So Sew

Page 1

embroidery design megazine


embroidery design megazine


ED ITO R ’ S TA LK

‘ศิลปะ’ หากได้ยินคำ�นี้เราคงคิดถึงการวา ดรูปเป็นอันดับแรกแน่ๆ แต่ศิลปะนั้นไม่ ได้จำ�กัดอยู่แค่กระดาษและดินสอ การปัก ผ้านั้น เราก็ถือว่ามันคือศิลปะเหมือนกัน แค่เปลี่ยนดินสอเป็นเข็ม เปลี่ยนกระดาษ เป็นผ้า แค่นี้เราก็สามารถสร้างสรรค์ผล งานดีๆได้แล้ว เราเป็นคนนึงที่หลงใหล ในศิลปะการปักผ้ามาก และหนึ่งในความ ฝันของเรา คือการได้ไปทำ�งานกับแบรนด์ ชั้นนำ�ระดับโลก ได้ไปทำ�แฟชั่นวีค โอ กู ตูร์ ได้นั่งปักผ้าเป็นวันๆ แต่ทุกวันนี้แค่ปัก ผ้าฝีเข็มเรายังไม่เท่ากันเลย หนังสือเล่มนี้

จึงเป็นตัวแทนของสาวนักปักทุกคนที่หวัง จะได้ทำ�ในสิ่งที่เรารัก ในสิ่งที่เราชื่นชอบ เป็นวิชาชีพ เราอาจเริ่มต้นด้วยการปักข องเล็กๆ ขอบผ้าเช็ดหน้าแบบสมัยก่อนก็ เป็นความคิดที่ไม่เลวเลยทีเดียว แต่ถ้าเป็น สมัยนี้จะปักให้ชิคก็ต้องกระเป๋าผ้า การ ปักผ้านั้น นอกจากจะได้ความภูมิใจหลัง ทำ�เสร็จ เราจะได้ความอดทน และการใจ เย็นให้มากขึ้น ต้องมีสติตลอดเวลาการปัก ผลงานจะเป็นตัวแสดงถึงความตั้งใจของ เราเอง เราหวังว่าทุกๆคนจะสมุกกับการ ค่อยๆบรรจงวาดทีละฝีเข็มลงไปบนเนื้อผ้า ชัญญานุช ธีระรุจินนท์ บรรณาธิการสำ�นักพิมพ์ SO SEW

ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการที่ปรึกษา วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ บรรณาธิการอำ�นวยการ ภูมิชาย บุญสินสุข บรรณาธิการบริหาร พนิดา เอี่ยมศิรินพกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ สราลี อุรุพงศา กองบรรณาธิการ จิราภรณ์ วิหวา สลิลา มหันต์เชิดชูวงศ์ อลิษา รุจิวิพัฒน์ ศิลปกรรม ปริญดา วัฒนสันติเจริญ ช่างภาพ พิชาญ สุจริตสาธิต พิสูจน์อักษรและเรียงพิมพ์ นภาพร พักตร์เพียงจันทร์ การตลาดและพัฒนาธุรกิจ วิไลลักษณ์ โพธิ์ตระกูล ประสานงานการผลิต นภาพร พักตร์เพียงจันทร์ ผู้จัดการทั่วไป จัณฑรัศมิ์ เกียรติยศ ผู้ช่วยผู้จัดการ ณัฐธยาน์ อึ้งตระกูลนิธิศ ธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ลูกค้าสัมพันธ์ นริศรา เปยะกัง บริษํท โซโซ จำ�กัด เลขที่ 2 งามวงศ์วาน 47 แยก 2-5-2 ถนน งามวงศ์วาน แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2954-9841-3 แฟกซ์ 0-2954-9844 อีเมล์ info@saengdao.com เว็บไซต์ http://www.saengdao.com/


23 CONTENTS

5 about her style haute couture ss16 with embroidery stitches bible embroidery workshop place OTOP GO INTER

21 13 19

5 13 19 21 23



AB O UT HER ST Y LE


Y U M I KO HIGUCHI ยูมิโกะ ฮิกูชิ เป็นศิลปินปักผ้าชาวญี่ปุ่นชื่อดัง เรียกได้ว่าหากใครชื่นชอบศิลปะการปัก ผ้าแล้ว ต้องรู้จักเธออย่างแน่นอน อีกทั้งเธอออกหนังสือมาแล้วหลายเล่ม แต่ที่น่าสนใจ ก็คือเทคนิคการปักของเธอ เธอไม่ได้ใช้เทคนิคการปักที่แปลกอะไร เป็นเทคนิคธรรมดา แต่ที่แตกต่างคือลวดลายที่เธอออกแบบ เป็นลายที่เรียบร้อย เป็นระเบียบสมกับเป็น ศิลปินปักผ้าชาวญี่ปุ่น ลวดลายของเธอมักเรียบง่ายไม่ซับซ้อน และยังมีการตัดทอนอี กด้วย เรียกได้ว่าถึงเธอจะเป็นศิลปินปักผ้า แต่ใช่ว่าการปักผ้าจะตัดทอนไม่ได้ เธอเน้น ใช้สีเดียวและมักถมให้เต็มพื้นที่ด้วยเทคนิค chain stitch งานของเธอจึงเป็นแรงบันดาล ใจให้ใครหลายๆคน เป็นงานที่เต็มไปด้วยเสน่ห์ และความเพียรพยายามอย่างแท้จริง


