ถาม-ตอบ คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

Page 1


ถาม - ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก บนพื้นฐานของคําสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก

โดย Fr. M. GUZMAN ภาษาไทยโดย คุณพอยอหน บัปติสต นรินทร ศิริวิริยานันท


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก บนพื้นฐานของคําสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก แปลจากหนังสือ QUESTION AND ANSWER CATHOLIC CATECHISM ISBN 974-91482-0-7 ภาษาไทยโดย คุณพอ ยอหน บัปติสต นรินทร ศิริวิริยานันท ตรวจทานโดย คุณพออันดรูว สําราญ วงศเสงี่ยม IMPRIMATUR พระสังฆราช ฟรังซิส เซเวียร วีระ อาภรณรัตน คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อการอบรมคริสตศาสนธรรม สภาพระสังฆราชแหงประเทศไทย จัดพิมพโดย คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกคริสตศาสนธรรม 82 หมู 6 ซ. วัดเทียนดัด ถ. เพชรเกษม ต. ทาขาม อ. สามพราน จ. นครปฐม 73110 โทร. 0-2429-0443, 0-2812-7153-4 โทรสาร 0-2429-0239 E-mail : nccthai@hotmail.com พิมพที่ โรงพิมพอัสสัมชัญ 51 ซ. โอเรียนเต็ล บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร. 0-2233-0523 โทรสาร 0-2235-1045 บาทหลวงวรยุทธ กิจบํารุง ผูพิมพ/โฆษณา บาทหลวงสุพจน ฤกษสุจริต ผูจัดการ พิมพครั้งที่ 1 ตุลาคม 2546 จํานวน 2,000 เลม หนังสือ

พระสังฆราชจําเนียร สันติสุขนิรันดร มกราคม 2547

พิมพครั้งที่ 2 พิมพครั้งที่ 3

สิงหาคม 2547 จํานวน 1,000 เลม มิถุนายน 2553 จํานวน 2,000 เลม ราคา 90 บาท

-2-


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ÊÒúÑÞ หนา 9

อารัมภบท ภาค 1 ความเชื่อคริสตชน บทขาพเจาเชื่อถึงพระเปนเจา 1. วัตถุประสงคของชีวิต ขอแรก “ขาพเจาเชื่อถึงพระเปนเจา…” 2. พระเปนเจาและความศักดิ์สทิ ธิ์ครบครันของพระองค ก. พระเปนเจาทรงเปนอะไร ข. ความศักดิ์สิทธิ์ครบครันของพระเปนเจามีอะไรบาง ค. เรารูจักพระเปนเจาไดอยางไร 3. พระเปนเจาพระองคเดียวแตเปนสามพระบุคคล ก. การเปนหนึ่งเดียวกันของพระเปนเจา ข. พระตรีเอกภาพของพระเปนเจา 4. การสรางจักรวาลและทูตสวรรค ก. ทูตสวรรค ข. ทูตสวรรคที่ดี ค. ทูตสวรรคที่เลว 5. การสรางและการหลงผิดของมนุษย ก. การสรางมนุษย ข. การหลงผิดของมนุษย ค. การถูกลงโทษของมนุษย

-3-

14 16 16 17 18 21 21 22 24 24 25 26 27 29 29 30


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

6. บาปที่เรากระทําเอง 31 ก. บาปหนัก 32 ข. บาปเบา 33 ค. บาปตน 34 ง. โอกาสบาป 34 ขอสอง “พระเยซูคริสตเจา...พระบุตรองคเดียวของพระเปนเจา” 7. การอวตาร 35 ขอสาม “ปฏิสนธิเดชะพระจิต บังเกิดจากพระนางมารียพ  รหมจารี” ขอสี่ “ทรงรับทรมานสมัยปอนซีโอ ปลาโต ถูกตรึงกางเขน ตาย และ ถูกฝงไว” 8. พระธรรมล้ําลึกปสกาของพระคริสตเจา 44 ขอหา “เสด็จลงใตบาดาล วันที่สามกลับคืนชีพจากบรรดาผูตาย” ขอหก “เสด็จขึ้นสวรรค ประทับเบื้องขวาพระบิดา” ขอเจ็ด “พระองคจะเสด็จมาเพื่อพิพากษาผูเปนและผูตาย” ขอแปด “ขาพเจาเชื่อถึงพระจิต” 9. พระจิตเจา 50 ขอเกา “พระศาสนจักรศักดิส์ ิทธิส์ ากล สหพันธนักบุญ” 10. พระศาสนจักรคาทอลิก 51 11. เครื่องหมายและคุณลักษณะของพระศาสนจักร 56 ก. เครื่องหมายของพระศาสนจักร 56 ข. คุณลักษณะตางๆ ของพระศาสนจักร 59 12. สหพันธนักบุญ 62 ขอสิบ “การอภัยบาป” 13. ความยิ่งใหญของพระเมตตาของพระเปนเจา 64 56

57

58

-4-


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ขอสิบเอ็ด “การกลับคืนชีพของเนื้อหนัง” 14. การรวมตัวกันใหมครั้งสุดทาย ขอสิบสอง “และชีวิตนิรันดร อาแมน” 15. รางวัลและการลงโทษในโลกหนา

65 67

ภาค 2 ความศักดิ์สิทธิแ ์ ละทอธารของชีวิตคริสตชน ศีลศักดิ์สิทธิ์และการภาวนา 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25.

การเรียกเขาสูความศักดิ์สิทธิ์ พระหรรษทานของพระเปนเจาในตัวเรา คุณธรรมและพระพรของพระจิตเจา พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์และศีลศักดิ์สิทธิ์โดยทั่วไป การกระทําของพระคริสตเจาและของพระศาสนจักร การเริ่มตนของคริสตชนในศีลลางบาป การเกิดในชีวิตของพระหรรษทาน การเริ่มตนของคริสตชนในศีลกําลัง พลังสําหรับความศักดิ์สิทธิ์และการนําคนอื่นๆมาหาพระคริสตเจา การเริ่มตนของคริสตชนในศีลมหาสนิท จุดศูนยกลางและจุดสุดยอดของชีวิตศีลศักดิ์สิทธิ์ทั้งครบ บูชายัญศักดิ์สิทธิ์ของมิสซา รากฐานและจุดศูนยกลางของชีวิตคริสตชน การรับศีลมหาสนิท การมีสวนรวมในงานเลี้ยงปสกา การสารภาพบาปหรือการคืนดี

-5-

70 72 75 82 90 96 99 105 108


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงพระเมตตาและการใหอภัยของพระเปนเจา 26. การสารภาพบาป ความทุกขถึงบาป การสารภาพบาปและการใชโทษบาป ก. ความทุกขถึงบาป ข. การสารภาพบาปและการโปรดบาป ค. การทํากิจใชโทษบาป 27. พระคุณการุญและขุมทรัพยฝายจิตที่ไมมีวันเหือดแหง ของพระศาสนจักร 28. การเจิมผูปวย พระศาสนจักรทัง้ ครบมอบคนปวย ไวกับพระองคพระผูทรงเปนเจาที่รับทรมานและสิริรุงโรจน 29. ศีลบวช การมีสวนรวมในศาสนบริการที่ศักดิ์สิทธิ์ของพระคริสตเจา 30. ศีลสมรส : รากฐานของพระศาสนจักรบาน 31. สิ่งคลายศีล การรับความอนุเคราะหโดยผานทางการวิงวอนของพระศาสนจักร 32. การภาวนา การสนทนากับพระเปนเจา 33. บทภาวนาขององคพระผูทรงเปนเจา 34. บทภาวนาออกเสียงอื่นๆ

112 115 116 119 126 129 131 131 135 138 141 143 148 154

ภาค 3 การดําเนินชีวิตความเชื่อคริสตชน พระบัญญัติ 35. จริยธรรมและความรับผิดชอบของมนุษย 36. กฎจริยธรรม 37. มโนธรรมที่มีจริยธรรม

-6-

159 163 166


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

38. บุคคล ครอบครัวและสังคม 170 39. พระบัญญัติพระเปนเจาและกฎหมายของพระศาสนจักร 172 40. พระบัญญัติประการแรก การกราบนมัสการพระเปนเจา 177 41. การถวายเกียรติแดทูตสวรรค นักบุญ พระธาตุและรูปภาพ 181 42. พระบัญญัติประการสอง การถวายเกียรติแดพระนามของพระเปนเจา 184 43. พระบัญญัติประการสาม วันอาทิตยเปนวันขององคพระผูทรงเปนเจา 187 44. พระบัญญัติประการสี่ ความนบนอบ ความรักและความเคารพตอบิดามารดา 189 45. หนาที่ของเจาหนาที่บานเมืองและของพลเมือง 192 46. พระบัญญัติประการหา ชีวิตมนุษยศักดิส์ ิทธิ์ 195 47. พระบัญญัติประการหกและประการเกา ความบริสทุ ธิ์ของจิตใจและรางกาย 200 48. ทรัพยสมบัติสวนตัวและความดีของสวนรวม 204 49. ความยุติธรรมดานสังคมและขอคําสอนดานสังคมของพระศาสนจักร 206 50. พระบัญญัติประการเจ็ดและประการสิบ การเคารพตอทรัพยสมบัติของคนอื่น 211 51. พระบัญญัติประการแปด ความรักความจริงและความเคารพตอชื่อเสียงทีด่ ีของคนอืน่ 214 52. กฎหมายหรือกฎเกณฑของพระศาสนจักร 216

-7-


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ภาคผนวก พิเศษสําหรับประเทศไทย 1. ปของพระศาสนจักรและวันฉลองสําคัญของคริสตชน 1.1 การแบงปของพระศาสนจักร 1.2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจา 1.3 เทศกาลมหาพรต 1.4 เทศกาลปสกา 1.5 วันฉลองสําคัญหลังสมโภชพระจิตเจา 1.6 วันฉลองพระนางมารียพรหมจารีและนักบุญอื่นๆ 2. กิจวัตรประจําวันของคริสตชน 3. แบบพิจารณาบาป 4. บทสวดภาวนาที่ควรรู

-8-

222 222 222 223 224 225 226 229 231 234


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก 2

ÍÒÃÑÁÀº·

คงเปนที่จดจํากันไดดีวาสมัชชาพระสังฆราชป 1985 ได พิจารณาถึงความจําเปนในการที่จะมีหนังสือคําสอนคาทอลิกเลมใหม ซึ่งจะใชเปนหนังสืออางอิงถึงการสอนขอคําสอนคาทอลิก และการ จัดพิมพคําสอนทองถิ่นของสังฆมณฑลตางๆ ทั่วโลก บรรดา พระสังฆราชที่รวมประชุมไดแสดงความหวังวาเอกสารฉบับนี้จะกอปร ไปดวยขอคําสอนที่หนักแนนทั้งในดานพระคัมภีรและพิธีกรรม ศักดิ์สิทธิ์ และในเวลาเดียวกันจะเปนเครื่องมือที่ไดรับการประยุกตให เขากับชีวิตคริสตชนในปจจุบันนี้ดวย สมเด็จพระสันตะปาปา ยอหน ปอล ที่ 2 ไดทรงรับการทาทายนี้ อยางกระตือรือรน และหลังจากที่คณะกรรมการซึ่งประกอบไปดวย พระคารดินัลและพระสังฆราช 12 องค ไดทํางานกันอยางหนักเปน เวลาหกป ที่สุด สมเด็จพระสันตะปาปาก็ทรงรับรองหนังสือคําสอน ของพระศาสนจักรคาทอลิกเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 1992 ดวย กฤษฎีกาสันตะสํานัก Fidei Depositum การประกาศใชหนังสือคําสอนของพระศาสนจักรคาทอลิกถือวา เปนเหตุการณประวัติศาสตรที่ยิ่งใหญสําหรับประชากรของพระเปน เจาทั้งมวลเลยทีเดียว กระนั้นก็ดี ความพยายามในการสอนคําสอน มิไดหยุดลง ณ ตรงนี้ แตนาจะวากันวาเครื่องมือใหมและที่ทรงคุณคา นี้เปดขอบฟาอันกวางใหญใหแกการริเริ่มตางๆ ในสนามของคําสอน และรูปแบบอื่นๆ ในการถายทอดความเชื่อ คงจะเปนการเพียงพอที่ -9-


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

เราจะจดจําถอยคําของกฤษฎีกาสันตะสํานัก Fidei Depositum วา หนังสือคําสอนของพระศาสนจักรคาทอลิกไมไดมีไวเพื่อเปนการ ทดแทนหนังสือคําสอนอื่นๆ ที่ไดรับการรับรองจากผูใหญในพระศาสน จักรแลว แตนาจะกอใหเกิดและใหความสะดวกในการจัดพิมพหนังสือ คําสอนทองถิ่นเลมใหมที่รวมเอาความแตกตางทางดานวัฒนธรรม และกรณีแวดลอม และในเวลาเดียวกันก็รักษาไวอยางพิถีพิถันของ การเปนหนึ่งเดียวของความเชื่อและความซื่อสัตยตอขอคําสอน คาทอลิกมากกวา หนังสือคําสอนถาม-ตอบ เลมนี้ ถือวาเปนการสนับสนุน สวนตัวของผูเขียนเพื่อใหความจําเปนนี้ไดรับการทําใหสําเร็จ กอปรไป ดวยประสบการณหลายปในการสอนคําสอน อันจะเห็นไดจากหนังสือ จํานวนมากมายที่ทานไดแตงไว ทานจึงจี้ไดถูกจุด ซึ่งขอคําสอนตางๆ ที่หนังสือคําสอนของพระศาสนจักรคาทอลิกตองการที่จะเนน ในเรื่อง นี้ เราจะอางไดเปนพิเศษ เชนวา ถึงคําสอนของพระศาสนจักรวาดวย เรื่องศักดิ์ศรีของตัวบุคคล สิ่งที่ตองการสําหรับความดีสวนรวม พรอม ทั้งความสัมพันธระหวางกฎหมายของพระเปนเจา มโนธรรมดาน จริยธรรมกับการใชเสรีภาพของมนุษย ในเวลาเดียวกัน ผูเขียนยังได ทําการประยุกตใหงายลงไดอยางนาทึ่ง ทําใหสัตบุรุษจํานวนมากมาย สามารถดูดซึมเอาขอคําสอนได และในเวลาเดียวกันก็ทําใหพวกเขา สามารถจดจําสูตรตางๆ ของขอความเชื่อที่สั้นๆ และชัดเจนได ผลสุดทายถือวาเปนผลที่นาชื่นชมอยางไมตองสงสัย ก็เปน แบบเดียวกันกับหนังสือคําสอนของพระศาสนจักรคาทอลิกซึ่งเปน - 10 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ที่มาของหนังสือถาม-ตอบ เลมนี้ ที่บรรจุเอาทั้งสิ่งที่ใหมและเกาไว ดวยกัน ทั้งนี้เพราะวาความเชื่อของเรายังคงเดิมอยูเสมอ แตประกอบ ไปดวยทอธารของแสงสวางใหมอยูตลอดเวลา เราขอแสดงความยินดีกับผูเขียนสําหรับงานที่นาแนะนําชิ้นนี้ เรามีความปรารถนาที่จะใหหนังสือคําสอนเลมนี้พิสูจนตัวเองวาเปน เครื่องมือที่มีประโยชนมากที่สุดสําหรับทั้งครูและนักเรียนวิชาศาสนา และสําหรับทุกคนที่ตองการการนําที่นาเชื่อถือไดในการศึกษาความ เชื่อคาทอลิก เรายังหวังอีกวาดวยความชวยเหลือจากการอางอิง กลับไปกลับมาจํานวนมากมายถึงเอกสารฉบับนี้อยางกวางขวางยิ่งขึ้น หนังสือคําสอนเลมนี้จะนําผูใชจํานวนมากมายเขาสูการอานหนังสือ คําสอนของพระศาสนจักรคาทอลิกฉบับสมบูรณอยางตั้งใจ พระคารดินัล ไฮเม ซิน อดีตพระอัครสังฆราชแหงมนิลา ประเทศฟลิปปนส

- 11 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

¤íÒ¹íҢͧ¼ÙŒ¨Ñ´¾ÔÁ¾ ขณะนี้เรามีหนังสือคําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก (CATECHISM OF THE CATHOLIC CHURCH (CCC)) ฉบับแปลเปนภาษาไทย ครบ 4 ภาค แลวคือ ภาค 1 การประกาศยืนยันความเชือ่ (ปกสีเขียว) ยอหนาที่ 1-1065 ในเลมนี้ หนา 14-68 มี 188 ขอ ภาค 2 การเฉลิมฉลองธรรมล้ําลึกของพระคริสตเจา (ปกสีมวง) ยอหนาที่ 1066-1690 เกี่ยวกับศีลศักดิส์ ิทธิ์และการภาวนา ในเลมนี้ หนา 70-157 มี 284 ขอ ภาค 3 ชีวิตในพระคริสตเจา (ปกสีแดง) ยอหนาที่ 1691-2557 เกี่ยวกับการดําเนินชีวิตคริสตชน คือ พระบัญญัติ ในเลมนี้ หนา 159-221 มี 228 ขอ ภาค 4 การภาวนาแบบคริสตชน (ปกสีฟา) ยอหนาที่ 2558-2865 แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดพิมพ 57 ซ.โอเรียนเต็ล บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร. 0-2237-5276 ในคําถามแตละขอตอไปนี้ มีตวั เลขในวงเล็บ หมายถึงเลขยอหนา ในหนังสือคําสอนดังกลาว มีประโยชนหากทานสนใจศึกษาเพิ่มเติมในฉบับ สมบูรณ พระสังฆราช วีระ อาภรณรัตน 24 มิถุนายน ค.ศ. 2010

- 12 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ภาค ๑ ความเชื่อคริสตชน บทขาพเจาเชื่อถึงพระเปนเจา

- 13 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

1. วัตถุประสงคของชีวิต 1. ใครสรางเรามา (27,282, 213) พระเปนเจาทรงสรางเรามา 2. พระเปนเจาทรงเปนใคร (269,279) พระเปนเจาทรงเปนพระผูสูงสุด ทรงเปนจิตลวน และครบครัน อยางหาที่สุดมิได ทรงเปนพระผูสรางที่นารักของสรรพสิ่ง และ ทรงเปนเจานายสูงสุดของสวรรคและแผนดิน 3. ทําไมพระเปนเจาจึงทรงสรางเรามา (293, 295, 356) พระเปนเจาทรงสรางเรามาเพื่อแสดงใหเห็นถึงความดีของ พระองค และเพื่อทรงแบงปนชีวิตพระและความสุขอยางไมมี สิ้นสุดในสวรรคของพระองคกับเรา 4. เราจะตองทําอะไรเพื่อจะไดรับความสุขในสวรรค (1721) เพื่อจะไดรับความสุขในสวรรค เราจะตองรูจัก รักและรับใช พระเปนเจาในโลกนี้

- 14 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

5. เราจะเรียนรูที่จะรูจัก รักและรับใชพระเปนเจาไดจากใคร (169, 171, 459)

เราจะเรียนรูที่จะรูจัก รักและรับใชพระเปนเจาไดจากพระเยซูคริสตเจา พระบุตรพระเปนเจา ผูทรงสอนเราโดยทางพระศาสนจักรคาทอลิก 6. เราจะเรียนรูขอความจริงที่สําคัญที่สุดที่พระเยซูคริสตเจา ทรงสอนผานทางพระศาสนจักรคาทอลิกไดที่ไหน (194) เราจะพบขอความจริงที่สําคัญที่สุดที่พระเยซูคริสตเจาทรงสอน โดยผานทางพระศาสนจักรคาทอลิกไดในบทขาพเจาเชื่อถึง พระเปนเจาของบรรดาอัครสาวก 7. จงสวดบทขาพเจาเชื่อถึงของบรรดาอัครสาวก ขาพเจาเชื่อถึงพระเปนเจา พระบิดาทรงสรรพานุภาพ สรางฟาดิน เชื่อถึงพระเอกบุตร เยซูคริสตสวามีของเรา ปฏิสนธิเดชะพระจิต บังเกิดจากพระนางมารียพรหมจารี รับทรมานสมัยปอนซีโอ ปลาโต ถูกตรึงกางเขนตายและฝงไว เสด็จลงใตบาดาล วันที่สาม กลับคืนชีพจากบรรดาผูตาย เสด็จขึ้นสวรรคประทับเบื้องขวา พระบิดาทรงสรรพานุภาพ แลวจะเสด็จมาเพื่อพิพากษาผูเปนและ ผูตาย ขาพเจาเชื่อถึงพระจิต พระศาสนจักรศักดิ์สิทธิ์ สากล สหพันธนักบุญ การยกบาป การคืนชีพของเนื้อหนังและชีวิต นิรันดร อาแมน - 15 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ขอแรก “ขาพเจาเชื่อถึงพระเปนเจา พระบิดาทรงสรรพานุภาพ สรางฟาดิน” 2. พระเปนเจาและความศักดิ์สิทธิ์ครบครันของพระองค ก. พระเปนเจาทรงเปนอะไร 8. เราหมายความวาอยางไรเมื่อพูดวา พระเปนเจาทรงเปนพระ ผูสูงสุด (213) เมื่อเราพูดวาพระเปนเจาทรงเปนพระผูสูงสุดนั้น หมายความวา พระองคทรงอยูเหนือสิ่งสรางทั้งมวล 9. เราหมายความวาอยางไรเมื่อพูดวาพระเปนเจาทรงเปนจิต ลวน (42, 370) เมื่อเราพูดวาพระเปนเจาทรงเปนจิตลวนนั้น หมายถึง พระองคไม ทรงมีกายหรืออวัยวะ และไมทรงประกอบขึ้นดวยสารใดๆ ทั้งสิ้น 10. เราหมายความวาอยางไรเมื่อพูดวา พระเปนเจาทรงครบ ครันอยางไมมีขอบเขต (213) เมื่อเราพูดวาพระเปนเจาทรงครบครันอยางไมมีขอบเขตนั้น เรา หมายความวา ไมทรงมีขอบเขตในการเปนอยูหรือในกิจกรรม ของพระองค ทรงมีความเต็มเปยมแหงความศักดิ์สิทธิ์ครบครัน - 16 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ข. อะไรเปนความครบครันของพระเปนเจา 11. ความครบครันของพระเปนเจานั้นมีอะไรบาง (208, 212, 276, 300, 2828)

ความครบครันของพระเปนเจานั้นมีเชนวา พระเปนเจาทรงเปน นิรันดร ทรงความดีครบถวน รูเห็นทุกอยาง ประทับอยูทั่วไป และทรงสรรพานุภาพ 12. เราหมายความวาอยางไร เมื่อพูดวา พระเปนเจาทรงเปน นิรันดร (212, 2086) เมื่อเราพูดวาพระเปนเจาทรงเปนนิรันดรนั้น เราหมายความวา ไมทรงมีเริ่มตนและไมทรงมีปลาย ทรงดํารงอยูในอดีตและใน ปจจุบัน และจะทรงดํารงแบบเดียวกันนี้ตอไป 13. เราหมายความวาอยางไร เมื่อพูดวา พระเปนเจาทรงเปน ความดีครบถวน (2086, 2828) เมื่อเราพูดวาพระเปนเจาทรงเปนความดีครบถวนนั้น เรา หมายความวา ทรงนารักอยางไมมีขอบเขตในตัวพระองคเอง และจากความรักฉันบิดาของพระองคนี้เองที่ความดีงามทุก อยางมาถึงเรา

- 17 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

14. เราหมายความวาอยางไร เมื่อพูดวา พระเปนเจาทรงรูเห็น ทุกอยาง (208) เมื่อเราพูดวาพระเปนเจาทรงรูเห็นทุกอยางนั้น เราหมายความ วา ทรงรูทุกสิ่งทุกอยาง ทั้งในอดีต ปจจุบันและอนาคต แมกระทั่งความคิด คําพูดและการกระทําที่ลี้ลับที่สุด 15. เราหมายความวาอยางไร เมื่อพูดวา พระเปนเจาประทับ อยูทั่วไป (300) เมื่อเราพูดวาพระเปนเจาประทับอยูทั่วไปนั้น หมายความวา ประทับอยูทั่วทุกแหงหน 16. เราหมายความวาอยางไร เมื่อพูดวา พระเปนเจาสรรพานุ ภาพ (269, 276, 2086) เมื่อเราพูดวาพระเปนเจาทรงสรรพานุภาพนั้น หมายความวา ทรงทําไดทุกสิ่งทุกอยาง ค. เรารูจักพระเปนเจาไดอยางไร 17. เราจะรูจักพระเปนเจาดวยเหตุผลธรรมชาติไดหรือไม (36, 47)

ได - เราสามารถรูจักพระเปนเจาดวยเหตุผลธรรมชาติของเรา ได ดวยการพิจารณาถึงสิ่งสรางทั้งมวล เราก็พอที่จะรูจักไดวา พระเปนเจาทรงเปนตนกําเนิดและจุดสุดทายของทุกสิ่งทุกอยาง - 18 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

18. เราจะรูจักพระเปนเจาดวยวิธีอื่นนอกเหนือไปจากเหตุผล ธรรมชาติของเราไดหรือไม (30) นอกเหนือไปจากเหตุผลธรรมชาติของเราแลว เรายังรูจัก พระองคไดจากการไขแสดงเหนือธรรมชาติ 19. การไขแสดงเหนือธรรมชาติคืออะไร (52, 80) การไขแสดงเหนือธรรมชาติ คือ ความรูที่พระเปนเจาทรง เปดเผยดวยวิธีการพิเศษเกี่ยวกับพระองคเอง และแผนการของ พระองคเพื่อความรอดของมนุษย นอกเหนือไปจากที่เรารูจัก พระองคโดยทางธรรมชาติของเราแลว เราจะพบไดในพระ คัมภีรและธรรมประเพณี 20. พระคัมภีรหรือหนังสือไบเบิ้ล คืออะไร (81) พระคัมภีรหรือหนังสือไบเบิ้ลคือ พระวาจาของพระเปนเจาที่ ไดรับการบันทึกเปนลายลักษณอักษร มอบใหแกพระศาสนจักร เพื่อสั่งสอนและทําใหมนุษยชาติศักดิ์สิทธิ์ 21. เราหมายความวาอยางไร เมื่อพูดวา พระคัมภีรทั้งหมด ไดรับการดลใจ (105, 106) เมื่อเราพูดวาพระคัมภีรทั้งหมดไดรับการดลใจนั้น เรา หมายความวา ผูนิพนธหลักคือพระเปนเจา แมวาจะถูกเขียน - 19 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ขึ้นโดยมนุษยตามการสองสวางและแรงกระตุนของพระเปนเจา ใหเขียนสิ่งเหลานั้น และก็เฉพาะสิ่งที่ทรงตองการใหเขียนเทานั้น 22. เราจะรูความหมายที่แทจริงของพระคัมภีรไดอยางไร (119) เราจะรูความหมายที่แทจริงของพระคัมภีรไดจากอํานาจการ สอนของพระศาสนจักรคาทอลิกที่ไดรับมาจากพระเยซูคริสต เจา ซึ่งสิทธิและหนาที่ในการสอนและการตีความทุกอยางที่ พระเปนเจาไดทรงไขแสดง 23. ธรรมประเพณีศักดิ์สิทธิ์คืออะไร (78, 81) ธรรมประเพณีศักดิ์สิทธิ์ คือ การไขแสดงของพระเปนเจาทั้ง ครบ ไมวาที่ไดรับการบันทึกหรือที่เลาสืบตอกันมา ขอเพียงแต ใหการเลาสืบตอกันมาตลอดทุกยุคทุกสมัยนี้อยูภายใตการให ความชวยเหลือของพระจิตเจาและการนําของอาจาริยานุภาพ ของพระศาสนจักร 24. เราเชื่อขอคําสอนที่บรรจุอยูในพระคัมภีรและธรรม ประเพณีศักดิ์สิทธิ์ดวยความเชื่อแบบไหน (99, 142, 143) เราเชื่อขอคําสอนที่บรรจุอยูในพระคัมภีรและธรรมประเพณี ศักดิ์สิทธิ์ดวยความเชื่อที่มาจากพระ ซึ่งทําใหเรายอมรับทั้งหมด บนอํานาจของพระเปนเจา ผูซึ่งไมเคยหลอกลวงหรือถูก หลอกลวงเลย - 20 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

25. อาจาริยานุภาพของพระศาสนจักรคืออะไร (85, 86) อาจาริยานุภาพของพระศาสนจักรคือ หนาที่สั่งสอนดวยอํานาจ พระศาสนจักรไดรับแสงสวางจากพระเปนเจาจึงมีสิทธิที่ไดรับ จากพระเปนเจา ซึ่งการสั่งสอนความจริงเกี่ยวกับความรอดแก สัตบุรุษทุกคน พระคริสตเจาไดทรงมอบหนาที่นี้ใหแกสมเด็จ พระสันตะปาปาและบรรดาพระสังฆราชในการเปนหนึ่งเดียวกับ พระองค 26. อาจาริยานุภาพของพระศาสนจักรมีบทบาทอะไรเกี่ยวกับ มัดจําของการไขแสดง (85-86) อาจาริยานุภาพของพระศาสนจักรที่ไดรับความชวยเหลือจาก พระจิตเจามีบทบาทในการรักษามัดจําของการไขแสดง ดวย การเจาะลึกอยางใกลชิดยิ่งขึ้นและดวยการประกาศและอธิบาย อยางซื่อสัตย 3. พระเปนเจาพระองคเดียว แตเปนสามพระบุคคล ก. การเปนหนึ่งเดียวกันของพระเปนเจา 27. มีพระเปนเจาเพียงพระองคเดียวหรือ (200-202) ใชแลว มีพระเปนเจาแตเพียงพระองคเดียวเทานั้น

- 21 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

28. ทําไมจึงมีแตพระเปนเจาเพียงพระองคเดียวเทานั้น (228) มีพระเปนเจาไดเพียงแตพระองคเดียวเทานั้น ทั้งนี้เนื่องจาก ทรงเปนพระผูสูงสุดและไมมีขอบเขต จึงไมมีใครเทาเสมอได ข. พระตรีเอกภาพของพระเปนเจา 29. มีกี่พระบุคคลในพระเปนเจา (233, 253) มีสามพระบุคคลในพระเปนเจา -พระบิดา พระบุตรและพระจิต 30. พระตรีเอกภาพหมายความวาอะไร (253) พระตรีเอกภาพหมายความวา พระเปนเจาหนึ่งพระเปนเจาเดียว ในสามพระบุคคล 31. พระบุคคลทั้งสามแตกตางกันจริงๆ หรือไม (254) พระบุคคลทั้งสามแตกตางกันจริงๆ พระบิดามิใชพระบุตร พระบุตรไมใชพระจิต และพระจิตก็มิใชพระบิดาหรือพระบุตร 32. ทั้งสามพระบุคคลเทาเสมอกันจริงๆ หรือไม (266) ทั้งสามพระบุคคลเทาเสมอกันจริงๆ เพราะวาทั้งสามทรงเปน พระเปนเจาหนึง่ พระเปนเจาเดียว

- 22 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

33. พระบุคคลทั้งสามแมวาจะแตกตางกันจริงๆ แตเปน พระเปนเจาหนึ่ง พระเปนเจาเดียว ไดอยางไร (253) พระบุคคลทั้งสามแมวาจะแตกตางกันจริงๆ แตก็เปนพระเปนเจา หนึ่งพระเปนเจาเดียว ทั้งนี้เพราะวาทรงมีพระธรรมชาติพระ หนึ่งเดียวกัน 34. เราจะเขาใจไดอยางเต็มที่วาพระบุคคลทั้งสามแมวาจะ แตกตางกันจริงๆ แตก็เปนพระเปนเจาหนึ่งพระเปนเจา เดียวไดหรือไม (237, 251) เราไมอาจที่จะเขาใจไดอยางเต็มที่วาทั้งสามพระบุคคลแมวาจะ แตกตางกันจริงๆ แตก็เปนพระเปนเจาหนึ่งพระเปนเจาเดียวได เพราะวานี่เปนพระธรรมล้ําลึกเหนือธรรมชาติ 35. พระธรรมล้ําลึกเหนือธรรมชาติคืออะไร (237, 251) พระธรรมล้ําลึกเหนือธรรมชาติคือ ความจริงที่เราไมสามารถ เขาใจไดอยางเต็มที่ แตเปนความจริงที่เราเชื่ออยางมั่นคง เพราะเชื่อในพระวาจาของพระเปนเจา

- 23 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

4. การสรางจักรวาลและทูตสวรรค 36. เราหมายความวาอยางไร เมื่อเราพูดวา พระเปนเจาทรง สรางฟาและดิน (290, 296) เมื่อเราพูดวาพระเปนเจาทรงสรางฟาและดินนั้น เราหมายความ วา พระองคทรงสรางทุกสิ่งทุกอยางจากความวางเปลา ดวย ฤทธิ์อํานาจของพระองค 37. มีอะไรบางที่เปนสิ่งสรางที่สําคัญของพระเปนเจา (356, 330) สิ่งสรางที่สําคัญของพระเปนเจามีทูตสวรรคและมนุษย ก. ทูตสวรรค 38. ทูตสวรรคคือใคร (330) ทูตสวรรคคือจิตที่ถูกสราง ไมมีรางกาย รูคิดผิดชอบและมี อําเภอใจ 39. พระเปนเจาไดประทานพระพรอะไรบางแกทูตสวรรค เวลา ที่ทรงสรางเขาขึ้นมา (330) พระองคประทานปรีชาญาณ อํานาจและความศักดิ์สิทธิ์ที่ ยิ่งใหญแกพวกเขา

- 24 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

40. ทูตสวรรคไดซื่อสัตยตอพระเปนเจาทุกองคหรือไม (329) ไมทุกองค บางองคไดทําผิดตอพระเปนเจา ข. ทูตสวรรคที่ดี 41. มีอะไรที่เกิดขึ้นกับทูตสวรรคที่ซื่อสัตยตอพระเปนเจา (329) พวกทานไดเขารวมความสุขนิรันดรในสวรรค เราเรียกพวกนี้วา ทูตสวรรคที่ดี 42. ทูตสวรรคที่ดีทําอะไรบนสวรรค (329) พวกทานเชยชม รักและนมัสการพระเปนเจา 43. ทูตสวรรคที่ดีชวยเราไดอยางไร (336) พวกทานชวยเราดวยการภาวนาใหเรา ดวยการเปนทูตจากพระ เปนเจามาหาเรา และดวยการใหการบริการแกเราดวยการเปน อารักขเทวดา 44. อารักขเทวดาชวยเราไดอยางไรบาง (350, 352) ทานชวยเราดวยการภาวนาใหเราโดยเฉพาะ ดวยการถวายคํา ภาวนาของเราแดพระเปนเจา ดวยการปกปองเราจาก ภยันตราย และดวยการดลใจเราใหทําดี

- 25 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

45. เรามีหนาที่อะไรตออารักขเทวดา (352) เราตองแสดงความคารวะตอทานดวยความศรัทธา ขอบคุณ ทานที่ไดดูแลเราตลอดเวลา วิงวอนทานใหชวยเหลือเรา เปนตน เมื่อถูกประจญลอลวงและพรอมที่จะปฏิบัติตามการดลใจของ ทาน ค. ทูตสวรรคที่เลว 46. มีอะไรเกิดขึ้นกับทูตสวรรคที่ไมซื่อสัตยตอพระเปนเจา (391)

พวกเขาถูกสงลงนรก และเราเรียกพวกนี้วาทูตสวรรคที่เลวหรือ ปศาจ 47. วิธีการใดที่ถือวาเปนวิธีการหลักที่ทูตสวรรคที่เลวทําราย เราได (414) วิธีการหลักที่พวกเขาทํารายเราก็คือลอลวงใหเราทําบาป 48. การประจญลอลวงทั้งหมดมาจากทูตสวรรคที่เลวหรือ (1707)

การประจญลอลวงบางอยางมาจากปศาจ แตการประจญ ลอลวงอื่นๆมาจากตัวเราเอง จากบุคคลและสิ่งของที่อยูรอบตัว เรา - 26 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

49. ทําไมพระเปนเจาจึงทรงปลอยใหปศาจลอลวงเรา (295, 2847)

ทรงปลอยใหปศาจลอลวงเราเพื่อจะทรงดึงเราใหเขามาใกล พระองค เพื่อใหโอกาสแกเราในการที่จะแสดงความเชื่อและ ความวางใจในพระองค และเพื่อทรงเปดโอกาสใหเราในการที่ จะเติบโตขึ้นในพระหรรษทานโดยผานการดิ้นรนที่การนี้ เรียกรอง 50. เราจะสามารถตอสูกับการประจญลอลวงไดตลอดเวลา หรือไม (2848) เราจะสามารถตอสูกับการประจญลอลวงไดตลอดเวลา เพราะวามันจะนําเราไปสูการทําบาป และแนนอนพระเปนเจา ทรงพรอมเสมอที่จะชวยเราถาเรารองขอพระองค 5. การสรางและการหลงผิดของมนุษย ก. การสรางมนุษย 51. มนุษยเปนอะไร (225, 326, 382) มนุษยเปนสิ่งสรางที่ประกอบดวยรางกายและวิญญาณ สราง ขึ้นมาตามภาพลักษณและความคลายคลึงของพระเปนเจา และถูกเรียกใหมารวมมือกับพระองคในการแตงเติมโลกใบนี้ให เปนไปตามน้ําพระทัยของพระองค และเพื่อจะไดมีสวนรวมใน พระสิริมงคลนิรันดรของพระองค - 27 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

52. ความคลายคลึงกับพระเปนเจาของเรานี้ เปนความ คลายคลึงดานรางกายหรือดานวิญญาณมากกวา (363) ความคลายคลึงกับพระเปนเจาของเรานี้ เปนความคลายคลึง ดานวิญญาณมากกวา 53. วิญญาณคลายคลึงกับพระเปนเจาไดอยางไร (1705) วิญญาณคลายคลึงกับพระเปนเจา เพราะวาวิญญาณเปน จิตที่รูคิดผิดชอบ และมีอําเภอใจ และไมรูจักตาย 54. เสรีภาพคืออะไร (1731-1733) เสรีภาพคือ คุณลักษณะของน้ําใจของเรา ซึ่งเราจะใชในการ เลือกทําดี และซึ่งไดมาดวยการยอมมอบตัวเองอยางเต็มที่และ ดวยความรัก 55. ใครเปนบิดามารดาคูแรกของมนุษย (375) มนุษยคูแรกคืออาดัมและเอวา บิดามารดาคูแรกของมนุษยชาติ

- 28 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

56. อะไรเปนพระพรสําคัญที่พระเปนเจาประทานแกอาดัมและ เอวา (375) พระพรสําคัญที่พระเปนเจาประทานแกอาดัมและเอวาคือ พระ หรรษทานศักดิ์สิทธิกร ซึ่งทําใหพวกเขาเปนบุตรของพระเปนเจา พรอมทั้งประทานสิทธิเมืองสวรรคแกพวกเขาอีกดวย 57. พระเปนเจายังไดประทานพระพรอะไรอีกแกอาดัมและเอวา (376-377)

พระพรอื่นๆ ที่พระเปนเจาไดประทานแกอาดัมและเอวาคือ ความสุขอยูในสวนสวรรค ณ แผนดิน การรูจักพระองค การ บังคับกิเลสตัณหา และการไดรับยกเวนจากความทุกขทรมาน และความตาย ข. การหลงผิดของมนุษย (396) 58. พระเปนเจาไดประทานบัญญัติอะไรแกอาดัมและเอวา บัญญัติซึ่งพระเปนเจาทรงมีตออาดัมและเอวาคือ หามกินผลไม ของตนหนึ่งในสวนสวรรค ณ แผนดิน 59. อาดัมและเอวาไดถือตามบัญญัตินี้หรือไม (397) อาดัมและเอวาไมไดถือตามบัญญัติของพระเปนเจา ถูกปศาจ ลอลวงใหกินผลไมที่ตองหาม - 29 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ค. การลงโทษมนุษย 60. มีอะไรเกิดขึ้นกับอาดัมและเอวาเพราะความผิดของพวก เขา (399-400, 416) เพราะความผิดของพวกเขา อาดัมและเอวาตองสูญเสีย พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร สูญเสียสิทธิที่จะเขาเมืองสวรรค พรอมทั้งพระพรพิเศษตางๆ พวกเขาตองตาย ตองทนทุกข ทรมานและมีความโนมเอียงไปในทางบาปและถูกขับไลออกจาก สวนสวรรค ณ แผนดิน 61. มีอะไรเกิดขึ้นกับพวกเราอันเนื่องมาจากบาปของอาดัม (404)

เนื่องจากบาปของอาดัม เราผูเปนลูกหลานจึงเขามาในโลกนี้ โดยปราศจากพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร และไดรับโทษทัณฑ ของทานเปนมรดก ดั่งเชนเราจะไดรับพระพรตางๆ ของทาน หากวาทานไดนบนอบตอพระเปนเจา 62. บาปประการนี้ที่อยูในตัวเรา เขาเรียกกันวาบาปอะไร (417) บาปประการนี้ที่อยูในตัวเราเขาเรียกกันวาบาปกําเนิด 63. ทําไมจึงเรียกมันวาบาปกําเนิด (404) เราเรียกวาบาปกําเนิด เพราะมันมาถึงเราโดยกําเนิดของเรา หรือการสืบเชื้อสายมาจากอาดัม - 30 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

64. โดยทางบาปกําเนิด เราไดรับสืบทอดโทษทัณฑที่สําคัญๆ ของอาดัมประการใดบาง (405, 418) โดยทางบาปกําเนิด เราไดรับสืบทอดโทษทัณฑที่สําคัญๆ ของ อาดัมคือ ความตาย ความทุกขทรมาน ความโงเขลาและการ โนมเอียงอยางรุนแรงไปในทางบาป 65. มีใครไดรับยกเวนจากบาปกําเนิดหรือไม (411, 491) พระนางมารียพรหมจารีไดรับการยกเวนจากบาปกําเนิดเพราะ เห็นแกพระบารมีของพระบุตรของพระนาง เนื่องจากอภิสิทธิ์ ประการนี้พระนางจึงไดรับการขนานพระนามวาปฏิสนธินิรมล 6. บาปที่เรากระทําเอง 66. บาปกําเนิดเปนบาปเพียงแตชนิดเดียวเทานั้นหรือ (404) บาปกําเนิดไมไดเปนบาปเพียงแตชนิดเดียวเทานั้น ยังมีบาปอีก ชนิดหนึ่งที่เราเรียกวา บาปปจจุบัน ซึ่งเปนบาปที่เรากระทําเอง 67. บาปคืออะไร (1849-1850, 1871) บาปเปนการทําผิดตอพระเปนเจาผูทรงนารักโดยรูตัวและเต็มใจ ทํา ไมวาดวยการกระทําหรือดวยการละเลยที่สั่งหามโดย กฎหมายของพระเปนเจา - 31 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

