SPACE

Page 1

SP

CE TEXTILE MAGAZINE

NEW BRAND

“FEUILLES” SEE WHAT THEY SAW

“LAOS FASHION”

LET ME WATCH THIS

“THE HEAT”



มา

ถึงเล่มที่ 10 ถือว่าเป็น เล่มที่พิเศษมากๆ เล่ม หนึ่งของ SPACE ที่เราได้มีโอกาส ได้ ไปชมผลงาน งานจัดแสดง วิ ท ยานิ พ นธ์ ข องสาขาการออกแบบ สิ่งทอ ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบัง เมื่อวันที่ 28-29 เมษายน 2559 ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นสาขาแรกของ ภาควิชา ที่ส่งวิทยานิพนธ์ก่อนสาขา อื่น โดยภาพรวมของงานทั้งหมด ถือว่า เป็นงานที่ยอดเยี่ยมและมีความสวยงาม เป็นอย่างมาก แต่แล้วเราก็สะดุดกับผล งานของนักศึกษา 2 ท่าน ที่สร้างความ ประทับใจให้เราเป็นอย่างมาก โดยผล งานของแต่ละคนไม่มีใครยอมใครกันเลย ทีเดียว เราจึงได้มีโอกาสสัมภาษณ์ นัก ออกแบบจบใหม่ 2 ท่านนี้ และขอผลงาน มาแบ่งปันความประทับใจที่เราได้รับให้ผู้ อ่านได้ชมกัน

บรรณาธิการ


CONTENT 06 INTERVIEW NEW BRAND “FEUILLES”

012 TECHNIQUE LET ME WATCH THIS “THE HEAT” 022 TRADITIONAL TEXTILE SEE WHAT THEY SAW “LAOS FASHION”



FEU


UILLES xBOHO STYLE

TAECHINEE CHIAMMUNCHIT


INTERVIEW

TAECH


HINEE CHIAMMUNCHIT เตชินี เจียมมั่นจิต นักศึกษาชั้นปีที่ 5 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

เริ่มมาจากเราอยากใช้วัตถุดิบที่มีอยู่ ตามธรรมชาติ ที่มันไม่ได้มีประโยชน์ หรือมีมูลค่ามาทำ�ให้มันเกิดมูลค่าขึ้น มา ซึ่งวัตถุดิบที่เลือกใช้ก็คือมะเดื่อ อุทุมพร คือนำ�มาใช้ทำ�สีพิมพ์ ส่วน แรงบันดาลในการออกแบบลายผ้า ก็มาจากธรรมชาติ ได้แก่ ใบไม้ ดอก หญ้า และผลมะเดื่อ ซึ่งกระบวนการ ผลิตก็จะเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่ เป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ผลิต และผู้บริโภค ชื่อ Collection ก็คือ FEUILLES อ่านว่าเฟยเป็นภาษาฝรั่งเศษแปลว่าใบไม้ วัตถุดิบที่เลือก มี3อย่าง คือ มะเดื่อ ประดู่ หูกวาง Brand reference คือแบรนด์ Free people เป็นแบรนด์ที่เสื้อผ้าจะ ออกแนว Boho

“ เราอยากใช้วัตถุดิบที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของ ผู้ผลิตและผู้บริโภค ” 06


INTERVIEW


08



08


INTERVIEW


010


Photographer: Jirapat Montrisavatkul Model: Mariona SB Makeup: Rin Nahathai Hair: Mujalin Piyaprapai


Accidential Effects Heat Transfer

Susha Yamklin

สุชา แย้มกลิ่น

นักศึกษาชั้นปีที่ 5 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

โครงการออกแบบเครื่อง แต่ ง กายสตรี จ ากเทคนิ ค ที่ เ รี ย ก ว่า Accidential Effects ด้วย กระดาษอาร์ตมัน ผสมผสานกับ การสร้ า งลวดลายจากเส้ น ด้ า ย ด้วยวิธีการ Heat transfer งาน มาจากเทคนิคการสร้างลวดลาย ด้วยกระดาษเคลือบผิว ทำ�ให้ได้ ลวดลายที่เป็นรอยแตกยับ นำ�มา ผสมผสานกั บ การคอลลาจเป็ น ลายของดอกไม้ เพื่อให้งานไม่ดู แข็งกระด้างเกินไป โดยรูปแบบชุด จะเป็นสไตล์ 70s มีกลิ่นอายของ ความฮิปปี้ ที่ตรงกับเทรนด์ใน ช่วงนี้

