คู่มือเตรียมรับศีลมหาสนิท

Page 1


¤Ù‹Á×Í àµÃÕÂÁÃѺÈÕÅÁËÒʹԷ


__________________________________________________________________________ หนังสือ คูมือเตรียมรับศีลมหาสนิท โดย Nihil Obstat Imprimatur

บาทหลวงชัชวาลย แสงแกว บาทหลวงสุรชัย ชุมศรีพันธุ พระคารดินัล ม. มีชัย กิจบุญชู พระอัครสังฆราชแหงอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 8 กันยายน ค.ศ. 2004

พิมพครั้งที่ 14

กันยายน พ.ศ. 2547/ ค.ศ. 2004 จํานวน 2,000 เลม สิงหาคม พ.ศ. 2548/ ค.ศ. 2005 จํานวน 2,000 เลม

พิมพครั้งที่ 15

จัดพิมพโดย

พิมพที่

แผนกคริสตศาสนธรรมกรุงเทพฯ 57 ซ.โอเรียนเต็ล บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร. 0-2237-5276, 0-2233-0338 โทรสาร 0-2233-8159 http://ccbkk.catholic.or.th E - mail : ccbkk@catholic.or.th โรงพิมพอัสสัมชัญ 51 ซ.โอเรียนเต็ล บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร. 0-2233-0523 โทรสาร 0-2235-1045

-2-


_________________________________________________________________________

ขาพเจาไดคัดเอาแตขอที่เปนสาระสําคัญจากคําสอนคริสตัง มา รวมอยูในหนังสือคูมือเตรียมรับศีลมหาสนิทฉบับปรับปรุงใหมเลมนี้ และเปนหนาที่ของผูสอนคําสอนที่จะอธิบายขอความตางๆ โดยอาศัย พระคัมภีรและคําสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก เพื่อใหการสอน เกิด ผล

จํ าเป นต อ งอบรมและแนะแนวทางใหป ฏิบั ติต ามใน

ชีวิตประจําวันดวย ดังที่พระเยซูเจาไดสอนวา “มารดาและพี่นองของ เราคือผูที่ฟงพระวาจาของพระเจาและนําไปปฏิบัติ” (เทียบ ลก 8:21) บาทหลวงชัชวาลย แสงแกว 15 เมษายน 1991

-3-


__________________________________________________________________________

พระสังฆราช หลุยส โชแรง (เปนพระสังฆราชชวง ค.ศ. 19471965) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ไดอนุญาตใหจัดพิมพหนังสือเลมนี้ ครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ ค.ศ. 1962 ตอมา พระอัครสังฆราช ยอแซฟ ยวง นิตโย (เปนพระอัครสังฆราชชวง ค.ศ. 1965-1973) ได อนุญาตใหพิมพ (ปรับปรุงใหม) ครั้งที่ 6 เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1972 และพระคารดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู ไดอนุญาตใหพิมพครั้งที่ 8 เมื่อ 16 ตุลาคม ค.ศ. 1985 (พ.ศ. 2528) การพิมพครั้งที่ 14 เรา อางอิงพระคัมภีรในแตละบทมากขึ้น

และมีอางอิงหนังสือคําสอน

พระศาสนจักรคาทอลิก (11 ตุลาคม ค.ศ. 1992) เพื่อครูคําสอน สามารถอานคนควาได และผมเปลี่ยนชื่อหนังสือจาก คูมือเตรียมรับ ศีลมหาสนิทอยางสงา เปนชื่อ คูมือเตรียมรับศีลมหาสนิท นอกจากนั้น การพิมพครั้งที่ 14 นี้ เราเพิ่มจดหมายอภิบาล ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก (ประเทศไทย) วาดวยแนวทางการรวม พิธีกรรมศาสนาอื่น (หนา 106-109) อีกดวย บาทหลวง วีระ อาภรณรัตน แผนกคริสตศาสนธรรมกรุงเทพฯ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 -4-