68. บาปมีกี่ชนิด (1854) บาปมีสองชนิดคือ บาปหนักและบาปเบา ก. บาปหนัก 69. บาปหนักคืออะไร (1857, 1874) บาปหนัก คือ การทําผิดอยางหนักตอพระเปนเจาผูทรงนารัก ของเรา โดยรูตัว เต็มใจ จะเปนเพราะเหตุผลใดก็ตามเราได เลือกเอาบางอยางที่ขัดตอพระบัญญัติของพระเปนเจา 70. ทําไมจึงเรียกมันวาบาปหนัก (1855,1874) ที่เรียกมันวาบาปหนัก เพราะมันทําใหผูกระทําบาปตองขาด พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร ซึ่งเปนชีวิตเหนือธรรมชาติของ วิญญาณ 71. นอกเหนือไปจากการตองขาดพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร แลว ยังมีอะไรอื่นตามมาอันเนื่องมาจากบาปหนักอีก (1861, 1874)

นอกเหนือไปจากการตองขาดพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรแลว บาปหนักยังทําใหเราเปนศัตรูตอพระเปนเจา ทําใหไมไดรับกุศล จากการกระทําที่ดีงามของเรา ทําใหเราตองขาดสิทธิ์ที่จะไดรับ ความสุขนิรันดรในเมืองสวรรค แลวยังทําใหเราสมที่จะไดรับ โทษนิรันดรในนรกอีกดวย - 32 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

72. มีเงื่อนไขจําเปนอะไรบางที่ทําใหบาปเปนบาปหนัก (1857) เพื่อจะทําใหบาปเปนบาปหนัก ตองมีเงื่อนไขจําเปนสามประการ นี้คือ 1) ผิดในขอหนัก 2) รูตัว 3) เต็มใจทํา ข. บาปเบา 73. บาปเบาคืออะไร (1855, 1875, 1863) บาปเบา คือ การทําผิดตอพระเปนเจาผูทรงนารักของเรา แต ไมไดทําใหวิญญาณตองขาดพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร และ อาจไดรับการใหอภัยโดยปราศจากศีลอภัยบาปก็ได 74. เราจะทําบาปเบาเมื่อไร (1862) เราจะทําบาปเบาก็เมื่อเราผิดตอบัญญัติของพระเปนเจาที่ไม หนัก หรือทําผิดในขอหนักแตไมไดตระหนักถึงความผิดของมัน หรือโดยปราศจากความยินยอมเต็มใจ 75. บาปเบาใหโทษอะไรแกเราบาง (1863) บาปเบาทําใหเรามีความรอนรนในการรับใชพระเปนเจาลด นอยลง ทําใหพลังในการตอสูกับบาปหนักของเราลดนอยถอย ลง แลวยังทําใหเราสมจะไดรับโทษจากพระเปนเจาในโลกนี้หรือ ในไฟชําระอีกดวย

- 33 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

76. เราจะหลีกเลี่ยงบาปไดอยางไร (2015, 2340) เราจะหลีกเลี่ยงบาปไดดวยการมุงมั่นความศักดิ์สิทธิ์โดยการ ภาวนา รับศีลศักดิ์สิทธิ์บอยๆ และดําเนินชีวิตแพรธรรมที่เต็มไป ดวยความรักความเมตตา และความรอนรนเพื่อความรอดของ วิญญาณทั้งหลาย ดวยการจดจําวาพระเปนเจาประทับอยูทั่วไป ดวยการคํานึงอยูเสมอวารางกายของเราเปนวิหารของพระจิต เจา ดวยการทําตัวใหมีงานทําอยูตลอดเวลาหรือพักผอน ดวย การตอสูทันทีซึ่งตนตอของบาปที่อยูในตัวเรา และดวยการ หลีกเลี่ยงโอกาสของบาป ค. บาปตน 77. บาปตนคืออะไร (1866, 1876) บาปตน คือ จองหอง ตระหนี่ อุลามก อิจฉา โลภอาหาร โมโห เกียจคราน 78. ทําไมจึงเรียกมันวาเปนบาปตน (1866) ที่เรียกมันวาบาปตนมิไดเปนเพราะมันเปนบาปหนักที่สุด แตเปน เพราะวามันเปนตนเหตุสําคัญที่ทําใหมนุษยทําบาป ง. โอกาสบาป 79. คนเราถูกชักจูงใหทําผิดไดอยางไร (2846-2848) คนเราถูกชักจูงใหทําผิดโดยโอกาสบาป - 34 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

80. อะไรคือโอกาสของบาป (2846, 2848) โอกาสของบาปคือบุคคล สถานที่ หรือสิ่งของที่อาจนําเราไปสู การทําบาป ขอสอง “พระเยซูคริสตเจา… พระบุตรองคเดียวของพระเปนเจา" 7. การอวตาร 81. พระเปนเจาไดทรงทอดทิ้งมนุษยชาติหลังจากที่อาดัมไดทํา ผิดตอพระองคแลวหรือไม (55, 410) พระเปนเจามิไดทรงทอดทิ้งมนุษยชาติหลังจากที่อาดัมไดทําผิด ตอพระองคแลว แตไดทรงสัญญาวาจะสงพระผูไถมาในโลกเพื่อ ปลดปลอยมนุษยชาติใหพนจากบาป และทรงเปดประตูสวรรค ตอนรับมนุษยอีกครั้ง 82. ใครเปนพระผูไถของมวลมนุษย (457) พระผูไถของมวลมนุษยคือพระเยซูคริสตเจา

- 35 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

83. พระบุตรของพระเปนเจาไดทรงอวตารมาเปนมนุษยทันที หลังจากที่บิดามารดาคูแรกของเราไดทําบาปผิดตอ พระองคหรือ (55, 410) พระบุตรของพระเปนเจามิไดทรงอวตารมาเปนมนุษยทันที หลังจากที่บิดามารดาคูแรกของเราไดทําบาปผิดตอพระองค แต ถูกสัญญาไวกับพวกเขาวาจะทรงเปนพระผูไถ 84. ทําไมพระผูไถจึงมิไดเสด็จมาทันทีที่บิดามารดาคูแรกของ เราไดหลงผิดไป (522) พระผูไถมิไดเสด็จมาทันทีที่บิดามารดาคูแรกของเราไดหลงผิด ไป ทั้งนี้ก็เพื่อมนุษยชาติจะไดคอยๆ เตรียมตัวตอนรับ พระวจนาตถมาอวตารในความเต็มเปยมซึ่งพระหรรษทานและ ความจริงของพระองค 85. อะไรเปนขอคําสอนที่สําคัญของพระศาสนจักรคาทอลิก เกี่ยวกับพระเยซูคริสตเจา (479) ขอคําสอนที่สําคัญของพระศาสนจักรคาทอลิกเกี่ยวกับพระ เยซูคริสตเจาคือ พระองคทรงเปนพระเปนเจาที่มาบังเกิดเปน มนุษย

- 36 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

86. ทําไมพระเยซูคริสตเจาจึงทรงเปนพระเจา (454) พระเยซูคริสตเจาทรงเปนพระเจา ก็เพราะวาทรงเปนพระบุตร แตองคเดียวของพระเปนเจา ทรงมีพระธรรมชาติเดียวกันกับ พระบิดา 87. ทําไมพระเยซูคริสตเจาจึงทรงเปนมนุษย (467) พระเยซูคริสตเจาทรงเปนมนุษย ก็เพราะวาทรงเปนพระบุตร ของพระนางมารียพรหมจารี และทรงมีพระกายและพระ วิญญาณเหมือนกันกับพวกเรา 88. พระเยซูคริสตเจาทรงเปนกี่พระบุคคล (480) พระเยซูคริสตเจาทรงเปนพระบุคคลเดียวเทานั้น และพระบุคคล นั้นก็คือพระบุคคลที่สองในพระตรีเอกภาพ 89. พระเยซูคริสตเจาทรงมีกี่พระธรรมชาติ (481) พระเยซูคริสตเจาทรงมีสองพระธรรมชาติ คือ พระธรรมชาติ ของพระเจาและธรรมชาติของมนุษย 90. พระบุตรของพระเปนเจาทรงเปนมนุษยเสมอหรือไม (422) พระบุตรของพระเปนเจาไมไดทรงเปนมนุษยเสมอ แตทรงเปน มนุษยเวลาที่ทรงอวตาร - 37 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

91. การอวตารหมายความวาอยางไร (483) การอวตารหมายความวา พระบุตรของพระเปนเจาในขณะที่ ยังคงรักษาพระธรรมชาติพระเจาไวอยูนั้นก็ไดทรงรับเอา ธรรมชาติมนุษยไว นั่นก็คือทรงมีรางกายและวิญญาณ เหมือนกันกับพวกเรา ขอสาม “ปฏิสนธิเดชะพระจิต บังเกิดจากพระนางมารีย พรหมจารี” 92. พระบุตรของพระเปนเจาทรงปฏิสนธิและทรงบังเกิดเปน มนุษยไดอยางไร (484, 486) พระบุตรของพระเปนเจาทรงปฏิสนธิและทรงบังเกิดเปนมนุษย ดวยเดชะพระจิตในพระครรภอันศักดิ์สิทธิ์ยิ่งของพระนางมารีย พรหมจารี 93. พระบุตรของพระเปนเจาทรงปฏิสนธิและทรงบังเกิดเปน มนุษยเมื่อไร (484) พระบุตรของพระเปนเจาทรงปฏิสนธิและทรงเปนมนุษยในวันที่ พระนางมารียพรหมจารีไดรับสารจากอัครเทวดาคาเบรียล วา พระนางจะทรงเปนพระมารดาของพระเปนเจา - 38 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

94. พระคริสตประสูติเมื่อไร (525) พระคริสตทรงบังเกิดจากพระนางมารียพรหมจารีในวันพระ คริสตสมภพ ทีเ่ มืองเบธเลเฮม เมื่อสองพันกวาปกอนนี้ 95. พระนางมารียพรหมจารีผูศักดิ์สิทธิ์ยิ่งทรงเปนผูใด (488, 509)

พระนางมารียพรหมจารีผูศักดิ์สิทธิ์ยิ่งทรงเปนสตรีผูทรงบุญ กวาหญิงใดๆ ทรงไดรับเลือกจากพระเปนเจาใหเปนพระมารดา ของพระเยซูคริสตเจาของเรา พระนางมารียพรหมจารีทรงเปน พระมารดาของพระเปนเจาอยางแทจริง 96. ทําไมพระนางมารียจึงทรงเปนพระมารดาของพระเปนเจา อยางแทจริง (495) พระนางมารียทรงเปนพระมารดาของพระเปนเจาอยางแทจริง ก็เพราะวาพระนางไดประทานทุกสิ่งทุกอยางใหแกธรรมชาติ มนุษยของพระคริสตเจา แบบเดียวกันกับที่มารดาทั้งหลาย ใหแกบุตรในครรภของตน และเนื่องจากพระนางไดทรงปฏิสนธิ และบังเกิดพระบุตรนิรันดรของพระเปนเจาผูซึ่งทรงกลายเปน พระบุตรของพระแมมารียตามเนื้อหนัง

- 39 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

97. ทําไมพระศาสนจักรคาทอลิกจึงมีความศรัทธาอยางมาก ตอพระนางมารียพรหมจารี (492) พระศาสนจักรคาทอลิกมีความศรัทธาอยางมากตอพระนาง มารียพ รหมจารี เพื่อเปนการเอาแบบอยางพระเปนเจาเองผู ทรงเลือกเอาพระนางเปนพระมารดาของพระองค

191

98. พระแมมารียไดทรงรับอภิสิทธิ์อะไรบางจากพระเปนเจา (491, 492, 495, 510, 966)

อภิสิทธิ์ที่สําคัญๆ ที่พระแมมารียทรงไดรับจากพระเปนเจาคือ การเปนพระมารดาของพระองค การปฏิสนธินิรมล ทรงเปน พรหมจารีเสมอ ความศักดิ์สิทธิ์ที่สูงเดนและปราศจากบาปและ ราคีอยางสิ้นเชิง และการรับเกียรติยกขึ้นสวรรคทั้งกายและ วิญญาณ 99. พระนางมารียพรหมจารีทรงเปนพระมารดาของพระศาสน จักรไดอยางไร (971) พระนางมารียพรหมจารีทรงเปนพระมารดาของพระศาสนจักร ก็เพราะวาทรงปฏิสนธิและบังเกิดพระคริสตเจาผูทรงสถาปนา พระศาสนจักร และทรงเปนพระเศียรที่เห็นไดของพระศาสนจักร เนื่องจากทรงยอมเสียสละพระคริสตเจา พระบุตรของพระนาง ดวยใจกวางขวางบนไมกางเขน และเนื่องจากพระนางยังคงดูแล และเอาพระทัยใสตอบรรดาสมาชิกของพระศาสนจักรดวยคํา ภาวนาอันทรงฤทธิ์ของพระนางจากสวรรค - 40 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

100. พระศาสนจักรตองการอะไรเกี่ยวกับความศรัทธาตอพระ แมมารีย (971) พระศาสนจักรกระตุนใหมีคารวกิจพิเศษตอพระแมมารียใน ฐานะที่ทรงเปนพระมารดาของพระคริสตเจา พระมารดาของ พระศาสนจักรและพระมารดาฝายจิตของเราทุกคน 101. ถาหากวาพระแมมารียทรงเปนพรหมจารีแลว นักบุญ โยเซฟมีบทบาทอะไร (437, 1655) นักบุญโยเซฟเปนบิดาเลี้ยงของพระเยซูเจา พระสวามีของ พระแมมารียตามกฎหมาย และเปนหัวหนาครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ 102. เราควรมีคารวกิจตอนักบุญโยเซฟดวยไหม (533, 534) เราควรมีคารวกิจตอนักบุญโยเซฟเปนพิเศษ เพราะความ ใกลชิดที่ทานมีกับพระเยซูคริสตเจา และเพราะการที่ทานไดทํา ใหน้ําพระทัยของพระเปนเจาสําเร็จสมบูรณไดอยางองอาจ ทาน เปนนักบุญที่ยิ่งใหญที่สุดรองจากพระนางมารียพรหมจารี 103. ในระยะหลังๆ นี้พระศาสนจักรไดพยายามที่จะถวายเกียรติ แดนักบุญโยเซฟ และทําใหความศรัทธาของสัตบุรุษที่มีตอ ทานนั้นเขมขนขึ้นไดอยางไร ในระยะหลังๆ นี้ พระศาสนจักรไดพยายามที่จะถวายเกียรติแด - 41 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

นักบุญโยเซฟ และทําใหความศรัทธาของสัตบุรุษที่มีตอทานนั้น เขมขนขึ้นดวยการประกาศใหทานเปนองคอุปถัมภและผูปกปอง พระศาสนจักรสากล พรอมทั้งเปนแบบฉบับและองคอุปถัมภ ของกรรมกรและคนงาน พรอมทั้งรวมเอาชื่อของทานไวในบท ขอบพระคุณโรมัน (บทขอบพระคุณแบบที่ 1) 104. ทําไมพระเยซูเจาจึงทรงเลือกเกิดมายากจน พระเยซูเจาทรงเลือกเกิดมายากจนเพื่อสอนเราไมใหเราตั้ง ความสุขของเราไวบนกองเงินกองทอง เกียรติยศและความ สนุกสนานของโลกนี้ 105. พระเยซูเจาทรงดํารงชีพอยูบนโลกนี้เปนเวลากี่ป พระเยซูเจาทรงดํารงชีพอยูบนโลกนี้เปนเวลาสามสิบสามป 106. พระเยซูคริสตเจาทรงใชวันเวลาของพระองคบนโลกนี้ อยางไร (535) พระเยซูคริสตเจาทรงใชวัยเด็ก วัยเยาวชนและวัยหนุมของ พระองคที่บานของพระแมมารียและของนักบุญโยเซฟ พระมารดาและบิดาเลี้ยงของพระองคดวยการทํางานเปนชางไม ที่หมูบานนาซาเร็ธ ในประเทศปาเลสไตน ทรงใชปทายๆ ในชีวิต ของพระองคในศาสนบริการสาธารณะ - 42 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

107. เราไดรับบทเรียนอะไรบางจากชีวิตที่เรนลับของพระองค (533, 564)

ชีวิตเรนลับของพระเยซูเจาที่หมูบานนาซาเร็ธสอนเราถึงคุณคา พระของชีวิตปกติของคริสตชน ผูซึ่ง -โดยการทําใหศักดิ์สิทธิ์ ครบครันของการงานของพระองคจะแสวงหาที่จะรักและ รับใชพระเปนเจา ณ ตรงที่เขาอยูในในโลกนี้ 108. งานอะไรก็ไดรับการทําใหศักดิ์สิทธิ์ไดใชไหม (533, 2427) งานทุกชนิด ไมวาจะเปนงานที่ทําดวยมือหรือดวยสติปญญา ก็ ไดรับการทําใหศักดิ์สิทธิ์ได ขอเพียงแตใหเปนงานที่ดีที่ประเสริฐ มันอาจจะถูกเปลี่ยนใหกลายเปนวิธีการเพื่อถวายพระเกียรติแด พระเปนเจา เพื่อนํามาซึ่งความศักดิ์สิทธิ์สวนตัว และนําคน จํานวนมากใหเขาใกลชิดกับพระคริสตเจา 109. เราจะทําใหการงานของเราศักดิ์สิทธิ์ไดอยางไร (533,2427) เราจะทําใหการงานของเราศักดิ์สิทธิ์ไดดวยการทําอยางดีที่สุด เทาที่เราจะทําได และเพราะเห็นแกความรักตอพระเปนเจา แบบเดียวกันกับที่พระเยซูเจาไดทรงกระทําการงานของ พระองคในฐานะชางไมที่หมูบานนาซาเร็ธ

- 43 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ขอสี่ “ทรงรับทรมานสมัยปอนซีโอ ปลาโต ถูกตรึงกางเขน ตายและฝงไว” 8. พระธรรมล้ําลึกปสกาของพระคริสตเจา 110. การไถบาปหมายความวาอะไร (517, 613-614, 622) การไถบาปหมายความวา พระเยซูคริสตเจาไดทรงถวายความ ทุกขทรมานและความตายของพระองคแดพระเปนเจาเพื่อเปน การชดเชยบาปของมนุษย 111. การทนทุกขทรมานที่สําคัญๆ ของพระคริสตเจามีอะไรบาง (601, 1851)

การทนทุกขทรมานที่สําคัญๆ ของพระคริสตเจามีความเจ็บปวด อยางขมขื่นในพระวิญญาณ พระเสโทเปนเลือด ทรงถูกเฆี่ยน อยางโหดราย การสวมมงกุฎหนาม การถูกตรึงกางเขน และ การสิ้นพระชนมบนไมกางเขน 112. พระคริสตเจาสิ้นพระชนมเมื่อไร พระคริสตเจาสิ้นพระชนมวันศุกรศักดิ์สิทธิ์ 113. พระคริสตเจาสิ้นพระชนมที่ไหน พระคริสตเจาสิ้นพระชนมบนเนินเขากลโกธาหรือกัลวารีโอ นอกกรุงเยรูซาเล็ม - 44 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

114. พระคริสตเจาสิ้นพระชนมในฐานะที่ทรงเปนพระเปนเจา หรือทรงเปนมนุษย (629) พระคริสตเจาสิ้นพระชนมในฐานะมนุษย เพราะวาในฐานะ พระเปนเจา พระองคจะทรงรับทรมานหรือสิ้นพระชนมไมได 115. เราไดรับบทเรียนอะไรบางจากการทรมานและการ สิ้นพระชนมของพระคริสตเจา (595, 1851) จากการทรมานและการสิ้นพระชนมของพระคริสตเจา เราได เรียนรูถึงความรักของพระเปนเจาที่มีตอมนุษยและความชั่วราย ของบาป พระเปนเจาผูทรงยุติธรรมที่สุดจึงทรงเรียกรองการ ชดเชยถึงขนาดนั้น 116. ทําไมพระคริสตเจาจึงทรงตองการที่จะถูกฝงไว (625) พระคริสตเจาทรงตองการที่จะถูกฝงไวเพื่อเปนขอพิสูจนอยาง หนักแนนวาไดสิ้นพระชนมจริงๆ เพื่อใหการกลับคืนชีพของ พระองคจะเปนที่นาเชื่อถือยิ่งขึ้น และชัยชนะตอความตายของ พระองคยิ่งรุงเรืองสุกใส

- 45 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ขอหา “เสด็จลงใตบาดาล วันที่สามกลับคืนชีพจากบรรดาผูตาย” 117. เราหมายความวาอยางไรเมื่อเราสวดบทขาพเจาเชื่อฯ ตอนที่วา “เสด็จลงใตบาดาล” (632, 633) เมื่อเราสวดบทขาพเจาเชื่อฯ ตอนที่วา “เสด็จลงใตบาดาล” เรา หมายความวา หลังการสิ้นพระชนม วิญญาณของพระคริสตเจา ลงไปในบาดาลอันเปนสถานที่เหลาวิญญาณของผูชอบธรรม กําลังรอคอยพระองคอยู 118. ทําไมพระคริสตเจาจึงเสด็จลงใตบาดาล (632, 637) พระคริสตเจาเสด็จลงใตบาดาลเพื่อทรงประกาศใหเหลา วิญญาณที่รอคอย ณ ที่นั่น ซึ่งขาวอันนายินดีวาพระองคไดทรง เปดประตูสวรรคใหแกมนุษยชาติอีกครั้งแลว 119. พระกายของพระคริสตเจาอยูที่ไหนขณะที่วิญญาณของ พระองคลงใตบาดาล (630) ขณะที่วิญญาณของพระองคลงใตบาดาลนั้น พระกายของ พระคริสตเจาอยูในพระคูหาศักดิ์สิทธิ์

- 46 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

120. เราหมายความวาอยางไรเมื่อเราพูดวา “กลับคืนชีพจาก บรรดาผูตาย” (650) เมื่อเราพูดวา “กลับคืนชีพจากบรรดาผูตาย” เราหมายความวา วิญญาณของพระคริสตเจากลับเขารางกายของพระองคอีกครั้ง

198

121. พระคริสตเจาทรงกลับคืนชีพจากบรรดาผูตายเมื่อไร (639) พระคริสตเจาทรงกลับคืนชีพจากบรรดาผูตายอยางรุงโรจนและ อมตะในวันอาทิตยปสกา วันที่สามหลังการสิ้นพระชนม 122. ทําไมพระคริสตเจาจึงทรงกลับคืนชีพจากบรรดาผูตาย (653, 655)

พระคริสตเจาทรงกลับคืนชีพจากบรรดาผูตายเพื่อแสดงใหเห็น วาทรงเปนพระเจาแท และเพื่อทรงสอนเราวาเราก็จะกลับคืน ชีพจากบรรดาผูตายดวยเชนกัน 123. มนุษยทุกคนจะกลับคืนชีพหรือไม (1038) มนุษยทุกคนจะกลับคืนชีพ แตมีเฉพาะผูที่สัตยซื่อตอพระคริสตเจาเทานั้นที่จะไดมีสวนรวมในพระสิริมงคลของพระองค

- 47 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ขอหก “เสด็จขึ้นสวรรคประทับเบื้องขวาพระบิดา” 124. พระคริสตเจาเสด็จขึ้นสวรรคเมื่อใด (659) พระคริสตเจาเสด็จขึ้นสวรรค ทั้งรางกายและวิญญาณ ในวัน เสด็จขึ้นสวรรค คือสี่สิบวันหลังการกลับคืนชีพ 125. ทําไมพระคริสตเจาจึงประทับอยูบนโลกอีกสี่สิบวันหลังการ กลับคืนชีพ (659) พระคริสตเจาประทับอยูบนโลกอีกสี่สิบวันหลังการกลับคืนชีพ เพื่อพิสูจนใหเห็นวาไดกลับคืนชีพจริงๆ และทรงทําใหการอบรม สั่งสอนบรรดาอัครสาวกของพระองคสําเร็จสมบูรณไป 126. ทําไมพระคริสตเจาจึงเสด็จขึ้นสวรรค (660, 661, 665, 667) พระคริสตเจาเสด็จขึ้นสวรรคเพื่อจะทรงรับพระสิริมงคลซึ่งทรง ไดมาดวยการมีชัยชนะตอบาปและความตาย เพื่อจะทรงเปนคน กลางและผูทูลเสนอของเราตอพระบิดาเจา เพื่อทรงสงพระจิต เจามาตามที่ไดทรงสัญญาไว และเพื่อจะทรงเปดประตูสวรรค และทรงเตรียมที่เตรียมทางใหเรา

- 48 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

127. เราหมายความวาอยางไรเมื่อเราพูดวา “ประทับเบื้องขวา พระบิดา” (663, 668) เมื่อเราพูดวา “ประทับเบื้องขวาพระบิดา” เราหมายความวา พระคริสตเจาในฐานะที่ทรงเปนพระเปนเจาก็ทรงเทาเสมอกัน กับพระบิดา และในฐานะมนุษยพระองคก็ทรงมีสวนในพระสิริ มงคลของพระบิดาเจาเหนือบรรดานักบุญ และเพื่อจะทรง ปฏิบัติตลอดนิรันดรซึ่งพระอํานาจสูงสุดของพระมหากษัตริย เหนือสิ่งสรางทั้งมวล ขอเจ็ด “แลวจะเสด็จมาพิพากษาผูเปนและผูตาย” 128. เราหมายความวาอยางไรเมื่อเราพูดวา “แลวจะเสด็จมา พิพากษาผูเปนและผูตาย” (678, 679, 682) เมื่อเราพูดวา “แลวจะเสด็จมาพิพากษาผูเปนและผูตาย” เรา หมายความวา ในวันสิ้นพิภพ พระคริสตเจาจะทรงประกาศ รางวัลนิรันดรหรือโทษนิรันดรแกทุกคนที่เคยมีชีวิตอยูบนโลกนี้ 129. จะทรงพิพากษาผูเปนและผูตายดวยเรื่องอันใด (1039, 1059) จะทรงพิพากษาผูเปนและผูตายดวยเรื่องความดีและความชั่ว ทางจริยธรรมที่พวกเขาไดกระทํา รวมไปถึงลูกโซที่ตามมาของ การกระทําของพวกเขาแมกระทั่งการกระทําที่ไดผานพนมาเปน เวลานานแลวจนถึงการสิ้นสุดของกาลเวลา - 49 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ขอแปด “ขาพเจาเชื่อถึงพระจิตเจา” 9. พระจิตเจา 130. พระจิตเจาคือใคร (685, 689) พระจิตเจาทรงเปนพระเจา พระบุคคลที่สามในพระตรีเอกภาพ ผูทรงเนื่องมาจากพระบิดาและพระบุตร 131. พระจิตเจาทรงเทาเสมอกันกับพระบิดาและพระบุตร หรือไม (689) พระจิตเจาทรงเทาเสมอกันกับพระบิดาและพระบุตร เพราะทรง เปนพระเปนเจา 132. พระจิตเจาทรงทําอะไรเพื่อความรอดพนของมนุษยชาติ (747, 809)

พระจิตเจาประทับอยูในพระศาสนจักรเพื่อทรงเปนทอธารแหง ชีวิตของพระศาสนจักร และเพื่อทรงทําใหวิญญาณทั้งหลาย ศักดิ์สิทธิ์ดวยการประทานพระหรรษทาน 133. พระจิตเจาทรงทําใหเราเปนผูศักดิ์สิทธิ์หรือไม (734, 736) พระจิตเจาทรงทําใหเราเปนผูศักดิ์สิทธิ์ดวยการดํารงอยูใน วิญญาณของเราโดยผานทางการประทานพระหรรษทาน ดวย - 50 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

การสองสวางจิตใจของเราใหรูจักพระเปนเจาดวยความเชื่อ และดวยการเพิ่มพลังใหแกน้ําใจของเราเพื่อจะไดทําตามน้ํา พระทัยของพระเปนเจา 134. เราจะมีความศรัทธาตอพระจิตเจาไดอยางไร (2670, 2671) เราควรปฏิบัติความศรัทธาของเราตอพระจิตเจาดวยการ พยายามที่จะตื่นตัวกับการประทับอยูของพระองคในวิญญาณ ของเราอยูตลอดเวลาโดยทางพระหรรษทาน ดวยการวอนขอ ความชวยเหลือของพระองคเพื่อสองสวางจิตใจของเราและเพื่อ เพิ่มพลังใหแกน้ําใจของเรา และดวยการสนองตอบการดลใจ ของพระองคในทันทีและอยางซื่อสัตย ขอเกา “พระศาสนจักรศักดิ์สิทธิ์สากล สหพันธนักบุญ” 10. พระศาสนจักรคาทอลิก 135. พระศาสนจักรคืออะไร (777, 804, 815, 816) พระศาสนจักรคือประชากรใหมของพระเปนเจา ประกอบดวยผู ที่ไดรับศีลลางบาป สนิทสัมพันธกันในความเชื่อเดียวกัน บูชา ยัญและศีลศักดิ์สทิ ธิ์เดียวกัน ภายใตผูสืบตําแหนงของนักบุญ เปโตร คือสมเด็จพระสันตะปาปา และบรรดาพระสังฆราชสนิท สัมพันธกันกับพระองคทาน - 51 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

136. ใครกอตั้งพระศาสนจักร (763) พระเยซูคริสตเจาทรงเปนผูกอตั้งพระศาสนจักร 137. ทําไมพระเยซูคริสตเจาจึงทรงกอตั้งพระศาสนจักร (763) พระเยซูคริสตเจาทรงกอตั้งพระศาสนจักรเพื่อนํามนุษยชาติเขา สูความรอดพนนิรันดร 138. พระศาสนจักรนํามนุษยชาติไปสูความรอดพนนิรันดรได อยางไร (767, 768, 788, 789) พระศาสนจักรนํามนุษยชาติไปสูความรอดพนนิรันดรไดโดยการ ประทับอยูอยางตอเนื่องของพระผูกอตั้งของพระศาสนจักร และ โดยทางการดํารงอยูของพระจิตเจาซึ่งทรงเปนทอธารของชีวิต ของพระศาสนจักร 139. พระจิตเจาผูประทับอยูในพระศาสนจักรไดทรงแสดงให เห็นดวยตาเปนครั้งแรกเมื่อไร (731, 732) พระจิตเจาผูประทับอยูในพระศาสนจักรไดทรงแสดงใหเห็นดวย ตาเปนครัง้ แรกในวันอาทิตยเปนเตกอสเต เมื่อเสด็จลงมาเหนือ สานุศิษยกลุมแรกจํานวนหนึ่งรอยยี่สิบคน ลักษณะเหมือนลิ้น ไฟ กอนหนานั้น ในวันอาทิตยปสกา พระองคทรงถูกประทาน แกบรรดาอัครสาวกเพื่อการใหอภัยบาป - 52 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

140. พระจิตเจาจะประทับอยูในพระศาสนจักรนานเทาไร (729) พระจิตเจาจะประทับอยูในพระศาสนจักรจวบจนสิ้นกาลเวลา 141. ใครเปนผูสงพระจิตเจาใหมาประทับอยูในพระศาสนจักร (729)

พระเปนเจาพระบิดาและพระเปนเจาพระบุตรทรงสงพระจิตเจา ใหมาประทับอยูในพระศาสนจักร 142. พระคริสตเจา ในฐานะที่ทรงเปนหัวหนาของพระศาสนจักร ไดประทานอํานาจการสอน การทําใหศักดิ์สิทธิ์และ ปกครองสมาชิกของพระศาสนจักรในพระนามของ พระองคใหแกผูใด พระคริสตเจาในฐานะที่ทรงเปนหัวหนาของพระศาสนจักรได ประทานอํานาจการสอน การทําใหศักดิ์สิทธิ์และปกครอง สมาชิกของพระศาสนจักรในพระนามของพระองคใหแกบรรดา อัครสาวก พระสังฆราชกลุมแรกของพระศาสนจักร 143. พระคริสตเจาทรงพอพระทัยใหพวกอัครสาวกแตเพียงพวก เดียวเทานั้นที่มีอํานาจนี้หรือ (860, 862) เปลา - พระคริสตเจาทรงพอพระทัยใหบรรดาพระสังฆราชของ พระศาสนจักรผูสืบตําแหนงของพวกอัครสาวกใชอํานาจนี้ได ดวย - 53 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

144. พระคริสตเจาไดประทานอํานาจพิเศษในพระศาสนจักรแก อัครสาวกองคใดองคหนึ่งโดยเฉพาะหรือไม (881, 882, 936) พระคริสตเจาไดประทานอํานาจพิเศษในพระศาสนจักรแก นักบุญเปโตร โดยทรงแตงตั้งทานใหเปนหัวหนาของบรรดาอัคร สาวก และเปนอาจารยและผูปกครองสูงสุดของพระศาสนจักร ทั้งครบ 145. พระคริสตเจาทรงตองการใหอํานาจพิเศษของการเปน อาจารยและผูปกครองสูงสุดของพระศาสนจักรทั้งครบเปน ของนักบุญเปโตรแตผูเดียวหรือ (882, 936) ไมใช - พระคริสตเจาไมทรงตองการใหอํานาจพิเศษของการ เปนอาจารยและผูปกครองสูงสุดของพระศาสนจักรทั้งครบเปน ของนักบุญเปโตรแตเพียงผูเดียวเทานั้น แตทรงตองการให อํานาจนี้ถูกถายทอดไปสูผูสืบตําแหนงของทานคือ สมเด็จ พระสันตะปาปา พระสังฆราชแหงกรุงโรม ผูทรงเปนผูแทนของ พระคริสตเจาบนโลกนี้ และทรงเปนหัวหนาที่แลเห็นไดของ พระศาสนจักร 146. ใครชวยบรรดาพระสังฆราชในการดูแลวิญญาณ (1562) บรรดาพระสงฆ โดยเฉพาะอยางยิ่งพระสงฆเจาอาวาส ชวย บรรดาพระสังฆราชในการดูแลวิญญาณ - 54 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

147. ฆราวาสของพระศาสนจักรคือใคร (897, 898) ฆราวาสของพระศาสนจักรคือทุกคนที่ถูกทาบเขากับพระคริสต เจาดวยศีลลางบาป มีพันธกิจในการทําใหความเปนจริงของโลก นี้ศักดิ์สิทธิ์ไป ในขณะที่ดําเนินชีวิตอยูในโลกดวยการรับใชพระ เปนเจาและพี่นองเพื่อนมนุษยดวยกัน โดยการทําใหหนาที่ ประจําวันสําเร็จไปดวยความขยันขันแข็งและดวยการเปน ตัวแทนของพระศาสนจักรอยางไมเปนทางการ 148. คริสตชนมีเสรีภาพอะไรบางในเรื่องของโลกนี้ (2442) คริสตชนมีเสรีภาพทุกอยางในเรื่องของโลกนี้แบบเดียวกันกับ เพื่อนรวมโลกของพวกเขา ขอเพียงแตใหพวกเขาปฏิบัติตาม พระบัญญัติของพระเปนเจาและของพระศาสนจักรในเรื่องที่ เกี่ยวกับความเชื่อและจริยธรรม 149. สัตบุรุษทุกคนตางก็มีสวนรวมในพันธกิจของพระศาสนจักร หรือ (871) สัตบุรุษทุกคน –ตามบทบาทจําเพาะของตน- ตางก็มีสวนรวม ในพันธกิจของพระศาสนจักรที่มีตอโลก และดังนั้นพวกเขาตาง ก็มีสวนรวมในหนาที่สงฆ ประกาศก และกษัตริย ของพระคริสต เจา

- 55 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

11. เครื่องหมายและคุณลักษณะตางๆของพระศาสนจักร

150. ศาสนจักรใดคือพระศาสนจักรที่แทจริงที่ไดรับการ สถาปนาขึ้นโดยพระคริสตเจา (811) ศาสนจักรที่เปนพระศาสนจักรที่แทจริงที่ไดรับการสถาปนา ขึ้นมาโดยพระคริสตเจา คือพระศาสนจักรคาทอลิก ก. เครื่องหมายของพระศาสนจักร 151. เรารูไดอยางไรวาพระศาสนจักรคาทอลิกเปนพระศาสน จักรที่แทจริงที่ไดรับการสถาปนาขึ้นมาโดยพระคริสตเจา (811)

เรารูไดวาพระศาสนจักรคาทอลิกเปนพระศาสนจักรที่แทจริงที่ ไดรับการสถาปนาขึ้นมาโดยพระคริสตเจา ก็เพราะวามีแต พระศาสนจักรคาทอลิกเทานั้นที่มีเครื่องหมายของพระศาสนจักรที่แทจริง 152. เราหมายถึงอะไรเมื่อเราพูดถึงเครื่องหมายของพระศาสน จักร (811) เมื่อเราพูดถึงเครื่องหมายของพระศาสนจักร เราหมายถึง เครื่องหมายที่ชัดเจนที่ทําใหมนุษยรูไดวาเปนพระศาสนจักรที่ แทจริงที่พระคริสตเจาไดทรงสถาปนาขึ้นมา - 56 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

153. อะไรเปนเครื่องหมายที่สําคัญๆ ของพระศาสนจักร (811) เครื่องหมายที่สําคัญๆ ของพระศาสนจักรมีอยูสี่อยางคือ จะตองมีเอกภาพ ศักดิ์สิทธิภาพ คาทอลิกหรือสากล และ สืบเนื่องมาจากบรรดาอัครสาวก 154. ทําไมจึงวาพระศาสนจักรคาทอลิกมีเอกภาพ (815, 866) พระศาสนจักรคาทอลิกมีเอกภาพก็เพราะวาสมาชิกทุกคน ยืนยันความเชื่อเดียวกัน มีบูชายัญเดียวกัน และประกอบศีล ศักดิ์สิทธิ์เดียวกัน และรวมกันเปนหนึ่งเดียวภายใตหัวหนาที่ แลเห็นไดเดียวกันคือ สมเด็จพระสันตะปาปา ตามน้ําพระทัย ของพระคริสตเจา 155. ทําไมจึงวาพระศาสนจักรคาทอลิกมีศักดิ์สิทธิภาพ (823, 824, 867)

พระศาสนจักรคาทอลิกมีศักดิ์สทิ ธิภาพก็เพราะวาถูกสถาปนา ขึ้นมาโดยพระคริสตเจาผูทรงเปนองคความศักดิ์สิทธิ์ พระศาสนจักรสอนขอคําสอนที่ศักดิ์สิทธิ์ขององคพระผู สถาปนาของพระศาสนจักร พรอมจัดหาวิธีการตางๆ ใหเพื่อจะ สามารถดําเนินชีวิตที่ศักดิ์สิทธิ์ได จนสามารถผลิตสมาชิกผู ศักดิ์สิทธิใ์ หไดในทุกยุคทุกสมัย

- 57 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

156. ทําไมจึงวาพระศาสนจักรคาทอลิกมีสากลภาพหรือ คาทอลิก (830, 831, 869) พระศาสนจักรคาทอลิกมีสากลภาพหรือคาทอลิกก็เพราะวาถูก กําหนดใหคงอยูตลอดกาล พระศาสนจักรจึงไมเคยละเลยที่จะ ปฏิบัติตามพระบัญชาที่ใหสอนนานาชาติซึ่งความจริงทุกขอที่ พระเปนเจาทรงไขแสดง พระศาสนจักรจึงจําเปนที่จะตองเปน ธรรมทูต 157. ทําไมจึงวาพระศาสนจักรคาทอลิกสืบเนื่องมาจากบรรดา อัครสาวก (857, 860, 869) พระศาสนจักรคาทอลิกสืบเนื่องมาจากบรรดาอัครสาวกก็ เพราะวา ไดรับการสถาปนาขึ้นมาโดยพระคริสตเจา บน รากฐานของบรรดาอัครสาวก และใหเปนไปตามน้ําพระทัยของ พระองค จึงไดรับการปกครองและจะคงไดรับการปกครอง จากผูสืบตําแหนงที่ถูกตองแทจริงของพวกทานตลอดไป 158. เรารูไดอยางไรวามีแตพระศาสนจักรคาทอลิกเทานั้นที่เปน พระศาสนจักรของพระคริสตเจา (811) เรารูวามีแตพระศาสนจักรคาทอลิกเทานั้นที่เปนพระศาสนจักร ของพระคริสตเจา ก็เพราะวาไมมีศาสนจักรใดเลยที่มี เครื่องหมายเหลานี้ - 58 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ข. คุณลักษณะตางๆ ของพระศาสนจักร 159. อะไรเปนคุณลักษณะที่สําคัญๆของพระศาสนจักรคาทอลิก (869, 873, 874, 890)

คุณลักษณะที่สําคัญๆ ของพระศาสนจักรคาทอลิกคือ มีอํานาจ ความไมรูจักผิดหลงไดและไรตําหนิ ที่ถูกเรียกวาเปนคุณลักษณะ ก็เพราะวาเปนคุณภาพซึ่งเปนธรรมชาติของพระศาสนจักร 160. เราหมายถึงอะไรเมื่อเราพูดถึงอํานาจของพระศาสนจักร คาทอลิก (873, 874, 2034) เมื่อเราพูดถึงอํานาจของพระศาสนจักรคาทอลิก เราหมายถึง สมเด็จพระสันตะปาปา บรรดาพระสังฆราช ในฐานะที่เปนผูสืบ ตําแหนงที่แทจริงและถูกตองของบรรดาอัครสาวก ไดรับอํานาจ มาจากพระคริสตเจาเองผูทรงเปนหัวหนาของพระศาสนจักร ให สอน ใหทําใหศักดิ์สิทธิ์ และใหปกครองประชาสัตบุรุษในเรื่องที่ เกี่ยวกับฝายจิต 161. เราหมายถึงอะไร เมื่อเราพูดถึงความไมรูจักผิดหลงไดของ พระศาสนจักรคาทอลิก (890, 2035) เมื่อเราพูดถึงความไมรูจักผิดหลงไดของพระศาสนจักรคาทอลิก เราหมายถึงพระศาสนจักรโดยความชวยเหลือพิเศษจากพระจิต เจา ไมอาจจะผิดพลั้งไดเมื่อพระศาสนจักรสั่งสอนหรือเชื่อขอ คําสอนที่เกี่ยวกับความเชื่อและจริยธรรม - 59 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

