จุฬาลงกรณ์บรมราชสันตติวงศ์

Page 1

จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ |

หน้า บทที่ 1 ตำนำนปฐมวงศ์

2

บทที่ 2 รำชสกุล

17

บทที่ 3 พระรำชประวัติพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว

35

บทที่ 4 จุฬำลงกรณ์บรมรำชสันตติวงศ์

42

บทที่ 5 ธรรมเนียมในรำชสำนัก

60

บรรณำนุกรม

68

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์

๏ จะขอกล่าวถึงความประวัติเปนไปต่าง ๆ ในโลกย์นี้ จนถึงกาลเมื่อ ละโลกย์นี้ล่วงไปยังปรโลกย์ ของพระองค์ท่านซึ่งเปนบุรพบุรุษในพระบรมราช วงษ์อันนี้ซึ่งเปนชั้นต้น คือสมเด็จพระบรมมหาไปยกาธิบดี แลสมเด็จพระ ไปยิกาใหญ่ แลสมเด็จพระไปยิกาน้อย 3 พระองค์ แลชั้นสองคือ พระเอารส พระธิดา ของสมเด็จพระบรมมหาไปยกาธิบดีทั้ง 7 พระองค์ ดังออกพระนาม มาแต่ ก่ อ น ตามก าหนดประวั ติ เ วลาของพระองค์ นั้ น ๆ เรี ย งไปในล าดั บ โดยสังเขปเพื่อจะให้ผู้อ่านผู้ฟังได้สติปลงพระไตรลักษณปัญญา ปลงเห็นอนิจจ ลักษณ ทุก ขลั กษณ อนัต ตลั กษณ เพราะได้ สดับ เรื่ องนี้จ ะได้ ไม่ ปราศจาก ประโยชน์ในทางภาวนามัยกุศล ซึ่งเปนกุสโลบายอันใหญ่อันงามกว่ากุศลอื่น ๚ ๏ สมเด็ จ พระบรมมหาไปยกาธิ บ ดี นั้ น ทราบแต่ ว่ า ได้ ด ารง พระชนมายุแลศุขสมบัติครอบครองสกุลใหญ่ แลมีอานาจในราชกิจดังกล่าว แล้วอยู่สิ้นกาลนาน จนตลอดเวลาพม่าข้าศึกเข้าล้อมกรุงเทพทวาราวดีศรีอ ยุทธยา ในคราวที่กรุงจะแตกทาลายนั้น ๚ ๏ สมเด็จพระไปยิกาพระองค์ใหญ่นั้น ได้มีพระเอารส พระธิดา 5 พระองค์แล้ว ก็สิ้นพระชนม์ล่วงไปโดยนัยที่กล่าวมาแล้ว แต่เมื่อสิ้นพระชนม์ นั้น พระชนมายุเท่าไรไม่ทราบถนัด พระไปยิกาพระองค์น้อย ได้รับปรนิบัติ จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | สมเด็จพระบรมมหาไปยกาธิบดีบดี ในที่นั้นต่อมาได้ประสูตรพระธิดาพระองค์ หนึ่งแล้ว จะสิ้นพระชนม์เมื่อใดก็หาได้ความเปนแน่ไม่ ได้ความเปนแน่แต่ว่า เมื่อเวลาพม่าเข้าล้อมกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทธยาเวลาที่สุดนั้น สมเด็จพระ บรมมหาไปยกาธิบดีมีพระดาริห์จะออกจากกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทยา หลีก หนีข้าศึกไปอยู่ให้ห่างไกล จะชักชวนพระเอารสพระธิดาทั้งปวงตามเสด็จไป ด้วยพร้อมกัน พระเอารสพระธิดาทั้ง 6 พระองค์ที่ทรงพระเจริญ แล้วนั้น ได้ แยกย้ า ยไปตั้ งสกุ ล อื่ น มี พ ระบุ ต ร พระบุ ต รี เกี่ ย วข้ อ งเปนห่ ว งใยพั ว พั น มากมาย จะรวบรวมมาพร้อมเพรียงกันแล้วคุมเปนพวกใหญ่ออกไปโดยง่ายหา ได้ไม่ เมื่อได้ช่องจึงได้พาแต่พระกุมารพระองค์น้อยกับหญิงบาทบริจาริก ซึ่ง เปนหม่อม มารดาของพระกุมารนั้นไปอาไศรยอยู่ณ เมืองพระพิศณุโลก ได้ ทรง ปรนิบัติแด่เจ้าเมืองพระพิศณุโลก ซึ่งทราบไปว่ากรุงเทพทวาราวดีศรีอ ยุทธยาอยู่ในเนื้อมือพม่าข้าศึกแล้ว ก็ถืออานาจตั้งตนเปนเจ้าแผ่นดินใหญ่ขึ้น ในเวลานั้น ได้ที่สมุหนายกอรรคมหาเสนาธิบดี ๚ ๏ เจ้าเมืองพระพิศณุโลกนั้นมีจิตรกาเริบ บังคับให้ทอดโฉนดบาด หมายอ้างบังคับตนเรียกว่า พระราชโองการ โดยไม่มีการพิธีราชาภิเศก อยู่ได้ 7 วัน ก็ถึงแก่พิราไลย ก็เมื่อเจ้าเมืองพระพิศณุโลกถึงแก่พิราไลยแล้ว องค์ สมเด็จพระไปยกาธิบดีจะทรงปรนิบัติอยู่ประการใด ความไม่ทราบถนัด ทราบ แต่ว่าภายหลังทรงพระประชวรแล้วเสด็จสวรรคตอยู่ในเมืองพระพิศณุโลก เมื่อเวลากรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทธยาแตกทาลายแล้วมิได้นาน กาลังการ บ้านเมือ งยั งเปนจลาจลอยู่นั้น จึ งพระโอรส คือ กรมหลวงจัก รเจษฎากั บ หม่อมมารดาซึ่งตามเสด็จไปด้วยนั้น ได้มีความกตัญญูกตะเวทีได้จัดการถวาย พระเพลิงตามกาลังที่จะทาได้แล้ว ได้เชิญพระบรมอัฐิกับพระมหาสังข์อุตราวัฏ ซึ่ งเปนของส าหรั บ สกุ ล สื บ มาแต่ ก่ อ นเปนส าคั ญ คื น น ากลั บ ลงมาแล้ ว ได้ ทูลเกล้า ฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ เมื่อครั้งเสด็จ อยู่วังบ้านหลวงในกรุงธนบุรีเมื่อแผ่นดินเจ้ากรุงธนบุรีนั้น เปนความชอบอัน ยิ่งใหญ่ของกรมหลวงจักรเจษฏา แลคุณมาซึ่งเปนหม่อมมารดานั้นอยู่ ครั้น เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ ได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ บรมราชาภิเศกแล้ว จึ่งได้เชิญพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมชนกนารถนั้นใส่พระ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ โกษฐทองคาประดับด้วยพลอยทับทิม ตั้งประดิษฐานในหอพระที่นมัสการใน พระบรมมหาราชวัง สาหรับทรงสักการบูชาทุกค่าเช้ามิได้ขาด แลสาหรับให้ พระราชวงษานุวงษ์แลข้าทูลลอองธุลีพระบาท ได้กราบถวายบังคมในวันถือ น้าพระพิพัฒน์สัตยาแทนธรรมเนียมเดิม ซึ่งเปนโบราณจารีตมีนิยมให้คานับ พระเชษฐบิ ด ร ซึ่ งเปนพระราชปฎิ ม ากรรู ป ของสมเด็ จ พระเจ้ า รามาธิ บ ดี เปนปฐม คือพระองค์ซึ่ง สร้างกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทธยามหานครแต่ก่อน นั้น ได้เปนที่นมัสการของพระเจ้าแผ่นดิน แลเปนที่ถวายบังคมของพระราช วงษานุวงษ์แลข้าราชการในวันถือน้าพระพิพัฒน์สัตยาในพระนครนั้นสืบ ๆ มา จนสิ้นแผ่นดินกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทธยานั้น ๚ ๏ กล่าวด้วยประวัติของท่านซึ่งเปนบุรพบุรุษชั้นต้นสิ้นแต่เท่านี้ ๚ ๏ กรมสมเด็ จ พระเทพสุ ด าวดี นั้ น กั บ ทั้ ง พระภั ศ ดา พระโอรส พระบุตรี เมื่อกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทธยายังไม่แตกทาลาย จะตั้งอยู่ตาบลใด ไม่ทราบถนัด ทราบแต่ว่าพระภัศดาของท่านพระองค์นั้นมีนามว่าหม่อมเสม ได้รับปรนิบัติในราชการแผ่นดิน เปนที่ พระอินทรรักษา เจ้ากรมพระตารวจ ใหญ่ซ้ายฝ่ายพระบวรราชวัง ได้ประสูตรพระโอรส 3 พระธิดา 1 ซึ่งออกพระ นามมาแล้วนั้นก่อนแต่กรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทธยายังไม่แตกทาลาย ก็ฝ่าย พระภัศดานั้นจะถึงแก่พิราไลยเมื่อใดไม่ทราบเปนแน่ เปนแต่เมื่อครั้งแผ่นดิน กรุงธนบุรีไม่มีแล้ว มีแต่กรมสมเด็จพระเทพสุดาวดี กับพระโอรสพระธิดาทั้ง 4 เสด็จมาประทับตั้งอยู่ที่ตาบลสวนมังคุด ซึ่งบัดนี้เปนที่วังเก่าของเจ้าฟ้ากรม ขุนอิศรานุรักษ์ ซึ่งกรมหมื่นเทวานุรักษ์ แลหม่อมเจ้าในกรมขุนอิศรานุรักษ์ยัง ครอบครองอยู่นั้น แต่เวลานั้นเรียกว่าบ้านปูนตามนามสถานที่แต่บุราณมา ๚ ๏ กรมสมเด็จ พระเทพสุด าวดี ไ ด้ถ วายพระโอรสพระธิ ดา ให้ ท า ราชการฝ่ า ยน่ า ฝ่ า ยในในแผ่ น ดิ น เจ้ า กรุ ง ธนบุ รี แลได้ พึ่ ง พระบารมี ใ น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ แลพระเจ้าอยู่หัวกรมพระราชวัง ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์นั้นทั้งสองพระองค์ ซึ่งได้ ทาราชการในตาแหน่งมีอานาจใหญ่เวลานั้นด้วยจึงได้คุ้นเคยเฝ้าแหนได้ในเจ้า กรุงธนบุรีเนือง ๆ ๚ จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | ๏ กรมสมเด็จ พระศรี สุด ารั กษ์นั้ น เมื่อ ครั้ งกรุงเทพทวาราวดี ศรี อยุทธยา ได้พระภัศดาเปนบุตรที่ 4 ของมหาเศรษฐีซึ่งเปนผู้สืบเชื้อวงษ์ลงมา แต่มหาเสนาบดีเมืองปกิ่ง แต่ครั้งแผ่นดินเจ้าปกิ่งเม่งไท้โจ ซึ่งเปนพระเจ้าปกิ่ง ที่สุดในวงษ์หมิง ครั้นพระเจ้าปกิ่งเม่ งไท้โจเสียเมืองแก่พวกตาดแล้ว ท่า น เสนาบดีนั้นกับเสนาบดีอื่นหลายนาย ไม่ยอมตัดผมมวยไว้หางเปียตามพวก ตาด จึงได้หนีออกจากแผ่นดินจีนมาอยู่ในแผ่นดินญวนบ้าง แผ่นดินไทยบ้าง สืบสกูลต่อมาเปนจีนอย่างเก่า ไม่ได้ไว้หางเปีย ๚ ๏ พระภัศดาในกรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์นั้น มีนามว่าเจ้าขรัวเงิน มีพี่หญิงชื่อท่านนวล 1 ท่านเอี้ยง 1 มีพี่ชายชื่อเจ้าขรัวทอง 1 ได้ตั้งนิวาศฐาน อยู่ตาบลถนนตาล เปนพานิชใหญ่ ชาวกรุงเก่าเรียกว่า เศรษฐีถนนตาลใน กรุงเทพทวาราวดีศ รีอ ยุท ธยามหานคร พระมารดาของพระภัศ ดาในกรม สมเด็จพระศรีสุดารักษ์นั้น เปนน้องร่วมมารดากับภรรยาเจ้าพระยาชานาญ บริรักษ์ ว่าที่โกษาธิบดีในแผ่นดินพระบาทสมเด็จบรมธรรมิกมหาราชาธิราช ภรรยาเจ้าพระยาชานาญบริรักษ์ ซึ่งเปนป้าของพระภัศดาในกรมสมเด็จพระ ศรีสุดารักษ์นั้นมีบุตรกับเจ้าพระยาชานาญบริรักษ์ผู้หนึ่งชื่อนายฤทธิ์ นายฤทธิ์ เมื่อเปนหนุ่มเจริญแล้ว เจ้าพระยาชานาญบริรักษ์ผู้บิดาได้สู่ขอหม่อมบุนนาค เปนบุตรพระยาวิชิตณรงค์เจ้ากรมเขนทองซ้ายมาให้เปนภรรยา ได้แต่งงานอา วาหวิ ว าหมงคลกั น พระยาวิ ชิ ต ณรงค์ นั้ น เปนพี่ ช ายร่ ว มบิ ด ามารดากั บ เจ้าพระยานครศรีธรรมราช ซึ่งได้สาเร็จราชการเมืองนครศรีธรรมราช อยู่ ตลอดเวลากรุงเทพทวาราวดีศรี อยุทธยา ครั้นกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทธยา แตกทาลายเสียแล้วได้ตั้งตนเปนเจ้านั้น ๚ ๏ กรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์นั้น เมื่อกรุงเทพทราวดีศรีอยุทธยายัง ไม่แตกทาลาย ได้มีพระโอรส 2 พระธิดา 1 ซึ่งออกพระนามในข้างต้นแล้วนั้น ครั้นเมื่อปีกุญนพศก จุลศักราช 1129 พระพุทธ สาสนกาล 2310 พรรษา พวกพม่าข้าศึกเข้ารุกรานทาลายล้างกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทธยาเสียได้ ชาว พระนครทั้งปวงซึ่งมีครอบครัวสกุลต่าง ๆ พากันแตกแยกย้ายกระจายกระจัด หนีไป ครั้งนั้นกรมสมเด็จพระศรีสุ ดารักษ์ ทรงพระครรภ์อยู่ได้ 4 เดือนเศษ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ แล้ว พร้อมกันกับพระภัศดากับพระธิดาตามเสด็จสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกย์ ออกไปอาไศรยอยู่ ด้ ว ยในนิ ว าศฐานที่ เ ดิ ม ของสมเด็ จ พระอมริ น ท รามาตย์ ณตาบลอัมพวาพาหิรุทยานประเทศ ครั้นถึงวันกาฬปักษ์ดิถีที่สิบสอง นับเบื้องน่าแต่โปฐบทบุรณมี มีอาทิตยวารเปนกาหนดจึงได้ประสูตรพระธิดา พระองค์หนึ่ง ซึ่งได้นับโดยลาดับว่าเปนที่ 4 คือสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์ ๚ ๏ ครั้งนั้นเจ้าคุณชีโพ ผู้เปนพระน้องนางของสมเด็จพระอมรินท รามาตย์ ได้รับอุปถัมภ์บารุงเลี้ยง เปนเหตุให้สมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์ได้ ทรงนับถือว่า เปนพระมารดาเลี้ยงมา ครั้นเมื่อแผ่นดินกรุงธนบุรีตั้งขึ้นแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์เสด็จเข้ามา ปรนิบัติในราชการ กรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์กับพระภัศดาแลพระ (ฉบับตก) ก็ได้ตามเสด็จเข้า มาตั้งนิวาศฐานบ้านเรือนโรงแพอยู่ที่ตาบลกระฎีจีน ที่นั้นบัดนี้ เปนพระวิหาร แลหอไตรวัดกัลยาณมิตร แพลอยลงในคลองแม่น้าใหญ่ตรงวัดโมฬีโลกย์ข้าม ไปข้างใต้ ๚ ๏ แต่กรมหลวงเทพหริรักษ์ ซึ่งเปนพระโอรสใหญ่ของกรมสมเด็จ พระศรีสุดารักษ์นั้น เมื่อเวลากรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทธยาแตกทาลายนั้น ทรงผนวชเปนสามเณรตามพระอาจารย์ไปทางอื่น ได้ลาผนวชกลับมายังสกุล เมื่อมาตั้งอยู่ในตาบลนี้แล ๚ ๏ ฝ่ายนายฤทธิ์ บุตรเจ้าพระยาชานาญบริรักษ์ เมื่ออยู่กับหม่อ ม บุนนาคภรรยามีบุตรีหนึ่งชื่อหม่อมอาพัน ครั้นเมื่อกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทธ ยาแตกท าลายแล้ว พาบุ ตรพาภรรยาหนีไปเมือ งนครศรีธรรมราช เข้ าพึ่ ง อาไศรยเจ้าพระยานครศรีธรรมราช ตั้งบ้านเรือนอยู่ตาบลบ้านสามอู่ เหนือ เมื อ งนครศรี ธ รรมราชขึ้ น มาประมาณทาง 100 เส้ น ครั้ งนั้ น เจ้ า พระยา นครศรีธรรมราช เมื่อจะตั้งตัวเปนเจ้าได้ปฤกษาขนบธรรมเนียมต่าง ๆ กับ นายฤทธิ์ผู้หลานเขย เพราะนายฤทธิ์เปนบุตรท่านเสนาบดีผู้ใหญ่เข้าใจมาก ใน ขนบธรรมเนียมราชการแผ่ นดิน เจ้าพระยานครศรีธรรมราชมีความยินดีต่อ สติปัญญาความคิดอ่านของนายฤทธิ์มากนัก เมื่อตั้งตนเปนเจ้าแผ่นดินขึ้นแล้ว จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | จึงตั้งนายฤทธิ์ให้เปนกรมพระราชวัง เรียกว่าวังน่าเมืองนครศรีธรรมราช ท่าน บุนนาคเรียกว่าเจ้าครอกข้างใน หม่อมเจ้าอาพันนั้นเปนพระองค์เจ้าอาพัน กิติ ศัพท์นั้นทราบมาถึงพระภัศดาของกรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์ จึงมีความดาริห์ ไม่เห็นชอบด้วยนายฤทธิ์ผู้เปนญาติซึ่งเปนหลานเขยเจ้านครศรีธรรมราช มิใช่ ญาติอันสนิทเข้าไปรับที่ตาแหน่งใหญ่ นานไปภายน่าเห็นว่าไภยจะบังเกิดมี อนึ่งครั้งนั้นก็ได้ทราบความประสงค์ของเจ้ากรุงธนบุรีว่า จะยกกองทัพออกไป ตีปราบปรามเมืองนครศรีธรรมราชสักเวลาหนึ่ง เมื่อว่างราชการทัพรบกับพม่า กลัวว่าถ้าเปนอย่างนั้นจริง นายฤทธิ์จะพลอยตายด้วยเจ้านครศรีธรรมราช มี ความปราถนาจะออกไปลองใจนายฤทธิ์ ซึ่งเปนวังน่าเมืองนครศรีธรรมราชนั้น ยังจะนับถือว่าเปนญาติอยู่ฤๅหาไม่ ถ้านับถือรับรองดี ก็จะว่ากล่าวให้สติเสียให้ รักษาตัว ด้วยเหตุนี้พระภัศดาในกรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์ ได้มอบถิ่นฐาน บ้านเรือนทาษกรรมกรทั้งปวง ให้กรมหลวงเทพหริรักษ์ซึ่งเปนบุตรผู้ใหญ่อยู่ รักษา แล้วพากรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์กับพระธิดาใหญ่น้อยสองพระองค์ กับชายหญิงสองสามคนลงเรือทเลแล่นล่องลงไปเมืองนครศรีธรรมราช ในฤดู ลมว่าวปลายปีชวดสัมฤทธิศก จุลศักราช 1130 ครั้นไปถึงแล้วก็ขึ้นไปเมือง นครศรีธรรมราช นั่งอยู่ที่ริมทางเมื่อวังน่าเมืองนครจะมีที่ไป ครั้นเมื่อเสลี่ยงวัง น่าเมืองนครมาใกล้ ก็กระแอมไอให้เสียงเปนสาคัญ วังน่าเมืองนครได้เห็นแล้ว ก็มีความยินดี ลงจากเสลี่ยงออกมารับแล้วปราไสโดยฉันญาติ แล้วพาไปที่อยู่ พร้อมกับสมเด็จพระศรีสุดารักษ์ แลพระธิดาสองพระองค์ ครั้งนั้นวังน่าเมือง นครชวนจะให้อยู่ด้วย แลว่าจะพาไปให้เฝ้าเจ้านครศรีธรรมราช พระภัศดาใน กรมพระสมเด็ จ พระศรี สุ ด ารั ก ษ์ ไ ม่ เ ห็ น ด้ ว ย ไม่ ย อมเข้ า ไปหาเจ้ า นครศรีธรรมราช แลไม่ยอมอยู่ด้วย ขอให้ปิดความเสีย แล้วได้ให้สติดังคิดไป นั้นทุกประการ วังน่าเมืองนครก็เห็นชอบด้วย ได้รับว่าภายหลังจะค่อยคิดอ่าน เอาตัวออกหากให้พ้นไภยตามความคิดนั้น ครั้งนั้นชาวเมืองนครศรีธรรมราช บางพวกกระซิบกระซาบเล่าฦๅกันว่า ผู้ซึ่งออกไปจากกรุงธนบุรีนั้น เปนผู้อาสา กรุงธนบุรีไปเกลี้ยกล่อมวังน่าเมืองนครศรีธรรมราชให้เปนไส้ศึก ๚ ๏ ด้วยเหตุที่กรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์กับพระภัศดามีความสดุ้ง รีบลาวังน่าเมืองนครศรีธรรมราช กลับเข้ามากรุงธนบุรีในฤดูลมสาเภาปลายปี พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ ชวดสัมฤทธิศกกับปีฉลูเอกศกต่อกัน ครั้งนั้นเจ้ากรุงธนบุรีทราบว่า พระภัศดา ของกรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์ออกไปเมืองนครศรีธรรมราชกลับเข้ามาถึง ใหม่ ก็ให้มีผู้รับสั่งไปหามาซักไซ้ไต่ถามข้อราชการ ก็ได้มาให้การว่าเปนแต่ ยากจนก็ ห าสิ่ งของเปนสิ น ค้ า ขาย แลได้ ใ ห้ ก ารข่ า วบ้ า นเมื อ งแต่ ต ามเห็ น เล็กน้อยโดยสมควรความซึ่งว่าได้ไปพบวังน่าเมืองนครศรีธรรมราชนั้นไม่ให้ การ เจ้ากรุงธนบุรีจึงดาริห์ไว้ว่าเมื่อใดว่างราชการทัพกับพม่า จะได้ยกทัพไป เมืองนครศรีธรรมราช จะให้พระภัศดากรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์เปนผู้นาทัพ นาทาง ฝ่ายพระภัศดากรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์ไม่ปราถนาจะอาสาเจ้า กรุง ธนบุ รี ดั ง นั้ น จึ ง บอกป่ ว ยว่ า เปนง่ อ ยเสี ย ก่ อ นแต่ เ ริ่ ม การทั พ เมื อ ง นครศรีธรรมราช ด้วยเหตุนี้จึงไม่ได้ทาราชการเปนตาแหน่งใดในแผ่นดินนั้น เลย ๚ ๏ กรมสมเด็จ พระศรี สุ ด ารั ก ษ์ ในแผ่น ดิ น กรุงธนบุรี ไ ด้ ประสู ต ร พระโอรสอิกสองพระองค์ซึ่งออกพระนามมาข้างหลังแล้วนั้น ในปีขาลโทศก จุลศักราช 1132 พระองค์หนึ่ง ปีมเสงเบญจศก จุลศักราช 1135 พระองค์ หนึ่ง พระภัศดากรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์ก็สิ้นพระชนม์เสียแต่ในเวลาเปนก ลางแผ่นดินกรุงธนบุรี ครั้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ ได้ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเศกแล้ว กรมสมเด็จพระเทพสุดาวดี กรมสมเด็ จ พระศรี สุ ด ารั ก ษ์ ทั้ ง สองพระองค์ ก็ ไ ด้ ต ามเสด็ จ เข้ า มาอยู่ ใ น พระบรมมหาราชวัง กรมสมเด็จพระเทพสุดาวดีมีพระตาหนักอยู่ข้างหลังพระ มหามณเฑียร เรียกว่าพระตาหนักใหญ่ ได้ว่าราชการเปนใหญ่ทั่วไปแทบทุก อย่ า ง แลว่ า การวิ เ ศษใน พระคลั งเงิ น พระคลังทอง แลสิ่ งของต่ า ง ๆ ใน พระราชวังชั้นในทั้งสิ้น ๚ ๏ กรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์นั้น มีพระตาหนักอยู่เบื้องหลังหมู่พระ ที่นั่งดุสิตมหาปราสาท แลพระวิมานรัตยา เรียกว่าพระตาหนักแดง ได้ทรง ราชการทรงกากับเครื่องใหญ่ในโรงวิเศษต้น แลการสดึงแลอื่น ๆ เปนหลาย อย่ า ง กรมสมเด็ จ พระเทพสุ ด าวดี แ ลกรมสมเด็ จ พระศรี สุ ด ารั ก ษ์ ทั้ ง สอง จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | พระองค์นั้น ได้เสด็จดารงทรงพระชนม์อยู่มานานในแผ่นดินพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ถึง 15 ปี ครั้นถึงปีมแมเอกศกจุลศักราช 1161 ทั้ง สองพระองค์นั้นทรงพระประชวรพระโรคชรา กรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์ พระชนมายุ 60 ปีเศษยังไม่ถึง 70 เสด็จทิวงคตลงก่อน ล่วงไปได้ 3 เดือนเศษ กรมสมเด็จพระเทพสุดาวดีมีพระชนมายุได้ 70 ปีเศษ ไม่ถึง 80 เสด็จทิวงคต พระศพได้ไว้บนพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทด้วยกัน ได้ถวายพระเพลิงพร้อมกัน ๚ ๏ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์นั้น เมื่อครั้งกรุงเทพ ทวาราวดีศรีอยุทธยาหาได้ทาราชการในหลวงไม่ เพราะเสด็จไปอยู่กับสมเด็จ พระอมรินทรามาตย์ณตาบลอัมพวา โดยนัยที่กล่าวมาแล้วแต่หลัง เปนแต่เข้า แอบอิงอาไศรยมีสังกัดอยู่ในพระองค์เจ้าอาทิตย์ซึ่งเปนพระเจ้าหลานเธอ ใน พระบาทสมเเด็จพระบรมธรรมิกราชาธิราช เปนเอารสของกรมพระราชวังใน แผ่นดินนั้น ครั้ นเมื่อแผ่นดินสุริยามรินทรได้เปนพระองค์เจ้า โปรดปรานใน พระเจ้าแผ่นดิน มีผู้นิยมนับถือมาก ครั้นมาถึงแผ่นดินกรุงธนบุรีได้ทรงทา ราชการในตาแหน่งเปนพระราชวรินทร์ เจ้ากรมพระตารวจนอกขวา แล้ว เลื่อนที่เปนพระยาอนุชิตชาญไชย1 แล้วเลื่อนที่ต่อขึ้นไป เปนเจ้า2 พระยายม ราชเสนาบดีในกรมพระนครบาลแล้ว จึงได้ เลื่อ นที่ เปนเจ้ าพระยาจัก รีศ รี องครักษ์สมุหนายกเอกอุ ได้เปนแม่ทัพทาการสงครามกับพม่าแลเขมรแลลาว มี ค วามชอบได้ ร าชการมากหลายครั้ ง ภายหลั ง จึ ง ได้ เ ลื่ อ นที่ เ ปนสมเด็ จ เจ้าพระยาพระมหากระษัตรศึก พิฦกมหิมา ทุกนคราระอาเดช สรรพเทเวศรา นุรักษ์ เอกอรรคบาทมุลิกา กรุงเทพธนบุรีศรีอยุทธยา มหาดิลกภพ นพรัต นราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชมหาสถาน อวตารสถิตย์ บพิตรพิไชย อภัยพิริย ปรากรมพาหุ ได้ทรงพระเสลี่ยงงากั้นพระกลด แลมีเครื่องทองต่าง ๆ เปนเครื่ องยศเสมอเจ้าต่างกรม เมื่อปีกุญเอกศก จุลศักราช 1141 กรุงธนบุรีมีความ ต้องการจะต้องไปรบเมืองเวียงจันท์ แก้แค้นที่เจ้าเวียงจันท์บุญสารยกมาทา แก่เมืองนครจาปาศักดิ ซึ่งมาขึ้นแล้วแก่กรุงธนบุรี แลเจ้าเวียงจันท์บุญสารไป ขอกาลังพม่ามาช่วยด้วยนั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ ซึ่ง เปนสมเด็จเจ้าพระยาพระมหากระษัตรศึกในเวลานั้น กับพระเจ้าอยู่หัวกรม พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ พระราชวังในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ ซึ่งเปนเจ้าพ ระยาสุรสีห์พิศณวาธิราชในเวลานั้น ต้องยกพยุหโยธาขึ้นไปรบเมืองเวียงจันท์ มีไชยชานะตีเอาเมืองเวียงจันท์ได้ ได้ชนชเลยแลสิ่งของมาเปนอันมาก ครั้งนั้น ได้พระพุทธปฎิมากรแก้วมณีสีเขียวที่เรียกว่าพระแก้วมรกฏ ซึ่งประดิษฐานอยู่ ในวัดพระศรีรัตนศาสดารามในกาลบัดนี้นั้น ลงมายังกรุงธนบุรีด้วยนั้น เปน เหตุมหัศจรรย์ดังนี้ เพราะพระแก้วพระองค์นี้ยังไม่มีผู้ใดในเมืองไทยไปได้มา ตลอดเวลาแผ่นดินกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทธยา แลแผ่นดินเมืองเหนือซึ่งล่วง แล้วมาหลายร้อยปี ๚ ๏ ครั้นเมื่อปีฉลูตรีศก จุลศักราช 1143 แผ่นดินเมืองเขมรซึ่งมาขึ้น กรุงธนบุรีอยู่แต่ก่อนนั้นกาเริบ พระยาพระเขมรลุกขึ้นจับพระองค์ราม ซึ่ง เปนสมเด็จพระรามาธิบดีเจ้ากรุงกัมพูชาฆ่าเสียแล้วแขงเมืองกระเดื่องกระด้าง ไป เพราะฉนั้น พระบาทสมเด็จ พระพุท ธยอดฟ้า จุ ฬาโลกย์ ซึ่ งเปนสมเด็ จ เจ้าพระยาพระมหากระษัตรศึกในเวลานั้นกับพระเจ้าอยู่หัวกรมพระราชวัง ใน แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ ซึ่งเปนเจ้าพระยาสุรสีห์ พิศ ณุ ว าธิ ร าชในเวลานั้ น ต้ อ งยกพยุ ห โยธาออกไปยังการทั พ ท าสงคราม ปราบปรามพวกเขมรอยู่ ๚ ๏ ฝ่ายเจ้ากรุงธนบุรี ตั้งแต่ได้พระพุทธปฎิมากรแก้วมณีองค์นี้มาถึง กรุงธนบุรีแล้ว ก็มีจิตรกาเริบเติบโตในอันใช่ที่ คือมีสัญญาวิปลาศ ว่าตนเปนผู้ มีบุญศักดิใหญ่ เปนพระโพธิสัตว์จะสาเร็จพระพุทธภูมิได้ตรัสเปนพระชนะแก่ มาร เปนองค์พระศรีอาริยเมตไตรยในกัลปนี้ ก็คิดอย่างนั้นบ้าง ตรัสอย่างนี้ บ้าง ทาไปต่าง ๆ บ้างจนถึงเปนพระเจ้าแผ่นดินเสียจริต ทาการผิด ๆ ไปให้ แผ่นดินเปนจลาจล ร้อนรนทั่วไปทั้งไพร่แลผู้ดีสมณพราหมณ์ชี เปนการผิด ใหญ่ยิ่งหลายอย่างหลายประการ ยิ่งกว่าการร้อนของแผ่นดินซึ่งเคยมีมาแต่ ก่อน พ้นที่จะร่าจะพรรณา จึงเกิดข้าศึกเข้ามาล้อมวังเจ้ากรุงธนบุ รี ต้องยอม แพ้แก่ข้าศึก ขอแต่ชีวิตรออกบรรพชา ฝ่ายพวกข้าศึกเข้ารักษาแผ่นดินอยู่ก็ รักษาไปไม่ได้ การบ้านเมืองในกรุงธนบุรีก็ป่วนปั่นวุ่นวายไปต่าง ๆ ครั้งนั้น กรมพระราชวังหลัง ซึ่งเปนพระโอรสใหญ่ของกรมสมเด็จพระเทพสุดาวดี จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | เวลานั้นเปนที่เจ้าพระยานครราชสิมา ได้ยกพวกพลเข้ามาปราบปรามเสี้ยน หนามแผ่นดินรักษากรุงธนบุรีไว้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ เมื่อได้ทราบเหตุนั้นไปแล้ว ก็ยกกองทัพเสด็จกลับเข้ามากรุงธนบุรี ครั้งนั้นผู้มี บันดาศักดิข้างน่าข้างในทั้งปวง พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ชีอาณาประชาราษฎร ก็มีความสโมสรโสมนัศ พร้ อมกั นเชิ ญเสด็จขึ้น เถลิงถวั ลยราชสมบัติรักษา แผ่ น ดิ น เปนที่ พึ่ ง สื บ ต่ อ ไป จึ ง ได้ เ สด็ จ เถลิ ง ถวั ล ยราชสมบั ติ เ ปนพระเจ้ า แผ่นดินใหญ่ ในปีขาลจัตวาศก จุลศักราช 1144 พระชนมายุ 46 ปีถ้วน จึงได้ ตั้งการสร้างกรุงเทพ มหานครอมรรัตนโกสินทรมหินทรายุทธยานี้ ขึ้นเปนพระ มหานครบรมราชธานี แลได้ทรงสร้างสิ่งต่าง ๆ คือพระบรมมหาราชวัง แล พระอารามนั้น ๆ ได้ดารงอยู่ในศิริราชสมบัติโดยผาสุกภาพ แลทรงประ พฤติ ราชกิจนั้น ๆ บรรดาที่กล่าวแลจะกล่าวว่ามีว่าเปนในแผ่นดินนั้นทุกประการ โดยยุติธรรมแลชอบด้วยเหตุผลแลกาลเทศะซึ่งเปนไปตลอดเวลาพระชนมายุ ของพระองค์แล้ว ก็ทรงพระประชวรพระโรคชราเสด็จสวรรคต ณวัน 5 13 ฯ 9 ค่า ปีมเสงเอกศก จุลศักราช 1171 ๚ ๏ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ ยังมีพระราชโอรส พระราชธิดาพระองค์อื่น ๆ แต่หม่อมบาทบริจาริกข้าหลวงเดิม แต่ยังไม่ได้ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบ้าง แต่พระสนมนารีมีศักดิต่าง ๆ เมื่อเสด็จสถิตย์ ในราชสมบัติบ้าง มากมายหลายพระองค์ สิ้นพระชนม์เสียแต่ยังทรงพระเยาว์ บ้าง ได้ทรงพระเจริญอยู่มานานได้เปนใหญ่ในราชการแผ่นดิน ในแผ่นดินต่อ ๆ มาบ้าง คงอยู่แต่ตามบันดาศักดิพระองค์เจ้า ไม่ได้ทรงทาราชการเปนแผนก บ้าง ครั้นจะออกพระนามนับไปเปนลาดับทางกถานี้ก็จะพิศดารมากไป แล้ว จะสับจะไขว้ข้างในข้างน่า แลพระองค์ที่ปรากฎควรจะปรากฎ แลพระองค์ที่ ไม่ปรากฎไม่ควรจะปรากฎนั้น ก็จะสับสนพัลวันกันนักจะสังเกตยาก เพราะ ฉนั้นจะขอกาหนดออกพระนามแต่พระองค์ที่ได้เปนใหญ่ในตาแหน่งราชการ ปรากฎ แลไม่มีความผิดในราชการ ควรนับถือว่าพระนามนั้นเปนมงคล พระราชเอารสซึ่ ง ได้ เ ปนเจ้ า ต่ า งกรมมี ร าชการ ได้ บั ง คั บ อยู่ ใ น แผ่นดินนั้น แลแผ่นดินลาดับมานั้น ที่ควรนับแต่ 11 พระองค์ คือพระองค์เจ้า พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ ทับทิม เปนกรมหมื่นอินทรพิพิธ ได้ว่ากรมพระคชบาลแล้วภายหลังได้ว่ากรม แสงใหญ่ 1 พระองค์เจ้าอภัยทัศ เปนกรมหมื่นแล้ว เปนกรมหลวงเทพพลภักดิ เจ้าจอมมารดาเปนพระสนมเอกอุบุตร พระยาจักรีเมืองนครศรีธรรมราช ครั้ง เจ้าเมืองนั้นขึงแขงตั้งตัวเปนเจ้านั้น ได้ว่ากรมพระคชบาล แลการอื่น ๆ บ้าง พระองค์หนึ่ง องค์เจ้าอรุโณไทย เปนกรมหมื่นศักดิพลเสพย์เจ้าจอมมารดาเป นพระสนมเอก ได้เปนเจ้าในเวลาหนึ่ง เพราะเปนบุตรเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี พัด แลมารดานั้นเปนบุตรเจ้าพระยานครศรีธรรมราช ซึ่งตั้งตัวเปนเจ้านคร ครั้งกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุทธยาแตกทาลายแล้วใหม่นั้น แลพระองค์เจ้า พระองค์นี้ได้เปนใหญ่ เปนอธิบดีว่าราชการกรมพระกระลาโหมแลหัวเมือง ปากใต้ทั้งปวง ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาไลย ครั้นถึง แผ่ น ดิ น พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ เ สด็ จ เถลิ ง เปนกรม พระราชวังบวรสถานมงคล พระองค์เจ้าทับ เปนกรมหมื่นจิตรภักดี ว่าราชการช่างสิบหมู่ 1 พระองค์ เ จ้ า สุ ริ ย า เปนกรมหมื่ น แล้ ว เปนกรมขุ น แล้ ว ภายหลั ง เลื่อนเปนกรมพระรามอิ ศเรศ 1 ได้ว่าการต่าง ๆ ไม่เปนตาแหน่ง ว่าความ รับสั่งบ้าง เปนแม่กองทาการงานบ้าง อิกพระองค์หนึ่ง คือพระองค์เจ้าวาสุกรี เจ้าจอมมารดาเปนพระ สนมโท บุตรพระราชเศรษฐี ทรงพระผนวชมาแต่ยังทรงพระเยาว์พระชนม์ได้ 14 พรรษา เมื่อพระชนม์ครบ 20 ได้อุปสัมปทาเปนพระภิกษุได้ 4 พรรษา เป นอธิบดีสงฆ์แล้ว ได้เลื่อนเปนเจ้าต่างกรมมีพระนามว่า กรมหมื่นนุชิตชิโนรส ศรีสุคตขัตติยวงษ์พระองค์นี้เปนอัจฉริยมนุษย์บุรุษรัตนอันพิเศษ ทรงพระ ปรีชาฉลาดรู้ในพระพุทธสาตร แลราชสาตรแบบอย่างโบราณราชประเพณีต่าง ๆ แลได้เปนอุปัธยาจารย์เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้ า ในพระบรมราชวงษ์นี้ มากหลายพระองค์ ภายหลังเมื่อในแผ่นดินประจุบันนี้ ได้เลื่อนเปนกรมสมเด็จ พระปรมานุชิตชิโนรส ศรีสุคตขัตติยวงษ์ ฯ มหาปาโมกขประธานวโรดมบรม นารถบพิตร เสด็จสถิตย์ณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | พระองค์เจ้าฉัตร 1 เปนกรมหมื่นสุรินทรรักษ์ ได้ว่าราชการกรมพระ นครบาล ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาไลย ครั้นแผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ว่าราชการกรมมหาดไทย กรมพระ กระลาโหม เปนที่ทรงปฤกษาราชการแผ่นดิน พระองค์เจ้าสุริยวงษ์ 1 เปนพระองค์เจ้าเคราะห์ร้าย สบายบ้างไม่ สบายบ้างแต่เดิมมา ครั้นถึงแผ่ นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว สมัคไปทาราชการในพระบวรราช ได้เปนกรมหมื่นสวัสดิ วิไชย ว่าราชการ แทบทุ ก ต าแหน่ ง ครั้ น มาในแผ่ น ดิ น ประจุ บั น นี้ ก ลั บ ลงมาท าราชการใน พระบรมมหาราชวัง ได้เปนกรมหลวงพิเศษศรีสวัสดิ ศุขวัฒนวิไชย พระองค์เจ้าดารากร เปนกรมหมื่นศรีสุเทพ ว่าราชการกรมช่าง 10 หมู่ พระองค์เจ้าดวงจักร 1 ก็เปนพระองค์เจ้าพระเคราะห์ร้ายสบายบ้าง ไม่สบายบ้าง แต่แขงแรงได้ราชการ ได้เปนกรมหมื่นณรงค์หริรักษ์ ว่าราชการ กรมช่างหล่อ พระองค์เจ้าสุทัศน์ 1 เปนกรมหมื่นไกรสรวิชิต ได้ว่าราชการคลังเสื้อ หมวก คลังศุภรัต แลกรมสังฆการี กรมธรรมการ พระราชธิดาซึ่งควรจะกาหนดออกพระนามนั้นควรนับ 9 พระองค์ 1 พระองค์ เ จ้ า นุ่ ม เปนผู้ ใ หญ่ ก ว่ า ทุ ก พระองค์ บ รรดาซึ่ ง มี พ ระ ชนมพรรษา อ่อนกว่าเจ้าฟ้ากรมหลวงเทพวดีลงมา เจ้าจอมมารดาเปนเจ้า จอมข้ า หลวงเดิ ม เปนญาติ เ จ้ า พระยานครราชสิ ม าทองอิ น พระองค์ เ จ้ า พระองค์นี้ได้ทาราชการข้างใน ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาไลย 2 พระองค์เจ้าพลับพระองค์หนึ่ง เปนกาพร้าไม่มีเจ้าจอมมารดา พระราชทานมอบให้กรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์ทานุบารุง มีพระชนม์ยืนนาน ได้เปนพระบรมวงษ์เธอผู้ใหญ่ข้างใน ในแผ่นดินประจุบันนี้ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ 3 พระองค์เจ้าเกสร ได้ทาราชการข้างใน ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาไลย 4 พระองค์เจ้าจงกล เปนพระเชษฐภคินีของกรมหมื่นสุรินทรรักษ์ ร่วมเจ้าจอมมารดา ได้ทาราชการในการสดึง ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระ พุทธเลิศหล้านภาไลย 5 พระองค์เจ้ามณฑา 6 พระองค์เจ้ามณีนิล 7 พระองค์เจ้าดวงสุดา สามพระองค์ นี้ มีพ ระชนม์ ยื นมาอยู่ นาน ได้เ ปนพระบรมวงษ์ เธอผู้ ใ หญ่ ใ น แผ่นดินประจุบันนี้ 8 พระองค์เจ้าศศิธร ได้ทาราชการเปนครูชักแลสอนพระองค์เจ้า สวดมนต์ ในหอพระพุทธรูปข้างใน 9 พระองค์เจ้าจันทบุรี ภายหลังได้เลื่อนที่เปนเจ้าฟ้ากุณฑลทิพวดี เพราะเจ้าจอมมารดาซึ่งเปนพระสนมเอกนั้น เปนเชื้อเจ้าเมืองลาว คือเปนธิดา เจ้าเวียงจันท์อินทร์ เจ้าฟ้าพระองค์นี้ได้เปนพระวรราชชายานารี ในแผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาไลย มีเจ้าฟ้า 4 พระองค์ซึ่งจะนับใน พวกข้างน่าต่อไป ๚ ๏ พระเจ้ า อยู่ หั ว กรมพระราชวั ง บวรสถานมงคล ในแผ่ น ดิ น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์นั้น เมื่อก่อนกรุงเทพทวาราวดีศรีอ ยุทธยาไม่แตกทาลายนั้น ก็ยังไม่มีพระโอรสพระธิดา ครั้นมาเมื่อแผ่นดินเจ้า กรุ งธนบุ รี ได้ มี น ารี ห นึ่ งมาเปนพระชายา ประสู ต รพระโอรสแลพระธิ ด า พระองค์หนึ่งฤๅสองพระองค์ สิ้นพระชนม์เสียแต่ยังเยาว์แล้ว นารีนั้นก็เริศร้ าง ร้าวฉานไปไม่ได้อยู่ด้วย ครั้นภายหลังจึงได้นารีลาวชาวเชียงใหม่ ชื่อเจ้ารจจา เปนธิดาเจ้าเมืองเชียงใหม่เก่ามาเปนพระอรรคชายาประสูติ พระธิดาพระองค์ หนึ่ง ชื่อเจ้าพิกุลทอง ซึ่งภายหลังเปนกรมขุนศรีสุนทร ควรนับว่าเปนธิดา ผู้ใหญ่กว่าทั้งปวง แลได้มีพระราชบุตร พระราชบุ ตรีแต่นารีบาทบริจาริก แล จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | พระสนมนางในอิกหลายพระองค์ แต่ครั้งยังไม่ได้เฉลิมอุปราชาภิเศกบ้าง เมื่อ เฉลิ ม อุ ป ราชาภิ เ ศกแล้ ว บ้ า งจะขอออกพระนามแต่ พ ระองค์ ที่ เ ปนส าคั ญ ปรากฎ ควรเปนที่นับถือแลเปน (ฉบับลบ) ฤๅควรเปนต้นวงษ์ของเจ้าฟ้าแล พระองค์เจ้าหม่อมเจ้าต่อลงมาในชั้นหลัง ๆ นั้น พระราชบุตรนั้น คือกรมหมื่นเสนีเทพ 1 กรมขุนนรานุชิต 1 สอง พระองค์นี้ได้เปนเจ้าต่างกรม มีพระบุตรพระบุตรีเปนหม่อมเจ้าชาย หม่อมเจ้า หญิง สืบลงมามาก พระราชบุตรีนั้น คือพระองค์เจ้าดวงจันทร์พระองค์ 1 เปน ผู้ ใ หญ่ กั บ พระองค์ เ จ้ า ดุ สิ ด าอั บ ศร 1 สองพระองค์ นี้ ในแผ่ น ดิ น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาไลยได้ทาราชการอยู่ในพระบวรราชวัง ครั้นพระเจ้าอยู่หัวกรมพระราชวังเสด็จสวรรคตแล้ว ได้ลงมาทาราชการอยู่ใน พระบรมมหาราชวัง อยู่จนสิ้นแผ่นดินนั้น พระองค์เจ้าดาราอิกพระองค์หนึ่ง เมื่อแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระ พุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาไลย ได้ ท าราชการอยู่ ใ นพระบวรราชวั ง เหมื อ นกั น กั บ พระองค์ เ จ้ า ดวงจั น ทร์ ครั้ น กรมพระราชวั ง เสด็ จ สวรรคตแล้ ว จึ ง กรม พระราชวังในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในเวลานั้น ยังเปนกรมหมื่นศักดิพลเสพย์ ได้ให้กราบทูลขอแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาไลยไปเปนพระชายา ประสูตรพระบุตรพระองค์หนึ่ง คือเจ้าฟ้าอิ ศราพงษ์ ครั้ น เมื่ อ กรมพระราชวั งพระองค์ นั้น ได้ เ ฉลิ ม อุ ป ราชาภิ เ ศกแล้ ว พระองค์เจ้าดาราก็ได้มีอานาจเปนใหญ่ในการข้างในทั้งปวงในพระบวรราชวัง จึงได้ปรากฎพระนามภายหลังรู้เรียกกันว่าเจ้าข้างในบ้าง เสด็จข้างในบ้าง แต่ พวกในพระบวรราชวังเวลานั้น เรียกว่าทูลกระหม่อมข้างใน ครั้ นภายหลั งจึ งได้ มาเปนพระอรรคชายาในพระเจ้า อยู่ หัว กรม พระราชวัง ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านทั้งปวงรู้ เรียกกันว่าเจ้าข้างใน