SARAH K. BENNING ซาร่าห์ เค เบนนิ่ง ศิลปินปักผ้าชาวอเมริกัน ผลงานของเธอเป็นที่ชื่นชอบของคนที่ชอบ ตกแต่งบ้านหลายๆคน เธอนำ�ผลงานขายบนเว็บไซต์ esty งานปักของเธอสวยและ เรียบร้อยจนเมื่อมองเผินๆก็เหมือนการปักด้วยจักร งานของเธอเต็มไปด้วยรายละเอียด มักจะเป็นการปักต้นไม้เหมือนการจัดสวนบนผืนผ้า ทำ�ให้งานของเธอดูสบายตา เหมาะ แก่การนำ�ไปตกแต่งบ้านเสียจริง หากมีสักชิ้นบ้านของเราคงดูพิเศษขึ้น เทคนิคการปักข องเธอนั้นใช้การถมพื้นที่แบบง่ายๆแต่ที่สำ�คัญคือการออกแบบลวดลายให้โดดเด่น และ แตกต่างจากศิลปินท่านอื่น งานของเธอมีการตัดทอนทำ�ให้ดูมีความทันสมัย เรียกได้ว่า เธอผสมผสานศิลปะปักผ้าที่ผู้คนมักติดภาพ ความยุ่งยากและรายละเอียดยิบย่อยดูยาก จะเข้าถึง มาเป็นงานกราฟิกที่ตัดทอนดูรูปร่างที่เรียบร้อยและง่ายต่อการเข้าถึงมากกว่า


REBECCA HAMPTON รีเบ็กก้า แฮมปทัน เป็นศิลปินปักผ้าชาวอังกฤษ งานของเธอมักมีกลิ่นอายความเป็น โกธิคอยู่ไม่น้อย ทั้งการปักรูปกะโหลก โครงกระดูก หรือแม้แต่คนตายเธอก็ปัก แต่นั่นก็ คือเสน่ห์ในงานของเธอ เธอมักปักลงบนสะดึงอันเล็กๆ เล็กจนถึงขนาดนำ�ไปเป็นสร้อย คอได้เลยล่ะ งานของเธอสะท้อนถึงสไตล์ของเธอด้วย ภายนอกเธอเป็นคนที่ดูดุดัน แต่ง กายด้วยเสื้อผ้าร็อคๆ มีรอยสักแต่เธอก็ทำ�งานปักเหมือนกับสาวทั่วไป เรียกได้ว่าสาย เลือดในการเย็บปักถักร้อยนั้น แทบจะมีอยู่ในผู้หญิงทุกๆคนเลยทีเดียว


HA UT E CO U TU R E SPR I N G / SU M M E R 2 0 1 6 WITH

EMBR OI D E RY


CHANEL เมื่อโลกในปัจจุบันหมุนไปอย่างรวดเร็วทุกอย่างดูต้องเร่งรีบ แข่งกับเวลา ดูได้จากเมืองใหญ่ทั้งลอนดอน นิวยอร์ก โตเกียว หรือแม้กระทั่งปารีส ที่ยามเช้าที่ทุกคนต้องไปโรงเรียน ไป ทำ�งาน รถไฟใต้ดิน รถขนส่งสาธารณะหรือบนถนนที่เต็มไป ด้วยพาหนะส่วนตัวต่างเร่งรีบเพื่อไปให้ทันเวลาของพวกเขา Karl และ Chanel จึงพาทุกคนย้อนกลับไปถึงความเรียบง่าย ตาม แบบฉบับของลัทธิเซน เมื่อก้าวเข้าไปใน Grand Palais สถาน ที่จัดโชว์สุดอลังการ ถูกเลือกเป็นประจำ�ให้กับแบรนด์ใหญ่อย่าง Chanel ถูกวางไว้ด้วยบ้านไม้หลังใหญ่ และรอบๆมีแค่บ่อน้ำ� และสนามหญ้าสื่อให้เห็นถึงความเรียบง่ายในวิถีชีวิต เมื่อโชว์ เริ่มขึ้น Baptiste นายแบบชื่อดังที่เป็นนายแบบประจำ�การให้ Chanel เดินออกมาเพื่อกดเริ่มโชว์ได้ทันใดนั้นเมื่อประตูเปิดออก จากบ้านไม้หลังใหญ่ เหล่านางแบบของชาแนลต่างเดินสวมชุด ที่ถูกรังสรรค์โดย Karl ออกมาบนรันเวย์ชุดที่ประดับด้วยลูกปัด คริสตัล ขนนกมากมายที่ Chanel ไม่เคยปล่อยทิ้งความไม่ เรียบร้อยไว้

สะกดให้สายตาผู้คนใน Grand Palais และกล้องทุกตัว หัน มาให้ความสนใจอย่างต้องมนตร์สะกดของ Karl และ Chanel ความพิเศษไม่ได้มีแค่เพียงเท่านั้นคาร์ลยังใส่ใจกับทุกรายละเอียด และยังเป็นเหมือนฑูตแห่งโลกในการผลักดันการรณรงค์ช่วย โลกจากปัญหาตึงเครียดจากผลกระทบที่พึ่งมีการประชุมไปเมื่อ ปลายปีที่แล้วในกรุงปารีส ด้วยการใช้วัตถุดิบออแกนิคทั้งผ้าฝ้าย ลูกปัดจากไม้ในการสร้างสรรค์ผลงานทั้งหมดในคอลเลคชั่นนี้ ซึ่ง เมื่อขึ้นชื่อว่าเป็นแบรนด์ชาแนล Karlจึงไม่ลืมที่จะใส่ it bag ใบ เกร๋ลงไปด้วย และเมื่อโชว์จบลง Surprise จากชาแนลก็เกิดขึ้น หน้าต่างทุกบานจากบ้านไม้หลังโตที่ถูก set ให้เป็นฉากก็ค่อยๆ เปิดขึ้นพร้อมกับนางแบบที่ยืนอยู่ด้านในราวกับตุ๊กตาญี่ปุ่นที่ใส่ ชุด CHANEL พร้อมกับคาร์ล ซึ่งเมื่อโชว์จบลงเสียงปรบมืออย่าง มากมายที่เป็นเสียงแห่งความประทับใจก็เกิดขึ้น เพื่อตอกย้ำ� ความสำ�เร็จให้กับ CHANEL และ Karl ที่ใส่ใจกับทุกรายละเอียด ในโชว์


