QUOTE BY -Thomus Edison -
FROM EDITOR # Why Artory? ปณุวัช โรจน์รัตนาดำ�รงค์ บรรณาธิการนิตยสาร Artory Panuwat@gmail.com
"Artory" ถือกำ�เนิดขึ้นจากการที่เรานั้นอยากแบ่งปัน อุปกรณ์ และเทคนิคให้กับคนอื่นๆ ในด้านศิลปะ และการออกแบบ เนื่องจากเราเป็นคนที่ชอบลองงานลักษณะใหม่ๆ ชอบ ค้นคว้าสิ่งต่างๆ ซึ่งบางครั้งพอเราเห็นงานของคนอื่นด้วย เทคนิคที่เราไม่รู้จัก เราก็ว้าว!!ทำ�ได้อย่างไร?บางครั้งก็หาคำ� ตอบได้ แต่บางคราก็ได้แต่เพียงแต่สงสัย เราจึงอยากแบ่ง ปันเทคนิคต่างๆเพื่อคนที่สงสัยแบบเรา เราจะลองผิดลอง ถูกเพื่อสร้างสรรค์เทคนิคใหม่ๆ เพื่อที่คุณจะได้ไม่ต้องลอง ผิดลองถููกเอาเอง ถึงอาจจะไม่ตรงกับที่คุณหาแต่คุณก็จะได้ อะไรใหม่จากเราแน่นอน ที่มาของคำ�ว่า "Artory" นั้นกำ�เนิด จากคำ�ว่า "Art" ที่ แปลว่า "ศิลปะ" กับ "Armory" ที่แปลว่า อาวุธรวมกัน เพื่อที่จะสื่อว่า เราเป็นนิตยสารที่จะติดอาวุธให้ กับเหล่าคนที่ทำ�งานศิลปะ และงานออกแบบนั่นเอง ขอให้ สนุกกับฉบับแรกของ "Artory" นะ
04
TEXTURE TONE
06
EYE CATCHING PROJECT
SET 01
FOR NOISE FESTIVAL
08
ART EQUIPMENT REVIEW
4 BRUSH PEN
14 TYPOGRAPHY from music
FALLING SLOWLY
16 ART EXHIBITIONS
MAY 2016
ISSUE 01 -FEB 2016
TEXTURE TONE : SET 01
TEXTURE TONE
บันทึกการทดลองของผู้ท่ีหลงไหลในสเน่ห์ของ พื้ นผิวรูปแบบต่างๆ เนื่องจากมิติท่ส ี ่อ ื อารมณ์ และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวซึ่งน�ำไปประยุกต์ใช้ใน งานได้หลากหลาย ไม่ว่าจะใช้ในงาน ภาพประกอบ หรืองานออกแบบ คุณสามารถจะลองท�ำตาม บันทึกนี้ หรือจะเข้าไป Download ไฟล์เพื่ อใช้ งานเลยก็ได้ท่:ี www.artory.com/texturetone
04
| A R T O LY M A G A Z I N E
ISSUE 01 -FEB 2016
TEXTURE TONE : SET 01
TEXTURE TONE
TEXTUE TONE
TEXTUE TONE
CRUMPED PAPER
SPONGE
SPONGE
SET001-1
SET001-2
SET001-2
เทคเจอร์ ท่ี เ กิ ด จากการน� ำ กระดาษที่ ป ริ น ท์ หมึ ก ด� ำ ท้้ ง แผ่ น จากปริ น ท์ เ ตอร์ อิ ง ค์ เ จทมา ขย�ำจนเกิดเป็นพื้ นผิวรอยแตกนี้ แล้วถ่าย รู ป เพื่ อ ปรั บ ค่ า ความสว่ า งเข้ ม ในโปรแกรม คอมพิ วเตอร์
เทคเจอร์ท่ีเกิดจากการน�ำฟองน�้ำไประบาย ด้วยหมึก แล้วจึงน�ำไปกดลงกับกระดาษขาว สามารถควบคุมพื้ นที่ และต�ำแหน่งของเทค เจอร์ได้จากรูปทรงฟองน�ำ้ ความแรงการ กด และบริเวณที่จะปาดหมึกลงบนฟองน�ำ้
