infomographic

Page 1

Imagination and knowledge The world of design

Infographics And Motion Graphic

What’s Infographics Designing An Amazing Infographics Designing Effective Infographics

10 Rules That Make An Infographic Cool

What’s Motion Graphic Behind the motion graphic



Hi New File

เราหลายคนก็คงชอบในงานกราฟฟก Infographics และ Motiongraphic ก็เปนอีกแนวงานกราฟฟกที่มีความหนาสนใจเปน อยางมากทั้งสองอยางนี้ เปนเรื่องราวของการนำเสนอขอมูลในรูปแบบที่แตกตางกันออกไป แบบแลกคือการนำเสนอในรูปแบบ Infographics คือนำเสนอแบบแนวรูปภาพที่มีขอมูล มี การเรียงลำดับเรื่องราวใหกับผูที่สนใจ ใหไดเขาใจในเรื่องๆนั้นความสนุกของงาน Infographics คือการไดจมไปกับเรื่องราว ที่เราพยายามจะหาขอมูลทั้งหมดที่มีมาเรียงลำดับใหผูรับสารได เขาใจในเรื่องเรื่องนั้น ไมเพียงแตเรียบเรียง ตัวกราฟฟกก็เปนสวนสำคัญที่จะทำใหผูคนเขาใจ และยังเปนสวนสำคัญที่จะทำใหคนสนใจในเรื่องๆนั้นดวย ในอีกรูปแบบของการน้ำเสนอคือ Motiongraphic คือการทำภาพกราฟฟกใหเคลื่อนไหว ออกมาเปนในรูปแบบของ vdo ตอง ยอมรับเลยวาในปจจุบันผูคนใหความสนใจกับสื่อในรูปแบบของ vdo มาก ชเพราะมันสามารถ ใหความสนุกและไดเรียนรูไปพรอมๆกันตัวผมเองนั้นเชื่อวาทั้งสองอยางมีความตาง มีหนาที่ ของตัวมันเอง หนาที่นั้นจะแสดงออกมาไดดีหรือไม ไมไดอยูที่ผูรับสาร แตอยูที่ตัวเรา พรอมจะไปทำหนาที่ของนักออกแบบหรือยัง ถาพรอมก็จงเดินทางไปพรอมๆกับหนังสือของผม

ปวิตร กันพงษ บรรณาธิการ


Content Infographics

And

Motion Graphic What’s Infographics

เราเขาใจกันหรือไมวาอินโฟกราฟฟกคืออะไร และเอาไปใชทำอะไร Designing An Amazing Infographics

การสรางอินโฟกราฟกสใหดูดึงดูดความสนใจผูรับสาร Designing Effective Infographics

การสรางอินโฟกราฟกสใหมีประสิทธิภาพ 10 Rules That Make An Infographic Cool

10 เคล็ดเพื่อการสราง Infographic สุดแจม What’s Motion Graphic

อะไรคือโมชั่นกราฟฟกและหนาที่ของมันคืออไร Behind the motion graphic

ขั้นตอนและเบื้องหลังของการทำโมชั่นกราฟฟก


?

?

?

?

?

?

?

? ?

?

?

?

?

What’s

Infographics ???...

Infographic ย่อมาจาก Information Graphic คือ ภาพหรือกราฟิก ซึ่งบ่งชี้ถึงข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นสถิติ ความรู้ ตัวเลข ฯลฯ เรียกว่าเป็นการ ย่นย่อข้อมูลเพื่อให้ประมวลผลได้งา่ ยเพียงแค่กวาดตามอง ซึง่ เหมาะสำ�หรับ ผู้คนในยุคไอทีที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลซับซ้อนมหาศาลในเวลาอันจำ�กัด ( เหตุผลเพราะมนุษย์ชอบและจดจำ�ภาพสวยๆ ได้มากกว่าการอ่าน ) และในปัจุบันกำ�ลังเป็นที่นิยมในโลกของ Social Netword


What’s Infographics ประโยชน์และพลังของ Infographic นั้นมีอยู่มากมาย เพราะด้วยแผน ภาพสวยๆนี้ สามารถทำ�ให้คนทั่วๆไปสามารถเข้าถึง เข้าใจ ข้อมูลปริ มาณมากๆ ด้วยแผนภาพภาพเดียวเท่านั้น ด้วยข้อมูลที่ถูกคัดกรอง มาเป็นอย่างดี ทำ�ให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่าย เป็นวิธีการนำ�เสนอข้อมูลเชิง สร้างสรรค์ ซึ่งเราสามารถหยิบยกเรื่องราวเล็กๆ ไปจนถึงเรื่องราวใหญ่ โตมานำ�เสนอ ในมุมมองที่แปลกตา ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ในโลก ปัจจุบัน โดยรูปแบบหรือประเภทของ Infographic ตามวัตถุประสงค์ใน การใช้งาน สามารถจัดหมวดหมู่ใหญ่ๆได้ดังนี้

