความปลอดภัยเป็นหลัก ผู้เช่าอาคารสามารถติดตั้งและดูแลระบบรักษา ความปลอดภัยตัวภายในอาคารด้วยการติดตั้ง ระบบควบคุมการเข้าออก และระบบเตือนภัย 4
www.secutechthailand.com
ซึ่ ง ปั จ จั ย ในการติ ด ตั้ ง มั ก จะสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของผูเ้ ช่าอาคาร ทัง้ นี้ เป็นทีน่ า่ สนใจ ว่าอ�ำนาจในการตัดสินใจมักขึน้ อยูก่ บั ประเภทของ ธุรกิจ บวกกับส�ำนึกรับผิดชอบของเจ้าของอาคาร การบริหารจัดการความปลอดภัย การบริหารจัดการความปลอดภัยอาคารมัก ขาดประสิทธิภาพ หากปราศจากการวางแผน ตัง้ แต่แรกเริม่ ทัง้ นี้ การควบคุมการเข้าออกของ รถยนต์เป็นอีกหนึง่ เรือ่ งทีม่ คี วามส�ำคัญเป็นอย่างยิง่ หากการออกแบบระบบรั ก ษาความปลอดภั ย เป็นไปอย่างเหมาะสม จะช่วยลดความคับคัง่ ของ ช่องทางการเดินรถ การขับรถพุง่ ชนอาคาร (Car crashing into building) อนึ่ง หากเป็นพื้นที่ที่มี ความเสีย่ งสูง ควรมีมาตรการรองรับการเข้าออก ของรถทีเ่ ข้มงวด มีการติดตัง้ เสากัน้ รถยนต์อตั โนมัติ (Ballard) ซึง่ ท�ำหน้าทีห่ ยุดรถเพือ่ รอการตรวจสอบ ก่อนทีจ่ ะอนุญาตให้รถยนต์สามารถผ่านเข้าออกได้ ทัง้ นีค้ วรมีการติดตัง้ เสากัน้ รถยนต์อตั โนมัตใิ นพืน้ ที่ ทีเ่ หมาะสม เพือ่ ลดการคับคัง่ ตลอดจนมีมาตรการ รักษาความปลอดภัยอย่างหนาแน่นยิ่งขึ้น แนวทางการรักษาความปลอดภัยชัน้ เยีย่ ม เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่าการออกแบบ ก่อสร้างอาคารเพื่อให้รองรับระบบรักษาความ ปลอดภั ย ตั้ ง แต่ แ รกเริ่ ม ถื อ เป็ น แนวทางที่ ดี ที่สุดในการเข้าถึงระบบรักษาความปลอดภัย ในอาคารที่ มี แ บ่ ง สั ด ส่ ว นการใช้ ป ระโยชน์ ใช้สอยอย่างขัดเจน ซึ่งสวนทางกับหลักความ เป็ น จริ ง ที่ ว ่ า เจ้ า ของอาคารส่ ว นใหญ่ มั ก จะ พิ จ ารณาถึ ง ระบบรั ก ษาความปลอดภั ย เป็ น อัน ดับท้ายๆ แทนที่จะค�ำนึงถึงการออกแบบ ตั้งแต่แรกเริ่ม ทั้งนี้ การบริหารจัดการระบบ รั ก ษาความปลอดภั ย นั บ เป็ น วิ ธี ก ารรั บ มื อ กับข้อผิด พลาดดังกล่าวได้ในระดับ หนึ่ง ส่ว น การประเมินภัยและความเสี่ยงจะช่วยให้ผู้ใช้ อาคารตระหนักถึงความเสี่ยงความเสี่ยงหลักๆ ตลอดจนสามารถประเมินแนวทางการรับมือ เพื่อลดความเสี่ยงเหล่านั้น การประเมินภัยและ ความเสี่ ย งจึ ง กลายเป็ น ประเด็ น ที่ ค วรน� ำ มา
พิจารณาเป็นอันดับต้นๆ ขณะที่วิธีการที่ดีที่สุด ในการลดความเสีย่ งอาจเกิดจากการปรับเปลีย่ น รูปแบบแนวคิดการออกแบบทางสถาปัตยกรรม ดังนั้น จึงมีความจ�ำเป็นที่สถาปนิกควรพิจารณา ถึงการออกแบบอาคาร เพื่อให้การรักษาความ ปลอดภัยมีป ระสิท ธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ จึงมี ความจ�ำเป็นที่เจ้าของโครงการก่อสร้างอาคาร มีสัมพันธภาพในการท�ำงานที่ดีร่วมกับสถาปนิก เนื่องจากเจ้าของโครงการก่อสร้างจ�ำเป็นต้อง ได้รับค�ำแนะน�ำจากสถาปนิก อนึ่ง บ่อยครั้งที่ รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการก่อสร้างยังคงเป็น ปริศนาตั้งแต่แรกเริ่ม ขณะที่อาคารสูงหลายๆ อาคารอยู่ภายใต้การด�ำเนินการก่อสร้างและ ไม่ มี ก ารเผยเผยรายละเอี ย ดจนกว่ า จะมี ก าร ก่อสร้างแล้วเสร็จ ซึ่งนับเป็นอุปสรรคต่อการ ประเมินความเสี่ยง แนวโน้มการติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัย ปั จ จุ บั น นั ก พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ ละ เจ้าของอาคารต่างก�ำลังมองหาแนวทางในการ ติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยแบบครบวงจร แต่การติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยแบบ ดังกล่าวก็ใช่ว่าจะเป็นเรื่องที่ง่ายนัก เนื่องจาก ยังคงต้องพิจารณาในส่วนของต้นทุนค่าใช้จ่าย หากจ�ำเป็นต้องผสานการท�ำงานของระบบรักษา ความปลอดภัยเข้าด้วยกัน ซึ่งมีต้นทุนค่าใช้จ่าย ค่อนข้างสูง ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าหากมีการน�ำระบบ หรือเทคโนโลยีใหม่มาประยุกต์ใช้ เจ้าของอาคาร จะต้องเสียต้นทุนในการดูแล หรือเป็นต้นทุนที่ เรียกว่า ต้นทุนการเป็นเจ้าของ (Total cost of ownership: TCO) ซึ่งแทนที่เจ้าของอาคารจะ กังวลเรื่องต้นทุนค่าใช้จ่าย แต่ควรพิจารณาถึง จุดคุ้มทุนในระยะยาว ทั้งนี้ ความต้องการใน การติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยขึ้นอยู่กับ ความต้องการของเจ้าของอาคาร โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง หลายๆ ประเทศในภูมิภาคเอเชียยังคง ไม่มีความชัดเจนในส่วนของประมวลข้อบังคับ อาคาร (Building code) ท�ำให้อำ� นาจการตัดสินใจ ติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัยขึน้ อยูก่ บั เจ้าของ อาคารหรือนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เป็นหลัก ขณะที่ในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ เมื่อมีการ ก่อสร้างอาคารหลังใหม่ เจ้าของอาคารจะต้อง ระบุเทคโนโลยีทจี่ ะใช้ในการรักษาความปลอดภัย กับอาคาร เนือ่ งจากมีการบังคับใช้ประมวลข้อบังคับ อาคารอย่างเต็มรูปแบบ กระนั้น ปัจจุบันมีการ ติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยแบบครบวงจร กับอาคารประเภทอาคารทีม่ กี ารดัดแปลง(Retrofit building) เนื่องจากตลาดธุรกิจก่อสร้างทั่วโลก ยังคงต้องเผชิญกับผลกระทบในเรื่องของภาวะ เศรษฐกิจถดถอย
Industry News
พานาโซนิคพัฒนาโซลูชนั่ -ลุยตลาดระบบรักษาความปลอดภัยในไทย
เ