เทคเจอร์ ท่ี เ กิ ด จากการน� ำ ฟองน�้ ำ ด้ า นที่ ไ ว้ ขัดหม้อสีเขียวไประบายด้วยหมึกแล้วจึงน�ำ ไปกดลงกับกระดาษขาว สามารถควบคุม พื้ นที่ และต�ำแหน่งของเทคเจอร์ได้จากรูป ทรงฟองน�ำ้ ความแรงการกด และบริเวณที่ จะปาดหมึกลงบนฟองน�ำ้
TEXTUE TONE
TEXTUE TONE
TEXTURE TONE
SPRAY MARBLING
SPRAY ON MARBLING(2)
EE+SANDPAPER
เทคเจอร์ ท่ี เ กิ ด จากการฉี ด สี ส เปรย์ ล งบน น�ำ้ ที่อยู่ในถาดรอง สีสเปรย์จะลอยอยู่เหนือ ผิวน�ำ้ และไหลตามแรงการฉีดในระยะใกล้ ก่อนสีจะแห้งน�ำกระดาษไปแปะลงบนสีท่ีลอย อยู่นับ 1 ถึง 5 แล้วน�ำกระดาษขึ้นมา ก็ออก มามีเทคเจอร์ดังรูป
เทคเจอร์ท่ีเกิดจากการน�ำกระดาษทรายมา ถูด้วยดินสอ EE เพื่ อให้ผงติดตรงส่วนที่ ต้ อ งการจากนั้ น คว�่ ำ กระดาษทรายลงบน กระดาษ ตรงส่วนที่มีผง ดินสอ EE อยู่ก็ จะติดลงบนกระดาษดังรูป ซึ่งเราสามารถ ก�ำหนดต�ำแหน่งรูปทรงของผงได้จากการถู ดินสอ EE
SET001-4
เทคเจอร์ ท่ี เ กิ ด จากการฉี ด สี ส เปรย์ ล งบน น�ำ้ ที่อยู่ในถาดรอง โดยพยายามฉีดห่างๆ ให้เป็นละอองกว้าง สีสเปรย์จะลอยอยู่เหนือ ผิวน�ำ้ แล้วรีบน�ำกระดาษไปแปะระนาบกับ ผิวน�ำ้ ก่อนสีแห้ง นับ 1 ถึง 5 แล้วน�ำกระดาษ ขึ้นมา ก็ออกมามีเทคเจอร์ดังรูป
SET001-5
SET001-6
A R T O LY M A G A Z I N E | 0 5
ISSUE 01 -FEB 2016
EYE-CATCHING PROJECT : FOR NOISE FESTIVAL
EYE-CATCHING PROJECT
PROJECT BY
Alexandre Pietra Montreux, Switzerland
06
| A R T O LY M A G A Z I N E
FOR NOISE FESTIVAL เคยเป็นงานเทศกาลดนตรีร็อค ล้วนๆมาก่อน แต่เมื่อผ่านไปไม่กี่ปีมันไดพัฒนาการ เป็นงานดนตรีที่มีความหลากลหายทางแนวเพลงมาก ขึ้น แนวเพลงก่อหน้านี้นั้นได้ฝังรากลึกลงไปในความ เป็นจักรวาลร็อค การ Rebranding จึงเป็นสิ่งที่จำ�เป็น แนวคิดของงานปี 2015 นี้ คือ การให้เพลงพูดได้ด้วย ตัวเอง ดังนั้นจึงทำ�ให้เสียงดนตรีมีภาพของตัวเอง เพื่อ สื่อสารกับผู้คนได้ด้วยรูป 3 ศิลปิน หลักของงาน ถูก ถ่ายทอดผ่านงานศิลปะที่แตกต่างกันด้วยการเล่น
เพลงของพวกเขา ในระหว่างที่เล่นตรงบริเวณลำ�โพง ที่สั่นตามเสียงเพลงได้ถูกใช้เป็นภาชนะ เพื่อใส่สี ด้วย แรงสั่นเฉพาะแต่ละเพลงจึงเกิดเป็นภาพ 3 ภาพที่มี เอกลักษณ์เฉพาะตัวขึ้นมา เมื่อได้รูปเหล่านั้นก็นำ�ไปใช้ ใน Applications ต่างๆของงาน ส่วนตัวโลโก้นั้นมีที่มา จากคลื่นของเสียง และการสั่นสะเทือนจึง ออกมาเป็น ตัวอักษรที่มีลักษณะบิดเป็นคลื่น ซึ่งเกิดจากเทคนิคขยำ� กระดาษที่ปรินต์ตัวอักษรออกมา แล้วถ่ายภาพ