1.ข่าวเด่น ประเด่นร้อน และสถานการณ์วิกฤต เป็น Infographics ที่ได้รับการแชร์มากๆ มักจะเป็นประเด็น ใหญ่ระดับประเทศ เช่น ประเด็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญ

2.สอน ฮาวทู บอกเล่ากลยุทธ์ต่างๆอย่างเป็นขั้นเป็นตอน เช่น เล่าถึงกลยุทธ์การ ออมเงิน ที่ใครๆก็มักมองข้าม

3.ให้ความรู้ ในรูปแบบของ Did You Know หรือ สถิติสำ�คัญทาง ประชากรต่างๆตลอดจนการถ่ายทอดความรู้ทาง วิชาการที่น่าเบื่อ ให้มีสีสัน สนุก และ น่าติดตาม


4.บอกเล่าตำ�นานหรือวิวัฒนาการ เรื่องราวบางอย่างอาจต้องถ่ายทอดผ่านตำ�ราหนาๆ แต่ด้วย Infographics จะช่วยทำ�ให้ตำ�นานเหล่านั้นบรรจุอยู่ในพื้นที่ๆ จำ�กัดได้อย่างน่าทึ่ง

5.อธิบายผลสำ�รวจ และ งานวิจัย Infographics เหมาะที่สุดที่จะถ่ายทอดงานวิจัยที่ดูยุ่งเหยิงไปด้วยตัวเลขและ ข้อมูลมหาศาลออกมาเป็นแผนภาพสวยๆและทรงพลัง มีหลายบริษัทเริ่มใช้ เครื่องมือนี้ เพื่อทำ�ให้งานวิจัยของตัวเองเข้าถึงคนหมู่มาก

6.กระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เช่น ภัยของการสูบบุรี่ที่มีต่อคนสูบและคนที่ไม่ได้สูบแต่ต้องได้รับผลก ระสูบจากการสูบบุรี่ด้วย ขอเท็จจริงเหล่านี้ล้วนมุ่งหวังให้คนอ่านเกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนในสังคมให้ดีขึ้น หากได้รับการแชร์มากๆ ในโลกออนไลน์ ก็อาจสร้างกระแส จนถึงขั้นนำ�พาไปสู่การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมในโลกออนไลน์ในที่สุด

7.โปรโมทสินค้าและบริการ ตัวอย่างการใช้ Infographic ในการ โปรโมทสินค้า


Designing An Amazing Infographics 1. การรวบรวมข้อมูล คัด เลือกข้อมูลดิบที่รวบรวมมา แต่ที่ยังไม่เป็นระเบียบ บันทึก ภาพต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจาก แหล่งข้อมูลที่หลากหลาย

2. การอ่านข้อมูลทั้งหมด ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจะ ช่วยให้เรามองเห็นภาพรวม ของประเด็นสําาคัญ

3. การค้นหาวิธีการเล่าเรื่อง การนําาเสนอข้อมูลท่ีน่าเบ่ือ จะทําาให้อินโฟกราฟิกส์น่า เบื่อ การใส่ใจกับเนื้อหาที่ สําาคัญที่จะช่วยให้การนําา เสนอ ข้อมูลมีคุณค่า

4. การระบุปัญหาและความ ต้องการ เม่ือได้ข้อมูลมาแล้ วนําามาตรวจสอบความถูก ต้อง การนําาเสนอข้อมูลอย่าง ถูกต้องและมีคุณค่า ซึ่งไม่ใช่ เร่ืองง่ายในการออกแบบให้ ชนะใจผู้ชม นักออกแบบท่ี ดี ต้องมีมุมมองและเห็นคุณค่า ในรายละเอียดของข้อมูลท่ี ชัดเจน

5. การจัดลําาดับโครงสร้าง ข้อมูล การจัดรูปแบบข้อมูล ตามลําาดับจะส่งเสริมให้ผู้ชม เข้าถึงข้อมูลเป็นช่วงระยะของ การเล่าเรื่อง ซ่ึง กลายเป็นวิธี การที่แพร่หลายในการออกแบ บอินโฟกราฟิกส์


