Ceremie

Page 1

Ceramic art and design

ISSUE NO. 57 MAY 2016

ISSN 2286 - 8127

195.-




บรรณาธิ ก ารบร� ห าร อิ ส ร� ย าภรณ ภั ง คานนท (เม) บรรณาธิ ก ารฝ า ยศิ ล ป อ าวุ โ ส สมศั ก ดิ ์ สิ � น ใจ (ศั ก ดิ ์ )

สำนั ก งาน Ceremie 60/9 ลาดพร า ว 87 เขตวั ง ทองหลาง แขวงคลองเจ า คุ ณ สิ ง ห กทม. 10310 โทร 0-2538-7036

ผลิ ต โดย บร� ษ ั ท โคคู น แอนด โค จำกั ด 32 ซ.โชคชั ย 4 ซ.84 ถ.โชคชั ย 4 แขวงลาดพร า ว เขตลาดพร า ว กทม. 10230 โทร 02 - 116 - 9959 , 087 - 718 - 7324 โทรสาร 02 - 116 - 9958 Email : cocoonjob@gmail.com

ฝ า ยบทความ บรรณาธิ ก ารอำนวยกา กุ ศ ล ภั ง คานนท (ชิ ) รองบรรณาธิ ก าร ชนิ ส รา เกศเกื ้ อ (หว� น ) บรรณาธิ ก ารไลฟ ส ไตล เทย เ ลอร สว� ฟ (เทย เ ท) นั ก เข� ย นอาวุ โ ส ว� ร � น ชุ อ ร พ� ม สาร (ป อ ) นั ก เข� ย น พาชวั ญ พรมศร� (ปราณ) ผู  ช  ว ยบรรณาธิ ก ารบร� ห าร ขวํ ญ ชณา ราชพ� ร มณ (แก ว ) พ� ส ู จ น อ ั ก ารอาวุ โ ส บอา โอโอม (โอม)

ฝ า ยดิ จ ิ ต อล เอ็ ก เซ็ ก คิ ว ที ฟ ดิ จ ิ ต อล เอดิ เ ตอร แบร� ่ อั ล เลน (แฟลช) โซเข� ย ล เอดิ เ ตอร พรปว� ณ  สี โ ห (เนิ ส ) นั ก เข� ย นดิ จ ิ ต อลคอนเทนท เมแกน โจนส (เอ็ ม )


ฝ า ยศิ ล ป คร� เ อที ฟ ไดเร็ ค เตอร รองบรรณาธิ ก ารฝ า ยศิ ล ป กราฟฟ� ก ดี ไ ซเนอร อาวุ โ ส กราฟฟ� ก ดี ไ ซเนอร

ณั ฏ ฐณิ ช า สหเวชชภั ณ ฑ (ลู  ) ษมาพร ณิ ช าภั ณ ฑ (คร� ม ) จิ ร ายุ เวชรวั ช ชา (เจมส ) พ� ม ชรั ช ส ภิ ร � ร มย (พ� ม )

ฝ า ยโฆษณาและการตลาด ผู  อ ำนวยการฝ า ยโฆษณาและการตลาด ธนรั ต น ประดิ ษ ฐ ม นู ญ (ปุ  ม ) ฝ า ยโฆษณา กรกนก สุ ร � น ะ (โดนั ท ) ฝ า ยการตลาดและการขาย อั ช ชญา ว� ร ะสาร (แวว) ฝ า ยผลิ ต ผู  อ ำนวยการฝ า ยผลิ ต สิ ท ธิ เ ดช ราชดำร� ห  (พง) ผู  ช  ว ยฝ า ยสมาชิ ก นั น ทร� ย  เหมเวช (มั ส ) ผู  ช  ว ยฝ า ยการผลิ ต เมร� ก า วั ฒ นหฤทั ย (มิ ว )



CONTENTS Do you know ? เซรามิ ก คื อ อะไร ? -

01

เซรามิ ค แบ ง ออกเป น กี ่ ป ระเภท ? -

02

Yarnnakarn 07

เซรามิ ก “ ภู ม ิ ป  ญ ญาชาวบ า น ” 15 ว� ธ ี ท ำเซรามิ ก การเตร� ย มวั ต ถุ ด ิ บ -

