Secutech Thailand News Express Issue No. 4 May 2013- Preview

Page 1

News Express ISSUE NO

4

May. 2013

โรงงานอุตสาหกรรมมุ่งยกระดับประสิทธิภาพด้านการรักษาความปลอดภัย

าวะเศรษฐกิจขาลงซึ่งเป็นผลมาจากการใช้จ่ายของผู้บริโภคลดลงส่งผล กระทบโดยตรงต่ อ ภาคอุ ต สาหกรรม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ตั ว เลขการผลิ ต ภาคอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมเหล็กที่ลดลงกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ ยิง่ ไปกว่านัน้ ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2554 ได้เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวขึน้ ทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ ส่งผลให้การผลิตชิ้นส่วนส�ำคัญที่ใช้ ในหลายๆ ภาคส่วนเป็นอัมพาต วิกฤติการณ์ ดังกล่าวกระตุ้นให้เจ้าของโรงงานได้ตระหนักถึงแนวทางในการบริหารจัดการ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ซึง่ แนวทางดังกล่าวสามารถท�ำได้ โดยการประยุกต์ ใช้ ระบบอัตโนมัติกับระบบรักษาความปลอดภัย ทั้งนี้ แนวทางดังกล่าวมีส่วนช่วย เสริมสร้างความปลอดภัย พัฒนาสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน อีกทั้งยังช่วยลด ค่าใช้จา่ ยได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย

อ่านต่อหน้า 3

Industry News Secutech Thailand เปิดตัวบูธกิจกรรมในงาน Architect Expo’13

อ่านต่อหน้า 7

www.secutechthailand.com Thailand News Express 4.indd 1

1 28/5/2556 9:49


2

www.secutechthailand.com

Thailand News Express 4.indd 2

28/5/2556 9:49


Cover Story

โรงงานอุตสาหกรรมมุง่ ยกระดับประสิทธิภาพด้านการรักษาความปลอดภัย Source: a&s INTERNATIONAL_NOV 2011

จี น ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น ประเทศที่ มี ก ารพั ฒ นา อุตสาหกรรมสูงสุด เช่นเดียวกับประเทศเพือ่ นบ้าน อย่างอินเดียและเวียดนาม ขณะที่สิงคโปร์และ มาเลเซียนับเป็นประเทศทีเ่ น้นการพัฒนาทางด้าน อุ ต สาหกรรมอย่ า งจริ ง จั ง ทั้ ง นี้ จ ะเห็ น ได้ ว ่ า ภาคอุ ต สาหกรรมใหม่ ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในปั จ จุ บั น เริ่ ม หั น มาพิ จ ารณาถึ ง ปั จ จั ย ด้ า นการรั ก ษา ความปลอดภัย ด้วยการตั้งงบประมาณในการ รักษาความปลอดภัยประมาณ 30 ถึง 40 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งภาคอุตสาหกรรมใหม่ๆ ต่างมุ่งเน้นการสร้าง

คล้ายคลึงกันในส่วนของแนวทางการออกแบบ ที่มุ่งเน้นความปลอดภัยเป็นหลัก ซึ่งแนวทาง การออกแบบมีพื้นฐานจาก 2 สิ่งหลัก อันได้แก่ การอนุญาตให้มีผ่านเข้า-ออกด้วยการเดินเท้า (Pedestrian access) และ การอนุญาตให้มกี ารผ่าน เข้า-ออกด้วยยานพาหนะ (Vehicular access) ซึ่งมีหลักการที่แตกต่างกันออกไป หากพูดถึง การอนุญาตให้มีการผ่านเข้า-ออกด้วยพาหนะ อาจมี ก ารอนุ ญ าตให้ พ นั ก งานประจ� ำ โรงงาน ผูเ้ ข้าเยีย่ มชมโรงงาน ฝ่ายจัดหาวัตถุดบิ ตลอดจน