EYE CATCHING PROJECT : FOR NOISE FESTIVAL
ISSUE 01 -FEB 2016
A R T O LY M A G A Z I N E | 0 7
ART EQUIPMENT REVIEW:
พู ่ กันเป็นหนึ่งสิ่งที่คลาสสิคมากส�ำหรับบรรดา อุปกรณ์ศิลปะ เรียกได้ว่าคนที่ท�ำงานศิลปะต้อง เคยใช้กันทุกคน และต้องมีพกไว้คนละด้ามสอง ด้ามเป็นอย่างต�ำ่ วันนี้เราจะมาทท�ำการรีวิว อุปกรณ์ท่พ ี ั ฒนามาจากสิ่งนี้ นั่นก็ คือ ปากกา พู ่ กัน โดยปากกาพู ่ กันที่เรารีวิวนั้นได้ผ่านการ ทดลองใช้มากับมือนับครั้งไม่ถ้วน และรับประกัน ได้ว่าเราได้คัดคุณภาพมาแล้วในระดับนึง แต่ว่า จะเข้ามือของคุณไหมนั้นอาจจะต้องลองใช้ดู ซึ่ง ข้อมูลในคอลัมน์น้เี ป็นที่ปรึกษาของคุณ
ISSUE 01 -FEB 2016
ART EQUIPMENT REVIEW : 4 BRUSH PENS
Pentel Color Brush Price 160~ Bath Size Fine Medium
Large
Extra Large
Fast Stroke
ปากกาพู่กัน Pentel Color Brush ™ (GFL) ท�ำจากขนสังเคราะห์ สามารถเติมหมึกได้ โดยการ หมุนเปลี่ยนแต่ส่วนหลัง ปากกาพู่กันรุ่นนี้เป็นรุ่นที่ถือว่าน่าจะเป็นที่ชื่นชอบของใครหลายๆ คนหาก ได้ลองใช้มัน เนื่องด้วยเอกลักษณ์เฉพาะตัวหลายๆอย่าง ไม่ว่าจะเป็นความคมของเส้นบางสุดที่ สามารถบางได้น้อยกว่าหน่วยมิลลิเมตร และการคุมปริมาณน�้ำหมึกได้ตามต้องการ ท�ำให้ได้เส้นที่ แห้งเห็นพื้นผิว หรือคมกริบชุ่มฉ�่ำตามแต่จะก�ำหนด ราคาก็ไม่ถือว่าแพง สามารถเลือกคุณสมบัติ การกันน�้ำว่าจะใช้แบบกันน�้ำ หรือใช้แบบที่ละลายกับน�้ำได้ขึ้นอยู่กับหมึกที่ใช้ อีกทั้งยังมีให้เลือก หลายสี หลายขนาดหัวพู่กันให้เลือกตามความถนัด
10
| A R T O LY M A G A Z I N E
Good Point
Bad Point
• • • • •
• เวลาบีบให้หมึกออกมาบางครั้งหมึกมัก ออกมาเป็นหยดโดยไม่ได้ตั้งใจ • หมึกแห้งช้านิดนึงถ้าไม่ระวังอาจจะท�ำให้ งานเลอะ
ปรับปริมาณน�้ำหมึกที่ออกมาได้ ปลายพู่กันสปริงตัวดีมาก สามาถขีดเส้นบางที่สุดได้บางมาก มีหลายขนาดหัวพู่กันให้เลือก มีทั้งแบบกันน�้ำ (Waterproof) และ ละลายน�้ำ (Water-Based)
ART EQUIPMENT REVIEW :
ISSUE 01 -FEB 2016
4 BRUSH PENSw
Pentel Pocket BrusH Price 320~ Bath Size
Fast Stroke
ปากกาพู่กันแบบพกพา เพนเทล (Pentel Pocket Brush Pen) ปลายพู่กันท�ำจากขนสังเคราะห์ เป็น หมึกสีด�ำ กันน�้ำ (Waterproof) จุดเด่นของ "Pentel Pocket Brush" ด้ามนี้ คือมีความไหลลื่นในการ ขีดเส้นสูง ใช้แล้วแทบไม่รู้สึกถึงความฝืดเวลาลากเส้นบนกระดาษ มีน�้ำหนักบางสุดแต่ก็ยังบางได้ไม่ เท่า "Pentel Color Brush ™" ตัวน�้ำหมึกออกปริมาณเท่าเดิมอย่างสม�่ำเสมอพอประมาณ Good Point