มือ่ วันที่ 22 มกราคมทีผ่ า่ นมา บริษทั พานาโซนิค ซิว เซลส์ (ประเทศไทย) ได้จดั งานเปิดบ้าน “Panasonic Pro-Security Asia Pacific Open House 2013” ณ ห้องประชุม ใหญ่ พานาโซนิค ซิว เซลส์ ( ประเทศไทย ) เพือ่ โชว์โซลูชนั่ สุดล�้ำ เผยโฉมหน้าศูนย์บัญชาการระบบรักษา ความปลอดภัยอย่างเต็มรูปแบบ ทัง้ นี้ ลัน่ พร้อม ก้าวขึน้ สูอ่ นั ดับ 1 ของตลาดโทรทัศน์วงจรปิดใน ประเทศไทย นายโทชิฮิโร มาจิมะ กรรมการผู้จัดการ บริษัท พานาโซนิค ซิว เซลส์ (ประเทศไทย) เผยถึงเหตุผลทีเ่ ลือกจัดงานเปิดบ้านในประเทศไทย เนือ่ งจากตลาดโทรทัศน์วงจรปิดของพานาโซนิค ในประเทศไทยมีอัตราการเติบโตสูงที่สุดในกลุ่ม ประเทศเอเชียแปซิฟิก ดังนั้น บริษัทแม่จึงได้ให้ ความส�ำคัญกับตลาดในไทยอย่างมาก จึงได้จดั งาน เปิดบ้านขึน้ เป็นครัง้ แรกเพือ่ จัดโชว์สนิ ค้า นวัตกรรม สุดล�ำ้ สมัย รวมทัง้ เทคโนโลยีชนั้ เลิศในด้านระบบ รั ก ษาความปลอดภั ยแบบครบวงจร โดยการ จัดงานครัง้ นีย้ งั นับเป็นครัง้ แรกในเอเชียแปซิฟกิ ทีม่ กี ารโชว์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (ซีซที วี )ี แบบครบวงจร อนึง่ ไฮไลท์ของงานนอกจากจะมีการเผยโฉม หน้าศูนย์บัญชาการระบบรักษาความปลอดภัย อย่างเต็มรูปแบบแล้ว ยังจัดให้มกี ารแสดงโซลูชนั่ อืน่ ๆ ทีน่ า่ สนใจ อันได้แก่ 1. ระบบตรวจคนเข้าเมือง แบบพิเศษ (Immigration Terrorist Detection) เป็นระบบที่สามารถตรวจสอบบุคคลต้องสงสัย หรือบุคคลที่อยู่บัญชีด�ำของส�ำนักงานต�ำรวจ เมื่อผู้ต้องสงสัยเดินผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง
กล้องจะสามารถตรวจจับและส่งสัญญาณเตือน ให้กบั เจ้าหน้าทีไ่ ด้รบั ทราบ ช่วยให้สามารถจับกุม ผู้ต ้องสงสัยได้อย่างทันทีท ่ว งที 2.ระบบการ รักษาความปลอดภัยบนรถสาธารณะ (Safety Transportation) เป็นระบบรักษาความปลอดภัย ที่ใช้กล้องเพียงตัวเดียวในการจับภาพผู้โดยสาร ตั้งแต่บันไดทางขึ้นรถโดยสารจนถึงผู ้ โ ดยสาร ที่นั่งอยู่ด ้านหลังสุด ซึ่งกล้องทั่ว ไปไม่สามาร ถบัน ทึกภาพได้ อีก ทั้งยังสามารถบันทึก ภาพ ลงใน SD card มีมาตรฐานกันน�้ำ และยังรองรับ สภาวะการท�ำงานที่สั่นสะเทือนอยู่ตลอดเวลา 3. ระบบรักษาความปลอดภัยในร้านสะดวกซื้อ (Store Intelligent and Safety) เป็นระบบรักษา ความปลอดภัยที่มาพร้อมกับฟังก์ชั่นการใช้งาน กล้องวงจรปิดไอพี ซึ่งให้ภาพที่มีความคมชัด
ในระดับ HD มาพร้อมกับฟังก์ชนั่ พิเศษสามารถ ที่ จ ะตรวจจั บ ใบหน้ า ของบุ ค คลต้ อ งสงสั ย ซึง่ หากทางร้านน�ำรูปใบหน้าของคนร้ายทีเ่ คยขโมย ของในร้านในสาขาอืน่ ๆ มาบันทึกไว้ในเครือ่ งรุน่ นี้ กล้องจะสามารถตรวจจับใบหน้าของคนร้าย และตัวเครื่องจะท�ำการส่งสัญญาณเตือนให้กับ เจ้าหน้าที่ เพือ่ จับกุมได้อย่างทันท่วงที นอกจากนี้ ยังมีฟงั ก์ชนั่ ตรวจจับจ�ำนวนคนทีเ่ ข้ามาใช้บริการ ในร้านในแต่ละวัน ซึง่ สามารถระบุเพศรวมไปถึง แบ่งแยกอายุของผูม้ าใช้บริการภายในร้านได้อกี ด้วย 4. ระบบรักษาความปลอดภัยภายในอาคารส�ำนักงาน (Modernized Office) มาพร้อมกับฟังก์ชนั่ รองรับ การเปิด-ปิดประตูอตั โนมัตจิ ากการตรวจจับใบหน้า โดยอาศัยเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการวิเคราะห์ ภาพใบหน้าจากคลังภาพในฐานข้อมูลได้อย่าง
www.secutechthailand.com
5
Industry News
แม่นย�ำ สามารถตรวจสอบใบหน้าพร้อมกันถึง 8 ใบหน้า โดยสามารถบันทึกภาพใบหน้าบุคคลได้ถงึ 300 ใบหน้าในฐานข้อมูล นอกจากนีภ้ ายในอาคาร ส�ำนักงานต้นแบบยังมาพร้อมระบบโทรศัพท์แบบ ไอพีซงึ่ รองรับการเชือ่ มต่อกับกล้องวงจรปิด ผูใ้ ช้ สามารถประยุกต์ใช้ระบบดังกล่าวในการประชุม ทางไกล ซึง่ รองรับการประชุมพร้อมกันสูงสุดถึง 4 แห่ง ซึง่ ภาพทีไ่ ด้มคี วามชัดเจนในแบบ Full HD 5.ระบบรักษาความปลอดภัยภายในธนาคารพาณิชย์ (Bank Intelligent Security) มาพร้อมกับกล้อง ตรวจจับภาพส�ำหรับตู้เอทีเอ็ม ซึ่งภาพที่บันทึก ได้จากกล้องดังกล่าวมีความคมชัดสูงและมีมมุ มอง ที่กว้างกว่ากล้องปกติ นอกจากนี้ยังมาพร้อมกับ กล้องตรวจจับบริเวณเคาน์เตอร์ โดยกล้องดังกล่าว ให้ภาพทีม่ คี วามคมชัดสูง ให้สสี นั ทีแ่ ม่นย�ำ เหมาะ
ส� ำ หรั บ การติ ด ตั้ ง เพื่ อ ป้ อ งกั น ความผิ ด พลาด ในการท�ำธุรกรรมทางการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีกล้องตรวจจับบริเวณหน้าประตู ซึ่งเป็นกล้องที่ออกแบบมาให้มีความคมชัดสูง สามารถมองเห็นได้ในพืน้ ทีย่ อ้ นแสง มาพร้อมกับ โปรแกรมตรวจสอบและวิ เ คราะห์ กลุ่ ม ลูกค้า สามารถวิเคราะห์เพศและอายุของผูท้ มี่ าใช้บริการ ขณะเดียวกันยังมีกล้องตรวจจับการเคลือ่ นไหวที่ ออกแบบมาให้มคี วามคมชัดสูง มาพร้อมฟังก์ชนั่ การวิเคราะห์การเคลือ่ นไหวต่างๆ หากพบพฤติกรรม ที่ผิดปกติ เช่น ผู้ใช้บริการเดินวนไป-กลับจาก ต�ำแหน่งเดิมประมาณ 3 รอบ กล้องก็จะส่งสัญญาณ ไปเตือนยังจุดทีเ่ ชือ่ มต่อทันที อนึง่ ทางธนาคาร ยังสามารถเลือกบันทึกภาพด้วยเครื่องบันทึก ภาพทีม่ รี ะยะเวลาการบันทึกนานสูงสุดถึง 3 เดือน 6
www.secutechthailand.com
6. ระบบรักษาความปลอดภัยภายในที่พักอาศัย (Smart Home Monitoring) ประกอบด้วยกล้อง วงจรปิดความคมชัดสูงระดับ HD ภาพที่บันทึก ได้มีมุมมองที่กว้างครอบคลุมพื้นที่ต่างๆ รองรับ การดูภาพเหตุการณ์แบบเรียลไทม์ สามารถแสดง ภาพจากกล้องได้สงู สุดถึง 4 ตัว รองรับลงทะเบียน กล้องได้สงู สุดถึง 16 ตัว โดยใช้รหัสผ่านเดียวกัน นอกจากนีย้ งั มีกริง่ สนทนาทีส่ ง่ สัญญาณภาพและ เสียงไปในชุดควบคุมภายในบ้าน อนึ่ง ภายในงานยังจัดแสดงแอพพลิเคชั่น ที่ ส ามารถน� ำ มาประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ ระบบรั ก ษา ความปลอดภัยให้มีประสิทธิภาพในการท� ำ งาน มากยิง่ ขึน้ เช่น Illegal Parking Detection ซึง่ เป็น แอพพลิเคชั่นที่ช่วยตรวจจับการเคลื่อนไหวของ รถยนต์ สามารถน�ำมาปรับใช้กบั การตรวจจับรถยนต์ บนท้ อ งถนนหรื อ พื้ น ที่ ห้ามจอด หากรถเทียบจอด ในเวลาทีเ่ กินกว่าก�ำหนด ระบบจะส่งสัญญาณเตือน ทันที Raincoat ซึง่ เป็น แอพพลิ เ คชั่ น ที่ ช ่ ว ยลด ปัญหาการเกาะของหยดน�ำ้ ท�ำ ให้สามารถมองภาพ ใ น ข ณ ะ ที่ ฝ น ต ก แ ล ะ หลังฝนตกได้อย่างชัดเจน Fog Deduction ซึง่ เป็น แอพพลิ เ คชั่ น ที่ ช ่ ว ยให้ สามารถมองภาพในที่ ที่ มี ห มอกหนาได้ ชั ด เจน ยิ่งขึ้น และ Cloud Alarm Monitoring ซึง่ เป็น เทคโนโลยีจดั เก็บภาพจากกล้องวงจรปิดทีก่ ำ� ลังได้ รับนิยมอย่างแพร่หลาย ด้าน มิสเตอร์โทชิยูกิ โคดะ ผู้อ�ำนวยการ หน่วยธุรกิจรักษาความปลอดภัยและเน็ตเวิรค์ บริษัท พานาโซนิค ซิสเต็มส์ เน็ตเวิร์ค จ�ำกัด (ประเทศญีป่ นุ่ ) ได้สะท้อนมุมมองในการก้าวขึน้ เป็น แบรนด์ชนั้ น�ำของโลก ว่า พานาโซนิคมีประสบการณ์ ในการผลิตสินค้าเกีย่ วกับระบบรักษาความปลอดภัย มากว่า 60 ปี ซึง่ ทางเราได้พฒ ั นาเทคโนโลยีเพือ่ รองรับการผลิตสินค้าให้ครอบคลุมกับทุกความ ต้องการของผูบ้ ริโภคมาโดยตลอด โดยกลุม่ ลูกค้า ของสินค้าระบบรักษาความปลอดภัยของเรา ครอบคุลมถึงกลุม่ ผูใ้ ช้งานต่างๆ โดยทางเราจะมุง่ มัน่
ในการพัฒนาเทคโนโลยีทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ ลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าทุกท่านได้รับประโยชน์และความ พึงพอใจในการใช้บริการสินค้าของพานาโซนิคต่อไป ด้าน คุณราณี สิทธิแก้ว ผู้จัดการอาวุโส ดูแลสินค้าซีซที วี ี บริษทั พานาโซนิค ซิว เซลล์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิดเผยว่า ผลประกอบการ ในกลุ่มสินค้าเพื่อการรักษาความปลอดภัยของ บจก. พานาโซนิค ซิวเซลล์ ประเทศไทย มีสดั ส่วน ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ของภูมภิ าคเอเชีย หรือ คิดเป็นสัดส่วน 4 เปอร์เซ็นต์ของรายได้ทั้งหมด ของพานาโซนิค ประเทศไทย โดยคาดว่ารายได้ ดังกล่าวมีแนวโน้มเติบโตขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ทั้งนี้ พานาโซนิคประสบความส�ำเร็จสูงสุด จากอัตราการเติบโตของยอดขายในช่วง 3 ปี ทีผ่ า่ นมา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตลาดกล้องวงจรปิด ทีส่ ามารถเติบโตกว่า 400 เปอร์เซ็นต์ ส่วนปัจจัย ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการเติบโต คือ การทีห่ ลายๆหน่วยงาน มองว่าความปลอดภัยเป็นเรือ่ งส�ำคัญ ดังนัน้ จึงมี การติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัยภายในอาคาร โรงงาน รวมถึงการติดตั้งกล้องตามถนนหนทาง เพื่อระงับเหตุการณ์ก่อการร้ายและสร้างชุมชน ทีป่ ลอดภัย พร้อมกันนีย้ งั เผยถึงภารกิจของบริษทั ในปีนี้ ว่า ทางพานาโซนิคจะพยายามน�ำเสนอ นวัตกรรมสินค้าเพื่อการรักษาความปลอดภัย ภายใต้แนวคิด Ideas for Life เพือ่ ส่งเสริมสังคมไทย ให้ปลอดภัยและมีความสุข ส่วนกลยุทธ์การตลาด ในปีนี้ พานาโซนิคตั้งเป้าไต่ขึ้นเป็นอันดับหนึ่งใน แวดวงธุรกิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทย โดยทางพานาโซนิคมุ่งเน้นให้ความรู้ในตัวสินค้า ผ่านตัวแทนจ�ำหน่ายด้วยการจัดอบรมเป็นรายเดือน เพือ่ ให้ตวั แทนจ�ำหน่ายหลักและตัวแทนจ�ำหน่าย รายย่อยมีความรู้ความเข้าใจด้านเทคนิคในตัว สินค้าเป็นอย่างดี นอกจากนี้ท างพานาโซนิค ยังตั้งใจขยายช่องทางการจัดจ�ำหน่ายออกไปสู่ ต่างจังหวัดมากยิง่ ขึน้ ด้วยกลยุทธ์การตลาดแบบ ธุรกิจกับลูกค้า (B2C) ทัง้ นี้ นโยบายหลักของทาง โรงงานพานาโซนิค คือ การมุ่งเน้นการพัฒนา โซลูชั่น เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการ ของลูกค้ามากยิง่ ขึน้ เพราะยิง่ มีการพัฒนาโซลูชนั่ มากขึน้ โอกาสประสบความส�ำเร็จก็จะมากขึน้
Technology Corner
Access Control Source: a&s INTERNATIONAL_JAN 2013
เ
มื่อพูดถึงรูปแบบการรักษาความปลอดภัยในปัจจุบันแล้ว จะพบว่า ส่วนใหญ่นิยมติดตั้งกล้องวงจรปิดเป็นหลัก อย่างไรก็ดีการติดตั้งระบบ ควบคุมการเข้า-ออก (Access control) ควบคู่ไปกับกล้องวงจรปิด ระบบ แจ้งเตือนภัย และระบบรักษาความปลอดภัยด้วยการใช้ลกั ษณะเฉพาะตัวของ แต่ละบุคคล (Logical access control) ก็จะช่วยให้การรักษาความปลอดภัย มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ดังนัน้ คอลัมน์ Technology Corner ฉบับนีจ้ งึ ขอ ยกประเด็นเกีย่ วกับประสิทธิภาพทีเ่ กิดจากการติดตัง้ ระบบควบคุมการเข้าออกกับระบบอืน่ ๆ
มีการติดตัง้ กล้องวงจรปิด ขณะทีอ่ าคารขนาดใหญ่ จะมีการรักษาความปลอดภัย แบบครบวงจร ซึง่ ประเภทของธุรกิจก็เป็นอีกหนึง่ ปัจจัยทีก่ ำ� หนดการติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัยแบบครบวงจร ยกตัวอย่างเช่น สถานศึกษา หลายแห่งมีการติดตัง้ ระบบควบคุมการเข้า-ออก ตลอดจนระบบบริหารจัดการ ความปลอดภัย ขณะที่สถานพยาบาลส่วนใหญ่ ให้ความส�ำคัญกับปัญหา การลักพาตัวทารกและการป้องกันผูป้ ว่ ยหลบหนีออกจากโรงพยาบาล จึงมี การติดตัง้ ระบบควบคุมการเข้าออกแบบครบวงจร การประยุกต์ ใช้ระบบควบคุมการเข้าออกในอาคารขนาดเล็ก อาคารขนาดเล็กส่วนใหญ่มักเป็นสิ่งปลูกสร้างที่มีโครงสร้างเดี่ยว เช่น สถานประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) อพาร์ตเมนต์ และร้านค้าปลีก หากมีการใช้งานระบบควบคุมการเข้าออกเป็นฟังก์ชนั่ หลัก ควรมีการน�ำเอาระบบอื่นๆ มาประยุกต์ ใช้ควบคู่กัน เช่น ระบบบันทึกการ เข้า-ออกของพนักงาน ระบบรักษาความปลอดภัยด้วยการใช้ลกั ษณะเฉพาะตัว ของแต่ละบุคคล (Logical access control) อินเตอร์คอม ระบบควบคุม อาคารลานจอดรถ ระบบควบคุมลิฟต์ โดยสาร สัญญาณเตือนการบุกรุก ระบบ บันทึกสถิติ ตลอดจนกล้องวงจรปิด ทั้งนี้ อาจติดตั้งระบบควบคุมการ เข้า-ออกกับ ระบบบันทึก เวลาการท�ำงานของพนัก งาน ขณะเดียวกัน การติดตัง้ กล้องวงจรปิดร่วมกับระบบควบคุมการเข้า-ออกก็นบั เป็นอีกหนึง่ ทางเลือกที่ได้รับความนิยมอย่างมาก อนึ่ง ความง่ายในการติดตั้งและ การใช้งานนับเป็นปัจจัยเกื้อหนุนในการเลือกใช้ระบบรักษาความปลอดภัย ในกลุ่มลูกค้าอาคารขนาดเล็ก เนื่องด้วยผู้ ใช้งานส่วนใหญ่ไม่มีความคุ้นเคย กับระบบจัดการความปลอดภัย ดังนั้นการท�ำให้ระบบรักษาความปลอดภัย
เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ ความต้องการในการติดตัง้ ระบบควบคุมการเข้า-ออก ไม่ได้มปี จั จัยมาจากจ�ำนวนประตูทางเข้า-ออก (The quantity of doors) แต่เกิดจากปัจจัยอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ การเข้มงวดในการรักษา ความปลอดภัย ตลอดจนความต้องการของผู้ใช้งานเอง ทัง้ นี้ หากมีความจ�ำเป็น ต้องติดตัง้ ระบบควบคุมการเข้าออก สามารถพิจารณาจากขนาดของอาคาร สิง่ ก่อสร้างเป็นหลัก ซึง่ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก อันได้แก่ อาคารขนาดเล็ก อาคารขนาดกลาง และอาคารขนาดใหญ่ อนึง่ ความแตกต่างระหว่างอาคาร ขนาดเล็ก อาคารขนาดกลาง และอาคารขนาดใหญ่ มีปจั จัยมาจากการใช้งาน ระบบรักษาความปลอดภัย กล่าวคือ เมื่อพิจารณาถึงแนวทางการรักษา ความปลอดภัยในอาคารขนาดเล็กหรือขนาดกลาง จะพบว่าอาคารส่วนใหญ่
www.secutechthailand.com
7
Technology Corner
เป็นเรือ่ งเข้าใจได้งา่ ยจึงเป็นเรือ่ งทีม่ คี วามส�ำคัญเป็นอย่างยิง่ ขณะเดียวกัน ง่ า ยต่อการบริหารจัดการและระบบรักษาความปลอดภัยที่สามารถประยุกต์ ความคุม้ ทุนก็เป็นอีกหนึง่ ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลไม่นอ้ ย อีกทัง้ การมีตน้ ทุนในการ ใช้งานกับธุรกิจต่างๆ ดูแลรักษาระบบ (Total cost of ownership: TCO) ทีต่ ำ�่ ก็นบั เป็นอีกหนึง่ ความต้องการของลูกค้าในกลุม่ นี้ การประยุกต์ ใช้ระบบควบคุมการเข้าออกในอาคารขนาดกลาง อาคารขนาดกลางประกอบด้วยโครงสร้างต่างๆบนเนือ้ ทีเ่ ดียวกันหรือเป็น กลุม่ อาคารทีก่ ระจุกตัวกัน เช่น โรงเรียน ห้องสมุด พิพธิ ภัณฑ์ ศูนย์วฒ ั นธรรม โรงงงานอุตสาหกรรม และโรงพยาบาลชุมชน ส่วนระบบรักษาความปลอดภัย ที่นิยมติดตั้งกับอาคารขนาดกลาง มีระบบทึกการเข้า-ออก ระบบรักษา ความปลอดภัยด้วยการใช้ลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละบุคคล อินเตอร์คอม ระบบรักษาความปลอดภัยบริเวณลานจอดรถ ระบบควบคุมลิฟต์ โดยสาร สัญญาณเตือนการบุกรุก ระบบบันทึกจ�ำนวนสถิติ กล้องวงจรปิด และระบบ แจ้งเตือนภัยในที่สาธารณะ เป็นต้น ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของอาคาร ขนาดกลางและอาคารขนาดเล็กก็ย่อมต้องการระบบรักษาความปลอดภัย ทีง่ า่ ยต่อการติดตัง้ และใช้งาน แต่อาคารขนาดกลางจ�ำเป็นต้องการมีนโยบาย การรักษาความปลอดภัยทีแ่ น่นหนากว่าอาคารขนาดเล็ก การประยุกต์ ใช้ระบบควบคุมการเข้าออกในอาคารขนาดใหญ่ อาคารขนาดใหญ่จดั เป็นสิง่ ก่อสร้างทีต่ อ้ งการระบบรักษาความปลอดภัย มากที่สุด อาคารเหล่านี้ประกอบด้วย รัฐสภา ระบบสาธารณูปโภค สถานี บริการก๊าซหรือน�ำ้ มัน ท่าอากาศยาน มหาวิทยาลัย บริษทั ข้ามชาติขนาดใหญ่ ตลอดจนสถาบันทางการเงิน ส่วนระบบรักษาความปลอดภัยทีน่ ยิ มติดตัง้ กับ อาคารเหล่านี้ประกอบด้วย ระบบบันทึกการเข้า-ออกของพนักงาน ระบบ รักษาความปลอดภัยด้วยการใช้ลกั ษณะเฉพาะตัวของแต่ละบุคคล อินเตอร์คอม ระบบรักษาความปลอดภัยบริเวณลานจอดรถ ระบบควบคุมลิฟต์ โดยสาร สัญญาณเตือนภัย กล้องวงจรปิด ตลอดจนระบบแจ้งเตือนในที่สาธารณะ อนึ่ง ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการความปลอดภัย และการใช้งาน ที่ง่าย นับเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อการติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัย โดยผู้ ใช้งานในกลุ่มนี้ต้องการระบบรักษาความปลอดภัยที่สามารถรองรับ การเติ บ โตไปพร้ อ มกั บ ธุ ร กิ จ ตลอดจนระบบรั ก ษาความปลอดภั ย ที่ 8
www.secutechthailand.com
Fire & Safty Corner
บันไดหนีไฟ...เส้นทางสู่ชีวิตใหม่ Source: http://www.buildernews.in.th/page.php?a=10&n=268&cno=4041
“บันไดหนีไฟ” มักจะเป็นประเด็นทีถ่ กู กล่าวถึงเสมอเมือ่ เกิดเหตุเพลิงไหม้ มักจะได้ยินข่าวว่าประตูทางเข้าบันไดหนีไฟไม่สามารถเปิดใช้งานได้ เมื่อ เข้าไปแล้วมีสิ่งของวางกีดขวาง มีแสงสว่างไม่เพียงพอ และเมื่อหนีไฟ ตามบันไดหนีไฟไปถึงพื้นราบแล้ว ปรากฏว่าประตูไม่สามารถเปิดออกไป จึงท�ำให้เกิดเหตุการณ์น่าสลดขึ้นเป็นประจ�ำ หากมีการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบทีก่ ฎหมายได้กำ� หนไว้อย่างเคร่งครัดแล้ว เหตุการณ์ร้ายๆ คงไม่เกิดขึ้น แต่หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ก็สามารถ ทีจ่ ะผ่อนหนักให้เป็นเบาได้ และบันไดหนีไฟนีเ่ องทีจ่ ะเป็นเสมือนเส้นทางรอด สู่ชีวิตใหม่ของผู้ประสบเหตุเพลิงไหม้ “บันไดหนีไฟ” ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความ ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 มีข้อก�ำหนดที่ผู้เกี่ยวข้อง ไม่วา่ จะเป็นเจ้าของอาคาร ผูอ้ อกแบบ ผูก้ อ่ สร้าง ไปจนถึงผูใ้ ช้อาคาร ควรทีจ่ ะ ให้ความสนใจเอาใจใส่ดูแลให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ตามที่กฎหมายก�ำหนด ซึ่งประกอบด้วย ข้อ 27. ก�ำหนดให้อาคารที่สูงตั้งแต่สี่ชั้นขึ้นไป และสูงไม่เกิน 23 เมตร หรืออาคารทีส่ งู สามชัน้ และมีดาดฟ้าเหนือขัน้ ทีส่ าม ทีม่ พี นื้ ทีเ่ กิน 16 ตารางเมตร นอกจากมีบันไดของอาคารตามปกติแล้ว ต้องมีบันไดหนีไฟท�ำด้วยวัสดุ ทนไฟอย่างน้อยหนึ่งแห่ง และต้องมีทางเดินไปยังบันไดหนีไฟนั้นได้โดยไม่มี สิ่งกีดขวาง ข้อ 28. บันไดหนีไฟต้องมีความลาดชันน้อยกว่า 60 องศา เว้นแต่ตึกแถว และบ้านแถวทีส่ งู ไม่เกินสีช่ นั้ ให้มบี นั ไดหนีไฟทีม่ คี วามลาดชันเกิน 60 องศาได้ และต้องมีชานพักบันไดทุกชั้น ข้อ 29. บันไดหนีไฟภายนอกอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร และต้องมีผนังส่วนทีบ่ นั ไดหนีไฟพาดผ่านเป็นผนังทึบก่อสร้าง ด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟ ข้อ 30. บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร มีผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟกั้นโดยรอบ เว้นแต่ส่วนที่เป็นช่องระบายอากาศและช่องประตูหนีไฟ และต้องมีอากาศ ถ่ายเทจากภายนอกอาคารได้โดยแต่ละชั้นต้องมีช่องระบายอากาศที่เปิด