ให้บุคคลนั้นเข้ามาในอาคารหรือไม่อนุญาตขึ้น อยู่กับหลักฐานที่บุคคลน�ำมาแสดง ทั้งนี้ ระบบ ควบคุมการเข้า-ออกที่เป็นที่ต้องการมากที่สุด ได้แก่ เครือ่ งบันทึกเวลาการท�ำงานเข้า-ออกของ พนักงาน ช่องทางผ่านเข้า-ออก และระบบบริหาร พื้ น ที่ จ อดรถ ประเภทของระบบควบคุ ม การ เข้า-ออกทีน่ ำ� มาติดตัง้ ภายในโรงงานอุตสาหกรรม ขึน้ อยูก่ บั วัตถุประสงค์การใช้งานเป็นหลัก บ้างก็ ใช้ควบคุมการผ่านเข้า-ออกของพนักงาน หรือ ควบคุ ม การผ่ า นเข้ า -ออกของยานพาหนพะ

มูลค่าของธุรกิจให้มีมูลค่าสูงสุดหรือมีผลก�ำไร สูงสุด ดังนั้นอุตสาหกรรมใหม่ๆ เหล่านี้จึงต้อง ค�ำนึงถึงปัจจัยในส่วนของความปลอดภัยตลอด จนเทคโนโลยีที่มีส่วนช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับธุรกิจ

พนักงานกระจายสินค้า ให้มกี ารผ่านเข้า-ออกใน เขตโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งนี้ทางโรงงานอาจ ติดตั้งโปรแกรมอ่านป้ายทะเบียนรถอัตโนมัติ (Automatic license-plate recognition: ALPR) เพือ่ ให้ยานยนต์สามารถผ่านเข้า-ออกได้อตั โนมัติ ซึ่ ง แนวปฏิ บั ติ ดั ง กล่ า วนอกจากจะมี ส ่ ว นช่ ว ย ควบคุมการจราจรและเส้นทางการเดินรถได้แบบ อัตโนมัตแิ ล้ว ยังช่วยลดการพึง่ พาก�ำลังคนอีกด้วย ขณะเดี ย วกั น หากกล่ า วถึ ง การอนุ ญ าตให้ มี การผ่านเข้า-ออกด้วยการเดินเท้า คงปฏิเสธ ไม่ได้ว่ากล้องวงจรปิดมีส่วนส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง ซึ่ ง นอกจากกล้ อ งวงจรปิ ด จะช่ ว ยตรวจสอบ กระบวนการท�ำงานตลอดจนเส้นทางที่พนักงาน ประจ�ำโรงงานเดินไปรอบๆ โรงงานอุตสาหกรรม ซึง่ แนวทางดังกล่าวช่วยลดจ�ำนวนพนักงานรักษา ความปลอดภัยที่ต้องเฝ้าประจ�ำตามจุดต่างๆ

อาจจะเป็นทั้งที่เป็นการเข้ามายังบริเวณโรงงาน หรือออกนอกโรงงานอุตสาหกรรม หรืออาจจะ เป็ น การควบคุ ม บุ ค คลหรื อ กลุ ่ ม บุ ค คลที่ ผ ่ า น เข้า-ออกในแต่ละครัง้ ยกตัวอย่างเช่น การอนุญาต ให้มผี า่ นเข้า-ออกด้วยการเดินเท้าสามารถก�ำหนด ด้วยเครือ่ งกัน้ อัตโนมัติ (Turnstile) ซึง่ จะท�ำการ บันทึกจ�ำนวนการผ่านเข้า-ออกแบบอัตโนมัติ อนึ่ง หากพูดถึงการรักษาความปลอดภัย ในอาคารภายในโรงงานอุตสาหกรรมแล้ว จะพบว่า อาคารส่วนใหญ่จะมีตดิ ตัง้ กลไกในการล็อคประตู อัตโนมัติ ติดตั้งเครื่องกั้นอัตโนมัติ ตลอดจน ติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยในรูปแบบอื่นๆ เพื่ออนุญาตให้มีการผ่านเข้า-ออกของพนักงาน ทั้งนี้ อาจกล่าวได้ว่ารูปแบบในการรักษา ความปลอดภัยอาคารมักขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ ในการใช้งานอาคารนัน้ ๆ เป็นหลัก ขณะเดียวกัน มี ผู ้ ใ ช้ ง านไม่ น ้ อ ยที่ หั น มาพึ่ ง พาเทคโนโลยี ไบโอแมทริกซ์ ซึ่งถือว่าเป็นเทคโนโลยีด้านการ รักษาความปลอดภัยที่สามารถซื้อหาได้ในราคา ที่สัมผัสได้ อีกทั้งยังเป็นเทคโนโลยีที่ถือได้ว่ามี