DIOR แม้ในวันที่ ดิออร์ไร้เงาอดีตครีเอทีฟไดเร็กเตอร์คนดังนาม ราฟ ซิมอนส์แต่ทีมดีไซเนอร์ในอาร์เทลิเย่ร์ยังคงถ่ายทอดดีเอ็นเอ ความงามแห่งสวยสวยสู่ ‘ดิออร์ โอต์ กูตูร์ คอลเลกชั่นฤดูร้อน 2016’ ที่ผสานเอาแนวคิดการสร้างสรรค์อาภรณ์ชั้นสูงจากโครงชุด ที่คุ้นตาในอดีต เข้ากับอิสระในสัญชาตญาณทางความคิดที่กล้าจะ แตกต่างอย่างเข้าใจ เรียงร้อยผ่านงานปักเลื่อมลูกปัดที่บรรจงแต่ง แต้มดอกลิลลี่ ออฟ วัลเลย์ให้กลับมาผลิบาน บนบาร์ แจ๊คเก็ตที่ปรับแต่งอย่างร่วมสมัย เข้ากับกราฟิกลายปักเลื่อมเสือ ดาวที่แฝงซ่อนใต้ระบายชุดกระโปรง ลงรายละเอียดถึงการไล่ ระดับน้ำ�หนักงานปักบนผ้าชีฟองเนื้อบางซึ่งต้องใช้ฝีมือการปัก ร้อยด้วยมืออย่างวิจิตร บรรจงจากช่างกูตูลิเย่ร์ ที่ยังคงสืบทอดมา ตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 18


S TITCHES B IB LE วันนี้เราจะมาแนะนำ�หนังสือสอนวิธีการปักแบบน่ารักๆกันค่ะ โดย ทั้งสองเล่มจะมีนักวาดภาพประกอบชื่อดังเป็นคนออกแบบลวดลาย คือคุณวิศุทธิ์ พรนิมิตร คนที่สร้างสรรค์น้องมะม่วงแสนน่ารักนั่นเอง ค่ะ ส่วนอีกเล่มคือ คุณแป้ง ภัทรีดา ประสานทอง โดยทั้งสองท่านได้ สร้างสรรค์ผลงานมาแล้วมากมาย โดยครั้งนี้มาออกแบบลายปักให้ โลดแล่นกันบนผ้าให้คุณผู้อ่านได้นำ�ไปสร้างสรรค์กันเลยค่าา

หนังสือมะม่วงจังเล่มนี้เป็นผลงานการ วาดภาพของ คุณวิศุทธิ์ พรนิมิตร ซึ่งเป็น ผู้วาดน้องมะม่วงค่ะ ผู้ที่ร่วมปักผ้าในแบบ หนังสือเล่มนี้ก็คือ คุณฮิโรกะ ลิมวิภูวัฒน์ ซึ่งเค้ามีชื่อจริงเป็นภาษาไทยว่า วชิราภรณ์ เป็นหลักสูตรสอนปักผ้าฉบับเร่งรัดด้วย ลายปักมะม่วงจัง หนังสือเล่มนี้ก็จะพูดถึง การเริ่มต้นปักผ้าเทคนิคต่างๆ รวมทั้งพื้น ฐานและอุปกรณ์ด้วย หนังสือมะม่วงจังเป็นที่ชื่นชอบของ บรรดาผู้เริ่มต้นสนใจในศิลปะการปักผ้า

ตรงที่มันอ่านง่าย แล้วมีการ์ตูนน่ารักๆ ซึ่งเป็นสไตล์การวาดของคุณวิศุทธิ์ค่ะ ซึ่ง เป็นนักเขียนในดวงใจของสาวๆหลายๆ คนด้วย ภายในเล่มก็จะเป็นรูปวาดของน้อง มะม่วงผสมกับรูปปัก ช่างเป็นอะไรที่น่า รักขนาดนี้เนี่ย ใครที่ได้รับหนังสือเล่มมา ครอบครองก็จะพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า เห้ยยย น่ารักอ่ะยังไม่หมดแค่นั้นค่ะ ยังมี ลายปักของน้องมะม่วงมาให้ด้วย แถมยัง บอกถึงการใช้รูปแบบต่างๆด้วยค่ะ

ส่วนด้านท้ายๆเล่มเค้าก็จะเป็นการปักแล้ว ให้นางแบบมายืนใส่ โพสท่าน่ารักๆค่ะ อีกหนึ่งเล่มที่เรานำ�มาแนะนำ�วันนี้ คือ สาวน้อยปักแป้งค่ะ จาก แป้ง ภัทรีดา ประสานทอง นักวาดภาพประกอบที่มีลาย เส้นโดดเด่นที่สุดคนหนึ่งของประเทศไทย นอกจากจะสอนวิธีการวาดรูปแบบง่ายๆ แต่น่าจดจำ�แล้ว แป้งยังชวนนักปักมือฉมัง อย่างพลอย-พลอยศิริ รังคดิลก เจ้าของ กิจการงานปักสุดน่ารัก Need a New Needle มาช่วยกันวาดเส้นให้เป็นด้าย

โดยมีทั้งการปักลงบนผ้าหลายชนิด และ การปักลงบนของใช้ให้น่าใช้กว่าเดิม อาทิ หมวก ชุดเดรส ที่รองแก้ว กระเป๋า ปก เสื้อ และหมอนอิง รวมไปถึงเทคนิคการ ปักพื้นฐานที่ผู้มีใจอยากปักก็ฝึกหัดได้ ง่ายๆ คราวนี้นอกจากจะวาดรูปได้สนุก แล้ว ยังสามารถปรับลายเส้นธรรมดาให้ กลายเป็นด้ายลายสวย เพิ่มมูลค่าทาง หัวใจให้ทั้งผู้ปักและผู้รับได้อีกหลายเท่า