_________________________________________________________________________

หนา ภาคแรก : หลักความเชื่อของชาวคาทอลิก บทที่ 1 ศาสนา บทที่ 2 พระคัมภีร (The Holy Bible) บทที่ 3 เราเชื่อถึงพระเปนเจา บทที่ 4 พระเปนเจา บทที่ 5 ความเชื่อคาทอลิก บทที่ 6 พระตรีเอกภาพ บทที่ 7 ทูตสวรรค บทที่ 8 บิดามารดาเดิม บทที่ 9 มนุษยกอนสมัยพระเมสสิยาห บทแทรก ประวัติยอของมนุษยกอนคริสตกาล บทที่ 10 พระเมสสิยาห บทแทรก ผูเกี่ยวกับพระเมสสิยาห บทที่ 11 พระเยซูเจาในปฐมวัย บทที่ 12 การเทศนาประกาศพระธรรม บทที่ 13 การไถกู บทที่ 14 การกลับคืนพระชนมชีพอยางรุงเรือง บทแทรก ประวัติยอของพระศาสนจักร -5-

9 11 14 17 19 22 25 27 30 31 40 43 47 50 53 56 58


__________________________________________________________________________ บทที่ 15 พระศาสนจักรโรมันคาทอลิก 63 บทที่ 16 การปกครองพระศาสนจักร 66 บทที่ 17 กิจการคาทอลิก 69 บทที่ 18 พระศาสนจักรหนึ่งเดียว 72 บทที่ 19 พระกายทิพยของพระเยซูเจา 74 บทที่ 20 เหตุสุดทาย 77 บทที่ 21 ชีวิตนิรันดร 79 ภาคสอง : หลักปฏิบัติของชาวคาทอลิก บทที่ 22 พระบัญญัติ 81 บทที่ 23 ฤทธิ์กุศล 83 บทที่ 24 ความหวัง 86 บทที่ 25 ความรักตอพระเปนเจา 88 บทที่ 26 ความรักตอเพื่อนมนุษย 90 บทที่ 27 บาป 94 บทที่ 28 พยศชั่ว 97 บทที่ 29 พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่หนึ่ง 99 บทที่ 30 ความสัมพันธกับผูมีความเชื่ออื่น 102 บทแทรก ความเขาใจเกี่ยวกับศาสนสัมพันธ 105 บทที่ 31 พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่สอง 110 บทที่ 32 พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่สาม 112 บทที่ 33 พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่สี่ 115 -6-


_________________________________________________________________________ บทแทรก อธิบายหนาที่ตางๆ ในพระบัญญัติประการที่สี่ 117 บทที่ 34 พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่หา 120 บทที่ 35 พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่หก 123 บทที่ 36 พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่เจ็ด 126 บทที่ 37 พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่แปด 129 บทที่ 38 พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่เกา 131 บทที่ 39 พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่สิบ 133 บทที่ 40 พระบัญญัติแหงพระศาสนจักร 135 ภาคสาม : พิธีกรรม ศีลศักดิ์สิทธิ์ – การภาวนา บทที่ 41 พระหรรษทาน 139 บทที่ 42 พระหรรษทานปจจุบัน 143 บทที่ 43 พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร 144 บทที่ 44 ศีลศักดิ์สิทธิ์ 147 บทที่ 45 ศีลลางบาป 150 บทที่ 46 ศีลกําลัง 154 บทที่ 47 ศีลอภัยบาป 159 บทที่ 48 ความทุกขถึงบาป 162 บทที่ 49 การสารภาพบาป 166 บทที่ 50 วิธีรับศีลอภัยบาป 170 บทที่ 51 การใชโทษบาป 172 บทที่ 52 ศีลมหาสนิท 175 บทที่ 53 การรับศีลมหาสนิท 178 -7-


__________________________________________________________________________ บทที่ 54 วิธีรับศีลมหาสนิท 181 บทที่ 55 พิธีบูชาขอบพระคุณ 183 บทที่ 56 ศีลเจิมผูปวย 186 บทแทรก ธรรมเนียมคาทอลิกเกี่ยวกับผูตาย 189 บทที่ 57 ศีลบวช 191 บทที่ 58 ศีลสมรส 194 บทที่ 59 การภาวนา 198 บทที่ 60 จารีตและสิ่งคลายศีล 201 ภาคผนวก อธิบาย บทขาแตพระบิดา 204 อธิบาย บทวันทามารีอา 206 ศาสนกิจประจําวัน 208 กระแสเรียกและการถวายตัวแดพระเปนเจา 209 บทภาวนาที่ควรจํา 211 บทภาวนากอนรับศีลอภัยบาป 214 ขอพิจารณาบาป 216 บทสวดกอนรับศีลมหาสนิท 221 บทสวดหลังรับศีลมหาสนิท 222 บทภาวนาในโอกาสตางๆ 225

-8-


_________________________________________________________________________

บทที่ 1 ศาสนา (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 27-30)

1.