การควบคุมบุคคลในการผ่านเข้า – ออก ในเขตพื้นที่ควบคุมในของส่วน โรงงานอุตสาหกรรม ปัจจัยที่ใช้ในการควบคุมบุคคลในการผ่าน เข้ า -ออกในพื้ น ที่ ค วบคุ ม ในส่ ว นของโรงงาน อุตสาหกรรมมีความแตกต่างกันออกไป ซึง่ ขึน้ อยู่ กับพืน้ ทีส่ ว่ นดังกล่าวว่าเป็นพืน้ ทีป่ ดิ (Closed site) หรือพื้นที่เปิด (Open site) กล่าวคือ พื้นที่ปิด มักมีรั้วกั้นเพื่อป้องกันการผ่านเข้าไปยังพื้นที่ ทั้งหมด และพื้นที่ในส่วนของนิคมอุตสาหกรรม บางพื้นที่อาจเป็นพื้นที่เปิด ซึ่งในกรณีดังกล่าว พื้นที่ส่วนนั้นมักอนุญาตให้ผ่านเข้า-ออกได้อย่าง สะดวก และโดยมากมักไม่มีการปิดกั้นจนกว่าจะ มีการผ่านเข้า-ออกตัวอาคาร อย่างไรก็ดีไม่ว่า จะเป็ น พื้ น ที่ ป ิ ด หรื อ พื้ น ที่ เ ปิ ด ต่ า งก็ มี ค วาม

การอนุญาตให้บุคคลเข้าในอาคาร หากพูดถึงการอนุญาตให้บคุ คลเข้ามายังตัว อาคารแล้ว ปัจจัยที่น�ำมาพิจารณาเพื่ออนุญาต