E M BROIDE RY WO RKSHO P PLACE สำ�หรับมือใหม่ที่อยากลองทำ�อะไรหลายๆ อย่าง เราขอ แนะนำ�ให้รู้จักกับ The Cave Workshop เพราะสตูดิโอแห่งนี้มี เวิร์กช็อปหลากหลายให้เลือกเรียน เช่น ศิลปะการปักผ้า การ เขียนผ้าด้วยเทียน การทำ�สบู่ การออกแบบลายผ้า การทำ� กระเป๋า การมัดย้อมผ้าสไตล์ชิโบริ การทำ�รองเท้า และอื่นๆ อีกมากมาย เรียกได้ว่าไปครั้งเดียวไม่พอแน่นอน และแน่นอน ที่คุณจะต้องห้ามพลาดคือ เวิร์คชอปการปักผ้า ที่ The Cave Workshop มีทั้งศิลปะการปักผ้าแบบพื้นฐานที่จะสอนคุณตั้งแต่ การเลือกอุปกรณ์ จนไปถึงเทคนิคการปักพื้นฐานต่างๆ

นอกจากนี้ที่ The Cave Workshop มีเวร์คชอปพิเศษสำ�หรับ คนที่ไม่อยากแค่จะปักธรรมดานั่นก็คือ ศิลปะการปักริบบิ้น โดย จะใช้ริบบิ้นแทนไหมปัก ทำ�ให้ได้อีกความรู้สึกหนึ่ง อีกทั้งศิลป พการปักริบบิ้นในสมัยนี้นั้นหาเรียนได้ยาก และผู้เชี่ยวชาญก็ไม่ ค่อยมีแล้ว ที่สำ�คัญคือค่าใช้จ่ายในการเวิร์คชอปนั้นรวมไปถึงค่า อุปกรณ์ที่คุณสามารถนำ�กลับไปปักต่อที่บ้านได้อีกด้วย เรียกได้ ว่านอกจากจะได้ความรู้ ได้เพื่อนใหม่ที่มีความชื่นชอบเหมือนกับ เราแล้ว ยังได้อุปกรณ์ที่ครบครันที่จะนำ�ไปฝึกต่ออีกด้วย

หากคุณเริ่มสนใจในศิลปะการปักผ้า แต่ไม่รู้จะเริ่ม ต้นตรงไหนดี วันนี้เราขอแนะนำ�สถานที่เวิร์คชอป งานปักสุดชิคในเวลานี้ มีตั้งแต่เวิร์คชอปพื้นฐานไป จนถึงขั้นเทคนิคพืเศษ ส่ววนอีกหนึ่งสถานที่เวิร์คชอปที่เราจะแนะนำ�ก็คือ Joyrukclub เป็นสตูดิโอที่เปิดเฉพาะเวิร์คชอปการปักผ้าโดย เฉพาะ ตั้งแต่การปักพื้นฐาน มีการปักตามธีมที่ผู้สอนเป็นคนตั้ง ขึ้นมา รวมถึงเทคนิคการปักผ้าแปลกๆ อาทิ ศิลปะการปักผ้า แบบอินเดีย ศิลปะการปักผ้าแบบไทย มีทั้งเปิดรอบวันธรรมดา และวันหยุดสุดสัปดาห์ และมีหลายคอร์ส เรียกได้ว่า หากนักปัก ผ้าคนไหนต้องการเรียนรู้เทคนิคแปลกใหม่เป็นงานอดิเรกแล้วละ ก็ หากจัดสรรเวลาดีๆก็สามารถลงได้ครบทุกคอร์สเลยทีเดียว

แต่ที่เราอยากจะมาแนะนำ�ในวันนี้คือ เวิร์คชอปการปักผ้า ในราชสำ�นักแบบไทย แค่ได้ยินชื่อก็น่าตื่นเต้นแล้วใช่ไหมละ อีก ทั้งผู้สอนก็เป็นผู้เชี่ยวชาญอีกด้วย คิดดูสิจะมีสักกี่ครั้งที่เราจะ ได้เรียนรู้เรื่องของชาววัง ทั้งยังเป็นเรื่องราวที่มาตั้งแต่สมัยก่อน เรียกได้ว่าเป็นเวิร์คชอปที่ปลุกความเป็นชาวไทยในตัวคุณได้ดีที เดียว เวิร์คชอปมีตั้งแต่การปักดิ้น การปักเลื่อม แม้แต่การปัก เมล็ดข้าวก็มี แต่ที่พิเศษสุดๆคือการปักปีกแมลงทับลงไปบนผ้า นั่นเอง


O TOP GO INT ER

สวัสดีค่าา บทสัมภาษณ์ ดีไซเนอร์ของเราวันนี้ขอบอกเลย ว่าน่าสนใจมากๆ มันเริ่มมาจาก เราเห็นงานออกแบบกระเป๋าที่สวย มากๆในเฟสบุคของรุ่นพี่คนนึง พี่เขาเป็นกราฟิกดีไซเนอร์ค่ะ และ เป็นรุ่นพี่ที่มหาลัยของเราเอง