6. การออกแบบโครงสร้าง ข้อมูล การออกแบบท่ีผ่านการ โต้เถียงจากบุคคลในหลาย มุมมองท่ีให้ข้อเสนอแนะแตก ต่างกันออกไป จะเป็นข้อสรุป ของการจัดทําาโครงสร้างอิน โฟกราฟิกส์

7. การเลือกรูปแบบอินโฟ กราฟิกส์ เม่ือสิน้ สุดการกําา หนดภาพหรือกราฟิกท่ีเป็น ตัวแทนของข้อมูลแล้ว วิธีจัด กระทําาข้อมูลท่ีดีท่ีสุด คือ กา รนําาเสนอข้อมูลด้วยแผนผัง กราฟต่างๆ

8. การกําาหนดภาพให้ตรง กับหัวข้อ การเลือกใช้ภาพใน การทําาให้อินโฟกราฟิกส์ให้ดู ดีมีสองแนวคิด คือ ใช้ข้อมูล ดิบมาจัดทําาเป็นกราฟ หรือ แผนผังให้น่าสนใจ ใช้สี การ พิมพ์ และการจัดโครงสร้างใน การออกแบบงานให้มีศิลปะ

9. การตรวจสอบข้อมูลและ ทดลองใช้ เมื่อออกแบบอินโฟ กราฟิกส์เสร็จแล้วเร่ิมตรวจ สอบข้อมูลอย่างละเอียด ผู้ชม จะดูท้ังข้อมูลและ ภาพท่ีเล่า เร่ืองราว เพ่ือให้แน่ใจว่าผลงา นท่ีเสร็จแล้วมีคุณภาพตรงกับ หัวข้อและเป้าหมาย ประเมิน ท้ังการชัดเจน

10. การแบ่งปันความรู้ใน อินเทอร์เน็ต อินโฟกราฟิกส์ ส่วนใหญ่เผยแพร่แบ่งปันใน อินเทอร์เน็ต มีแพร่หลายเป็น ที่นิยม ถึงแม้ว่าผลงานจะเคย ถูกเผย แพร่มาแล้ว


Designing Effective Infographics


อินโฟกราฟิกส์เป็นที่นิยมแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต เพราะสามารถถ่าย ทอดข้อมูลจากการออกแบบ ท่ีมีศิลปะอย่างแท้จริง เป็นภาษาสากลที่สามารถ เล่าเรื่องราวแม้ว่าดูแค่ภาพที่นําเสนอ เราสามารถพูดได้ว่า อินโฟกราฟิกส์ไม่มี ขอบเขตและขีดจําากัดในการเล่าเรื่องผ่านภาพ การใช้กราฟิกช่วยเพิ่มความ สวยงาม แก่ สิ่งต่างๆ ทําาให้ข้อมูลน่าประทับใจมีคุณค่าอย่างมีนัยเพื่อที่จะ เผยแพร่สู่สาธารณะ

สิ่งแรกที่ต้องพิจารณาคือหัวข้อหลักในการสร้างอินโฟกราฟิกส์ คุณจะมี ผลงานที่มีประสทธิภาพ ถ้า พยายามตอบคําาถามเดียวจะชัดเจนถ้ารู้ทิศทาง ของสิ่งที่จะทํา สิ่งนี้จะขจัดความยุ่งยากสําาหรับผู้อ่านและ ผู้ชม หลังจากกํา หนดหัวข้อแล้วกําาหนดคําถามเฉพาะที่ต้องการคําาตอบในอินโฟกราฟิกส์ การออกแบบให้เข้าใจง่าย ต้ังแต่เรม่ิ ออกแบบข้อมูลคุณต้องแน่ใจว่าข้อมูล ไม่อัดแน่นซับซ้อนสับสน เข้าใจได้ง่าย ไม่ทําาให้ ผู้อ่านและผู้ชมยุ่งยาก ภาพ ท่ีซับซ้อนจะทําาให้การตีความผิดพลาดไม่มีประสิทธิภาพ ข้อมูลเป็นส่ิงสําาคัญการสร้างอินโฟกราฟิกส์ต้องคําานึงถึงข้อมูลท่ีเก่ีย วกับหัวข้อเป็นสําาคัญ การออกแบบต้องไม่ทําาเกิน ขอบเขตของหัวข้อซ่ึงจะ เป็นการทําาลายข้อมูลที่จําาเป็น ต้องแน่ใจว่าการออกแบบเน้นที่ข้อมูลและรูป แบบ ของอินโฟกราฟิกส์