www.secutechthailand.com Thailand News Express 4.indd 3

3 28/5/2556 9:49


Cover Story

ความแม่นย�ำสูง เนื่องจากลักษณะเฉพาะทาง ด้านกายภาพ (Physiological biometrics) เป็ น ลั ก ษณะเฉพาะที่ ย ากต่ อ การปลอมแปลง ผู้ใช้งานบางรายพึ่งพาเทคโนโลยีไบโอแมทริกซ์ เพือ่ ช่วยให้การพิสจู น์ตวั บุคคลเป็นไปอย่างแม่นย�ำ ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบระบบตรวจจับจากกล้อง วงจรปิดกับเทคโนโลยีไบโอแมทริกซ์จะพบว่า เทคโนโลยีไบโอแมทริกซ์มตี น้ ทุนต่อหน่วยทีต่ ำ�่ กว่า โดยเทคโนโลยีไบโอแมทริกซ์ทใี่ ช้กนั ส่วนใหญ่ในโรงงาน อุตสาหกรรม ประกอบด้วย เครือ่ งสแกนลายนิว้ มือ และเครื่องสแกนม่านตา (Retinal scan) ขณะที่ ระบบจดจ�ำใบหน้ายังเป็นเทคโนโลยีไบโอแมทริกซ์ ที่ยังไม่ได้รับความนิยมมากนัก เนื่องจากยังคง เป็ น เทคโนโลยี ที่ มี ร าคาแพง ด้ ว ยเทคโนโลยี ดังกล่า วต้อ งอาศัย ข้อมูล และเทคโนโลยีอื่นๆ มาช่วยในการประมวลผลการเปรียบเทียบใบหน้า ทั้ ง นี้ หากมองในมุ ม มองในส่ ว นของราคาที่ สามารถสัมผัสได้แล้ว เครื่องแสกนลายนิ้วมือ จัดเป็นเทคโนโลยีไบโอแมทริกซ์ที่ได้รับความ นิยมมากที่สุด อย่างไรก็ตามเทคโนโลยียังคง ไม่หยุดนิง่ มีการสร้างสรรค์และพัฒนาเทคโนโลยี อย่างต่อเนื่อง จะสังเกตได้ว่ามีการติดตั้งระบบ ควบคุมการเข้า-ออกที่ประกอบไปด้วยข้อมูล และรูปภาพของผูใ้ ช้งานกับระบบบันทึกภาพจาก กล้องวงจรปิด เพื่อประสิทธิภาพในการรักษา ความปลอดภัย ทั้งนี้ หากมองในส่วนของความ ต้องการในตลาดจะพบว่าตลาดมีความต้องการ ในการใช้งานระบบควบคุมการเข้า-ออกที่อาศัย การควบคุมจากส่วนกลาง โดยเฉพาะผู้ใช้งาน ทีต่ อ้ งการควบคุมการผ่านเข้า-ออกอาคารภายใน โรงงานหลายๆ หลัง เพื่อให้สามารถตรวจสอบ และควบคุมการอนุญาตให้มกี ารเข้า-ออกอาคาร ต่างๆ ผู้ใช้งานบางรายมีความต้องการใช้งาน ระบบบริ ห ารจั ด การความปลอดภั ย จากศู น ย์ ควบคุมความปลอดภัย ทั้งนี้ โดยทั่วๆ ไปแล้ว ผู้ใช้งานเหล่านี้ยังคงมีความต้องการระบบรักษา ความปลอดภัยที่สามารถน�ำไปติดตั้งให้สามารถ ใช้งานร่วมกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล เพือ่ เน้นกระบวนการ การบริหารจัดการทางธุรกิจ 4