สู่ภายนอกอาคารได้มีพื้นที่รวมกันไม่น้อยกว่า 1.4 ตารางเมตร กับต้องมี แสงสว่างให้เพียงพอทั้งกลางวันและกลางคืน ข้อ 31. ประตูหนีไฟต้องท�ำด้วยวัสดุทนไฟ มีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร สูงไม่นอ้ ยกว่า 1.90 เมตร และต้องท�ำเป็นบานเปิดชนิดผลักออก สู่ภายนอกเท่านั้น กับต้องติดอุปกรณ์ชนิดที่บังคับให้บานประตูปิดได้เอง และต้องสามารถเปิดออกได้โดยสะดวกตลอดเวลา ประตูหรือทางออก สูบ่ นั ไดหนีไฟต้องไม่มธี รณีหรือขอบกัน้ ข้อ 32. พื้นหน้าบันไดหนีไฟต้องกว้างไม่น้อยกว่าความกว้างของบันได และอีกด้านหนึง่ กว้างไม่นอ้ ยกว่า 1.50 เมตร ทั้งหมดข้างต้นนี้ เป็นหลักเกณฑ์ตามที่กฎหมายก�ำหนดไว้ ต้องถือ ปฏิบัติโดยเคร่งครัด แต่ส�ำหรับผู้ใช้อาคารแล้วการที่แน่ใจว่าบันไดหนีไฟที่ ถูกจัดสร้างขึ้นนั้น คงต้องใช้วิธีสังเกตเป็นหลัก ซึ่งมีหลักง่ายๆ คือ บันได หนีไฟทุกตัวจะต้องมีคุณสมบัติ คือ มีอัตราการทนไฟของประตูไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง ในจุดนี้เราจะเห็นว่าอาคารเกือบทั้งหมดจะใช้ประตูเหล็ก ถัดมา เป็นเรือ่ งของอุปกรณ์ประตู จะต้องเป็นแบบผลักเท่านัน้ ส่วนราวบันไดก็ตอ้ ง เป็นไปตามมาตรฐาน นอกจากนี้ก็ต้องมีป้ายบอกทางหนีไฟ มีป้ายบอกชั้น มีระบบอัดอากาศ กรณีเป็นบันไดหนีไฟที่อยู่ภายในตัวอาคาร อีกปัญหาหนึง่ ของบันไดหนีไฟในอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่ เกิดจาก การที่ผู้ออกแบบไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับการใช้งานของบันไดหนีไฟ ที่ต้อง
ใช้งานได้เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ส่วนใหญ่จะออกแบบตามที่กฎหมายควบคุม อาคารก�ำหนดไว้เท่านั้น เป็นการออกแบบโดยการตีความตามกฎหมาย โดยไม่พิจารณาจุดประสงค์ของการใช้งานบันไดหนีไฟ จึงพบว่า มีบันไดหนีไฟและบันไดที่ไม่มีการปิดล้อม บันไดไม่ได้ขนาด การเปิดประตูขวางการหนีไฟ ไม่มีการป้องกันควันเข้าสู่บันได ประตูหนีไฟ ไม่ได้มาตรฐาน อย่างกรณีเหตุเพลิงไหม้ในหลายๆ โรงแรม จะพบว่าบันไดหนีไฟ กลางเป็นปล่องไฟ และเป็นช่องทางให้ควันไฟและความร้อนขึ้นสู่ชั้นต่างๆ ของอาคารได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ จากการส�ำรวจของกรุงเทพมหานคร และเทศบาลในจังหวัดต่างๆ พบว่า ยังมีอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่ที่ ไม่ปลอดภัยอยูน่ บั พันหลัง และยังพบว่าเกือบทัง้ หมด มีบนั ไดและบันไดหนีไฟ ที่ไม่ปลอดภัย ซึ่งอาคารเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นอาคารเก่า และสร้างก่อน กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (2535) จะบังคับ จึงไม่ได้มาตรฐานและยากต่อการ แก้ไขปรับปรุงให้ปลอดภัย นอกจากนี้ การเพิ่ ม บั น ไดหนี ไ ฟล�้ ำ ออกมานอกอาคาร ยั ง อาจจะ ไม่เข้าข่ายการดัดแปลงอาคารอีกด้วย โดยทางกรมโยธาธิการได้เห็นความ ส�ำคัญในข้อนี้ จึงได้ออกกฎกระทรวงฉบับที่ 47 โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม 2540 ก�ำหนดให้อาคารจะต้องมีบันไดหนีไฟ และการติดตั้งบันได หนีไฟไม่ถือว่าเป็นการดัดแปลงอาคาร พร้อมทั้งแนะน�ำให้ท�ำการปิดล้อม บันได และช่องท่อแนวดิ่งต่างๆ บันไดหนีไฟ คือองค์ประกอบที่ส�ำคัญของทางหนีไฟ ซึ่งมีหลักการว่า จะต้องต่อเนื่อง เป็นพื้นที่ปลอดภัย สามารถใช้หนีไฟออกสู่นอกอาคาร ได้อย่างปลอดภัย หลักการนี้ นับว่าเป็นหลักการพื้นฐานและเข้าใจกันโดย ทั่วไป แต่ก็ยังมีการหลีกเลี่ยงและท�ำเสมือนหนึ่งไม่เข้าใจในหลักการนี้ ด้วย การกัน้ ห้องขวางบันได เอาประตูหนีไฟไปไว้ในห้อง มีทางหนีไฟผ่านห้องครัว ห้องเก็บของ ซึ่งเป็นอุปสรรคกับการหนีไฟ บันไดหนีไฟที่ดีที่สุด คือบันไดมาตรฐานปกติที่มีชานพัก ทุกระดับ ความสูงไม่เกิน 3 เมตร ส�ำหรับประเทศไทย ซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีปัญหา อากาศหนาวจัด บันไดโล่ง บันไดลอยนอกอาคาร หรือบันไดที่มีการระบาย อากาศตามธรรมชาติ เป็นบันไดหนีไฟที่เหมาะสมและไว้ใจได้มากที่สุด
www.secutechthailand.com
9
Articles
‘BSA’ เผยวิกฤตคือโอกาส เจ้าของอาคารให้ความส�ำคัญการตรวจสอบเพิ่มขึ้น Source: http://www.buildernews.in.th/page.php?a=10&n=268&cno=3617
นายพงศ์กฤษฎ์ ค�ำราชา กรรมการสาขา วิศวกรรมโยธา สมาคมผูต้ รวจสอบอาคารและ บริ ห ารความปลอดภั ย ในอาคาร หรือ BSA กล่าวว่า ในปัจจุบันผู้ตรวจสอบอาคารเริ่มมีการ เข้าไปตรวจสอบอาคารต่างๆ เพิ่มมากขึ้น แต่ บางครั้งอาจจะยังไม่ได้รับความร่วมมือจากทาง เจ้าของอาคารสักเท่าไหร่ เพราะส่วนใหญ่แล้ว เจ้าของอาคารมักจะบอกว่า อาคารของเขาได้รบั การตรวจสอบมาแล้ว เพียงแต่ยงั ไม่ได้รบั ใบรับรอง ร.1 โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ จะเกิดปัญหานี้ เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเรื่องมันก็จะได้ ติดขัดอยู่ ในส่วนของส�ำนักการโยธาธิการและ ผังเมือง ทัง้ นีอ้ าจเป็นเพราะภาระหน้าทีง่ านทีค่ อ่ นข้าง รวมไปถึงปริมาณของเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอที่จะ ท�ำการตรวจสอบ อีกประการเจ้าหน้าที่เหล่านั้น ก็มงี านประจ�ำทีต่ อ้ งด�ำเนินการอยูแ่ ล้ว เมือ่ มีงาน ตรวจสอบอาคารเพิ่มเติมเข้ามา จึงท�ำให้ทาง เจ้าหน้าที่ไม่สามารถที่จะด�ำเนินการได้ทันท่วงที นอกจากจะเป็นกรณีที่ส�ำคัญหรือจ�ำเป็นจริงๆ เจ้าหน้าที่ถึงจะออกใบรับรอง ร.1 ให้ ส�ำหรับ เรื่องนี้ทางสมาคมฯ มิได้นิ่งนอนใจ มีการเข้าไป
10
www.secutechthailand.com
พูดคุยกับทางหัวหน้าส�ำนักการโยธาฯ แต่ก็ยัง ไม่ได้รับความชัดเจนและความคืบหน้าส�ำหรับ เรื่องนี้สักเท่าไหร่ จนกระทั้งมีข่าวครึกโครมเกี่ยว กับอาคารสูงที่ถูกเพลิงไหม้ถึง 2 ตึกในเขตกทม. จึงท�ำให้ทางกทม. เริ่มให้ความส�ำคัญ และออก มาตรการในเรื่องของความปลอดภัยอาคารสูง โดยมีการจัดท�ำออกมาเป็นฐานข้อมูลของอาคาร ทั้ง 9 ประเภท ที่เข้าข่ายต้องได้รับการตรวจสอบ ไม่ว่าจะเป็นอาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุมนุมคน โรงมหรสพ โรงแรม สถานบริการ อาคารชุด อาคารโรงงานและป้าย โดยปัจจุบัน จะเห็น ได้ว่าอาคารทั้ง 9 ประเภทในเขตกทม. มีจ�ำนวนมากกว่า 10,000 อาคาร นอกจากนั้น