ต้องแน่ใจว่าข้อเท็จจริงถูกต้อง การทําาข้อมูลให้ถูกต้องเป็นส่ิงสําาคัญ ถ้าไม่ถูกต้องจะลดความน่าเชื่อถือของอินโฟกราฟิกส์ ดังน้ัน ก่อนที่จะสร้างอิน โฟกราฟิกส์ต้องแน่ใจว่าข้อมูลถูกต้อง ศึกษาค้นคว้าหาข้อเท็จจริงและใช้ข้อมูล ท่ีถูกต้อง อย่าลืมอ่านผลงานและตรวจสอบข้อเท็จจริงให้ถูกต้อง ให้อินโฟกราฟิกเป็นตัวเล่าเร่ือง อินโฟกราฟิกส์ท่ีมีประสิทธิภาพสามารถ เล่าเร่ืองราวด้วยภาพวาดหรือกราฟิก ซ่ึงสามารถบอก บางส่ิงบางอย่างและ สามารถถ่ายทอดข้อมูลได้ถึงแม้ว่าผู้ชมจะไม่ได้อ่านข้อมูลมาก่อน การออกแบบท่ีดีทําาให้มีประสิทธิภาพ การบรรยายด้วยภาพถ้ามีการ ออกแบบท่ีดีจะดึงดูดใจผู้ชม ส่ิงสําาคัญคือออกแบบอินโฟกราฟิกส์ ให้เข้าใจ ง่าย ใช้ความคิดสร้างสรรค์ออกแบบให้น่าสนใจ ภาพ กราฟิก สี ชนิด แบบ และช่องว่าง เป็นส่ิง สําาคัญในการออกแบบ ใช้สีท่ีดึงดูดความสนใจ การใช้สีเป็นส่ิงจําาเป็นควรเลือกใช้สีที่กระตุ้น ดึงดูดความสนใจผู้ชม ควรศึกษาทฤษฎีการใช้สีด้วย ใช้สีให้ถูกต้องเหมาะสม กับหัวข้อว่าเราจะออกแบบอินโฟกราฟิกส์ให้ใครชม ไม่จําาเป็นต้องทําาให้มี สีสันมาก อินโฟกราฟิกส์บางช้ินมีสีเพียงเล็กน้อยก็มีประสิทธิภาพได้ ใช้คําาพูดท่ีกระชับ การออกแบบภาพท่ีใช้ในการนําาเสนอ จําาเป็นต้อง สรุปข้อความให้ส้ันกระชับตรงกับจุดหมายท่ี ต้องการนําาเสนอ อาจใช้แผ่น ป้ายหรือข้อมูลส้ันๆ มาสนับสนุนภาพ การทําาเร่ืองราวให้ดึงดูดความสนใจ อาจ ใช้ตัวเลขมาสรุปเปรียบเทียบข้อมูล และควรใช้ตัวหนังสือที่อ่านเข้าใจง่าย ตรวจสอบตัวเลขข้อมูล ถ้านําาเสนอข้อมูลด้วยตัวเลขผ่านกราฟและ แผนผัง ตรวจสอบความถูกต้องของตัวเลขและภาพวาด และต้องรู้ว่าตัวเลข ไหนควรใช้และไม่ควรมีอยู่ ด้วยวิธีน้ีจะทําาให้อินโฟกราฟิกส์มีประสิทธิภาพ มากข้ึน ทําาไฟล์อินโฟกราฟิกให้เล็ก ทําาไฟล์อินโฟกราฟิกส์ให้เล็กเพ่ือให้ผู้ชม เข้าถึงและดาวน์โหลดข้อมูลได้ง่าย และนําาไปใช้ต่อได้ดีตาม จุดประสงค์ท่ี ต้องการ ดาวน์โหลดเร็วและใช้เวลาน้อยในการถ่ายโอนข้อมูลใส่แฟลชไดร์ฟ สามารถแนบไฟล์ ส่งอีเมลไปให้ผู้อ่ืน แต่ไม่ควรลดคุณภาพของรูปภาพควรใช้ ไฟล์ท่ีมีคุณภาพสูงเพ่ือท่ีจะดึงดูดผู้ชม