เมื่องานพัฒนาสินค้า OTOP เสร็จ สมบูรณ์ เราไดขอสัมภาษณ์ถึงที่มาที่ไป ของงานนี้ค่ะ เหตุผลอย่างแรกเลย งานดู สวยและมีคุณค่ามากๆ มันทำ�ให้เรารู้สึกว่า ไม่ควรปล่อยผ่านไปเลย ควรจะหยิบมานำ� เสนอให้ทุกคนได้รู้ ว่ายังมีงานฝีมือดีๆของ คนไทยอยู่ อย่างที่สอง เพราะมันคือการ พัฒนาสินค้า OTOP ให้ดูเป็นแฟชั่นและวัย รุ่นมากยิ่งขึ้น ซึ่งเราว่าแค่จุดประสงค์มันก็ เจ๋งแล้ว เพราะเราก็ยอมรับว่า เราไม่เคย สนใจสินค้า OTOP เลย เพราะส่วนใหญ่จะ เป็นสินค้าที่ดูมีอายุ ไม่เหมาะกับวัยรุ่นสัก เท่าไหร่ เหตุผลแค่นี้คงจะมากพอที่จะทำ� ให้เราพาทุกคนไปรู้จักกับโครงการดีๆ และ ผลงานเจ๋งๆฝีมือคนไทยกันแล้วใช่มั้ยคะ? เพราะฉะนั้น ก่อนที่จะไปรู้จักกับโครงการ OTOP Go Inter พัฒนาสินค้าโอทอป สู่ตลาดญี่ปุ่น ก็ต้องไปทำ�ความรู้จักกับ ดีไซเนอร์ที่จะมาถ่ายทอดประสบการณ์การ ทำ�งานโครงการนี้ ผ่านบทสัมภาษณ์ของเรา กันก่อน ไปทำ�ความรู้จักดีไซเนอร์กันได้เลย


แนะนำ�ตัวเองหน่อยค่าาา

ชื่อภาค่ะ ภาวิษา มีศรีนนท์ เป็น Graphic Designer , Illustrator อายุ 25 ปีค่ะ เรียนจบจากสาขานิเทศศิลป์ คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง ตอนนี้ก็เป็นฟรีแลนซ์ รับทำ�กราฟิกดีไซน์ทั่วไป และก็วาดภาพประกอบด้วย สถานที่ทำ�งานก็ทำ�อยู่ที่บ้านตลอด เลย ฮ่าๆ

พี่ภาเป็นฟรีแลนซ์ แล้วหางานจากไหนคะ?

ส่วนใหญ่มันจะมีลูกค้าติดต่อมาเองค่ะ ตอนแรกๆเลยอะ เริ่มแรกสุดเลยคือไปฝึกงานที่ Issue แล้วก็มีคนติดต่อมาให้ไป สัมภาษณ์ลงนิตยสาร CG+ และก็ Computer Art ลูกค้าที่มา จ้างเราบางส่วนก็มาจากหนังสือนี่แหละ และก็ต่อมาได้ทำ�เพจ รวมผลงานของตัวเอง ลูกค้าบางคนก็จะเห็นงานเราจากทาง เพจนั่นแหละ แล้วก็เลยติดต่อมา แต่ส่วนมากจะเป็นปากต่อ ปากมากกว่า เขาก็จะแนะนำ�กันต่อไปเรื่อยๆ งานที่ได้ทำ�ก็มา จากตรงนี้แหละค่ะ

งานไหนที่พี่ภาภูมิใจที่สุด?

คิดว่าน่าจะเป็นงาน OTOP Go Inter นะ เพราะว่างานนี้ทำ� มา 4 เดือน เป็นงานที่ทำ�นานที่สุด ยากที่สุด มันไม่ใช่แค่การ ออกแบบอย่างเดียวอ่ะ ออกแบบด้วย ควบคุมคนด้วย นี่แบบเสีย น้ำ�ตาเยอะเลยนะกับโปรเจคนี้ ไม่เคยยากขนาดนี้เลย

เอาล่ะ เปิดมาขนาดนี้งั้นเข้าเรื่องเลยดีกว่า มาทำ� โครงการ Otop Go Inter ได้ยังไงคะ?

เริ่มจากมีรุ่นพี่ค่ะ คือพี่เหมี่ยว เขาทำ�งานอยู่ที่บริษัท ยอด คอร์ปอเรชั่น ที่ทำ�แพคเกจดีไซน์ ทำ�อีเว้นท์อะไรพวกนี้ แล้วพอดี กับโครงการ OTOP Go Inter เนี่ยเป็นโปรเจคของกรมส่งเสริม การส่งออก (DITP) ที่บริษัทยอดเขาดูแลอยู่ เขาก็หาดีไซเนอร์มา ทำ�โปรเจคนี้ เพื่อพัฒนาสินค้า ส่งออกไปประเทศญี่ปุ่น พี่เหมี่ยว ก็บอกว่าให้เราส่งพอร์ตไปดู แล้วทางกรมเขาจะเป็นคนเลือก ดีไซเนอร์เอง ก็ปรากฏว่าได้ทำ�ค่ะ

พี่ภาเป็นดีไซเนอร์คนเดียวเลยมั้ย?

ไม่ใช่ค่ะ มีหลายคน ประมาณ 8-9 คน พี่ก็เป็นหนึ่งในนั้น ดีไซเนอร์คนนึงก็จะได้ดูแลกลุ่ม OTOP ประมาณ 6 กลุ่มค่ะ ทาง