จับตากระบวนการผลิต ปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ เ ลยว่ า การติ ด ตั้ ง กล้องวงจรปิดในสายงานการผลิตมีส่วน ช่วยให้การตรวจสอบกระบวนการผลิต ทั้งหมดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถตรวจสอบ กระบวนการผลิ ต แบบเรี ย ลไทม์ ทั้ ง นี้ หากพิจารณาแล้วจะพบว่านอกจากกล้อง วงจรปิดมีประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ประสิทธิภาพการท�ำงานของพนักงาน ภายในโรงงานอุตสาหกรรมแล้ว ยังสามารถ ใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ในการตรวจสอบการปฏิ บั ติ ตามกฎ ระเบียบ และนโยบายของทางโรงงาน ได้อีกด้วย ทั้งนี้ หากตรวจพบความผิดปรกติ จากสั ญ ญาณภาพที่ ไ ด้ จ ากกล้ อ งวงจรปิ ด ผูจ้ ดั การโรงงานสามารถแจ้งเตือนหรือออกค�ำสัง่ ไปยั ง พนั ก งานให้ ด� ำ เนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หาที่ เกิ ด ขึ้ น ในกระบวนการผลิ ต ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น กล้องวงจรปิดยังมีส่วนช่วยให้การตรวจสอบ พืน้ ทีภ่ ายในโรงงานอุตสาหกรรมได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ จ� ำ เป็ นต้ อ งอาศั ย การลาดตระเวนไปตาม พื้ น ที่ ต ่ า งๆ อี ก ทั้ ง ยั ง มี ส่ ว นช่ ว ยลดการพึ่ ง พา ก� ำ ลั ง คนอี ก ด้ ว ยขณะที่ กล้องตรวจจับการท�ำงาน ของเครื่ อ งจั ก รมี ส ่ ว น ช่ ว ยในการตรวจสอบ ความผิ ด ปรกติ ที่ อ าจ กระทบต่ อ คุ ณ ภาพของ สิ น ค้ า ในสายงานการผลิ ต กระนั้ น รู ป แบบ การใช้งานกล้องตรวจจับการท�ำงานของเครือ่ งจักร และกล้องวงจรปิดเพื่อการรักษาความปลอดภัย มีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด กล่าวคือ กล้องตรวจจับการท�ำงานของเครือ่ งจักรมักนิยม น� ำ ไปติ ด ตั้ ง ในที่ ที่ มี ก ารควบคุ ม ปริ ม าณแสงที่ สม�ำ่ เสมอและจะท�ำการตรวจจับเฉพาะเครือ่ งจักร ที่ก� ำ หนดค่ า การตรวจจั บ เท่ า นั้ น โดยมุ ม การ จั บ ภาพของกล้ อ งจะไม่ มี ก ารเคลื่ อ นย้ า ย ซึ่ ง ต่างไปจากกล้องวงจรปิดเพื่อการรักษาความ ปลอดภั ย ที่ ต ้ อ งรองรั บ การท� ำ งานในสภาพ แวดล้อมต่างๆ เช่น พื้นที่ที่มีแสงจ้า เงาและ แสงสะท้อนจากดวงอาทิตย์ ฉะนัน้ กล้องวงจรปิด เพื่อการรักษาความปลอดภัยจะต้องปรับโหมด การท�ำงานให้เข้ากับสภาพแวดล้อมนั้นๆ ทั้งนี้ รูปแบบในการจัดการไฟล์ภาพถือเป็นอีกหนึ่งข้อ แตกต่างที่เห็นได้ชัดระหว่างกล้องตรวจจับการ ท�ำงานของเครื่องจักรและกล้องวงจรปิดเพื่อ การรักษาความปลอดภัย ส�ำหรับสัญญาณภาพ

ทีไ่ ด้จากกล้องตรวจจับการท�ำงานของเครือ่ งจักร ส่วนใหญ่จะถูกส่งไปยังระบบ ซึ่งจะต้องอาศัย การเชื่ อ มต่ อ การท� ำ งานของกล้ อ งเข้ า กั บ คอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงมีความจ�ำเป็นต้องมีพื้นที่ รองรับไฟล์ทมี่ ากกว่าสัญญาณภาพทีไ่ ด้จากกล้อง วงจรปิดเพื่อการรักษาความปลอดภัย เนื่องจาก สัญญาณภาพที่ได้จากกล้องตรวจจับการท�ำงาน ของเครื่องจักรไม่ผ่านการบีบอัด เพราะข้อมูล ภาพที่บันทึกได้จากกล้องดังกล่าวจ�ำเป็นต้องได้ รับการตรวจสอบโดยละเอียด ซึ่งต่างไปข้อมูลที่ บันทึกได้จากกล้องวงจรปิดเพื่อการรักษาความ ปลอดภัยที่รายละเอียดที่ได้จากภาพไม่ค่อยมี ความส�ำคัญมากนัก ฉะนั้นคอมพิวเตอร์ที่ใช้กับ กล้องวงจรปิดเพื่อการรักษาความปลอดภัยอาจ ประกอบด้วยหน้าจอที่สามารถแสดงผลแบบ ความละเอียดสูง ที่สามารถแสดงสัญญาณภาพ ที่ผ่านการบีบอัด อีกทั้งยังไม่จ�ำเป็นต้องมีพื้นที่ รองรับการจัดการไฟล์ภาพมากนัก ทั้งนี้ กล้อง ตรวจจั บ การท� ำ งานของเครื่ อ งจั ก รจะไม่ ส ่ ง สัญญาณภาพแบบสดๆ แต่จะใช้วิธีการจับภาพ