สิ่งท่ีไม่ควรทําาในการออกแบบอินโฟกราฟิกส์ ปัจจุบันการใช้อินเทอร์เน็ตแพร่หลายมาก คนส่วนใหญ่จะรับข้อมูลท่ีเข้า ถึงง่ายที่สุด ข้อมูลจําานวน มหาศาลท่ีแพร่หลายอยู่ในอินเทอร์เน็ต ข้อมูลบาง ส่วนออกแบบเป็นอินโฟกราฟิกส์ซึ่งถูกตีพิมพ์ออกมา ใช้งานด้วย อินโฟกราฟิก ส์เป็นเคร่ืองมือสําาคัญในการสอน วงการธุรกิจ เป็นแรงบันดาลใจท่ีมีอิทธิพล ในการนําาเสนอและการส่ือสารข้อมูลที่ยุ่งยากซับซ้อน ประสิทธิภาพของอินโฟ กราฟิกส์น้ันต้องอาศัยวิธีการ ออกแบบท่ีมีพลังท่ีย่ิงใหญ่ ต่อไปน้ีเป็นส่ิงท่ีช่วย ให้นักออกแบบคําานึงถึงว่าไม่ควรทําา 10 อย่าง 1. อย่าใช้ข้อมูลมากเกินไป อินโฟกราฟิกส์เป็นการออกแบบโดยใช้ภาพ ควรมีตัวหนังสือน้อยกว่าภาพหรือแบ่งส่วนเท่าๆ กัน ซ่ึงเหมาะสําาหรับผู้ท่ี อ่านน้อยและข้ึนอยู่ภาพข้อมูล ถ้าคุณยังคงใส่ตัวหนังสือมากและมีภาพน้อยก็ ยังไม่ถึง วัตถุประสงค์ของอินโฟกราฟิกส์ 2. อย่าทําาข้อมูลที่นําาเสนอให้ยุ่งยากซับซ้อน การนําาเสนอข้อมูลท่ี ยุ่งยากซับซ้อนผิดวัตถุประสงค์ของการออกแบบอินโฟกราฟิกส์ อย่าเสียเวลา เน้นข้อมูลท่ีไม่จําาเป็น และต้องแน่ใจว่าคุณจัดการกับข้อมูลให้ชัดเจนและ เข้าใจง่าย ซ่ึงมักจะทําาโดยการใช้ กราฟ ภาพวาด และกราฟิกอ่ืนๆ มองดูท่ี อินโฟกราฟิกส์เหมือนเป็นผู้ชมเองว่าสามารถตอบคําาถามที่คุณ ต้องการบอก ผู้ชมหรือไม่ 3. อย่าใช้สีมากเกินไป การออกแบบอินโฟกราฟิกส์โดยใช้สีมากเกินไป จะทําาให้ประสิทธิภาพในการนําาเสนอข้อมูลน้อยลง ผู้อ่านจะไม่สามารถอ่าน และเข้าใจเน้ือหาได้ดี ควรศึกษาจิตวิทยาการใช้สีที่ตัดกันด้วยเพ่ือคําานึงถึง สุขภาพ ของผู้ชม

4. อย่าใส่ตัวเลขมากเกินไปการใช้ตัวเลขช่วยให้การสร้างอินโฟกราฟิก ส์มีประสิทธิภาพ แต่อย่าใช้ให้มากเกินไปจะทําาให้ ผลผลิตของคุณออกมา เหมือนเป็นใบงานวิชาคณิตศาสตร์ จําาไว้ว่าคุณต้องใช้กราฟิกนําาเสนอจําา นวนต่างๆ อย่าใช้ตัวเลขท้ังหมดในการทําาให้ข้อมูลยุ่งยากซับซ้อน ออกแบบ ตัวเลขให้ง่ายเท่าท่ีจะทําาได้และแน่ใจว่า ข้อมูลถูกต้องเหมาะสมเข้าใจง่าย 5. อย่าละเลยข้อมูลที่ไม่สามารถระบุแยกแยะได้ อินโฟกราฟิกส์บางเร่ื องขาดตัวเลขไม่ได้ ข้อเท็จจริงบางอย่างต้องมีตัวเลขข้อมูลทางสถิ​ิติ แต่ผู้ชม อาจไม่เข้าใจท้ังหมด ถึงแม้จะมีความชําานาญในการออกแบบถ้า่ใส่ข้อมูลโดย ไม่ระบุคําาอธิบายลงไปด้วยก็จะ เป็นตัวเลขท่ีไม่มีประโยชน์ ดังน้ันต้องแน่ใจ ว่าใส่ป้ายระบุคําาอธิบายของข้อมูลแต่ละชุด 6. อย่าสร้างอินโฟกราฟิกส์ให้น่าเบ่ือ อินโฟกราฟิกส์ส่วนมากจะให้ความ รู้ ประโยชน์ และความบันเทิง มีจุดมุ่งหมายท่ีการจัดการข้อมูล ให้ผู้ชมเข้าใจ ง่าย ถ้าสร้างอินโฟกราฟิกส์ให้น่าเบ่ือจะไม่ดึงดูดความสนใจของผู้ชม ต้อง วางแผนสร้าง แนวทางของเร่ืองและการนําาเสนอท่ีดี จึงจะสามารถบอกเร่ือง ราวแก่ผู้ชมตามจุดประสงค์ท่ีต้ังไว้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 7. อย่าใช้วิธีการพิมพ์ผิด หลักการพิมพ์มีบมบาทท่ีสําาคัญในการออกแบ บท่ีช่วยให้อินโฟกราฟิกส์ดูดีขึ้น ทําาให้ง่ายในการ ถ่ายทอดข้อมูล แต่ถ้าใช้ ผิดวิธีจะเป็นส่ิงท่ีเป็นผลเสียในการออกแบบ เราต้องรู้เทคนิคเพ่ือท่ีจะใช้การ พิมพ์ ท่ีดีที่สุดในการนําาเสนอและจะไม่ทําาให้การตีพิมพ์ผิดไป แน่ใจว่าใช้วิธี การพิมพ์ถูกต้องจะทําาให้การตีความ ไม่ไขว้เขว สังเกตุการใช้สีท่ีดีและขนาด ของ Fonts ด้วย


