News Express ISSUE NO
3
Mar. 2013
เจาะลึกแนวคิดการออกแบบและติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัยอาคาร
ค
วามปลอดภัยนับเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเช่าอาคาร ในระยะยาวของผู้ ใช้สอยอาคาร และเป็นปัจจัยที่เจ้าของอาคาร พาณิชย์ตลอดจนนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ต่างมุ่งเน้นให้ความ ส�ำคัญ นอกจากปัจจัยในเรือ่ งของความโดดเด่นทางด้านสถาปัตยกรรมแล้ว อาคารสิ่งก่อสร้างควรมีการออกแบบให้มีความมั่นคงปลอดภัย เนื่องจาก ปัจจุบันมีการการก�ำหนดมาตรฐานความปลอดภัยในอาคารส�ำนักงาน โดยมีทีมวิศวกรคอยตรวจสอบหรือดูแลอาคารเพื่อป้องกันเหตุการณ์ที่ น�ำมาซึง่ ความสูญเสียต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ดัง้ นัน้ แนวคิดเกีย่ วกับการรักษา ความปลอดภัยจึงเป็นแนวคิดที่หลายฝ่ายต่างให้ความส�ำคัญ
อ่านต่อหน้า 3
Industry News พานาโซนิคพัฒนาโซลูชั่น-ลุยตลาดระบบรักษาความปลอดภัยในไทย เมือ่ วันที่ 22 มกราคมทีผ่ า่ นมา บริษทั พานาโซนิค ซิว เซลส์ (ประเทศไทย) ได้จัดงานเปิดบ้าน “Panasonic Pro-Security Asia Pacific Open House 2013” ณ ห้องประชุมใหญ่ พานาโซนิค ซิว เซลส์ ( ประเทศไทย ) เพื่อโชว์ โ ซ ลู ชั่ น สุ ด ล�้ ำ เ ผ ย โ ฉ ม หน้ า ศู น ย์ บั ญ ชาการระบบ รั ก ษาความปลอดภั ย อย่าง เต็มรูปแบบ ทั้งนี้ ลั่นพร้อม ก้าวขึน้ สูอ่ นั ดับ 1 ของตลาด โทรทัศน์วงจรปิดใประเทศไทย
อ่านต่อหน้า 5
www.secutechthailand.com
1
2
www.secutechthailand.com
Market Update
เจาะลึกแนวคิดการออกแบบและติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัยอาคาร Source: a&s INTERNATIONAL_MAY 2012
ค
วามปลอดภัยนับเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อการตัดสินใจเช่าอาคารในระยะยาว ของผู้ใช้สอยอาคาร และเป็นปัจจัยที่ เจ้ า ของอาคารพาณิ ช ย์ ต ลอดจนนั ก พั ฒ นา อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ต ่ า งมุ ่ ง เน้ น ให้ ค วามส� ำ คั ญ นอกจากปัจจัยในเรื่องของความโดดเด่นทาง ด้านสถาปัตยกรรมแล้ว อาคารสิ่งก่อสร้างควรมี การออกแบบให้มคี วามมัน่ คงปลอดภัย เนือ่ งจาก ปัจจุบนั มีการการก�ำหนดมาตรฐานความปลอดภัย ในอาคารส�ำนักงาน โดยมีทมี วิศวกรคอยตรวจสอบ หรือดูแลอาคารเพื่อป้องกันเหตุการณ์ที่น�ำมา ซึ่งความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน ดั้งนั้น แนวคิดเกีย่ วกับการรักษาความปลอดภัยจึงเป็น แนวคิดทีห่ ลายฝ่ายต่างให้ความส�ำคัญ การก�ำหนดพืน้ ทีใ่ ช้สอยอาคารอย่างชัดเจน การก�ำหนดพื้นที่ใช้สอยอาคารช่วยให้การ รั ก ษาความปลอดภั ย ในอาคารมีประสิทธิภาพ มากยิง่ ขึน้ ดังนัน้ การออกแบบอาคารจึงมีความส�ำคัญ ไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าแนวทางการรักษาความปลอดภัย การก� ำ หนดพื้นที่ใช้สอยอาคารตั้งแต่แรกเริ่ม มีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้สอยอาคาร เป็ น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ เมื่ อ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ในการใช้ ง านอาคารที่ ห ลากหลาย เจ้ า ของ อาคารหรื อ ผู ้ ใ ช้ ส อยอาคารควรก� ำ หนดพื้ น ที่ การใช้งานอาคารไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้นอกจาก การก�ำหนดพื้นที่ใช้สอยอาคารไว้อย่างชัดเจน จะช่วยลดความเเออัดในการใช้สอยอาคารแล้ว ยั ง มี ส ่ ว นช่ ว ยให้ ก ารใช้สอยอาคารเป็นไปตาม วัตถุประสงค์การใช้งานอาคาร ตลอดจนการบริหาร การจั ด การความปลอดภั ย มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
มากยิ่ ง ขึ้ น หากกล่ า วถึ ง การบริ ห ารจั ด การ ความปลอดภัยอาคารแล้ว การแบ่งพื้นที่ใช้สอย อย่างชัดเจนยังช่วยลดความเสี่ยงให้ผู้ใช้สอย อาคาร กล่าวคือ ความเสีย่ งในการใช้สอยอาคาร มักขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งานอาคาร เป็นหลัก บ้างก็มคี วามเสีย่ งสูง บ้างก็มคี วามเสีย่ ง เพียงเล็กน้อย ดังนัน้ การออกแบบอาคาร ทัง้ ในส่วน ของโรงแรม ห้างสรรพสินค้า อาคารส�ำนักงาน ควรค�ำนึกถึงจุดมุ่งหมายในการใช้งานเป็นหลัก
โดยอาศั ย หลั ก การออกแบบที่ ต ่ า งกั น ออกไป เพื่อให้สามารถตรวจจับความผิดปกติที่เกิดขึ้น ในอาคารได้อย่างฉับพลัน ทัง้ นี้ หากมีการออกแบบ อาคารโดยไม่ ค� ำ นึ ง ถึ ง การติ ด ตั้ ง ระบบรั ก ษา ความปลอดภั ย อาจท� ำ ให้ ก ารรั ก ษาความ ปลอดภัยไม่ค่อยมีประสิทธิภาพมมากนัก การรักษาความปลอดภัยพืน้ ทีส่ าธารณะ และพืน้ ทีส่ ว่ นบุคคล รูปแบบการรักษาความปลอดภัยในปัจจุบัน ส่วนใหญ่มักจะเป็นการรักษาความปลอดภัยที่ มุ่งเน้นการเฝ้าระวังแบบมุมกว้างหรือการรักษา ความปลอดภัยแบบภาพรวม ซึ่งอ�ำนาจในการ
พิจารณาติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยมัก ขึน้ อยูก่ บั ผูเ้ ช่าอาคารเป็นหลัก ดังนัน้ ผูเ้ ช่าอาคาร จึงสามารถปรับรูปแบบการรักษาความปลอดภัย ให้ตรงกับความต้องการของผู้เช่า ทั้งนี้ ในส่วน อาคารขนาดใหญ่ที่มีผู้เช่าหลายคน มักมีพื้นที่ ส่วนกลาง เช่น ร้านค้า ศูนย์อาหาร ซึ่งจัดเป็น พื้นที่ที่สามารถควบคุมได้ยาก เนื่องจากพื้นที่ ส่วนดังกล่าวออกแบบมาเพื่อดึงดูดผู้คน อนึ่ง ความเสี่ยงในการในการใช้สอยอาคารมักขึ้นกับ วัตถุประสงค์ของการใช้สอยอาคารนัน้ ๆ อาคารสาธารณะ (Public areas) ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ส่วนกลางมั ก มี ความเสี่ ย งต่ อ ภั ย ที่ เ กิ ด จากการ ก่อการร้ายเนื่องจากพื้นที่ส ่ ว นกลาง เป็ น พื้ น ที่ ที่ ไ ม่ ส ามารถประเมิ น จ�ำนวนผู้ที่เข้าออกอาคารได้ อีกทั้ง ยั ง เ ป ็ น พื้ น ที่ ที่ มี ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม การเข้ า ออกที่ จ� ำ กั ด โอกาสในการ กระท�ำความผิดก็จะมีสูง