มนุษยทุกคนตางแสวงหาความสุข เรารูจากสามัญสํานึกวา นอกเหนือจากความสุขชั่วแลนในโลกนี้ ยังมีความสุขในชีวิตหนา ซึ่งอยูถาวรไมสิ้นสุด เราจึงเลือกถือศาสนาเพื่อบรรลุถึงความสุข

2.

ถาวรนั้น ศาสนา คือ ลัทธิความเชื่อถือในหลักความจริง หลักปฏิบัติและ บทบั ญ ญั ติ ตลอดจนจารี ต พิ ธี ก รรมที่ ค นเราใช แ สดงถึ ง การ เชื่อถือพระเจาผูศักดิ์สิทธิ์

3.

ศาสนาจํ า เป น สํ า หรั บ ทุ ก คน

เพราะว า คนเรามี จิ ต ใจและ

สติปญญาที่รูจักรับผิดชอบตออนาคตของตนในชีวิตหนา 4.

ศาสนามีประโยชนคือ ชวยสอนความจริงเหนือธรรมชาติ และ วางระเบียบปฏิบัติ ตลอดจนชวยใหคนประพฤติชอบ

1.

ศาสนาคริสตสอนหลักความจริงเกี่ยวกับพระเปนเจา สอนคําสอนของพระเยซูเจา -9-

และ


__________________________________________________________________________ 2.

ศาสนาคริสตสืบตอเนื่องจากศาสนายิว

ซึ่งเปนศาสนาของ

ชนชาติอิสราเอล ชาตินี้สืบเชื้อสายจากอับราฮัม

ซึ่งไดตั้ง

รกรากอยูในดินแดนปาเลสไตนราว 2 พันปกอนคริสตกาล 3.

ศาสนาคริสตใชพระคัมภีรและบทบัญญัติของศาสนายิว แตเพิ่ม คําสอนของพระเยซูเจาขึ้นมา และดําเนินงานในรูปสังคมซึ่งมี พระสันตะปาปาเปนประมุขสืบตอกัน

1.

ทําไมคนเราจึงมีศาสนา

2.

ศาสนาคืออะไร

3.

ศาสนาจําเปนสําหรับทุกคนหรือ

4.

ศาสนามีประโยชนอะไร

-10-


_________________________________________________________________________

บทที่ 2 พระคัมภีร (The Holy Bible) (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 101-141)

5.

พระคัมภีร คือ หนังสือศักดิ์สิทธิ์ที่รวมขอความจริง ซึ่งพระเปน เจาทรงเผยแสดงไว เพื่อสอนมนุษยใหรูจักพระองคและรูจักวิธี เอาตัวรอดไปสวรรค (เทียบ 2ทธ 3:16-17)

6.

พระเปนเจาไดดลใจและคุมครองผูเขียนพระคัมภีร ใหเขียนอัตถ ความจริงตามพระประสงคของพระองค แตใชสํานวนโวหารและ วิธีพูดของผูเขียนเอง

7.

พระคัมภีรมีจุดหมายเพื่อสอนมนุษยใหรูจักพระเปนเจา และรูจัก อัตถค วามจริงตามพระประสงคของพระองค

แตใชสํานวน

โวหารและวิธีพูดของผูเขียนเอง 8.

พระเป นเจาไดมอบใหพระศาสนจั กรมีหนาที่ค อยสั่งสอนและ อธิบายพระคัมภีรใหถูกตอง ผูใหญทางศาสนาไดทําหนาที่นี้สืบ ตอกันมาเสมอ

-11-


__________________________________________________________________________ ชาวคาทอลิกใชพระคัมภีร (The Holy Bible) ซึ่งมีอยูรวม 73 เลม แบงเปน 2 ภาค คือ 1.

ภาคพันธสัญญาเดิม (The Old Testament) มีอยู 46 เลม ซึ่ง ศาสนายิวไดใชมาแตโบราณ

2.