กรมเขาก็จะเลือกกลุ่ม OTOP มาให้ตามที่ดีไซเนอร์แต่ละคนจะ นราธิวาส กลุ่มบาติกเดอนารา จะเป็นการทำ�ผ้าบาติกแบบวาด ถนัดด้านนั้นๆ มือ เพ้นท์มือ คือวาดเก่งมาก แค่ดูแบบแล้ววาดได้เลยไม่ต้องร่าง จุดประสงค์ของโครงการนี้คืออะไร? เลย คารวะเลยนับถือจริงๆ มีความเป็นศิลปินอยู่มากๆ นอกจาก ก็คือต้องการจะพัฒนาสินค้า OTOP ให้เป็นแฟชั่นมากขึ้น วาดแล้วก็ยังเก่งเรื่องลงสีด้วย ผสมสีเองด้วยค่ะ ขายในตลาดโลกได้จริง ปกติสินค้า OTOP มันจะดูเชยๆใช่ป่ะ? กล่มสุดท้าย จังหวัดปัตตานี กลุ่มหมวกกะปิเยาะห์บ้านอีปุ๊ก็ คนอาจจะไม่ค่อยอยากซื้อเพราะมันดูมีอายุนิดนึง เขาก็ต้องการ คือหมวกของผู้ชายอิสลามค่ะ แต่ของเขาคือจะมีเทคนิคการปัก ดีไซเนอร์รุ่นใหม่เนี่ยมาช่วยออกแบบให้มันน่าสนใจมากยิ่งขึ้นค่ะ ลายที่เทพมาก คือจักรก็จะแค่วิ่งๆไปเป็นเส้นๆ โดยที่คนทำ�ใช้ ของพี่ภาไปจังหวัดไหนมาบ้างคะ? แค่มือควบคุมผ้าและสร้างลวดลายขึ้นมา แบบเลื่อนๆผ้าหมุนไป คือมันจะมีผู้ประกอบการ OTOP ทั้งหมด 50 กลุ่ม ที่ผ่าน หมุนมาทำ�ให้เกิดลาย เก่งมากๆ การคัดเลือกมาทั้งประเทศ โครงการนี้ในตอนแรกคือเปิดรับ หน้าที่ของดีไซเนอร์ทำ�อะไรบ้าง? สมัครกลุ่ม OTOP ที่สนใจจะให้ทางกรมเขาไปช่วยพัฒนาสินค้า ตอนแรกก่อนที่จะเริ่มงาน ทางกรมเขาจะมีการจัดอบรม สู่ตลาดญี่ปุ่นนี่แหละ ก็เริ่มจากให้กลุ่ม OTOP ที่สนใจสมัครกัน ดีไซเนอร์ก่อน ก็จะมีอาจารย์มาจากญี่ปุ่น แนะนำ�เกี่ยวกับ เขามา ทางกรมก็จะคัดเลือกมาแค่ 50 กลุ่ม และต่อไปก็จะคัด เทรนด์ของญี่ปุ่นว่ากำ�ลังไปในทิศทางไหนในซีซั่นนั้นๆ ซึ่งตอน ให้เหลือแค่ 25 กลุ่มที่จะไปได้โชว์สินค้าที่ญี่ปุ่น กลุ่ม OTOP ก็ ที่ทำ�เนี่ยเป็น Spring/Summer สีอะไรจะมา สีอะไรที่ฮิตในญี่ปุ่น จะได้จับคู่กับดีไซเนอร์ ซึ่งดีไซเนอร์ 1 คน ก็จะดูแลกลุ่ม OTOP ต้องเป็นผ้าแบบไหน ซึ่งดีไซเนอร์ก็ต้องคำ�นึงถึงเทรนด์ของญี่ปุ่น ทั้งหมด 6 กลุ่มอย่างที่บอกไปตอนแรก โดยรอบแรกคือดีไซเนอร์ ด้วย จะเข้าไปช่วยพัฒนาสินค้าของแต่ละกลุ่ม ทำ�ตัวอย่างขึ้นมา 1 หลังจากนั้น ก็เริ่มคุยกับกลุ่ม OTOP ก่อนว่าเขามีปัญหาอะไร ชิ้น เพื่อนำ�มาพรีเซ้นต์ให้ทางกรมคัดเลือกให้เหลือแค่ 25 กลุ่ม เราจะแก้ปัญหายังไง เหมือนเอางานออกแบบเนี่ยไปแก้ปัญหาให้ ค่ะ ของพี่ก็จะมีที่ภาคเหนือ 3 กลุ่ม คือจังหวัดแพร่ กลุ่มผ้าย้อม เขา เสร็จแล้วเราก็มานั่งวิเคราะห์ว่าเราจะทำ�สินค้าดั้งเดิมของเขา สีมะขาม ก็จะเป็นผ้าที่ย้อมสีมาจากมะขาม ก็จะทำ�ได้หลายสีนะ เนี่ยให้พัฒนาไปในทิศทางไหน ทำ�ผลิตภัณฑ์อะไรเพิ่มเติมได้บ้าง ทั้งต้น ดอก ใบ อะไรประมาณนั้น จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มคนิต และมันสามารถเอาเทรนด์ที่เราอบรมมาปรับใช้ได้ยังไงบ้าง เพื่อที่ ติ้งแม่ออน กลุ่มนี้จะทำ�เครื่องใช้ตกแต่งในบ้าน เช่น ผ้าคลุม เตียง ผ้าคลุมโต๊ะ ผ้าม่าน ที่รองจานอะไรประมาณนี้ ตอนแรก เลยสินค้าเค้าจะมีแค่สีเดียวคือสีขาวค่ะ จังหวัดเชียงราย กลุ่มปักมือบ้านสันกอง (ชนเผ่าอาข่า) คือ กลุ่มนี้จะมีป้านิที่เป็นหัวหน้า เขาก็จะแจกงานให้ชนเผ่าอาข่าอีก ทีนึง ชนเผ่าอาข่าก็จะลงมาทำ�งานกันที่บ้านป้านิ บางคนก็พูด ภาษาไทยได้ แต่ส่วนมากจะพูดไม่ได้เลย จริงๆของกลุ่มนี้จะมี สินค้าหลายแบบ แต่เขาส่งการปักลายอาข่ามาร่วมโครงการ ส่วนอีก 3 กลุ่มที่ภาคใต้ มีจังหวัดยะลา กลุ่มศรียะลาบาติก เขาจะถนัดในเรื่องการทำ�ผ้าบาติกแบบใช้บล็อก ก็คือทำ�บล็อก แกะไม้เป็นลวดลาย และมาปั๊มลงผ้าบาติก และก็มีจังหวัด