ทางกทม. ก็ยังได้ด�ำเนินการแต่งตั้งคณะท�ำงาน เพื่ อ ตรวจสอบอาคารทั้ ง 9 ประเภททั้ ง 50 ส� ำ นั ก งานเขต โดยเริ่ ม ด� ำ เนิ น การตรวจสอบ ไปแล้วในบ้างอาคาร นอกจากนั้นทาง กทม. ยังได้ มี ก ารประสานงานกั บ ทางสภาวิ ศ วกรรมเพื่ อ จั ด ท� ำ ร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ เ รื่ อ งความสู ง และความ ปลอดภัยในอาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุมนุมคน โรงมหรสพ โรงแรม สถานบริการ อาคารชุด อาคารโรงงานและป้าย ที่มีการเริ่ม บังคับใช้กันอย่างจริงจัง ในส่วนของเหตุการณ์ เพลิงไหม้อาคารสูงในกทม. ที่ผ่านมานั้น ท�ำให้ ทางเจ้าของอาคารหลายๆ อาคาร โดยเฉพาะ อาคารสูงเริ่มมีการตื่นตัวเพิ่มขึ้น โดยมีก ารติดต่อเข้ามายังสมาคมฯ เป็น จ�ำนวนมาก ไม่วา่ จะเป็นการติดต่อเข้ามาสอบถาม ว่ า อาคารสู ง จะต้ อ งมี ก ารตรวจสอบอย่ า งไร อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ ป ้ อ งกั น ภั ย ภายในอาคารมี ค วาม จ�ำเป็นมากน้อยขนาดใดและจ�ำเป็นต้องมีการ เพิ่ ม เติ ม อุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ เหล่ า นี้ เ ข้ า ไปหรื อ ไม่ ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องดีที่เจ้าของอาคารเริ่มตระหนัก ให้ความส�ำคัญและพร้อมทีจ่ ะปฏิบตั ติ าม รวมไปถึง ทางเจ้าของอาคารที่ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้าง อาคารก่อนปี 2535 ก็ยังให้ความส�ำคัญและยินดี ที่จะปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกมาบังคับใช้ ซึ่ ง ถื อ เป็ น การตื่ น ตั ว ที่ ดี ข องเจ้ า ของอาคาร ผนวกกับทางกทม. เข้ามาเร่งบทบาทในการบังคับ ใช้กฎกระทรวง ก็ยิ่งจะช่วยให้อาคารสูงต่างๆ เหล่านี้มีความปลอดภัยกับผู้ที่เข้ามาใช้อาคาร มากเพิ่มขึ้นนั่นเอง ทั้งนี้สาเหตุที่ส่วนใหญ่ทางเจ้าของอาคาร ไม่ ค ่ อ ยให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ เรื่ อ งของการตรวจ สอบอาคารนั่ น เป็ น เพราะเจ้ า ของอาคาร ส่ ว นมากจะมองว่ า การตรวจสอบอาคารเป็ น ค่าใช้จา่ ยทีฟ่ มุ่ เฟือย รวมไปถึงทางเจ้าของอาคาร ไม่ได้ตั้งงบประมาณในเรื่องของการตรวจสอบ อาคารเอาไว้ จึงท�ำให้ถูกละเลย มองว่าเป็นเรื่อง ไม่ส�ำคัญ เพราะอุปกรณ์ต่างๆ ภายในอาคารก็ ยังคงใช้ ได้เป็นอย่างดี แต่พอมีเหตุการณ์เพลิง ไหม้เกิดขึ้นเป็นข่าวโด่งดัง ก็ท�ำให้เจ้าของอาคาร ตระหนักถึงประเด็นนี้เพิ่มมากขึ้น เพราะคงไม่มี เจ้ า ของอาคารใดอยากให้ อ าคารของตนเอง ต้องเกิดเหตุอย่างแน่นอน ตรงนี้ยังส่งผลให้ ผู ้ ต รวจสอบอาคารได้ เ ข้ า มามี บ ทบาทส� ำ คั ญ เพิ่มมากขึ้น รวมไปถึงท�ำให้ผู้ตรวจสอบอาคาร มีการมาขึ้นทะเบียนอย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ก็คิดว่าเป็นเรื่องดีที่คนยอมรับและความส�ำคัญ ในเรือ่ งการตรวจสอบอาคารมากกว่าเดิมทีผ่ า่ นมา
Articles
“การตรวจสอบความปลอดภัยของอาคาร” สิ่งใกล้ตัวที่หลายคนยังไม่รู้ Source: http://www.buildernews.in.th/page.php?a=10&n=268&cno=3509
นายส�ำเริง ฤทธิพ์ ริง้ ประชาสัมพันธ์สมาคม ผู้ตรวจสอบและบริหารความปลอดภัยอาคาร หรือ BSA เปิดเผยถึงความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ของกฎหมายการตรวจสอบอาคารส�ำหรับเจ้าของ อาคารในปัจจุบนั ว่า โดยส่วนใหญ่แล้วทางเจ้าของ อาคารมี ก ารตื่ น ตั ว ในเรื่ อ งเหล่ า นี้ เ พิ่ ม มากขึ้ น แม้เจ้าของอาคารอาจจะไม่รู้ตัวบทกฎหมายที่ ออกมาก�ำหนดทุกข้อก็ตาม ซึ่งจะสังเกตดูได้จาก อาคารที่ได้รับการตรวจสอบความปลอดภัยแล้ว จะมีการติดตั้งป้ายแสดงเอาไว้ว่าอาคารเหล่านั้น ผ่านการตรวจสอบมาแล้ว แม้ว่าผู้ประกอบการ
ในด้านของอาคารที่จะต้องผ่านการตรวจสอบ ความปลอดภัยนัน่ มีอยูด่ ว้ ยกันทัง้ หมด 9 ประเภท ไม่ว่าจะเป็น อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุมนุมคน โรงมหรสพ โรงแรม สถานบริการ อาคารชุดอาคารโรงงาน และป้าย ซึง่ ส่วนใหญ่แล้ว อาคารในลักษณะนี้จะมีจ�ำนวนมากในส่วนของ กรุงเทพและตามหัว เมืองใหญ่ รวมไปถึงตาม เมืองท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็น เชียงใหม่ ภูเก็ต นครราชสีมาและขอนแก่น ซึ่งโดยส่วนมากแล้ว อาคารทีด่ ำ� เนินการก่อสร้างขึน้ มาใหม่นนั้ ก่อนจะ ด�ำเนินการออกแบบทางวิศวกร จะต้องน�ำกฎหมาย
นั่ น อาจเป็ น เพราะเจ้ า ของอาคารยั ง ไม่ ไ ด้ เ ล็ ง เห็นถึงความส�ำคัญในเรื่องนี้มากนัก ซึ่งอาจจะ คิ ด ว่ า การตรวจสอบแบบนี้ ไ ม่ เ กิ ด ประโยชน์ และยังต้องจ่ายเงินเพิ่มขึ้นส�ำหรับการตรวจสอบ อีกประการบางอาคารทีม่ กี ารก่อสร้างมายาวนาน แบบแปลนอาจจะสูญหายไป ซึง่ ต้องมีการท�ำแบบ ของห้องต่างๆ ใหม่หมด ตรงนี้อาจท�ำให้เจ้าของ อาคารมองว่าเป็นเรือ่ งทีย่ งุ่ ยาก แต่ทงั้ นีท้ างสมาคมฯ ก็อยากจะวิงวอนให้เจ้าของอาคารให้ความส�ำคัญ กับการตรวจสอบอาคาร ทัง้ นีม้ นั เป็นการตรวจสอบ ไม่ได้เป็นการเข้าไปจับผิดแต่อย่างใด เพราะส่วนใหญ่
หรือเจ้าของอาคารจะตื่นตัวในเรื่องนี้เพียงใด แต่ ในมุมมองของผู้ตรวจสอบอาคารก็ยังไม่ค่อย เป็นที่น่าพอใจมากนัก เพราะยังคงมีอีกหลายๆ อาคารยั ง ไม่ ไ ด้ ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ เรื่ อ งพวกนี้ สักเท่าไหร่ รวมไปถึงระบบในการตรวจสอบอาคาร ต้องมีหน่วยงานของทางราชการเข้ามาเกีย่ วข้องด้วย ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ก ารด� ำ เนิ น งานมี ความล่าช้าอยู่ พอสมควร นั่นเป็นเพราะตัวบทกฎหมายได้ถูก ก�ำหนดโดย กรมโยธาธิการและผังเมือง รวมไปถึง ยั ง เป็ น ผู ้ ที่ อ อกใบอนุ ญ าตให้ แ ก่ ผู ้ ต รวจสอบ อาคารอีกด้วย ดังนั้นการด�ำเนินการจึงอาจจะมี การติดขัดหรือล้าช้าไปบ้าง และหากเปรียบเทียบ กั บ การตรวจสอบความปลอดภั ย ของอาคาร ในต่างประเทศ ก็คงต้องยอมรับว่า การตรวจสอบ ในบ้านเรายังเทียบกับต่างประเทศไม่ได้ แต่ ใน อนาคตก็คาดว่าเราจะสามารถพัฒนาศักยภาพ ให้สามารถเทียบชัน้ กับต่างประเทศได้อย่างแน่นอน
การตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารเข้ามา ประกอบในการออกแบบด้วย จึงท�ำให้ทงั้ ตัวเจ้าของ อาคารและผู้เข้ามาใช้ประโยชน์ภายในอาคาร มั่นใจได้ว่า อาคารเหล่านั้นได้ผ่านการตรวจสอบ ความปลอดภัยมาเป็นที่เรียบร้อยแล้วแต่ส�ำหรับ อาคารเก่ า ที่ ไ ด้ ท� ำ การก่ อ สร้ า งมาก่ อ นที่จะมี การออกกฎหมายตรวจสอบความปลอดภั ย ในอาคาร กฎหมายได้กำ� หนดให้สามารถปรับปรุง แก้ ไ ขตั ว อาคารให้ ไ ด้ ม าตรฐานย้ อ นหลั ง ได้ ทั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ ความปลอดภั ย ของตั ว อาคารและ ผู ้ เ ข้ า มาใช้ ป ระโยชน์ ภ ายในอาคารนั่ น เอง รวมไปถึ ง ยั ง ช่ ว ยให้ เ จ้ า ของอาคารประหยั ด ในเรื่องของการบ� ำ รุ ง รั ก ษาได้ อี ก ทางหนึ่ ง ด้ ว ย เพราะไม่ ต ้ อ งด�ำเนินการซ่อมบ�ำ รุงพร้อมกัน ทั้งตึก ปัจจุบันจะเห็นได้ว่ายังคงมีอาคารอีกหลาย อาคารที่ยังไม่ได้รับการตรวจสอบความปลอดภัย
เจ้ า ของอาคารที่ มี ก ารต่ อ เติ ม ก็ มั ก คิ ด ว่ า ทาง ผู้ตรวจสอบจะเข้าไปจับผิดว่ามีการขออนุญาต ต่อเติมทีถ่ กู ต้องหรือไม่ ตรงนีต้ อ้ งบอกว่าเราไม่ได้ เข้าไปจับผิดแต่อย่างไร แต่เราจะดูว่าในส่วนที่ ต่อเติมใหม่ขนึ้ มานัน้ มีความปลอดภัยต่อตัวอาคาร และผู้เข้ามาใช้ประโยชน์ภายในอาคารหรือไม่ จึงอยากให้ท างเจ้าของอาคารให้ความส�ำคัญ ในเรื่องนี้อย่างจริงจัง นอกจากนั้นทางสมาคมฯ ก็พยายามเข้าไปให้ความรู้แก่เจ้าของอาคารและ ผู้ที่สนใจอย่างสม�่ำเสมอ โดยมีการเผยแพร่ผ่าน ช่องทางต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของงานอีเว้นท์ งานแสดงสินค้า รวมไปถึงสื่อวิทยุ โทรทัศน์ เพื่อ สื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายให้ ได้รู้ถึงประโยชน์ ของการตรวจสอบอาคาร นอกจากนั้นสมาคมฯ ก็ยังด�ำเนินการอบรมให้ความรู้กับผู้ตรวจสอบ อาคาร ให้เขาสามารถน�ำข้อมูลต่างๆไปเผยแพร่ แก่ผู้คนทั่วไปได้อีกทางหนึ่งด้วยนั่นเอง
www.secutechthailand.com
11
Articles
Secutech แอพพลิเคชันพร้อมรองรับการใช้งานอย่างเต็มรูปแบบแล้ววันนี้
Secutech Taiwan 2013
หนึง่ ในพืน้ ทีจ่ ดั แสดงระบบควบคุมการเข้า-ออกทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในเอเชีย บริษทั เมสเซ่ แฟรงค์เฟิรต์ นิวอีรา่ บิซเิ นส มีเดีย จ�ำกัด ก�ำหนดจัดงาน Secutech Taiwan ขึน้ ระหว่างวันที่ 14 ถึง 26 เมษายน ศกนี้ ณ ไทเป เวิลด์เทรด เซ็นเตอร์ หนานกัง ฮอลล์ การจัดงานแสดงสินค้าครัง้ ที่ 16 นี้ ทางผูจ้ ดั คาดว่า จะมีผเู้ ข้าร่วมงานมากกว่า 560 ราย ซึง่ ภายในงานจะมีการจัดแสดงสินค้าและ นวัตกรรมต่างๆ ทัง้ กล้องวงจรปิด ระบบควบคุมการเข้า-ออกอาคาร ระบบ รักษาความปลอดภัยในอาคารจอดรถ ตลอดจนโซลูช่ นั่ ต่างๆ จากยักษ์ใหญ่ใน วงการธุรกิจรักษาความปลอดภัยจากทัว่ โลก มิสเตอร์พาร์สนั ลี กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เมสเซ่ แฟรงค์เฟิรต์ นิวอีรา่ บิซเิ นส มีเดีย จ�ำกัด กล่าวว่า ตนรูส้ กึ ยินดีกบั การเปิดตัวช่องทางสือ่ สารผ่านทาง สมาร์ทโฟน โดยได้เปิดตั ว Secutech แอพลิ เ คชั นซึ่ งมาพร้ อมกั บลู ก เล่ น ที่หลากหลาย เช่น รองรับการลงทะเบียนล่วงหน้า อัพเดทข่าวสารทัง้ จากผูร้ ว่ มงาน และข้อมูลการจัดงาน ตลอดจนสามารถตรวจสอบเส้นทางการเดินทางมายัง พืน้ ทีจ่ ดั แสดง ซึง่ แอพลิเคชันดังกล่าวมีสว่ นช่วยให้ผใู้ ช้งานเข้าถึงข้อมูลเกีย่ วกับ การจัดงาน Secutech ได้สะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ Secutech Taiwan 2013 จะกลายเป็นสถานที่จัดแสดงระบบควบคุม การเข้า-ออก (Access Control) ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภูมภิ าคเอเชีย คาดว่าจะมีตวั แทน ผูจ้ ำ� หน่ายร่วม 100 ราย เข้าร่วมจัดแสดงในพืน้ ประมาณ 1,200 ตารางเมตร ทัง้ นีจ้ ะมีการจัดแสดงระบบควบคุมการเข้า-ออกต่างๆ เช่น ระบบรักษาความ ปลอดภัยในอาคารจอดรถ ประตูอตั โนมัติ และอุปกรณ์สำ� หรับติดตัง้ ตามบ้านเรือน เช่น กริง่ สนทนาทีร่ องรับการสนทนาผ่านทางหน้าจอ ตลอดจนระบบควบคุมต่างๆ ทั้งนี้ ภายในงานจะมี แบร์ ดชั้ นน� ำ จากประเทศต่ างๆ ตบเท้ า เข้ า ร่ ว ม
12
www.secutechthailand.com
จัดแสดงสินค้า เช่น Dahua, Dali และ Hikvision ซึง่ เป็นแบรด์ชนั้ น�ำจากจีน Mobotix จากเยอรมนี Sparsh จากอินเดีย Tamron จากญีป่ นุ่ HDPRO, Micro Digital จากเกาหลี Dynacolor, Everfocus และ Vivotek จากไต้หวัน ตลอดจน Infinova จากสหรัฐอเมริกา ทัง้ นี้ ผูเ้ ข้าร่วมงานแสดงสินค้าทีล่ งทะเบียนล่วงหน้า ผ่านทางเว็บไซต์หรือ Secutect แอพลิเคชัน จะได้รบั สิทธิลน้ ุ เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เช่น กล้องวงจรปิด ระบบควบคุมการเข้าออก รวมไปถึงโซลูชนั่ ต่างๆจากแบรนด์ ชัน้ น�ำจากทัว่ โลกทีเ่ ข้าร่วมแสดงสินค้าภายในงาน การสาธิตการใช้งานกล้องวงจรปิดทีม่ คี วามคมชัดสูง (HD SDI) จัดเป็น อีกหนึง่ ไฮไลท์ภายในงาน Secutech Taiwan กิจกรรมดังกล่าวมีขนึ้ เพือ่ ส่งเสริม ให้การติดตัง้ ตลอดการใช้งานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ซึง่ กิจกรรม ดังกล่าวมีส่วนช่วยเพิ่มโอกาสให้ผู้เข้าร่วมงานได้แนะน�ำสินค้าได้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ ผูเ้ ข้าร่วมงานยังสามารถเรียนรูเ้ กีย่ วกับการใช้งานกล้องวงจรปิดไอพี ไม่ว่าจะเป็นฟังก์ชันการใช้งาน ข้อจ�ำกัด ความแตกต่าง และประสิทธิภาพ การใช้งานจากการสาธิตการใช้งานโดยผูน้ ำ� รายใหญ่ อนึง่ ภายในงาน Secutech Taiwan 2013 ได้จดั ให้มงี านสัมมนา ซึง่ มีหวั ข้อ สัมมนาทีน่ า่ สนใจไม่วา่ จะเป็นการป้องกันอัคคีภยั และอุบตั ภิ ยั ในเขตอุตสาหกรรม การรักษาความปลอดภัยทางข้อมูล ซึ่งเหมาะกับผู้ฟังที่เป็นผู้จ�ำหน่ายอุปกรณ์ ไอทีและซอฟต์แวร์ สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับการลงทะเบียนล่วงหน้าและข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.secutech.com หรือติดต่อ MS Lois Lee โทร +886 2 2659 9080 ต่อ 358 หรือ E-mail : lois.lee@newera.messefrankfurt.com