ภาคพันธสัญญาใหม (The New Testament) มีอยู 27 เลม เปน ชีวประวัติและคําสอนของพระเยซูเจา (ที่เรียกวา “พระวรสาร”) กิจการของอัครสาวก จดหมายของอัครสาวก ผูเขียนพระคัมภีรไดรับการดลใจจากพระเปนเจา เพราะเหตุ

วาพระเปนเจาไดแสดงฤทธิ์อํานาจในตัวเขาจนเปนที่ประจักษแจง และ เปนที่ยอมรับนับถือแกชนชาติยิวสมัยนั้น เนื้อหาของพระคัมภีรแสดง อั ต ถ ค วามจริ ง ลึ ก ซึ้ ง เกิ น สติ ป ญ ญามนุ ษ ย ส มั ย นั้ น

หลั ก ฐาน

ประวัติศาสตรและโบราณคดีก็ชวยยืนยั นเรื่องที่พระคัมภีรกลาวถึง ยิ่งกวานั้น สมัยนี้ชนหลายชาติหลายหมูคณะที่มีความคิดขัดแยงกัน กลับยอมรับตรงกันในเรื่องพระคัมภีร

(โปรดดูคํา อธิบายเรื่องนี้จ ากหนังสือ

ปญหาศาสนา โดย บาทหลวง ชัชวาล แสงแกว, จํารัสการพิมพ กทม. กันยายน 1970)

เนื่องจากพระคัมภีรไดเขียนขึ้นในสมัยโบราณสําหรับคนสมัย นั้นโดยตรง เพื่อเขาใจพระคัมภีรถูกตอง เราจึงตองศึกษาหลักฐาน -12-


_________________________________________________________________________ ตางๆ วา คนในสมัยโบราณไดสอนพระคัมภีรอยางไร และเขาไดเชื่อ และสอนพระคัมภีรตกทอดตอกันมาอยางไรดวย

5.

พระคัมภีรคืออะไร

6.

ใครเปนคนสอนเรื่องตางๆ ในพระคัมภีร

7.

พระคัมภีรมีจุดประสงคอะไร

8.

เราเขาใจพระคัมภีรไดอยางไร

-13-


__________________________________________________________________________

บทที่ 3 เราเชื่อถึงพระเปนเจา (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 199-231)

9.

เราเชื่อวามีพระเปนเจา เพราะ ก. สติปญญาและหลักเหตุผลบอกแกเราวา สารพัดทุกสิ่งใน ธรรมชาติมีพระเปนเจาเปนตนกําเนิด ข. มโนธรรมและสั ญชาติญ าณมนุษ ยบอกแกเราวา หลั ก ศีลธรรมมีพระเปนเจาควบคุมดูแล และใหรางวัลความดี หรือลงโทษความชั่ว ค. พระเปนเจาทรงเผยแสดงพระองคแกบิดามารดาเดิม และ คนสมัยโบราณ เชน โมเสส และประกาศกตางๆ และโดย ทางพระเยซูเจา ซึ่งพระองคไดใชมาในโลกนี้

10. เรารูจักพระเปนเจาไดลึกซึ้งยิ่งขึ้นจากพระคัมภีร และคําสอนที่ สอนตกทอดกันสืบมาในพระศาสนาของพระองค

1.

พระคั มภีรเ ป น เอกสารรวบรวมเรื่อ งราวที่พ ระเปน เจาไดท รง ติดตอกับมนุษยตั้งแตสมัยดั้งเดิม พระคัมภีรชี้ใหเห็นวามนุษย -14-


_________________________________________________________________________ ตั้งแตสมัยแรกไดติดตอสัมพันธกับพระเปนเจาเรื่อยมาไมขาด สาย อันเปนการเริ่มศาสนาของพระเปนเจา ความเชื่อถึงพระ เปนเจาฝงแนนอยูในจิตใจมนุษยเสมอมา บางระยะเวลามนุษย จะหางเหินจากพระเปนเจาไปบาง แตในที่สุด มนุษยเราก็ ตองการมีความสัมพันธกับพระเปนเจา

และตองแสวงหา

พระเปนเจาเสมอ 2.