และถ่ายโอนภาพที่จับได้ ส่วนใหญ่แล้วกล้อง วงจรปิดเพือ่ การรักษาความปลอดภัยไม่สามารถ น� ำ มาใช้ แ ทนกล้ อ งตรวจจั บ การท� ำ งานของ เครือ่ งจักรได้ ทัง้ นีป้ จั จุบนั ความต้องการทางการ ตลาดส่งผลให้มกี ารการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ โดย สังเกตได้จากการพัฒนาต่อยอดกล้องวงจรปิด แบบเน็ตเวิรค์ ให้มมี ปี ระสิทธิภาพเพียงพอต่อการ ใช้งานภายในโรงงานอุตสาหกรรม กล้องวงจรปิดกับความปลอดภัย ภายในโรงงานอุตสาหกรรม การติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยแบบ ครบวงจร ที่ประกอบด้วยระบบคบคุมการเข้าออก ระบบบริหารจัดการความปลอดภัย และ กล้องวงจรปิด มีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพใน การรักษาความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนกระบวนการผลิต ทัง้ นี้ กล้องวงจรปิดมี ส่วนช่วยให้การรักษาความปลอดภัยโดยรวมเป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยสอดส่องเหตุการณ์

www.secutechthailand.com

Thailand News Express 4.indd 4

28/5/2556 9:49


Cover Story ความผิดปรกติ โดยไม่จำ� เป็นต้องอาศัยการลงพืน้ ที่ตรวจสอบจากสถานที่นั้นๆ ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้งาน สามารถตรวจสอบจากสัญญาณความผิดปรกติ ท�ำให้ผู้ใช้งานมีอ�ำนาจในการประเมินเหตุการณ์ ความผิดปรกติและแจ้งเตือนไปยังฝ่ายต่างๆ ได้ อย่างทันท่วงที ทั้งนี้หากติดตั้งกล้องวงจรปิด ควบคู่ไปกับระบบควบคุมการเข้า-ออก ก็จะช่วย ประหยัดงบประมาณในการจ้างเจ้าหน้าที่รักษา ความปลอดภัยให้มาท�ำหน้าที่ประจ�ำจุดต่างๆ ทั้ ง นี้ ตั ว อย่ า งการผสานการท� ำ งานระหว่ า ง ระบบควบคุมการเข้า-ออกกับกล้องวงจรปิดที่มี ส่วนช่วยเพิ่มผลผลิตให้กับทางโรงงาน คือ การ ที่พนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมใช้เวลาส่วน ใหญ่ไปกับการสูบบุหรี่ในขณะที่พนักงานเหล่า นี้ยังคงอยู่ในช่วงที่ต้องปฏิบัติหน้าที่ ดังนั้นจึงมี ความจ�ำเป็นที่โรงงานอุตสาหกรรมพิจาณาติดตั้ง ระบบรักษาความปลอดภัยให้เ หมาะกับสภาพ การท�ำงาน แม้วา่ เทคโนโลยีไบโอแมทริกซ์จดั เป็น เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการระบุตัวบุคคล แต่เทคโนโลยีดังกล่าวอาจจะไม่เหมาะสมนักที่จะ ใช้งานในสภาพที่ผู้ใช้งานส่วนใหญ่จะต้องปฏิบัติ

ตามกฎระเบียบว่าด้วยความปลอดภัยด้วยการ สวมถุงมือหรือหน้ากากกันสะเก็ดอย่างเคร่งครัด อนึ่ง การติดตั้งกล้องวงจรปิดบริเวณแนวรั้วมี ส่ ว นช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการรั ก ษาความ ปลอดภัยอย่างมาก กล่าวคือ กล้องวงจรปิดมี ส่วนช่วยสร้างความปลอดภัยด้วยการป้องกันการ ลักลอบเข้าไปยังโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจาก ผู้ใช้งานสามารถสังเกตเหตุการณ์ความผิดปรกติ จากสัญญาณกล้องวงจรปิดทีต่ ดิ ตัง้ บริเวณแนวรัว้

