เศรษฐสาร ปีที่ 33 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2562)

Page 1

ปี ที่ 33 ฉบับที่ 03 มีนาคม 2562

33/03

ISSN 0875-5924 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

02

เวทีสัมมนา

ฝุ่น : มิติทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ นักศึกษากลุ่ม RTP คณะเศรษฐศาสตร์

04

เศรษฐจร

ผลกระทบภายนอก (Externalities) ธีรวุฒิ ศรีพินิจ

06

ศัพท์นโยบายเศรษฐกิจไทย

ภาษีความหวาน สิทธิกร นิพภยะ

ที่ปรึกษา

ชยันต์ ตันติวัสดาการ ภราดร ปรีดาศักดิ์ บรรณาธิการ

สิทธิกร นิพภยะ

เดือน มีนาคม พ.ศ. 2562 นับเป็ นเดือนทีเ่ กิดเรื่องราวมากมายในสังคมไทย ตัง้ แตม่ ีการพิพากษาคดี สำ�คัญ ๆ ไมว่ า่ จะเป็ นคดีการเมือง หรือคดีบุกรุกป่าสงวน ฝุ่นพิษในเมืองใหญท่ รี่ ุนแรงจนเป็ นปั ญหารุนแรง ทัง้ ในกรุงเทพมหานครและเชียงใหม่ ทา่ มกลางปั ญหาเหลา่ นีท้ เี่ รามองหาเจ้าภาพ ผูร้ ับผิดชอบ ก็เป็ นช่วง เวลาทีเ่ ราตอ้ งตัดสินใจเลือกตัง้ ผูแ้ ทนราษฎร และผูน้ ำ�รัฐบาลเพื่อจะมาจัดการปั ญหาเหลา่ นี้ หลายทา่ นคงคิดตอ่ ไปวา่ รัฐบาลจะมีบทบาทอยา่ งไรตอ่ เรื่องเหลา่ นี้ ทำ�ไมปั ญหาเหลา่ นีจ้ งึ เกิดขึน้ และ บานปลายเป็ นเรื่องใหญข่ น้ึ พวกเราราษฎรทัว่ ไปจัดการกันเองไดห้ รือไม่ หากจำ�เป็ นตอ้ งใหภ้ าครัฐทำ� เหตุใด ภาครัฐยังปลอ่ ยให้มีปัญหาเหลา่ นี้ เศรษฐสารฉบับนีห้ ยิบเรื่องปั ญหาฝุ่น PM 2.5 และเรื่องภาษีความหวาน มาคุยกันวา่ ทำ�ไมรัฐบาล จำ�เป็ นจะตอ้ งเขา้ มามีบทบาทในเรื่องราวเหลา่ นี้ ในเรื่อง PM 2.5 มีการเสนอมุมมองของนักวิชาการตา่ ง ๆ และจะไดพ้ ูดถึงเหตุผลทางเศรษฐศาสตร์วา่ เพราะเหตุใดรัฐบาลควรมีบทบาทจัดการปั ญหานี้ ในเรื่องภาษี ความหวานเป็ นการเสนอมุมมองการจัดการด้วยวิธีทางเศรษฐศาสตร์โดยการเพิ่มต้นทุนให้กับผูบ้ ริโภคเพื่อ ทำ�ให้ลดพฤติกรรมเชิงเสพติด ทีเ่ ราเองทราบวา่ ไมด่ ี แตไ่ มส่ ามารถหยุดพฤติกรรมนัน้ ได้ อยา่ งเช่นของหวาน เป็ นตน้

กองบรรณาธิการ

หงษฟ์ ้ า ทรัพยบ์ ุญเรือง ธีรวุฒิ ศรีพินิจ นภนต์ ภุมมา พิชญ์ จงวัฒนากุล วีระวัฒน์ ภัทรศักดิก์ ำ�จร ธันยช์ นก นันทกิจ อิสร์กุล อุณหเกตุ ผู้จัดการ

พิชามญชุ์ ดีทน

ธีรวุฒิ ศรีพินิจ บรรณาธิการประจำ�ฉบับ www.setthasarn.econ.tu.ac.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.
เศรษฐสาร ปีที่ 33 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2562) by Setthasarn - Issuu