คนเราไมส ามารถเรีย นรูเ รื่อ งพระเป น เจาด ว ยสติปญ ญาของ ตนเอง เพราะวาเรื่องพระเปนเจาอยูนอกเหนือความสามารถ ของเรา พระเปนเจาไดทรงเปดเผยความรูอันเรนลับในธรรมชาติ ของเรา ซึ่งพระคัมภีรไดรวบรวมความรูเหลานั้นไวเปนหลักฐาน ใหเราแสวงหาพระเปนเจา และศึกษาความจริงของพระองคเพื่อ ความรอดทางวิญญาณ เราจึงควรอานและศึกษาพระคัมภีรเพื่อ จะไดรูจักพระเปนเจาดีขึ้น

“ทองฟาประกาศพระสิริรุงโรจนของพระเจา ผลงานจากพระหัตถของพระองค” (สดด 19:1) คนโงรําพึงอยูในใจของตนวา “ไมมีพระเจา” คนเหลานี้ชั่วราย ประพฤติเลวทราม -15-

แผนฟาบอกเลา


__________________________________________________________________________ จะหาใครทําความดีสักคนก็ไมมี (สดด 14:1) “ความเชื่อคือความมั่นใจในสิ่งที่เราหวังไว” (ฮบ 11:1)

9.

เราเชื่อถึงพระเปนเจาเพราะเหตุใด

10. เรารูจักพระเปนเจาไดอยางไร

-16-


_________________________________________________________________________

บทที่ 4 พระเปนเจา (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 198-231)

11. พระเปนเจา หมายถึง ผูทรงมีความเปนอยูสูงสุด พระองคเปน ผูสรางสารพัดทุก สิ่ง เปนตนกําเนิดของมวลชีวิตและมีฤทธิ์ อํานาจครอบครองสารพัดทุกสิ่ง 12. พระเปนเจาเปนจิต ไมมีขอบเขต ทรงสรรพานุภาพดีบริบูรณ และเจริญชั่วนิรันดร 13. พระเปนเจาอยูในสวรรคและทั่วทุกแหงหน 14. พระเปนเจาเปนบอเกิดแหงความดี พระองคเปนคุณงามความดี สูงสุด พระองคทรงยุติธรรมและเมตตาตอมนุษยเยี่ยงบิดาตอ บุตร 15. พระเปนเจาทรงรูเห็นสารพัดทั้งในอดีต ปจจุบัน และอนาคต

1.

จิต คือ สิ่งมีชีวิต มีความเปนอยูของตนเอง

ประกอบดวย

สติปญญาและอําเภอใจ แตไมมีรางกาย ไมเปนวัตถุธาตุ

-17-


__________________________________________________________________________ 2.

พระเปนเจาทรงสรรพานุภาพ คือ มีฤทธิ์อํานาจทุกประการ พระองคจะทําอะไรก็ทําไดทั้งสิ้น สารพัดทุกสิ่งเปนไปตามพระ ประสงคของพระองคเสมอ

3.

พระเปนเจาทรงอยูเสมอโดยไมมีเริ่มตน ไมมีสิ้นสุด พระองคทรง อยูตลอดเวลา ไมมีการเปลี่ยนแปลง พระองคประทานความ เปนอยูแกสิ่งตางๆ สารพัดทุกสิ่งไดรับความเปนอยูจากพระเปน เจา และมีความเปนอยูเพียงชั่วคราวเทานั้น

“กอนภูเขาจะเกิด กอนแผนดินและโลกจะถือกําเนิดขึ้นมา พระองคทรงเปนพระเจา ทรงดํารงอยูตลอดไป” (สดด 90:2)

11. พระเปนเจาหมายถึงใคร 12. พระเปนเจาเปนอะไร 13. พระเปนเจาอยูที่ไหน 14. พระเปนเจามีคุณงามความดีอะไรบาง 15. พระเปนเจารูเห็นทุกสิ่งทุกอยางหรือ -18-


_________________________________________________________________________

บทที่ 5 ความเชื่อคาทอลิก (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 144-184)

16. ความเชื่อ คือ การยอมรับความจริงจากผูอื่น ปกใจและมั่นใจใน ความจริงนั้นอาศัยการรับรองของผูสอน 17. ความเชื่อคาทอลิก คือ การยอมรับและมั่นใจในความจริงที่ พระเปนเจาทรงเปดเผย เพราะเห็นแกพระองคผูเปนพระเจาแหง ความสัตยจริง 18. พระเปนเจาชวยเหลือเราใหเชื่อในพระองค ความเชื่อคาทอลิก จึงเปนพระคุณจากพระเปนเจาที่ชวยใหรอด 19. คาทอลิ ก ต อ งยึ ด มั่ น ในความจริ ง ที่ พ ระศาสนจั ก รสั่ ง สอน เพราะวาพระเยซูเจาไดมอบอํานาจใหพระศาสนจักรสอนแทน พระองค และพระองครับรองวาจะคุมครองพระศาสนจักรมิให ผิดพลั้ง 20. ขอความเชื่อคาทอลิกยอรวมอยูใ นบทขาพเจาเชื่อ 21. ขอความเชื่อที่สําคัญที่สุดคือ ก. มีพระเปนเจาผูสรางสารพัด