Bad Point
• • • • •
• มีสีและขนาดให้เลือกแบบเดียว • หมึกแห้งช้านิดนึงถ้าไม่ระวังอาจจะท�ำให้ งานเลอะ
หมึกออกอย่างสม�่ำเสมอ ปลายพู่กันนุ่ม และสปริงตัวดี สามาถขีดเส้นบางที่สุดได้ ขีดเส้นได้ไหลลื่นคล่องมือ หมึกแห้งไว และกันน�้ำ
A R T O LY M A G A Z I N E | 1 1
ISSUE 01 -FEB 2016
ART EQUIPMENT REVIEW : 4 BRUSH PENS
Pentel Sign Pen Price 50~ Bath Size
Fast Stroke
ปากกาพู่กัน Pentel Sign Pen® Brush Tip (SES15C) ปลายพู่กันท�ำจากขนสังเคราะห์ มีหลากหลายสีให้เเลือก กันน�้ำ (Waterproof) จุดเด่นของปากการุ่นนี้ คือ หัวพู่กัน ที่เล็กมาก และการขีดที่ลื่นไหล ซึ่งปลายของเส้นจะคมมากเมื่อขีดเส้นด้วยความไว เหมาะส�ำหรับคนที่ชอบเส้นที่หนาแต่ไม่หนามาก
12
| A R T O LY M A G A Z I N E
Good Point
Bad Point
• • • • •
• ปลายด้านที่เริ่มเขียนไม่ สามารถขีดเส้นบางสุดได้ เหมือนปลายด้านท้ายของ เส้นที่ขีด
หัวพู่กันขนาดเล็กพิเศษ ขีดเส้นได้ไหลลื่นคล่องมือ หมึกแห้งไว หมึกกันน�้ำ (Waterproof) มีหลายสีให้เลือก
ART EQUIPMENT REVIEW :
ISSUE 01 -FEB 2016
4 BRUSH PENS
Platinum Dual Tip Brush Pen Price 49~ Bath Size
Fast Stroke
ปากกาพู่กัน Platinum Dual Tip Brush Pen(CFW-300) มีความพิเศษที่มีหัว 2 ขนาดอยู่ ในด้ามเดียวกัน ในราคาที่ถือว่าถูก ด้านหัวเล็กขีดเส้นได้ลื่นไหลดี ด้านหัวใหญ่ลื่นไหล พอใช้ ตัวหมึกสีด�ำไม่กันน�้ำ เหมาะส�ำหรับคนคนที่ชอบลายเส้นที่ไม่คมมากนัก และ คนที่ไม่ได้ใช้ปากกาพู่กันบ่อยแต่จ�ำเป็นต้องมีไว้ใช้ท�ำงานบ้างเป็นบางครั้งบางคราว Good Point
Bad Point
• • • •
• ด้านหัวใหญ่ยังขีดเส้นไม่ค่อย ลื่นไหลเท่าที่ควร • ไม่สามารถขีดเส้นที่บางมาก ได้แม้แต่ด้านหัวเล็ก
มี 2 ขนาดในด้ามเดียว ราคาถูก ด้านหัวเล็กขีดเส้นได้ลื่นไหลดี หมึกแห้งไวมาก
A R T O LY M A G A Z I N E | 1 3
ISSUE 01 -FEB 2016
TYPOGRAPHY FROM MUSIC : FALLING SLOWLY
TYPOGRAPHY FROM MUSIC
PROJECT BY #
ปณุวัช โรจน์รัตนาดำ�รงค์
Falling slowly เป็นเพลงของ Glen Hansard feat. Marketa Irglova