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ พระองค์เจ้าปัทมราชพระองค์หนึ่ง เจ้าจอมมารดาเปนพระน้านาง ของพระเจ้าอยู่หัวกรมพระราชวัง ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว กรมหลวงนรินทรเทวีนั้น เมื่อแผ่นดินกรุงธนบุรี ได้กรมหมื่นนรินท รพิทักษ์ ซึ่งคนเปนอันมาก เรียกว่ากรมหมื่นมุก เปนพระภัศดา ได้ประสูตร พระบุ ต รพระองค์ ห นึ่ ง คื อ กรมหมื่ น นริ น ทรเทพแล้ ว มาในแผ่ น ดิ น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ ประสูตรพระบุตรอิกพระองค์หนึ่ง คือกรมหมื่นนเรนทรบริรักษ์ กรมหมื่นซึ่งเปนพระบุตรทั้งสองนั้น ก็ได้เปนต้น วงษ์ของหม่อมเจ้าชายหม่อมเจ้าหญิงเปนอันมากสืบลงมา กรมหลวงจั กรเจษฎานั้น ไม่ไ ด้มี พระชายาเปนส าคั ญ มีแ ต่ห ญิ ง บาทบริจาริกเปนอันมาก ประสูตรหม่อมเจ้าชายหม่อมเจ้าหญิงก็เปนอันมาก แต่ควรจะออกชื่ออยู่องค์หนึ่ง คือหม่อมเจ้าสอน ซึ่งทรงผนวชมาแต่อายุ 20 ปี ได้เล่าเรียนพระคัมภีร์พุทธวจนะอยู่บ้าง ภายหลังได้เลื่อนที่เปนหม่อมเจ้าราชา คณะ ปรากฎนามว่า หม่อมเจ้า ศีลวราลังการ ได้เปนอธิบดีสงฆ์ในวัดชนะ สงคราม ด้ ว ยทางกถามี ป ระมาณเท่ า นี้ เปนอั น พรรณนาถึ งพระบรมราช วงษานุวงษ์ ซึ่งออกจากพระโอรสพระธิดาของสมเด็จพระบรมมหาไปยกาธิบดี ทั้ง 7 พระองค์ ซึ่งเปนต้นแซ่ต้นสกูลสืบลงมานับว่าเปนขั้นสาม เพราะสมเด็จ พระบรมมหาไปยกาธิบดี ถ้านับว่าเปนชั้นต้นแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกย์ แลพระญาติเสมอยุค 6 พระองค์นั้น ก็ควรนับว่าเปนชั้นสอง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาไลย แลพระบรมวงษานุวงษ์ซึ่งเปนส มานะยุคพวกนี้ จึงควรนับว่าเปนชั้นสามดังพรรณามานี้แล ๚