012


TECHNIQUE LET ME WATCH THIS

“THE HEAT”


TEXTILE

x 70s STYLE

014


TECHNIQUE

HE TR FE


EAT RANSER หลักการสกรีนของระบบนี้คือการ ใช้เครื่องพิมพ์ Ink Jet บรรจุน้ำ� หมึก Sublimation ซึ่งหมึกชนิดนี้ จะสามารถติดบนพลาสติกได้ และ น้ำ�หมึก Pigment สำ�หรับสกรีนแบบ กระดาษ Heat Tranfer จึงแบ่งย่อย ได้เป็น 2 แบบ


TECHNIQUE


“ 70s กลิ่นอาย ของความฮิปปี้” 1. วิธีการนี้นิยมมากที่สุด เรียกว่า Sublimation กระบวนการสกรีน เริ่ ม โดยการสั่ ง งานพิ ม พ์ ล งบน กระดาษ Sublimation จากนั้นนำ� กระดาษที่พิมพ์ลายสกรีนไปวางบน เสื้อแล้วรีดด้วยเตารีด หรือเครื่องรีด ร้อน เนื่องจากความร้อน หมึกที่อยู่ บนกระดาษจะระเหิดไปเกาะบนเสื้ อ ซึ่ ง เสื้ อ ที่ จ ะติ ด ได้ ต้ อ งเป็ น พลาสติ ก เท่านั้น เสื้อที่นำ�มาสกรีนด้วยวิธีนี้ จึงควรเป็นเสื้อที่ผลิตจากพลาสติก Polyester ชื่อในทางตลาดคือ TK หรือ TC ที่พอมีส่วนผสมของ Cotton แต่ลายสกรีนอาจไม่เด่นชัดเท่า TK หากนำ�ไปสกรีนลงบน Cotton เมื่อนำ�ไปซักลายสกรีนจะค่อยๆหลุด ออกจากเสื้อ ข้อดี : สกรีนได้หลายสี ต้นทุนถูก หมึกซึมไปในเส้นใยจับแล้วไม่รู้สึกถึง สีสกรีน และไม่ต้องใช้แรงงานในการ สกรีน ใช้เพียง 1-2 คนก็สามารถ ทำ�งานสกรีนเป็น 1000 ตัวได้ ข้อเสีย : ไม่สามารถพิมพ์ลงบน เสื้อเข้มได้ และไม่สามารถพิมพ์ลงบน เสื้อ Cotton ได้

2. วิธีการนี้เรียกว่า Heat Transfer บางร้านอาจเรียก Sublimation ว่า Heat Transfer ซึ่งจริงๆแล้วมันแตก ต่างกัน Heat transfer แปลตามชื่อ ก็หมายถึงการแลกเปลี่ยนความร้อน แต่ในงานสกรีนคือ การทำ�ให้สีติด โดยใช้การแลกเปลี่ยนความร้อน ซึ่ง ยั ง แตกย่ อ ยอี ก หลายกระบวนการ แต่ ที่ นิ ย มในไทยจะเป็ น การพิ ม พ์ ลงกระดาษที่ มี ก าวเคลื อ บไว้ ด้ า น หลัง ก่อนจะนำ�ไปรีดต้องแกะด้าน กาวออกก่อนเหมือนแกะสติกเกอร์ เมื่อนำ�ไปรีดร้อนหมึก Pigment จะ ไม่ระเหิดแต่จะอยู่บนกระดาษ ส่วน กระดาษที่ใช้จะแตกต่างกันเพราะมัน จะเคลือบกาวไว้เมื่อโดนความร้อน จากเครื่องรีด กระดาษนั้นจะติดกับ เสื้อนั่นเอง เหมือนกับเฟล็กติดเสื้อ ฟุตบอล ข้อดี : สามารถสกรีนบนเสื้อเข้ม ได้ หรือเสื้อ Cottonได้ ข้อเสีย : ภาพเป็นกรอบสี่เหลี่ยม หากจะตัดให้ ได้รูปทรงต้องนำ�มาตัด ด้วยเครื่องตัดสติกเกอร์อีกที อีกทั้ง เสื้อสกรีนแบบนี้จะร้อนและหนักกว่า เพราะเหมือนมีกระดาษหนาๆไปแปะ บนเสื้อ และ ลายสกรีนจะไม่คงทน เมื่อผ่านการซัก 4-5 ครั้งลายสกรีน อาจจะหลุดออกมาได้