162. เราหมายถึงอะไร เมื่อเราพูดวาพระศาสนจักรคาทอลิกสั่ง สอนอยางไมรูจักผิดหลงได (891) พระศาสนจักรคาทอลิกสั่งสอนอยางไมรูจักผิดหลงได เราหมายถึงเมื่อพระศาสนจักรโดยทางสมเด็จพระสันตะปาปา เทานั้นในฐานะที่ทรงเปนอาจารยสูงสุดของคริสตชนทุกคนหรือ โดยทางสมเด็จพระสันตะปาปากับบรรดาพระสังฆราช ไมวาจะ โดยการประชุมรวมกันเปนสังคายนาหรือที่อยูทั่วโลก กําหนด ขอคําสอนเกี่ยวกับความเชื่อหรือจริยธรรมที่บรรดาสัตบุรุษ จะตองถือ 163. เราหมายถึงอะไรเมื่อเราพูดถึงความไรตําหนิของพระศาสน จักรคาทอลิก (869) เมื่อเราพูดถึงความไรตําหนิของพระศาสนจักรคาทอลิก เราหมายถึงพระศาสนจักรในฐานะที่เปนสถาบันที่พระคริสตเจา ไดทรงกอตั้งขึ้นจะตองคงอยูตลอดกาล 164. เพื่อจะเอาตัวรอดไปสวรรคได จําเปนไหมที่ทุกคนจะตอง เขาอยูในพระศาสนจักรคาทอลิก (846) เพื่อจะเอาตัวรอดไปสวรรคไดจําเปนที่ทุกคนจะตองเขาอยูใน พระศาสนจักรคาทอลิก

- 60 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

165. เราหมายถึงอะไรเมื่อเราพูดวา “ไมมีความรอดพนนอก พระศาสนจักรคาทอลิก” (646, 774) เมื่อเราพูดวา “ไมมีความรอดพนนอกพระศาสนจักรคาทอลิก” เราหมายความวา พระคริสตเจาไดทรงทําใหพระศาสนจักร คาทอลิกเปนวิถีจําเปนของความรอดพน พรอมทั้งทรงบัญชาให ทุกคนเขาอยู ดังนั้นจําจะตองสัมพันธกับพระศาสนจักรคาทอลิก ดวยวิธีใดวิธีหนึ่งจึงจะไดรอดพน ดังนั้น พระศาสนจักรคาทอลิก จึงเปนศีลศักดิ์สิทธิ์สากลของความรอดพน 166. คนที่ไมไดเปนสมาชิกของพระศาสนจักรคาทอลิกจะเอาตัว รอดไปสวรรคไดหรือไม (820, 822, 851) คนที่ไมไดเปนสมาชิกของพระศาสนจักรคาทอลิกจะเอาตัวรอด ไปสวรรคได ถาหากวาเขาไมรจู ักวาพระศาสนจักรคาทอลิกเปน พระศาสนจักรที่เที่ยงแทโดยที่ไมไดเปนความผิดของเขาเอง กระนั้นก็ดี เขายังรักพระเปนเจาและพยายามที่จะทําตาม น้ําพระทัยของพระองคเพราะวาดวยวิธีนี้เขาก็สัมพันธกับ พระศาสนจักรดวยความปรารถนาแลว ความรอนรนที่แทจริง ของคริสตศาสนสัมพันธควรที่จะทําใหเราดิ้นรนในการที่จะนําผู ที่ไมใชคาทอลิกใหมามีสวนรวมในความเชื่อคาทอลิก และมามี สวนรวมในพระธรรมล้ําลึกของพระคริสตเจาอยางสิ้นเชิง

- 61 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

168. ทําไมพระศาสนจักรคาทอลิกจึงถูกเรียกวาเปนพระกาย ทิพยของพระคริสตเจา (789, 795, 805, 807) พระศาสนจักรคาทอลิกถูกเรียกวาเปนพระกายทิพยของพระ คริสตเจา เพราะวาบรรดาสมาชิกของพระศาสนจักรสัมพันธ เปนหนึ่งเดียวกันดวยพันธนาการเหนือธรรมชาติ โดยมี พระคริสตเจาทรงเปนศีรษะ จึงเปนคลายกับอวัยวะและศีรษะ ของรางกายมนุษยที่มีชีวิต 12. สหพันธนักบุญ 168. คําวา “สหพันธนักบุญ” ในบทขาพเจาเชื่อฯ หมายความวา อะไร (948, 954, 960, 962) คําวา “สหพันธนักบุญ” ในบทขาพเจาเชื่อฯ จริงๆ แลว หมายความวาการรวมกันของสิ่งที่ศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายและ เหนือกวาสิ่งอื่นใดคือศีลมหาสนิท รองลงมายังหมายถึงการ รวมกันของสัตบุรุษบนโลกนี้ บรรดาผูมีบุญอยูในสวรรคและ วิญญาณทั้งหลายในไฟชําระโดยมีพระคริสตเจาทรงเปน พระเศียร

- 62 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

169. โดยทางสหพันธนกั บุญบรรดาผูมีบุญทั้งหลายบนสวรรคจะ ทําอะไรเพื่อวิญญาณในไฟชําระและสัตบุรุษบนแผนดินนี้ได (956, 2683)

โดยทางสหพันธนักบุญ บรรดาผูมีบุญทั้งหลายบนสวรรคจะ ชวยวิญญาณในไฟชําระ และสัตบุรุษบนแผนดินนี้ไดดวยการ วิงวอนพระเปนเจาเพื่อพวกเขา 170. โดยทางสหพันธนักบุญ สัตบุรุษบนแผนดินนี้จะถวาย เกียรติแดผูมีบุญทั้งหลายบนสวรรค พรอมทั้งขอใหทาน วิงวอนพระเปนเจาเพื่อพวกเขาไดไหม (957) โดยทางสหพันธนักบุญ สัตบุรุษบนแผนดินนี้จะถวายเกียรติแดผู มีบุญทั้งหลายบนสวรรคพรอมทั้งขอใหทานวิงวอนพระเปนเจา เพื่อพวกตนก็ยอมได เพราะวาพวกเขาสมจะไดรับการถวาย เกียรติและในฐานะที่เปนพระสหายของพระเปนเจา พวกทานก็ ยอมชวยบรรดาสัตบุรุษบนแผนดินนี้ได 171. โดยทางสหพันธนักบุญ สัตบุรุษบนแผนดินนี้จะชวย บรรเทาความทุกขทรมานของวิญญาณในไฟชําระได หรือไม (958, 1479) โดยทางสหพันธนักบุญ สัตบุรุษบนแผนดินนี้จะชวยบรรเทา ความทุกขทรมานของวิญญาณในไฟชําระไดดวยคําภาวนา การ ถือศีลอดอาหารและการทําความดีตางๆ ดวยพระคุณการุญ บริบูรณและดวยการขอมิสซาใหพวกเขา - 63 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

172. สัตบุรุษบนแผนดินนี้จะชวยเหลือกันและกันไดหรือไม (952, 953)

สัตบุรุษบนแผนดินนี้ในฐานะทีเ่ ปนอวัยวะของพระกายทิพยของ พระคริสตเจา จะชวยเหลือกันไดดวยการปฏิบัติความรักเหนือ ธรรมชาติ และโดยเฉพาะอยางยิ่งดวยการปฏิบัติงานแหงความ รักทั้งฝายกายและฝายจิต ขอสิบ “การอภัยบาป” 13. ความยิ่งใหญของพระเมตตาของพระเปนเจา 173. คําวา “การอภัยบาป” ในบทขาพเจาเชื่อฯ หมายความวา อะไร (976, 986) คําวา “การอภัยบาป” ในบทขาพเจาเชื่อฯ หมายความวา พระเปนเจาในพระเมตตาอันยิ่งใหญของพระองค พระองคได ประทานแกพระศาสนจักรของพระองคซึ่งอํานาจในการอภัยบาป 174. มีบาปอะไรบางที่จะไดรับการอภัย (982) บาปทุกประการ โดยไมมีขอยกเวนใดๆ ทั้งสิ้นตางก็ไดรับการ อภัยทั้งนั้น ขอเพียงแตใหเรามีความเสียใจเพราะบาปจริงๆ

- 64 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

175. พระศาสนจักรเปนศีลศักดิ์สิทธิ์สากลแหงการคืนดีได อยางไร (981, 1442) พระศาสนจักรเปนศีลศักดิ์สิทธิ์สากลแหงการคืนดีได เพราะวา ตามน้ําพระทัยของพระเปนเจา พระบารมีของพระเยซูคริสตเจา ซึ่งใหอภัยแกบาปของเรา เปนทอธารผานทางพระศาสนจักรซึ่ง พระองคไดทรงกอตั้งขึ้น 176. พระศาสนจักรสงพระบารมีของพระคริสตเจาถึงบรรดาคน บาปไดอยางไร (1076, 1084) พระศาสนจักรสงพระบารมีของพระคริสตเจาถึงบรรดาคนบาป ไดโดยทางพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณและศีลศักดิ์สิทธิ์ตางๆ โดยเฉพาะและโดยทางคําภาวนาและกิจการดีงามตางๆ ของ สัตบุรุษอีกดวย ขอสิบเอ็ด “การคืนชีพของเนื้อหนัง” 14. การรวมตัวกันใหมครั้งสุดทาย 177. คําวา “การคืนชีพของเนื้อหนัง” ในบทขาพเจาเชื่อฯ หมายความวาอะไร (997, 1001, 1016) คําวา “การคืนชีพของเนื้อหนัง” ในบทขาพเจาเชื่อฯ หมายความ วา เวลาสิ้นพิภพรางกายของมนุษยทุกคนจะกลับเปนขึ้นมาจาก ดินมารวมกับวิญญาณอีกครั้ง แลวจะไมมีวันแยกจากกันอีกเลย - 65 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

178. ทําไมรางกายของผูชอบธรรมจึงกลับคืนชีพ (699) รางกายของผูชอบธรรมกลับคืนชีพเพื่อจะไดรวมสิริมงคลกับ วิญญาณตลอดไป 179. ทําไมรางกายของผูถูกโทษจึงกลับคืนชีพ (998) รางกายของผูถูกโทษกลับคืนชีพเพื่อจะไดรวมรับโทษตลอด นิรันดรกับวิญญาณ 180. มนุษยจะไดรับการพิพากษาอะไรทันทีที่ถูกปลุกใหกลับเปน ขึ้นมา (1038, 1059) มนุษยจะไดรับการพิพากษาประมวลพรอมทันทีที่ถูกปลุกให กลับเปนขึ้นมา 181. มนุษยเราแตละคนจะไดรับการพิพากษาอะไรทันทีที่เรา สิ้นใจ (1022, 1051) มนุษยเราแตละคนจะไดรับการพิพากษาทีละคนทันทีที่เราสิ้นใจ 182. ถาหากวามนุษยเราแตละคนไดรับการพิพากษาทีละคน แลว ทําไมจึงตองมีการพิพากษาประมวลพรอมอีก (1040) แมวามนุษยเราจะถูกพิพากษาทีละคนแลวก็ตาม แตเรายังตอง ถูกพิพากษาประมวลพรอมอีก เพื่อวาความยุติธรรม พระ- 66 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ปรีชาญาณและพระเมตตาของพระเปนเจาจะไดรับการถวาย เกียรติในทามกลางมวลมนุษย ขอสิบสอง “และชีวิตนิรันดร อาแมน” 15. รางวัลและโทษในโลกหนา 183. คําวา “ชีวิตนิรันดร” ในบทขาพเจาเชื่อฯ หมายความวา อะไร (1012, 1020) คําวา “ชีวิตนิรันดร” ในบทขาพเจาเชื่อฯ หมายความวา หลังจากชีวิตนี้ไปแลวยังจะมีอีกชีวิตหนึ่งและมันจะคงอยู ตลอดไป 184. มนุษยเราจะไดรับรางวัลหรือโทษอะไรหลังการพิพากษาที ละคน (1022) รางวัลหรือโทษที่มนุษยเราจะไดรับหลังการพิพากษาทีละคนคือ สวรรค ไฟชําระ หรือนรก 185. ผูใดจะไดรับโทษในไฟชําระ (1030, 1054) ผูที่ตายในสถานะพระหรรษทานแตยังมีบาปเบาติดอยู หรือวา ยังไมไดทําการใชโทษใหเหมาะสมกับบาปของตนขณะยังอยูบน โลกนี้จะถูกลงโทษในไฟชําระ - 67 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

186. ผูใดจะไดรับโทษในนรก (1033, 1035) ผูที่ตายในบาปหนักจะถูกโทษในนรก พวกเขาจะไมไดเชยชม พระเปนเจา และจะรับทุกขทรมานอยางแสนสาหัสดวยไฟ โดยเฉพาะตลอดนิรันดร 187. ผูใดจะไดไปสวรรค ผูที่ตายในสถานะพระหรรษทาน และถาหากจําเปน ไดรับการ ชําระในไฟชําระใหพนบาปเบาทั้งหมดพรอมทั้งหนี้ของโทษบาป บนโลกนี้ แลวก็จะไดรับรางวัลในสวรรค พวกเขาจะไดเชยชม พระเปนเจาหนาตอหนาและจะมีสวนรวมในสิริมงคลและ ความสุขตลอดนิรันดรกับพระองค 188. คําวา “อาแมน” ในตอนจบของบทขาพเจาเชื่อฯ หมายความวาอะไร (1064) คําวา “อาแมน” ในตอนจบของบทขาพเจาเชื่อถึงฯ หมายความ วา “ขอใหเปนเชนนั้นเทอญ” หรือ “สาธุ” ใชเพื่อแสดงความเชื่อ มั่นคงในขอคําสอนทุกขอที่มีอยูในบทขาพเจาเชื่อฯ

- 68 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ภาค ๒ ความศักดิ์สิทธิ์และทอธาร ของชีวิตคริสตชน ศีลศักดิ์สิทธิ์และการภาวนา

- 69 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

16. การเรียกเขาสูความศักดิ์สิทธิ์ 189. ความศักดิ์สิทธิ์หรือความเต็มเปยมของชีวิตคริสตชนคือ อะไร (2014) ความศักดิ์สิทธิ์หรือความเต็มเปยมของชีวิตคริสตชนคือ การ รวมเขากับพระเปนเจาเพื่อจะไดเปนเหมือนกับพระคริสตเจา 190. เราจะตองทําอะไรเพื่อจะไดมาซึ่งความศักดิ์สิทธิ์ (826,2013) เพื่อจะไดมาซึ่งความศักดิ์สิทธิ์ เราจะตองรักพระเปนเจา เหนือกวาทุกสิ่งและรักเพื่อนมนุษยเหมือนรักตนเองเพราะเห็น แกความรักตอพระเปนเจา จนถึงกับวาเราจะทําทุกสิ่งเพราะ และดวยความรักตอพระองคตามสถานภาพของชีวิตของเรา 191. ใครบางที่ถูกเรียกใหมาเปนผูศักดิ์สิทธิ์ (825, 2013, 2028) คริสตชนทุกคน ไมวาจะอยูในสถานภาพแบบใดก็ตามตางก็ถูก เรียกใหมาเปนผูศักดิ์สิทธิ์ 192. ทําไมคริสตชนทุกคนจึงตองแสวงหาความศักดิ์สิทธิ์ (2013) คริสตชนทุกคนตองแสวงหาความศักดิ์สิทธิ์ เพราะพระคริสตเจา เองไดตรัสไววา “ฉะนั้น ทานจงเปนคนดีบริบูรณ ดังที่พระบิดา เจาสวรรคของทาน ทรงความดีบริบูรณเถิด” (มธ 5:48) - 70 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

193. คริสตชนธรรมดาจะแสวงหาความศักดิ์สิทธิ์ไดอยางไร (2427)

คริสตชนธรรมดาจะแสวงหาความศักดิ์สิทธิ์ไดดวยการทําให ชีวิตประจําวันและหนาที่ปกติของเขาศักดิ์สิทธิ์ และใน ขณะเดียวกันก็ทําใหตัวเองและคนอื่นศักดิ์สิทธิ์ไปดวย 194. เราจะทําใหตัวของเราและของคนอื่นศักดิ์สิทธิ์ไดภายใน กระแสเรียกจําเพาะไดเสมอหรือไม (871, 873) เราจะทําใหตัวของเราและของคนอื่นศักดิ์สิทธิ์ในกระแสเรียก จําเพาะของเราไดเสมอ เพราะวาดวยพระหรรษทานของพระ เปนเจาเราจะพบทุกสิ่งที่จําเปนภายในกระแสเรียกของเราเพื่อ จะเปนผูศักดิ์สิทธิ์ เพื่อพิสูจนเอกลักษณของเรากับพระคริสต เจายิ่งวันยิ่งมากขึ้น และเพื่อจะนําวิญญาณจํานวนมากไปหา พระเปนเจาดวย 195. เราจะตองทําอะไรเพื่อจะไดรูจักและสนองตอบกระแส เรียกของเรา (2826) เพื่อจะไดรูจักและสนองตอบกระแสเรียกของเรา เราจะตอง วิงวอนขอแสงสวางจากพระเปนเจาดวยการภาวนา การฟง หรือการอานพระวาจาของพระเปนเจาพรอมทั้งรําพึงพระวาจา นั้น เราจะตองพยายามที่จะอยูใกลชิดกับพระองคตลอดเวลา โดยเฉพาะอยางยิ่งดวยการรับศีลศักดิ์สิทธิ์บอยๆ ขอคําแนะนํา - 71 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

จากผูฟงแกบาปหรือคุณพอแนะนําวิญญาณของเรา วอนขอ การชี้ทางและพละกําลังจากพระจิตเจาและจากพระนาง พรหมจารีมารีย 17. พระหรรษทานของพระเปนเจาในตัวเรา 196. พระเปนเจาทรงทําใหเราศักดิ์สิทธิ์ไดอยางไร (1997) พระเปนเจาทรงทําใหเราศักดิ์สิทธิ์ไดดวยการประทานชีวิตเหนือ ธรรมชาติใหแกเรา ซึ่งก็เปนการมีสวนรวมในชีวิตของพระเปน เจาโดยทางพระหรรษทานนั่นเอง 197. พระหรรษทานคืออะไร (1998, 1999) พระหรรษทานคือ ทานเหนือธรรมชาติซึ่งพระเปนเจาประทาน แกเราเพราะเห็นแกพระบารมีของพระเยซูคริสตเจาเพื่อความ รอดพนของเรา 198. พระหรรษทานมีกี่ชนิด (2000, 2024) พระหรรษทานมีสองชนิด คือพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรและ พระหรรษทานปจจุบัน

- 72 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

199. พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรคืออะไร (1999, 2000, 2023) พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรคือ คุณภาพเหนือธรรมชาติที่อยูใน วิญญาณมนุษย ซึ่งทําใหเรามีสวนรวมในชีวิตของพระเปนเจาเอง 200. อะไรที่เปนผลที่สําคัญๆ ของพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร (2024)

ผลที่สําคัญๆของพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรคือ 1) ทําใหเรา ศักดิ์สิทธิ์และเปนที่พอพระทัยของพระเปนเจา 2) ทําใหเราเปน บุตรบุญธรรมของพระเปนเจา 3) ทําใหเราเปนพระวิหารของ พระจิตเจา 4) ทําใหเรามีสิทธิ์ที่จะไปสวรรคได 201. พระหรรษทานปจจุบันคืออะไร (2000) พระหรรษทานปจจุบันคือ ความชวยเหลือเหนือธรรมชาติของ พระเปนเจา ซึ่งทรงใชเพื่อสองสวางจิตใจของเรา และเพื่อให พลังแกน้ําใจของเราในการที่จะทําดีและหนีชั่ว 202. เราจะขัดสูตอพระหรรษทานของพระเปนเจาไดหรือไม (2002)

เราจะขัดสูตอพระหรรษทานของพระเปนเจาก็ยอมได เพราะวา เรามีอําเภอใจ และพระเปนเจาก็มิไดทรงบังคับเราใหรับพระ หรรษทานของพระองค - 73 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________ 69

203. ทําไมพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรจึงมีความจําเปนสําหรับ ความรอดพน (1999) พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรมีความจําเปนสําหรับความรอดพน เพราะวา มันเปนชีวิตเหนือธรรมชาติซึ่งมีแตพระหรรษทานศักดิ์ สิทธิกรเทานั้นที่จะสามารถทําใหเราไดรับความสุขนิรันดรใน สวรรคได

204. พระหรรษทานปจจุบันมีความจําเปนสําหรับทุกคนที่รูจักใช เหตุผลแลวหรือไม พระหรรษทานปจจุบันมีความจําเปนสําหรับทุกคนที่รูจักใช เหตุผลแลว เพราะวาปราศจากมันเราก็จะไมสามารถตอสูกับ การประจญลอลวงไดนานนัก หรือกระทําอะไรที่จะทําใหเรา ไดรับสวรรคเปนรางวัลได 205. อะไรเปนวิธีการที่สําคัญๆ ในการรับพระหรรษทาน (1131, 1392, 2010)

วิธีการที่สําคัญๆ ในการรับพระหรรษทานคือ การภาวนาและ การรับศีลศักดิ์สิทธิ์ตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งศีลมหาสนิท

- 74 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

206. เราจะทําใหการกระทําปกติสวนใหญของเราสมจะไดรับ รางวัลสวรรคไดหรือไม (2011) เราจะทําใหการกระทําปกติสวนใหญของเราสมจะไดรับรางวัล ในสวรรคได ดวยการกระทําเพราะเห็นแกความรักตอพระเปน เจา และทําในขณะที่เราอยูในสถานพระหรรษทาน 18. คุณธรรมและพระพรของพระจิตเจา 207. พลังเหนือธรรมชาติที่สําคัญๆ ที่พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร ใหแกวิญญาณนั้นมีอะไรบาง (1266) พลังเหนือธรรมชาติที่สําคัญๆที่พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรใหแก วิญญาณนั้นมีคุณธรรมเหนือธรรมชาติ หรือคุณธรรมเทววิทยา สามประการ พรอมกับพระพรทั้งเจ็ดประการของพระจิตเจาอีก ดวย 208. ทําไมจึงเรียกคุณธรรมเหลานี้วาคุณธรรมเทววิทยา (1812, 1840)

ที่เรียกคุณธรรมเหลานี้วาคุณธรรมเทววิทยาก็เนื่องจาก คุณธรรมเหลานี้มีพระเปนเจาเปนเปาหมาย 209. คุณธรรมเทววิทยาทั้งสามประการนี้คืออะไรบาง (1813,1841) คุณธรรมเทววิทยาทั้งสามประการนี้คือ ความเชื่อ ความไวใจ และความรัก - 75 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

210. ความเชื่อคืออะไร (1814, 1842) ความเชื่อ คือ คุณธรรมเหนือธรรมชาติที่ทําใหเราเชื่อมั่นคงใน พระเปนเจา และความจริงทั้งหลายที่ทรงไขแสดงตอเราและที่ พระศาสนจักรศักดิ์สิทธิ์สั่งสอนใหเราเชื่อ 211. ความไวใจคืออะไร (1817, 1843) ความไวใจ คือ คุณธรรมเหนือธรรมชาติที่ทําใหเราไวใจใน พระเปนเจาผูทรงสรรพานุภาพและสัตยซื่อตอพระสัญญาของ พระองค และในพระทัยเมตตาของพระองค พระองคจะ ประทานความสุขนิรันดรแกเราพรอมทั้งวิธีการที่จะทําใหไดมา ซึ่งความสุขนั้นดวย 212. ความรักคืออะไร (1822, 1844) ความรัก คือ คุณธรรมเหนือธรรมชาติที่ทําใหเรารักพระเปนเจา เหนือกวาทุกสิ่งเพราะเห็นแกพระองค และรักเพื่อนมนุษยของ เราเหมือนกับรักตัวเราเองเพราะเห็นแกความรักตอพระเปนเจา 213. ยังมีคุณธรรมอื่นใดอีกนอกเหนือไปจากคุณธรรมเทววิทยา ทั้งสามประการนี้คือความเชื่อ ความไวใจและความรัก หรือไม (1804) นอกเหนือไปจากคุณธรรมเทววิทยาทั้งสามประการนี้คือความ เชื่อ ความไวใจและความรักแลว ยังมีคุณธรรมที่เรียกกันวา คุณธรรมจริยธรรมอีกดวย - 76 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

214. ทําไมจึงเรียกคุณธรรมเหลานี้วาคุณธรรมจริยธรรม (1804) ที่เรียกคุณธรรมเหลานี้วาคุณธรรมจริยธรรมก็เพราะวามันจะ ชวยเราในการดําเนินชีวิตจริยธรรมหรือชีวิตที่ดี ดวยการ ชวยเหลือเราใหปฏิบัติตนตอคนอื่นและสิ่งอื่นอยางถูกตอง นั่นก็ คือ ตามน้ําพระทัยของพระเปนเจา 215. คุณธรรมจริยธรรมที่สําคัญๆ มีอะไรบาง (1805, 1834) คุณธรรมจริยธรรมที่สําคัญๆ มี ความฉลาด ความยุติธรรม ความเขมแข็งและความมัธยัสถ เราเรียกคุณธรรมเหลานี้วา คุณธรรมเอก 216. ทําไมจึงเรียกคุณธรรมเหลานี้วาคุณธรรมเอก (1805) ที่เราเรียกคุณธรรมเหลานี้วาคุณธรรมเอก ก็เพราะวามันเปน เสมือนขอ (หรือ ตะขอ) ที่ทําใหคุณธรรมจริยธรรมอื่นๆ และ ชีวิตจริยธรรมทั้งครบของเราแขวน คําวา “เอก” (cardinal) เนื่องจากมันมาจากคําวา “cardo” ในภาษาลาตินซึง่ หมายความ วาขอ (หรือ ตะขอ) 217. คุณธรรมความฉลาด ความยุติธรรม ความเขมแข็งและ ความมัธยัสถชวยเราใหดําเนินชีวิตที่ดีไดอยางไร (1806, 1835, 1807, 1836, 1808, 1837, 1809, 1838)

ความฉลาดชวยใหเรารูจักตัดสินใจที่ถูกตองวาอะไรควรทําและ - 77 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

อะไรที่ไมควรทํา ความยุติธรรมชวยเราใหรูจักอะไรที่เปนของ เราเอง ความเขมแข็งชวยเราใหรูจักทําสิ่งที่ดี แมวาจะมี ความยากลําบากก็ตาม ความมัธยัสถชวยเราใหรูจักบังคับ ความตองการของเราและใหรูจักใชอยางถูกตอง ซึ่งสิ่งที่สราง ความพึงพอใจใหแกประสาททั้งหาของเรา 218. ยังมีคุณธรรมจริยธรรมอื่นๆ อีกไหม (1804, 1805) ยังมีคุณธรรมจริยธรรมอื่นๆ อีกมากมาย เชน ความสุภาพ ความวานอนสอนงาย ความขยันหมั่นเพียร ความนบนอบ ความจริงใจ ความจงรักภักดี ความบริสุทธิ์ ความเปนระเบียบ เรียบรอย ความยากจนและความราเริง 219. บุญลาภคืออะไร (1716-1719, 1725-1726, 1728) บุญลาภคือ มาตรฐานที่พระคริสตเจาไดทรงตั้งไวสําหรับผูที่ เปนศิษยของพระองค ดวยการนําพวกเขาสูความสุขที่แทจริงทั้ง ในโลกนี้และในโลกหนาดวย

220. ทําไมจึงเรียกวาบุญลาภ (1716) ที่เรียกวาบุญลาภก็เพราะมันเริ่มตนดวยคําวา “บุญลาภ” หรือ “มีสุข” แลวลงทายดวยคํามั่นสัญญาถึงรางวัลที่จะไดจากการ ปฏิบัติคุณธรรมนั้นๆ - 78 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

221. บุญลาภแปดประการมีอะไรบาง (1716) บุญลาภแปดประการคือ 1. ผูมีใจยากจน ยอมเปนสุข เพราะอาณาจักรสวรรคเปนของ เขา 2. ผูเปนทุกขโศกเศรา ยอมเปนสุข เพราะเขาจะไดรับการ ปลอบโยน 3. ผูมีใจออนโยน ยอมเปนสุข เพราะเขาจะไดรับแผนดินเปน มรดก 4. ผูหิวกระหายความยุติธรรม ยอมเปนสุข เพราะเขาจะอิ่ม 5. ผูมีใจเมตตา ยอมเปนสุข เพราะเขาจะไดรับพระเมตตา 6. ผูมีใจบริสุทธิ์ ยอมเปนสุข เพราะเขาจะไดเห็นพระเจา 7. ผูสรางสันติ ยอมเปนสุข เพราะเขาจะไดชื่อวาเปนบุตรของ พระเจา 8. ผูถูกเบียดเบียนขมเหงเพราะความซื่อสัตยตอพระเจา ยอม เปนสุข เพราะอาณาจักรสวรรคเปนของเขา 222. พระพรของพระจิตเจาคืออะไร (1830, 1831) พระพรของพระจิตเจา คือ นิสัยเหนือธรรมชาติที่ติดพระหรรษ ทานศักดิ์สิทธิกรมา ซึ่งทําใหวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ครบครันกวา คุณธรรมตางๆ เพื่อชวยใหวิญญาณสามารถตอบสนองการ ดลใจของพระจิตเจาไดงายขึ้นและราเริงกวา - 79 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

223. พระพรของพระจิตเจามีกี่ประการ (1831, 1845) พระพรของพระจิตเจามีเจ็ดประการคือ พระดําริ สติปญญา ความคิดอาน พละกําลัง ความรู ความศรัทธา ความยําเกรง พระเจา 224. เรารับพระพรแหงพระดําริไปเพื่ออะไร เรารับพระพรแหงพระดําริไปเพื่อจะทําใหเรามีรสนิยมในสิ่งที่ เปนของพระเปนเจา พรอมกับนําชีวิตและการกระทําทั้งหมด ของเราสูการถวายพระเกียรติมงคลและพระสิริรุงโรจนของ พระองค 225. เรารับพระพรแหงสติปญญาไปเพื่ออะไร เรารับพระพรแหงสติปญญาไป เพื่อจะทําใหเราสามารถรูจัก พระธรรมล้ําลึกแหงความเชื่อไดอยางชัดเจนกวา 226. เรารับพระพรแหงความรูไปเพื่ออะไร เรารับพระพรแหงความรูไป เพื่อจะทําใหเราสามารถเขาใจ คุณคาของสิ่งของของโลกนี้เมื่อไปเปรียบเทียบกับพระเปนเจาได 227. เรารับพระพรแหงความคิดอานไปเพื่ออะไร เรารับพระพรแหงความคิดอานไปเพื่อจะทําใหเรารอบคอบ ยิ่งขึ้นในการนําทางเราและคนอื่น ในการทําตามน้ําพระทัยของ พระเปนเจาได - 80 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

228. เรารับพระพรแหงความศรัทธาไปเพื่ออะไร เรารับพระพรแหงความศรัทธาไปเพื่อจะทําใหเราสามารถรัก พระเปนเจาดวยความรักที่ออนโยนและฉันลูกได พรอมทั้งแสดง ความเคารพตอเพื่อนมนุษยในฐานะที่เขาเปนบุตรของพระเปน เจาดวย 229. เรารับพระพรแหงพละกําลังไปเพื่ออะไร เรารับพระพรแหงพละกําลังไปเพื่อจะทําใหเรามีกําลังในการที่ จะทําตามน้ําพระทัยของพระเปนเจาไดแมวาจะตองเผชิญกับ ความยากลําบากก็ตาม 230. เรารับพระพรแหงความยําเกรงพระองคไปเพื่ออะไร เรารับพระพรแหงความยําเกรงพระองคไปเพื่อจะทําใหเรา สามารถมีความเคารพตอความสงาราศีของพระเปนเจาไดอยาง ลึกซึ้ง พรอมทั้งความเกรงกลัวตอบาปเนื่องจากมันเปนสิ่งที่ ชั่วรายที่สุด 231. ผลของพระจิตเจามีอะไรบาง (1832) ผลของพระจิตเจาคือสิ่งที่ตามมาของการประทับอยูของพระจิต เจา พรอมทั้งพระพรตางๆ ของพระองคในวิญญาณ

- 81 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

232. ผลของพระจิตเจามีกี่อยาง (1832) ผลของพระจิตเจามีอยู 12 อยางคือ ความรัก ความยินดี สันติภาพ ความอดทน ความใจดี ความดี ความใจกวาง ความ ออนหวาน ความซื่อสัตย ความพอประมาณ การบังคับตนเอง และความบริสุทธิ์ 19. พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์และศีลศักดิ์สิทธิ์โดยทั่วไป การกระทําของพระคริสตเจาและของพระศาสนจักร

233. พระคริสตเจาทรงถายทอดและแจกจายผลแหงการไถบาป ของพระองคอยางไร (1068, 1069, 1076) พระคริสตเจาทรงถายทอดและแจกจายผลแหงการไถบาปของ พระองคโดยทางการประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ตางๆ ของ พระศาสนจักร 234. พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์คืออะไร (1070, 1136, 1187) พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ คือ คาวรวกิจสาธารณะที่พระกายทิพย ของพระคริสตเจาทั้งครบถวายแดพระเปนเจา นั่นก็คือ โดยพระ คริสตเจา ศีรษะและบรรดาสัตบุรุษซึ่งเปนอวัยวะตางๆ ดังนั้น การประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์จึงเปนการกระทําของพระคริสต เจาทั้งครบ - 82 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

235. พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์แทนอะไรในชีวิตของพระศาสนจักร (1070, 1074, 1092, 1104, 114, 1153, 1156)

พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์เปนจุดสุดยอดในชีวิตของพระศาสนจักร และ เปนทอธารที่ไมรูจักเหือดแหงของพลังการไถกูของพระศาสน จักร ในพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์นี้ พระศาสนจักรโดยทางการกระทํา ของพระจิตเจาเฉลิมฉลองและทําใหเปนจริงขึ้นมาซึ่งพระธรรม ล้ําลึกปสกาของพระคริสตเจา ดวยการใชเครื่องหมายและ สัญลักษณ วาจาและการกระทําอื่นๆ พรอมทั้งการขับรองและ เสียงดนตรีดวย 236. พิธีที่สําคัญๆ ของพิธีกรรมถวายคารวกิจมีอะไรบาง (1075, 1113, 1174, 1670)

พิธีที่สําคัญๆ ของพิธีกรรมถวายคารวกิจมี พิธีมิสซาบูชา ขอบพระคุณ (มิสซา) และศีลศักดิ์สิทธิ์ตางๆ พิธีกรรมของ ชั่วโมงสวดหรือการทําวัตร และสิ่งคลายศีลที่ไดรับการรับรอง จากพระศาสนจักร 237. พิธีกรรมและจารีตของพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์มีอะไรบาง พิธีกรรมก็คือการกระทําของพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ จารีตคือวิธีการ ที่ไดรับการรับรองในการประกอบกิจกรรมพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์

- 83 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

238. ทําไมจึงตองมีกฎเกณฑในการประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ (1206)

ที่ตองมีกฎเกณฑในการประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ก็เพือ่ 1) รักษาไวซึ่งความบริสุทธิ์ของขอคําสอนของพระศาสนจักร คาทอลิก 2) เพื่อรักษาไวซึ่งการเปนหนึ่งเดียวกันของความเชื่อ 3) เพื่อกอใหเกิดชุมชนแหงการถวายคารวกิจ 4) เพื่อสนับสนุน สายสัมพันธแหงความรักที่สัมพันธสัตบุรุษไวดวยกันในฐานะที่ เปนสมาชิกของครอบครัวคริสตชน 239. ผูที่มีหนาที่ในการประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ตองทํา ตัวอยางไร (1144) ผูที่มีหนาทีใ่ นการประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ ไมวาจะเปน ศาสนบริกรหรือฆราวาสก็ตาม จําตองทําตัวใหซาบซึ้งดวยจิต ตารมณของพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ เขาจะตองพยายามที่จะปฏิบัติ หนาที่ของเขาอยางดี สวดบทภาวนาตางๆ ดวยความตั้งใจ และ ปฏิบัติทาทางตางๆ ดวยความศรัทธาอยางแทจริงและดวย ความสงางาม ยิ่งไปกวานั้น เขาจะตองทําเฉพาะแตสวนที่เปน หนาที่ของตนตามธรรมชาติของจารีตและตามกฎเกณฑของ พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์เทานั้น

- 84 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

240. ฆราวาสจะมีสวนรวมในพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์อยาง กระตือรือรนไดอยางไร (1141) ฆราวาสจะมีสวนรวมในพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์อยางกระตือรือรนได ดวยการทําใหจิตใจของเขาตื่นตัวกับสิ่งที่กําลังเกิดขึ้น ดวยการ สัมพันธจิตใจของเขาเขากับพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์และการรวมเสียง และการกระทํากับผูรวมประกอบพิธีกรรมคนอื่นๆ 241. ในจํานวนการประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ตางๆ ของพระศาสนจักรนั้นมีพิธีกรรมอะไรบางที่เรียกกันวาศีลศักดิ์สิทธิ์ ที่พระคริสตเจาทรงสถาปนาขึ้นโดยตรง (1113, 1210) ในจํานวนการประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ตางๆ ของพระศาสน จักรนั้นมีศีลศักดิ์สิทธิ์ 7 ประการ ที่พระคริสตเจาทรงสถาปนา ขึ้นโดยตรง ไดแก ศีลลางบาป ศีลกําลัง ศีลมหาสนิท ศีลอภัย บาปหรือศีลคืนดี ศีลเจิมผูปวย ศีลบวชและศีลสมรส 242. ศีลศักดิ์สิทธิ์คืออะไร (1123, 1131) ศีลศักดิ์สิทธิ์คือ เครื่องหมายภายนอกที่มีประสิทธิผลของพระ หรรษทาน สถาปนาขึ้นโดยพระเยซูคริสตเจา และทรงมอบ ใหแกพระศาสนจักรเพื่อทําใหมนุษยศักดิ์สิทธิ์ สรางสรรค รางกายของพระคริสตเจาและถวายคารวกิจแดพระเปนเจา

- 85 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

243. ทําไมจึงเรียกศีลศักดิ์สิทธิ์วาเปนเครื่องหมายภายนอกที่มี ประสิทธิผลของพระหรรษทาน (1127) ที่เราเรียกศีลศักดิ์สิทธิ์วาเปนเครื่องหมายภายนอกที่มี ประสิทธิผลของพระหรรษทานนั้นก็เพราะวา โดยทาง เครื่องหมายภายนอก ศีลศักดิ์สิทธิ์ทุกประการหมายถึงพระ หรรษทานที่ใหแกวิญญาณของเราอยางแทจริง 244. ศีลศักดิ์สิทธิ์ไดรับอํานาจจากผูใดจึงสามารถใหพระหรรษ ทานได (1084) ศีลศักดิ์สิทธิ์ไดรับอํานาจในการใหพระหรรษทานจากพระเปน เจา โดยบุญบารมีที่พระเยซูคริสตเจาทรงไดมาจากพระมหา ทรมานและการสิ้นพระชนมของพระองค 245. ศีลศักดิ์สิทธิ์ใหพระหรรษทานเสมอไปหรือ (1128, 1131) ศีลศักดิ์สิทธิ์ใหพระหรรษทานเสมอไปถาเรารับอยางสมควร

- 86 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

246. นอกเหนือไปจากการใหหรือเพิ่มพระหรรษทานศักดิ์สิทธิ กรแลว ศีลศักดิ์สิทธิ์แตละประการยังใหพระหรรษทาน พิเศษดวยอีกหรือ (1129, 2003) นอกเหนือไปจากการใหหรือเพิ่มพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรแลว ศีลศักดิ์สิทธิ์แตละประการยังใหพระหรรษทานพิเศษอีกดวย ซึ่ง เรียกกันวาพระหรรษทานของศีลศักดิ์สิทธิ์ซึ่งชวยใหเราไดรับสิ่ง ที่ศีลศักดิส์ ิทธิ์นั้นๆ ไดถูกตั้งขึ้นมาเพื่อให 247. โดยปกติศีลศักดิ์สิทธิ์แบงออกเปนกี่กลุม (1211) โดยปกติศีลศักดิ์สิทธิ์แบงออกเปนสามกลุม คือ ศีลศักดิ์สิทธิ์ แหงการเริ่มตนของคริสตชน ไดแก ศีลลางบาป ศีลกําลังและ ศีลมหาสนิท ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการรักษา ไดแก ศีลอภัยบาป และศีลเจิมผูปวย และศีลศักดิ์สิทธิ์ในการรับใชชุมชน ไดแกศีล บวชและศีลสมรส 248. ทําไมจึงเรียกกันวาศีลลางบาปและศีลอภัยบาปเปนศีล ศักดิ์สิทธิ์ของผูตายดวย ที่เรียกกันวาศีลลางบาปและศีลอภัยบาปเปนศีลศักดิ์สิทธิ์ของ ผูตายนั้น ก็เนื่องจากจุดประสงคหลักของศีลศักดิ์สิทธิ์ทั้งสอง ประการนี้ ก็คือการใหชีวิตเหนือธรรมชาติของพระหรรษทาน ศักดิ์สิทธิกรแกวิญญาณที่ไดตายฝายจิตเนื่องจากบาป - 87 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

249. ทําไมจึงเรียกกันวา ศีลกําลัง ศีลมหาสนิท ศีลเจิมผูปวย ศีลบวชและศีลสมรสเปนศีลศักดิ์สิทธิ์ของผูเปนดวย ที่เรียกกันวา ศีลกําลัง ศีลมหาสนิท ศีลเจิมผูปวย ศีลบวชและ ศีลสมรสเปนศีลศักดิ์สิทธิ์ของผูเปนนั้นก็เนื่องจากวาจุดประสงค หลักของศีลศักดิ์สิทธิ์เหลานี้คือ การทวีพระหรรษทานใหแก วิญญาณที่มีชีวิตฝายจิตอยูแลวโดยทางพระหรรษทานศักดิ์สิทธิ กร 250. ผูที่เขารับศีลศักดิ์สิทธิ์โดยที่รูตัววาตนมีบาปหนักอยูทํา บาปอะไร ผูที่เขารับศีลศักดิ์สิทธิ์โดยทีร่ ูตัววาตนมีบาปหนักอยูทําบาปหนัก บาปทุราจารศีล เนื่องจากเขาทํากับสิ่งศักดิ์สิทธิ์โดยขาดความ เคารพเปนอยางมาก 251. มีศีลศักดิ์สิทธิ์อะไรบางที่รับไดเพียงครั้งเดียวเทานั้น (1121) ศีลศักดิ์สิทธิ์ที่รับไดเพียงครั้งเดียวเทานั้นคือ ศีลลางบาป ศีล กําลังและศีลบวช 252. ทําไมศีลลางบาป ศีลกําลังและศีลบวชจึงรับไดเพียงครั้ง เดียวเทานั้น (1121) ศีลลางบาป ศีลกําลังและศีลบวชรับไดเพียงครั้งเดียวเทานั้น เนื่องจากทั้งสามศีลประทับตราฝายจิตลงบนวิญญาณ ซึ่งเรียก กันวาคุณลักษณะพิเศษซึ่งไมมีวันลบเลือน - 88 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