17

การข� ้ น รู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ -

18

การเผาและการเคลื อ บเซรามิ ก -

20


Do you know ? เซรามิก คืออะไร?? เซรามิก ในอดีตคือชิ�นงานที่ทำมาจากดิน หร�อใชดินเปนสวนประกอบ นำมาข�้น รูปเปนผลิตภัณฑตางๆ ขาวของเคร�่องใช ของตกแตงบาน สิ�งของ เคร�่องประดับ จากนั้นทิ�งใหแหงแลวเผาที่อุณหภูมิความรอนสูงพอที่จะไมทำใหผลิตภัณฑชิ�นนั้น ไมแตกหักงาย การทำเซรามิกแบบนี้มีใหเห็นมาตอเนื่องตั้งแตอดีตจนถึงปจจ�บัน เราเร�ยกอีกอยางวา เซรามิกแบบดั้งเดิม (Coventionnal Ceramics) ในปจจ�บันที่เทคโนโลยีเร�่มเขามามีบทบาทในชีว�ตมนุษยเรามากข�้น ทำใหคำจำกัด ความกับคำวาเซรามิกกวางออกไป ไมใชแควัสดุที่เปนดินเทานั้น แตเปนวัสดุอะไร ก็ไดที่ข�้นรูปและนำมาผานความรอน อาจจะเปนซีเมนต อโลหะ แกว หร�อวัตถุดิบ หลายๆอยางรวมกันก็ได เราเร�ยกผลิตภัณฑเซรามิกเหลานี้วา เซรามิกสมัยใหม (New Ceramics)

1


เซรามิก แบงออกเปน กี่ประเภท??

D O

การแบงประเภทของงานเซรามิก สามารถแบงไดหลาย แบบ ไมมีขอกำหนดตายตัว หากแบงตามการใชงานจะ แบงไดดังนี้

Y O

1.) เคร�่องใชบนโตะอาหาร

U

2.) ของประดับ ของตกแตง K 3.) กระเบื้องเคลือบตางๆ และกระเบื้องโมเสค

N O

4.) สุขภัณฑ

W 5.) ลูกถวยไฟฟา และหากแบงตามคุณสมบัติทางกายภาพ ผลิตภัณฑ จะสามารถแบงไดดังนี้

? และเคมีของ

1.) เซรามิกที่มีความพรุนตัวสูง (Earthenware) 2.) เซรามิกที่มีความพรุนตัวต่ำ (Stoneware) 3.) เซรามิกที่ไมมีความพรุนตัว มีความขาวพ�เศษและ โปรงแสง (Porcelain และ Bone China)

2


D O

Y O U

K N O W ?

3


2. เซรามิกที่มีความพรุนตัวต่ำ (Stoneware) เปนเคร�่องปนดินเผาชนิดเนื้อแนน แข็งแกรง เคลือบเปน มันทึบแสง ไดแกผลิตภัณฑประเภท ถวย ชาม โถ เคร�่องสังคโลก เปนตน วัตถุดิบที่ใชในการผลิตคือ ดินในทองถิ�นที่มีความทนไฟสูง หร�อในปจจ�บันนิยมใช หินควอตซผสมดวย อุณหภูมิที่ใชในการเผาเคลือบ ระหวาง 1,200 -1,280 องศาเซลเซียส การเผานิยมเผา แบบครั้งเดียว(One Firing) น้ำเคลือบที่ใช เปนน้ำ เคลือบอุณหภูมิสูง (Hight-Temperature Glaze )

ข อ สั ง เกต : งานประเภทศิลาดล หร�อเซรามิกที่เนน ความแข็งแกรง มากกวาเนนสีสัน มีน้ำหนัก หร�อเปน งานตกแตงสวน แจกัน งานสไตลอารตๆ เนื้อดินสีจะไม สวย ตองใชน้ำเคลือบเพ�่อปดทับสีของเนื้อดิน