018




LAO FAS

SEE WHAT THE


OS SHION

EY SAW

สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว


TRADITIONAL TEXTILE

TRADITIONAL TEXTILE

LAOS

FASHION คนลาวหลายชุมชนปลูกหม่อน เลี้ยง ไหม ละทอผ้าไหมเป็นลวดลายต่างๆ เช่น ลายนาค ลายช้าง ลายเรขาคณิต โดย ลวดลายจะแตกต่างกันไปแล้วแต่ความ คิดสร้างสรรค์ นอกจากไหมแล้ว คนลาว ก็มีความชำ�นาญในการทอและย้อมผ้า ฝ้ายเช่นกัน เช่น แขวงสะหวันนะเขต มีผ้า ฝ้ายย้อมครามทอเป็ดลวดลายสวยงาม ปั จ จุ บั น ผ้ า ท อ เ ห ล่ า นี้ ไ ด้ ป รั บ ป รุ ง คุณภาพและรูปแบบให้ทันสมัย ส่งไปยัง ต่างประเทศเป็นสินค้าส่งออกของลาว เป็ น ประเทศที่ อ ยู่ ชิ ด ชายแดนไทยทาง ด้ า นตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ทางจั ง หวั ด หนองคาย ข้ามแม่น้ำ�โขงไปอีกฟากหนึ่ง ก็จะถึงเมืองเวียงจันทร์ นอกจากชนชาติ ลาวซึ่งบางครั้งเรียกว่าลัวะ หรือละว้า ยังมีชนเผ่าต่าง ๆ อีก ได้แก่ 1. กลุ่มชนเผ่าไท-ลาว คือพวกไทแดง ไทขาว ไทดำ� ย้อ ลื้อ 2. กลุ่มม้ง-เย้า 3. กลุ่มพม่า-ธิเบต รวมถึงมูเซอ ล่าฮู