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ |

รำชสกุล เป็นนามสกุลสาหรับผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลวงศ์ใน พระมหากษัตริย์ เกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2455 หลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตราพระราชบัญญัตินามสกุลขึ้น โดยบัญญัติไว้ว่าผู้ที่สืบ เชื้อสายทางบิดามาจากบรรพบุรุษคนเดียวกันให้ใช้ "นามสกุล" เดียวกัน ทาให้ คนไทยทุกคนมีนามสกุลใช้และทาให้ทราบว่าใครเป็นพี่น้องหรือสืบเชื้อสายมา จากผู้ใด โดยผู้สืบเชื้อสายจากราชสกุล เรียกว่า รำชนิกุล และสกุลอันสืบ เนื่องมาจากกรมพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) และ กรมพระราชวัง บวรสถานภิมุข (วังหลัง) นั้น เรียกว่า บวรราชสกุล ส่วน รำชินิกุล หมายถึง สกุลที่เป็นพระญาติของสมเด็จพระเจ้ า แผ่นดิน นับทางฝ่ายสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง (นับทางพระมารดา)

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ รำชตระกูล ราชตระกู ล หมายถึ ง สกุ ล ที่ มิ ไ ด้ สื บ เชื้ อ สายโดยตรงจาก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) โดยมีการ สืบสายจากสมเด็จพระเชษฐภคินี พระอนุชา และพระขนิษฐา ผู้เป็นพระโอรส และพระธิดาในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก สาหรับสายพระพี่พระน้องนี้ บางครั้ งก็ เ รี ย กกั น ว่ า รำชตระกู ล สำยพระปฐมวงศ์ หรื อ พระปฐมบรม รำชวงศ์ มี 6 ราชสกุล ดังนี้ 1. เจษฎำงกูร สืบสายจาก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าลา กรมหลวง จั ก รเจษฎา (พระองค์ เ จ้ า ลา) พระอนุ ช าต่ า งพระชนนี ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ 2. เทพหัสดิน สืบสายจาก พระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตัน กรมหลวงเทพหริ รักษ์ (พระองค์เจ้าตัน) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้ า ฟ้ า กรมพระศรี สุ ด ารั ก ษ์ พระเชษฐภคิ นี พระองค์ ร อง ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ 3. นรินทรกุล สืบสายจาก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุ กรม หลวงนริ น ทรเทวี (พระองค์ เ จ้ า หญิ งกุ ) พระน้ อ งนางเธอต่ า ง พระชนนี ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | 4. นรินทรำงกูล สืบสายจาก พระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าทองจีน กรมหลวงนริ นทรรณเรศร์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรม พร ะ ย าเ ทพสุ ดา วดี พร ะ เ ชษฐภ คิ นี พร ะองค์ ให ญ่ ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ 5. มนตรีกุล สืบสายจาก พระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุ้ย กรมหลวงพิทักษม นตรี พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรี สุดารักษ์ 6. อิศรำงกูร สืบสายจาก พระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเกศ กรมขุนอิศรานุ รักษ์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรี สุดารักษ์

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ รำชสกุล ราชสกุ ล หมายถึ ง สกุ ล ของผู้ ที่ สื บ เชื้ อ สายโดยตรงจาก พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งราชวงศ์จักรีนั้นราชสกุล ตั้งแต่ รัชกาลที่ 1 จนถึงปัจจุบัน โดยมักจะเป็นพระนามของพระราชโอรส รัชกำลที่ 1 มี 8 รำชสกุล คือ 1. ฉัตรกุล สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ 2. ดวงจักร สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ดวงจักร กรมหมื่นณรงค์หริรักษ์ 3. ดำรำกร สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ดารากร กรมหมื่นศรีสุเทพ 4. ทัพพะกุล สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ทับ กรมหมื่นจิตรภักดี 5. พึ่งบุญ สืบสายจาก พระเจ้ าบรมวงศ์เ ธอ พระองค์เจ้ า ไกรสร กรมหลวงรักษ์รณเรศ 6. สุทั ศน์ สืบ สายจาก พระเจ้ า บรมวงศ์ เธอ พระองค์เ จ้ า สุทัศน์ กรมหมื่นไกรสรวิชิต 7. สุริยกุล สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า สุริยา กรมพระรามอิศเรศ 8. อินทรำงกูร สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าทับทิม กรมหมื่นอินทรพิพิธ