รูปแบบทั่วไปในการ รั ก ษาความปลอดภั ย ของอาคารหรื อ พื้ น ที่ สาธารณะเหล่านี้อาจมีการติดตั้งกล้องวงจรปิด หรื อ มี พ นั ก งานรั ก ษาความปลอดภัยคอยดูแล ความสงบเรียบร้อย หรือในบางกรณี เช่น โรงแรม อาจมี เ พี ย งพนั ก งานที่ ยืนประจ�ำประตูเท่านั้น ในส่วนของห้างสรรพสินค้าผู้เช่าอาคารควรหา แนวทางรองรั บ ความหนาแน่ น ของลู ก ค้ า เพื่อให้การให้บริการเป็นไปอย่างทั่วถึง จึงควร มีการติดตั้งกล้องวงจรปิด ระบบป้องกันอัคคีภัย และแผนการให้ความช่วยเหลือและแผนอพยพ กรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน ส�ำหรับพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัย ผู้เช่าอาคารจะจะพิจารณาถึงปัจจัยความเสี่ยง
www.secutechthailand.com
3
Market Update
ที่มาพร้อมกับความแออัดคับคั่ง เนือ่ งจากมีกลุม่ คนบางจ�ำนวนมากที่หมายก่อเหตุวินาศกรรม ทั้งนี้ ผู้ก่อการร้ายอาจมีเป้าหมายที่จะลงมือ ก่อเหตุอุบัติภัยหมู่ (Mass casualty incident: MCI) ในพื้นที่ดังกล่าว อันน�ำมาซึ่งความสูญเสีย ทางชีวิตและทรัพย์สินเป็นจ�ำนวนมหาศาล อนึ่ง ปั จ จุ บั น รู ป แบบการรั ก ษาความปลอดภัย ในที่ สาธารณะถือได้วา่ มีมาตรฐานและสามารถตรวจสอบ และควบคุมจากศูนย์ควบคุม (Command center) สามารถเฝ้าระวังภัยในพืน้ ทีต่ า่ งๆ เช่น ห้องรับรอง บริเวณห้องโถงหน้าลิฟต์ ภายในลิฟต์โดยสาร ลานจอดรถ ประตูทางเข้าหลัก ตลอดจนประตู ฉุกเฉิน และบันได ทั้งนี้ ผู้เช่าอาคารสามารถ ตรวจสอบระบบรักษาความปลอดภัยด้วยตัวเอง หรื อ ว่ า จ้ า งมื อ อาชี พ เข้ า มาดู แ ลระบบรั ก ษา ความปลอดภัยในหน่วยงานหรือองค์กร ขณะทีพ่ นื้ ทีส่ ว่ นบุคคล ( Private areas) จัดว่า มีความเสี่ยงน้อยกว่าพื้นที่สาธารณะ แต่ยังคงมี ความจ�ำเป็นทีต่ อ้ งติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัย เพือ่ ให้สามารถระบุตวั บุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากยิ่ ง ขึ้ น อาจมี ก ารติ ดตั้งระบบควบคุม การ เข้า-ออกอาคาร (Access control) อาจมีพนักงาน รั ก ษาความปลอดภั ย เพื่ อ คอยท� ำ หน้ า ที่ ต รวจ สอบผู้คนที่เดินทางเข้าออกอาคาร อาจมีความ จ�ำเป็นต้องแลกบัตรประจ�ำตัว หรือมีการติดบัตร ในฐานะผู้มาเยือน เป็นต้น เนื่องจากพื้นที่ส่วน บุคคลไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกเข้าออกได้ และผูท้ เี่ ข้าออกส่วนใหญ่มกั จะเป็นเจ้าของอาคาร หรือผู้ที่ใช้สอยอาคารทั่วไป รวมไปถึงพนักงาน ประจ�ำ ดังนั้นจึงสามารถตรวจสอบผู้เข้าออก ได้อย่างชัดเจน รวมถึงระบุตัวบุคคลได้ชัดเจน ความเสี่ยงที่จะเกิดการก่อเหตุร้ายจึงน้อยกว่า เมื่ อ เที ย บกั บ พื้ น ที่ ส าธารณะ กระนั้ น พื้ น ที่ ส่วนบุคคลยังคงมีความจ�ำเป็นต้องติดตั้งระบบ รักษาความปลอดภัย ถึงแม้วา่ จะมีผเู้ ข้าออกอาคาร ส่วนใหญ่เป็นพนักงาน แต่ผู้เช่าอาคารยังคงต้อง ค�ำนึงถึงแนวทางการักษาความปลอดภัยเป็นหลัก ผู้เช่าอาคารสามารถติดตั้งและดูแลระบบรักษา ความปลอดภัยตัวภายในอาคารด้วยการติดตั้ง ระบบควบคุมการเข้าออก และระบบเตือนภัย 4