8. อย่านําาเสนอข้อมูลท่ีผิด ไม่มีใครอยากเห็นอินโฟกราฟิกส์เสนอข้อมูล ผิด เพื่อให้แน่ใจควรตรวจสอบข้อมูลสองคร้ัง โดย เฉพาะการใช้ข้อมูลทาง สถิติถ้าข้อมูลผิดพลาดจะทําาให้ผู้อ่านเข้าใจผิดเป็นส่ิงไม่ดี ข้อมูลในอินโฟ กราฟิกส์ จะต้องแม่นยําา น่าเช่ือถือ และถูกต้อง 9. อย่าเน้นท่ีการออกแบบ อินโฟกราฟิกส์ไม่จําาเป็นต้องเน้นที่การ ออกแบบให้สวยงาม ควรเน้นที่การนําาเสนอข้อมูลท่ีถูกต้อง การออกแบบ อย่างสวยงามจะไม่มีประโยชน์ถ้ามีข้อมูลผิดพลาดหรือมีประโยชน์น้อย ดัง น้ันก่อนสร้าง อินโฟกราฟิกส์ดูว่ามีข้อมูลท่ีจําาเป็นทั้งหมดอย่างถูกต้อง การ จัดการข้อมูลสามารถนําาเสนอได้ชัดเจน แต่ ไม่ได้หมายความว่าจะไม่สนใจ การออกแบบแน่นอนมันสาํา คัญด้วยเพราะอินโฟกราฟิกส์เป็นการผสมผสาน ระหว่างข้อมูลและการออกแบบกราฟิกอย่างมีประสิทธิภาพ 10. อย่าใช้แบบเป็นวงกลม อินโฟกราฟิกส์ท่ีดีจะสามารถช้ีนําาผู้ชมดู และเข้าใจได้ท้ังหมด อย่าใส่องค์ประกอบทุกท่ีท่ีเราคิดและ อย่าออกแบบเป็น วงกลม ควรพิจารณาว่าผู้ชมจะสนใจจุดไหน ต้องแน่ใจว่าผู้ชมสามารถเข้าใจ ในวิธีการ นําาเสนอ ต้องไม่ให้ผู้อ่านยุ่งยากเพราะไม่ได้ใส่ข้อมูลท่ีดีไว้