253. คุณลักษณะพิเศษของศีลศักดิ์สิทธิ์มีผลตอผูรับอยางไรบาง (1121)

คุณลักษณะพิเศษของศีลศักดิ์สิทธิ์ทําใหผูรับมีสวนรวม บางอยางในสังฆภาพของพระคริสตเจา ทําใหพวกเขาสามารถ ประกอบการคารวกิจคริสตชนได และในเวลาเดียวกันก็สัมพันธ พวกเขาเขากับพระคริสตเจาแบบพิเศษ และกับพวกเขาเองใน ฐานะที่เปนอวัยวะของพระกายทิพย 254. อะไรสามอยางที่ศีลศักดิ์สิทธิ์เรียกรอง (1128) สามอยางที่ศีลศักดิ์สิทธิ์เรียกรองไดแก วัตถุ สูตร และ ศาสนบริกร ที่ประกอบศีลศักดิ์สิทธิ์ดวยความตั้งใจที่จะกระทํา สิ่งที่พระศาสนจักรกระทํา 255. วัตถุของศีลศักดิ์สิทธิ์หมายถึงอะไร วัตถุของศีลศักดิ์สิทธิ์หมายถึง การกระทําภายนอกที่จําเปนที่ใช ในการประกอบพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์ซึ่งโดยปกติแลวจะเกี่ยวกับการ ใชวัตถุบางอยางเชน น้ํา น้ํามัน ปงและน้ําองุน 256. สูตรของศีลศักดิ์สิทธิ์หมายถึงอะไร สูตรของศีลศักดิ์สิทธิ์หมายถึง คําพูดที่ใชในการประกอบพิธี หรือโปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ - 89 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

257. ใครคือศาสนบริกรของศีลศักดิ์สิทธิ์ ศาสนบริกรของศีลศักดิ์สิทธคือ ผูใหหรือผูดําเนินการศีล ศักดิ์สิทธิ์นั้น 20. การเริ่มตนของคริสตชนในศีลลางบาป การเกิดในชีวิตของพระหรรษทาน

258. สัตบุรุษจะไดรับผลประโยชนจากศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการ เริ่มตนของคริสตชนไดอยางไร (1212, 1275) สัตบุรุษเกิดใหมดวยศีลลางบาป ไดรับพลังดวยศีลกําลังและ ไดรับการเลี้ยงดูดวยอาหารแหงชีวิตนิรนั ดรในศีลมหาสนิท โดย ทางศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเริ่มตนของคริสตชน พวกเขาไดรับ สวนแบงของชีวิตพระเพิ่มขึ้นและรุดหนาไปสูความครบครันของ ความรัก 259. ศีลลางบาปคืออะไร (1213) ศีลลางบาปคือ ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเริ่มตนของคริสตชน ซึ่งให ชีวิตใหมแหงพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรแกวิญญาณของเรา ซึ่ง ทําใหเรากลายเปนบุตรของพระเปนเจา สมาชิกของพระศาสน จักรและทายาทแหงเมืองสวรรค

- 90 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

260. ผลที่สําคัญๆ ของศีลลางบาปมีอะไรบาง (978, 1262, 1268, 1272, 1279)

ผลที่สําคัญๆ ของศีลลางบาปคือ ทําใหเราพนจากบาปกําเนิด และบาปที่เราทําดวย พรอมกับโทษทัณฑทั้งหลายที่เกิดจาก บาปดวย ทําใหเราไดรับพระหรรษทานของการบังเกิดใหมและ เต็มไปดวยคุณธรรม ทําใหเรากลายเปนบุตรบุญธรรมของพระ เปนเจา เปนสวนหนึ่งของพระคริสตเจาและของพระศาสนจักร ทําใหเราไดรับตราแหงศีลลางบาปและมีสิทธิ์ที่จะไดเขาสวรรค ดวย 261. ตราที่ศีลลางบาปประทับลงบนวิญญาณของเรานั้นมีผล อะไรตอเรา (1270, 1273, 1280) ตราที่ศีลลางบาปประทับลงบนวิญญาณของเรานั้นทําใหเรา เปนคริสตชน เปนศิษย และสาวกของพระคริสตเจาตลอดไป เปนผูที่ไดรับเรียกใหเปนผูศักดิ์สิทธิ์ ทําใหเราเปนสมาชิกของ พระศาสนจักรพรอมกับสิทธิและหนาที่ในการเผยแพรพระ อาณาจักรของพระคริสตเจา ดวยการแพรธรรม ทําใหเรามีสวน คลายคลึงกับพระคริสตเจาในสังฆภาพของพระองค พรอมทั้ง ทําใหเราสามารถรับศีลอื่นๆ ไดอีกดวย 262. ใครเปนศาสนบริกรสามัญของศีลลางบาป (1256) ศาสนบริกรสามัญของศีลลางบาปไดแกพระสังฆราช พระสงฆ และสังฆานุกร - 91 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

263. ในกรณีฉุกเฉินและไมมีพระสงฆหรือสังฆานุกรอยูใกล ใคร จะโปรดศีลลางบาปได (1256, 1284) ในกรณีฉุกเฉินและไมมีพระสงฆหรือสังฆานุกรอยูใกล ใครก็ได ที่มีความตั้งใจถูกตอง ควรและตองโปรดศีลลางบาป 264. โปรดศีลลางบาปอยางไร (1278) ในการโปรดศีลลางบาปนั้นอาจจะจุมผูที่รับศีลลางบาปลงในน้ํา หรือเทน้ําบนศีรษะของเขา พลางกลาววา “ขาพเจาลางทาน เดชะพระนามพระบิดา และพระบุตร และพระจิต” 265. ทําไมศีลลางบาปจึงมีความจําเปนเพื่อความรอดพนของ มนุษย (1257, 1277) ศีลลางบาปมีความจําเปนเพื่อความรอดพนของมนุษยเพราะ พระคริสตเจาไดตรัสไววา “ไมมีใครสามารถเขาสูพระอาณาจักร ของพระเจาไดถาเขาไมเกิดจากน้ําและพระจิตเจา” (ยน 3:5) 266. ผูที่ไมไดรับศีลลางบาปโดยที่ไมใชความผิดของเขาจะรอด พนไดอยางไร (1258-1260, 1281) ผูที่ไมไดรับศีลลางบาปโดยที่ไมใชความผิดของเขาจะรอดพนได ก็ดวยสิ่งที่เรียกกันวา ศีลลางบาปดวยเลือด หรือดวยความ ปรารถนา - 92 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

267. ศีลลางบาปดวยเลือดคืออะไร (1258) ศีลลางบาปดวยเลือดคือ การเปนมรณสักขีเพราะความเชื่อ 268. ศีลลางบาปดวยความปรารถนาคืออะไร (1260) ศีลลางบาปดวยความปรารถนาคือ เมื่อบุคคลผูหนึ่งรักพระเปน เจาเหนือกวาทุกสิ่งและปรารถนาที่จะทําทุกสิ่งทุกอยางที่จําเปน เพื่อความรอดพน 269. เด็กควรรับศีลลางบาปเมื่อไร (1250) เด็กควรรับศีลลางบาปภายในสัปดาหแรกหลังการคลอด เด็กที่ อยูในอันตรายอาจถึงชีวิตควรไดรับศีลลางบาปโดยไมตองชักชา 270. ผูปกครองคาทอลิกที่เลินเลอหรือรีรอไมใหลูกรับศีลลาง บาปเปนเวลาชานานทําบาปอะไร (1250, 1251) ผูปกครองคาทอลิกที่เลินเลอหรือรีรอไมใหลูกรับศีลลางบาป เปนเวลาชานานทําบาปหนัก 271. เด็กที่รบั ศีลลางบาปตองสัญญาอะไรบางผานทางบิดา มารดาและพอแมทูนหัว (1237) เด็กที่รับศีลลางบาปตองสัญญาผานทางบิดามารดาและพอแม ทูนหัววาจะพยายามทําตนใหเปนคนศักดิ์สิทธิ์ ดวยการละทิ้ง - 93 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

บาปและปศาจ ดวยการดําเนินชีวิตแหงความเชื่อตามคําสั่งสอน ของพระคริสตเจาและของพระศาสนจักรของพระองค 272. บิดามารดาและพอแมทูนหัวทําอะไรบางเพื่อเด็กที่กําลังรับ ศีลลางบาป (1237, 1253) สิ่งที่บิดามารดาและพอแมทูนหัวทําเพื่อเด็กที่กําลังรับศีลลาง บาปคือ ยืนยันความเชื่อและประกาศการละทิ้งบาปและปศาจ พรอมกับกิจการและคําสัญญาลมๆ แลงๆ ของมันในนามของ เด็ก 273. กิจการและคําสัญญาลมๆ แลงๆ ของปศาจหมายถึงอะไร (2851, 2852)

กิจการและคําสัญญาลมๆ แลงๆ ของปศาจหมายถึงบาป คําสอนที่ผิดๆ และความฟุงเฟอตางๆ ของโลกนี้ 274. ในการขอใหลูกของตนไดรับศีลลางบาปนั้น บิดามารดา ตองยอมรับเงื่อนไขใดบาง (1251, 1255) ในการขอใหลูกของตนไดรับศีลลางบาปนั้น บิดามารดาตอง ยอมรับความรับผิดชอบในการอบรมลูกของตนในการปฏิบัติ ตามความเชื่อและหนาที่ในการเลี้ยงดูเขาใหรูจักถือตามพระ บัญญัติตามที่พระคริสตเจาทรงสอน ใหรูจักรักพระเปนเจาและ เพื่อนมนุษย - 94 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

275. พอแมทูนหัวตองยอมรับเงื่อนไขใดบาง (1255) พอแมทูนหัวของเด็กที่รับศีลลางบาปตองพรอมที่จะชวยบิดา มารดาของเด็กในการอบรมเขา ใหรูจักยืนยันความเชื่อและ แสดงใหเห็นดวยการดําเนินชีวิตตามความเชื่อ พรอมทั้งสั่งสอน ลูกทูนหัวของตนใหทําหนาที่ทางศาสนาของเขา 276. ควรเลือกเอาผูใ ดเปนพอแมทูนหัว (1255) ควรเลือกเอาผูเปนคาทอลิกที่ไดรับศีลลางบาป ศีลกําลังและศีล มหาสนิทแลวใหครบที่สุดเทาที่จะทําได และผูที่มีวุฒิภาวะเพียง พอที่จะรับความรับผิดชอบเปนพอแมทูนหัวในการรับศีลลาง บาป เขาควรรูจักความเชื่อพรอมทั้งดําเนินชีวิตในการปฏิบัติ หนาที่ทางศาสนาของเขาดวย 277. ทําไมเด็กจึงไดรับชื่อนักบุญเวลารับศีลลางบาป (2156, 2165) เด็กไดรับชื่อนักบุญเวลารับศีลลางบาป เพราะวามันเปน สัญลักษณของความแปลกใหมของชีวิตในพระคริสตเจาและใน การรวมตัวเขาในกลุมคริสตชน นักบุญที่เด็กผูรับศีลลางบาปรับ เอาชื่อของทานไปนั้นก็กลายเปนองคอุปถัมภบนสวรรคซึ่งจะรับ หนาที่ในการดูแลผูรับศีลลางบาปเปนพิเศษตลอดชีวิตของเขา

- 95 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

21. การเริ่มตนของคริสตชนในศีลกําลัง

พลังสําหรับความศักดิ์สิทธิ์ และการนําคนอื่นๆมาหาพระคริสตเจา

278. ศีลกําลังคืออะไร (1285) ศีลกําลัง คือ ศีลศักดิ์สิทธิ์ของการเริ่มตนของคริสตชนซึ่ง ประทานพระจิตเจาพรอมกับพลังพิเศษของพระองค ทําให เราทําตัวใหสอดคลองกับพระคริสตเจามากยิ่งขึ้น พรอมทั้ง สัมพันธเราใหชิดสนิทกับพระศาสนจักรมากขึ้น ดวยการบังคับ เราอยางเครงครัดยิ่งขึ้นในการเผยแพรและปองกันความเชื่อทั้ง ดวยคําพูดและกิจการในฐานะที่เปนพยานที่แทจริงของพระ คริสตเจา 279. โดยปกติใครเปนผูโปรดศีลกําลัง (1313) โดยปกติพระสังฆราชเปนผูโปรดศีลกําลัง 280. พระสงฆสามารถโปรดศีลกําลังไดหรือไม (1313, 1314) พระสงฆสามารถโปรดศีลกําลังไดถาไดรับฉันทะหรืออนุญาต จากพระสังฆราช พระสงฆทุกองคสามารถโปรดศีลกําลังใหแก ผูกําลังตายได

- 96 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

281. โปรดศีลกําลังอยางไร (1300, 1320) โปรดศีลกําลังดวยการปกมือและดวยการเจิมน้ํามันคริสมาบน หนาผากของผูรับ พลางกลาววา “จงรับเครื่องหมายพระจิตเจา ซึ่งพระบิดาประทานให” 282. น้ํามันคริสมาคืออะไร (1289) น้ํามันคริสมาคือ การผสมน้ํามันมะกอก (หรือน้ํามันพืชอื่นสุด แลวแตกรณี) กับยางไมหอม (ชนิดหนึ่ง) (หรือเครื่องหอมอื่นๆ) ที่ไดรับการอภิเษกจากพระสังฆราชในวันพฤหัสบดีศักดิ์สิทธิ์ 283. การเจิมดวยน้ํามันคริสมาหมายถึงอะไร (1293, 1295) การเจิมดวยน้ํามันคริสมาหมายถึง การเจิมฝายจิตดวยพระจิต เจาซึ่งถูกสงมาใหสัตบุรุษ 284. ทําไมผูโปรดศีลกําลังจึงตองปกมือเหนือผูรับ (1288) ผูโปรดศีลกําลังตองปกมือเหนือผูรับ เพราะวานี่เปนทาทางที่ ไดมาจากพระคัมภีร เพื่อวอนขอพระพรของพระจิตเจา 285. เพื่อจะรับศีลกําลังอยางดีตองทําอะไรบาง (1306, 1310, 1319) เพื่อจะรับศีลกําลังอยางดีตองเปนผูที่ไดรับศีลลางบาปแลว และ ถาผูรับศีลลางบาปแลวนี้บรรลุอายุรูความแลวเขาตองอยูใน สถานะพระหรรษทาน ไดรับการอบรมความจริงขอสําคัญๆ - 97 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

และหนาที่ของศาสนาของเราพรอมทั้งสามารถรื้อฟนคําสัญญา ของศีลลางบาปไดดวย 286. ผลของศีลกําลังมีอะไรบาง (1302-1305, 1316-1317) ศีลกําลังทวีพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรและพระหรรษทาน ปจจุบัน พรอมทั้งพระหรรษทานพิเศษของศีลศักดิ์สิทธิ์และ ประทับตราที่ไมรูเลือนลงบนวิญญาณ 287. พระหรรษทานพิเศษของศีลกําลังชวยเราไดอยางไร (1303, 1316)

พระหรรษทานพิเศษของศีลกําลังชวยเราดวยการนําเราไปสู ความครบครันของชีวิตเหนือธรรมชาติที่เราไดรับเวลาที่เรารับ ศีลลางบาป พรอมทั้งทําใหเราตื่นตัวกับความจําเปนในการนํา คนอื่นใหเขามาใกลพระคริสตเจายิ่งขึ้นดวยวาจาและแบบฉบับ ในทุกกรณีแวดลอมของชีวิตประจําวัน 288. ตราที่ไมรูเลือนของศีลกําลังทําอะไรใหแกเรา (1304-1305) ตราที่ไมรูเลือนของศีลกําลังประทับตราเราในฐานะสาวกที่มีวุฒิ ภาวะของพระคริสตเจาตลอดไป สัมพันธอยางใกลชิดยิ่งขึ้นกับ พระองคและกับพระศาสนจักรของพระองค พรอมทั้งบังคับเรา อยางลึกซึ้งยิ่งขึ้นในการเผยแผการประทับอยูของพระเปนเจา ทามกลางมวลมนุษย - 98 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

289. หลังจากรับศีลกําลังแลวทําไมเราจึงยังตองการที่จะเพิ่มพูน ความรูและการปฏิบัติความเชื่อคริสตชนของเรามากขึ้นอีก (1816, 2472)

หลังจากรับศีลกําลังแลวเรายังตองการที่จะเพิ่มพูนความรูและ การปฏิบัติความเชื่อคริสตชนของเรามากยิ่งขึ้นอีก เพื่อเราจะ สามารถเผยแผและปองกันความเชื่อของเราไดอยางตอเนื่อง เปนพยานตอชีวิตคริสตชนไดอยางถูกตอง และซื่อสัตยยิ่งขึ้น พรอมทั้งแพรธรรมไดอยางมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอยาง ยิ่งในทามกลางเพื่อนฝูงและญาติมิตรของเรา 22. การเริ่มตนของคริสตชนในศีลมหาสนิท

จุดศูนยกลางและจุดสุดยอดของชีวิตศีลศักดิ์สิทธิ์ทั้งครบ

290. ศีลมหาสนิทคืออะไร (1374, 1413) ศีลมหาสนิทคือ ศีลศักดิ์สิทธิ์ซึ่งบรรจุพระกาย พระโลหิต พระวิญญาณ และพระเทวภาพของพระเยซูคริสตเจาอยาง แทจริง ภายใตรูปปรากฏของปงและน้ําองุน 291. ทําไมเราจึงถือวาศีลมหาสนิทเปนศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการ เริ่มตนของคริสตชนแบบเดียวกันกับศีลลางบาปและศีล กําลัง (1212, 1322) ที่เราถือวาศีลมหาสนิทเปนศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเริ่มตนของ - 99 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

คริสตชนแบบเดียวกันกับศีลลางบาปและศีลกําลัง ก็เพราะวา ศีลมหาสนิทก็เปนขั้นของการกาวหนาดานศีลศักดิ์สิทธิ์ของ คริสตชนเขาสูสถานภาพที่เต็มเปยมของพระคริสตเจาแบบ เดียวกันกับทั้งสองศีลดังกลาว 292. พระคริสตเจาทรงตั้งศีลมหาสนิทเมื่อไร (1323, 1337) พระคริสตเจาทรงตั้งศีลมหาสนิทในงานเลี้ยงครั้งสุดทาย ค่ําของวันกอนที่พระองคจะสิ้นพระชนม 293. พระคริสตเจาทรงตั้งศีลมหาสนิทอยางไร (1339) พระคริสตเจาทรงตั้งศีลมหาสนิทดังนี้คือ ขณะที่ทุกคนกําลัง รับประทานอาหารอยูนั้น พระเยซูเจา “ทรงหยิบขนมปง ทรง กลาวถวายพระพร ทรงบิขนมปงออก สงใหบรรดาศิษยตรัสวา “จงรับไปกินกันเถิด นี่คือกายของเรา” แลวพระองคทรงหยิบ ถวยเหลาองุน ทรงกลาวขอบพระคุณ ทรงยื่นใหเขาเหลานั้น ตรัสวา “ทุกทานจงดื่มจากถวยนี้เถิด นี่คือโลหิตของเรา” (มธ 26:26-28) 294. มีอะไรเกิดขึ้นในงานเลี้ยงครั้งสุดทายเมื่อพระคริสตเจาตรัส วา “นี่คือกายของเรา… นี่คือโลหิตของเรา...” (1376) เมื่อพระคริสตเจาตรัสวา “นี่คือกายของเรา” ขนมปงก็เปลี่ยน เปนพระกายของพระองค และเมื่อตรัสวา “นี่คือโลหิตของเรา” น้ําองุนก็เปลี่ยนเปนพระโลหิตของพระองค - 100 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

295. การเปลี่ยนอยางนาอัศจรรยใจนี้เขาเรียกกันวาอะไร (1376) การเปลี่ยนอยางนาอัศจรรยใจนี้เขาเรียกกันวาการเปลี่ยนสาร 296. ยังคงมีอะไรของขนมปงและน้ําองุนเหลืออยูหรือไม หลังจากที่ไดเปลี่ยนเปนพระกายและพระโลหิตของพระ เยซูเจาแลว (1378) หลังจากที่ขนมปงและน้ําองุนไดเปลี่ยนเปนพระกายและพระ โลหิตของพระเยซูเจาแลว รูปปรากฏของขนมปงและน้ําองุน ยังคงเหลืออยู 297. รูปปรากฏของขนมปงและน้ําองุนหมายความวาอะไร ดวยรูปปรากฏของขนมปงและน้ําองุนเราหมายความวา คุณลักษณะภายนอกที่ปรากฏแกความรูสึกของเรา เชน ขนาด สี สัณฐาน รส น้ําหนักและธาตุ 298. พระเยซูเจาทรงเปลี่ยนขนมปงและน้ําองุนเปนพระกาย และพระโลหิตของพระองคไดอยางไร (1375) พระเยซูเจาทรงเปลี่ยนขนมปงและน้ําองุนเปนพระกายและ พระโลหิตของพระองคไดดวยพระสรรพานุภาพของพระองค

- 101 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

299. การเปลี่ยนขนมปงและน้ําองุนใหกลายเปนพระกายและ พระโลหิตของพระคริสตเจานี้ยังคงดําเนินตอไปในพระศาสนจักรหรือไม (611, 1341, 1343) การเปลี่ยนขนมปงและน้ําองุนใหกลายเปนพระกายและพระ โลหิตของพระคริสตเจานี้ยังคงดําเนินตอไปในพระศาสนจักร โดยพระเยซูคริสตเจา ผานทางศาสนบริการของบรรดา พระสงฆของพระองค 300. พระเยซูคริสตเจาไดประทานอํานาจแกพระสงฆใหเปลี่ยน ขนมปงและน้ําองุนใหกลายเปนพระกายและพระโลหิตของ พระองคเมื่อไร (611, 1341, 1343) พระเยซูคริสตเจาไดประทานอํานาจแกพระสงฆใหเปลี่ยนขนม ปงและน้ําองุนใหกลายเปนพระกายและพระโลหิตของพระองค เมื่อทรงแตงตั้งบรรดาอัครสาวกใหเปนพระสงฆในงานเลี้ยงครั้ง สุดทาย ดวยการตรัสวา “จงทําการนี้เพื่อระลึกถึงเราเถิด” 301. พระสงฆใชอํานาจการเปลี่ยนขนมปงและน้ําองุนให กลายเปนพระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจานี้ อยางไร (611, 1341, 1343) พระสงฆใชอํานาจการเปลี่ยนขนมปงและน้ําองุนใหกลายเปน พระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจานี้ดวยการกลาวซ้ําพระ - 102 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

วาจาของพระคริสตเจาที่วา “นี่คือกายของเรา… นี่คือโลหิตของ เรา...” เวลาเสกศีลในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ 302. มีแตพระกายของพระเยซูคริสตเจาเทาที่อยูภายใตรูป ปรากฏของขนมปง และมีแตพระโลหิตของพระเยซูคริสต เจาเทาที่อยูภายใตรูปปรากฏของน้ําองุนหรือ (1374) พระเยซูคริสตเจาประทับอยูทั้งครบ อยางครบถวนและมีชีวิต พรอมดวยพระกายพระโลหิต พระวิญญาณและพระเทวภาพ ภายใตรูปปรากฏของขนมปงและภายใตรูปปรากฏของน้ําองุน ดวย และในทุกสวนของขนมปงและน้ําองุน 303. พระเยซูคริสตเจาประทับอยูในแผนศีลทุกแผนทั่วโลกหรือ ถูกตอง พระเยซูคริสตเจาประทับอยูในแผนศีลทุกแผนทั่วโลก 304. พระกายของพระคริสตเจาถูกแบงออกหรือไมเมื่อแผนศีล ถูกแบงออก (1377) เมื่อแผนศีลถูกแบงออกก็มีเฉพาะแตรูปปรากฏของขนมปง เทานั้นที่ถูกแบงออก แตพระกายของพระเยซูคริสตเจาไมไดถูก แบงออก

- 103 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

305. พระกายของพระเยซูคริสตเจาจะอยูในสวนไหนของแผน ศีลที่ถูกแบงออก (1377) พระกายของพระเยซูคริสตเจาจะอยูอยางครบถวนในแตละสวน ของแผนศีลที่ถูกแบงออก 306. ทําไมพระเยซูคริสตเจาจึงไดประทานพระองคเอง ทั้งพระ กายและพระโลหิตแกเราในศีลมหาสนิท (1323, 1380, 1382) พระเยซูคริสตเจาไดประทานพระองคเอง ทั้งพระกายและพระ โลหิตแกเราในศีลมหาสนิทเพื่อ 1) จะไดเปนยัญบูชาระลึกถึง และรื้อฟนยัญบูชาแหงไมกางเขนตลอดไป 2) เพื่อสัตบุรุษจะรับ พระองคไดในศีลมหาสนิท 3) เพื่อประทับอยูบนพระแทน เปน เครื่องพิสูจนถึงความรักที่ทรงมีตอเราและเพื่อเราจะไดนมัสการ พระองค 307. ทําไมศีลมหาสนิทจึงเปนศีลศักดิ์สิทธิ์ที่สูงเดนที่สุดใน บรรดาศีลศักดิ์สิทธิ์ตางๆ (1324) ศีลมหาสนิทเปนศีลศักดิ์สิทธิ์ที่สูงเดนที่สุดในบรรดาศีล ศักดิ์สิทธิ์ตางๆ ก็เพราะศีลนี้บรรจุพระคริสตเจาเอง ศีล ศักดิ์สิทธิ์อื่นๆ เปนทอธารของพระหรรษทานแตวาไมไดมีพระ คริสตเจาเอง เจาแหงพระหรรษทานในนั้น นอกเหนือไปจากนั้น ศีลศักดิ์สิทธิ์อื่นๆ ยังมุงไปสูศีลมหาสนิทใหเปนเปาหมายหรือ จุดหมายของมันอีกดวย - 104 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

308. ศีลมหาสนิทไขแสดงความศักดิ์สิทธิ์ครบครันอะไรของพระ เปนเจา (1337, 1375, 1380) ศีลมหาสนิทไขแสดงพระอานุภาพ พระปรีชาญาณและความดี งามอยางไมมีขอบเขตของพระเปนเจา 23. บูชายัญศักดิ์สิทธิ์ของมิสซา

รากฐานและจุดศูนยกลางของชีวิตคริสตชน

309. บูชามิสซาคืออะไร (1367, 1410) บูชามิสซาคือ ยัญบูชาของพันธสัญญาใหมซึ่งพระคริสตเจาทรง ถวายพระองคเองแดพระเปนเจาในรูปแบบที่ปราศจากโลหิต ภายใตรูปปรากฏของขนมปงและน้ําองุนโดยผานทางศาสน บริการของพระสงฆ 310. บูชายัญคืออะไร (2099) บูชายัญคือ การถวายสิ่งของที่ประเสริฐบางอยางแดพระเปนเจา และการทําใหสิ่งของชิ้นนั้นถูกทําลายในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อเปนการยอมรับพระอํานาจปกครองเหนือเราในฐานะที่ทรง เปนพระผูสราง และการพึ่งพาของเราตอพระองคอยางสิ้นเชิง ในฐานะที่ทรงเปนเจาของเรา

- 105 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

311. ทําไมบูชามิสซา (หรือที่ใชในปจจุบันวา พิธีมิสซาบูชา ขอบพระคุณ) จึงเปนยัญบูชาเดียวกันกับบูชายัญของไม กางเขน (1367, 1410) การที่บูชามิสซาเปนยัญบูชาเดียวกันกับบูชายัญของไมกางเขนก็ เพราะวา ในบูชามิสซาของถวายก็เปนอันเดียวกันและพระสงฆ ที่แทจริงก็ทรงเปนผูเดียวกันคือพระเยซูคริสตเจา 312. บูชามิสซากับบูชายัญของไมกางเขนมีความแตกตางกัน หรือไม (1367) วิธีการถวายบูชาแตกตางกัน บนไมกางเขน พระเยซูเจาไดทรง หลั่งพระโลหิตจริงๆ ในขณะเดียวกันในบูชามิสซาซึ่งเปนการ ระลึกถึงภูเขากัลวารีโอ พระเยซูคริสตเจาทรงเปนของถวาย โดยที่ไมตองหลั่งพระโลหิตหรือตองทรมานและสิ้นพระชนม นอกเหนือไปจากนั้น บนกางเขน พระคริสตเจาไดทรงไดมาซึ่ง การไถกูของเรา ในขณะที่ในบูชามิสซาผลบุญนั้นกลับตกเปน ของชาวเรา 313. พระคริสตเจาทรงถวายบูชามิสซาอยางไร (1368-1372) พระคริสตเจาทรงถวายบูชามิสซาในฐานะที่ทรงเปนพระเศียร ของพระกายทิพย เปนหนึ่งเดียวกันกับสมาชิกของพระศาสนจักร ดังนั้น บูชามิสซาจึงเปนบูชาของพระเศียรและของอวัยวะตางๆ ของพระกายทิพยของพระคริสตเจา - 106 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

314. จุดประสงคของการถวายบูชามิสซาคืออะไร (1359-1361, 1414)

จุดประสงคของการถวายบูชามิสซาคือ 1. เพื่อกราบนมัสการพระเปนเจาในฐานะที่ทรงเปนพระผูสราง และเจานายของเรา 2. เพื่อขอบพระคุณพระองคสําหรับพระคุณตางๆ ที่เราไดรับ 3. เพื่อชดเชยความยุติธรรมของพระองคเนื่องจากบาปที่เราได ทําผิดตอพระองค 4. เพื่อขอพระหรรษทานและพระพรตางๆ สําหรับสัตบุรุษบน โลกนี้และวิญญาณในไฟชําระ 315. เราควรรวมบูชามิสซาอยางไร (1017) เราควรรวมบูชามิสซาดวยความเคารพ ดวยความตั้งใจและดวย ความศรัทธา 316. เราจะไดรับผลของบูชามิสซาอยางเต็มที่ไดอยางไร (1368) เราจะไดรับผลของบูชามิสซาอยางเต็มที่ไดดวยการเปนหนึ่ง เดียวกันกับพระคริสตเจาและพระสงฆในการถวายบูชายัญ และ ดวยการรับศีลมหาสนิทอยางเหมาะสม

- 107 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

317. เราจะเปนหนึ่งเดียวกันไดอยางดีที่สุดกับพระคริสตเจาและ พระสงฆในการถวายบูชามิสซาไดอยางไร (1348, 1369) เราจะเปนหนึ่งเดียวกันไดอยางดีที่สุดกับพระคริสตเจาและ พระสงฆในการถวายบูชามิสซาไดดวยการรวมจิตรวมใจกันกับ พระคริสตเจา ผูทรงเปนทั้งพระสงฆและของถวาย ดวยการรวม พิธีกรรมและบทภาวนาตางๆ ของบูชามิสซา ดวยการตอบ มิสซาและดวยการขับรอง 24. การรับศีลมหาสนิท การมีสวนรวมในงานเลี้ยงปสกา 318. การรับศีลมหาสนิทคืออะไร (1382) การรับศีลมหาสนิทคือ การรับพระเยซูคริสตเจาในศีลมหาสนิท 319. เพื่อจะรับศีลมหาสนิทไดอยางเหมาะสมเราจําเปนที่จะตอง ทําอะไรบาง (1385, 1387, 1415) เพื่อจะรับศีลมหาสนิทไดอยางเหมาะสม เราจําเปนที่จะตอง ปราศจากบาป มีความตั้งใจที่ถูกตอง พรอมทั้งถือตามกฎของ พระศาสนจักรวาดวยการอดอาหารกอนรับศีลมหาสนิท

- 108 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

320. ผูที่รูตัววามีบาปหนักแตยังไปรับศีลมหาสนิท เขาไดรับพระ กายและพระโลหิตของพระคริสตเจาพรอมทั้งพระหรรษ ทานของพระองคหรือ (1385, 2120) ผูที่รูตัววามีบาปหนักแตยังไปรับศีลมหาสนิท เขาก็ไดรับพระกาย และพระโลหิตของพระคริสตเจา แตไมไดรับพระหรรษทานของ พระองค เขาทําบาปหนัก บาปทุราจารศีล 321. ความตั้งใจที่ถูกตองในการรับศีลมหาสนิทคืออะไร (1386) ความตั้งใจที่ถูกตองในการรับศีลมหาสนิทคือจุดประสงคที่ดี ของผูรับ คือ เพื่อเปนที่พอพระทัยพระเปนเจา เพื่อจะไดสนิท สัมพันธกับพระองคยิ่งขึ้นโดยทางความรักความเมตตา และเพื่อ เปนยารักษาความออนแอดานจริยธรรมของเขา ไมควรรับศีล มหาสนิทเพราะความเคยชิน เพื่อเอาหนาหรือเพราะเห็นแก มนุษย 322. การอดอาหารกอนรับศีลมหาสนิทคืออะไร (1387) การอดอาหารกอนรับศีลมหาสนิทคือ การงดการกินและดื่ม ยกเวนน้ําและยารักษาโรคหนึ่งชั่วโมงกอนที่จะเขารับศีลมหาสนิท ผูปวยและผูสูงอายุพรอมทั้งผูดูแลพวกเขาอาจจะรับศีล มหาสนิทไดแมวาการอดอาหารยังไมถึงหนึ่งชั่วโมงก็ตาม

- 109 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

323. เราจะตองรับศีลมหาสนิทเมื่อไร (1389) ตามขอบังคับอยางเครงครัดเราจะตองรับศีลมหาสนิทอยาง นอยปละครั้ง โดยปกติในเทศกาลปสกา และเมื่อเราอยูใน อันตรายถึงตาย 324. ทําไมจึงใหรับศีลมหาสนิทบอยๆ หรือทุกวันไดยิ่งดี (1389, 2837)

เราควรรับศีลมหาสนิทบอยๆ หรือทุกวันยิ่งดี เพราะความเปน หนึ่งเดียวกับพระเยซูคริสตเจาพระผูชวยที่ยิ่งใหญพาเราไปสู ชีวิตนิรันดร 325. เราจะรับศีลมหาสนิทไดกี่ครั้งในหนึ่งวัน เราจะรับศีลมหาสนิทไดอีกถาเรารวมบูชามิสซาในวันนั้นอีก และเราจะรับศีลเสบียงไดอีกถาเราตกอยูในอันตรายถึงตาย 326. เราจะตองเตรียมตัวรับศีลมหาสนิทอยางไร (1385, 1387) เราจะตองเตรียมตัวรับศีลมหาสนิทดวยการคิดถึงองคพระผูไถ ของเราที่เรากําลังจะเขาไปรับและดวยการแสดงความเชื่อ ความรักและความทุกขถึงบาปอยางรอนรน

- 110 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก 91

327. เราควรทําอยางไรหลังการรับศีลมหาสนิท หลังการรับศีลมหาสนิทเราควรใชเวลาในการนมัสการและ ขอบพระคุณพระองค พรอมทั้งรื้อฟนคําสัญญาวาจะรักและ นบนอบตอพระองค พรอมทั้งขอพระพรจากพระองคสําหรับ ตัวเราเองและผูอื่น

328. ผลสําคัญๆ ของการรับศีลมหาสนิทอยางเหมาะสมคืออะไร (1391-1396, 1416)

ผลสําคัญๆ ของการรับศีลมหาสนิทอยางเหมาะสมคือ 1. มีความสนิทสัมพันธกันกับพระคริสตเจาและประชากรทั้ง ครบของพระเปนเจายิ่งขึ้น ในเวลาเดียวกันก็เปนการ สรางสรรคพระกายของพระคริสตเจา อันไดแกพระศาสน จักร 2. การเพิ่มพูนของพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร 3. เปนการรักษาตัวใหพนจากบาปหนักและเปนการยกบาป เบาไปในตัวดวย 4. ลดนอยความโนมเอียงไปในทางบาปของเราพรอมกับชวย เราในการดําเนินชีวิตที่ศักดิ์สิทธิ์

- 111 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

329. เราควรแสดงความกตัญูของเราตอพระเยซูเจาที่ทรงอยู ในศีลมหาสนิทตลอดเวลาอยางไร (1380, 1418) เราควรแสดงความกตัญูของเราตอพระเยซูเจาที่ทรงอยูในศีล มหาสนิทตลอดเวลาดวยการไปเฝาพระองคบอยๆ ดวยการ แสดงความเคารพในวัด ดวยการรวมถวายบูชามิสซาประจําวัน เทาที่สามารถ ดวยการรวมพิธีอวยพรศีลมหาสนิทอยางศรัทธา 25. การสารภาพบาปหรือการคืนดี

ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงพระเมตตาและการใหอภัยของพระเปนเจา

330. ทําไมพระเยซูเจาจึงไดทรงสถาปนาศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการ รักษาขึ้นถึงสองศีล (1421) พระเยซูเจาไดทรงสถาปนาศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการรักษาขึ้นถึงสอง ศีลก็เพื่อศาสนจักรของพระองคจะไดเต็มไปดวยพลังของพระ จิตเจา เพื่อจะสามารถดําเนินงานของการรักษาและความรอด พนของพระองคตอไปแมกระทั่งในทามกลางประชาสัตบุรุษ 331. ศีลอภัยบาปหรือศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการคืนดีคืออะไร (1422, 1446, 1486)

ศีลอภัยบาปหรือศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการคืนดีคือ ศีลศักดิ์สิทธิ์ที่คน บาปใชเพื่อทูลขอจากพระเปนเจาซึ่งการใหอภัยบาปที่เขาได กระทําหลังจากที่เขาไดรับศีลลางบาปมาแลว โดยผานทางการ - 112 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ใหอภัยบาปของพระสงฆ และไดรับการคืนดีกับพระศาสนจักรที่ เขาไดทําใหเปนบาดแผลเพราะบาปของเขา 332. ใครใหอํานาจแกพระสงฆในการใหอภัยบาป (1461, 1485) พระเยซูคริสตเจาไดประทานอํานาจการใหอภัยบาปแกพระสงฆ ในวันอาทิตยปสกา เมื่อพระองคตรัสกับบรรดาอัครสาวกและผู สืบตําแหนงของทานในสังฆภาพวา “จงรับพระจิตเจาเถิด ทาน ทั้งหลายอภัยบาปของผูใด บาปของผูนั้นก็จะไดรับการอภัย ทานทั้งหลายไมอภัยบาปของผูใด บาปของผูนั้นก็ไมไดรับการ อภัยดวย” (ยน 20:22-23) 333. ศีลอภัยบาปมีความจําเปนแกผูใด (980) ศีลอภัยบาปมีความจําเปนแกทุกคนที่ไดกระทําบาปหนัก หลังจากที่ไดรับศีลลางบาปมาแลว 334. ผลของการรับศีลอภัยบาปอยางเหมาะสมมีอะไรบาง (1468-1469, 1496)

ผลของการรับศีลอภัยบาปอยางเหมาะสมคือ 1. การไดรับคืนมาหรือการเพิ่มพูนของพระหรรษทานศักดิ์ สิทธิกร 2. การอภัยบาป - 113 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

3. การยกโทษนิรันดรเนื่องจากบาปหนัก และอยางนอยก็ บางสวนของโทษบนโลกนี้ที่ยังคงเหลืออยูที่จะตองทํา หลังจากการอภัยบาป 4. คืนดีกับพระศาสนจักรที่เขาไดทํารายดวยบาปของเขา 5. ชวยใหหลีกเลี่ยงบาปในอนาคต 6. คืนผลบุญของการทําดีของเราถาหากวาไดสูญเสียไปเพราะ บาปหนัก 335. เราจะตองทําอะไรบางเพื่อจะรับศีลอภัยบาปไดอยาง เหมาะสม (1448, 1450) เพื่อจะรับศีลอภัยบาปไดอยางเหมาะสมเราจะตอง 1. พิจารณาบาป 2. เปนทุกขถึงบาป 3. ตั้งใจอยางแนวแนวาจะไมทําบาปอีก 4. สารภาพบาปของเราตอพระสงฆ 5. พรอมที่จะทํากิจใชโทษบาปที่พระสงฆจะกําหนด 336. พิจารณาบาปคืออะไร (1454) พิจารณาบาปคือ ความพยายามอยางแทจริงที่จะจดจําบาป ทั้งหมดที่เราไดกระทํานับตั้งแตการแกบาปอยางดีครั้งทายสุด ของเรา - 114 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

337. เราควรทําอะไรบางกอนที่เราจะพิจารณาบาป กอนที่เราจะพิจารณาบาปเราควรทูลขอความชวยเหลือจาก พระจิตเจาเพื่อชวยใหเรารูจักบาปของเราและเพื่อจะสามารถ สารภาพดวยความเสียใจอยางจริงใจ 338. เราจะทําการพิจารณาบาปไดอยางดีไดอยางไร เราจะทําการพิจารณาบาปไดอยางดีไดดวยการคิดถึงพระ บัญญัติพระเปนเจา พระบัญญัติพระศาสนจักร หนาที่พิเศษใน สถานภาพของชีวิต พรอมทั้งถามตัวเองดวยวาเราไดทําบาป เหลานั้นอยางไร 26. การสารภาพบาป

ความเปนทุกขถึงบาป การสารภาพและการใชโทษบาป

339. อะไรเปนเนื้อหาและรูปแบบของศีลอภัยบาป (1448, 1449, 1491)

เนื้อหาของศีลอภัยบาปประกอบดวยความทุกขถึงบาป การ สารภาพบาปและการทํากิจใชโทษบาป สวนรูปแบบของศีลอภัย บาปไดแกการอภัยบาป – “ขาพเจาอภัยบาปทาน เดชะพระนาม พระบิดา และพระบุตรและพระจิต”

- 115 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ก. ความทุกขถึงบาป . 340. ความทุกขถึงบาปคืออะไร (1451, 1490) ความทุกขถึงบาปคือ ความเสียใจอยางจริงใจ พรอมทั้งความ เกลียดชังบาปที่ไดกระทํา และความตั้งใจอยางแนวแนวาจะไม ทําบาปอีกเลย 180

341. ทําไมเราจึงตองเปนทุกขถึงบาปเพราะบาปหนัก (1861) เราตองเปนทุกขถึงบาปเพราะบาปหนัก เพราะวามันเปนความ ชั่วที่เลวรายที่สุด มันทําเคืองพระทัยพระเปนเจาอยางมาก ทํา ใหเราเขาสวรรคไมได และลงโทษเราใหตกนรกตลอดนิรันดร 342. ทําไมเราจึงควรเปนทุกขถึงบาปเพราะบาปเบา (1863) เราควรเปนทุกขถึงบาปเพราะบาปเบา เพราะวามันไมเปนที่พอ พระทัยพระเปนเจา ทําใหเราตองโทษชั่วคราวและอาจจะนําเรา ไปสูการทําบาปหนักไดดวย 343. ความทุกขถึงบาปมีกี่ชนิด (1452-1453, 1492) ความทุกขถึงบาปมีสองชนิดคือ เปนทุกขถึงบาปอยางบริบูรณ และเปนทุกขถึงบาปอยางไมบริบูรณ