เซรามิกที่แบงตามคุณสมบัติ ทางกายภาพ มีรายละเอียดดังนี้ 1. เซรามิกที่มีความพรุนตัวสูง ( Earthenware ) เปนเคร�่องปนดินเผาชนิดเนื้อแนน เคลือบมันวาว ทึบ แสง ไดแก ผลิตภัณฑประเภท จาน ชาม ถวยแบง ถวยน้ำจิ�ม กาน้ำชา ตลอดจนเคร�่องประดับตางๆ นิยมผลิตกันมากในภาคกลาง และภาคเหนือ โดยเฉพาะ ในจังหวัดลำปาง วัตถุดิบที่ใชในการผลิต ไดแก ดินเหนียวขาว (Ball clay) ดินขาว (Kaolin) และหินบด ยอยชนิดตางๆ เชน หินฟ�นมา (Feldspar) หินควอตซ (Quartz) อุณหภูมิที่ใชในการเผาดิบ (Biscuit Firing) ระหวาง 700- 800 องศาเซลเซียส และเผา เคลือบ (Glost Firing)ระหวาง 1,100 -1,250 องศาเซลเซียส น้ ำ เคลื อ บที ่ ใ ช เ ป น น้ ำ เคลื อ บอุ ณ หภู ม ิ ป านกลาง ถึงอุณหภูมิสูง

ข อ สั ง เกต : จะเปนเคร�่องใชบนโตะอาหาร และ เซรามิค ที่มีน้ำหนักเบา มีสีสันสดใส หร�อโชวความขาวของสี เนื้อดิน เพราะ การเผาในอุณหภูมิต่ำ ถึงปานกลาง จะสามารถทำสีสันไดสดใส มากกวางานสโตนแวร 4


3. เซรามิกที่ไมมีความพรุนตัว มีความขาวพ�เศษ และโปรงแสง (Porcelain และ Bone China) เปนเคร�่องปนดินเผาที่มีเนื้อแนน แข็งแกรง เคลือบเปนมัน เนื้อโปรงแสง เนื้อดินสีขาว เคาะแลวเสียงดังกังวาน ซึ่งมี น้ำหนักเบา ผลิตภัณฑพอรซเลน นับเปนผลิตภัณฑ เคร�่องปนดินเผาชนิดที่ดีที่สุด ไมดูดซึมน้ำ ทนตอการ กัดกรอนไดดี อุณหภูมิที่ใชเผาอยู ระหวาง 1,260 – 1,400 องศาเซลเซียส

ขอสังเกต : งานเคร�่องใชบนโตะอาหาร เนนโชวความขาว และโปรงแสงของเนื้อดิน เมื่อนำเซรามิคสองแสงแดด แลวใชนิ�วแตะที่ผลิตภัณฑ จะเห็นแสงเงาของนิ�วมือ อยางชัดเจน เพราะชิ�นงานจะสามารถทำใหบางและโปรง แสงได >>> งานเซรามิกของโรงงานเราสวนใหญจะเปน โบนไชนา (Bone China) ซึ่งเปนเซรามิกที่เนื้อเนียนเร�ยบ สวย แสงทะลุผานได น้ำหนักเบา จำพวกเดียวกับ พอรซเลน (Porcelain)้

5


D O

Y O U

K N O W ?

6


A Y 7

N N R


A N

A K

N R

Yarnnakarn Art & Carft Studio 8


“ มากด ว ยคุ ณ ค า ”

9


YARNNAKARN Art & Carft Studio

ยานณกาลร า นขายเซรามิ ก ชื ่ อ ดั ง แบบ ปากต อ ปากแถวตลาดนั ด จตุ จ ั ก ร ที ่ ใ คร ผ า นไปผ า นมาคงเคยเห็ น กั น ดี เพราะชิ � น งานแต ล ะชิ � น ของพวกเขามี เ อกลั ก ษณ ท ี ่ จดจำได ไ ม ย ากอย ู พ อสมควร เป น ที ่ ช ื ่ น ชอบของทั ้ ง ลู ก ค า ชาวไทยและนั ก ท อ ง เที ่ ย วจากทุ ก มุ ม โลก

กร� น ทร พ� ศ ลยบุ ต ร นั ก ออกแบบเซรามิ ก เจ า ของร า นยานณกาล

10


Y A R N N A K A R N

ยาณกาลเกิ ด ข� ้ น ได อ ย า งไร? ก็เร�่มตนจาก เลายอนไปกอนเลย ตอนแรกผมก็มี ความสนใจทำเซรามิกมาตั้งแตแรกอยูแลว ก็เร�ยนปร�ญ ญาตร�ดานนี้มาเลย ตอนนั้นเรามีความคิดแบบเด็กๆละ วาทำอะไรมันก็ดูงายและคงมีชองใหประสบความสำเร็จไ ดแนนอน มันดีนะที่คิดกับตัวเองวา “เราทำได เราทำได” เปนพลังที่ดี แตมันก็มีขอเสียคือ เราตองรอบคอบและ เผื่อชองทางที่จะผิดไวบาง ก็จบออกมาตอนนั้นทำงาน ปเดียว เปลี่ยนที่ทำงาน 4 ครั้ง (หัวเราะ) ซึ่งนั่นมันเปนนิ สัยที่ไมดีมากๆ มองยอนไปเขาใจเลยวาตอนนั้นเราเด็ก เสร็จแลวผมก็เลยไปเร�ยนตอที่อังกฤษ คราวนี้เปน Fine Art โดยตรงเลย กลับมาก็ตองมาหางานทำอีกเหมือน เดิม แตคราวนี้เราชัดแลววาเราจะทำอะไร ก็เลยไดเขาไป ทำในบร�ษัทเซรามิกอยูพักนึง ไดเร�ยนรูระบบรวมถึงขั้น ตอนตางๆตั้งแตเร�่มไปจนถึงสงขาย ก็มีความคิดวา “เราก็นาจะทำไดนะ” พอมีการจัดการที่เปนชิ�นเปนอัน บวกกับภาพในหัวที่ผมคิดมาตลอดอยูแลว ก็เลย เปดเปนราน ยานณกาล ครับ 11


เอกลั ก ษณ ข องงานเซรามิ ก ที ่ ท ำจากยาณกาล? จะพ�ดวายังไงดี ถาเปนสมัยที่ผมทำงานในโรงงาน ของ ในรานของผมมันอาจจะถูกจัดวาเปน Defect คือไม ผานเกณฑ อาจจะมีข�ดตรงนี้ มีรอยเผาตรงนี้มากกวา ปกติหนอยนึง หร�ออาจจะมีสีดาง หลายครั้งที่ผมเคยไป ลองนั่งเลือกดูของพวกนี้เวลาที่โรงงานทิ�งแลว ผมมอง วามันก็สวยในแบบของมัน ผมชอบที่งานแตละชิ�นมันมี เอกลักษณของมันแบบนี้ แตไมใชแปลวาเราจะไมพ�ถีพ�ถัน กับมันนะครับ ยังไงก็ตามก็ตองทำให ไดมาตรฐานที่วาง ไวดวยเหมือนกัน สวนถาในเร�่องงานออกแบบคงเปนใน มุมที่ผมเนนความสวยงามที่มันเกิดข�้นเปน Emotion เวลามองเห็น คงเปนเพราะผมไดการตัดสินใจจากตอน เร�ยน Fine Art มา ถาเปนเซรามิกปกติเขาจะมองวาตอง เนนเร�่องฟ�งกชั่น การใชงานตางๆประกอบจนเปนงาน คือฟ�งกชั่นมันตองมีอยูแลวละครับ แตความสวยและใช งานไดดวยนั่นคือดีที่สุด

Y A R N N A K A R N

แรงบั น ดาลใจหลั ก ใน ผลงานของยาณกาลคื อ ? มาจากเร�่องราว และสิ�งของรอบตัวนี่ละครับ ถาลอง สังเกตดูงานของผมจะมีสัตว พวกเห็ด พ�ชพรรณธรรม ชาติเปนสวนใหญ ผมมองวาของเหลานี้มันสามารถนำ มารวมไวอยูในบานได แลวก็รูสึกดีดวย พอหยิบมาลอง ทำผสมกับจินตนาการตัวเองดู ก็ทำออกมาแลวสวย ดีครับ บางครั้งก็มีจับเอาของไมเกี่ยวกันเลย อยาง หัวกะโหลกมาใสไวดวย ไมนาเชื่อวามีแมบานคนนึงมา กับลูก เขาเดินเลือกของ ทั้งรานผมเดาไมถูกเลย เพราะ สุดทายเขาซื้อกะโหลกที่มันดูดารคมาก ก็มีหลากหลาย เลยครับ