10 Rules That Make An

Infographic Cool


การนำ�เสนอข้อมูลในรูปแบบ Infographic กลายเป็นทางเลือกใหม่ใน การนำ�เสนอข้อมูลที่ได้รับความนิยมและเริ่มพบเห็นกันได้บ่อยในบ้านเรา สำ�หรับใครที่สนใจและอยากทดลองทำ�อินโฟกราฟฟิกด้วยตัวเอง คงจะดีไม่ น้อยถ้าลองเดินตามเว็บไซต์ Avalancheinfographics.com ที่รวบรวม 10 เคล็ดลับในการทำ�อินโฟกราฟฟิกไว้อย่างครอบคลุม 1. กำ�หนดเป้าหมายอย่างชัดเจนในการนำ�เสนออินโฟกราฟฟิกว่าต้อง การนำ�เสนอเพื่อจุดประสงค์อะไร เช่น ต้องการเข้าถึงและหาลูกค้ากลุ่มใหม่, เพื่อสร้างภาพลักษณ์ของแบรนด์, เพื่อการศึกษา หรือเพื่อต้องการความบันเทิง กับผู้อ่าน อย่าลืมว่าการกำ�หนดเป้าหมายอย่างชัดเจนในการทำ�อินโฟกราฟฟิก จะช่วยทำ�ให้สามารถเลือกรูปแบบการนำ�เสนอได้อย่างง่ายดายและเหมาะสม มากขึ้น 2. กำ�หนดกลุ่มเป้าหมายในการนำ�เสนอว่าเป็นผู้ชมกลุ่มไหน เพื่อเป็น ประโยชน์ในการเลือกหัวข้อและการเลือกใช้ระดับของภาษาให้เหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมาย 3. มีการกำ�หนดใจความสำ�คัญในการนำ�เสนออินโฟกราฟฟิกเพียงเรื่อง เดียวเท่านั้น เพื่อเป็นการป้องกันการสับสนของผู้ชมในการเข้าถึงข้อมูล 4. เนื้อหาที่นำ�สนอบนอินโฟกราฟฟิกต้องมีความทันสมัยสดใหม่ รวม ถึงยังต้องสามารถสื่อสารได้อย่างตรงประเด็น, สั้นและกระชับ เนื่องจากผล การสำ�รวจพบว่าผู้ชมส่วนใหญ่ใช้เวลาในการอ่านข้อมูลมากที่สุดเพียง 3 นาที เท่านั้น 5. มีการสำ�รวจข้อมูลที่ใช้ในการนำ�เสนอมาเป็นอย่างดี ซึ่งหมายถึงมี การรวบรวมข้อมูลจากรอบด้านไม่ว่าจะเป็นข้อมูลจากโซเชียลมีเดีย, สถิติและ ข้อมูลสาธารณะเพื่อให้เห็นถึงมุมมองที่หลากหลายและมีความถูกต้องยิ่งขึ้น


6. นำ�เสนอหัวเรื่อง (Header) ที่ดึงดูดความสนใจและน่าติดตาม โดยผล สำ�รวจพบว่าผู้ชมกว่า 90% จะตามเข้าไปดูเนื้อหาบนอินโฟกราฟฟิกเพิ่มเติม หากพบว่าหัวเรื่องนำ�เสนอนั้นมีความน่าสนใจ 7. ออกแบบอินโฟกราฟฟิกให้มีความโดดเด่นสะดุดตา ซึ่งการออกแบบ นอกจากช่วยเรื่องความสวยงามแล้วยังช่วยให้ผู้ชมสามารถเข้าถึงและทำ�ความ เข้าใจกับข้อมูลที่น�ำ เสนอได้ง่ายยิ่งขึ้น 8. มีการบอกต่อและแชร์อินโฟกราฟฟิกไปอย่างกว้างขวางผ่านช่องทาง ต่างๆไม่ว่าจะเป็น โซเชียลมีเดียอย่าง Facebook, Twitter และ Pinterest รวมถึงการนำ�เสนออินโฟกราฟฟิกบนเว็บไซต์ที่เป็นแหล่งรวบรวมอินโฟ กราฟฟิก เพื่อเพิ่มการมองเห็นจากผู้ชมเพิ่มมากขึ้น 9. ระบุและอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างชัดเจน 10. มีการสรุปข้อมูลทั้งหมดที่น�ำ เสนอ เพื่อช่วยให้ผู้ชมสามารถเข้าใจ ถึงใจความสำ�คัญของเนื้อหาที่นำ�เสนอได้อย่างถูกต้องและตรงประเด็น