- 116 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

344. ความทุกขถึงบาปอยางบริบูรณคืออะไร (1452, 1492) ความทุกขถึงบาปอยางบริบูรณคือ ความเสียใจเพราะบาปของ เราทําเคืองพระทัยพระเปนเจาซึ่งเรารักเหนือกวาสิ่งอื่นใด เพราะเห็นแกพระองคเอง 345. ความทุกขถึงบาปอยางไมบริบูรณคืออะไร (1453, 1492) ความทุกขถงึ บาปอยางไมบริบูรณคือ ความเสียใจเพราะบาปที่ เกิดจากแรงดลใจเหนือธรรมชาติมากกวาเพราะความรักตอ พระเปนเจาแตอยางเดียว เชน ความกลัวพระเปนเจาจะทรง ลงโทษไมวาในชีวิตนี้หรือในชีวิตหนา 346. เพื่อจะรับศีลอภัยบาปไดอยางเหมาะสมเราตองการความ ทุกขถึงบาปชนิดใด (1453) เพื่อจะรับศีลอภัยบาปไดอยางเหมาะสมเราตองการความทุกข ถึงบาปอยางไมบริบูรณก็เพียงพอ 347. เราควรที่จะมีความทุกขถึงบาปอยางบริบูรณในศีลอภัย บาปเสมอไปหรือไม เราควรที่จะมีความทุกขถึงบาปอยางบริบูรณในศีลอภัยบาป เสมอ เพราะวาความทุกขถึงบาปอยางบริบูรณเปนที่สบพระทัย พระเปนเจามากกวา และดวยพระหรรษทานของพระเปนเจา เราก็พรอมที่จะแสดงความรักที่สมบูรณแบบตอพระองคได - 117 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

348. คนที่อยูในบาปหนักจะไดรับสถานภาพพระหรรษทานคืน มากอนที่จะรับศีลแกบาปไดอยางไร (1452) คนที่อยูในบาปหนักจะไดรับสถานภาพพระหรรษทานคืนมา กอนที่จะรับศีลแกบาปไดดวยการเปนทุกขถึงบาปอยางบริบูรณ พรอมดวยความตั้งใจอยางแนวแนวาจะไปรับศีลอภัยบาปใหเร็ว ที่สุดเทาที่จะทําได 349. เราควรทําอยางไรถาเราไดทําบาปหนัก ถาหากวาเราไดทําบาปหนักลงไป เราควรทูลขอการอภัยบาป และพระหรรษทานจากพระเปนเจาทันที เปนทุกขถึงบาปอยาง บริบูรณและไปแกบาปใหเร็วที่สุดเทาที่จะทําได 350. เราจะรับศีลมหาสนิทไดไหมหลังจากที่เราไดทําบาปหนักไป แลว และเราไดแตเพียงเปนทุกขถึงบาปอยางบริบูรณ เทานั้น (1385, 1457) เราจะรับศีลมหาสนิทไมไดเปนอันขาดหลังจากที่เราไดทําบาป หนักไปแลว และเราไดแตเพียงเปนทุกขถึงบาปอยางบริบูรณ เทานั้น ใครก็ตามที่ทําบาปหนักจะตองไปแกบาปกอนที่จะรับศีล มหาสนิท พระศาสนจักรใหอนุญาตเฉพาะแตผูที่มีความ ตองการรับศีลมหาสนิทอยางเรงดวน -ซึ่งไมเกิดขึ้นบอยนักโดยที่ยังไมไดไปแกบาปบุคคลผูนั้นจะตองเปนทุกขถึงบาปอยาง บริบูรณเสียกอน - 118 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

351. ความตั้งใจอยางแนวแนที่จะไมทําบาปอีกเลยหมายถึงอะไร ความตั้งใจอยางแนวแนที่จะไมทําบาปอีกเลย หมายถึง ความ ตั้งใจไมเฉพาะแตหลีกเลี่ยงบาปเทานั้น แตตองหลีกเลี่ยงโอกาส บาปใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดดวย 352. คนที่มีเพียงแตบาปเบาที่จะแกเทานั้นเขาควรตั้งใจแกไข อยางไร คนที่มีเพียงแตบาปเบาที่จะแกเทานั้นเขาตองตั้งใจที่จะ หลีกเลี่ยงประการใดประการหนึ่งเปนอยางนอยที่สุด ข. การสารภาพบาปและการโปรดบาป 353. การสารภาพบาปคืออะไร (1456) การสารภาพบาป คือ การบอกบาปแกพระสงฆที่ไดรับอํานาจ เพื่อจะไดรับการอภัยบาป 354. ทําไมเราจึงตองสารภาพบาปของเรา (1456) เราตองสารภาพบาปของเรา เพราะวาพระเยซูคริสตเจาผูทรง สถาปนาวิธีการที่จะไดรับการอภัยบาปจากพระไดทรงกําหนด ใหเราทําเชนนั้น พระองคไดประทานแกบรรดาอัครสาวกและผู สืบตําแหนงของทานในสังฆภาพ ซึ่งอํานาจทั้งการอภัยบาปและ การหนวงเหนี่ยวบาปไวดวยซึ่งก็หมายความวา สัตบุรุษจะตอง บอกบาปของตนเพื่อพระสงฆจะตัดสินไดวาเขาผูนั้นสมควร ไดรับการอภัยหรือไม - 119 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

355. จําเปนไหมที่จะตองสารภาพบาปทุกประการ (1456, 1458, 1493)

จําเปนที่จะตองสารภาพบาปหนักทุกประการที่ยังไมเคย สารภาพและไดรับการอภัยมากอน ไมจําเปนที่จะตองสารภาพ บาปเบาทุกประการแตจะเปนการดีกวาที่จะกระทําเชนนั้น 356. คุณภาพที่สําคัญๆ ของการสารภาพบาปที่ดีมีอะไรบาง คุณภาพที่สําคัญๆ ของการสารภาพบาปที่ดีจะตองมีความ เสียใจ ความชัดเจน กะทัดรัดและครบถวน 357. เมื่อไรจึงถือวาการสารภาพบาปชัดเจน การสารภาพบาปจะชัดเจนก็ตอเมื่อเราสารภาพบาปของเรา ตามความเปนจริง เพื่อใหพระสงฆไดทราบถึงสถานภาพที่ แทจริงของวิญญาณของเรา 358. เมื่อไรจึงถือวาการสารภาพบาปกะทัดรัด การสารภาพบาปจะกะทัดรัดก็ตอเมื่อเราพูดตรงไปตรงมา หลีกเลี่ยงการพูดถึงสิ่งที่แทบจะไมเกี่ยวของหรือไมเกี่ยวของกับ บาปของเราเลย

- 120 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

359. เมื่อไรจึงถือวาการสารภาพบาปครบถวน การสารภาพบาปจะครบถวนก็ตอเมื่อเราสารภาพ -เทาที่ทํา ได- อยางนอยที่สุดก็บาปหนักทุกประการ ดวยการบอกดวยวา บาปอะไร จํานวนกี่ครั้งของแตละบาป พรอมทั้งกรณีแวดลอมที่ อาจทําใหธรรมชาติของบาปเปลี่ยนไปไดดวย 360. เราจะไปรับศีลมหาสนิทไดหรือไมถาหากวาเราลืมที่จะ สารภาพบาปหนักไปหนึ่งประการที่ไมใชความผิดของเรา ถาหากวาเราลืมที่จะสารภาพบาปหนักไปหนึ่งประการโดยที่ ไมใชความผิดของเรา เราก็ยอมไปรับศีลมหาสนิทไดเพราะวา เราไดทําการแกบาปอยางดีแลวและบาปทุกประการก็ไดรับการ อภัยแลว แตวาเราจะตองสารภาพบาปประการนั้นในการแก บาปคราวตอไปของเรา 361. จะมีอะไรเกิดขึ้นถาเราตั้งใจที่จะอําพรางบาปหนักในการ แกบาปของเรา (1456, 2120) ถาเราตั้งใจที่จะอําพรางบาปหนักในการแกบาปของเรา บาป ตางๆ ที่ไดสารภาพไปก็จะไมไดรับการอภัยและเรายังเปนบาป หนักอีกดวย บาปทุราจารศีล

- 121 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________ 99

362. เราจะตองทําอยางไรเมื่อเราตั้งใจที่จะอําพรางบาปหนักใน การแกบาปของเรา เมื่อเราตั้งใจที่จะอําพรางบาปหนักในการแกบาปของเรา เรา จะตองวอนขอพลังจากพระเปนเจาเพื่อจะไดมีความจริงใจและ สามารถแกบาปไดอยางดี ในการแกบาปคราวนี้เราจะตองบอก พระสงฆวาเราไมไดแกบาปอยางดี เปดเผยบาปที่ไดอําพรางแก พระสงฆ พรอมทั้งเรียนทานดวยวาเราไดรับศีลศักดิ์สิทธิ์ อะไรบางนับตั้งแตบัดนั้นมา พรอมทั้งสารภาพบาปหนักทั้งหมด ของเรานับตั้งแตการแกบาปอยางดีครั้งสุดทายมา รวมไปถึง บาปที่ไดสารภาพไปในการแกบาปที่ไมดีนั้นดวย

363. ทําไมความอายและความกลัวที่จะบอกบาปกับพระสงฆจึง ไมนาที่จะทําใหเราตองอําพรางบาปหนักในการแกบาป (1465, 1467)

ความอายและความกลัวที่จะบอกบาปกับพระสงฆไมนาที่จะทํา ใหเราตองอําพรางบาปหนักในการแกบาป เพราะวา 1. เราอยูเฉพาะพระพักตรพระเปนเจา พระบิดาผูนารักของเรา ผูทรงรูเห็นทุกอยางและผูทรงมีเมตตาอยางเหลือลน 2. การอําพรางบาปหนักในการแกบาปเปนบาปหนัก บาป ทุราจาร 3. พระสงฆซึ่งเปนตัวแทนของพระเยซูเจาเองถูกบังคับให รักษาความลับของศีลอภัยบาปไมใหเปดเผยสิ่งที่ทานไดยิน ในฝาแกบาป - 122 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

364. การโปรดบาปคืออะไร (1449) การโปรดบาป คือ การตัดสินที่พระสงฆกระทําในนามของ พระเยซูคริสตเจา โปรดบาปใหแกผูที่มาสารภาพบาป 365. พระศาสนจักรมีกฎเกณฑอยางไรเกี่ยวกับการสารภาพ บาปทีละคนและเต็มจํานวนและการอภัยบาป (1484, 1497) พระศาสนจักรกําหนดวาเนื่องจากเปนกฎหมายของพระเปนเจา การสารภาพบาปทีละคนและเต็มจํานวนและการอภัยบาปยังคง เปนวิธีการปกติที่สัตบุรุษทีอ่ ยูในบาปหนักจะคืนดีกับพระเปน เจาและกับพระศาสนจักรได ยกเวนในกรณีที่มีความเปนไป ไมไดดานรางกายหรือดานจริยธรรมใหการยกเวนไมตองแก บาปแบบนี้แกเขา 366. สิ่งที่เรียกกันวาโปรดบาปรวมหมายความวาอะไร (1483) สิ่งที่เรียกกันวาโปรดบาปรวมหมายความวา การที่พระสงฆ โปรดบาปใหเปนกรณีพิเศษเปนบางครั้งแกผูมาแกบาปจํานวน หนึ่ง โดยที่ไมจําเปนที่จะตองสารภาพบาปทีละคนกอน 367. การโปรดบาปรวมใหเปนกรณีพิเศษเปนบางครั้งแกผูมาแก บาปจํานวนหนึ่งโดยที่ไมจําเปนที่จะตองสารภาพบาปทีละ คนกอนจะทําไดในกรณีใดบาง (1483) การโปรดบาปรวมใหเปนกรณีพิเศษเปนบางครั้งแกผูมาแกบาป - 123 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

จํานวนหนึ่งโดยที่ไมจําเปนที่จะตองสารภาพบาปทีละคนกอนจะ ทําไดก็เฉพาะในกรณีพิเศษสุดจริงๆ เทานั้นเมื่อการแกบาป สวนตัวและการอภัยบาปทีละคนไมอาจทําไดทั้งในดานกายภาพ และจริยธรรมทั้งยังมีความจําเปนอยางมากในการที่จะโปรด บาปอีกดวย 368. การโปรดบาปรวมเปนกรณีพิเศษสุดจริงๆ ที่วานี้จะเกิดขึ้น ไดเมื่อใดบาง (1483) การโปรดบาปรวมจะเกิดขึ้นไดเมื่อ 1. อยูในกรณีฉุกเฉินอันตรายถึงตายและไมมีเวลาใหพระสงฆ หนึ่งหรือหลายๆ องคที่จะฟงแกบาปทีละคนได 2. เมื่อมีความจําเปนอยางมาก เชนเมื่อมีคนมาแกบาปมากๆ และไมมีพระสงฆเพียงพอเพื่อการแกบาปทีละคนใน ชวงเวลาที่เหมาะสมได จนทําใหผูที่มาแกบาป -โดยทีไ่ มได เปนความผิดของเขา- ตองอดที่จะรับพระหรรษทานจากศีล ศักดิ์สิทธิ์หรือการรับศีลมหาสนิทไปอีกเปนเวลานาน แต ในเวลาเดียวกันก็ไมมีความจําเปนเพียงพอ เพราะมี พระสงฆไมเพียงพอ เพียงเพราะมีผูมาขอแกบาปจํานวน มาก เนื่องจากเปนวันสมโภชหรือเปนโอกาสการแสวงบุญ

- 124 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

369. ใครจะเปนผูตัดสินวาเมื่อไรควรมีการโปรดบาปรวม (1483) พระสังฆราชของสังฆมณฑลหลังจากที่พิจารณาถึงมาตรฐาน ตางๆ ที่ไดตกลงกันมาแลวกับบรรดาสมาชิกของสภา พระสังฆราช จะเปนผูตัดสินใจวาเมื่อไรควรจะใหมีการโปรด บาปรวมได 370. มีเงื่อนไขอะไรบางที่ผูมาขอแกบาปจะตองทําเพื่อจะไดรับ การอภัยบาปรวม (1483) มีเงื่อนไขดังตอไปนี้ 1. บุคคลผูนั้นจะตองพรอมที่จะสํานึกผิดดวยความเต็มใจ ซึ่งก็ หมายความวาเขาเสียใจดวยใจจริงตอบาปหนักที่ไดกระทํา พรอมกับตั้งใจวาจะชดเชยการสะดุดหรือความเสียหายที่ได เกิดขึ้นเพราะบาปของเขา 2. เขาตองตั้งใจที่จะแกบาปใหทันทวงทีซึ่งบาปหนักที่เขาไม อาจจะสารภาพไดในโอกาสนั้น 371. ผูที่มีบาปหนักที่ไดรับการโปรดบาปรวมยังตองคํานึงถึง อะไรอีก ผูที่มีบาปหนักที่ไดรับการโปรดบาปรวมยังตองคํานึงถึง 1. เขาจะตองไปแกบาปแบบปกติทันทีที่เขามีโอกาสและ จนกวาจะไดทําเชนนี้เสียกอน เขาไมควรที่จะรับการโปรด บาปรวมอีกยกเวนในกรณีที่มีเหตุผลพอสมควรจริงๆ - 125 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

2. เขาจะตองไปแกบาปภายในหนึ่งป ยกเวนในกรณีที่ไมอาจ ทําไดจริงๆ 3. พระบัญญัติที่บังคับใหสัตบุรุษตองแกบาปหนักทุกประการ อยางนอยปละครั้งกับพระสงฆนั้นยังคงบังคับผูที่ยังไมไดแก บาปทีละคนอยู 372. ทําไมจึงมีพิธีการคืนดีสําหรับผูแกบาปหลายๆ คนพรอมกับ การสารภาพบาปและการโปรดบาปทีละคน (1482) มีพิธีการคืนดีสําหรับผูแกบาปหลายๆ คนพรอมกับการสารภาพ บาปและการโปรดบาปทีละคนเพราะวาการประกอบพิธีกรรม รวมกันทําใหเห็นชัดเจนยิ่งขึ้นซึ่งธรรมชาติดานศาสนจักรของ การแกบาปซึ่งคืนหรือเพิ่มมิตรภาพของเราไมเฉพาะกับพระเปน เจาเทานั้น แตกับพระศาสนจักรอีกดวย ค. การทํากิจใชโทษบาป 373. การกลับใจอยางแทจริงในศีลอภัยบาปจะสมบูรณได อยางไร (1459) การกลับใจอยางแทจริงในศีลอภัยบาปจะสมบูรณไดดวยการทํา กิจใชโทษบาปสําหรับบาปที่ไดกระทํา ดวยการแกไขความ ประพฤติและดวยการชดเชยความเสียหายดวย

- 126 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

374. การใชโทษบาปคืออะไร (1459, 1494) การใชโทษบาปคือการกระทํากิจการใชโทษบาปที่พระสงฆผูฟง แกบาปกําหนดให เพื่อเปนการชดเชยความผิดที่ไดกระทําตอ พระเปนเจาและเพื่อชดเชยโทษทัณฑบนโลกนี้อันเนื่องมาจาก บาปที่ไดสารภาพไปแลว การทํากิจใชโทษบาปนี้ยังชวยคนบาป ใหเริ่มชีวิตใหมและใหยาตานทานความออนแอแกเขาดวย 375. ควรกําหนดกิจใชโทษบาปใดจึงจะเหมาะสม (1460) กิจใชโทษบาปที่เหมาะสมไดแก การภาวนา การพลีกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งการบริการเพื่อนมนุษยและกิจเมตตาซึ่งเนน ดานสังคมของบาปและการอภัย 376. ควรทํากิจใชโทษบาปเมื่อไร ถาหากวาผูฟงแกบาปมิไดกําหนดเวลาเจาะจงใหทํา กิจใชโทษบาปใหเร็วที่สุดเทาที่จะทําได

ก็ควรทํา

377. มีโทษทัณฑอะไรบางที่เกิดขึ้นเพราะบาป (1472) มีโทษทัณฑสองอยางที่เกิดขึ้นเพราะบาปคือ โทษนิรันดรในนรก อันเนื่องมาจากบาปหนักที่ยังไมไดรับการอภัยและโทษบนโลกนี้ –ชั่วคราว- อันเนื่องมาจากบาปเบาและจากบาปหนักหลังจากที่ ไดรับการอภัยแลวดวย - 127 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

378. การรับศีลอภัยบาปอยางเหมาะสมจะลบลางโทษบาป ทั้งหมดหรือไม (1473) การรับศีลอภัยบาปอยางเหมาะสมจะลบลางโทษทัณฑนิรันดร แตไมไดลบลางโทษทัณฑบนโลกนี้หรือโทษทัณฑชั่วคราวเสมอ ไป 379. ทําไมพระเปนเจาจึงทรงมีโทษทัณฑบนโลกนี้หรือโทษทัณฑ ชั่วคราวให พระเปนเจาทรงมีโทษทัณฑบนโลกนี้หรือโทษทัณฑชั่วคราวให เพื่อชดเชยความยุติธรรมของพระองค เพื่อสอนเราถึงความชั่ว รายของบาปและเพื่อเตือนเราไมใหทําบาปอีก 380. เราจะใชโทษทัณฑบนโลกนี้หรือโทษทัณฑชั่วคราวของเรา ไดที่ไหน (1472) เราจะใชโทษทัณฑบนโลกนี้หรือโทษทัณฑชั่วคราวของเราไดทั้ง ในชีวิตนี้หรือในไฟชําระ 381. การใชโทษบาปนอกศีลอภัยบาปคืออะไร (1473) การใชโทษบาปนอกศีลอภัยบาปคือ การชดเชยทุกรูปแบบตอ พระเปนเจาที่อยูนอกศีลอภัยบาป

- 128 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

382. ยังมีวิธีการใดอีกที่จะชดเชยโทษบาปบนโลกนี้ นอกเหนือไปจากกิจใชโทษบาปที่กําหนดโดยผูฟงแกบาป (1473)

นอกเหนือไปจากกิจใชโทษบาปที่กําหนดโดยผูฟงแกบาปแลวยัง มีวิธีการที่สําคัญๆ ในการชดเชยโทษบาปบนโลกนี้หรือชั่วคราว อีกคือ การสวดภาวนา การรวมบูชามิสซา การอดอาหาร การ ทําทาน การทํากิจเมตตา ความอดทนตอความทุกขทรมานและ พระคุณการุญ 27. พระคุณการุญ และขุมทรัพยฝายจิต ที่ไมมีวันเหือดแหงของพระศาสนจักร 383. พระคุณการุญคืออะไร (1471, 1498) พระคุณการุญยกโทษชั่วคราวอันเนื่องมาจากบาปที่ไดรับการ อภัยแลว 384. พระคุณการุญมีกี่อยาง (1471) พระคุณการุญมีสองอยางคือ พระคุณการุญบริบูรณ พระคุณการุญไมบริบูรณ

และ

385. พระคุณการุญบริบูรณคืออะไร (1471) พระคุณการุญบริบูรณยกโทษชั่วคราวทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากบาป ของเรา - 129 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

386. พระคุณการุญไมบริบูรณคืออะไร (1471) พระคุณการุญไมบริบูรณยกโทษชั่วคราวบางเปนบางสวนเทานั้น 387. พระศาสนจักรยกโทษชั่วคราวที่เกิดจากบาปของเราได อยางไร (1471, 1478) พระศาสนจักรยกโทษชั่วคราวที่เกิดจากบาปของเราไดดวยการ ใชสวนของขุมทรัพยฝายจิตของพระบารมีของพระเยซูคริสตเจา และบุญบารมีอันลนเหลือของพระนางพรหมจารีมารียและของ บรรดานักบุญ 388. บุญบารมีอันลนเหลือของพระนางมารียพรหมจารีและของ บรรดานักบุญหมายความวาอะไร (1477) บุญบารมีอันลนเหลือของพระนางมารียพรหมจารีและของ บรรดานักบุญ หมายความวา บุญบารมีที่ทานเหลานั้นไดมา ขณะที่อยูบนโลกนี้แตไมไดใช พระศาสนจักรจึงไดขอมาใชกับ บรรดาเพื่อนสมาชิกของสหพันธนักบุญ 389. เราตองทําอยางไรจึงจะไดรับพระคุณการุญสําหรับตัวเรา เอง เพื่อจะไดรับพระคุณการุญสําหรับตัวเราเอง อยางนอยที่สุดเรา จะตองมีความตั้งใจที่จะพระคุณการุญพรอมกับปฏิบัติตาม เงื่อนไขที่พระศาสนจักรไดวางไว - 130 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

390. เงื่อนไขเพื่อที่จะไดรับพระคุณการุญบริบูรณมีอะไรบาง เงื่อนไขเพื่อที่จะไดรับพระคุณการุญบริบูรณมี 1. จะตองอยูในสถานพระหรรษทาน 2. ตั้งใจจะรับพระคุณนั้นๆ 3. ปฏิบัติตามเงื่อนไขสามประการคือ แกบาป รับศีล และสวด ตามพระประสงคของสมเด็จพระสันตะปาปา ถาหากวา ไมไดทําตามเงื่อนไขเหลานี้อยางครบถวนก็จะไดรบั เพียงแต พระคุณการุญที่ไมบริบูรณเทานั้น 391. เราจะรับพระคุณการุญสําหรับคนอื่นไดไหม เราจะรับพระคุณการุญสําหรับคนอื่นที่ยังมีชีวิตอยูไมได แตจะ รับสําหรับวิญญาณในไฟชําระไดโดยอุทิศใหเฉพาะวิญญาณ หรือใหทั่วๆ ไปก็ได 28. การเจิมผูปวย

พระศาสนจักรทั้งครบมอบคนปวยไวกับองคพระผูเปนเจา ที่รับทรมานและทรงสิริรุงโรจน

392. ศีลเจิมผูปวยคืออะไร (1511, 1527) ศีลเจิมผูปวย คือ ศีลศักดิ์สิทธิ์ซึ่งใหสุขภาพและกําลังแก วิญญาณและบางครั้งก็ใหแกรางกายดวยเวลาที่เราปวยหนัก - 131 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

393. ใครสมควรจะไดรับศีลเจิมผูปวย (1514, 1528) ชาวคาทอลิกทุกคนที่บรรลุอายุรูความแลวและเมื่อเริ่มตกอยูใน อันตรายอันอาจถึงแกชีวิตอันเนื่องมาจากการเจ็บปวย อุบัติเหตุ หรืออายุชราควรรับศีลเจิมผูปวย 394. เราควรที่จะรอจนถึงเวลาที่เราตกอยูในอันตรายถึงแกชีวิต จริงๆ แลวจึงจะรับศีลเจิมผูป วยหรือไม (1514, 1516) เราไมควรที่จะรอจนถึงเวลาที่เราตกอยูในอันตรายอันอาจถึงแก ชีวิตจริงๆ แลวจึงจะรับศีลเจิมผูปวย แตเราควรที่จะระมัดระวัง ใหมากที่สุดเทาที่จะทําได ใหเราไดรับศีลนี้ขณะที่เรายังมี สติสัมปชัญญะดีอยู 395. ผลของศีลเจิมผูปวยมีอะไรบาง (1520-1523, 1532) ผลของศีลเจิมผูปวยคือ 1. เพิ่มพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร หรือในบางกรณีก็ใหชีวิต พระหรรษทานกลับคืนมา 2. ยกบาปเบาหรือแมกระทั่งบาปหนักถาหากวาคนปวยที่เปน ทุกขถึงบาปแตไมอาจจะสารภาพบาปได 3. ยกโทษชั่วคราวอันเนื่องมาจากบาปที่ยังไมไดรับการอภัย 4. ใหพลังแกผูปวยในการทนทุกขทรมานเพราะความเจ็บปวย ดวยความอดทนและตอสูกับการประจญลอลวง 5. คืนสุขภาพแกรางกายถาหากวานั่นจะเปนการดีสําหรับ วิญญาณ - 132 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

396. เราควรเตรียมตัวรับศีลเจิมผูปวยอยางเหมาะสมไดอยางไร เราจะเตรียมตัวรับศีลเจิมผูปวยไดอยางเหมาะสมดวยการรับศีล อภัยบาปอยางดี ดวยการแสดงความเชื่อ ความไวใจและความ รัก และดวยการทําใหเรามีความปรารถนาที่จะกระทําตาม น้ําพระทัยอยางเต็มที่ 397. ใครเปนผูที่โปรดศีลเจิมผูปวยได (1516, 1530) มีแตพระสงฆเทานั้นที่จะโปรดศีลเจิมผูปวยได 398. เราควรเชิญพระสงฆใหผูปวยเมื่อไร (1514) เราควรเชิญพระสงฆใหผูปวยทันทีที่เขาปวยหนัก แมวาอาจจะ ไมมีอันตรายอันอาจถึงแกชีวิตก็ตาม และเมื่อใดก็ตามที่มีอายุ มากแลวและสังเกตเห็นวามีสุขภาพออนแอ และเนื่องจากเปน หนาที่ของพระสงฆที่จะตองเยี่ยมเยียนคนปวยอยูแลว ก็ควรที่ จะโปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ตางๆ ที่เขาตองการใหแกเขา 399. คนปวยจะรับศีลเจิมผูปวยอีกไดหรือไม (1515, 1529) เขาจะรับศีลเจิมผูปวยไดอีกครั้งถาหากวาเขาลมเจ็บลงอีก หลังจากที่เขาไดฟนปวยแลว หรือวาในการเจ็บปวยเดียวกันแต วาสถานการณของเขาย่ําแยลงอีก

- 133 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

400. เราควรทําอยางไรในกรณีที่สงสัยวาคนปวยบรรลุอายุรู ความหรือยัง หรือวาเขาปวยหนักหรือไม หรือวาเขาตาย หรือยัง ในกรณีที่สงสัยวาคนปวยบรรลุอายุรูความหรือยัง หรือวาเขา ปวยหนักหรือไม หรือวาเขาตายหรือยัง ก็ใหโปรดศีลเจิมผูปวย ใหไดเลย 401. คนปวยที่ไมรูสึกตัวแลวจะรับศีลเจิมผูปวยไดหรือไม คนปวยที่ไมรูสึกตัวแลวจะรับศีลเจิมผูปวยไดในกรณีที่เขาเคย แสดงความประสงค –โดยบอกเปนนัยๆเปนอยางนอยที่สุด- วา อยากรับศีลเจิมผูปวยในขณะที่เขายังรูสึกตัวดีอยู 402. ในกรณีที่คนปวยยังคงดันทุรังที่จะอยูในบาปของเขาอยู ตอไปอีกจะใหเขารับศีลเจิมผูปวยไดหรือไม ไมควรที่จะใหคนปวยที่ยังคงดันทุรังที่จะอยูในบาปของตนอีก ตอไปรับศีลเจิมผูปวย

- 134 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

29. ศีลบวช

การมีสวนรวมในศาสนบริการที่ศักดิ์สิทธิ์ของพระคริสตเจา

403. ทําไมเราจึงเรียกศีลบวชกับศีลสมรสเปนศีลศักดิ์สิทธิ์ที่ให การบริการแกชุมชน (1534) ที่เราเรียกศีลบวชกับศีลสมรสวาเปนศีลศักดิ์สิทธิ์ที่ใหการ บริการแกชุมชน ก็เพราะวาศีลนี้ใหความรอดพนแกผูที่รับโดย ผานทางการบริการที่ใหแกคนอื่นๆ 404. ในฐานะที่เปนศีลศักดิ์สิทธิ์ที่ใหการบริการแกชุมชน ศีล ศักดิ์สิทธิ์ทั้งสองประการนี้มีหนาที่อะไรที่จะตองปฏิบัติใน พระศาสนจักร (1534) ในฐานะที่เปนศีลศักดิ์สิทธิ์ที่ใหการบริการแกชุมชน ศีลศักดิ์สิทธิ์ ทั้งสองประการนี้มีหนาที่ที่จะใหพันธกิจพิเศษในพระศาสนจักร ใหแกผูรับ และใหมีสวนรวมในการสรางสรรคประชากรของ พระเปนเจา 405. ศีลบวชคืออะไร (1536) ศีลบวชคือ ศีลศักดิ์สิทธิ์ที่ประทับตราอันไมรูเลือนลงบน วิญญาณของผูรับ และทําใหเกิดมีศาสนบริกรผูศักดิ์สิทธิ์ พระสังฆราช พระสงฆและสังฆานุกร- เพื่อสอน ปกครองและ ทําใหประชาสัตบุรุษศักดิ์สิทธิ์ในพระบุคคลของพระเยซูคริสต เจา ผูทรงเปนพระเศียร - 135 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

406. พระเยซูคริสตเจาทรงตั้งศีลบวชเมื่อไร (1337) พระเยซูคริสตเจาทรงตั้งศีลบวชในการเลี้ยงครั้งสุดทายเมื่อ ประทานแกบรรดาอัครสาวกและผูสืบตําแหนงของทานซึ่ง อํานาจ –ในสังฆภาพ- ในการที่จะเสกและถวายพระกายและ พระโลหิตของพระองคในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ 407. อะไรเปนผลของการบวชเปนพระสงฆ (1581-1582) ผลของการบวชเปนพระสงฆคือ 1. ทวีพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร 2. พระหรรษทานของศีลศักดิ์สิทธิ์ซึ่งใหความชวยเหลือของ พระเปนเจาแกพระสงฆในศาสนบริการอันศักดิ์สิทธิ์ของ ทาน 3. ประทับตราอันไมรูจักเลือนซึ่งไดแกการมีสวนรวมในสังฆภาพของพระคริสตเจา และใหอํานาจเหนือธรรมชาติที่ พิเศษแกพระสงฆ 408. อํานาจเหนือธรรมชาติที่สําคัญๆ ของพระสงฆมีอะไรบาง (1566)

อํานาจเหนือธรรมชาติที่สําคัญๆ ของพระสงฆคือ การเปลี่ยน ขนมปงและน้ําองุนใหกลายเปนพระกายและพระโลหิตของพระ เยซูคริสตเจาในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ และการอภัยบาปใน ศีลอภัยบาป - 136 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

409. ใครเปนศาสนบริกรของศีลบวช (1576, 1600) พระสังฆราชเปนศาสนบริกรของศีลบวช 410. มีอะไรบางที่เปนเงื่อนไขสําคัญๆ เพื่อทําใหการรับศีลบวช เปนไปไดอยางเหมาะสม (1576, 1600) เงื่อนไขที่สําคัญๆ เพื่อทําใหการรับศีลบวชเปนไปอยางเหมาะสม มีดังนี้ 1. ผูรับจะตองอยูในสถานะพระหรรษทานและมีอุปนิสัยเปน เลิศ 2. มีอายุและการศึกษาครบตามกําหนด 3. จะตองมีความตั้งใจวาจะอุทิศชีวิตของตนในศาสนบริการ ศักดิ์สิทธิ์ 4. จะตองไดรับการเรียกใหมารับศีลบวชจากพระสังฆราชของ ตนหรือจากผูใหญทางศาสนาโดยตรงของเขา 411. ทําไมชาวคาทอลิกจึงแสดงความเคารพและใหเกียรติแก พระสงฆ (1548-1551, 1589) ชาวคาทอลิกแสดงความเคารพและใหเกียรติแกพระสงฆ ก็ เพราะทานเปนผูแทนของพระเยซูคริสตเจาเอง และเปนผู แจกจายพระธรรมล้ําลึกของพระองคทาน

- 137 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

30. ศีลสมรส

รากฐานของพระศาสนจักรบาน

412. ศีลสมรสคืออะไร (1601, 1660) ศีลสมรสคือศีลศักดิ์สิทธิ์ซึ่งกอใหเกิดความสัมพันธอันศักดิ์สิทธิ์ และแยกกันไมไดระหวางชายหญิงคริสตชน พรอมกับประทาน พระหรรษทานแกพวกเขาใหรูจักรักกันและกันอยางศักดิ์สิทธิ์ และใหรูจักอบรมสั่งสอนลูกๆ ของเขาตามแบบคริสตชน 413. คริสตชนจะแตงงานกันไดอยางถูกตองตามกฎหมายดวย วิธีการอื่นนอกเหนือไปจากศีลสมรสไดหรือไม (1601, 1660) คริสตชนจะแตงงานกันไดอยางถูกตองตามกฎหมายดวยวิธีการ อื่นนอกเหนือไปจากศีลสมรสไมไดเปนอันขาด เพราะวาพระ เยซูคริสตเจาไดยกฐานะการแตงงานขึ้นเปนศีลศักดิ์สิทธิ์ 414. อะไรบางที่เปนหนาที่ที่สําคัญๆ ของสามีภรรยา (1646, 1647, 1653)

หนาที่ที่สําคัญๆ ของสามีภรรยาคือ จะตองรักและซื่อสัตยตอ กัน และเลี้ยงดูบรรดาบุตร –ทั้งฝายกายและฝายวิญญาณ- ที่ พระเปนเจาประทานใหใหดีที่สุดเทาที่จะทําได

- 138 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

415. การเปนหนึ่งเดียวกันในการแตงงานหมายความวาอะไร (1644, 1664)

การเปนหนึ่งเดียวกันในการแตงงานหมายความวา ไดมีพันธสัญญาเกิดขึ้นระหวางชายหญิงคูหนึ่ง ดังนั้นชายจะไปแตงงาน กับหญิงอื่นขณะที่ภรรยาของตนยังมีชีวิตอยูไมได และหญิง จะไปแตงงานกับชายอื่นขณะที่สามีของตนยังมีชีวิตอยูก็ไมได เชนกัน 416. ที่วาแตงงานกันแลวไมอาจจะแยกจากกันไดอีก หมายความวาอะไร (1640) ที่วาแตงงานกันแลวไมอาจจะแยกจากกันไดอีก หมายความวา พันธะของการแตงงานที่เปนศีลศักดิ์สิทธิ์ไมอาจจะแตกหักได ยกเวนแตในกรณีของการตายของฝายใดฝายหนึ่งเทานั้น 417. ทําไมจึงมีแตพระศาสนจักรคาทอลิกเทานั้นที่มีสิทธิ์ในการ ตรากฎหมายบังคับการแตงงานของชาวคาทอลิก ที่มีแตเพียงพระศาสนจักรคาทอลิกเทานั้นที่มีสิทธิ์ในการตรา กฎหมายบังคับการแตงงานของชาวคาทอลิก ก็เพราะวามีแต พระศาสนจักรคาทอลิกเทานั้นที่มีอํานาจเหนือศีลศักดิ์สิทธิ์และ เรื่องศักดิ์สิทธิ์ตางๆ ที่มีผลไดผลเสียกับชาวคาทอลิก

- 139 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

418. รัฐมีอํานาจอะไรบางเกี่ยวกับการแตงงานของคาทอลิก เกี่ยวกับการแตงงานของคาทอลิกนั้น รัฐมีเฉพาะแตอํานาจใน การตรากฎหมายเกี่ยวกับการแตงงานในมุมมองของพลเรือน เทานั้น

114

419. เพื่อจะรับศีลสมรสไดอยางเหมาะสมตองทําอะไรบาง (1622, 1631-1632, 1635)

เพื่อจะรับศีลสมรสไดอยางเหมาะสมตองอยูในสถานะพระหรรษ ทาน รูจักหนาที่ของชีวิตการแตงงาน และถือตามกฎหมายของ การแตงงานของพระศาสนจักร 420. อะไรที่เปนผลสําคัญๆ ของศีลสมรส (1638, 1641-1642, 1661) ผลที่สําคัญๆ ของศีลสมรสคือ 1. เพิ่มพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร 2. พันธะที่มิอาจแยกจากกันไดของการแตงงาน 3. ความชวยเหลือพิเศษจากพระเปนเจาสําหรับสามีและ ภรรยาใหรักกันดวยความซื่อสัตย ใหยอมรับความบกพรอง ของกันและกัน ใหอบรมสั่งสอนลูกๆ อยางดี และใหรวมมือ กันในการทําใหวิญญาณอื่นๆ ศักดิ์สิทธิ์ โดยเฉพาะอยางยิ่ง วิญญาณของสมาชิกในครอบครัวของตนและของครอบครัว อื่นๆ ที่เปนเพื่อนสนิทกัน - 140 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

31. สิ่งคลายศีล

การรับความอนุเคราะหโดยผานทางการวิงวอนของพระศาสนจักร

421. สิ่งคลายศีลคืออะไร (1667) สิ่งคลายศีล คือ สิ่งของหรือการกระทําที่พระศาสนจักรใช เพื่อใหความชวยเหลือทั้งฝายโลกและฝายธรรมแกบรรดา สัตบุรุษ โดยผานทางการวิงวอนของพระศาสนจักร 422. ทําไมจึงเรียกสิ่งเหลานี้วาเปนสิ่งคลายศีล (1667) ที่เรียกสิ่งเหลานี้วาเปนสิ่งคลายศีลก็เพราะวามันคลายคลึงกับ ศีลศักดิส์ ิทธิ์ในเรื่องเครื่องหมายภายนอก ซึ่งจะทําใหไดรับ พระพรตางๆ เปนพระพรฝายจิต 423. สิ่งคลายศีลแตกตางไปจากศีลศักดิ์สิทธิ์อยางไรบาง (1668, 1670)

สิ่งคลายศีลแตกตางไปจากศีลศักดิ์สิทธิ์ดังตอไปนี้ 1. สิ่งคลายศีลไมไดรับการสถาปนาขึ้นโดยพระเยซูคริสตเจา แบบเดียวกันกับศีลศักดิ์สิทธิ์ แตไดรับการสถาปนาขึ้นโดย พระศาสนจักร 2. พระเยซูคริสตเจาทรงโปรดพระหรรษทานโดยทางศีล ศักดิ์สิทธิ์เอง แตสิ่งคลายศีลเปนรูปแบบของการภาวนาซึ่ง ทําใหไดรับพระหรรษทานโดยบุญกุศลของพระศาสนจักร - 141 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

และขึ้นกับสถานภาพของบุคคลผูใชสิ่งคลายศีลนั้นดวย 3. ศีลศักดิ์สิทธิ์โปรดพระหรรษทานตามที่ศีลศักดิ์สิทธิ์นั้นๆ หมายถึง สวนสิ่งคลายศีลเปนโอกาสใหไดรับพระพรจาก พระเปนเจาโดยผานทางพระศาสนจักรเมื่อบุคคลผูใชมันใช ดวยความเชื่อ 424. ผลประโยชนที่สําคัญๆ ของสิ่งคลายศีลมีอะไรบาง ผลประโยชนที่สําคัญๆ ของสิ่งคลายศีลมีดังตอไปนี้ 1. พระหรรษทานปจจุบัน 2. อภัยบาปเบา 3. ยกโทษชั่วคราว 4. สุขภาพแกรางกายและพระพรดานวัตถุ 5. ปองกันจิตชั่ว 425. สิ่งคลายศีลที่รูจักกันดีๆ มีอะไรบาง (1671, 1678) สิ่งคลายศีลที่รูจักกันดีๆ ไดแก การอวยพรของพระสงฆ สิ่งของ เตือนความศรัทธาที่ไดรับการเสก 426. สิ่งของเตือนความศรัทธาที่ไดรับการเสกที่ชาวคาทอลิกใช มากที่สุดมีอะไรบาง สิ่งของเตือนความศรัทธาที่ไดรับการเสกที่ชาวคาทอลิกใชมาก ที่สุด ไดแก น้ําเสก เทียน เถา ใบลาน กางเขน รูปพระ - 142 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

สายประคํา สายจําพวก รูปภาพของพระเยซูคริสตเจา ของพระ นางมารียพรหมจารีและของบรรดานักบุญ 427. เราควรใชสิ่งคลายศีลอยางไร เราควรใชสิ่งคลายศีลดวยความเชื่อและความศรัทธา และอยา ไปใชสิ่งเหลานี้เปนเครื่องรางของขลังนอกรีต 32. การภาวนา

การสนทนากับพระเปนเจา

428. ภาวนาคืออะไร (2559, 2590) ภาวนาคือ การยกจิตใจขึ้นไปหาพระเปนเจา 429. พระเปนเจาทรงเรียกทุกคนใหติดตออยางใกลชิดกับ พระองคโดยทางการภาวนาหรือ (2626-2643, 2644-2649) พระเปนเจาทรงเรียกทุกคนใหติดตออยางใกลชิดกับพระองค โดยทางการภาวนา เปนพระเปนเจาเองที่ทรงเปนผูริเริ่มและ แสวงหาเราแตละคน เพราะเหตุนี้ เราแตละคนจึงควรแสวงหา พระเปนเจาโดยทางการภาวนาดวย