ลองยกตัวอย่างการพัฒนาสินค้า ของบางกลุ่มให้ฟังหน่อย

จะทำ�ให้สินค้าของเขานำ�ไปขายจริงใน ตลาดโลกได้ หลังจากนั้นก็เริ่มออกแบบตัวอย่าง ดีไซน์แบบออกมาและนำ�ไปไปพรีเซนต์กับ กรม ก็จะมีวันที่ทางกรมนัดดีไซเนอร์เข้า ไปพรีเซนต์งานเพื่อสรุปงานและกำ�หนด ทิศทางและกลุ่มเป้าหมายของแต่ละกลุ่ม OTOP คือเราก็ต้องคิดและออกแบบไป หลายทางด้วย ไม่ใช่แค่ทางเดียว เช่น อาจ จะทำ�สีสดใสๆให้เหมาะกับวัยรุ่น หรืออีก ทางก็คือสีเข้มๆขรึมๆหน่อยเหมาะสำ�หรับ คนที่มีวัยที่โตขึ้นมาหน่อย โดยคนที่ตัดสิน ว่าจะให้แต่ละกลุ่มจับตลาดที่ทาร์เก็ตไหนก็ คือทางกรม ก็จะมีผู้เชี่ยวชาญหลายๆท่าน แบบองค์ประชุมใหญ่ๆเลย พอเราพรีเซนต์ เสร็จ เขาก็จะดูความเหมาะสมว่าควรเอา

แนวทางไหนไปพัฒนา และก็จะแนะนำ�เรา กลุ่ม ผ่านเข้ารอบทั้งหมด 4 กลุ่ม พอผ่าน ด้วยว่า แบบนี้ ทรงนี้อาจจะไม่เหมาะ ลอง แล้วก็ต้องไปลงพื้นที่อีกครั้งเพื่อทำ�สินค้า ปรับเป็นแบบนี้ดีกว่า ซึ่งผู้เชี่ยวชาญที่มาตัด เพิ่มอีกกลุ่มละ 4 ชิ้น ทำ�ให้ได้กลุ่มละ 1 สินเนี่ย ก็จะเป็นคนที่มีความรู้เรื่องแฟชั่น คอลเลคชั่น รอบหลังที่ลงพื้นที่นี้ไม่ค่อย สินค้าต่างๆในญี่ปุ่น หรือบางคนก็เรียนจบ ยากแล้วเพราะเรารู้แล้วว่าเราต้องทำ�อะไร มาจากญี่ปุ่น ซึ่งทุกคนเป็นคนที่มีความรู้ บ้าง หาวัสดุจากไหน โดยเฉพาะเลย ทั้งการตลาด การออกแบบ พอทำ�สินค้าเสร็จครบทั้งคอลเลคชั่นแล้ว ก็ เทรนด์แฟชั่นต่างๆ เขาก็ให้คำ�แนะนำ�เรา จบหน้าที่ของดีไซเนอร์แล้วนะ กลุ่ม OTOP ได้ดีมากๆเลย พอสรุปได้เรียบร้อย เราก็ และทางกรมเขาก็จะเอาสินค้าไปแสดงงาน ลงพื้น สินค้าที่ญี่ปุ่น และก็จะเปิดรับออเดอร์กลับ ที่ไปทำ�สินค้าตัวอย่าง 1 ชิ้น มาไทยและผลิตสินค้าจริงให้ครบตามออเด พอทำ�ตัวอย่างเสร็จ 1ชิ้นเราก็ต้องกลับ อร์และส่งออกไปให้ผู้สั่งซื้ออีกครั้งที่ญี่ปุ่น มากรุงเทพ เพื่อพรีเซนต์สินค้าตัวอย่างให้ ส่วนดีไซเนอร์ไม่ได้ไปญี่ปุ่นด้วย ถ้าอยาก กับทางกรมคัดเลือกอีก จากทั้งหมด 50 ไปต้องออกเงินเอง ฮ่าๆ ก็จะมีแค่ลุงๆ กลุ่ม ก็จะคัดเลือกให้เหลือ 25 กลุ่มที่ได้ไป ป้าๆที่ไปกับกรมค่ะ แสดงสินค้าที่ญี่ปุ่น ในส่วนของพี่เองจาก 6

เอาของกลุ่มหมวกกะปิเยาะห์แล้วกัน คือของเขาไปไหนไม่ได้แล้วอ่ะ มันตันอ่ะ เพราะว่ามันเป็นแค่หมวก ซึ่งทาร์เก็ตมันมี แค่กลุ่มเดียวคือผู้ชายอิสลาม และเทคนิค การปักแบบนี้มันกำ�ลังจะตาย เพราะสมัย นี้มันมีจักรปักคอมพิวเตอร์ที่สามารถใส่ ลายและปักได้เลย ไม่ต้องมาเสียเวลาให้ ช่างฝีมือเป็นคนทำ� หมวกใบหนึ่งของกลุ่ม OTOP ราคาประมาณ 150 บาท แต่หมวก ที่ปักจากจักรคอมพิวเตอร์ราคา 80 บาท ซึ่งมันง่ายกว่าและราคาถูกกว่า เหมือนขาย ตัดราคากันไป ทำ�ให้กลุ่ม OTOP และงาน ฝีมือแบบนี้มันกำ�ลังจะหายไป ซึ่งในส่วน ของพี่เป็นนักออกแบบ ที่ทางกรมเขาเห็น ว่าพี่สามารถพัฒนาลวดลายได้ กลุ่มส่วน ใหญ่ที่ได้มาจึงเป็นกลุ่มที่มีปัญหาเรื่อง ลวดลาย ซึ่งเราจะพัฒนายังไง อย่างกลุ่ม นี้เขามีลายของเขาอยู่แล้ว และจักรของ เขามันจะมีลิมิตในการปักอยู่ เช่น อาจ จะไม่สามารถปักวงกลมได้กลมเป๊ะๆเลย ดีไซเนอร์แบบเราก็ต้องคำ�นึงถึงด้วยว่า ลวดลายที่เราจะพัฒนามันจะสามารถทำ�ได้ จริงหรือเปล่า และก็ต้องเป็นลวดลายที่ รักษาเอกลักษณ์ดั้งเดิมของเขาไว้ด้วย อาจ จะประยุกต์เสริมเติมแต่งนิดหน่อย และก็ ต้องคำ�นึงถึงศาสนาอิสลามของเขาด้วย หลังจากที่พัฒนาลวดลายแล้ว เราก็ เลยเพิ่มโปรดักส์ที่เป็นกระเป๋าแฟชั่นเข้ามา และลองเปลี่ยนผ้าด้วย คือผ้าดั้งเดิมของ เขาจะเป็นผ้าเงาๆ ซึ่งวัยรุ่นจะไม่ชอบใช้ ผ้าเงาๆแบบนี้ เราก็ไปหาผ้าในชุมชนของ เขานี่แหละ ก็ขี่มอเตอร์ไซต์ไปกับป้าที่เป็น หัวหน้ากลุ่ม ไปหาร้านผ้าที่อยู่ในจังหวัด และจดว่าร้านไหนมีผ้าแบบไหนบ้าง การ จะทำ�อะไรมันค่อนข้างยากเหมือนกัน เพราะที่นั่นคือสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เราต้องพยายามหาของที่เขาหาได้ในชุมชน ของเขาเอง เพราะการที่เขาจะมาซื้อของ จากที่อื่น หรือในกรุงเทพมันลำ�บาก แต่ก็ มีบางอย่างที่ในชุมชนไม่มี เช่นพวกอะไหล่ กระเป๋า แต่พี่ก็จะไปซื้อที่สำ�เพ็งมาให้เขานี่ แหละ และก็ติดต่อร้านที่สำ�เพ็งจดเบอร์จด