What’s Motion Graphic


คำ�ว่า motion graphic หลายคนอาจจะได้ยินบ่อยๆ บางคนก็จำ�สับสน ว่าเป็นประเภทหนึ่งของ animation หรือป่าว ก่อนอื่นเลยผมขออธิบายก่อนให้ เข้าใจตรงกันก่อนว่า motion graphic คืออไร motion graphic นั้น ถ้าแยก ออกเป็นสองคำ�จะได้คำ�ว่า motion ซึ่งแปลว่า การเคลื่อนไหว และ graphic ซึ่ง ก็คือ ศิลปะแขนงหนึ่งที่สื่อความหมายด้วยการใช้เส้น เช่น แผนภูมิ แผนภาพ การ์ตูน ดังนั้น motion graphic ก็คือการสร้างภาพด้วยกราฟฟิคให้มีการ เคลื่อนไหวได้ในหลากหลายมิตินั่นเอง ซึ่งต่างกับ animation ตรงที่ไม่มีตัว ละครเป็นตัวดำ�เนินเรื่อง หรือมีบทพูด และการตัดฉากสลับเหมือนภาพยนตร์ แต่จะเป็นการสร้างการเคลื่อนไหวให้กับ graphic แทน และใช้การพากย์ เสียงบรรยายประกอบ นิยมใช้กับเรื่องราวที่มีข้อมูลเยอะ เข้าใจยาก ให้ออก มาในรูปแบบที่สนุกและเข้าใจง่ายมาก


Behind the

motion graphic

1.Direction Concept คือการกำ�หนดทิศทางของเนื้อเรื่องที่จะเล่าว่า จะเสนออะไร ขายอะไร ภาพรวมของแบรนด์ที่อยากจะบอก ซึ่งควรมีหลายไอ เดียเพื่อให้เขียนสคริปต์เล่าได้หลายแนวหรือต่างกัน


2.Mood Board มีไว้เพื่อกำ�หนดอารมณ์ของงาน ทั้งโทน สีที่จะใช้ สไตล์ตัวละคร แบบฟอนต์ที่จะใช้ รวมถึง reference video ที่ตรงกับแนววีดีโอที่เราอยากจะทำ�ไว้ดูประกอบ เพื่อให้ เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน 3.Script ในส่วนของสคริปต์แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Introduction, Main Idea และ Ending ซึ่งสคริปต์ควรมีความ ยาวไม่เกิน 2 นาทีครึ่ง เพื่อให้กระชับและเข้าใจง่าย ไม่ยาวจน น่าเบื่อเกินไป Introduction : เป็นส่วนที่ต้องดึงดูด น่าสนใจ ชวนติดตาม อาจ จะเป็นการกล่าวถึงปัญหาที่ส่งผลต่อผู้ชมเพื่อเป็นการเกริ่นก่อน เข้าช่วงหลักของเรื่อง (Main Idea) Main Idea : ประเด็นหลักของเนื้อเรื่อง ซึ่งเป็นการขายประโยชน์ ของสิ่งที่เราอยากจะขายหรืออยากจะบอก Ending : ช่วงสุดท้ายของวีดีโอซึ่งสรุปเรื่องทั้งหมดว่าอยากบอก อะไรผู้ชม อยากให้ผู้ชมรู้สึกอะไร เป็น keyword สั้น ๆ เช่น ปลอดภัยนะ คุ้มค่านะ 4.Storyboard ส่วนนี้จะเป็นการนำ�สคริปต์ที่เขียนเสร็จ แล้วมาวาดเป็นภาพ อาจจะทำ�เป็นตาราง 2 ช่อง ช่องแรกเป็น ภาพ อีกช่องเป็นคำ�บรรยายภาพ หรืออีกแบบคือ เป็นภาพที่มี คำ�บรรยายอยู่ใต้ภาพ ซึ่งเริ่มแรกก็อาจจะสเก็ตซ์ภาพแต่ละฉาก ด้วยมือก่อนเพื่อให้ง่ายเวลาแก้ไข เมื่อวาดมือผ่าน เกิดความ เข้าใจตรงกัน ก็จะไปสร้างภาพแต่ละฉากในโปรแกรม Adobe Illustrator โดยภาพที่สร้างก็จะเป็นไปตามรูปแบบที่ก�ำ หนดไว้ใน mood board 5.Animate ขั้นตอน Animate ก็คือ ขั้นการนำ�ชิ้นงาน กราฟิกที่เราสร้างขึ้นมาจากโปรแกรม Adobe Illustrator มา ทำ�ให้เกิดความเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Adobe After Effects ซึ่งในขั้นตอนนี้ก็ยังสามารถใส่ sound effect อีกด้วย แต่หาก จะใส่เสียงบรรยายหรือเสียงโฆษก ควรจะอัดเสียงในห้องสตูหรือ สถานที่ที่เงียบที่สุด ไม่มีเสียงก้องหรือเสียงสะท้อน เพื่อให้เสียงที่ อัดฟังได้ชัดเจนที่สุด มีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ผู้ชมรับสาร ได้อย่างถูกต้อง





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.