- 143 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

430. ทําไมเราจึงตองภาวนา (2620) เราตองภาวนาเพราะวา 1. เพื่อนมัสการพระเปนเจา ดวยการแสดงใหพระองคทรงเห็น ความรักและความภักดีของเรา 2. เพื่อขอบพระคุณพระองคสําหรับพระพรตางๆ ที่ไดรับ 3. เพื่อรับการอภัยจากพระองคสําหรับบาปตางๆ ของเรา และ เพื่อการยกโทษบาป 4. เพื่อขอพระหรรษทานและพระพรตางๆ สําหรับตัวเราเอง และสําหรับคนอื่น 431. อะไรเปนรูปแบบของการภาวนาที่ดีที่สุดในพันธสัญญาใหม (2620)

รูปแบบของการภาวนาที่ดีที่สุดในพันธสัญญาใหม ไดแก การภาวนาแบบลูกของพระเยซูเจา 432. เราควรภาวนาอยางไร (2559, 2610, 2734, 2742) เราควรภาวนาดังนี้ 1. ดวยความตั้งใจ 2. ดวยความสํานึกในความไรประโยชนของเราและการที่เรา ตองพึ่งพาพระเปนเจา 3. ความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะไดรับพระพรที่เรากําลัง ทูลขอ - 144 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

4. ดวยความวางใจที่เต็มไปดวยความรักในความดีงามของ พระองค 5. ดวยความเพียรทน 433. เราจะรูไดอยางไรวาพระเปนเจาสดับฟงเราเสมอไปเมื่อเรา ภาวนาอยางถูกตอง (2514-2615) เรารูวาพระเปนเจาสดับฟงเราเสมอไปเมื่อเราภาวนาอยาง ถูกตอง เพราะพระเยซูเจาทรงสัญญาไววา “ทานจะขอสิ่งใด จากพระบิดา พระองคจะประทานใหแกทานในนามของเรา” (ยน 16:23) 434. ทําไมเราจึงไมไดรับสิ่งที่เราทูลขอเสมอไป (2737) ที่เราไมไดรับสิ่งที่เราทูลขอเสมอไป ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาเรา ไมไดภาวนาขออยางถูกตอง หรือไมก็อาจเปนเพราะพระเปนเจา ทรงเห็นวาสิ่งที่เราทูลขอนั้นอาจไมเปนการดีสําหรับเราก็ได 435. ทําไมการภาวนาของเราจึงควรเปนแบบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ บอยๆ (1073, 2655) การที่การภาวนาของเราจึงควรเปนแบบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ บอยๆ ก็เพราะวา บทภาวนาพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเปนบทภาวนา ในนามของพระศาสนจักรทั้งครบ และเปนการสนิทสัมพันธกับ พระตรีเอกภาพนั้น เปนการภาวนาที่ยอดเยี่ยมที่สุด - 145 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

436. การภาวนาหลักๆ สามอยางมีอะไรบาง (2699, 2721) การภาวนาหลักๆ สามอยาง ไดแก การภาวนาออกเสียง การรําพึงและจิตภาวนา 437. คุณลักษณะรวมกันของการภาวนาทั้งสามอยางนี้ไดแก อะไร (2699) คุณลักษณะรวมกันของการภาวนาทั้งสามอยางนี้ไดแกอารมณ ที่สงบ 438. การภาวนาออกเสียงคืออะไร (2701-2704, 2722) การภาวนาออกเสียง คือ การภาวนาที่มาจากจิตใจ แลวมาออก เสียงทางปาก 439. การรําพึงคืออะไร (2705-2708, 2723) การรําพึง คือ การพิจารณาดวยความตั้งใจเกี่ยวกับพระธรรม ล้ําลึกของความเชื่อของเรา 440. จิตภาวนาคืออะไร (2709-2719, 2724) จิตภาวนา คือ ความสนิทสัมพันธกับพระเปนเจาในขณะที่เรา มองดูพระองคและฟงพระองคในความเชื่อที่ซื่อๆ และในการ นมัสการ - 146 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

441. ทําไมการภาวนาของเราบอยครั้งจึงถูกถือวาเปนการตอสู (2725, 2752)

การที่การภาวนาของเราบอยครั้งถูกถือวาเปนการตอสูนั้น ก็ เพราะวาการภาวนาอยางดีและความอดทนในการภาวนา เรียกรองใหเราตองตอสูดิ้นรนกับตัวเอง และกับปศาจซึ่งมักจะ ทําทุกอยางที่ทําไดเพื่อขัดขวางไมใหเราสนิทสัมพันธกับพระเปน เจาได 442. มีความยากลําบากอะไรที่สําคัญๆ ที่เราตองตอสูในการ ภาวนาของเรา (2729, 2731, 2754) ความยากลําบากที่สําคัญๆ ที่เราตองตอสูในการภาวนาของเรา ไดแก ความวอกแวกและความแหงแลง 443. เราเริ่มตนและลงทายการภาวนาของเราอยางไร (2157, 2166)

เราเริ่มตนและลงทายการภาวนาของเราดวยทําสําคัญมหา กางเขน 444. ทําไมเราจึงตองทําสําคัญมหากางเขน เราทําสําคัญมหากางเขนเพื่อแสดงออกซึ่งพระธรรมล้ําลึกสอง ประการในพระคริสตศาสนา อันไดแก พระตรีเอกภาพและการ ไถบาป - 147 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

445. พระธรรมล้ําลึกนี้ไดรับการแสดงออกดวยสําคัญมหา กางเขนไดอยางไร เวลาที่เรากลาววา “เดชะพระนาม” เราแสดงออกซึ่งความจริง ที่วามีพระเปนเจาแตเพียงพระองคเดียว เมื่อเรากลาววา “พระ บิดาและพระบุตรและพระจิต” เราก็แสดงออกใหเห็นวามีสาม พระบุคคลที่แตกตางกันในพระเปนเจา และเมื่อเราทํารูป กางเขนบนตัวเราเอง เราก็แสดงออกซึ่งความจริงที่วาพระบุตร พระเปนเจาไดทรงบังเกิดมาเปนมนุษยเพื่อไถกูเราดวยการ สิ้นพระชนมของพระองคบนไมกางเขน 446. จะมีชีวิตคริสตชนโดยปราศจากการภาวนาไดไหม (2745) จะไมมีวันมีชีวิตคริสตชนโดยปราศจากการภาวนาได การ ภาวนาและชีวิตคริสตชนแยกกันไมออก เนื่องจากในความเปน จริงแลว ทั้งสองอยางเปนสวนประกอบของความรักตอพระเปน เจา เปนความสนิทสัมพันธที่ปรับเปลี่ยนเดียวกันในองคพระจิต เจา ซึ่งทําใหเรายิ่งวันยิ่งคลายคลึงกับพระเยซูคริสตเจายิ่งขึ้น 33. บทภาวนาขององคพระผูทรงเปนเจา 447. ทําไมบทขาแตพระบิดาจึงเปนบทภาวนาออกเสียงที่ยอด เยี่ยมที่สุด (2774-2775, 2763, 2765, 2773) การที่บทขาแตพระบิดาเปนบทภาวนาออกเสียงที่ยอดเยี่ยมที่สุด - 148 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ก็เพราะวาเปนบทภาวนาของพระเยซูเจาเอง เปนพระเยซูคริสต เจาที่ทรงสอนพวกเราดวยพระองคเอง เพราะเปนการสรุปที่ดี ที่สุดของของพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม และเพราะ เปนบทภาวนาของความรักที่ดีเลิศและไมเห็นแกตัว ซึ่งออกมา จากจิตตารมณของการเปนบุตรของพระเปนเจา 448. ทําไมจึงวาบทภาวนาของพระเยซูเจาเปนบทภาวนาของ ความรักที่ดีเลิศและไมเห็นแกตัว บทขาแตพระบิดาเปนบทภาวนาของความรักที่ดีเลิศและไมเห็น แกตัว เพราะวาในการสวดบทภาวนานี้เรามอบตัวของเราทั้ง ครบแดพระเปนเจา พรอมกับทูลขอสิ่งที่ดีที่สุดไมเฉพาะสําหรับ ตัวเราเองเทานั้น แตสําหรับพี่นองของเราดวย 450. บทขาแตพระบิดาเปนบทภาวนาที่ดีเลิศของพระศาสนจักร ดวยหรือไม (2803-2806, 2857) บทขาแตพระบิดาก็เปนบทภาวนาที่ดีเลิศของพระศาสนจักรดวย เปนบทภาวนาที่สวดกันในพระศาสนจักรนับตั้งแตแรกเริ่มเลย ทีเดียว เปนสวนที่สําคัญของการทําวัตร ของการประกอบ พิธีกรรมศีลศักดิ์สิทธิ์เริ่มตนดวย อันไดแก ศีลลางบาป ศีล กําลังและศีลมหาสนิท

- 149 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

451. มีคําวิงวอนกี่คําในบทขาแตพระบิดา (2803-2806, 2857) ในบทขาแตพระบิดามีการทูลขอเจ็ดครั้ง สามคําวิงวอนแรกมุง ไปที่พระสิริมงคลของพระเปนเจา และสี่คําวิงวอนหลังแสดงถึง ความตองการที่เราตองการจะไดรับจากพระองค

127

452. ทําไมเราจึงกลาทูลพระเปนเจาวา “พระบิดาของขาพเจา ทั้งหลาย” (2780, 2798) ที่เรากลาทูลพระเปนเจาวา “พระบิดาของขาพเจาทั้งหลาย” ก็ เพราะวาพระบุตรของพระเปนเจาที่ทรงบังเกิดเปนมนุษยทรงไข แสดงใหเราไดทราบ เราไดถูกรวมเขาในองคพระบุตรนี้และ กลายเปนบุตรบุญธรรมของพระเปนเจาโดยศีลลางบาป 453. เราหมายถึงอะไร เมื่อเรากลาววา “พระองคสถิตใน สวรรค” (2794, 2802) เมื่อเรากลาววา “พระองคสถิตในสวรรค” เราไมไดหมายถึง สถานที่ แตหมายถึงความยิ่งใหญของพระเปนเจา และการที่ พระองคประทับอยูในดวงใจของผูชอบธรรม สวรรค บานของ พระบิดา เปนบานแทของเรา อันเปนสถานที่เราใฝหาและเปน สถานที่ที่เราอยูในสังกัด

- 150 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

254. เราหมายถึงอะไร เมื่อเรากลาววา “พระนามพระองคจง เปนที่สักการะ” (2807, 2814, 2858) เมื่อเรากลาววา “พระนามพระองคจงเปนที่สักการะ” เราก็ วิงวอนใหมนุษยทุกคนไดมารูจักและถวายเกียรติแดพระองค 255. เราทูลขออะไร เมื่อเรากลาววา “พระอาณาจักรจงมาถึง” (2816-2820, 2859)

เมื่อเรากลาววา “พระอาณาจักรจงมาถึง” เราก็ทูลขอพระ อาณาจักรแหงพระหรรษทานของพระเปนเจาไดแผขยายไปทั่ว โลก ขอใหมนุษยทุกคนไดมารูจักและเขาอยูในพระศาสนจักรที่ แทจริง และดําเนินชีวิตใหเปนสมาชิกที่เหมาะสมกับพระศาสน จักร และทายสุด เราทูลขอใหเราทุกคนไดถูกรับเขาอยูในพระ อาณาจักรแหงพระเกียรติมงคลของพระเปนเจา 456. เราทูลขออะไร เมื่อเรากลาววา “พระประสงคจงสําเร็จใน แผนดินเหมือนในสวรรค” (2822-2827, 2860) เมื่อเรากลาววา “พระประสงคจงสําเร็จในแผนดินเหมือนใน สวรรค” เราก็ทูลขอใหมนุษยทุกคนบนโลกนี้ไดนบนอบตอ พระองคดวยความเต็มใจ แบบเดียวกันกับบรรดานักบุญและ เทวดาทั้งหลายในสวรรค เรายังทูลขอพระหรรษทานเพื่อจะ สามารถมอบตัวของเราเสมอไป และในทุกสิ่งที่เปนน้ําพระทัย อันศักดิ์สิทธิ์ของพระองค - 151 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

457. เราทูลขออะไรจากพระเปนเจาเมื่อเรากลาววา “โปรด ประทานอาหารประจําวันแกขาพเจาทั้งหลายในวันนี้” (2828-2837, 2861)

เมื่อเรากลาววา “โปรดประทานอาหารประจําวันแกขาพเจา ทั้งหลายในวันนี้” เราก็ทูลขอพระเปนเจาใหประทานสิ่งของ จําเปนสําหรับชีวิตดานวัตถุของรางกายของเราในแตละวัน และ เหนือกวาสิ่งใดแกชีวิตฝายจิตของวิญญาณของเรา เรายังทูลขอ พระองคใหทรงกระตุนจิตใจของมนุษยใหรูจักแบงปนทรัพยากร ตางๆ ที่พระองคไดประทานเพื่อใหมนุษยจะไดดําเนินชีวิตใหสม กับศักดิ์ศรี 458. เราทูลขออะไรจากพระเปนเจา เมื่อเรากลาววา “โปรด ประทานอภัยแกขาพเจา เหมือนขาพเจาใหอภัยแกผูอื่น” (2838-2845, 2862)

เมื่อเรากลาววา “โปรดประทานอภัยแกขาพเจา เหมือนขาพเจา ใหอภัยแกผูอื่น” เราก็ทูลขอพระเปนเจาใหทรงอภัยบาปแกเรา บาปที่เราไดกระทําผิดตอพระองค ในขณะเดียวกัน เราก็ทูล พระองควา เราก็ไดยกโทษใหแกพี่นองมนุษยดวยกันที่ไดกระทํา ผิดตอเรา

- 152 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

459. เราทูลขออะไรจากพระเปนเจา เมื่อเรากลาววา “โปรดชวย ขาพเจาไมใหแพการประจญ” (2846-2849, 2863) เมื่อเรากลาววา “โปรดชวยขาพเจาไมใหแพการประจญ” เราก็ ทูลขอพระหรรษทานจากพระเปนเจาเพื่อจะสามารถเอาชนะ การประจญใหทําบาปไดเสมอไป ในขณะเดียวกันเราก็ทูลขอ การแยกแยะเพื่อไดรูจักการประจญเมื่อมันมาพรอมกับพลังใน การที่จะตอสูกับมันดวย

130

460. เราทูลขออะไรจากพระเปนเจา เมื่อเรากลาววา “แตโปรด ชวยใหพนจากความชั่วรายเทอญ” (2850-2854, 2864) เมื่อเรากลาววา “แตโปรดชวยใหพนจากความชั่วรายเทอญ” เราก็ทูลขอพระเปนเจาใหทรงปกปองเราใหพนจากอันตราย โดยเฉพาะอยางยิ่งอันตรายตอวิญญาณของเรา ความชั่วรายที่ เรากลาวถึงในการขอนี้ไมใชความเปนจริงที่เปนนามธรรม แต เปนบุคคลอันไดแกเจาซาตาน เทวดาที่ไดเสียไปเพราะไดปฏิเสธ พระเปนเจาและแผนการแหงความรอดพนของพระองค 461. ทําไมเราจึงตองเพิ่มคําวา “อาแมน” เขาดวย ที่เราเพิ่มคําวา “อาแมน” เขาดวยก็เพื่อแสดงถึงความปรารถนา อยางแรงกลาของเราที่จะไดรับสิ่งตางๆที่เราทูลขอในบทภาวนา บทนี้ พรอมกับความไวใจของเราวาพระเปนเจาจะสดับฟง คําวิงวอนของเรา - 153 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

34. บทภาวนาออกเสียงอื่นๆ 462. มีบทภาวนาอะไรอีกที่เรามักสวดนอกเหนือไปจากบทขาแต พระบิดาแลว (2627) นอกเหนือไปจากบทขาแตพระบิดาแลว เรายังสวดบทวันทามารีอา ซึ่งเราสวดเพื่อวิงวอนพระนางมารียพรหมจารี 463. ทําไมเราจึงสวดบทวันทามารีอามากกวาบทอื่นๆ รองจาก บทขาแตพระบิดา (2679, 2682) ที่เราสวดบทวันทามารีอามากกวาบทอื่นๆ รองจากบทขาแต พระบิดา ก็เพราะวาพระนางมารียพรหมจารีทรงเปนผูเสนอ วิงวอนตอพระเยซูคริสตเจาที่ทรงพลังที่สุด 464. บทวันทามารีอามีกี่ภาค (2676-2677) บทวันทามารีอามีสองภาค ภาคแรกประกอบดวยถอยคําของ อัครเทวดาคาเบรียล และของนางเอลีซาเบทที่เราใชสําหรับ สรรเสริญแมพระ ภาคแรกนี้เราสวดวา “วันทามารีอา เปยม ดวยหรรษทาน พระเจาสถิตกับทาน ผูมีบุญกวาหญิงใดๆ และ พระเยซู โอรสของทานทรงบุญนักหนา” ภาคสองเปนคําวิงวอน ที่พระศาสนจักรเติมเขา “สันตะมารีอา มารดาพระเจา โปรด ภาวนาเพื่อเราคนบาป บัดนี้และเมื่อจะตาย อาแมน” - 154 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

465. ทําไมเราจึงทูลพระนางมารียวา “เปยมดวยหรรษทาน” (2676)

ที่เรากลาวกับพระนางมารียวา “เปยมดวยหรรษทาน” นั้น ก็ เพราะพระนางไมเคยมีบาปเลยแมแตนอย ยิ่งไปกวานั้น พระนางยังเปยมไปดวยคุณธรรมทุกประการและทรงบุญที่พระ หรรษทานเพิ่มขึ้นในพระวิญญาณของพระนางอยูตลอดเวลา 466. ทําไมเราจึงทูลวา “พระเจาสถิตกับทาน” (2676) ที่เรากลาววา “พระเจาสถิตกับทาน” ก็เพื่อประกาศวาพระนาง มารียพรหมจารีทรงอยูใกลชิดพระตรีเอกภาพกวาสิ่งสรางใดๆ ทั้งสิ้น พระนางไดรับการคารวะในฐานะที่ทรงเปนพระธิดาของ พระเปนเจาพระบิดา พระมารดาที่แทจริงของพระเปนเจาพระ บุตร และทรงเปนเจาสาวผูไรราคีของพระจิตเจา 467. ทําไมเราจึงทูลกับพระนางมารียวา “ผูมีบุญกวาหญิงใดๆ” (2676)

ที่เรากลาวกับพระนางมารีอาวา “ผูมีบุญกวาหญิงใดๆ” ก็ เพราะพระนางทรงไดรับเลือกใหเปนพระมารดาของพระเปนเจา จากทามกลางสตรีทั้งหลาย มีแตพระนางเพียงผูเดียวเทานั้นที่ ทรงเปนพระมารดาโดยที่ยังคงเปนพรหมจารีอยู และในฐานะที่ ทรงเปนเอวาคนที่สอง พระนางไดทรงนําความรอดพนมาใหเรา โดยทางพระบุตรของพระนาง อาดัมคนที่สอง เนื่องจากเอวา คนที่หนึ่งไดนําเอาบาปเขามาสูโลกดวยการลอลวงอาดัมคนแรก - 155 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

468. ทําไมเราจึงเพิ่มวา “และพระเยซู พระโอรสของทานทรง บุญนักหนา” (2676) ที่เราเพิ่มวา “และพระเยซู พระโอรสของทานทรงบุญนักหนา” ก็เพื่อแสดงใหเห็นวาการใหเกียรติแดพระนางมารียจะไม สามารถแยกจากการถวายเกียรติที่เปนของพระเยซูเจาได เรา สรรเสริญพระมารดาเพราะเห็นแกพระบุตรและคารวกิจที่เรามี ตอพระองคก็เพิ่มพูนขึ้นดวยเกียรติยศที่เราถวายแดพระมารดา 469. ทําไมเราจึงตองมอบตัวของเราไวในคําภาวนาของพระนาง มารียในเวลาที่เราจะตายดวย (2677) ที่เราตองมอบตัวของเราไวในคําภาวนาของพระนางมารียใน เวลาที่เราจะตาย ก็เพราะวานั่นเปนชวงเวลาที่สําคัญที่สุดของ เรา วิธีที่เราตายจะกําหนดชะตากรรมนิรันดรของเรา 470. บทภาวนาแดพระตรีเอกภาพที่เปนที่รูจักกันดีที่สุดไดแก บทอะไร (2641) บทภาวนาแดพระตรีเอกภาพที่เปนที่รูจักกันดีที่สุด ไดแก บท ยอพระเกียรติที่เราสวดวา “สิริพึงมีแดพระบิดา และพระบุตร และพระจิต เหมือนในปฐมกาล บัดนี้และทุกเมื่อตลอดนิรันดร อาแมน”

- 156 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

471. นี่ถือวาเปนการภาวนาชนิดไหน นี่ถือวาเปนบทภาวนาของการนมัสการที่เราสวดเพื่อประกาศ ความเชื่อของเราในพระเปนเจา ผูซึ่งทรงมีพระธรรมชาติเดียว แตมีสามพระบุคคล 472. ยังมีบทภาวนาอะไรอีกที่ชาวคาทอลิกนิยมสวดเปนประจํา ทุกวัน บทภาวนาที่ชาวคาทอลิกนิยมสวดเปนประจําทุกวัน ไดแก บท ภาวนาเชา-ค่ํา บทเทวทูตฯ บทภาวนากอนและหลังอาหาร และ สายประคํา

- 157 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ภาค ๓ การดําเนินชีวิต ความเชื่อคริสตชน พระบัญญัติ

- 158 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

35. จริยธรรมและความรับผิดชอบของมนุษย 473. ความเชื่อถึงพระเปนเจาโดยทั่วๆ ไปวาทรงเปนพระผูชวย ใหรอดพนจะเปนการเพียงพอสําหรับการเอาตัวรอดไป สวรรคหรือไม (2052, 2075) ความเชื่อถึงพระเปนเจาโดยทั่วๆ ไปวาทรงเปนพระผูชวยใหรอด พนจะไมเปนการเพียงพอสําหรับการเอาตัวรอดไปสวรรคได เราจะตองมั่นคงกับความเชื่อนั้นพรอมกับการถือตามพระ บัญญัติของพระองค พระเยซูคริสตเจาไดตรัสไววา “ถาทาน อยากเขาสูชีวิต ก็จงปฏิบัติตามพระบัญญัติเถิด” (มธ 19:17) 474. เราจะปฏิบัติตามพระบัญญัติของพระเปนเจาไดอยางไร (1706, 1709)

เราจะปฏิบัติตามพระบัญญัติของพระเปนเจาได ดวยการดําเนิน ชีวิตจริยธรรม 475. เราจะดําเนินชีวิตจริยธรรมที่ดีไดอยางไร (1696) เราจะดําเนินชีวิตจริยธรรมที่ดีไดดวยการทําตามน้ําพระทัยของ พระเปนเจา

- 159 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

476. เราจะเรียกการกระทําเพื่อเปนการสนองตอบน้ําพระทัย ของพระเปนเจาที่เปนที่รูจักกันดีวาอยางไร (1732) เขาเรียกกันวาการกระทําอยางมนุษย

142

477. การกระทําอยางมนุษยคืออะไร (1749) การกระทําอยางมนุษยคือการกระทําที่เราทําไปโดยรูตัวและ เต็มใจ และไมไดเกิดขึ้นเพราะความจําเปนฝายกาย ขาดความ ตั้งใจหรือเปนเพียงแตสัญชาติญาณของมนุษยเทานั้น 478. คุณภาพจริยธรรมของการกระทําอยางมนุษยเราถูก กําหนดไวอยางไร (1750, 1757) คุณภาพจริยธรรมของการกระทําอยางมนุษยเราถูกกําหนดไว โดยสามอยาง อันไดแก สิ่งของหรือวัตถุ ความตั้งใจของผูกระทํา และกรณีแวดลอม 479. สิ่งของหรือวัตถุของการกระทําอยางมนุษยหมายถึงอะไร (1751, 1758)

สิ่งของหรือวัตถุของการกระทําอยางมนุษย หมายถึง ความดี จําเพาะที่ตั้งใจทําการเลือก 480. ความตั้งใจของผูกระทําหมายถึงอะไร (1752) ความตั้งใจของผูกระทํา หมายถึง แรงบันดาลใจที่ทําใหกระทํา อะไรบางอยาง - 160 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

481. กรณีแวดลอมของการกระทําอยางมนุษยหมายถึงอะไร (1754)

กรณีแวดลอมของการกระทําอยางมนุษย หมายถึง สภาวะซึ่ง การกระทําไดถูกกระทํา 482. เพื่อจะใหการกระทําอยางมนุษยเปนการกระทําที่ดีตองทํา อยางไรบาง (1755, 1760) เพื่อจะใหการกระทําอยางมนุษยเปนการกระทําที่ดี สิ่งของหรือ วัตถุ ความตั้งใจของผูกระทําและกรณีแวดลอมของการกระทํา นั้นตองดีทั้งหมด 483. การกระทําแบบจริยธรรมคืออะไร (1734, 1736) การกระทําแบบจริยธรรม คือ การกระทําที่ทําไปโดยเสรีและ โดยตั้งใจและดังนั้นผูที่ทําจึงถูกกลาวหาได อีกนัยหนึ่ง การ กระทําอยางมนุษยก็คือการกระทําแบบจริยธรรมนั่นเอง 484. การกระทําแบบจริยธรรมมีชนิดใดบาง (1696, 1706, 1749) มีการกระทําแบบจริยธรรมที่ดีและที่ไมดี การกระทําแบบ จริยธรรมที่ดีจะนําเราไปสูสวรรคและการกระทําแบบจริยธรรม ที่ไมดีคือการกระทําที่จะนําเราออกไปจากจุดหมายปลายทาง นิรันดรของเรา - 161 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

485. มีการกระทําที่เปนการกระทําแบบจริยธรรมที่ไมดีเสมอไป บางหรือไม (1756, 1761) มีการกระทําบางอยางที่เปนการกระทําแบบจริยธรรมที่ไมดี เสมอไป เพราะวามันตองการที่จะทําลายระเบียบของความ ตั้งใจ ตัวอยางเชน การดาแชง ฆาตกรรมและการเปนชู 486. เราตองรับผิดชอบตอการกระทําอยางมนุษยของเราหรือไม (1734)

เราตองรับผิดชอบตอการกระทําอยางมนุษยของเรา 487. ความรับผิดชอบคืออะไร (1732, 1734, 1736, 1745) ความรับผิดชอบคือ หนาที่ที่ผูคนยอมรับตอการกระทําที่เขาได ทําไป เขาจะไดรับรางวัลหรือโทษเพราะการกระทําที่ดีหรือที่ไม ดีที่ไดทําไป 488. เงื่อนไขสําหรับความรับผิดชอบจริยธรรมมีอะไรบาง (1730-1731, 1734)

เงื่อนไขสําหรับความรับผิดชอบจริยธรรมมีความรูและเสรีภาพ

- 162 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

489. เมื่อไรจึงจะถือวาเรามีเสรีภาพที่สมบูรณที่สุด (1735, 1744) เราจะมีเสรีภาพที่สมบูรณที่สุดเมื่อเสรีภาพของเรามุงตรงไปยัง พระเปนเจาองคความดีสูงสุด 490. มีอะไรบางที่ทําใหความรับผิดชอบของเราลดนอยลง (1739, 1746)

สิ่งที่ทําใหความรับผิดชอบของเราลดนอยลงไดมี ความไมรู อารมณหรือโทสะ ความกลัว นิสัยเดิม และพลังหรือความ รุนแรงภายนอก 36. กฎจริยธรรม 491. กฎหมายคืออะไร (1951, 1976) กฎหมาย คือ กฎเกณฑที่ผูมีอํานาจที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ตราขึ้นเพื่อความดีสวนรวม 492. กฎจริยธรรมคืออะไร (1950-1951) กฎจริยธรรมคือกฎหมายของพระเปนเจาที่บังคับความประพฤติ ของมนุษย

- 163 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

493. ศัพทของกฎจริยธรรมมีอะไรบาง (1952) ศัพทของกฎจริยธรรมมี กฎหมายนิรันดร กฎหมายธรรมชาติ กฎหมายที่ไดรับการไขแสดง กฎหมายพลเรือนและกฎหมาย พระศาสนจักร 494. กฎหมายนิรันดรหมายถึงอะไร (1951-1952) กฎหมายนิรันดร หมายถึง เหตุผลของพระที่บังคับจักรวาล ทั้งหมดและยังขยายไปถึงกิจกรรมของสัตวโลกทั้งมวล ทั้งที่มี เหตุผลและไมมีเหตุผลอีกดวย 495. เราจะรูจักกฎหมายจริยธรรมไดอยางไร (1952) เราจะรูจักกฎหมายจริยธรรมไดแบบธรรมชาติและแบบเหนือ ธรรมชาติ อันแรกหมายถึงกฎหมายธรรมชาติ อันที่สอง กฎหมายที่ไดรับการไขแสดง 496. กฎหมายธรรมชาติคืออะไร (1954-1955, 1978) กฎหมายธรรมชาติคือ กฎหมายที่พระเปนเจาทรงตราไวในหัวใจ และจิตใจของมนุษยทุกคน รูจักไดดวยแสงสวางแหงเหตุผล มนุษย มันแสดงออกซึ่งศักดิ์ศรีของตัวบุคคลมนุษยพรอมทั้ง กําหนดพื้นฐานสําหรับสิทธิและหนาที่หลักๆ ดวย

- 164 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

497. อะไรคือคุณลักษณะของกฎหมายธรรมชาติ (1956-1958, 1979)

กฎหมายธรรมชาตินั้นสากล เปลี่ยนแปลงไมไดและเด็ดขาด 498. กฎหมายธรรมชาตินั้นสากล หมายความวาอะไร (1956) กฎหมายธรรมชาตินั้นสากลหมายความวาเกี่ยวกับมนุษยทุกคน 499. กฎหมายธรรมชาตินั้นเปลี่ยนแปลงไมได หมายความวา อะไร (1958) กฎหมายธรรมชาตินั้นเปลี่ยนแปลงไมไดหมายความวา ไมมีใคร มีอํานาจที่จะเปลี่ยนแปลงมันได 500. กฎหมายธรรมชาตินั้นเด็ดขาด หมายความวาอะไร (1956-1957)

กฎหมายธรรมชาตินั้นเด็ดขาด หมายความวา จําเปนที่จะตอง ถือตามโดยไมมีขอยกเวนใดๆ ทั้งสิ้น 501. กฎหมายที่ไดรับการไขแสดงคืออะไร (1961-1972,1980-1985) กฎหมายที่ไดรับการไขแสดงคือ กฎหมายที่ทําใหเรารูจักเหตุผล ของพระที่บังคับกิจกรรมของสัตวที่มีเหตุผลโดยการไขแสดง รวมทั้งกฎหมายเกาและกฎหมายใหมดวย - 165 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

502. กฎหมายมนุษยคืออะไร (1959, 1979) กฎหมายมนุษยคือ กฎหมายของพระที่แสดงออกผานทางมนุษย ผูตรากฎหมาย 503. กฎหมายมนุษยบังคับถึงขนาดไหน (1902, 1951) กฎหมายมนุษยบังคับเฉพาะแตที่สอดคลองกับกฎหมายนิรันดร เทานั้น 504. กฎหมายพลเรือนคืออะไร (1959, 1951, 1902) กฎหมายพลเรือน คือ กฎหมายที่รัฐบาลในสังคมการเมืองตรา ขึ้น กฎหมายพลเรือนที่ชอบธรรมบังคับแบบจริยธรรมใน มโนธรรมของประชาชน 505. กฎหมายพระศาสนจักรคืออะไร (2041) กฎหมายพระศาสนจักร คือ กฎเกณฑที่ผูมีอํานาจอยางถูกตอง ในพระศาสนจักรคาทอลิกตราขึ้น 37. มโนธรรมที่มีจริยธรรม 506. แตละคนจะใชกฎหมายจริยธรรมกับการกระทําของตน อยางไร (1780) แตละคนจะใชกฎหมายจริยธรรมกับการกระทําของตนผานทาง มโนธรรมของตน - 166 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

507. มโนธรรมคืออะไร (1777-1778, 1796) มโนธรรม คือ การตัดสินในทางปฏิบัติของสติปญญาของเรา ซึ่ง ทําใหเราตัดสินใจ ณ บัดนั้นวาเราควรทําสิ่งที่เห็นวาดีและ หลีกเลี่ยงสิ่งที่เห็นวาชั่ว 508. มโนธรรมของเรากําหนดกฎหมายจริยธรรมหรือไม (1778) มโนธรรมของเราไมไดกําหนดกฎหมายจริยธรรม มันไมมี บทบาทในการกําหนดกฎเกณฑจริยธรรม แตมันชวยใหเราเอา กฎหมายจริยธรรมของพระเปนเจามาใชในการกระทําจําเพาะ นั้นๆ 509. เราจําเปนตองปฏิบัติตามมโนธรรมของเราเสมอไปหรือไม (1790, 1800)

เราจําเปนตองปฏิบัติตามมโนธรรมของเราเสมอไป ขอเพียงแต วาเราไดพยายามอยางซื่อสัตยที่จะรูจักหนาที่ของเรา และเรา แนใจวานั่นเปนสิ่งที่ถูกตองที่จะทํา 510. มโนธรรมแบบไหนที่กอใหเกิดกฎใกลเคียงของจริยธรรม (1783, 1798, 1800)

มโนธรรมที่ถูกตองและแนนอนกอใหเกิดกฎใกลเคียงของ จริยธรรม - 167 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

511. เมื่อใดจึงถือวามโนธรรมของเรานั้นถูกตอง (1783,1798,1799) มโนธรรมของเราจะถือวาถูกตองก็ตอเมื่อมันสอดคลองกับ เปาหมายของกฎหมายจริยธรรม แลวจึงแสดงใหเห็นการ ประเมินผลดาน จริยธรรมที่แทจริงของสถานการณนั้นๆ 512. เมื่อใดจึงถือวามโนธรรมของเรานั้นแนนอนไมผิดพลาด (1790, 1800)

มโนธรรมของเราจะถือวาแนนอนไมผิดพลาด ก็ตอเมื่อมันไมได มีความกลัวที่รอบคอบวาจะผิดพลาดได และตัดสินอยางหนัก แนนวาการกระทํานั้นๆ ถูกหรือผิด 513. มโนธรรมที่ผิดคืออะไร (1790, 1801) มโนธรรมที่ผิด คือ มโนธรรมที่ตัดสินวาถูกในเมื่อจริงๆ แลวมัน ผิดโดยปรนัยหรือในทางสลับกัน 514. อะไรที่กอใหเกิดมโนธรรมที่ผิด (1790, 1799) ความไมรูหรือความรูที่ผิดๆ เกี่ยวกับกฎหมายกอใหเกิด มโนธรรมที่ผิด

- 168 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

515. มีอะไรเกิดขึ้นกับความผิดที่ไมอาจจะหลีกเลี่ยงหรือไม อาจจะเอาชนะได (1793) ถาหากวาความผิดเปนความผิดที่ไมอาจจะหลีกเลี่ยงหรือไม อาจจะเอาชนะไดก็ถือวาไมผิด และบุคคลที่กระทําเชนนั้นก็ไม เปนบาป 516. มีอะไรเกิดขึ้นกับความผิดที่อาจจะหลีกเลี่ยงหรืออาจจะ เอาชนะได (1791, 1801) ถาหากวาความผิดเปนความผิดที่อาจจะหลีกเลี่ยงหรืออาจจะ เอาชนะไดก็ถือวาผิด และบุคคลที่กระทําเชนนั้นก็ไมอาจที่จะ แกตัวได 517. เราจําเปนที่จะตองแสวงหามโนธรรมที่ไดรับการอบรม อยางดีหรือไม (1783, 1798) เราจําเปนที่จะตองแสวงหามโนธรรมที่ไดรับการอบรมอยางดี เพราะมโนธรรมที่ไดรับการอบรมอยางดีจะตัดสินตามเหตุผลที่ ถูกตอง สอดคลองกับความดีที่แทจริงตามความปรารถนาของ พระปรีชาญาณขององคพระผูสราง

- 169 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

518. เราจะไดมโนธรรมที่ไดรับการอบรมอยางดีไดอยางไร (1785, 1802)

เราจะไดมโนธรรมที่ไดรับการอบรมอยางดีไดดวยการขวนขวาย ในการที่จะซึมซับเอาพระวาจาของพระเปนเจาในความเชื่อและ ในการภาวนา และดวยการปฏิบัติตามมโนธรรมนั้นอยาง ซื่อสัตยดวย 519. เราจะไดมโนธรรมที่ละเอียดออนไดอยางไร (1779, 1985) เราจะไดมโนธรรมที่ละเอียดออนไดดวยการหมั่นตรวจสอบ ความประพฤติของเราเปนประจําในชวงวัน เพื่อดูวาเราไดให ความรวมมือกับน้ําพระทัยของพระเปนเจาดีแคไหน 38. บุคคล ครอบครัวและสังคม 520. จุดสุดทายของมนุษยเราคืออะไร (1711, 1801) จุดสุดทายของมนุษยเราคือพระเปนเจา 521. ทําไมมนุษยแตละคนจึงมีศักดิ์ศรีพิเศษสุดและอุตรวิสัย (พนโลก) (356-357, 1700, 1703) ที่มนุษยแตละคนมีศักดิ์ศรีพิเศษสุดและอุตรวิสัย (พนโลก) ก็ เพราะวามนุษยแตละคนถูกสรางมาในภาพลักษณและความ คลายคลึงกับพระเปนเจา และไดรับเรียกใหมามีความสนิท สัมพันธอยางใกลชิดกันกับพระองค - 170 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

522. ถามนุษยแตละคนไดรับเรียกใหมามีความสนิทสัมพันธ อยางใกลชิดกันกับพระเปนเจาแลว ทําไมจึงยังตองมีสังคม อีก (1879, 1891) แมวามนุษยแตละคนจะไดรับเรียกใหมามีความสนิทสัมพันธ อยางใกลชิดกันกับพระเปนเจาแลวก็ตาม แตก็ยังคงตองมีสังคม อยูอีก ก็เพราะวามนุษยเราโดยธรรมชาติแลวเปนสัตวสังคม ความสนิทสัมพันธกันกับคนอื่นเปนปจจัยพื้นฐานของการ เปนอยูและการบรรลุผลของเขาในฐานะที่เปนบุคคล 523. มีสังคมใดบางที่เกิดขึ้นทันทีอันเนื่องมาจากความตองการ ของธรรมชาติมนุษย (1882, 1920) สังคมเชนครอบครัวและสังคมการเมืองตางก็เกิดขึ้นทันทีอัน เนื่องมาจากความตองการของธรรมชาติมนุษย 524. ครอบครัวคืออะไร (2202, 2207) ครอบครัวถือวาเปนหนวยแรกและหนวยที่สําคัญของสังคม 525. เพราะเหตุใดจึงตองมีสังคมการเมือง (1898) สังคมการเมืองมีไวเพื่อจะใหไดมาซึ่งความดีสวนรวม

- 171 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

526. สังคมการเมืองมีหนาที่อะไรกับครอบครัว (2209-2211) สังคมการเมืองมีหนาที่ในการชวยเหลือและปกปองครอบครัว โดยวิธกี ารทางสังคมที่เหมาะสม 527. มนุษยจะอยูในสังกัดของความดีของสังคมใดสังคมหนึ่งได หรือไม (1881, 1929-1930) มนุษยจะอยูในสังกัดของความดีของสังคมใดสังคมหนึ่งไมได ที่ จริงแลว หลักการ ประธานและจุดหมายปลายทางของทุก สถาบันทางสังคมก็คือและตองเปนตัวบุคคลมนุษยนั่นเอง 39. พระบัญญัติของพระเปนเจา และพระบัญญัติของพระศาสนจักร 528. พระบัญญัติที่ยิ่งใหญสองประการที่มีอยูในพระบัญญัติ ทั้งหมดของพระเปนเจาไดแกพระบัญญัติประการใดบาง (2055, 2196)

พระบัญญัติที่ยิ่งใหญสองประการที่มีอยูในพระบัญญัติทั้งหมด ของพระเปนเจา ไดแก ประการแรก “ทานจะตองรักองคพระผู เปนเจา พระเจาของทานสุดจิตใจ สุดวิญญาณ สุดสติปญญา ของทาน” ประการสอง “ทานตองรักเพื่อนมนุษย เหมือนรัก ตนเอง” (มธ 22:37-40) - 172 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

529. เราตองทําอะไรบางเพื่อแสดงวาเรารักพระเปนเจา รัก เพื่อนมนุษยและรักตนเอง (1824, 2067, 2463) เพื่อแสดงวาเรารักพระเปนเจา รักเพื่อนมนุษยและรักตนเอง เรา ตองถือตามพระบัญญัติของพระเปนเจาและพระบัญญัติของ พระศาสนจักร พรอมทั้งปฏิบัติงานเมตตาจิตทั้งฝายกายและ ฝายจิต 530. เราจะสามารถถือตามพระบัญญัติพระเปนเจาโดยลําพังตัว เราเองไดหรือไม (2082) เราจะสามารถถือตามพระบัญญัติพระเปนเจาโดยลําพังตัวเรา เองไดดวยพระหรรษทานของพระเปนเจา ผูทรงพรอมเสมอที่ จะประทานพระหรรษทานของพระองคแกผูที่ทูลขอ 531. โดยทั่วๆ ไปแลว พระเปนเจาทรงตองการใหเราทําอะไรใน พระบัญญัติของพระองค (1962) โดยทั่วไปแลว พระเปนเจาทรงตองการใหเราทําดีหนีชั่ว เพราะ เหตุนี้พระบัญญัติแตละประการจึงมีทั้งสั่งและหามทํา

- 173 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

532. พระบัญญัติของพระเปนเจาคืออะไร พระบัญญัติของพระเปนเจาคือ 10 ประการตอไปนี้ 1. เราเปนพระเจาและพระเปนเจาของเจา เจาจึงตองไมนับถือ พระอื่นใดนอกจากเรา 2. เจาจะไมออกพระนามพระเจาของเจาโดยไมสมเหตุ 3. จงจดจําที่จะทําใหวันของพระเจานั้นศักดิ์สิทธิ์ 4. จงนับถือบิดามารดา 5. อยาฆาคน 6. อยาทําอุลามก 7. อยาลักขโมย 8. เจาจะไมเปนพยานเท็จตอเพื่อนมนุษยของเจา 9. อยาปลงใจในความอุลามก 10. อยามักไดทรัพยของเขา 533. ทําไมพระศาสนจักรจึงตองมีบัญญัติของตน (2041) พระศาสนจักรมีบัญญัติของตนเพื่อเปนการนําทางเราในการ ปฏิบัตหิ นาที่คริสตชนของเรา และเพื่อกําหนดขอบังคับเพิ่มเติม อันเนื่องมาจากพระบัญญัติของพระเปนเจา