www.secutechthailand.com
ซึ่ ง ปั จ จั ย ในการติ ด ตั้ ง มั ก จะสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของผูเ้ ช่าอาคาร ทัง้ นี้ เป็นทีน่ า่ สนใจ ว่าอ�ำนาจในการตัดสินใจมักขึน้ อยูก่ บั ประเภทของ ธุรกิจ บวกกับส�ำนึกรับผิดชอบของเจ้าของอาคาร การบริหารจัดการความปลอดภัย การบริหารจัดการความปลอดภัยอาคารมัก ขาดประสิทธิภาพ หากปราศจากการวางแผน ตัง้ แต่แรกเริม่ ทัง้ นี้ การควบคุมการเข้าออกของ รถยนต์เป็นอีกหนึง่ เรือ่ งทีม่ คี วามส�ำคัญเป็นอย่างยิง่ หากการออกแบบระบบรั ก ษาความปลอดภั ย เป็นไปอย่างเหมาะสม จะช่วยลดความคับคัง่ ของ ช่องทางการเดินรถ การขับรถพุง่ ชนอาคาร (Car crashing into building) อนึ่ง หากเป็นพื้นที่ที่มี ความเสีย่ งสูง ควรมีมาตรการรองรับการเข้าออก ของรถทีเ่ ข้มงวด มีการติดตัง้ เสากัน้ รถยนต์อตั โนมัติ (Ballard) ซึง่ ท�ำหน้าทีห่ ยุดรถเพือ่ รอการตรวจสอบ ก่อนทีจ่ ะอนุญาตให้รถยนต์สามารถผ่านเข้าออกได้ ทัง้ นีค้ วรมีการติดตัง้ เสากัน้ รถยนต์อตั โนมัตใิ นพืน้ ที่ ทีเ่ หมาะสม เพือ่ ลดการคับคัง่ ตลอดจนมีมาตรการ รักษาความปลอดภัยอย่างหนาแน่นยิ่งขึ้น แนวทางการรักษาความปลอดภัยชัน้ เยีย่ ม เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่าการออกแบบ ก่อสร้างอาคารเพื่อให้รองรับระบบรักษาความ ปลอดภั ย ตั้ ง แต่ แ รกเริ่ ม ถื อ เป็ น แนวทางที่ ดี ที่สุดในการเข้าถึงระบบรักษาความปลอดภัย ในอาคารที่ มี แ บ่ ง สั ด ส่ ว นการใช้ ป ระโยชน์ ใช้สอยอย่างขัดเจน ซึ่งสวนทางกับหลักความ เป็ น จริ ง ที่ ว ่ า เจ้ า ของอาคารส่ ว นใหญ่ มั ก จะ พิ จ ารณาถึ ง ระบบรั ก ษาความปลอดภั ย เป็ น อัน ดับท้ายๆ แทนที่จะค�ำนึงถึงการออกแบบ ตั้งแต่แรกเริ่ม ทั้งนี้ การบริหารจัดการระบบ รั ก ษาความปลอดภั ย นั บ เป็ น วิ ธี ก ารรั บ มื อ กับข้อผิด พลาดดังกล่าวได้ในระดับ หนึ่ง ส่ว น การประเมินภัยและความเสี่ยงจะช่วยให้ผู้ใช้ อาคารตระหนักถึงความเสี่ยงความเสี่ยงหลักๆ ตลอดจนสามารถประเมินแนวทางการรับมือ เพื่อลดความเสี่ยงเหล่านั้น การประเมินภัยและ ความเสี่ ย งจึ ง กลายเป็ น ประเด็ น ที่ ค วรน� ำ มา
พิจารณาเป็นอันดับต้นๆ ขณะที่วิธีการที่ดีที่สุด ในการลดความเสีย่ งอาจเกิดจากการปรับเปลีย่ น รูปแบบแนวคิดการออกแบบทางสถาปัตยกรรม ดังนั้น จึงมีความจ�ำเป็นที่สถาปนิกควรพิจารณา ถึงการออกแบบอาคาร เพื่อให้การรักษาความ ปลอดภัยมีป ระสิท ธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ จึงมี ความจ�ำเป็นที่เจ้าของโครงการก่อสร้างอาคาร มีสัมพันธภาพในการท�ำงานที่ดีร่วมกับสถาปนิก เนื่องจากเจ้าของโครงการก่อสร้างจ�ำเป็นต้อง ได้รับค�ำแนะน�ำจากสถาปนิก อนึ่ง บ่อยครั้งที่ รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการก่อสร้างยังคงเป็น ปริศนาตั้งแต่แรกเริ่ม ขณะที่อาคารสูงหลายๆ อาคารอยู่ภายใต้การด�ำเนินการก่อสร้างและ ไม่ มี ก ารเผยเผยรายละเอี ย ดจนกว่ า จะมี ก าร ก่อสร้างแล้วเสร็จ ซึ่งนับเป็นอุปสรรคต่อการ ประเมินความเสี่ยง แนวโน้มการติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัย ปั จ จุ บั น นั ก พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ ละ เจ้าของอาคารต่างก�ำลังมองหาแนวทางในการ ติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยแบบครบวงจร แต่การติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยแบบ ดังกล่าวก็ใช่ว่าจะเป็นเรื่องที่ง่ายนัก เนื่องจาก ยังคงต้องพิจารณาในส่วนของต้นทุนค่าใช้จ่าย หากจ�ำเป็นต้องผสานการท�ำงานของระบบรักษา ความปลอดภัยเข้าด้วยกัน ซึ่งมีต้นทุนค่าใช้จ่าย ค่อนข้างสูง ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าหากมีการน�ำระบบ หรือเทคโนโลยีใหม่มาประยุกต์ใช้ เจ้าของอาคาร จะต้องเสียต้นทุนในการดูแล หรือเป็นต้นทุนที่ เรียกว่า ต้นทุนการเป็นเจ้าของ (Total cost of ownership: TCO) ซึ่งแทนที่เจ้าของอาคารจะ กังวลเรื่องต้นทุนค่าใช้จ่าย แต่ควรพิจารณาถึง จุดคุ้มทุนในระยะยาว ทั้งนี้ ความต้องการใน การติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยขึ้นอยู่กับ ความต้องการของเจ้าของอาคาร โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง หลายๆ ประเทศในภูมิภาคเอเชียยังคง ไม่มีความชัดเจนในส่วนของประมวลข้อบังคับ อาคาร (Building code) ท�ำให้อำ� นาจการตัดสินใจ ติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัยขึน้ อยูก่ บั เจ้าของ อาคารหรือนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เป็นหลัก ขณะที่ในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ เมื่อมีการ ก่อสร้างอาคารหลังใหม่ เจ้าของอาคารจะต้อง ระบุเทคโนโลยีทจี่ ะใช้ในการรักษาความปลอดภัย กับอาคาร เนือ่ งจากมีการบังคับใช้ประมวลข้อบังคับ อาคารอย่างเต็มรูปแบบ กระนั้น ปัจจุบันมีการ ติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยแบบครบวงจร กับอาคารประเภทอาคารทีม่ กี ารดัดแปลง(Retrofit building) เนื่องจากตลาดธุรกิจก่อสร้างทั่วโลก ยังคงต้องเผชิญกับผลกระทบในเรื่องของภาวะ เศรษฐกิจถดถอย
Industry News
พานาโซนิคพัฒนาโซลูชนั่ -ลุยตลาดระบบรักษาความปลอดภัยในไทย
เ