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | บวรราชสกุ ล สมเด็ จ เจ้ า ฟ้ า กรมหลวงอนุ รั ก ษ์ เ ทเวศร์ กรม พระราชวังบวรสถานภิมุข ในรัชกาลที่ 1 มี 2 ราชสกุล คือ 1. ปำลกะวงศ์ สืบสายจาก พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าปาน กรมหมื่นนราเทเวศร์ 2. เสนี วงศ์, เสนีย์วงศ์ สืบสายจาก พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแตง กรมหลวงเสนีย์บริรักษ์ บวรราชสกุล สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิง หนาท ในรัชกาลที่ 1 มี 4 ราชสกุล คือ 1. นีรสิงห์ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เณร 2. ปัทมสิงห์ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าบัว 3. สัง ขทั ต สื บสายจาก พระเจ้ า ราชวรวงศ์ เ ธอ พระองค์ เจ้าสังกะทัต กรมขุนนรานุชิต 4. อสุนี สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอสุนี กรมหมื่นเสนีเทพ

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ รัชกำลที่ 2 มี 20 รำชสกุล คือ 1. กปิตถำ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า กปิตถา กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ 2. กล้วยไม้ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า กล้วยไม้ กรมหมื่นสุนทรธิบดี 3. กุญ ชร สื บ สายจาก พระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ พระองค์เ จ้ า กุญชร กรมพระพิทักษ์เทเวศร์ 4. กุ สุ ม ำ สื บ สายจาก พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า กุสุมา กรมหมื่นเทพสุนทร 5. ชุมแสง สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ชุมแสง กรมหลวงสรรพศิลป์ปรีชา 6. เดชำติ ว งศ์ สื บ สายจาก สมเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมสมเด็จพระเดชาดิศร (สมเด็จฯ กรม พระยาเดชาดิศร) 7. ทิน กร สื บ สายจาก พระเจ้ า บรมวงศ์เ ธอ พระองค์ เ จ้ า ทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ 8. นิยมิศร สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เนียม 9. นิลรัตน์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า นิลรัตน์ กรมหมื่นอลงกฎกิจปรีชา 10. ปรำโมช สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | 11. พนมวัน สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ 12. ไพฑูรย์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ไพฑูรย์ กรมหมื่นสนิทนเรนทร์ 13. มรกฎ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามร กฎ กรมขุนสถิตย์สถาพร 14. มหำกุล สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโต กรมหลวงมหิศวรินทรามเรศร์ 15. มำลำกุล สืบสายจาก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า มหามาลา กรมพระยาบาราบปรปักษ์ 16. เรณุนันทน์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เรณู 17. วัชรีวงศ์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า กลาง กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ 18. สนิทวงศ์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า นวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท 19. อรุณวงศ์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า อรุณวงศ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล 20. อำภรณ์ กุ ล สื บ สายจาก สมเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ บวรราชสกุล สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรมหาเสนา นุรักษ์ ในรัชกาลที่ 2 มี 10 ราชสกุล คือ 1. บรรยงกะเสนำ สื บ สายจาก พระเจ้ า ราชวรวงศ์ เ ธอ พระองค์เจ้าประยงค์ กรมขุนธิเบศร์บวร 2. พยัคฆเสนำ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าเสือ 3. ภุมรินทร สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ภุมริน 4. ยุคันธร สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ยุคันธร กรมหมื่นอนันตการฤทธิ์ 5. รองทรง สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า รองทรง กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ 6. รังสิเสนำ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าใย 7. รัชนิกร สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า รัชนิกร 8. สหำวุธ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ชุมแสง 9. สีสังข์ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสี สังข์ 10. อิศรเสนำ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าพงศ์อิศเรศ กรมหมื่นกษัตริย์ศรีศักดิเดช

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | รัชกำลที่ 3 มี 13 รำชสกุล คือ 1. โกเมน สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โกเมน กรมหมื่นเชษฐาธิเบนทร์ 2. คเนจร สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า คเนจร กรมหมื่นอมเรนทรบดินทร์ 3. งอนรถ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า งอนรถ 4. ชมภูนุท สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ชมพูนุท กรมขุนเจริญผลพูลสวัสดิ์ 5. ชุมสำย สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ชุมสาย กรมขุนราชสีหวิกรม 6. ปิยำกร สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เปียก 7. ลดำวัลย์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี 8. ลำยอง สืบสายจาก พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ า ลายอง 9. ศิริวงศ์ สืบสายจาก สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ 10. สิงหรำ สื บสายจาก พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ า สิงหรา กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ 11. สุบรรณ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า สุบรรณ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ 12. อรณพ สื บสายจาก พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ พระองค์ เจ้ า อรรณพ กรมหมื่นอุดมรัตนราษี 13. อุไรพงศ์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า อุไร กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ บวรราชสกุล สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรมหาศักดิ์ พลเสพย์ ในรัชกาลที่ 3 มี 5 ราชสกุล คือ 1. เกสรำ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เกสรา กรมหมื่นอานุภาพพิศาลศักดิ 2. กำภู สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาภู 3. นันทิศักดิ์ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าเริงคนอง 4. อนุชะศักดิ์ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้านุช 5. อิศรศัก ดิ์ สืบ สายจาก พระเจ้า ราชวรวงศ์เ ธอ เจ้าฟ้า อิ ศราพงศ์

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | รัชกำลที่ 4 มี 27 รำชสกุล คือ 1. กมลำศน์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า กมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร 2. กฤดำกร สื บ สายจาก พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์ เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ 3. เกษมศรี สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ 4. เกษมสันต์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ ราชสกุลนี้ มี เ จ้ า นายที่ พ ระชั น ษายื น ที่ สุ ด ในบรรดาเชื้ อ พระวงศ์ ทั้ ง หมดคื อ หม่ อ มเจ้ า หญิ ง พงศ์ พิ ศ มั ย เกษมสั น ต์ ชันษารวม 109 ปี 5. คั ค ณำงค์ สื บ สายจาก พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์ เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร 6. จั ก รพั น ธุ์ สื บ สายจาก สมเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ 7. จันทรทัต สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า จันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา 8. จิ ต รพงศ์ สื บ สายจาก สมเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ 9. ชยำงกูร สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ 10. ชุม พล สื บสายจาก พระเจ้ าบรมวงศ์เ ธอ พระองค์เ จ้ า ชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ 11. ไชยันต์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย 12. ดิศกุล สืบสายจาก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดารงราชานุภาพ ในปัจจุบันยัง มีพระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในราชสกุลนี้ทรงพระชนม์อยู่ 1 องค์ คื อ หม่ อ มเจ้ า กฤษณาพั ก ตรพิ ม ล ศุ ข สวั ส ดิ พระ ชันษา 99 ปี เป็นพระอนุวงศ์ที่ทรงพระชันษาสูงที่สุดใน ขณะนี้ 13. ทวีวงศ์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทวี ถวัลยลาภ กรมหมื่นภูธเรศธารงศักดิ์ 14. ทองแถม สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ 15. ทองใหญ่ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม 16. เทวกุล สืบสายจาก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ 17. นพวงศ์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพ วงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส 18. ภำณุพันธุ์ สืบสายจาก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า ภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช 19. วรวรรณ สื บ สายจาก พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์ เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | 20. วัฒนวงศ์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า วัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์ 21. ศรีธวัช สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรี สิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ 22. ศุ ข สวั ส ดิ สื บ สายจาก พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์ เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช 23. โศภำงค์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรี เสาวภางค์ 24. สวัสดิกุล สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า สวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์ 25. สวั ส ดิ วั ต น์ สื บ สายจาก สมเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ 26. สุประดิษฐ์ สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า สุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร 27. โสณกุล สืบสายจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา บวรราชสกุล พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่ 4 มี 11 ราชสกุล คือ 1. จรูญโรจน์ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าจรูญโรจน์เรืองศรี กรมหมื่นจรัสพรปฏิภาณ 2. โตษะณีย์ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าโตสินี

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ 3. นวรัตน์ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า นวรัตน์ กรมหมื่นสถิตยธารงสวัสดิ 4. นันทวัน สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า นันทวัน 5. พรหเมศ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พรหเมศ 6. ภำณุมำศ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าภาณุมาศ 7. ยุ ค นธรำนนท์ สื บ สายจาก พระเจ้ า ราชวรวงศ์ เ ธอ พระองค์เจ้ายุคนธร 8. วรรั ตน์ สืบ สายจาก พระเจ้ าราชวรวงศ์ เ ธอ กรมหมื่ น พิศาลบวรศักดิ 9. สำยสนั่น สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า สนั่น 10. สุธำรส สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า สุธารส 11. หัสดินทร์ สืบสายจาก พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าหัสดินทร์ กรมหมื่นบริรักษ์นรินทรฤทธิ์

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | รำชินิกุล สำยสมเด็จพระอมรินทรำบรมรำชินี พระญาติ ว งศ์ ข องสมเด็ จ พระอมริ น ทราบรมราชิ นี ใ น รัชกาลที่ 1 ซึ่งมักเรียกรวมๆ กันไปว่า “ราชินิกุลบางช้าง” เพราะ นิเวศสถานเดิมอยู่ ตาบลอัมพวา แขวงอาเภอบางช้าง (ซึ่งต่อมาจึง ยกเป็นเมืองสมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรสงครามตามลาดับ ราชินิกุลก๊กใหญ่ คือ สกุลบุนนาค ณ บำงช้ำง สืบสายจาก ทอง ณ บางช้าง กับสมเด็จพระ รูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี ใช้ในสายเจ้าคุณหญิงแก้ว ชูโต สืบสายจาก พระยาสมบัติบาล (เสือ) กับคุณหญิง ม่ ว ง เป็ น บุ ต รี ใ นเจ้ า คุ ณ ชายชู โ ต พระเชษฐาในสมเด็ จ พระ อมรินทราบรมราชินี สวั ส ดิ์ ชู โ ต สื บ สายจาก พระยาสุ ร เสนา (สวั ส ดิ์ ชู โ ต) ทายาทเจ้าคุณชายชูโต แสงชูโต สืบสายจาก พระยาสุรศักดิ์มนตรี (แสง ชูโต) บุตรพระยาสุรเสนา (สวัสดิ์ ชูโต) บุนนำค สืบสายจาก เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) กับเจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล (พระขนิษฐาในสมเด็จพระอมรินทรา บรมราชินี)

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ สำยสมเด็จพระศรีสุลำไลย พระญาติวงศ์ของสมเด็จพระศรีสุลาไลย พระราชมารดา ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ราชินิกุล รัชกาลที่ 3 ที่มีผู้ สืบสายสกุลเป็นที่รู้จักกันดี คือ สายพระยาพัทลุง (ทองขาว) สามี ของท่ านปล้อง น้านางของสมเด็จ พระศรีสุล าไลย และสายสกุ ล ศิริสัมพันธ์ สืบมาจาก ท่านสาด น้านางของสมเด็จพระศรีสุลาไลย เช่นกัน หากแต่คนละมารดากับพระชนนีเพ็ง ผู้เป็นชนนีของสมเด็จ พระศรีสุลาไลย ศิริสัมพันธ์ สืบสายจาก ท่านสาด ณ พัทลุง สืบสายจาก พระยาพัทลุง (ทองขาว) สำยสมเด็จพระศรีสุริเยนทรำบรมรำชินี พระญาติวงศ์ของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี ที่ เป็นราชินิกูลคือผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากพระยาเพชรบุรี (เรือง) ซึ่งเป็น พระญาติของเจ้าขรัวเงิน แซ่ตันพระชนกของพระองค์ ทั้งสองท่าน เป็นชาวจีนเหมือนกัน บุตรพระยาเพชรบุรี (เรือง) คือเจ้าพระยาสุ รบดินทร์สุรินทรฦาไชย (บุญมี) เป็นต้นสกุลหลายสกุลด้วยกันจึงถือ ว่าสกุลเหล่านี้เป็นราชินิกุล บุญหลง สืบสายจากเจ้าพระยาสุรบดินทร์สุรินทรฦาไชย (บุญมี) พลำงกูร สืบสายจาก เจ้าพระยาสุรบดินทร์สุรินทรฦา ไชย (บุญมี)

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | สำยสมเด็จพระเทพศิรินทรำบรมรำชินี พระญาติวงศ์ของสมเด็จพระเทพศิ รินทราบรมราชินีใน รัชกาลที่ 4 พระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้ า อยู่ หั ว ราชิ นิ กุ ล รั ช กาลที่ 5 ฝ่ า ยพระชนนี นั้ น เป็ น ชาวสวน บางเขน และสกุลอามาตย์รามัญสายพระยารัตนจักร (หงส์ทอง) ที่ เกี่ยวดองกันกับสกุลรามัญสาย พระยาจักรีมอญ (กรุงธนบุรี) เชื้อ สายราชิ นิ กุ ล ที่ มิ ใ ช่ ขั ต ติ ย ราชตระกู ล เท่ า ที่ ค้ น ได้ จ ากหนั ง สื อ ราชินิกุล รัชกาลที่ 5 คือ “สกุลสุรคุปต์” สุรคุปต์ สืบสายจาก พระยารัตนจักร (หงส์ทอง) สำยสมเด็จพระศรีพัชรินทรำบรมรำชินีนำถ พระญาติวงศ์ของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ซึ่งทาง ฝ่ายพระชนนีนั้น คือสมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณ จอมมารดาเปี่ ย ม) ท่ า นเป็ น ธิ ด าของท้ า วสุ จ ริ ต ธ ารง (นาค) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงพระราชทานนามสกุล แก่ผู้สืบสายจากท้าวสุจริตธารง ผู้เป็นราชินิกุล ว่า “สุจริตกุล” สุจริตกุล ท้าวสุจริตธารง (นาค)