12


Y A R N N A K A R N

“ ความรู  ส ึ ก ที ่ ม องเห็ น ”

ถ า อย า งงั ้ น งานเซรามิ ก ที ่ ด ี ในความหมายของยาณกาล? ผมมองวามันคือความไมสมบูรณซะทีเดียว ผมคิดเสมอ วาเซรามิก มันคืองานคราฟทงานฝมือที่ตองใชเวลาใน การทำ เพราะฉะนั้นมันจำเปนตองมีรองรอย ใหเห็นที่มา (เดินไปหยิบถวยเซรามิกชิ�นหนึ่ง) นี่ครับ ผมชอบตรงกน มันมีรอยที่โดนความรอนมากกวาสวนอื่น มันคือเร�่อง ราวแสดงถึงกรรมว�ธี รายละเอียด เหลานี้มันคือความ สวยงามของงานคราฟต

เสน ห  ข องงานศิ ล ปะ Medium นี ้ (งานป  น เซรามิ ก ) คื อ อะไร? เสนหของ Medium นี้… คือวัตถุดิบครับ มันคือดิน ดินที่ปกติใครๆมองวาไรคา ข�้นอยูกับวามันอยูในมือชาง คนนั้น และถูกนำไปรังสรรคออกมาอยางไร บางคนอาจ จะเปลี่ยนใหมันเปนของล้ำคาราคาหลายๆบาทเลย แต ทุกอยางเร�่มตนจากดิน เร�่มจากธรรมชาติ จนเกิดมา เปนผลงาน ตองผานไฟ มันเปนธรรมชาติทั้งหมดเลย 13


สิ � ง ที ่ ว งการเซรามิ ก บ า นเรายั ง ขาดไป? โอ… คำถามนี้ผมไมรูจะตอบยังไงเหมือนกันนะครับ วา บานเรายังขาดอะไรไป ผมคงไมสามารถพ�ดหร�อไปตัดสิน คนอื่นได เพราะคนทำเซรามิกทุกคนตางก็มีมมุมมองและ ก็มีสิ�งที่เคาชอบ เพราะฉะนั้นเราไปตัดสินเขาไมไดเลย แตมีอยางนึงผมนึกข�้นได ผมเคยทะเลาะกับชางทำเซรา มิกครั้งนึง เขาบอกวาผมไมเขาใจเซรามิกเลย ไอสิ�งที่ผม ตองการอยากให ไดนะ ในทางปฏิบัติแลวมันทำไมได มัน จะไมออกมาเปนรูป แตในใจผมตอนนั้นคิดกลับกัน ผม คิดวายังไงก็ตามอยางนอยเราลองทำ แลวทำไมได มันก็ ยังไดรู Know How เปนประสบการณ แตถาเกิดทำไดข�้น มา ไมดีเหรอที่งานเราจะไมเหมือนใคร เพราะอะไรก็ตามที่ ทำไดและเคยทำมาแลว ใครๆก็ทำไดละครับ

แนวโน ม วงการเซรามิ ก เมื อ งไทย รวมถึ ง การเคลื ่ อ นไหวของยาณกาลในอนาคต? ผมวามันกำลังจะกลับมานะ แตอาจจะไมใชในแบบที่เคยเปน งานเซรามิกตอจากนี้ไปจะมีการผสมผสานและแปลกออก นอกกรอบมากข�้น ผมเห็นงานนักศึกษาสมัยนี้ หลายคน งานสวยมาก มีฝมือมากจร�งๆ ผมเชื่อวาในอนาคตคน เหลานี้เขาตองสรางผลงานออกมามากมายแนๆ สำหรับ ยานณกาล นอกจากสตูดิโอนี้ ก็กำลังจะวางแผนขยาย เพ�่มตรงยานสุทธิสารครับ ตรงนั้นนาจะมีพ�้นที่มากกวานี้ ก็กะจะทำเปดใหคนเขามา Workshop ไดดวย …คือจร�งๆแผนแรกที่ Yarnnakarn Art&Craft Studio นี่ก็คิดจะทำแบบนั้นละครับ แตไปๆมาๆพ�้นที่ไมพอ ก็ของ เยอะรกมากเลยอยางที่เห็น (หัวเราะ) ตรงนั้นจะมีทำเปน สวน เปนคาเฟรานกาแฟดวยครับ และก็มีโซนโรงงานเซรา มิกเปดใหคนเขาไปไดนั่นละครับ