022


N

4. กลุ่มมอญ-เขมร รวมถึงขมุ การทอผ้าของกลุ่มชาวไท-ลาว ใช้ เทคนิคการทอ 6 วิธี ได้แก่ - มัดหมี่ หรือ IKAI (อีขัด) - จก หรือ เทคนิค การเพิ่ม ด้ายเส้นพุ่งพิเศษเป็นช่วง ๆ ไม่ติดต่อ กันตลอดหน้าผ้า - ชิด หรือเทคนิคการเพิ่มด้วย เส้นพุ่งพิเศษติดต่อกันตลอดหน้าผ้า - เหยียบเกาะ หรือเทคนิคการทอ แบบใช้เส้นด้ายหลายสีเกี่ยวหรือผูกเป็น ห่วง (เป็นเทคนิคการทอของชาวไทลือ) - ตามุก หรือเทคนิคการเพิ่มด้าย เส้นยืนพิเศษ - หมากไม หรือเทคนิคการปั่น ด้ายเส้นพุ่ง 2 สีเข้าด้วยกัน ผ้าทอมีบทบาทสำ�คัญในชีวิต ครอบครัวของชาวไท-ลาว ทุกวันนี้พิธี แต่งงานแบบดั้งเดิมของ คนไท-ลาวยัง คงใช้เครื่องแต่งกายที่งดงาม ประณีต ชุดเจ้าสาวทอด้วยไหมเส้นละเอียด สอด แทรก ด้วยเส้นเงินเส้นทอง ผ้าเบี่ยง ซิ่น และตีนซิ่น จะมีสีและลวดลายรับกัน เจ้า บ่าวนุ่งผ้านุ่งหรือผ้า เตี่ยวทอด้วยไหม ละเอียดสีพื้น อาจะใช้เทคนิคการทอแบบ “หมากไม” คือการปั่นเส้นใย สวมเสื้อ แบบฝรั่ง มีผ้าพาดบ่าเพื่อเข้าพิธีสู่ขวัญ ในอดีตชนชาติลาวครั่งจะทอผ้าซิ่น ไหมหรือผ้าซิ่นฝ้ายไว้นุ่งเอง โดยจะใช้ ผ้าซิ่นฝ้ายไว้นุ่งทำ�งาน ส่วนผ้าตีนจกจะ ทอขึ้นเพื่อใช้ ในเวลามีงานบุญงานแต่ง โดยเฉพาะเจ้าสาวจะต้องทอผ้าหน้ามุ้ง ผ้าห่ม ปลอกหมอน ผ้าปูที่นอน ผ้าสไบ ผ้าเช็ดเท้า หมอน และผู้ ที่ เ ป็ น เจ้ า บ่ า วจะต้ อ งมาช่ ว ยเจ้ า สาวปั่นด้ายในเวลากลางคืน และชนชาติ ล าวครั่ ง จะต้ อ งมี ผ้ า สี แ ดง

อยู่ ๑ ผืน ซึ่งมีลวดลายสวยงามที่สุด เพราะผ้ า ผื น นี้ จ ะเก็ บ ไว้ ใ ช้ ห่ ม ก่ อ นเสี ย ชี วิ ต ซึ่ ง เชื่ อ ว่ า จะมี ชี วิ ต สุ ข สบายในภพ หน้า นอกจากนี้แล้วจะทอผ้าไว้เพื่ออุทิศ ส่วนกุศลผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ผ้าซิ่นของชนชาติลาวครั่งยังมี เอกลักษณ์เฉพาะที่ไม่เหมือนผ้าซิ่นของ ชนชาติอื่น คือผ้าซิ่นจะมี ๓ ส่วน ซึ่ง เปรียบได้กับอวัยวะของมนุษย์ คือ มีหัว ตัว ตีนส่วนตัวและหัวจะมีสีอะไรก็ได้ แต่ ส่วนตีนจะต้องเป็นสีแดง ปัจจุบันได้มี การเปลี่ยนแปลง คือ ไม่มีส่วนหัว และ ส่วนเชิงจะต้องเป็นสีเดียวกับตัวผ้าซิ่น สำ�หรับผ้าซิ่นของชนชาติลาวครั่งที่ทอ จากผ้าไหมจะนิยมสีแดง นอกจากนี้ยัง นำ�วัตถุดิบจากรอบตัว คือ ดอกไม้ ใบไม้ เปลือกไม้ มาทำ�ให้เกิดสีต่างๆ เช่นสีเขียว สีม่วง สีชมพู สีเทา สีน้ำ�ตาล คนที่นี่ยัง ได้กำ�หนดความหมายของสีแต่ละสีด้วย เช่น สีขาว หมายถึง ความสว่าง ท้องฟ้า สีดำ� หมายถึง ความมืด สีเขียว หมาย ถึง ใบไม้ป่าไม้ เป็นต้น ส่วนลายผ้าก็จะ จินตนาการจากสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัว เช่นกัน คือ ดอกไม้ ดาวบนท้องฟ้าสิ่ง ปลูกสร้าง สัตว์ต่าง ๆ อันเป็นการแสดง ถึงความเป็นธรรมชาติท่ีอ่อนช้อยและ งดงามอย่างมาก การทอผ้าลายลาวโบราณของคน บ้านไร่ จะมีอยู่เกือบทุกหมู่บ้าน แต่ก่อน คนที่นี่ทอไว้ใช้ ซึ่งใช้เวลาจากการว่าง งานเกษตรที่เลี้ยงชีพ จนลือชื่อลือเลื่อง จากลายผ้าที่เป็นเอกลักษณ์ และถือเป็น ดินแดนแห่ง “ราชินีผ้าทอ” กลุ่มวัฒนธรรมลาวครั่ง หรือที่ ปัจจุบันเรียกว่าไทครั้งนั้น มีประวัติการ อพยพโยกย้ายถิ่นฐานมาจากแถบเมือง หลวงพระบางในประเทศลาว และเมื่อได้ ผสมผสานกั บ กลุ่ ม วั ฒ นธรรมไทยวน