STTH News+Event
อย่ารอวัวหายแล้วล้อมคอก...เตรียมพบกับรายการใหม่ “รู้ทันภัย” เร็วๆ นี้ บทคัดย่อรายการ ชื่อรายการ : รู้ทันภัย กลุ่มเป้าหมาย : เจ้าของบ้าน เจ้าของกิจการ หน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ และผู้สนใจ ผลิตรายการโดย : ช่อง @dESIGN Channel ร่วมกับ ARCH HOUSE STUDIO ประเภท : Hybrid Program ความยาว : 30 นาที (พัก 1 ช่วง) Channel : @dESIGN Channel รูปแบบ : Variety, Reality & Documentary รายการ “รู้ทันภัย” เป็นรายการที่เสนอข่าวความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับประเด็นความปลอดภัยใกล้ที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจ�ำวัน เน้นการน�ำเสนอ ในรูปแบบเรียลลิตีโชว์ประเภทกึ่งสารคดี โดยจะมีการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาตลอดจนส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน
รูปแบบรายการ การด�ำเนินรายการจะมีทั้งพิธีกรและผู้บรรยายตลอดรายการ เน้นน�ำเสนอภาพข่าวข้อเท็จจริงของเหตุการณ์เพื่อย�้ำเตือนให้ผู้ชมได้ตระหนักถึง ภัยอันตรายในสังคม โดยจะเปิดรายการด้วยหัวข้อข่าวที่เป็นประเด็นร้อนเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย มีการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาร่วม อีกทั้ง น�ำเสนอแนวทางการป้องกันเหตุการณ์ด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีรักษาความปลอดภัย
Industrial Zone Tour with Secutech Thailand Secutech Thailand เตรียมจัดกิจกรรม Industrial Zone Tour เพื่อเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจได้มีโอกาสได้ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับแนวทาง การป้องกันอัคคีภัย และการป้องกันอุบัติภัยภายในโรงงานอุตสาหกรรม โดยก�ำหนดจัดกิจกรรมดังกล่าวขึ้นในวันที่ 28 และ 29 พฤษภาคม ศกนี้ ตั้งแต่เวลา 13:30 น. - 16:30 น.
ก�ำหนดการกิจกรรม “ Industrial Zone Tour with Secutech Thailand”
เวลา
กิจกรรม
13:30 - 14:00 น.
ลงทะเบียน/พิธีเปิดงาน
14:00 - 14:30 น.
อภิปรายหัวข้อ “New Fire & Safety Regulations for Industrial Factories”
14:30 - 15:00 น.
กิจกรรมสาธิตนวัตกรรมป้องกันอัคคีภัยและป้องกันอุบัติภัย
15:00 - 15:10 น.
พักเบรก
15:10 - 15:40 น.
อภิปรายหัวข้อ “Minimize Insurance Cost with Effective Fire & Safety Measures”
15:40 - 16:00 น.
กิจกรรมสาธิตนวัตกรรมป้องกันอัคคีภัยและป้องกันอุบัติภัย
16:00 - 16:30 น.
อภิปรายหัวข้อ “ How to Build Fire & Safety System in Factories”
16:30 น.
เสร็จสิ้นกิจกรรม
หมายเหตุ: สถานที่จะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง และก�ำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ : คุณสุวพิชญ์ อัจนาศรัณย์ โทร. 0 2717 2477 ต่อ 122 E-mail : suwapit@ttfintl.com
www.secutechthailand.com
13
Product Showcase
SMC873 600/700 TVL LED light (IR3 be LED-Array)
SMC872
600/700 TVL
Effective distances of up to 70 m.
1/3" Sony EXview HAD CCD II image sensor High resolution of 600/700 TVLines Minimum illumination of 0LUX/F1.2(IR ON)
1/3" Sony EXview HAD CCD II image sensor High resolution of 600/700 TVLines Minimum illumination of 0LUX/F1.2(IR ON) Waterproof rate IP66
AY R R IR A
AY R R IR A
AVN 80X
NVR 306
Push Video Technology 1/3" Live MOS image sensor image sensor High resolution of vSXGA, SXVGA, 720P, VGA, QVGA Minimum illumination of 0.1 Lux / F1.5, 0 Lux (LED ON) Lens : f3.8mm / F1.5 Mobile : iPhone, iPad & Android mobile devices
- Video Input : One LAN port Up to 6 Channels with a 6-port hub - Video Output : HDMI - Video Output Resolution : 1920 x 1080 - HDD Storage : Up to two 3TB HDDs - Ethernet : LAN port 1000Mbps, Internet port 10Mbps / 100Mbp
1.3Mp
AVC 462B
600 TVL H.R. 35 IR LEDs Camera
AVC 798 ZPV 8/16 CH 4CH Push Video with Alarm-in
1/3" color CCD sensor with SONY Effio DSP High resolution of 600 TVLines Minimum illumination of 0.05 Lux, 0 Lux (IR ON) IR LED 35 units up to 25 meters Waterproof rate IP67
Video Compression Format H.264 Backup Device DVD Writer (optional) / USB 2.0 flash drive / Network 2 SATA HDDs (1 HDD capacity up to 2TB)
IPC-HFW 2100 P
NVR 3204
1/3" 1.3Mp Aptina CMOS H.264/MJPEG dual-stream encoding Max 15fps@1.3M(1280Ă—960), 25/30fps@720P Lens: 6mm(3.6mm, 8mm optional) R LEDs: 20mm, IP68 D&N(ICR), DC12V, PoE
4 CH
4 ch IP camera inputs Max 120fps@1080p, 240fps@720p, 480 fps@D1 preview & recording HDMI,VGA & BNC output up to 1080p 2 SATA, 2 USB
D Co ua re l
1.3Mp CMOS HD Waterproof IR Network Camera
r
so
es
oc
Pr
SMC GROUP (THAILAND) CO.,LTD. Tel. 662-929-6862-66 Fax. 662-929-6861 www.smc-tech.com, www.smcgroup.co.th, info@smc-tech.com
14 14 www.secutechthailand.com www.secutechthailand.com
www.secutechthailand.com
15
16
www.secutechthailand.com