ทัง้ นีห้ ากจ�ำเป็นต้องติดตัง้ กล้องวงจรปิดในบริเวณ ที่ มี แ สงน้ อ ย ผู ้ ใ ช้ ง านอาจเลื อ กติ ด ตั้ ง กล้ อ ง ตรวจจับความร้อนแทน การติดตัง้ กล้องวงจรปิด นับเป็นกุญแจส�ำคัญที่ช่วยลดการพึ่งพาก�ำลัง เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ช่วยให้การตรวจ สอบสถานที่ต่างๆ ภายในโรงงานง่ายขึ้น และ การติดตัง้ กล้องวงจรปิดบริเวณแนวรัว้ มีสว่ นช่วย ในการยับยั้งและตรวจจับภัยที่คุกคามด้านความ ปลอดภัยภายในโรงงานอุตสาหกรรม

ประสิทธิภาพที่ได้จากการติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยแบบครบวงจร Source: a&s INTERNATIONAL_NOV 2011

ทัง้ นี้ ระบบวิเคราะห์สญ ั ญาณภาพเป็นระบบ ที่ ส ามารถใช้ ง านได้ ง ่ า ยและสามารถติ ด ตาม สถานการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สามารถประมวลผลสั ญ ญาณภาพจากกล้ อ ง ตรวจจั บ อุ ณ หภู มิ ค วามร้ อ น กล้ อ งตรวจจั บ ความเร็วของสายพานล�ำเลียง และกล้องตรวจสอบ จ�ำนวนสินค้าบนสายพานล�ำเลียง ความอัจฉริยะของ ระบบวิเคราะห์สญ ั ญาณภาพยังสามารถช่วยป้องกัน สินค้าจากการขโมยชิ้นงานที่เดินตามสายพาน

ปัจจุบันมีการใช้ระบบรักษาความปลอดภัย อย่างแพร่หลายเพื่อช่วยป้องกันอาคารสถานที่ สินค้า และอุปกรณ์ตา่ งๆ จากการก่อวินาศกรรม และการลักขโมย อย่างไรก็ดี ยังมีการใช้ระบบ รักษาความปลอดภัยเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการด�ำเนินธุรกิจ ระบบรักษาความปลอดภัย ในปั จ จุ บั น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการเสริ ม สร้ า ง

ความปลอดภัย การเพิม่ ผลผลิต และการควบคุม ต้นทุนการผลิต ปั จ จุ บั น ระบบวิ เ คราะห์ สั ญ ญาณภาพ (Video analytics) สามารถตรวจจับความเสี่ยง ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยและ ความปลอดภัยในการท�ำงาน เช่น การรัว่ ไหลของ สารเคมีในแหล่งน�้ำ และการไม่สวมหมวกนิรภัย

โซลูชั่นเพื่อการรักษาความปลอดภัย การติ ด ตั้ ง ระบบควบคุ ม การเข้ า -ออก ควบคู่ไปกับซอฟต์แวร์อัตโนมัติมีส่วนช่วยเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพตลอดจนผลผลิ ต ให้ กั บ โรงงาน อุ ต สาหกรรม โดยทางโรงงานอุ ต สาหกรรม สามารถเลื อ กใช้ ร ะบบควบคุ ม การเข้ า -ออก เพื่ อ ตรวจสอบจ� ำ นวนพนั ก งานให้ พ ร้ อ มก่ อ น ที่จะเริ่มสายงานประกอบ (Assembly line) หรือก่อนที่จะเริ่มงานสายการผลิต การติดตั้ง ระบบควบคุ ม การเข้ า -ออกก่ อ ให้ เ กิ ด ผลดี หลายประการ ประการแรก คือ การเริม่ การผลิต หรือสายงานประกอบโดยไม่พจิ ารณาถึงพนักงาน ที่ มี ป ระสบการณ์ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ

www.secutechthailand.com Thailand News Express 4.indd 5

5 28/5/2556 9:49


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.