มือ่ วันที่ 22 มกราคมทีผ่ า่ นมา บริษทั พานาโซนิค ซิว เซลส์ (ประเทศไทย) ได้จดั งานเปิดบ้าน “Panasonic Pro-Security Asia Pacific Open House 2013” ณ ห้องประชุม ใหญ่ พานาโซนิค ซิว เซลส์ ( ประเทศไทย ) เพือ่ โชว์โซลูชนั่ สุดล�้ำ เผยโฉมหน้าศูนย์บัญชาการระบบรักษา ความปลอดภัยอย่างเต็มรูปแบบ ทัง้ นี้ ลัน่ พร้อม ก้าวขึน้ สูอ่ นั ดับ 1 ของตลาดโทรทัศน์วงจรปิดใน ประเทศไทย นายโทชิฮิโร มาจิมะ กรรมการผู้จัดการ บริษัท พานาโซนิค ซิว เซลส์ (ประเทศไทย) เผยถึงเหตุผลทีเ่ ลือกจัดงานเปิดบ้านในประเทศไทย เนือ่ งจากตลาดโทรทัศน์วงจรปิดของพานาโซนิค ในประเทศไทยมีอัตราการเติบโตสูงที่สุดในกลุ่ม ประเทศเอเชียแปซิฟิก ดังนั้น บริษัทแม่จึงได้ให้ ความส�ำคัญกับตลาดในไทยอย่างมาก จึงได้จดั งาน เปิดบ้านขึน้ เป็นครัง้ แรกเพือ่ จัดโชว์สนิ ค้า นวัตกรรม สุดล�ำ้ สมัย รวมทัง้ เทคโนโลยีชนั้ เลิศในด้านระบบ รั ก ษาความปลอดภั ยแบบครบวงจร โดยการ จัดงานครัง้ นีย้ งั นับเป็นครัง้ แรกในเอเชียแปซิฟกิ ทีม่ กี ารโชว์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (ซีซที วี )ี แบบครบวงจร อนึง่ ไฮไลท์ของงานนอกจากจะมีการเผยโฉม หน้าศูนย์บัญชาการระบบรักษาความปลอดภัย อย่างเต็มรูปแบบแล้ว ยังจัดให้มกี ารแสดงโซลูชนั่ อืน่ ๆ ทีน่ า่ สนใจ อันได้แก่ 1. ระบบตรวจคนเข้าเมือง แบบพิเศษ (Immigration Terrorist Detection) เป็นระบบที่สามารถตรวจสอบบุคคลต้องสงสัย หรือบุคคลที่อยู่บัญชีด�ำของส�ำนักงานต�ำรวจ เมื่อผู้ต้องสงสัยเดินผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง
กล้องจะสามารถตรวจจับและส่งสัญญาณเตือน ให้กบั เจ้าหน้าทีไ่ ด้รบั ทราบ ช่วยให้สามารถจับกุม ผู้ต ้องสงสัยได้อย่างทันทีท ่ว งที 2.ระบบการ รักษาความปลอดภัยบนรถสาธารณะ (Safety Transportation) เป็นระบบรักษาความปลอดภัย ที่ใช้กล้องเพียงตัวเดียวในการจับภาพผู้โดยสาร ตั้งแต่บันไดทางขึ้นรถโดยสารจนถึงผู ้ โ ดยสาร ที่นั่งอยู่ด ้านหลังสุด ซึ่งกล้องทั่ว ไปไม่สามาร ถบัน ทึกภาพได้ อีก ทั้งยังสามารถบันทึก ภาพ ลงใน SD card มีมาตรฐานกันน�้ำ และยังรองรับ สภาวะการท�ำงานที่สั่นสะเทือนอยู่ตลอดเวลา 3. ระบบรักษาความปลอดภัยในร้านสะดวกซื้อ (Store Intelligent and Safety) เป็นระบบรักษา ความปลอดภัยที่มาพร้อมกับฟังก์ชั่นการใช้งาน กล้องวงจรปิดไอพี ซึ่งให้ภาพที่มีความคมชัด
ในระดับ HD มาพร้อมกับฟังก์ชนั่ พิเศษสามารถ ที่ จ ะตรวจจั บ ใบหน้ า ของบุ ค คลต้ อ งสงสั ย ซึง่ หากทางร้านน�ำรูปใบหน้าของคนร้ายทีเ่ คยขโมย ของในร้านในสาขาอืน่ ๆ มาบันทึกไว้ในเครือ่ งรุน่ นี้ กล้องจะสามารถตรวจจับใบหน้าของคนร้าย และตัวเครื่องจะท�ำการส่งสัญญาณเตือนให้กับ เจ้าหน้าที่ เพือ่ จับกุมได้อย่างทันท่วงที นอกจากนี้ ยังมีฟงั ก์ชนั่ ตรวจจับจ�ำนวนคนทีเ่ ข้ามาใช้บริการ ในร้านในแต่ละวัน ซึง่ สามารถระบุเพศรวมไปถึง แบ่งแยกอายุของผูม้ าใช้บริการภายในร้านได้อกี ด้วย 4. ระบบรักษาความปลอดภัยภายในอาคารส�ำนักงาน (Modernized Office) มาพร้อมกับฟังก์ชนั่ รองรับ การเปิด-ปิดประตูอตั โนมัตจิ ากการตรวจจับใบหน้า โดยอาศัยเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการวิเคราะห์ ภาพใบหน้าจากคลังภาพในฐานข้อมูลได้อย่าง
www.secutechthailand.com
5