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ สำยสมเด็จพระศรีนครินทรำบรมรำชชนนี พระญาติวงศ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีใน รัชกาลที่ 8 และรัชกาลที่ 9 คือคุณถมยา พระอนุชาของพระองค์ ได้รับพระราชทานนามสกุลว่า “ชูกระมล” เพื่อเป็นนามสกุลสาหรับ ผู้ที่สืบจาก พระชนกชู ชูกระมล และพระชนนีคา ชูกระมล และ ทายาทในอนาคต แต่คุณถมยา ถึงแก่กรรมตั้งแต่วัยรุ่น สกุลนี้จึงสิ้น ไป ชูกระมล สืบสายจาก ชู ชูกระมล จะเห็นได้ว่ามีราชินิกูลไม่ครบตามจานวนพระราชมารดา ของพระมหากษัตริย์เพราะพระราชมารดาบางพระองค์สืบเชื้อสาย มาจากราชสกุลในจักรีบรมราชวงศ์อยู่แล้ว เช่น สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาภูมิ พลอดุลยเดช พระราชมารดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ |

พระบาทสมเด็ จพระจุล จอมเกล้ าเจ้า อยู่หั วเป็ นพระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เ ส ด็ จ พร ะ ร า ชส ม ภ พเ มื่ อวั น อั งค า ร ที่ 20 กั น ย า ย น พ . ศ . 239 6 ในพระบรมมหาราชวัง มีพระนามเดิมว่า “สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามกุฏ บุรุษยรัตนราช รวิวงศ์ วรุตมพงศบริพัตร สิริวัฒนราชกุมาร” มีพระราชขนิษฐาและพระราชอนุชาร่วมสมเด็จพระบรมราชชนก ชนนีอีก 3 พระองค์ คือ สมเด็จเจ้าฟ้าจันทรมณฑล โสภณภควดี สมเด็จเจ้า ฟ้าจาตุรนต์รัศมี (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯ กรมพระจักรพรรดิ พงศ์) และสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ (จอมพล สมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช) เมื่อทรงพระเยาว์ทรงได้รับการศึกษาทั้งด้านวิชาการและโบราณราช ประเพณีตามธรรมเนียมเจ้าฟ้าพระราชกุมาร และมีครูสตรีชาวอังกฤษมา ถวายพระอักษรภาษาอังกฤษเพิ่มเติมด้วย ทรงได้รับสถาปนาเป็นกรมหมื่น พิฆเนศวรสุรสังกาศเมื่อ พ.ศ. 2404 แล้วเลื่อนเป็นกรมขุนพินิตประชานาถ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ เมื่อพ.ศ. 2410 ตามลาดับ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จ สวรรคตในวั น ที่ 1 ตุ ล าคมพ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้าอยู่หัว ซึ่งขณะนั้นพระชนมพรรษาเพียง 15 พรรษาทรงได้รับราชสมบัติ ตามคากราบบังคมทูลอัญเชิญของเจ้านายและเสนาบดีผู้ใหญ่ที่ประชุมปรึกษา เห็นพร้อมกัน และมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 แต่โดยที่ยังทรงพระเยาว์ ในระยะเวลาห้าปีแรกในรัชกาล เจ้าพระยาศรี สุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค ต่อมาคือสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์) จึงรับ หน้าที่เป็นผู้สาเร็จราชการแผ่นดิน ส่วนการในพระราชสานักนั้นสมเด็จพระ เจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบาราบปรปักษ์ทรงรับกากับดูแล ตราบจนกระทั่งพระชนมพรรษาถึงเกณฑ์ที่จะทรงผนวช ก็ได้ทรงผนวช ณ พระพุทธรัตนสถานในพระบรมมหาราชวังชั่วระยะเวลาสั้น ๆ มีสมเด็จพระ มหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระอุปัธยาจารย์เมื่อทรง ลาสิกขาแล้ว ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็นครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 18 ตุล าคมพ.ศ. 2416 และทรงรั บราชภาระบริ ห ารราชการแผ่ น ดิน ด้ ว ย พระองค์เองสืบมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้าอยู่หัวทรงอยู่ในสิริราชสมบัติ ยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ในอดีตกาล ได้ทรงประกอบพระราชพิธีรัชมัง คลาภิเษก เมื่อ พ.ศ. 2451 ในมงคลสมัยเมื่อทรงครองสิริราชสมบัติได้ 40 ปี เสมอด้วยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา อันเป็นรัชสมัยที่ยืนยาว ที่สุดเท่าที่เคยปรากฏมาในพระราชพงศาวดาร ตลอดเวลาในรั ชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หั ว (พ.ศ. 2411-พ.ศ. 2453)ประเทศสยามอยู่ในช่วงเวลาที่อาจเรียกได้ว่าเป็นหัว เลี้ยวหัวต่อระหว่างยุคเก่าและยุคใหม่ ภัยจากการล่าอาณานิคมของประเทศ มหาอานาจทางตะวันตกปรากฏชัดเจน โดยเฉพาะอังกฤษได้เข้าครอบครอง อินเดีย พม่า และมลายูจนหมดสิ้น ในขณะเดียวกันกับที่ฝรั่งเศสก็เข้ามายึด ครองดิ น แดนในอิ น โดจี น ทั้ ง ญวน ลาว และเขมร ตั้ ง แต่ รั ช สมั ย ของ พระบาทสมเด็ จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว แล้ ว เหตุ กระทบกระทั่งชายแดน จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | ระหว่างไทยกับชาติมหาอานาจทั้งสองจึงมีอยู่เสมอ การภายในประเทศนั้นก็ เป็นเวลาที่ทรงพระราชดาริปฏิรูปบ้านเมืองในทุก ๆ ด้าน เพื่อให้ทันต่อความ เปลี่ยนแปลงของโลก และเกิดประโยชน์ยั่งยืนแก่ประเทศและประชาชนโดย ส่วนรวม กิจการทุกด้านที่ได้ทรงวางรากฐานไว้ดีแล้วในรัชกาล ได้เป็นคุณานุ คุณแก่การพัฒนาประเทศในเวลาต่อมาอย่างแจ้งชัด พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ไทยพระองค์แรกที่ได้เสด็จพระราชดาเนินเยือนต่างประเทศอย่างเป็นทางการ เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2413 เมื่อครองราชย์ได้เพียง2 ปี ได้เสด็จประพาสสิงคโปร์ และชวา ต่อจากนั้นไม่นานก็ได้เสด็จเยือนประเทศอินเดียและพม่ าทรงได้พบ เห็นและเป็นโอกาสที่ทรงได้ศึกษาแบบแผนวิธีการปกครอง ตลอดถึงวิทยาการ ต่าง ๆ ของชาติตะวันตกด้วยพระองค์เอง การเสด็จฯ ต่างประเทศครั้งสาคัญ ที่สุดในรัชกาลคือ การเสด็จพระราชดาเนินเยือนประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป 2 คราว ใน พ.ศ. 2440 และ พ.ศ. 2450 ซึ่งเป็นการแผ่พระเกียรติยศและเผย เกียรติภูมิของไทยในหมู่ชาติอารยะ และเป็นปัจจัยเกื้อกูลประการหนึ่งที่ทาให้ ชาติต่าง ๆ เกิดความคุ้นเคย ยอมรับ และเคารพอธิปไตยของสยามประเทศ ส่วนภายในประเทศนั้น ได้ทรงพระราชอุตสาหะเสด็จเยี่ยมเยียน ท้ อ งถิ่ น ต่ า ง ๆ เพื่ อ ทอดพระเนตรและสดั บ ตรั บ ฟั งทุ ก ข์ สุ ข ของพสกนิ ก ร โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ตามหั ว เมื อ งที่ ร าษฎรมิ เ คยมี โ อกาสได้ เ ฝ้ า รั บ เสด็ จ พระมหากษั ต ริ ย์ ม าแต่ ก่ อ น เช่ น ทางเหนื อ นั้ น ได้ เ สด็ จ ขึ้ น ไปจนถึ ง เมื อ ง กาแพงเพชร ทางใต้เสด็จหัวเมืองทั้งฝั่งด้านอ่าวไทยและทะเลอันดามันจน ตลอด เป็นต้น บางคราวเสด็จประพาสโดยไม่เปิดเผยพระองค์ หากแต่เสด็จ เป็นการลาลองดังที่เรียกว่า “เสด็จประพาสต้น” เพื่อเป็นช่องทางให้ทรงได้ ใกล้ ชิ ด และทราบความเป็ น จริ ง ในพระราชอาณาจั ก รด้ ว ยพระองค์ เ อง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรง รู้จักเมืองไทยและคนไทยอย่างดียิ่งจากประสบการณ์ต รงที่ได้เสด็จพระราช ดาเนินไปยังท้องถิ่นต่าง ๆ

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมี มากมายเป็นอเนกประการแต่ที่อยู่ในความทรงจาของอาณาประชาราษฎร์ ได้แก่ พระราชกรณียกิจที่ทรงเลิกทาส อันเป็นประเพณีบ้านเมืองมาช้านาน แต่ไม่สมแก่สมัย เพราะเป็นการกดคนลงใช้แรงงานโดยปราศจากอิสรเสรี ด้วย พระปรีชาญาณยิ่งยวด ทรงเลิกทาสโดยใช้วิธีผ่อนปรนไปเป็นระยะ พอมีเวลา ให้ทั้งผู้เป็นนายทาสและตัวทาสเองได้ปรับตัว ปรับใจ พร้อมกันนั้นก็ทรงเลิก ระบบไพร่ อันเป็ นระบบเกณฑ์แ รงงานชายวัยฉกรรจ์จากสามั ญชนมาช่ว ย ราชการอันมีมาเก่าก่อน และเป็นอุปสรรคในการทามาหาเลี้ยงชีพโดยเสรีของ ราษฎรทั้งหลายเสียด้วยเช่นกัน เมื่อทรงเลิกทั้งระบบทาสและระบบไพร่เช่นนี้ เพื่อพัฒนาคนทุกหมู่เหล่าให้มีความรู้เป็นกาลังของบ้านเมืองอย่างแท้จริง ได้ ทรงพระราชดาริเริ่มจัดการศึกษาในทุกระดับจากเดิมที่ศึกษากันแต่เฉพาะใน ครอบครัวหรือตามวัดวาอารามในแบบธรรมเนียมเก่า ทรงตั้งโรงเรียนของ หลวงขึ้น เพื่อให้การศึกษาแก่คนทุกชั้น ตั้งแต่เจ้านายในราชตระกูลเป็นต้นไป จนถึ ง ราษฎรสามั ญ ในตอนกลางและตอนปลายรั ช กาล การศึ ก ษา เจริญก้าวหน้ามากขึ้น จนถึงมีโรงเรียนวิชาชีพชั้นสูงหลายแห่งเกิดขึ้น เช่น โรงเรี ยนนายร้อย โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนกฎหมาย โรงเรียนแพทยาลัย และโรงเรียนยันตรศึกษา เป็นต้น รวมทั้งโรงเรียนมหาดเล็กที่ทรงตั้งขึ้นฝึกหัด คนเข้ารับราชการก็ดาเนินงานก้าวหน้าสมพระราชประสงค์ และเป็นรากฐาน สาหรับการอุดมศึกษาของประเทศในเวลาต่อมา พระราชกรณียกิจข้อสาคัญอีกประการหนึ่งของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ การปฏิรูประบบการเงินการคลังของประเทศและ การปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดิน ด้านการเงิน การคลังนั้น ทรงตั้งหอ รัษฎากรพิพัฒน์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2416 เพื่อจัดระบบรายรับของประเทศให้เต็ม เม็ ด เต็ ม หน่ ว ยขึ้ น กว่ า แต่ ก่ อ น ทดแทนวิ ธี ก ารที่ ใ ช้ เ จ้ า ภาษี น ายอากรเป็ น เครื่องมือ และมีหนทางรั่วไหลมาก ทาให้ราชการแผ่นดินมีรายรับเพิ่มพูนขึ้น เป็นอันมาก พอใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ ส่วนการบริหารราชการแผ่นดิน นั้น จากระบบเดิมที่เริ่มต้นขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถครั้งกรุง ศรีอยุธยา มีอัครมหาเสนาบดี 2 ตาแหน่ง คือ สมุหนายกและสมุหกลาโหม มี จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | เสนาบดี จตุสดมภ์สี่คือเวียง วั ง คลัง และนา ภายหลังมีการแก้ไขเพิ่มเติ ม ปรับเปลี่ยนมาบ้างตามลาดับเวลา แต่ก็เป็นการยุ่งยากทับซ้อน และมีความไม่ ชัด เจนในเรื่ อ งอานาจหน้ า ที่ ร าชการอยู่เ ป็ น อั น มาก ประกอบกั บราชการ บ้ า นเมื อ งผั น แปรไปตามยุ ค สมั ย จึ งทรงพระราชด าริ แ ก้ ไ ขระบบบริ ห าร ราชการแผ่ น ดิ น ครั้ ง ใหญ่ เ มื่ อ พ.ศ. 2435 โดยทรงยกเลิ ก ระบบเสนาบดี แบบเดิมเสีย แล้วทรงแบ่งราชการเป็นกระทรวงจานวน 12กระทรวง ทรง แบ่งปันหน้าที่ให้ชัดเจน และเหมาะกับความเป็นไปของบ้านเมืองในรัชสมัย ของพระองค์ พ ระราชกรณี ย กิ จ ในส่ ว นนี้ พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้าอยู่หัวทรงเห็นว่า “การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากแบบเดิม เปนตั้งกระทรวง 12 กระทรวงนี้ ต้องนับว่าเปนการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่ หลวง ซึ่งเรีย กได้อย่า งพูดกันตาม ธรรมดาว่า “พลิกแผ่นดิน” ถ้าจะใช้คาอังกฤษก็ต้องเรียกว่า “Revolution” ไม่ใช่ “Evolution” พระบาทสมเด็จ พระพุทธเจ้าหลวงทรงเล็งเห็ นการภาย หน้ า อย่ า งชั ด เจน และทรงทราบการที่ ล่ ว งไปแล้ ว เปนอย่ า งดี ได้ ท รง พระราชดาริห์ตริตรองโดยรอบคอบ ได้ทรงเลือกประเพณีการปกครองทั้งของ ไทยเราและของต่างประเทศประกอบกัน ด้วยพระปรีชาญาณอันยิ่งยวดได้ทรง จัดการเปลี่ยนแปลงวิธีการปกครองเปนลาดับมาล้วนเหมาะกับเหตุการณ์และ เหมาะกับเวลาไม่ช้าเกินไป ไม่เร็วเกินไป”