ซึ่งประกอบ หนังเรื่อง Once เป็นหนังที่ผมชื่นชอบมากเรื่องหนึ่ง เพลงนี้สำ�หรับผมให้ความรู้สึก ถึงการจ่มดิ่งลงในห้วงอารมณ์ของความทุกข์จากอุปสรรคที่ขวางกั้นระหว่างความรัก ผมแสดงออกผ่านตัวอักษรด้วยการ ใช้ปากกาพู่กันเขียนตัวอักษรลงบนแผ่นใส แล้ว ใช้ผ้าปาดตัวอักษรที่ยังไม่แห้งขึ้นไปด้านบน ให้รู้สึกเหมือนตัวอักษรนั้นกำ�ลังจมดิ่งลง ไป โดยไม่เน้นให้อ่านง่ายแต่เน้นให้แสดงอารมณ์ได้ดีมากกกว่า ในเวอร์ชั่นจริงที่ผมทำ� นั้นจะมีการซ้อนแผ่นใสหลายๆชั้นเพื่อให้อักษรทับกันเวลามอง อีกด้วยเพื่อเพิ่มความ รู้สึกอัดอั้นทางอารมณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งสัมผัสได้จากท่วงทำ�นองในบทเพลงอีกด้วย
Lyric I don't know you But I want you All the more for that Words fall through me And always fool me And I can't react And games that never amount To more than they're meant Will play themselves out Take this sinking boat and point it home We've still got time Raise your hopeful voice you have a choice You'll make it now Falling slowly, eyes that know me And I can't go back Moods that take me and erase me And I'm painted black You have suffered enough And warred with yourself It's time that you won Take this sinking boat and point it home We've still got time Raise your hopeful voice you have a choice You'll make it now
Songwriters GLEN HANSARD, MARKETA IRGLOVA
Published by Lyrics © Warner/Chappell Music, Inc.
14
| A R T O LY M A G A Z I N E
ART EQUIPMENT REVIEW : CHARACTOR OF BRUSH PEN
ISSUE 01 -FEB 2016
A R T O LY M A G A Z I N E | 0 4
ISSUE 01 -FEB 2016
ART EXHIBITIONS : MAY 2016
ART EXHIBITIONs:
นิทรรศการ “RE-LOOKS”
ผลงานโดยศิลปินขาวญี่ปุ่น Soichiro Shimizu วันที่: 11 - 24 พฤษภาคม 2559 สถานที่: YenakArt Villa art gallery
ผลงานศิลปะของศิลปินเชื้อสายญี่ปุ่น Soichiro Shimizu ได้พัฒนามาจากยุคสมัยใหม่ ของงานจิตรกรรมและภาพพิมพ์ ร่วมกันกับการศึกษาและประสบการณ์ชีวิตของศิลปิน ในกรุงโตเกียว นิวยอร์ค ลอนดอน และกรุงเทพ การประชันกันระหว่างวัฒนธรรม ที่สุดโต่งเหล่านี้จึงสร้างเสน่ห์เฉพาะตัวให้กับผลงานของศิลปินท่านนี้ ในนิทรรศการ RE-LOOKS คุณ Soichiroได้เริ่มแนวคิดโครงการที่ท้าทาย รวมถึงการใช้วัสดุที่แปลก ใหม่ ศิลปินได้ทำ�การเชิญเพื่อนช่างภาพชาวไทยผู้ซึ่งมีชื่อเสียง 17 ท่านให้มามีส่วนร่วม ในนิทรรศการในครั้งนี้ โดยการขอใช้ไฟล์ภาพถ่ายที่ถูกลบไปแล้ว เพื่อศิลปินจะนำ�ไฟล์ บางส่วนมาใช้ใหม่ ผลงานจิตรกรรมของศิลปินที่ผ่านมาไม่นานนี้ เป็นผลงานนามธรรมที่เน้นกระบวนการ สร้างผิวสีที่ซับซ้อน และนำ�มาขูดออกในภายหลัง ความย้อนแย้งในการสร้างร่องรอย โดยการลบออกนี้ คือเทคนิคสำ�คัญในกระบวนการสร้างความงาม วิธีคิดดังกล่าวนี้จะ เป็นพื้นฐานในการประยุกต์การใช้ภาพถ่ายจากไฟล์ดิจิตอลที่ได้มาจากช่างภาพเหล่านั้น มานำ�เสนอเป็นผลงานใหม่ที่น่าท้าทาย ผลงานศิลปะ 17 ชิ้นที่ได้ถูกผลิตขึ้นมาใหม่นี้ ได้ใส่ชื่อช่างภาพเจ้าของไฟล์ลงในชื่อของ ผลงานแต่ละชิ้นด้วย ผลลัพธ์คือศิลปินได้แปลงภาพที่ถูกทิ้งไปแล้วนี้ให้กลายมาเป็นผล งานศิลปะสื่อภาพพิมพ์ร่วมสมัยโดยการมองในแบบใหม่ จัดวางในแบบใหม่ และให้ชีวิต ใหม่ให้กับต้นฉบับที่ถูกมองข้าม นิทรรศการนี้ได้รับการสนับสนุนจากบริษัท EPSON ผู้ ผลิตเครื่องพิมพ์ชั้นนำ�ของโลก โดยใช้เทคโนโลยีล่าสุดในโลกของการพิมพ์งานศิลปะ ที่ อยู่ในระดับผลงานสะสมของพิพิธภัณฑ์ ภาพพิมพ์เหล่านี้ได้ถูกแขวนบนผนังในรูปแบบ ที่คล้ายคลึงกับภาพม้วนโบราณ ผลงานนิทรรศการนี้เป็นการนำ�เสนอการค้นคว้าความ สัมพันธ์ระหว่าง กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมและภาพพิมพ์ร่วมสมัย”
16
| A R T O LY M A G A Z I N E
นิทรรศการ “REPAPER”
ผลงานสร้างสรรค์จากกระดาษรีไซเคิล โดยนัก สร้างสรรค์หลากสาขา เพื่ อสร้างแรงบันดาลใจในการ ลดปริมาณการใช้ทรัพยากรและส่งเสริมวัสดุรไี ซเคิล วันที่: 3 พฤษภาคม - 12 มิถุนายน 2559 เวลา: 10.30 – 21.00 สถานที่: บริเวณโถงทางเข้า TCDC 15
นิทรรศการแสดง 16 ผลงานสร้างสรรค์จากกระดาษรีไซเคิล โดย นักสร้างสรรค์จากหลากหลายสาขา ตั้งแต่สถาปนิก นักออกแบบ ศิลปิน Visual Art ไปจนถึงคุณครูสอนวิทยาศาสตร์ พวกเขาได้เข้าไปในโรงงานผลิตกระดาษรีไซเคิล เพื่อร่วมสังเกต กระบวนการผลิตตั้งแต่การคัดแยกขยะ การปั่นและต้มใย การ รีดแผ่นกระดาษ จนถึงการบำ�บัดน้ำ�เสีย จากนั้น พวกเขาได้ นำ�วัสดุรูปแบบต่างๆ จากภายในกระบวนการ ทั้งแผ่น ม้วน แกนกระดาษซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ปลายทาง เศษเส้นจากการตัด แบ่งขนาด ฝุ่นผงจากการเจียรขอบกระดาษ กระทั่งกากน้ำ�ทิ้ง มาทำ�การทดลองและสร้างผลงานตามความสนใจและความ เชี่ยวชาญของแต่ละคน REPAPER นำ�เสนอการใช้พลังความคิดสร้างสรรค์อย่างเป็น รูปธรรม จากการเปลี่ยนวัสดุที่ถูกทิ้งและขยะ ให้กลายเป็น ผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ และงานศิลปะ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจใน การลดปริมาณการใช้ทรัพยากร และสนับสนุนการใช้วัสดุรีไซเคิล ทดแทน รวมถึงเผยแพร่เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงานใน นิทรรศการได้จากกิจกรรมเวิร์กช็อปอีกด้วย