15


เซรามิ ก

“ ภู ม ิ ป  ญ ญาชาวบ า น ”


ว� ธ ี ท ำเซรามิ ก “กระบวนการผลิ ต เซรามิ ก ”

1.การเตร�ยมวัตถุดิบ วัตถุดิบในการทำผลิตภัณฑเซรามิกไดแก แรดินชนิดตางๆ เชนดินเหนียว ดินขาว ดินสโตนแวร และสวนผสมตาง ๆ นำมาเขาสูระบบการบดและขนาดของอนุภาค ตอจากนั้น จึงนำน้ำดินไปร�ดน้ำ ออก หร�อกรองอัดน้ำดิน เพ�่อให ได ดินนำไปข�้นรูปตอไปตัวอยางวัตถุดิบในการผลิตเซรามิกส

17


1.ดินขาวและดินเหนียว ดินขาว คือ ดินเกาลิน (Kaolin) เชน ดินขาวระนอง ดินขาว ดินขาวลำปาง เปนตน ดินชนิดนี้เมื่อเผาที่อุณหภูมิ ประมาณ 1,200 องศาเซลเซียส จะมีสีขาว แตไมคอยเหนียว ดังนั้นจึงตองมีการผสมดินเหนียวลงไป เพ�่อชวยในการ ข�้นรูป ดินเหนียว หร�อ ดินบอลเคลย (Ball Clay) มีสีดำ มีความละเอียดและมีความเหนียวสูง ใชผสมกับดินขาว ชวยใหการข�้นรูปงายข�้น แหลงดินเหนียวในประเทศไทย ที่นิยมนำมาผลิต ในอุตสาหกรรม อยูที่จังหวัดสุราษฎรธานี

2. แรควอรตซ เปนสารชิลิกา (SiO 2 ) นำมาใชผสมทำเซารามิก เพ�่อใหเนื้อผลิตภัณฑ มีความแข็งแรง และคงทนข�้น และชวยในการหดตัวของดิน แหลงแรควอรตซ ในประเทศไทย พบที่จ. ราชบุร�

เ ซ ร า มิ ค “ ภู มิ ป ญ ญ า ช า ว บ า น ”

2.การข�้นรูปผลิตภัณฑ การเทแบบมี 2 ลักษณะคือ 1.การเทแบบโดยใหน้ำดินแข็งตัวอยูในแบบ เร�ยก Solid Casting ซึ่งเหมาะกับการเทแบบผลิตภัณฑที่มีความหนา และรูปรางแปลกๆ 2.การเทแบบโดยมีการเทน้ำดินที่เหลือทิ�ง เร�ยก Drain Casting ซึ่งเหมาะกับผลิตภัณฑที่ตองการผนังบางและ ตองการความหนาสม่ำเสมอ

18


การข�้นรูปโดยใชแรงอัด การข�้นรูปโดยว�ธีการนี้ใชแพรหลายในการผลิตผลิตภัณฑเ ซรามิกสชนิดพ�เศษ แรงอัดจะอัดลงบนแบบ ซึ่งมีผงเนื้อดิน ปนแหงๆ หร�อความชื้นเล็กนอยอยูภายในแบบ แบบที่ใชเปน โลหะแข็ง การข�้นรูปโดย ว�ธีนี้มีหลายสิ�งหลายอยางที่จะตอง คำนึงถึง ขนาดและรูปรางและการกระจายตัวของอนุภาค ของเนื้อดินปน