พระราชกรณี ย กิ จ ข้ อ ส าคั ญ ที่ สุ ด ของพระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือการที่ทรงรักษาอิสรภาพของชาติไว้ได้รอดปลอดภัย ในขณะที่ประเทศเพื่อนบ้านโดยรอบทุกทิศต้ องตกเป็นอาณานิคมของชาติ ตะวันตกดังกล่าวมาแล้วข้างต้น แต่ชาติไทยสามารถดารงอิสราธิปไตยอยู่ได้ อย่างน่าอัศจรรย์ บางคราวเช่นเมื่อ พ.ศ. 2436 (ร.ศ. 112) ฝรั่งเศสมีเหตุ กระทบกระทั่งกับไทยอย่างรุนแรง ถึงกับฝรั่งเศสส่งกองเรือมาปิดปากอ่าว สยาม แต่ด้วยพระปรีชาสามารถด้านวิเทโศบาย และทรงพระขันติธรรมอดทน อย่างยอดยิ่ง ทรงยอมสละประโยชน์ส่วนน้อยแม้จนถึงดินแดนในพระราช อาณาเขตบางส่วน เช่น ดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้าโขง ดินแดนส่วนที่เรียกว่า เขมรตอนใน ประกอบด้ ว ย เมื อ งพระตะบอง เมื อ งเสี ย มราฐ และเมื อ ง พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ ศรีโสภณ และดินแดนตอนใต้ของประเทศ ประกอบด้วย เมืองไทรบุรี เมือง กลันตัน และเมืองตรังกานู เป็นต้น แลกกับประโยชน์ส่วนใหญ่คือความเป็น เอกราชของชาติ กรุงสยามจึงรักษาความเป็นไทยมาได้โดยสวัสดี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังมีพระราชกรณียกิจอีก มากมายเกินจะพรรณนาทรงพระราชนิพนธ์หนังสือมากเรื่องหลายประเภท เช่น พระราชพิธีสิบสองเดือน ไกลบ้าน และเงาะป่า เป็นต้น ทรงริเริ่มกิจการสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะหลายชนิด ไม่ ว่าจะเป็นกิจการประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ ไปรษณีย์โทรเลข หรือกิจการรถไฟก็ ตาม ทรงทานุบารุงพระศาสนา ทรงสร้างพระอารามหลายแห่ง เช่น วัด เทพศิรินทราวาส วัดราชบพิธ และวัดนิเวศน์ธรรมประวัติ เป็นต้น ทรงปรับปรุงระบบกฎหมายและระบบศาลยุติธรรมของประเทศ ทรงตั้งศิริราชพยาบาล ทรงพัฒนากองทัพทั้งทัพบกและทัพเรือให้ทันสมัย ทรงปรับปรุงกิจการตารวจเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยภายใน ทรงสร้างและ ปรับปรุงถนนหนทางการคมนาคมทั้งทางบกทางน้า ฯลฯ อาจกล่าวได้ว่าใน แผ่นดินของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมืองไทยเจริญขึ้น อย่ า งผิ ด หู ผิ ด ตา และเป็ น ความเปลี่ ย นแปลงที่ ร วดเร็ ว ทั น แก่ ค วาม เปลี่ยนแปลงของโลกอย่างพอเหมาะพอดี ด้วยความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างล้นพ้น ในพระราชพิธี รัชมังคลาภิเษก อาณาประชาราษฎร์ได้พร้อมใจกันเรี่ยไรสร้างพระบรมรูปโดย สั่งจากโรงหล่อที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็น ของเฉลิมพระขวัญ ประดิษฐานพระบรมรูปที่ลานพระราชวังดุสิตดังที่เรียกกัน ในปัจจุบันว่า “พระบรมรูปทรงม้า” ที่ฐานพระบรมรูปมีคาจารึกซึ่งสมเด็จพระ เจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงพระนิพนธ์ในนามของพสก นิ ก รทั้ ง ปวง เฉลิ ม พระสมั ญ ญาภิ ไ ธยพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ว่ า “พระปิ ย มหาราช” อั น แปลความว่ า “พระมหากษั ต ริ ย์ จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่งของมหาชน” และตรงกับใจของไพร่ฟ้า ในแผ่นดินทั้งปวง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิดพระ บรมราชานุ ส าวรี ย์ แ ห่ ง นี้ ด้ ว ยพระองค์ เ อง เมื่ อ วั น ที่ 11 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระอัครมเหสี พระ บรมราชเทวี พระราชเทวี พระอัครชายา และพระราชชายา อาทิ สมเด็จพระ ศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพระพันปีหลวง สมเด็จพระ ศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทา กุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี และสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระ อัครราชเทวี มีพระราชโอรสธิดารวมทั้งสิ้น 77 พระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวเสด็จสวรรคตเมื่อวั น อาทิตย์ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2453 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ด้วยพระโรคพระวักกะพิการ สิริพระชนมพรรษา 58พรรษา ทรงดารงอยู่ในสิริ ราชสมบัติ 42 ปีเศษ พ.ศ. 2546 องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่ง สหประชาชาติ (UNESCO)ได้ประกาศยกย่องพระเกียรติคุณเป็นบุคคลสาคัญ ของโลก ในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษั ตริย์ที่ทรงอุทิศพระองค์เ พื่อความ ผาสุกของอาณาประชาราษฎร์

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์

พระภรรยำเจ้ำ พระภรรยาเจ้ามี 3 ระดับชั้น ได้แก่ 1. พระภรรยาเจ้าชั้นลูกหลวง คือ เป็นพระราชธิดาในพระมหากษัตริย์ รัชกาลก่อน สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี 2. พระภรรยาเจ้าชั้นหลานหลวง พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีย์ภิรมย์ กรมพระสุท ธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตน์นารีนาค จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคนารีรัตน์ 3. พระภรรยาเจ้าชั้นพระราชชายา พระราชชายาเจ้าดารารัศมี พระสนม เจ้ำจอมมำรดำ เจ้าจอมมารดา หมายถึง สามัญชนที่เป็นพระสนมในพระมหากษัตริย์ที่มี พระบุตรแด่พระมหากษัตริย์ มีทั้งหมด 27 ท่านได้แก่ 1. เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แข (หม่อมราชวงศ์แข พึ่งบุญ) 2. เจ้าจอมมารดาแพ (แพ บุนนาค) 3. เจ้าจอมมารดาแสง (แสง กัลยาณมิตร) 4. เจ้าจอมมารดาสุด (สุด สุกุมลจันทร์) 5. เจ้าจอมมารดาตลับ (ตลับ เกตุทัต) 6. เจ้าจอมมารดามรกฎ (มรกฎ เพ็ญกุล) 7. เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย (หม่อมราชวงศ์ย้อย อิศรางกูร) 8. เจ้าจอมมารดาอ่วม (อ่วม พิศลยบุตร) 9. เจ้าจอมมารดาแช่ม (แช่ม กัลยาณมิตร) 10. เจ้าจอมมารดาทับทิม (ทับทิม โรจนดิศ) 11. เจ้าจอมมารดาบัว 12. เจ้าจอมมารดาโหมด (โหมด บุนนาค) 13. เจ้าจอมมารดาจันทร์ (จันทร์ สุกุมลจันทร์) 14. เจ้าจอมมารดาสาย (สาย สุกุมลจันทร์) 15. เจ้าจอมมารดาเรือน (เรือน สุนทรศารทูล) 16. เจ้าจอมมารดาวาด (วาด กัลยาณมิตร) 17. เจ้าจอมมารดาทิพเกสร (เจ้าทิพเกษร ณ เชียงใหม่) 18. เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง (หม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์) พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27.

เจ้าจอมมารดาอ่อน (อ่อน บุนนาค) เจ้าจอมมารดาพร้อม เจ้าจอมมารดาวง (วง เนตรายน) เจ้าจอมมารดาแส (แส โรจนดิศ) เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เกสร (หม่อมราชวงศ์เกสร สนิทวงศ์) เจ้าจอมมารดาชุ่ม (ชุ่ม ไกรฤกษ์) เจ้าจอมมารดาเลื่อน (เลื่อน นิยะวานนท์) เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์จิ๋ว (หม่อมราชวงศ์จิ๋ว กปิตถา) เจ้าจอมมารดาเหม

เจ้ำจอม เจ้าจอมหมายถึง สามัญชนที่เป็นพระสนมในพระมหากษัตริย์ที่ไม่มี พระบุตรแด่พระมหากษัตริย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมี เจ้าจอมมากถึง 115 ท่าน แต่มีเจ้าจอมทีท่ รงโปรดปรานอยู่พอจะยกมาได้ดังนี้ เจ้าจอมพิศว์ เจ้าจอมเอี่ยม เจ้าจอมเอิบ เจ้าจอมอาบ เจ้าจอมเอื้อน เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ลดาวัลย์

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ |

ราชสกุ ล อั น มี ต้ น ก าเนิ ด มาแต่ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว มี ทั้ ง หมด 15 ราชสกุ ล พระราชโอรสผู้ พ ระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้แก่ 1.

รำชสกุ ล กิ ติ ย ำกร องค์ ต้ น ราชสกุ ล คื อ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ กรมพระจั น ทรบุ รี น ฤนาถ มี พ ระนามเดิ ม ว่ า “พระองค์ เ จ้ า กิติยากรวรลักษณ์” พระราชโอรสลาดับที่ 12 ในเจ้าจอมมารดาอ่วม มีหม่อมเจ้าชาย 13 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 12 พระองค์

สถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชาย 1 พระองค์ คือ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนำถ

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ ชั้นนัดดำ สถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถ 1 พระองค์ คือ สมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีนำถฯ

ชั้ น ปนั ด ดำ สถาปนาขึ้ น เป็ น พระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า 1 พระองค์ คือ พระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำโสมสวลี พระวรรำชำทิ นัดดำมำตุ

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ |

2.

รำชสกุลรพีพัฒน์ องค์ต้นราชสกุลคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม หลวงราชบุรี ดิเรกฤทธิ์ มี พระนามเดิม ว่า “พระองค์เจ้า รพีพัฒ น ศักดิ์” พระราชโอรสลาดับที่ 14 และที่ 2 ในเจ้าจอมมารดาตลับ บิดาแห่งกฎหมายไทย มีหม่อมเจ้าชาย 6 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 7 พระองค์ ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับสามัญชน 2 พระองค์ คือ ท่านหญิงคันธรสรังษี แสงมณี ท่านหญิงราไพศรีสอางค์ สนิทวงศ์

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์

3.

รำชสกุ ล ประวิ ต ร องค์ ต้ น ราชสกุ ล คื อ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ กรมหลวงปราจิณกิติบดี มีพระนามเดิมว่า “พระองค์เจ้าประวิตรวัฒ โนดม” พระราชโอรสลาดับที่ 15 ในเจ้าจอมมารดาแช่ม มีหม่อม เจ้าชาย 5 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 2 พระองค์

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ |

4.

รำชสกุลจิรประวัติ องค์ต้นราชสกุลคือ จอมพลพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรี สุ ร เดช มี พ ระนามเดิ ม ว่ า “พระองค์ เ จ้ า จิรประวัติวรเดช” พระราชโอรสลาดับที่ 17 และที่ 1 ในเจ้าจอม มารดาทั บ ทิ ม มี ห ม่ อ มเจ้ า ชาย 4 พระองค์ หม่ อ มเจ้ า หญิ ง 2 พระองค์

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์

5. รำชสกุลอำภำกร องค์ต้นราชสกุลคือ นายพล.ร.อ.พระเจ้าบรมวงศ์ เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ มีพระนามเดิมว่า “พระองค์เจ้า อาภากรเกียรติวงษ์” พระราชโอรสลาดับที่ 28 และที่ 1 ในเจ้าจอม มารดาโหมดหม่อมเจ้าชาย 9 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 4 พระองค์

ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับสามัญชน 3 พระองค์ สถาปนาขึ้นเป็นพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชาย 1 พระองค์ คือ พระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำอำทิตย์ทิพอำภำ

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ |

6. รำชสกุลบริพัตร องค์ต้นราชสกุลคือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต มีพระนามเดิมว่า “สมเด็จเจ้าฟ้า บริพัตรสุขุมพันธุ์” ทรงเป็นพระราชโอรสลาดับที่ 33 และที่ 2 ใน สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมมาลมารศรี พระอัครราชเทวี มีหม่อมเจ้าชาย 3 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 5 พระองค์ สถาปนาขึ้นเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชาย 1 พระองค์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิง 4 พระองค์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชาย 1 พระองค์ และ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิง 1 พระองค์ (ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับสามัญชน) ชั้นนัดดา หม่อมเจ้าหญิง 1 พระองค์

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์

7. รำชสกุลฉัตรชัย องค์ต้นราชสกุลคือ นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์ เธอ กรมพระกาแพงเพ็ชรอัครโยธิน มีพระนามเดิมว่า “พระองค์เจ้า บุร ฉัต รไชยากร” ทรงเป็ น พระราชโอรสล าดั บ ที่ 35 ในเจ้ าจอม มารดาวาด มีพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชาย 1 พระองค์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิง 3 พระองค์ หม่อมเจ้าชาย 3 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 5 พระองค์ ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับสามัญชน 3 พระองค์

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | 8. รำชสกุลเพ็ญพัฒน์ องค์ต้นราชสกุลคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม หมื่นพิไชยมหินทโรดม มีพระนามเดิมว่า “พระองค์ เจ้าเพ็ญพั ฒ นพงษ์” พระราชโอรสลาดับที่ 38 และที่ 2 ในเจ้าจอมมารดามรกฎ หม่อมเจ้าชาย 2 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 1 พระองค์ ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับสามัญชน 1 พระองค์