- 174 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

534. ใครใหอํานาจแกพระศาสนจักรคาทอลิกในการตราพระ บัญญัติ (538, 881) พระเยซูคริสตเจาประทานอํานาจแกพระศาสนจักรคาทอลิกใน การตราพระบัญญัติ พระองคตรัสกับบรรดาอัครสาวก พระสังฆราชกลุมแรกของพระศาสนจักรวา “ทุกสิ่งที่ทา นจะผูก ในโลก จะผูกไวในสวรรค” (มธ 18:18) 535. ใครมีหนาที่ตราพระบัญญัติ (553, 881) ผูมีสิทธิ์ในการตราพระบัญญัติสําหรับพระศาสนจักรสากล ไดแก บรรดาพระสังฆราช -ผูสืบตําแหนงของบรรดาอัครสาวก และโดยเฉพาะอยางยิ่งสมเด็จพระสันตะปาปา ผูทรงเปนผูสืบ ตําแหนงของหัวหนาของบรรดาอัครสาวกอันไดแกนักบุญเปโตร 536. พระบัญญัติที่สําคัญๆ ของพระศาสนจักรมีอะไรบาง (2041-2043)

พระบัญญัติที่สําคัญๆ ของพระศาสนจักรมีดังตอไปนี้ 1. จงรวมถวายพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณและอยาทํางานในวัน อาทิตย 2. จงแกบาปอยางนอยปละครั้ง จงรับศีลมหาสนิทอยางนอยป ละครั้งในกําหนดปสกา 3. จงอดอาหารและอดเนื้อในวันบังคับ 4. จงบํารุงพระศาสนจักรตามความสามารถ - 175 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

537. งานเมตตาจิตฝายกายและฝายจิตไดแกอะไรบาง (2447) งานเมตตาจิตฝายกาย คือ การแสดงความรักตอเพื่อนมนุษย ดวยการใหความชวยเหลือแกเขาในสิ่งที่จําเปนฝายกาย งาน เมตตาจิตฝายจิต คือ การแสดงความรักตอเพื่อนมนุษยดวย การใหความชวยเหลือแกเขาในสิ่งที่จําเปนฝายจิต 538. งานเมตตาจิตฝายกายที่สําคัญๆ มีอะไรบาง (2447) งานเมตตาจิตฝายกายที่สําคัญๆ มีอยูดวยกันเจ็ดอยางคือ 1. ใหอาหารแกคนหิวโหย 2. ใหน้ําดื่มแกคนกระหาย 3. ใหเสื้อผาแกผูที่ไมมีนุงไมมีหม 4. เยี่ยมเยียนคนติดคุก 5. ใหที่พักแกผูที่ไรที่อยู 6. เยี่ยมเยียนคนเจ็บคนปวย 7. ฝงคนตาย 539. งานเมตตาจิตฝายจิตที่สําคัญๆ มีอะไรบาง (2447) งานเมตตาจิตฝายจิตที่สําคัญๆ มีอยูดวยกันเจ็ดอยางคือ 1. ตักเตือนคนบาป 2. สอนคนโง 3. แนะนําผูที่สงสัย 4. บรรเทาใจคนทุกขโศก - 176 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

5. อดทนตอความผิด 6. ใหอภัยการลวงละเมิด 7. ภาวนาใหทั้งผูเปนและผูตาย 540. เราตองปฏิบัติงานเมตตาจิตกันทุกคนหรือ (2447) เราตองปฏิบัติงานเมตตาจิตกันทุกคนตามความสามารถของเรา แตละคน และตามความตองการของเพื่อนมนุษยของเราแตละ คนดวย 541. การบริการปกติที่เราทํากันทุกวันเพื่อแบงเบาความจําเปน ฝายกายและฝายจิตของคนอื่นถือวาเปนงานเมตตาจิต หรือไม การบริการปกติที่เราทํากันทุกวันเพื่อแบงเบาความจําเปนฝาย กายและฝายจิตของคนอื่นถือวาเปนงานเมตตาจิตที่แทจริง ถา หากวาเรากระทําไปในนามของพระเยซูคริสตเจา 40. พระบัญญัติประการแรก การกราบนมัสการพระเปนเจา

542. พระบัญญัติพระเปนเจาประการหนึ่งมีวาอยางไร (2084) พระบัญญัติพระเปนเจาประการหนึ่งมีวา เราเปนพระเจาและ พระเปนเจาของเจา เจาจึงตองไมนับถือพระอื่นใดนอกจากเรา - 177 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

543. พระบัญญัติพระเปนเจาประการหนึ่งบังคับใหเราทําอะไร (2084)

พระบัญญัติพระเปนเจาประการหนึ่งบังคับใหเราถวายคารวกิจ สูงสุดแดพระเปนเจาแตเพียงพระองคเดียวตามที่ทรงสมจะ ไดรับ 544. เราถวายคารวกิจแดพระเปนเจาไดอยางไร (2086, 2134) เราถวายคารวกิจแดพระเปนเจาไดดวยการแสดงความเชื่อ ความไวใจและความรัก พรอมดวยการกราบนมัสการและ ภาวนาถึงพระองค 545. ความเชื่อบังคับใหเราทําอะไร (2087) ความเชื่อบังคับเราให 1. พยายามอยางจริงใจที่จะคนหาสิ่งที่พระเปนเจาไดทรงไข แสดง 2. เชื่ออยางมั่นคงถึงสิ่งที่พระเปนเจาไดทรงไขแสดง 3. ประกาศยืนยันความเชือ่ ของเราอยางเปดเผยเมื่อจําเปน 546. ความไวใจบังคับใหเราทําอะไร (2087) ความไวใจบังคับใหเราวางใจอยางมั่นคงวาพระเปนเจาจะ ประทานชีวิตนิรันดรแกเรา พรอมกับวิธีการที่จะไดมาซึ่งชีวิตนั้น - 178 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

547. ความรักบังคับใหเราทําอะไร (2090) ความรักบังคับใหเรารักพระเปนเจาเหนือกวาทุกสิ่ง เพราะวา ทรงความดีอยางไมมีขอบเขต และใหรักเพื่อนมนุษยเหมือนตัว เราเองเพราะเห็นแกความรักตอพระเปนเจา 548. เราจะผิดตอพระบัญญัติประการหนึ่งไดอยางไร(2093, 2089) เราจะผิดตอพระบัญญัติประการหนึ่งไดดวยการใหเกียรติซึ่ง เปนของพระเปนเจาแตเพียงผูเดียวใหแกสิ่งสราง ดวยคารวกิจที่ ผิดๆ และดวยการมอบความครบครันซึ่งเปนของพระเปนเจาแต เพียงผูเดียวแกสิ่งสราง บาปผิดตอความเชื่อ ความไวใจ และ ความรักก็ถือวาเปนบาปผิดตอพระบัญญัติประการแรกดวย เชนกัน 549. คาทอลิกจะทําบาปผิดตอความเชื่อไดอยางไร (2089) คาทอลิกจะทําบาปผิดตอความเชื่อไดดวยการถือนอกรีต การ ละทิ้งความเชื่อ เพิกเฉย และดวยการรวมคารวกิจที่ไมใช คาทอลิกโดยปราศจากเหตุผลที่เพียงพอหรือไดรับอนุญาต อยางถูกตอง 550. บาปผิดตอความไวใจมีอะไรบาง (2091) บาปผิดตอความไวใจไดแกการสันนิษฐานเอาเองและสิ้นหวัง - 179 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

551. การสันนิษฐานเอาเองหมายความวาอะไร (2092) การสันนิษฐานเอาเอง หมายความวา เราหวังวาจะไดรอดพน ดวยความพยายามของเราเองโดยไมตองพึ่งพาพระเปนเจา หรือ โดยหวังในความชวยเหลือของเปนเจาโดยที่ตนไมตองลงแรง 552. การทําบาปดวยการสิ้นหวังหมายความวาอะไร (2091) การทําบาปดวยการสิ้นหวัง คือ เมื่อเราเต็มใจที่จะปฏิเสธที่จะ วางใจวาพระเปนเจาจะประทานความชวยเหลือที่จําเปนเพื่อ ชวยวิญญาณของเราใหรอดพนได 553. เราจะทําบาปผิดตอความรักตอพระเปนเจาไดอยางไร (1885)

เราจะทําบาปผิดตอความรักตอพระเปนเจาไดดวยบาป ทุกประการ โดยเฉพาะอยางยิ่งบาปหนัก 554. นอกเหนือไปจากการผิดตอความเชื่อ ความไวใจและความ รักแลว พระบัญญัติพระเปนเจาประการแรกยังหามเราทํา อะไรอีก (2110, 2120) นอกเหนือไปจากการผิดตอความเชื่อ ความไวใจและความรัก แลว พระบัญญัติพระเปนเจาประการแรกยังหามเรามิใหถือ นอกรีตและทุราจารอีกดวย - 180 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

555. การถือนอกรีตหมายความวาอะไร (2111, 2117, 2138) การถือนอกรีต คือ การที่เรามอบแกสิ่งสรางซึ่งพลังอํานาจที่ เปนของพระเปนเจาแตเพียงผูเดียว เชน เมื่อเราเชื่อในเวทมนต คาถา เชื่อความฝน หรือหมอดูหรือเขาทรง 556. การทุราจารคืออะไร (2120) การทุราจาร คือ การดูหมิ่นตอบุคคล สถานที่หรือสิ่งของ ศักดิ์สิทธิ์ 41. การถวายเกียรติแดทตู สวรรค นักบุญ พระธาตุและรูปภาพ

557. พระบัญญัติประการแรกหามเราถวายเกียรติแกทูตสวรรค และบรรดานักบุญหรือไม (956-957) พระบัญญัติประการแรกมิไดหามเราถวายเกียรติแกทูตสวรรค และบรรดานักบุญ ขอเพียงแตอยาไดถวายเกียรติที่เปนของ พระเปนเจาแตเพียงผูเดียวเทานั้นแกพวกทานเหลานั้นเทานั้น 558. ทําไมเราจึงถวายเกียรติแกบรรดานักบุญในสวรรค (828, 956-957, 1173)

การที่เราถวายเกียรติแกบรรดานักบุญในสวรรคก็เพราะพวก ทานเหลานั้นไดฝกฝนคุณธรรมอันยิ่งใหญขณะยังอยูบนโลกนี้ และเนื่องจากวาการถวายเกียรติแกพวกทานที่ไดรับเลือกใหเปน - 181 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

พระสหายของพระเปนเจาก็เปนการถวายเกียรติแดพระเปนเจา เองนั่นแหละ 559. เราจะถวายเกียรติแกบรรดานักบุญไดอยางไร (828, 1173) เราจะถวายเกียรติแกบรรดานักบุญไดดวยการถือตาม แบบอยางชีวิตอันศักดิ์สิทธิ์ของพวกทาน ดวยการขอใหพวก ทานวิงวอนตอพระเปนเจาเพื่อเรา และดวยการแสดงความ เคารพตอพระธาตุและรูปภาพของทาน 560. เมื่อเราขอใหบรรดาทูตสวรรคและนักบุญวิงวอนเพื่อเรานั้น เราขอใหทานทําอะไร (2683) เมื่อเราขอใหบรรดาทูตสวรรคและนักบุญวิงวอนเพื่อเรานั้นเรา ขอใหทานภาวนาตอพระเปนเจาเพื่อเรา 561. เราจะรูไดอยางไรวาบรรดาทูตสวรรคและนักบุญจะวิงวอน ตอพระเปนเจาเพื่อเรา (2683) ที่เรารูวาบรรดาทูตสวรรคและนักบุญจะวิงวอนตอพระเปนเจา เพื่อเราก็เพราะทานอยูใกลชิดพระเปนเจา และทานก็ยังมีความ รักอันใหญหลวงตอเราอีกดวย

- 182 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

562. ทําไมเราจึงตองบูชาพระธาตุดวย (1674) เราบูชาพระธาตุเพราะเปนชิ้นสวนที่ยังคงเหลืออยูของรางกาย ของนักบุญหรือสิ่งของที่เกี่ยวกับบรรดานักบุญ หรือเกี่ยวกับ พระเยซูคริสตเจา 563. การแสดงความเคารพตอรูปปนและตอรูปภาพของพระเยซู เจาและของบรรดานักบุญเปนการถูกตองหรือไม (2132, 2141)

การแสดงความเคารพตอรูปปนและตอรูปภาพของพระเยซูเจา และของบรรดานักบุญเปนการถูกตองแบบเดียวกันกับการที่เรา แสดงความเคารพตอรูปภาพของผูที่เรารักเราบูชาบนโลกนี้ 564. เราไดถวายเกียรติแดพระเยซูเจาและแกบรรดานักบุญเมื่อ เราภาวนาตอหนากางเขนตอหนาพระธาตุและรูปภาพ ศักดิ์สิทธิ์หรือไม (2132) เราไดถวายเกียรติแดพระเยซูเจาและแกบรรดานักบุญเมื่อเรา ภาวนาตอหนากางเขนตอหนาพระธาตุและรูปภาพศักดิ์สิทธิ์ ทั้งนี้เพราะวาเราถวายเกียรติแกบุคคลที่สิ่งเหลานั้นเปนตัวแทน เรากราบนมัสการพระเยซูเจาและคารวะตอนักบุญ

- 183 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

565. เราภาวนาตอกางเขน ตอพระธาตุและรูปภาพศักดิ์สิทธิ์ หรือไม (2132) เรามิไดภาวนาตอกางเขน ตอพระธาตุและรูปภาพศักดิ์สิทธิ์ แตภาวนาตอบุคคลที่สิ่งเหลานั้นเปนตัวแทน 42. พระบัญญัติประการสอง

การถวายเกียรติแดพระนามของพระเปนเจา

566. พระบัญญัติประการสองมีวาอยางไร พระบัญญัติประการสองมีวา เจาจะไมออกพระนามพระเจา และพระเปนเจาของเจาโดยไมสมเหตุ 567. การออกพระนามพระเปนเจาโดยไมสมเหตุหมายความวา อะไร (2146) การออกพระนามพระเปนเจาโดยไมสมเหตุ หมายความวา การ นําเอาพระนามของพระเปนเจาหรือพระนามอันศักดิ์สิทธิ์ของ พระเยซูคริสตเจามาใชโดยปราศจากความเคารพ 568. การออกพระนามพระเปนเจาโดยไมสมเหตุเปนบาปหรือไม (2146)

การออกพระนามพระเปนเจาโดยไมสมเหตุเปนบาป แตบอยครั้งมักจะเปนบาปเบา ทั้งนี้เพราะขาดความตั้งใจ - 184 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

569. พระบัญญัติประการสองบังคับใหเราทําอะไร (2142-2145, 2161)

พระบัญญัติประการสองบังคับใหเรากลาวดวยความเคารพตอ พระเปนเจา ตอบรรดานักบุญและสิ่งของศักดิ์สิทธิ์ และให ปฏิบัติตามคําสาบานและคําศีลบนที่ถูกตองตามกฎหมายของ เรา 570. สาบานหมายความวาอะไร (2150) สาบาน คือ การเอาพระเปนเจามาเปนพยานตอความจริงที่เรา พูด 571. มีเงื่อนไขใดบางที่จะทําใหคําสาบานถูกตองตามกฎหมาย (2154, 2164)

มีเงื่อนไขจําเปนสามอยางเพื่อจะทําใหคําสาบานถูกตองตาม กฎหมายคือ 1) เราตองมีเหตุผลเพียงพอในการสาบาน 2) เรา ตองมีความมั่นใจวาสิ่งที่เราสาบานนั้นเปนความจริง 3) เราจะ ไมสาบานเพื่อจะกระทําในสิ่งที่ผิด 572. ถาเราจงใจที่จะใหพระเปนเจาเปนพยานตอการโกหกของ เรา เราทําบาปอะไร (2152, 2163) ถาเราจงใจที่จะใหพระเปนเจาเปนพยานตอการโกหกของเรา เราทําบาปหนักดวยการทนสาบานหรือสาบานเท็จ - 185 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

573. ศีลบนคืออะไร (2102) ศีลบน คือ การจงใจปฏิญาณตอพระเปนเจาวาจะกระทําอะไร บางอยางที่เปนที่พอพระทัยของพระองคเปนพิเศษ ดวยการ ผูกมัดตัวเองดวยบาปถาไมทําตาม 574. พระบัญญัติประการสองสั่งหามอะไร (2146-2150, 2162-2164)

พระบัญญัติประการสองสั่งหามการสาบานที่ผิด ที่ไมยั้งคิด ที่ไมยุติธรรมและที่ไมจําเปนทุกอยาง รวมไปถึงผรุสวาท คํา สาบถสาบาน คําพูดที่ไมสุภาพและการผิดตอคําสาบานและศีล บนที่ถูกตองตามกฎหมายอีกดวย 575. ผรุสวาทคืออะไร (2148, 2162) ผรุสวาท คือ กลาวคําหยาบคายตอพระเปนเจา ไมวาจะ โดยตรงหรือโดยทางออมหรือโดยผานทางบรรดานักบุญหรือ สิ่งของศักดิ์สิทธิ์ 576. การสาปแชงคืออะไร การสาปแชง คือ การขอใหบุคคล สถานที่หรือสิ่งของไดรับ ความเลวรายอะไรบางอยาง

- 186 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

43. พระบัญญัติประการสาม

วันอาทิตยเปนวันขององคพระผูเปนเจา

577. พระบัญญัติของพระเปนเจาประการสามมีวาอยางไร (2168, 2189)

พระบัญญัติของพระเปนเจาประการสามมีวา จงจดจําที่จะทํา ใหวันของพระเจานั้นศักดิ์สิทธิ์ 578. ทําไมพระศาสนจักรจึงสั่งใหเราถือวันอาทิตยเปนวันพระ เจาแทนที่จะเปนวันเสาร (2174, 2190-2191) ที่พระศาสนจักรสั่งใหเราถือวันอาทิตยเปนวันพระเจาแทนที่จะ เปนวันเสารนั้น ก็เนื่องจากวาวันเสารเปนวันระลึกถึงการสิ้นสุด การสรางโลกครั้งแรก การเอาวันอาทิตยมาแทนก็เพื่อเปนการ ระลึกถึงการสรางโลกใหมที่ไดเกิดขึ้นอยางเปนทางการ ดวย การกลับคืนชีพของพระเยซูคริสตเจา 579. พระบัญญัติประการสามสั่งใหเราทําอะไร (2175-2176) พระบัญญัติประการสามสั่งใหเรากราบนมัสการพระเปนเจา เปนพิเศษในวันอาทิตย เนื่องจากวันอาทิตยเปนวันขององคพระ ผูเปนเจา

- 187 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

580. พระศาสนจักรสั่งใหเรากราบนมัสการพระเปนเจาในวัน อาทิตยอยางไร (2180, 2192) พระศาสนจักรสั่งใหเรากราบนมัสการพระเปนเจาในวันอาทิตย ดวยการถวายพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณรวมกัน 581. พระบัญญัติประการสามสั่งหามเราทําอะไร (2185, 2193) พระบัญญัติประการสามสั่งหามเราทํางานหรือธุรกิจที่ไมจําเปน ทุกอยาง ที่อาจจะขัดขวางการกราบนมัสการพระเปนเจาของ เราได อันเปนความสุขที่เปนของวันขององคพระผูเปนเจาอยาง แทจริงและการพักผอนที่ทั้งรางกายและจิตใจตองการ 582. ทําไมพระศาสนจักรจึงประกาศใหคริสตชนถือเอาวัน อาทิตยเปนวันพักผอน (2184, 2194) ที่พระศาสนจักรประกาศใหคริสตชนถือเอาวันอาทิตยเปนวัน พักผอนนั้นก็เพราะวา การหยอนใจในเวลาปกติเปนสิ่งที่ทั้ง ศาสนาและสุขภาพของเราตองการ

- 188 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

583. มีเหตุผลใดบางที่ทําใหเราไมตองถือการหยุดงาน ในวันอาทิตย (2185) เหตุผลที่ทําใหเราไมตองถือการหยุดงานในวันอาทิตยไดแก กิจกรรมที่จําเปนในทางปฏิบัติ ในฐานะที่เปนวิธีการเพื่อการ อยูรอด หรือความยุติธรรม หรือความรักเรียกรอง หรือเพื่อ ประโยชนสวนรวม 584. การทํางานในวันอาทิตยเปนบาปชนิดใด การทํางานในวันอาทิตยถือวาเปนบาปหนัก เพราะมันเปนการ ไมเคารพตอพระบัญญัติ หรือในบางครั้งอาจกอใหเกิดการ สะดุดแกคนอื่นก็ได 44. พระบัญญัติประการสี่

ความนบนอบ ความรักและความเคารพตอบิดามารดา

585. พระบัญญัติพระเปนเจาประการสี่มีวาอยางไร (2247) พระบัญญัติพระเปนเจาประการสี่มีวา จงนับถือบิดามารดา 586. พระบัญญัติพระเปนเจาประการสี่บังคับใหเราทําอะไร (2248, 2251)

พระบัญญัติพระเปนเจาประการสี่บังคับใหเราเคารพและรัก บิดามารดาของเรา นบนอบทานในทุกอยางที่ไมเปนบาป และ ชวยเหลือทานเวลาที่ทานตองการ - 189 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

587. ทําไมเราจึงตองแสดงความรักตอบิดามารดาของเราเปน พิเศษ (2197, 2215) ที่เราตองแสดงความรักตอบิดามารดาของเราเปนพิเศษก็ เพราะวารองจากพระเปนเจาลงมาแลวบิดามารดาเปนผูที่เรา เปนหนี้พระคุณอยางมากที่สุด 588. ทําไมเราจึงตองเคารพและนบนอบตอบิดามารดาของเรา (2214, 2216)

ที่เราตองเคารพและนบนอบตอบิดามารดาของเราก็เพราะวา พระเปนเจาเองทรงเปนตนตอของสิทธิและหนาที่ของบิดา มารดาของเรา 589. บิดามารดามีหนาที่อะไรบางตอลูกๆ (2228, 2252) บิดามารดาตองจัดหาสวัสดิการทั้งฝายกายและฝายวิญญาณ ใหแกลูกๆ ของตน 590. บิดามารดาพึงปฏิบัติตอลูกๆ ของตนอยางไร (2222-2223) บิดามารดาพึงปฏิบัติตอลูกๆ ของตนในฐานะที่พวกเขาเปนบุตร ของพระเปนเจาและเคารพพวกเขาในฐานะที่เปนมนุษย ในฐานะ ที่เปนผูใหการศึกษาแรกและสําคัญที่สุดของลูกๆของตน บิดา มารดาจึงควรอบรมลูกๆ ใหรูจักปฏิบัติตามพระบัญญัติพระเปน เจาดวยแบบฉบับของตนเองในการนบนอบตอน้ําพระทัยของ พระเปนเจา - 190 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

591. พระบัญญัติประการสี่ยังบังคับใหเราเคารพและเชื่อฟงผูอื่น ใดนอกเหนือไปจากบิดามารดาหรือไม (2199, 2248) พระบัญญัติประการสี่บังคับใหเราเคารพและเชื่อฟงไมเฉพาะแต บิดามารดาของเราเทานั้น แตยังตองเคารพและเชื่อฟงผูใหญที่ ถูกตองตามกฎหมายทุกคนของเราอีกดวย 592. ผูใหญมีหนาที่อะไรบางตอผูที่อยูใตบังคับบัญชาของตน (2199)

ผูใหญมีหนาที่รับผิดชอบ –ตามหลั่นขั้นของตน- ตอผูที่อยูใต บังคับบัญชาของตน 593. ผูวาจางมีหนาที่อะไรบางตอผูรับจาง (2430) ผูวาจางและผูรับจางพึงปฏิบัติตอกันฉันพี่นองในพระคริสตเจา พรอมทั้งใหการสนับสนุนสวัสดิการของกันและกัน ผูวางจาง ตองจายคาแรงที่ยุติธรรมและจัดใหมีสถานการณการทํางานที่ เหมาะสม ในเวลาเดียวกันผูรับจางก็ตองทํางานของตนอยางรู รับผิดชอบ 594. พระบัญญัติประการสี่สั่งหามอะไร พระบัญญัติประการสี่สั่งหามดื้อดึง หามโหดรายและจองหอง ตอบิดามารดาและผูใหญที่ถูกตองตามกฎหมาย - 191 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

45. หนาที่ของเจาหนาที่บานเมืองและของพลเมือง 595. ทําไมจึงตองมีเจาหนาที่บานเมืองในสังคม (1898, 1901, 1920) ที่ตองมีเจาหนาที่บานเมืองในสังคมก็เพราะวาธรรมชาติของ มนุษยเรียกรอง และดังนั้นมันก็ขึ้นกับระเบียบการที่พระเปนเจา ไดทรงตั้งขึ้น แตวาการเลือกรัฐบาลและการกําหนดผูนําเปน การตัดสินใจของพลเมืองเอง 596. จะใชอํานาจไดอยางถูกตองตามกฎหมายไดเมื่อไร (1903, 1921)

จะใชอํานาจไดอยางถูกตองตามกฎหมายก็ตอเมื่อมันมุงใหไดมา ซึ่งความดีสวนรวม 597. ความดีสวนรวมคืออะไร (1906, 1924) ความดีสวนรวม คือ การสรุปรวมของสถานการณตางๆของ ชีวิตสังคมซึ่งเปดโอกาสใหไมเฉพาะแตกลุมแตสมาชิกแตละคน ของกลุมดวยใหไดมาซึ่งการบรรลุผลไดอยางเต็มที่และอยาง เพียบพรอมยิ่งขึ้น 598. ความดีสวนรวมของสังคมประกอบดวยอะไรที่สําคัญๆ บาง (1905, 1907, 1929-1930)

ความดีสวนรวมของสังคมประกอบดวย การปองกันสิทธิ์และ การปฏิบัติหนาที่ของตัวบุคคลเปนสําคัญ - 192 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

599. ความดีสวนรวมนี้มีปจจัยที่สําคัญๆ อะไรบางที่เขามา เกี่ยวของ (1907-1909, 1925) ปจจัยที่สําคัญๆ ที่เขามาเกี่ยวของกับความดีสวนรวมนี้ ไดแก ความเคารพตอและการแกตางสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคล ความเจริญกาวหนาทั้งฝายโลกและฝายธรรมของสมาชิกของ สังคม สันติภาพและระเบียบการในชุมชนสังคมและในทามกลาง บรรดาสมาชิกของสังคม 600. หนาที่ที่สําคัญๆ ของเจาหนาที่บานเมืองมีอะไรบาง (2236-2237, 2254)

หนาที่ที่สําคัญๆ ของเจาหนาที่บานเมืองไดแก ตองมีความ ยุติธรรมในการใชอํานาจและสนับสนุนความดีสวนรวม ดวย การรักษาสิทธิของทุกคน โดยเฉพาะอยางยิ่งของผูที่ออนแอกวา หมด 601. พลเมืองมีหนาที่อะไรบางตอประเทศชาติ (2239) พลเมืองตองรักประเทศของตน มีความสนใจอยางจริงใจตอ สวัสดิการของประเทศและเคารพเชื่อฟงผูที่อํานาจที่ถูกตองตาม กฎหมายของประเทศ

- 193 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

602. ทําไมเราจึงตองเคารพเชื่อฟงผูที่อํานาจที่ถูกตองตาม กฎหมายของประเทศ (1899, 2234, 2238) เราตองเคารพเชื่อฟงผูที่อํานาจที่ถูกตองตามกฎหมายของ ประเทศเพราะวามันมาจากพระเปนเจาผูทรงเปนตนตอของ อํานาจทั้งหมด 603. มีครั้งใดบางที่พลเมืองไมจําเปนตองปฏิบัติตามกฎหมายที่ เจาหนาที่บานเมืองตราขึ้น (2242, 2256) มีบางครั้งที่พลเมืองไมจําเปนตองปฏิบัติตามกฎหมายที่ เจาหนาที่บานเมืองตราขึ้น เชนในกรณีที่กฎหมายนั้นขัดตอหลัก จริยธรรม ขัดตอสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลหรือขัดตอคําสอน ของพระวรสาร 604. ทําไมเราจึงตองมีสวนรวมในงานของการเปนพลเมืองดี (2239)

เราตองมีสวนรวมในงานของการเปนพลเมืองดีก็เพราะเหตุผลที่ ถูกตองบังคับใหพลเมืองทํางานรวมกัน ตามกรณีแวดลอมของ ชีวิตของแตละคน เพื่อความดีสวนรวมของประเทศแตไมตองไป กอใหเกิดผลรายตอประเทศอื่น

- 194 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

46. พระบัญญัติประการหา ชีวิตมนุษยศักดิ์สิทธิ์

605. พระบัญญัติพระเปนเจาประการหามีวาอยางไร (2262) พระบัญญัติพระเปนเจาประการหามีวา อยาฆาคน 606. พระบัญญัติประการหาบังคับใหเราทําอะไร (2280, 2288) พระบัญญัติประการหาบังคับใหเราเอาใจใสดูแลสุขภาพทั้งของ วิญญาณและของรางกายของเราและของเพื่อนมนุษยของเรา ดวย 607. ทําไมชีวิตของมนุษยจึงศักดิ์สิทธิ์ (2258, 2319) ชีวิตของมนุษยศักดิ์สิทธิ์ก็เพราะวามันเริ่มตนดวยการกระทําที่ สรางสรรคของพระเปนเจา มีความสามารถในการรูจักและรัก พระเปนเจา ไดรับการไถกูดวยพระมหาทรมานและการ สิ้นพระชนมของพระบุตรของพระเปนเจาและถูกกําหนดใหได พระเปนเจามาเปนกรรมสิทธิ์ตลอดนิรันดร 608. พระบัญญัติประการหาหามเราทําอะไร (2261, 2320) พระบัญญัติประการหาหามเราฆาคนอยางอยุติธรรม หามเรา ทํารายตอความครบครันของวิญญาณและรางกายของเราและ ของเพื่อนมนุษยของเราดวย - 195 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

609. บาปที่พระบัญญัติประการหาหามมีอะไรบาง บาปที่พระบัญญัติประการหาหามมีการจงใจทําแทง การุญฆาต และฆาตกรรมในรูปแบบตางๆ การอัตวินิบาต การทําหมัน โดยตรง การทะเลาะกัน ความโกรธ ความเกลียดชัง การ แกแคน การเมามาย การติดยาเสพติด การขับรถดวยความ ประมาท ตัวอยางที่ไมดีและการเปนที่สะดุด 610. ฆาตกรรมคืออะไร (2258) ฆาตกรรม คือ ความตั้งใจที่จะปลิดชีวิตที่บริสุทธิ์โดยตรง 611. การตั้งใจทําแทงคืออะไร (2271) การตั้งใจทําแทง คือ การฆาเด็กที่ยังอยูในครรภโดยตรง 612. ทําไมการตั้งใจทําแทงจึงถือวาเปนรูปแบบที่รุนแรงของ ฆาตกรรม (2273) ที่ถือวาการตั้งใจทําแทงเปนรูปแบบที่รุนแรงของฆาตกรรมก็ เพราะวานอกจากจะทําลายชีวิตของผูไรเดียงสาและไมอาจจะ ปองกันตัวเองไดแลวยังทําใหวิญญาณของเขาไมมีโอกาสที่จะ รับพระหรรษทานของพระเปนเจาไปตลอดนิรันดร

- 196 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

613. พระศาสนจักรลงโทษผูที่ทําแทงอยางไร (2272, 2322) พระศาสนจักรลงโทษผูที่ทําแทงรวมทั้งผูที่ใหความรวมมือใน การทําแทงนั้นดวยดวยการทําบัพพาชนียกรรม (ขับไลออกจาก สมาชิกของพระศาสนจักร) 614. การุญฆาตคืออะไร (2277, 2324) การุญฆาตหรือ “ฆาตกรรมดวยความเมตตา” คือการตั้งใจ ปลิดชีวิตของคนปวยที่สิ้นหวัง ของผูสูงอายุและผูที่อาจปรับให เขากับสังคมไดเพราะกลัววาจะเปนปญหาใหแกสังคม ไมมีวัน จะอนุญาตใหทําเชนนี้ไดเพราะถือวาเปนการฆาตกรรมดวย ความตั้งใจหรือไมก็เปนการทําอัตวินิบาต 615. การทําอัตวินิบาตคืออะไร (2280-2281, 2325) การทําอัตวินิบาต คือ การปลิดชีวิตของตนเองดวยความตั้งใจ จึงไมมีทางที่จะทําใหถูกตองไดไมวาในกรณีใดๆ ทั้งสิ้น 616. การปลิดชีวิตของมนุษยไดอยางถูกตองตามกฎหมายใน กรณีใดบาง (2263-2664, 2321) การปลิดชีวิตของมนุษยไดอยางถูกตองตามกฎหมายไดในกรณี ของการปองกันตัวเองหรือปองกันคนอื่นใหพนจากผูรุกรานที่ อยุติธรรม - 197 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

617. พระศาสนจักรสอนวาอยางไรในเรื่องโทษประหารชีวิต (2267)

ในกรณีที่เอกลักษณและความรับผิดชอบของผูกระทําผิดไดรับ การยืนยัน คําสอนดั้งเดิมของพระศาสนจักรก็ไมไดปฏิเสธโทษ ประหารถาหากวานี่เปนหนทางเดียวที่จะปกปองชีวิตมนุษยได อยางมีประสิทธิผลตอผูบุกรุกที่ไมดี กระนั้นก็ดี ถาหากวามี วิธีการอื่นที่เพียงพอในการปองกันและปกปองความปลอดภัย ของผูคนจากผูบุกรุกแลว ผูมีอํานาจก็ควรที่จะจํากัดวิธีการ ดังกลาวเพราะวาการนี้จะสอดคลองกับสถานการณที่เปน รูปธรรมของความดีสวนรวมมากกวาและยิ่งจะสอดคลองกับ ศักดิ์ศรีของมนุษยกวานั้นอีก ที่จริงแลว ในปจจุบันนี้ที่จะ ประหารนักโทษที่ถือวาจําเปนจริงๆ นั้นมีนอยมาก ถาไมใชแทบ จะไมมีเลยในภาคปฏิบัติ 618. เรามีหนาที่อะไรบางกับสุขภาพของเรา (2288, 2290, 2291) กฎหมายจริยธรรมบังคับเราใหเอาใจใสกับสุขภาพของเรา คุณธรรมความมัธยัสถ ทําใหหลีกเลี่ยงการกินการดื่มจนเกิน ขนาด การใชยาที่ตองหามก็เปนบาปหนักดวยเชนกันเพราะผลที่ เลวรายของมันที่มีตอชีวิตและสุขภาพของเราพรอมกับจะนําเรา ไปสูอาชญากรรมที่เลวรายตางๆ อีกดวย

- 198 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

619. เมื่อใดจึงถือวาสงครามจะเหมาะสม (2308, 2326) สงครามจะเหมาะสมไดก็ตอเมื่อผูมีหนาที่ที่ถูกตองตาม กฎหมายประกาศเพื่อเปนการปองกันสิทธิของประเทศชาติใน เรื่องที่สําคัญ เมื่อเห็นวานั่นเปนหนทางสุดทายหลังจากที่ได พยายามใชวิธีการตางๆ ในการเจรจาขอพิพาทกันแลวแต ลมเหลว และเมื่อมีการใชอาวุธยุทโธปกรณปกติในการทํา สงครามเพื่อใหเกิดสันติภาพที่ยุติธรรมใหไดเร็วๆ 620. การเปนที่สะดุดคืออะไร (2284, 2326) การเปนที่สะดุด คือ การใชคําพูด การกระทําหรือการละเวนที่ สอไปในทางบาป ซึ่งอาจจะทําใหคนอื่นทําบาปไดหรืออาจจะทํา ใหความเคารพนับถือตอพระเปนเจาและตอศาสนาของพวกเขา ลดนอยถอยลงได 621. ในการแกบาป เราเพียงแตสารภาพความเลวรายที่เราได กอใหเกิดขึ้นกับผูอื่นทั้งฝายกายและฝายวิญญาณจะเปน การเพียงพอหรือไม (1459) ในการแกบาปเพียงแตสารภาพความเลวรายที่เราไดกอใหเกิด ขึ้นกับผูอื่นทั้งฝายกายและฝายวิญญาณยอมไมเปนการ เพียงพอ เราจะตองชดใชความเลวรายนั้นใหถึงที่สุดเทาที่เราจะ สามารถ - 199 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

47. พระบัญญัติประการหกและประการเกา ความบริสุทธิ์ของจิตใจและรางกาย

622. พระบัญญัติพระเปนเจาประการหกมีวาอยางไร (2336) พระบัญญัติพระเปนเจาประการหกมีวา อยาทําอุลามก 623. พระบัญญัติพระเปนเจาประการหกบังคับใหเราทําอะไร (2337, 2395, 2390)

พระบัญญัติพระเปนเจาประการหกบังคับใหเราบริสุทธิ์และรู พอประมาณในความประพฤติของเรา นั่นก็คือ ใชเพศให สอดคลองกับจุดประสงคศักดิ์สิทธิ์ของพระเปนเจา ซึ่งไดแกการ ใหกําเนิดชีวิตในการแตงงานเทานั้น 624. พรหมจรรยหรือความบริสุทธิ์ที่ศักดิ์สิทธิ์คืออะไร (2337, 2349, 2390)

พรหมจรรยหรือความบริสุทธิ์ที่ศักดิ์สิทธิ์คือ คุณธรรมจริยธรรม ที่ควบคุมอยางถูกตองซึ่งการแสดงออกดวยความสมัครใจซึ่ง ความสุขทางเพศทุกอยางในการแตงงานและขจัดไมใหมีนอก สถานภาพของการแตงงานเลย 625. คุณธรรมความบริสุทธิ์เรียกรองอะไร (2337, 2339) คุณธรรมความบริสุทธิ์เรียกรองใหมีการบังคับตัวเองและบังคับ ใหเรื่องเพศอยูเฉพาะในตัวเองเทานั้น - 200 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

626. ทุกคนถูกเรียกใหดําเนินชีวิตบริสุทธิ์หรือ (2349) เราทุกคนตางก็ถูกเรียกใหดําเนินชีวิตบริสุทธิ์ใหสอดคลองกับ สถานภาพชีวิตของเราแตละคน ผูที่แตงงานใหใชอยางถูกตองใน ฐานะที่มันเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ซึ่งสิทธิที่พวกเขาไดมาดวยการ แตงงานและดวยการซื่อสัตยตอกัน สําหรับผูที่ไมไดแตงงาน ความบริสุทธิ์เรียกรองใหละเวนจากการใชสิทธิ์ของการให กําเนิดและจากทุกอยางที่จะนําไปสูการใชเรื่องนี้ไปในทางที่ไม ถูกตอง 627. ทําไมการดิ้นรนในการฝกฝนคุณธรรมความบริสุทธิ์จึงเปน การยืนยันดวยความยินดีสําหรับคริสตชน การดิ้นรนในการฝกฝนคุณธรรมความบริสุทธิ์เปนการยืนยัน ดวยความยินดีสําหรับคริสตชนก็เพราะวาในการนี้เราแสดงให เห็นถึงความรักที่เรามีตอพระเปนเจาผูทรงพอพระทัยเมื่อเรา รักษารางกายของเราไวใหเปนพระวิหารของพระจิตเจา และ ใชมันเพื่อพระเกียรติมงคลของพระเปนเจา 628. พระบัญญัติประการหกหามทําอะไร พระบัญญัติประการหกหามการใชคําพูด การมองหรือการ กระทําที่ไมบริสุทธิ์และที่ไมรูจักบังคับ ไมวาจะเปนคนเดียวหรือ กับผูอื่น - 201 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

629. บาปผิดตอความบริสุทธิม์ ีอะไรบาง (2351-2357) บาปผิดตอความบริสุทธิ์มี การสําเร็จความใครดวยตัวเอง การ ลวงละเมิดทางเพศหรือการรวมเพศกอนการแตงงาน การเลนชู การใชยาคุมกําเนิด ภาพลามก โสเภณี การขมขืนและการรัก รวมเพศ 630. อันตรายที่สําคัญๆ ของความบริสุทธิ์มีอะไรบาง อันตรายที่สําคัญๆของความบริสุทธิ์มี การอยูวาง ความมักรูมัก เห็นที่เปนบาป เพื่อนที่ไมดี การดื่มจนเกินขนาด การแตงกายไม สุภาพ หนังสือพิมพ ละคร ภาพยนตรที่ไมดี รวมไปถึงการ บันเทิงที่ไมดีทุกชนิดดวย 631. วิธีการที่สําคัญๆ ในการฝกฝนและไดมาซึ่งคุณธรรมความ บริสุทธิ์มีอะไรบาง (2520) วิธีการที่สําคัญๆ ในการฝกฝนและไดมาซึ่งคุณธรรมความ บริสุทธิ์ไดแกการแสวงหาความชวยเหลือจากพระเปนเจาโดย ผานทางการภาวนา การแกบาปรับศีลบอยๆ และการรวมถวาย พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ ดวยการมีความศรัทธาฉันบุตรตอ พระนางมารียพรหมจารี ดวยการแสวงหาจิตตารมณแหงการใช โทษบาปและการบังคับตัวเองและดวยการหลีกเลี่ยงอันตรายที่ ไมจําเปนทุกอยาง - 202 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

632. พระบัญญัติพระเปนเจาประการเกามีวาอยางไร พระบัญญัติพระเปนเจาประการเกามีวา อยาปลงใจในความ อุลามก 633. พระบัญญัติพระเปนเจาประการเกาบังคับใหเราทําอะไร (2529)

พระบัญญัติพระเปนเจาประการเกาบังคับใหเราดิ้นรนใหไดมา ซึ่งความบริสุทธิ์ทั้งในความคิดและความปรารถนา 634. คริสตชนควรทําอะไรเพื่อจะไดมาซึ่งความบริสุทธิ์ทั้งใน ความคิดและความปรารถนา (2530) เพื่อคริสตชนจะไดมาซึ่งความบริสุทธิ์ทั้งในความคิดและความ ปรารถนา คริสตชนจะตองชําระจิตใจของตนใหบริสุทธิ์และ ฝกฝนการบังคับตัวเอง 635. เพียงแตความคิดที่ไมดีก็เปนบาปดวยหรือ เพียงแตความคิดที่ไมดีก็ไมเปนบาปในตัวมันเอง แตวาความคิด แบบนั้นอันตรายมาก