เ ซ ร า มิ ค “ ภู มิ ป ญ ญ า ช า ว บ า น ”

การข�้นรูปโดยว�ธีการอัดเนื้อดินปนแหงๆ ( Dry and Dust Pressing ) ใชกับการข�้นรูปผลิตภัณฑเซรามิกสที่ใชในงานประยุกตทั้ง ทางดานอิเล็กทรอนิกสและไฟฟา เปนว�ธีการอัด ผงกลมๆ ของเนื ้ อ ดิ น ป  น แห ง ภานในแบบโลหะด ว ยแรงอั ด ที ่ ส ู ง ความชื้นภายในผงเนื้อดินปนไมเกิน 4 % ผงเนื้อดิน ปนกลมๆเคลื่อนที่ไดอิสระแตมีความเหนียวไมดีเทาที่ควรแ ตเมื่อถูกแรงอัดจะอัดตัวกันไดหนาแนนดี

การข�้นรูปผลิตภัณฑโดยการ หลอมเหลวแลวเทลงแบบ การข�้นรูปว�ธีนี้จะใชในการทำใหผลิตภัณฑวัสดุทนไฟมีความหนาแนนสูงและทนทานตอการกัด กรอนของข�้ถลุง โดยหลอมเนื้อผลิตภัณฑดวยเตาไฟฟา แลวเทลงในแบบโลหะหร�อ แบบทราย แตจะเกิดชองวาง ข�้นในระหวาง ปลอย ใหผลิตภัณฑเย็นตัวลง 19


3.การเผาและการเคลือบเซรามิก การเผา การเผาผลิตภัณฑเซรามิกสครั้งแรกเร�ยกวาเผาดิบ โดย เพ�่มอุณหภูมิของเตาเผาใหสูงข�้นอยางชา ๆ เพ�่อใหผลิตภัณฑ คงรูปไมแตกชำรุดผลิตภัณฑเซรามิกสที่ผานการเผาดิบแลว บางชนิดนำไปใช ไดโดยไมตอง เคลือบ เชน กระถางตนไม อิฐ ไสเคร�่องกรองน้ำแตผลิตภัณฑสวนใหญจะตองเคลือบผิวเพ�่อ ใหเกิดความ สวยงาม มีความคงทนและปองกันการเกิดรอย ข�ดขวนบนผิว

การเคลือบ เคลือบ คือชั้นของแกวบางๆ ที่หลอมละลายติดอยูกับผิวดิน ซึ่งข�้นรูปเปนภาชนะทรงตางๆ สารที่ใช เคลือบ ผลิตภัณฑ เซรามิกสเร�ยกวา น้ำเคลือบ ซึ่งเปนสารผสมระหวางซิลิเกต กับสารชวยหลอมละลาย วัตถุดิบที่เปนน้ำยาเคลือบถูกบด จนละเอียดมากกวาดินหลายเทา กอนนำมาเคลือบบนดินเผา เปนชั้น หนา 1-1.5 มม. เมื่อเคลือบแลวตองทิ�งใหผลิตภัณฑ แหง เช็ดกนผลิตภัณฑใหสะอาดกอนเขาเตาเผา ผลิตภัณฑที่ เคลือบแลว โดนเผาผานความรอนอุณภูมิสูง วัตถุดิบที่ เปนแกวในเคลือบเมื่อถึงจ�ดหลอม ละลาย ชั้นของเคลือบจะ กลายเป น แก ว มั น วาวติ ด อยู  ก ั บ ผิ ว ดิ น เคลื อ บช ว ยให ก าร ลางภาชนะสะดวก เนื่องจากเคลือบมีสมบัติลื่นมือ สามารถทำความสะอาดงาย กวาผิวดินที่มีลักษณะ คอนขางหยาบ เคลือบมีคุณสมบัติเปนแกวไมดูดซึมน้ำ และยังเพ�่มความแข็งแรงทนทาน ทำใหภาชนะดินเผา ไมบิ�นงาย เมื่อกระทบกันบอยๆขณะลางทำความสะอาด และสามารถใสของเหลวไดโดยไมรั่วซึม


CERAMIC




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.