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ 9. รำชสกุลจักรพงษ์ องค์ต้นราชสกุลคือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ มีพระนามเดิมว่า “สมเด็จเจ้า ฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ” ทรงเป็นพระราชโอรสลาดับที่ 40 และที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถฯ

มีหม่อมเจ้าชาย 1 พระองค์ สถาปนาขึ้นเป็นพระเจ้า ว รวงศ์เธอ พระองค์เจ้า 1 พระองค์ คือ พระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำจุลจักรพงษ์

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | 10. ยุคล องค์ต้นราชสกุลคือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรม หลวงลพบุรีราเมศวร์ มีพระนามเดิมว่า “พระองค์เจ้ายุคลทิฆัมพร” ทรงเป็นพระราชโอรสลาดับที่ 41 และที่ 1 ในพระวิมาดาเธอ กรม พระสุทธาสินีนาฏฯพระเจ้าวรวงศ์เธอ มีพระองค์เจ้าชาย 3 พระองค์

ชั้นนัดดำ หม่อมเจ้าชาย 9 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 10 พระองค์ ลาออกจากฐานั น ดรศั ก ดิ์ เ พื่ อ สมรสกั บ สามั ญ ชน 7 พระองค์ หม่อมเจ้าทีท่ รงพระชนม์เรียงตามสิทธิ์ในราชบัลลังก์ในปัจจุบัน คือ 1. หม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคล (พระอนุวงศ์ที่มีพระชันษาน้อยที่สุด) 2. หม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคล 3. หม่อมเจ้าเฉลิมศึก ยุคล 4. หม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคล 5. หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล 6. หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล 7. หม่อมเจ้าหญิงนภดลเฉลิมศรี ยุคล พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ 8. รำชสกุลวุฒิชัย องค์ต้นราชสกุลคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง สิงหวิกรมเกรียงไกร มีพระนามเดิมว่า “พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิม ลาภ” ทรงเป็นพระราชโอรสลาดับที่ 42 และที่ 3 ในเจ้าจอมมารดา ทับทิม มีหม่อมเจ้าชาย 5 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 7 พระองค์ ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับสามัญชน 3 พระองค์

12. สุริยง องค์ต้นราชสกุลคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมืน่ ไชยาศรี สุริโยภาส มีพระนามเดิมว่า “พระองค์เจ้าสุรยิ งประยูรพันธุ์” ทรงเป็นพระราช โอรสลาดับที่ 46 และที่ 3 ในเจ้าจอมมารดาโหมดหม่อมเจ้าชาย 9 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 3 พระองค์ ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับสามัญชน 2 พระองค์

13. รังสิต องค์ต้นราชสกุลคือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา ไชยนาทนเรนทร มีพระนามเดิมว่า “พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์” ทรงเป็น จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | พระราชโอรสลาดับที่ 52 และที่ 2 ในเจ้าจอมมารดา ม.ร.ว.เนื่อง (สนิทวงศ์) หม่อมเจ้าชาย 2 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 1 พระองค์

ลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับสามัญชน 1 พระองค์

14. มหิดล องค์ต้นราชสกุลคือ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช วิกรม พระบรมราชชนก มีพระนามเดิมว่า “สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช” ทรงเป็นพระราชโอรสลาดับที่ 69 และที่ 7 ในสมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา

พระบรมราชเทวี พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชาย 1 พระองค์ หม่อม เจ้าชาย 1 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 1 พระองค์ สถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์ เธอ พระองค์เจ้า ทุกพระองค์ ต่อมาเสด็จขึ้นครองราชย์ขึ้นเป็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 2 พระองค์ และเจ้าฟ้าหญิง 1 พระองค์ ชั้นนัดดา เจ้าฟ้าชาย 1 พระองค์ เจ้าฟ้าหญิง 3 พระองค์ ชั้นปนัดดา พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าชาย 1 พระองค์ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าหญิง 3 พระองค์ หม่อมเจ้าชาย 4 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง 1 พระองค์ (สถาปนาขึ้นเป็นพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าหญิง)

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์

15. จุฑาธุช องค์ต้นราชสกุลคือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราไชย มีพระนามเดิมว่า “สมเด็จเจ้าฟ้าจุฑาธุชธรา ดิลก” ทรงเป็นพระราชโอรสลาดับที่ 72 และที่ 8ในสมเด็จพระนางเจ้าเสาภา

ผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ 1 พระองค์

หม่อมเจ้าชาย 1 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิง

สถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชายและพระวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าหญิง

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ |

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์

ลาดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทย หรือ ธรรมเนียมที่พระราชวงศ์ ทรงดาเนินเป็นลาดับกัน เป็นลาดับการเสด็จพระราชดาเนินหรือพระดาเนิน ก่อนหลังกันตามฐานะในพระราชวงศ์ คาว่า "โปเจียม" นั้น สันนิษฐานว่ามา จากภาษาจีน แปลว่า ลาดับก่อนหลังกัน พระบาทสมเด็จ พระจุ ลจอมเกล้ าเจ้า อยู่หั วทรงอธิ บ ายหลั กของ ธรรมเนียมการเดินหน้าเดินหลังไว้ในพระราชนิพนธ์เรื่อง “ธรรมเนียมราช ตระกูลในกรุงสยาม” โดยมีลาดับโปเจียม ดังนี้ พระมหากษัตริย์ จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | ตาแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระบัณฑูรใหญ่) ตาแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระบัณฑูรน้อย) ตาแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานภิมุข (พระบัญชา) สมเด็จพระบรมอัยกาเธอ เจ้าฟ้า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้า สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า ลาดับที่ 5 ถึง 10 คือ พระราชโอรสในพระมหากษัตริย์ ชั้นเจ้าฟ้า พระบรมอัยกาเธอ พระองค์เจ้า พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พระเจ้าพี่ยาเธอ พระองค์เจ้า พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้า พระเจ้าราชวงศ์เธอ พระองค์เจ้า (ในที่นี้หมายถึงพระราชโอรสและ พระราชธิดาในรัชกาลที่ 3 ภายหลังเปลี่ยนให้เป็นพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ พระองค์เจ้า) ลาดับที่ 11 ถึง 16 คือ พระราชโอรสในพระมหากษัตริย์ ชั้นพระองค์เจ้า (โดยลาดับที่ 11 และ 16 นี้เดินสลับกันตามพระชนมพรรษา) สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ คือ พระราชนัดดาในพระมหากษัตริย์ ชั้น เจ้าฟ้า พระเจ้าวรวงศ์เธอชั้น 1 พระองค์เจ้า พระเจ้าวรวงศ์เธอชั้น 2 พระองค์เจ้า พระเจ้าวรวงศ์เธอชั้น 3 พระองค์เจ้า พระเจ้าวรวงศ์เธอชั้น 4 พระองค์เจ้า พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ พระบวรวงศ์เธอชั้น 1 พระองค์เจ้า พระบวรวงศ์เธอชั้น 2 พระองค์เจ้า ลาดั บ ที่ 18 ถึง 23 คื อ พระโอรสในกรมพระราชวั งบวรสถานมงคล ชั้นพระองค์เจ้า ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เปลี่ยนให้ออกพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า สาหรับพระโอรสธิดาในสมเด็จพระ บวรราชเจ้า 3 รัชกาลแรก และพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระราชวรวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า ส าหรั บ พระโอรสธิ ด าในกรม พระราชวังบวร วิไชยชาญ พระเจ้าหลานเธอ คือ พระราชนัดดาในพระมหากษัตริย์ ชั้น พระองค์เจ้า พระประพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ในกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ ซึ่ง เป็นพระอัยกาฝ่ายพระมารดาของพระมหากษัตริย์ ภายหลังเปลี่ยน ให้ออกพระอิสริยยศเป็นพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้า คือ พระนัดดาของสมเด็จพระพี่ นางเธอในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทั้ง 2 พระองค์ และพระโอรสธิดาของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขที่ประสูติแต่ พระอัครชายา หม่อมเจ้า ตามลาดับยศบิดา ซึ่งเรียง ๆ กันมาเหมือนข้างบน

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ |

ลำดับโปเจียมในปัจจุบัน 1. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร 2. สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 3. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี 4. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี 5. ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี 6. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ 7. พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา 8. พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ 9. พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ 10. พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ 11. พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์

พระอนุ วงศ์ชั้น หม่อมเจ้า พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้ า เจ้าอยู่หัว 12. หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร 13. หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง ชยางกูร 14. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร 15. หม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล ดิศกุล 16. หม่อมเจ้าปุสาณ สวัสดิวัตน์ 17. หม่อมเจ้าเมรี สวัสดิวัตน์ พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้า พระนัดดาในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ 18. หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช 19. หม่อมเจ้าอุทัยกัญญา ภาณุพันธุ์

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้า พระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุ พันธุ์ยุคล 20. หม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคล พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้า พระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิม พลฑิฆัมพร 21. หม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคล 22. หม่อมเจ้าเฉลิมศึก ยุคล 23. หม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคล พระอนุ ว งศ์ ชั้ น หม่ อ มเจ้ า พระโอรสและพระธิ ด าในพระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ 24. หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล 25. หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล 26. หม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคล พระอนุ ว งศ์ ชั้น หม่ อ มเจ้ า สละฐานั น ดรศั ก ดิ์ พระราชโอรสในสมเด็ จ พระ เจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร 27. คุณจุฑาวัชร วิวัชรวงศ์ 28. คุณวัชรเรศร วิวัชรวงศ์ 29. คุณจักรีวัชร วิวัชรวงศ์ 30. คุณวัชรวีร์ วิวัชรวงศ์ สามัญชน พระราชภาคิไนยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ 31. คุณพลอยไพลิน เจนเซน 32. คุณสิริกิติยา เจนเซน สามัญชน พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ 33. ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม สามัญชน พระนัดดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ 34. พันตรีจิทัศ ศรสงคราม พระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้ากราบบังคมทูลออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรส พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 35. อินทุรัตนา บริพัตร พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้ากราบบังคมทูลออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรส พระ ราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 36. วุฒิเฉลิม (วุฒิไชย) กิลเบอร์ต พระอนุ ว งศ์ ชั้น หม่ อ มเจ้ า กราบบั งคมทู ล ออกจากฐานั น ดรศั ก ดิ์ เ พื่ อ สมรส พระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุ พงศ์พิริยเดช 37. รองศาสตราจารย์ ดร. ประภาพันธุ์ (ภาณุพันธุ)์ กรโกสียกาจ 38. พันธุ์วโรภาส (ภาณุพันธุ)์ เศวตรุนทร์ พระอนุ ว งศ์ ชั้น หม่ อ มเจ้ า กราบบั งคมทู ล ออกจากฐานั น ดรศั ก ดิ์ เ พื่ อ สมรส พระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล 39. ท่านผู้หญิงพันธุ์สวลี (ยุคล) กิติยากร จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์ | 40. คุณหญิงรังษีนภดล ยุคล 41. ภานุมา (ยุคล) พิพิธโภคา พระอนุว งศ์ชั้นหม่อมเจ้า กราบบังคมทูล ออกจากฐานันดรศั กดิ์เ พื่อสมรส พระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร 42. ศรีสว่างวงศ์ (ยุคล) บุญจิตราดุลย์ พระอนุว งศ์ชั้นหม่อมเจ้า กราบบังคมทูล ออกจากฐานันดรศั กดิ์เ พื่อสมรส พระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ 43. ภุมรีภิรมย์ (ยุคล) เชลล์ 44. มาลินีมงคล (ยุคล) อมาตยกุล 45. ปัทมนรังษี (ยุคล) เสนาณรงค์

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัว


| จุ ฬาลงกรณบรมราชสันตติวงศ์

กรมศิ ล ปากร. (2536). รำชสกุ ล วงศ์ (ฉบั บ แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ). กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ชวนพิมพ์ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว , พระบาทสมเด็จพระ. (2546). พระรำชดำรัสใน พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ทรงแถลงพระบรม รำชำธิบำยแก้ไขกำรปกครองแผ่นดิน . กรุงเทพฯ: เอส. ซี. พริ้นท์ แอนด์แพค (กระทรวงยุติธรรมพิมพ์สนองพระเดชพระคุณในโอกาส ที่วันพระบรมราชสมภพครบ ๑๕๐ ปี) ธารงศักดิ์ อายุวัฒนะ. (2544). รำชสกุลจักรีวงศ์ และรำชสกุลสมเด็จพระ เจ้ำตำกสินมหำรำช. ,พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์บรรณกิจ มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา. (2544). นำมำนุกรมพระมหำกษัตริย์ ไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ศรีภูริปรีชารามาธิปติราชภักดี,พระยา. (2460). ประชุมพงศำวดำร ภำคที่ 8 พิมพ์แจกในงานศพ คุณหญิงศรีภรู ิปรีชา. พระนคร: โรงพิมพ์ไทย . ศุภวัฒย์ เกษมศรี , พลตรี หม่อมราชวงศ์ , และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. (2549). พระอนุ ว งศ์ ชั้ น หม่ อ มเจ้ ำ ในพระรำชวงศ์ จั ก รี . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 3. กรุงเทพ : สานักพิมพ์บรรณกิจ สมเด็ จ พระเจ้ า พี่ น างเธอ เจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิ ว าสราช นครินทร์. (2547). มหำมกุฎรำชสันตติวงศ์ พระนำมพระรำช โอรสธิดำ พระรำชนัดดำ. กรุงเทพ : อมรินทร์พริ้นติ้ง _____________________ (2548). จุฬำลงกรณรำชสันตติวงศ์ พระนำม พระรำชโอรส พระรำชธิดำ และพระรำชนัดดำ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพ : สานักพิมพ์บรรณกิจ

จากต้นกาเนิดแห่งพระปิ ยมหาราชจวบจนรัชกาลปัจจุ บัน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.