แถบเมืองเชียงใหม่ เชียงราย เชียงแสน แล้ว ก็เกิดมีเอกลักษณ์ของตนชัดเจน ยิ่งขึ้น ดังเช่นผ้าซิ่นของกลุ่มวัฒนธรรม ลาวครั่งผืนนี้ ซึ่งชาวลาวครั่งนิยมเรียก ว่า ซิ่นหมี่ไหมตีนจก หรือซิ่นหมี่สับขิด หรือซิ่นหมี่ตา ตัวซิ่นจะเป็นลายริ้วตั้ง ในแต่ละริ้วจะตกแต่งด้วยกรรมวิธีการ ทอแบบขิดสลับกับการมัดหมี่ โดยริ้วที่ เป็นมัดหมี่จะมี 2 แบบ แบบที่ 1 เป็นริ้ว มัดหมี่ พื้นสีม่วงอ่อน ตอนบนสุดจะเป็น ลายนาคช่อดอก ตอนล่างเป็นลายขอ นาคตัวใหญ่ หรือขอนาคเกี้ยว ส่วนแบบ ที่ 2 เป็นริ้วมัดหมี่ พื้นสีน้ำ�ตาล ตอนบน เป็นลายนาคก้นตี๋หรือนาคก้นตี่ มีสอง หัวและหน้าหันออกทางด้านซ้ายและขวา ต่ำ�ลงไปเป็นลายขอนาค หรือลายนาค เกี้ยว ลวดลายทั้งหมดดังกล่าวนี้ เป็น ลายที่กลุ่มชาวลาวครั่งนิยมมาก ส่วน ลวดลายในแถบริ้ ว ขิ ด นั้ น เป็ น ลายกาบ แบบ ในส่วนตีนซิ่นที่ตกแต่งด้วยกรรมวิธี การจกนั้น มีแนวลายจกบนสุดสีขาว-ดำ� เป็น “ลายดอกเจียง” ต่อลงมาเป็นลาย จกรูปม้าสลับหลายสี ซึ่งชาวลาวครั่ง นิยมเรียกว่า “ลายอิ๊งยองม้า” ใต้ลงไป อีกเป็นแนวลายจกสีขาวเป็นเส้นคดโค้ง ไปมา เรียก”ลายบัวเคีย” ตอนกลางของ ตีนจกเป็นลายนาคก้นตี่ ซ้อ นลายนาค ก้นตี่ซ้อนเป็นลายพิเศษ ที่หายาก เพราะ การผูกลายและการทอมีความสลับซับ ซ้อนมาก ลายประกอบที่กระหนาบบน ล่างของลายนาคก้นตี่ ปรากฏเป็นลาย ในกรอบสามเหลี่ยม เรียกลายกาบ ส่วน ลายรู ป สี่ เ หลี่ ย มขนมเปี ย กปู น ที่ คั่ น อยู่ ระหว่างลายนาคแต่ละชุดเรียกลาย ดอก ตะเวน หรือลายดอกตะวันตอนล่างต่ำ� ลงไปอีกเป็นลายบัวเคียอีกครั้งหนึ่ง ตาม ด้วยลายอิ๊งยองม้า ลายขีด 024


SAME SAME DIFFERENT


IDEA IDEA EXECUTION


‘ Fashion is not something that exists in dresses only. Fashion is in the sky, in the street, fashion has to do with ideas, the way we live, what is happening.’ - Coco Chanel ISSUE 10 / MAY 2016

85.-


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.