- 203 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________ 38

636. เมื่อไรความคิดที่ไมดีจึงกลายเปนบาป ความคิดที่ไมดีจะกลายเปนบาปไดก็ตอเมื่อเรายินยอมกับมัน

637. พระบัญญัติประการเกาสั่งหามอะไร (2514) พระบัญญัติประการเกาสั่งหามคิดและปรารถนาทุกอยางที่ขัด กับความบริสุทธิ์ 48. ทรัพยสมบัติสวนตัว และความดีสวนรวม 638. สิทธิในทรัพยสมบัติสวนตัวหมายความวาอะไร (2402) สิทธิในทรัพยสมบัติสวนตัว หมายความวา มนุษยทุกคนตางก็มี สิทธิในการเปนเจาของในขาวของของโลกนี้ในจํานวนที่เพียงพอ สําหรับตนเองและครอบครัวของเขา 639. ทําไมพระเปนเจาจึงไดประทานสิทธิในทรัพยสมบัติสวนตัว แกมนุษย (2402) การที่พระเปนเจาไดประทานสิทธิในทรัพยสมบัติสวนตัวแก มนุษยใหเปนสวนหนึ่งของสิทธิตามธรรมชาติในฐานะที่เปน บุคคล เพื่อเขาจะสามารถทําใหสําเร็จสมบูรณซึ่งความ รับผิดชอบทั้งสวนตัวและสวนรวมที่เขาไดรับมา

- 204 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

640. สิทธิในทรัพยสมบัติสวนตัวนี้เปนสิทธิเด็ดขาดและ ปราศจากเงื่อนไขหรือ (2403) สิทธิในทรัพยสมบัติสวนตัวนี้ไมไดเปนสิทธิเด็ดขาดและ ปราศจากเงื่อนไข 641. พระศาสนจักรสั่งสอนเรื่องความสัมพันธระหวางสิทธิใน ทรัพยสมบัติสวนตัวกับสิทธิในการใชรวมกันอยางไร (2402-2403, 2452)

พระศาสนจักรสอนวามนุษยทุกคนตางก็มีสิทธิในการใชขาวของ ของสิ่งสรางทั้งมวล นั่นก็คือสิทธิในทรัพยสมบัติสวนตัวตอง ขึ้นกับสิทธิของการใชรวมกันทั้งนี้เพราะวาขาวของตางๆ มีไว สําหรับทุกคน 642. หนาที่ดานสังคมของทรัพยสมบัติสวนตัวเรียกรองให เจาของทําอะไร (2404) หนาที่ดานสังคมของทรัพยสมบัติสวนตัวเรียกรองใหเจาของขาว ของของโลกนี้ใหใชมันไมเฉพาะแตเพื่อผลกําไรของตนเองเทานั้น แตใหใชเพื่อผลประโยชนของคนอื่นดวย การใชทรัพยสมบัติ สวนตัวจะตองมุงไปที่ความดีสวนรวม ซึ่งผลกําไรของเจาของ จะตองคํานึงถึงเรื่องนี้ดวย

- 205 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

643. เจาหนาที่บานเมืองมีบทบาทอะไรกับหนาที่ดานสังคมของ ทรัพยสมบัติสวนตัว (2406) เจาหนาที่บานเมืองมีสิทธิและหนาที่ในการจัดการการใชที่ ถูกตองตามกฎหมายซึ่งสิทธิในทรัพยสมบัติสวนตัว โดยคํานึงถึงความดีสวนรวมของสังคมเปนหลัก 49. ความยุติธรรมดานสังคม และขอคําสอนดานสังคมของพระศาสนจักร 644. ความยุติธรรมสังคมคืออะไร (1928, 1943) ความยุติธรรมสังคม คือ คุณธรรมที่ควบคุมความสัมพันธตอ กันระหวางปจเจกบุคคลกับสังคม 645. ขอคําสอนดานสังคมของพระศาสนจักรคืออะไร (2419-2423, 2458)

ขอคําสอนดานสังคมของพระศาสนจักร หมายถึง ขอคําสอน เกี่ยวกับเรื่องเศรษฐกิจและสังคม ดวยการนํามนุษยในสถาบัน ของระเบียบสังคมที่ชอบธรรมซึ่งภายในนั้นปจเจกบุคคลจะตอง ไดมาซึ่งความสนิทสัมพันธกับพระเปนเจาและความสนิท สัมพันธในทามกลางมนุษยเอง ซึ่งเปนมุมมองสองอยางที่แยก จากกันไมไดของสารของคริสตชน - 206 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

646. ขั้วที่ผิดสองอยางของความยุติธรรมสังคมคืออะไร (2425) ขั้วที่ผิดสองอยางของความยุติธรรมสังคม คือ การนิยมปจเจก บุคคลซึ่งปฏิเสธและทําใหลดนอยลงซึ่งคุณลักษณะดานสังคม และสาธารณะของสิทธิในทรัพยสมบัติสวนรวม และการนิยม สิทธิรวมกันซึ่งปฏิเสธและทําใหลดนอยลงซึ่งคุณลักษณะของ การเปนเจาของเอกชนและปจเจกบุคคล 647. พระศาสนจักรตัดสินลัทธิคอมมิวนิสตวาอยางไร (2425) พระศาสนจักรสาปแชงลัทธิคอมมิวนิสตในฐานะที่ขัดกับ กฎหมายธรรมชาติอยางสิ้นเชิง ในเรื่องวัตถุนิยมที่ไมเชื่อใน พระเปนเจาและในการปฏิเสธสิทธิตามธรรมชาติของมนุษยใน การเปนเจาของทรัพยสมบัติสวนตัว 648. พระศาสนจักรสั่งสอนเรื่องศักดิ์ศรีของแรงงานวาอยางไร (2427, 2460)

พระศาสนจักรสอนวาแรงงานมนุษยเปนวิธีการปกติในการไดมา ซึ่งทรัพยสมบัติการรับใชคนอื่น การมีสวนรวมในการที่จะทําให การสรางของพระเปนเจาสมบูรณแบบยิ่งขึ้นและการเอาตัวเอง เขาไปมีสวนรวมในงานไถกูของพระเยซูคริสตเจา ซึ่งวันเวลา แหงการทรงงานดวยพระหัตถของพระองคที่นาซาเร็ธทําให ศักดิ์ศรีของการทํางานสูงเดนขึ้นเปนอยางมาก - 207 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

649. ทําไมแรงงานจึงอยูเหนือทุน (2428, 2459) การที่แรงงานอยูเหนือทุนก็เพราะวามนุษยอยูเหนือสิ่งของ ทุก สิ่งที่อยูในความคิดของทุนในความหมายที่เครงครัดเปนเพียงแต การรวมของสิ่งของเทานั้น ในทางตรงกันขาม มนุษยในฐานะที่ เปนประทานของงานและเปนเอกเทศตองานที่เขาทําเปนบุคคล 650. เวลาที่กําหนดคาแรงที่ยุติธรรมตองคํานึงถึงอะไรบาง (2434)

เวลาที่กําหนดคาแรงที่ยุติธรรมตองคํานึงถึงมุมมองทั้งดาน ปจเจกบุคคลและสังคมของการทํางาน คาแรงที่จายใหแก คนงานจะตองพอเพียงสําหรับการเลี้ยงชีพของเขาตลอดจน ครอบครัวของเขาดวย งานที่ทํา ผลิตผลของคนงาน สถานการณของธุรกิจและเสียงเรียกรองของความดีสวนรวม จะตองไดรับการพิจารณาดวยเชนกัน 651. ความรับผิดชอบของคริสตชนในการผละงานเปนอยางไร (2435)

การผละงานเปนวิธีการที่ถูกตองตามกฎหมายในการปองกัน สิทธิของคนงาน และเปนการสรางความพึงพอใจอยางถูกตอง ตามกฎหมายใหแกความคาดหวังของพวกเขา กระนั้นก็ดี ควร จะนํามาใชเปนสิ่งสุดทายเมื่อไมมีวิธีการอื่นอีกแลว การผละงาน มากจนเกินความพอดีอาจจะนําไปสูการเปนอัมพาตของชีวิต - 208 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

สังคมเศรษฐกิจซึ่งตรงกันขามกับการเรียกรองของความดี สวนรวม 652. เวลาที่จัดใหมีระเบียบสังคมที่ชอบธรรม มีหลักการที่ สําคัญๆของความชอบธรรมสังคมอะไรบางที่เจาหนาที่ บานเมืองตองคํานึงถึง (1939-1942, 1948, 1883, 1894) เวลาที่จัดใหมีระเบียบสังคมที่ชอบธรรมนั้น หลักการที่สําคัญๆ ของความชอบธรรมสังคมที่เจาหนาที่บานเมืองตองคํานึงถึง ไดแก หลักการของการเปนปกแผนและหลักการของการขึ้นตอ กัน 653. หลักการของการเปนปกแผนหมายความวาอะไร (1939-1942, 1948)

หลักการของการเปนปกแผนคือหลักการของมิตรภาพ เปนการ ยอมรับรูวามนุษยแตละคนเปนสวนประกอบของครอบครัว เดียวกันอันเนื่องมาจากธรรมชาติมนุษยที่เหมือนกันที่เรามีสวน รวมกันรวมไปถึงตนกําเนิดของเราดวย -เราตางก็เปนบุตรของ พระบิดาเจาสวรรคองคเดียวกัน

- 209 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

654. หลักการของการขึ้นตอกันหมายความวาอะไร (1883, 1894, 2209)

หลักการของการขึ้นตอกันคือหลักการของความชวยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกันหมายความวาอะไรที่สวนเล็กกวาสามารถ ทําไดสวนที่ใหญกวาก็ไมสมควรทําเพราะมันอาจจะจํากัดการ ริเริ่มสวนตัวก็ได 655. พระศาสนจักรพยายามที่จะสนับสนุนความยุติธรรมสังคม ในชุมชนนานาชาติอยางไร (2437-2240) พระศาสนจักรพยายามที่จะสนับสนุนความยุติธรรมสังคมใน ชุมชนนานาชาติดวยการเนนถึงสิทธิและความจําเปนของ ประเทศที่กําลังพัฒนาและกอใหเกิดการสรางองคกรระหวาง ชาติและองคกรโลกกอปรดวยอํานาจจําเพาะในการกอใหเกิด ความเสมอภาคระหวางชาติตางๆและความยุติธรรมและ สันติภาพในโลก 656. ทําไมพระศาสนจักรจึงแสดงความรักตอคนจนมากกวา (2444, 2448, 2463)

ที่พระศาสนจักรแสดงความรักตอคนจนมากกวา ก็เพราะวา พระศาสนจักรตองการที่จะถือตามแบบอยางของพระคริสตเจา เองผูทรงแสดงความรักที่เห็นใจตอผูที่ประสบเคราะหกรรม พรอมกับทรงพิสูจนเอกลักษณของตนกับผูต่ําตอยที่สุดใน บรรดาพี่นอง - 210 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

50. พระบัญญัติประการเจ็ดและประการสิบ การเคารพตอทรัพยสมบัตขิ องคนอื่น

657. พระบัญญัติของพระเปนเจาประการเจ็ดมีวาอยางไร (2450) พระบัญญัติของพระเปนเจาประการเจ็ดมีวา อยาลักขโมย 658. พระบัญญัติของพระเปนเจาประการเจ็ดบังคับใหเราทํา อะไร (2401, 2451) พระบัญญัติของพระเปนเจาประการเจ็ดบังคับใหเราเคารพตอ สิ่งของของคนอื่น ปฏิบัติตามสัญญาธุรกิจและจายหนี้ที่ ชอบธรรมของเรา 659. พระบัญญัติของพระเปนเจาประการเจ็ดสั่งหามเราไมใหทํา อะไร (2401, 2408-2409, 2453-2454) พระบัญญัติของพระเปนเจาประการเจ็ดสั่งหามเราไมใหทําสิ่งที่ ไมสัตยซื่อทั้งหลาย เชน ลักขโมย คดโกง เก็บรักษาสิ่งของของ คนอื่นไวอยางไมยุติธรรมและทําลายสิ่งของของคนอื่นอยางไม ยุติธรรม 660. ขโมยคืออะไร (2408, 2453) ขโมย คือ การตั้งใจหยิบเอาหรือเก็บรักษาสิ่งของของคนอื่นไวที่ ขัดตอความเต็มใจของเจาของของมัน - 211 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

661. คดโกงคืออะไร (2409) คดโกง คือ การทําใหคนอื่นไมไดรับทรัพยสมบัติของตนดวย การหลอกลวงหรือฉอฉล 662. เราตองคืนสิ่งของที่ขโมยไปหรือไม (2412, 2454) เราตองคืนสิ่งของที่ขโมยไปหรือจายเปนเงินตามราคาให ใกลเคียงที่สุดเทาที่จะทําได มิฉะนั้นแลวเราจะไมไดรับการอภัย 663. เราตองซอมแซมความเสียหายที่เราไดทําใหเกิดขึ้นกับ ทรัพยสมบัติของคนอื่นหรือไม (2409) เราตองซอมแซมหรือชดใชความเสียหายที่เราไดทําใหเกิดขึ้นกับ ทรัพยสมบัติของคนอื่นใหใกลเคียงที่สุดเทาที่จะทําได 664. พระบัญญัติพระเปนเจาประการสิบมีวาอยางไร พระบัญญัติพระเปนเจาประการสิบมีวา อยามักไดทรัพยของเขา 665. พระบัญญัติพระเปนเจาประการสิบบังคับใหเราทําอะไร พระบัญญัติพระเปนเจาประการสิบบังคับใหเราพยายามที่จะ พอใจกับสิ่งที่เรามีหรือสิ่งที่เราไดมาโดยชอบธรรมและใหชื่นชม กับสวัสดิการของเพื่อนบานของเรา

- 212 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

666. พระบัญญัติพระเปนเจาประการสิบสั่งหามเราไมใหทําอะไร (2534, 2552)

พระบัญญัติพระเปนเจาประการสิบสั่งหามเราไมใหปรารถนาที่ จะยึดเอาสิ่งของของคนอื่นอยางไมยุติธรรมและหามอิจฉา ความสําเร็จของเขาดวย 667. ความมักไดคืออะไร (2536) ความมักไดหรือความตระหนี่ คือ การปรารถนาอยากไดสิ่งของ ของโลกนี้อยางไมรูจักพอ 668. ความอิจฉาคืออะไร (2539) ความอิจฉา คือ ความรูสึกเสียใจเมื่อเห็นคนอื่นไดดีและความ ปรารถนาที่จะไดมันอยางเกินควร 669. ทําไมเราจึงตองพยายามที่จะสลัดตัวจากสิ่งของของโลกนี้ (2544, 2556)

ที่เราตองพยายามที่จะสลัดตัวจากสิ่งของของโลกนี้ก็เพราะวา คุณธรรมประการนี้มีความจําเปนมากสําหรับเราในการที่จะเขา สูพระอาณาจักรสวรรค

- 213 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

51. พระบัญญัติประการแปด

ความรักความจริงและความเคารพตอชื่อเสียงที่ดขี องคนอื่น

670. พระบัญญัติพระเปนเจาประการแปดมีวาอยางไร (2504) พระบัญญัติพระเปนเจาประการแปดมีวา อยาใสความนินทา 671. พระบัญญัติพระเปนเจาประการแปดบังคับใหเราทําอะไร (2477, 2505)

พระบัญญัติพระเปนเจาประการแปดบังคับใหเราพูดความจริง ในทุกสิ่งโดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องที่เกี่ยวกับเกียรติยศและ ชื่อเสียงของคนอื่น 672. พระบัญญัติพระเปนเจาประการแปดหามไมใหเราทําอะไร (2426, 2477, 2482, 2491)

พระบัญญัติพระเปนเจาประการแปดหามไมใหเราโกหก พิพากษาทานโดยเบาความ ใสความ นินทาและเปดเผย ความลับที่เราตองเก็บรักษาไว 673. เมื่อไรจึงถือวาเราทําบาปโกหก (2482, 2508) เราจะทําบาปโกหกก็คือ เวลาที่เรากลาวอะไรที่ไมจริงเพื่อเปน การหลอกลวงคนอื่นผูมีสิทธิ์ที่จะรับรูความจริง

- 214 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

674. เมื่อไรจึงถือวาเราทําบาปพิพากษาทานโดยเบาความ (2477) เราจะทําบาปพิพากษาทานโดยเบาความก็คือ เวลาที่เราเชื่อ อะไรบางอยางที่ลอแหลมตอชื่อเสียงที่ดีของคนอื่นโดย ปราศจากเหตุผลที่เพียงพอ 675. เมื่อไรจึงถือวาเราทําบาปนินทา (2477) เราจะทําบาปนินทาก็คือ เวลาที่เราเปดเผยความผิดที่ซอนเรน ของคนอื่นโดยปราศจากเหตุผลที่เพียงพอ 676. เมื่อไรจึงถือวาเราทําบาปโกหก (2477) เราจะทําบาปโกหกก็คือ เวลาที่เราทําใหคนอื่นเสียชื่อเสียงดวย การกลาวคําเท็จ 677. เมื่อไรที่เราตองเก็บความลับ (2491, 2511) เราตองเก็บความลับที่เราสัญญาวาจะเก็บ เมื่อหนาที่การงาน ของเราบังคับหรือเมื่อความดีของคนอื่นเรียกรอง 678. เมื่อเราผิดตอการใสความนินทาหรือเปดเผยความลับที่เรา ตองเก็บไปแลวเราตองทําอยางไร (2487, 2509) เมื่อเราผิดตอการใสความนินทาหรือเปดเผยความลับที่เราตอง เก็บไปแลวเราตองชดใชอันตรายที่ไดเกิดตอเพื่อนบานของเราให มากที่สุดเทาที่จะทําได - 215 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

52. กฎหมายหรือกฎเกณฑของพระศาสนจักร 679. พระบัญญัติพระศาสนจักรประการแรกมีวาอยางไร (2042) พระบัญญัติพระศาสนจักรประการแรกมีวา จงรวมถวายพิธี มิสซาบูชาขอบพระคุณในวันอาทิตยและวันฉลองบังคับพรอม กับอยาทํางานหนักในวันเหลานั้น 680. วันฉลองบังคับคือวันอะไร (2042, 2177) วันฉลองบังคับคือ วันที่เราตองทําใหศักดิ์สิทธิ์เปนพิเศษ และ เปนวันที่เราไดถวายแดองคพระผูเปนเจาและแดบรรดานักบุญ เพื่อระลึกถึง พระธรรมล้ําลึกที่สําคัญของความเชื่อ 681. ถาเราไมรวมถวายมิสซาในวันอาทิตยและวันฉลองบังคับ จะเปนบาปหนักหรือไม (2181) ถาเราไมรวมถวายมิสซาในวันอาทิตยและวันฉลองบังคับจะเปน บาปหนัก ยกเวนในกรณีที่มีเหตุจําเปน ในกรณีที่เราขัดขวางโดย ปราศจากเหตุผลเพียงพอไมใหผูอยูใตอํานาจของเราไปรวม ถวายมิสซาในวันเหลานั้นเราก็เปนบาปหนักดวย

- 216 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

682. พระศาสนจักรยังบังคับใหเราทําอะไรอีกในวันฉลองบังคับ (2185, 2193)

พระศาสนจักรบังคับใหเราหยุดงานหรือธุรกิจทีไ่ มจําเปนตางๆ เพื่อจะสามารถปฏิบัติตามกฎขอบังคับใหหยุดงานในวันอาทิตย ได 683. พระบัญญัติพระศาสนจักรประการสองมีวาอยางไร (2042) พระบัญญัติพระศาสนจักรประการสองมีวา จงแกบาปอยาง นอยปละครั้ง 684. พระบัญญัติพระศาสนจักรที่บังคับใหแกบาปอยางนอยปละ ครั้งนี้หมายความวาอะไร (1457) พระบัญญัติพระศาสนจักรที่บังคับใหแกบาปอยางนอยปละครั้ง นี้หมายความวาเราจะตองแกบาปอยางดีภายในเวลาปหนึ่งๆ มิฉะนั้นแลวจะเปนบาปหนัก 685. ทําไมเราจึงตองไปแกบาปบอยๆ (1458) ที่เราตองไปแกบาปบอยๆ ก็เพราะวาการแกบาปบอยๆจะชวย เราไดอยางมาก ในการเติบโตขึ้นในความรักตอพระเปนเจา เพื่อจะสามารถเอาชนะการประจญลอลวงไดและเพื่อจะไดอยู ในสถานะพระหรรษทาน - 217 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

686. เด็กๆ ควรไปแกบาปดวยหรือไม เด็กๆ ควรไปแกบาปดวยเมื่อเขาบรรลุอายุรูความแลว โดยปกติ จะเปนอายุประมาณเจ็ดขวบ พวกเขาจะไดรับผลประโยชนอยาง มากจากการแกบาปบอยๆ ดวยเชนกัน 687. พระบัญญัติพระศาสนจักรประการสามมีวาอยางไร (2042) พระบัญญัติพระศาสนจักรประการสามมีวา จงรับศีลมหาสนิท อยางนอยปละครั้งในกําหนดปสกา 688. คาทอลิกที่ไมไดรับศีลมหาสนิทอยางนอยปละครั้ง ในกําหนดปสกา เขาทําบาปอะไร คาทอลิกที่ไมไดรับศีลมหาสนิทอยางนอยปละครั้งในกําหนด ปสกา ทําบาปหนัก 689. พระบัญญัติพระศาสนจักรประการสี่มีวาอยางไร (2043) พระบัญญัติพระศาสนจักรประการสี่มีวา จงอดอาหาร และ อดเนื้อในวันที่พระศาสนจักรบังคับ 690. การอดอาหารหมายความวาอะไร การอดอาหาร หมายความวา การรับประทานอาหารนอยลง กวาปกติตามกฎเกณฑที่ผูมีอํานาจในพระศาสนจักรตราขึ้น - 218 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

691. การอดเนื้อหมายความวาอะไร การอดเนื้อ หมายความวา การไมรับประทานเนื้อหรืออาหาร อยางใดอยางหนึ่งตามที่สภาพระสังฆราชไดกําหนดขึ้น 692. ทําไมพระศาสนจักรจึงบังคับใหอดอาหารและอดเนื้อ (2043)

ที่พระศาสนจักรบังคับใหอดอาหารและอดเนื้อก็เพื่อจะไดทํา กิจใชโทษบาป ฝกการพลีกรรม การบังคับประสาททั้งหาและ เพื่อถือตามแบบอยางของพระคริสตเจาเอง 693. ใครบางที่ตองอดอาหาร คาทอลิกทุกคนที่มีอายุระหวาง 18 ถึง 59 ปบริบูรณ ตอง อดอาหาร ยกเวนในกรณีที่มีเหตุจําเปนหรือไดรับการยกเวน 694. ใครบางที่ตองอดเนื้อ คาทอลิกทุกคนที่มีอายุ 14 ปขึ้นไปตองอดเนื้อ ยกเวนในกรณีที่ มีเหตุจําเปนหรือไดรับการยกเวน 695. ตองอดอาหารวันใดบาง ตองอดอาหารในวันพุธรับเถาและวันศุกรศักดิ์สิทธิ์

- 219 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

696. วันอดเนื้อของพระศาสนจักรสากลมีวันใดบาง วันอดเนื้อของพระศาสนจักรสากลไดแก วันพุธรับเถา วันศุกร ศักดิ์สิทธิ์และทุกวันศุกรตลอดป เวนเสียแตจะเปนวันสมโภช 697. สภาพระสังฆราชมีอํานาจอะไรบางเกี่ยวกับการถือศีลอด อาหารและอดเนื้อ สภาพระสังฆราชมีอํานาจในการกําหนดใหชัดเจนยิ่งขึ้นเกี่ยวกับ การถือศีลอดอาหารและอดเนื้อ ไมวาจะทั้งหมดหรือบางสวน เชนกําหนดรูปแบบของการทํากิจใชโทษบาป -โดยเฉพาะอยาง ยิ่งงานเมตตาจิตหรือความศรัทธาพิเศษ- แทนการอดอาหาร และอดเนื้อที่กําหนดไว 698. พระบัญญัติพระศาสนจักรประการหามีวาอยางไร (2043) พระบัญญัติพระศาสนจักรประการหามีวาจงบํารุงพระศานจักร ตามความสามารถ 699. เราจะบํารุงพระศาสนจักรไดอยางไร (2043) เราจะบํารุงพระศาสนจักรได ดวยการแบงเบาภาระคาใชจาย ในคารวกิจและการแพรธรรมของพระศาสนจักร พรอมกับให การสนับสนุนแกศาสนบริกรทั้งหลายของพระศาสนจักร เชน บรรดาพระสงฆ พระสังฆราชและสมเด็จพระสันตะปาปา - 220 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

700. ยังมีกฎหมายหรือบัญญัติอื่นๆ อีกในพระศาสนจักรหรือไม ยังมีกฎหมายและบทบัญญัติอื่นๆ อีกมากมายในพระศาสนจักร แตวาทั้งหาประการที่กลาวมานี้จะเกี่ยวของกับสัตบุรุษสวนใหญ สวนกฎหมายของพระศาสนจักรที่สมบูรณแบบและที่รวมกัน และไดรับการสังเคราะหก็ไดแกประมวลกฎหมายของพระศาสน จักร

- 221 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

ÀÒ¤¼¹Ç¡ ¾ÔàÈÉÊíÒËÃѺ»ÃÐà·Èä·Â 1. ปของพระศาสนจักรและวันฉลองสําคัญของคริสตชน 1.1 การแบงปของพระศาสนจักร 1.1.1 ปของพระศาสนจักร แบงไดอยางไร ปของพระศาสนจักร แบงไดเปน 4 ภาค คือ 1.1.1.1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจาและคริสตสมภพ 1.1.1.2 เทศกาลมหาพรต 1.1.1.3 เทศกาลปสกา 1.1.1.4 เทศกาลธรรมดา (หลังสมโภชพระจิตเจา) 1.2 เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจา พระคริสตสมภพ 1.2.1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจา คืออะไร เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจา คือกําหนดสี่สัปดาห กอนวันสมโภชพระคริสตสมภพ ในระยะ 4 สัปดาหนี้ เราเตรียมตัวฉลองตอนรับพระคริสตเจา ที่จะเสด็จมาในวันพระคริสตสมภพ - 222 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

1.2.2 พระคริสตสมภพ คืออะไร พระคริสตสมภพ คือการสมโภชมโหฬารยิ่ง จัดขึ้นเพื่อเปนที่ ระลึกถึงการบังเกิดของพระเยซูคริสตเจา ตรงกับวันที่ 25 ธันวาคม 1.2.3 อัฐมวารพระคริสตสมภพ คืออะไร คือ ฉลองตอมาอีก 8 วัน หลังจากสมโภชพระคริสตสมภพ 1.2.4 พระคริสตแสดงองค คืออะไร พระคริสตแสดงองค คือ การฉลองเตือนเราใหระลึกถึงการ ที่พระผูไถทรงแสดงพระองคแกนานาชาติ ตรงกับวันที่ 6 มกราคม 1.3 เทศกาลมหาพรต 1.3.1 เทศกาลมหาพรต คืออะไร เทศกาลมหาพรต คือ เทศกาลจําศีลภาวนาและประกอบ กิจเมตตาปรานี ตลอด 40 วัน และเพื่อชวยเราทําการใชโทษ บาปกอนวันสมโภชปสกา และเตรียมตัวฉลองปสกาอยางดี 1.3.2 ทําไมจึงมีพิธีรับเถาเมื่อเริ่มมหาพรต มีพิธีรับเถา เพื่อเตือนวา เราตองตาย และรางกายเราจะ กลับเปนดินเสียใหม และใหเราเปนทุกขกลับใจใชโทษบาป - 223 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

1.3.3 สัปดาหสุดทายของมหาพรต เรียกวาอะไร เรียกวา “สัปดาหศักดิ์สิทธิ”์ เริ่มแตวันอาทิตยใบลาน เตือน ใหระลึกถึงการเสด็จเขาสูกรุงเยรูซาเลมอยางสงาของพระ เยซูคริสตเจา หาวันกอนสิ้นพระชนม 1.3.4 ทําไมเรียกวา สัปดาหศักดิ์สิทธิ์ เรียกสัปดาหศักดิ์สิทธิ์ เพราะในสัปดาหนี้ มีเหตุการณสําคัญ ยิ่งของพระศาสนจักรเกิดขึ้นคือ 1. วันพฤหัสบดีศักดิส์ ิทธิ์ เปนวันตั้งศีลมหาสนิทและศีลบวช 2. วันศุกรศักดิ์สิทธิ์ ระลึกถึงพระมหาทรมาน และการ สิ้นพระชนมของพระบุตรแหงพระเจา 3. วันเสารศักดิ์สิทธิ์ ระลึกถึงพระศพของพระองคถูกฝงไวใน คูหา สวนพระวิญญาณเสด็จไปใตบาดาล 1.4 เทศกาลปสกา 1.4.1 วันสมโภชปสกา คืออะไร ปสกาเปนวันสมโภชมโหฬารที่สุดในรอบป ตั้งขึ้นเพื่อฉลอง การเสด็จกลับคืนสูพระชนมชีพ ของพระเยซูคริสตเจา

- 224 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

1.4.2 วันเสด็จขึ้นสวรรค คืออะไร วันเสด็จขึ้นสวรรค คือ วันฉลองอยางสงา ตั้งขึ้นเพื่อระลึก ถึงการเสด็จขึ้นสวรรค อยางผูมีชัยของพระเยซูคริสตเจา ตรง กับวันที่ 40 หลังจากเสด็จกลับคืนพระชนมชีพ (กจ 1:1-11) 1.4.3 วันสมโภชพระจิตเจา (วันเปนเตกอสเต) คืออะไร วันสมโภชพระจิตเจา คือการสมโภชวันที่ 50 หลังสมโภชปสกา ตั้งขึ้นเพื่อฉลองการที่พระจิตเสด็จลงมาสูบรรดาอัครสาวก 1.5 วันฉลองสําคัญหลังสมโภชพระจิตเจา 1.5.1 หลังสมโภชพระจิตเจา มีวันฉลองอะไรที่สําคัญบาง หลังวันสมโภชพระจิตเจา มีวันฉลองที่สําคัญคือ 1. วันฉลองพระตรีเอกภาพ 2. วันฉลองพระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจา 3. วันฉลองพระหฤทัยของพระเยซูเจา 1.5.2 วันฉลองพระตรีเอกภาพ คืออะไร วันฉลองพระตรีเอกภาพ คือวันฉลองพระธรรมล้ําลึกสําคัญ ที่สุด เรื่องพระเปนเจาองคเดียว ทรงเปนสามพระบุคคล

- 225 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

1.5.3 วันฉลองพระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจา คือ อะไร วันฉลองพระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจา คือวันฉลอง เพื่อเปนเกียรติแดพระเยซูคริสตเจา ผูสถิตในศีลมหาสนิท 1.5.4 เราฉลองพระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจา อยางไร เราฉลองพระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจาโดยเรารวม ขบวนแหอยางศรัทธาในโอกาสนี้ 1.5.5 วันฉลองพระหฤทัยของพระเยซูเจาคืออะไร วันฉลองพระหฤทัยของพระเยซูเจาคือ การฉลองที่ตั้งขึ้นโดย การเรียกรองของพระคริสตเจา เพื่อใหมนุษยแสดงความ กตัญูตอความรักสุดคณนาที่ทรงมีตอมนุษย และเพื่อ ชดเชยบาปมากมายที่ทําเคืองพระทัยพระองค 1.6 วันฉลองพระนางมารียพรหมจารีและนักบุญอื่นๆ 1.6.1 วันฉลองพระนางมารียพรหมจารี ที่สําคัญมีอะไรบาง วันฉลองพระนางมารียพรหมจารีที่สําคัญมี 6 วัน คือ 1. วันฉลองพระนางมารียเปนมารดาพระเจา พระชนนีพระ เปนเจา (1 มกราคม) - 226 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

2.

3. 4. 5. 6.

วันฉลองการถวายพระกุมารเยซูในพระวิหาร (2 กุมภาพันธ) วันฉลองการแจงสารเรื่องพระวจนาตถทรงรับสภาพ มนุษย (25 มีนาคม) วันฉลองแมพระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค (15 สิงหาคม) วันฉลองแมพระบังเกิด (8 กันยายน) วันฉลองพระนางมารียผูปฏิสนธินิรมล (8 ธันวาคม)

1.6.2 วันฉลองแมพระปฏิสนธินิรมล คืออะไร วันฉลองแมพระปฏิสนธินิรมล คือ วันฉลองเอกสิทธิ์ที่แมพระ ไดรับยกเวนจากบาปกําเนิด เดชะพระบารมีของพระผูไถที่ ทรงบังเกิดจากพระนาง 1.6.3 วันฉลองเทวดาถือสาร คืออะไร (พระแมรับสาร) วันเทวดาถือสาร คือ วันฉลองระลึกถึงอัครเทวดาคาเบรียล ถือสารมาแจงแกพระนางมารียพรหมจารี วาจะเปนพระ มารดาของพระบุตรแหงพระเจา 1.6.4 วันฉลองถวายพระกุมารเยซูในพระวิหาร คืออะไร วันฉลองถวายพระกุมารเยซูในพระวิหาร คือ วันฉลองระลึก ถึงการถวายพระเยซูคริสตเจาในพระวิหาร สมัยกอนเรียกวา ฉลองแมพระทรงถือศีลชําระ วันฉลองนี้ยังเรียกวา “วันเสก เทียน” ดวย (ตรงกับวันที่ 2 กุมภาพันธ) - 227 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

1.6.5 วันฉลองแมพระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค คืออะไร วันฉลองแมพระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค คือวันที่พระศาสนจักร จัดฉลองการที่พระนางมารียพรหมจารีไดรับเกียรติยกขึ้น สวรรค ทั้งวิญญาณและกาย (ตรงกับวันที่ 15 สิงหาคม) 1.6.6 พระศาสนจักรฉลองนักบุญโยเซฟ อยางไร พระศาสนจักร ฉลองนักบุญโยเซฟอยางสงา 2 วัน คือ 1. วันที่ 19 มีนาคม 2. วันที่ 1 พฤษภาคม เรียกวา วันนักบุญโยเซฟ กรรมกร 1.6.7 วันฉลองสําคัญ ที่พระศาสนจักรกําหนดสําหรับนักบุญ อื่น มีอะไรบาง วันฉลองสําคัญที่พระศาสนจักรกําหนด สําหรับ นักบุญอื่นมี อาทิ เชน 1. อัครเทวดามีคาแอล คาเบรียล และราฟาแอล (29 กันยายน) 2. อารักขเทวดา (2 ตุลาคม) 3. นักบุญยอหน บัปติสต (24 มิถุนายน) 4. นักบุญเปโตร และเปาโล (29 มิถุนายน) 5. นักบุญองคอุปถัมภของพระสังฆราช และเจาอาวาสของ ตน - 228 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

1.6.8 มีวันที่ถวายเกียรติแดนักบุญทั้งหลายไหม มี คือ วันฉลองนักบุญทั้งหลาย ตรงกับวันที่ 1 พฤศจิกายน เพื่อถวายเกียรติแดนักบุญทุกองค หรือชาวสวรรคทุกองค พรอมกัน 1.6.9 วันระลึกถึงผูตาย คืออะไร วันระลึกถึงผูตาย คือวันรุงขึ้นตอจากวันฉลองนักบุญทั้งหลาย (2 พฤศจิกายน) เพื่อใหเราสวดอุทิศ แกวิญญาณในไฟชําระ โดยเฉพาะวิญญาณที่ไมมีใครสวดอุทิศให 1.6.10 เราตองปฏิบัติอยางไร ในวันฉลอง เราตองระลึกถึงเหตุการณที่ฉลอง และทําวันฉลองนั้นให ศักดิ์สิทธิ์ดวยการภาวนา และควรอยางยิ่งที่จะเตรียมตัวไปรับ ศีลมหาสนิทดวย 2. กิจวัตรประจําวันของคริสตชน 2.1

เมื่อตื่นตอน ควร 2.1.1 หมายตัวดวยสําคัญมหากางเขน 2.1.2 ยกจิตใจขึ้นหาพระเปนเจา และสวดภาวนาสําหรับ เวลาเชา 2.1.3 ถวายกิจการตาง ๆ ที่จะทําในวันนี้แดพระเจา - 229 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

2.2 2.3

2.4

2.5

2.6

2.7

2.8 2.9

กอนจะเรียนหนังสือ ฟงคําสอน เตรียมตัวรับศีลอภัยบาปหรือ ทํากิจสําคัญอื่น ๆ ควรสวดบท “เชิญเสด็จมาพระจิตเจาขา” กอนจะรับประทานอาหาร ควรภาวนาวา “พระสวามีเจา โปรดอวยพรแกขาพเจา และอาหารที่จะรับประทานนี้ เดชะ พระนาม... อาแมน” รับประทานอาหารแลว ควรภาวนาวา “ขอโมทนาพระคุณ โอ พระเจาผูทรงสรรพานุภาพ ดํารงชีพและเสวยราชยตลอด นิรันดร อาแมน” สําหรับการพักผอนหยอนใจ ตอง 2.5.1 เลือกเอาการหยอนใจชนิดที่ดีที่ชอบ 2.5.2 ไมหยอนใจนานเกินควร ในการสนทนาปราศรัยตองหลีกเลี่ยง 2.6.1 การผิดตอศาสนา ตอความจริง ตอศีลธรรม 2.6.2 การกลาวรายตอผูอื่น ถาถูกลอลวงใหทําบาป ตองพึ่งพระเปนเจาดวยความไวใจ และวอนของพระหรรษทาน เชน ภาวนาในใจวา “ขาแตพระบิดา โปรดอยาใหลูกพายแพ การประจญ” ถาพายแพการประจญ ตองขอโทษพระเปนเจาในทันที โดย สวดบทแสดงความทุกข และตั้งใจจะไปแกบาปโดยเร็วที่สุด เมื่อประสบความทุกขยาก ตองสูทนดวยความนอบนอม เพื่อ ชดเชยใชโทษบาป และเพราะรักพระเปนเจา - 230 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

2.10

เวลาค่ํากอนจะเขานอน ควรสวดภาวนาสําหรับเวลาค่ํา และ พิจารณาบาป ครอบครัวคริสตชนควรภาวนาค่ําพรอมกัน กิจศรัทธานี้ ชวย รักษาความเชื่อไวในครอบครัว และนําพระพรของพระเปนเจา มาสู ครอบครัวดวย นี่แหละ คือแบบแผน ที่คริสตชนจะลวงวันละวันไปดวยดี 3. แบบพิจารณาบาป 3.1 3.2 3.3

• • • •

ตั้งแตแกบาปครั้งสุดทายมา เปนเวลานานเทาไร พระสงฆไดอภัยบาปแลวหรือไม กิจใชโทษบาป ไดกระทําแลวหรือยัง พระบัญญัติพระเปนเจา ไดขาดการสวดภาวนา วอกแวกหัวเราะแลนเวลาภาวนา อายที่จะ แสดงตัวเปนคริสตชน ไดถือซูแปรติซังบางหรือไม ไดสาบานเรื่องไมจริง ไมจําเปน ไมชอบ กี่ครั้ง บนบานแลวไดถือ ตามหรือไม ไดสบถ ไดสาปแชงเขาบางไหม ไดขาดการรวมพิธีมิสซาวันอาทิตย วันพระเจาหรือไม นานเทาไร ไดเคารพเชื่อฟง พอแม ญาติพี่นอง ครู พระสงฆ หรือไม ไดพูด กระโชกกระชากกับทาน เยาะเยยทาน ทําหนาบึ้ง ดื้อดึงตอทาน หรือไม - 231 -


ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก__________________________________________________

• ไดทะเลาะกัน ดาวาเขา ทุบตอยตีเขา เกลียดเขา ผูกใจเจ็บ แก แคนเขาหรือไม ไดเปนตัวอยางไมดีแกคนอื่นหรือไม • ไดตั้งใจคิดชั่ว ปลงใจยินดีในความปรารถนาชั่วหรือ ไดอาน หนังสือชั่ว ดูรูปชั่ว สิ่งชั่ว ภาพยนตรชั่ว ละครชั่ว รองเพลงชั่ว คุย เรื่องชั่ว กระทําชั่วในตัวคนเดียว กับผูอื่น มีบางไหม กี่ครั้ง • ไดขโมยของกิน ขโมยเงิน ของใคร จํานวนเทไร ไดตั้งใจจะขโมย ไดแกลงทําของเขาเสียหาย ไดโกงเวลาเลน เวลาเรียน เชน ลอก สมุดการบานของเพื่อน หรือไม • ไดโกหกเพื่อสนุก เพื่ออวดตัว เพื่อแกตัว เพื่อใหรายแกเขา เชนให เขาถูกลงโทษ มีบางไหม ไดนินทาใหเขาเสียชื่อเสียงหรือไม ไดคิด ใสโทษเขา โดยไมมีเหตุผลสมควรหรือไม ไดปลงใจยินดีฟงคนอื่น ใสความนินทาเพื่อนบางไหม

• • • • •

พระบัญญัติพระศาสนจักร ไดเตรียมตัวรับศีลมหาสนิทดี ๆ หรือไม ไดกินอะไร แลวไปรับศีลฯ หรือเปลา มีบาปหนัก แลวเขาไปรับศีลฯ หรือเปลา ไดกินเนื้อในวันตองหาม หรือไม ไมไดจําศีลในวันที่กําหนด หรือไม

- 232 -


__________________________________________________ถาม-ตอบ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

• • • • • •

บาปตน “ยศชั่ว” ไดจองหอง ไมยอมรับคําตักเตือน แกลงทําหัวดื้อ ชอบโออวด หรือไม ไดตะกละ เลือกกับขาว กินมากเกิน กินจุบจิบหรือ ไดถี่เหนียว รักเงินเกินควร เห็นแกตัว ไมยอมใหของใครยืม ไม ยอมใหทานคนจน หรือชวยองคการกุศลหรือ ไดริษยา คือ ยินดีเมือ่ เห็นเขาไดราย เชนถูกโทษ หรือเสียใจเมื่อ เขาไดดี เชน ไดรางวัลหรือ ไดโกรธ โมโหงาย แกลงยั่วยุใหเขาโกรธ หรือ ไดเกียจคราน ในการตื่นนอน การสวด การรับศีลมหาสนิท การ แกบาป การเรียนหนังสือและวิชาคํานอน การทําตามหนาที่หรือ ไดหนีเรียนคําสอนหรือ

- 233 -



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.