ART EXHIBITIONS :
ISSUE 01 -FEB 2016
MAY 2016
นิทรรศการ “สกปรก : Dirty”
ผลงานโดย ฐิตาภา ทินราช (Titapa Thinrach), วัชร ภัทร คงขาว (Watcharapat Kongkhaow), เนติ มา ระโพธิ์ (Natima Rapo), ทิพยาภรณ์ ทองแช่ม (Thippayaporn Thongcham), อาทิตย์ รุง ่ เรืองวานิช (Artit Rungruangvanich), สะรุจ ศุภสุทธิเวช (Saroot Supasuthivech) และ ปัญจพล นาน่วม (Phanjapon Nanuam) พร้อมศิลปินรับเชิญ วันที่: 7 - 21 พฤษภาคม 2559 สถานที่: Yet-Space
“ศิลปะว่าด้วยความสกปรก” สกปรก...คือเครื่องยืนยันว่าโลกนี้ไม่ได้มีแค่ สีขาวความสกปรกที่มากหรือน้อยถูกแบ่งแยกออกเป็นค่าน้ำ�หนักที่แตก ต่างกัน พื้นที่ตรงกลางระหว่างความสกปรกและความไม่สกปรก เมื่อถูก ประเมินค่าด้วย ทัศคติของคนที่แตกต่างกันจะกำ�หนดจุดหมายหาความ สกปรกไม่เท่ากัน ไม่ว่าที่มาของความสกปรกจะแตกต่างกันอย่างไรมีข้อ สังเกตว่าอันที่จริงแล้วเป็นเพราะสังคมได้กำ�หนดบรรทัดฐานของความ สะอาดเอาไว้ต่างหาก ทำ�ให้สิ่งผิดปกติจึงกลายเป็นเรื่องสกปรกเป็นปัญหา และผิดจารีตหรือค่านิยมที่มีมาก่อน อันที่จริงแล้วความสกปรกนี่เองที่ก่อ เกิดสิ่งใหม่ และเราก็วนเวียนอยู่กับความสกปรกหลายสิ่งในแต่ละวันจน ทำ�ให้คิดว่า เป็นไปได้ว่าความสะอาดสิ้นสุดลงตั้งแต่เรายังเป็นเพียง “สัตว์ เซลล์เดียว
นิทรรศการปริญญานิพนธ์ “This is not sa stone”
ผลงานโดยนิสิตชั้นปีท่ี 4 ภาควิชานฤมิตศิลป์ รุ่นที่ 28 คณะศิลปกรรม วันที่: 12 - 14 พฤษภาคม 2559 สถานที่: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิทรรศการแสดงโครงการการศิลปนิพนธ์ ของนิสิตชั้นปีที่ 4 ภาควิชานฤมิตศิลป์ รุ่นที่ 28 “The Will of stone” (Poster design) จากเรื่องราวของหินสู่ทฤษฎีพื้นฐาน การออกแบบ เมื่อมองไปยังหิน หรือธรรมชาติ เราจะพบเจอรูปทรง รูปร่าง พื้นผิว พื้นที่และการจัดวาง ที่แตกต่างกันออกไป โดยที่สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นเรื่อง พื้นฐานของการออกแบบทั้งสิ้น เสมือนว่าก้อนหินได้เป็นผู้นำ�เสนอให้เราเข้าถึง องค์ความรู้เรื่องเหล่านี้ Design principles - Balance, Hierarchy, Scale, Contrast
A R T O LY M A G A Z I N E | 1 7