ข้อมูลติดต่อมาให้ ก็สั่งให้ร้านเขาส่งอะไหล่ ทำ�ได้ดีอีกด้วย ส่วนกลุ่มหมวกกะปิเยาะห์ มาทางไปรษณีย์เอา คือพี่เริ่มตั้งแต่ออกแบบ เขาก็จะมีลวดลายของเขาอยู่แล้วที่เขาปัก ผลิตภัณฑ์ ออกแบบลวดลาย หาวัสดุ คือ มาดั้งเดิมหลายๆรุ่นมาแล้ว แต่เราก็ ทำ�ทุกอย่างอะ และเราก็ควบคุมการผลิต ช่วยแตกลายให้เพิ่มมากขึ้น อย่างเช่น ด้วย สามเหลี่ยม ก็สามารถแตกเป็นแบบ ทำ�ยังไงให้การพัฒนาสินค้า OTOP สามเหลี่ยมต่อซ้อนๆกัน มันก็สามารถ ไม่สูญเสียเอกลักษณ์ดั้งเดิม ประยุกต์ขึ้นมาได้ แต่โดยรวมแล้วก็ต้องยัง อย่างแรกเราต้องจับเอกลักษณ์เขามา ให้คงความเป็นเอกลักษณ์และความเป็น ให้ได้ก่อน อย่างของกลุ่มปักอาข่าเขาจะมี ศาสนาอิลสามของเขาอยู่ ลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ของเขาอยู่แล้ว เราจะไปเปลี่ยนของเขามันก็ไม่ได้ไง แต่สิ่ง เป็นยังไงกันบ้างคะ ความรู้ ที่เราเลือกปรับเปลี่ยนก็คือคู่สี มันทำ�ให้ดู อัดแน่นมากๆเลย อย่างเราเอง วัยรุ่นขึ้นมากเลยนะ แล้วก็มิกซ์กับวัสดุที่ดู ก็ไม่เคยรู้เลยว่ามีโครงการดีๆ วัยรุ่นขึ้น แค่นี้มันก็ดูวัยรุ่นขึ้นแล้วอะ โดยที่ เราก็ยังใช้ลายปักแบบดั้งเดิมอยู่ แล้วจะ แบบนี้อยู่ด้วย ถ้าไม่ใช่คนใกล้ เปลี่ยนคู่สีไปเรื่อยๆก็ได้ มันก็ได้หลายแบบ ตัวของเราได้เข้าไปมีส่วนร่วม แล้ว เพราะแต่ก่อนสีที่เขาใช้มันจะดูทึมๆ เราอาจจะไม่รู้ก็ได้ เราเลยอยาก หน่อยไม่สดใส ส่วนของกลุ่มถักคนิตติ้งจะ เอามาแบ่งปันกันให้คนอื่นๆได้ ไม่มีลายตายตัว แต่เขามีเอกลักษณ์ก็คือ รู้ด้วย ในตอนที่ 1 นี้ก็พูดถึง ลายถักที่ซับซ้อน คือเขามีไอเดียการถักที่ ตัวโครงการไปแล้ว ตอนต่อไป ซับซ้อนมาก ถ้าเขาถนัดลายไหนเป็นพิเศษ รับรองสนุกแน่ เพราะพี่ภาจะ เราก็จะเน้นลายนั้นๆ ไม่เหมือนกับอาข่า มาเล่าประสบการณ์ที่ได้ลงไป คือถ้าเราเปลี่ยนลายอาข่ามันก็ไม่อาข่าแล้ว ของกลุ่มถักคนิตติ้งพอดีกับที่เราไป คลุกคลีกับลุงๆป้าๆ อุปสรรค อบรมเรื่องเทรนด์ของญี่ปุ่นมา ทางอาจารย์ และปัญหาที่ต้องเจอระหว่าง ญี่ปุ่นเขาก็แนะนำ�มาว่า ผ้าโปร่งๆ ผ้ารูๆ การทำ�งาน อย่าลืมรอติดตาม ผ้าตาข่ายกำ�ลังจะมา กำ�ลังอินเทรนด์ เรา ตอนต่อไปนะคะ อีกไม่นานเกิน ก็เลยเอาส่วนนั้นมาปรับกับลายคนิตติ้ง คือ รอ! ถักให้ห่างๆขึ้นให้มีความโปร่งแบบเทรนด์ ติดตามผลงานพี่ภาได้ที่นี่เลย ของญี่ปุ่นด้วย แถมยังช่วยย่นระยะเวลาการ Facebook : PABAJA Website : www.pabaja.com


ART IS N O T JU S T D RAW



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.