-19-


__________________________________________________________________________ ข. พระเปนเจาเดียว เปนสามพระบุคคล คือ พระบิดา พระ บุตร พระจิต ค. พระบุตรไดบังเกิดเปนมนุษย เพื่อไถกูมนุษย

โดยการ

สิ้นพระชนมบนไมกางเขน ง. ในชีวิตหนามีสวรรคและนรกชั่วนิรันดร

สิ่งที่ชวยใหเราแนใจวา ความเชื่อของเราถูกตองคือ 1.

คนที่สอนความจริงนั้นเปนผูมีความรู และมีสติปญญาพอที่จะไม หลงผิดหรือเขาใจผิด

2.

คนที่สอนความจริงนั้นเปนคนซื่อสัตย และมีคุณธรรมความดีจน เปนที่ไววางใจได

3.

ความจริงที่เขาสอนนั้นชอบดวยเหตุผล หรือมีทางพิสูจนไดวาไม ผิดพลาด นอกจากนั้นยังมีเหตุผลอื่นๆ อีกหลายประการที่ทําใหเราแนใจ

ในความเชื่อของเรา ความเชื่อคาทอลิกก็เริ่มตนจากเหตุผลและสามัญ สํานึกดังกลาวขางตนนี้ นอกจากนั้นพระเปนเจาทรงใหคําดลใจหรือ ชักจูงจิตใจใหเชื่อพระองค ความจริงที่มาจากพระเปนเจานั้นล้ําลึก -20-


_________________________________________________________________________ เกินความเขาใจของเรา แตเพราะวามาจากพระเปนเจา เราจึงยอมรับ ดวยความสมัครใจ ความเชื่อคาทอลิกจึงเปนกิจการบุญกุศล

“ความเชื่อคือ ความมั่นใจในสิ่งที่เราหวังไว เปนขอพิสูจนถึง สิ่งที่มองไมเห็น” (ฮบ 11:1) “ชีวิตนิรันดร คือ การรูจักพระองค พระเจาแทแตพระองค เดียว และรูจักผูที่พระองคทรงสงมาคือพระเยซูคริสตเจา” (ยน 17:3)

16. ความเชื่อคืออะไร 17. ความเชื่อคาทอลิกคืออะไร 18. พระเปนเจาชวยใหเรามีความเชื่อหรือ 19. ทําไมจึงตองเชื่อความจริงที่พระศาสนจักรสั่งสอน 20. ขอความเชื่อสรุปสั้นๆ ไดอยางไรบาง 21. ขอความเชื่อหลักที่สําคัญที่สุดมีอะไรบาง

-21-


__________________________________________________________________________

บทที่ 6 พระตรีเอกภาพ (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 253-256)

22. พระเป น เจาทรงเปด เผยใหรูวาพระเป นเจาหนึ่งเดียวเปน สาม พระบุคคล ตางกันและเทากัน ทรงพระนามวา พระบิดา พระ บุตร และพระจิต 23. พระบิดา พระบุตรและพระจิต เปนสามบุคคลตางกัน คือ พระ บิดาไมใชพระบุตร และพระบุตรมิใชพระจิต 24. พระบิดา พระบุตร พระจิต เทาเสมอกัน คือไมใหญกวากัน ไม แกกวากัน 25. พระบิดา พระบุตร พระจิต เปนพระเปนเจาเดียว เพราะรวม สภาวะเดียวกัน

และรวมมีความเปนอยูหนึ่งเดียวกันตั้งแต

ชั่วนิรันดร

1.

พระเปนเจาเดียวเปนสามบุคคลนี้เปนเรื่องล้ําลึกเกินความเขาใจ ของมนุษย แตเพราะเปนคําสอนจากพระเปนเจา เราจึงเชื่อ -22-


_________________________________________________________________________ 2.

คาทอลิกแสดงความเชื่อในเรื่องนี้ ดวยการทําสําคัญมหากางเขน อันเปนการประกาศถึงพระตรีเอกภาพและเรีย กรองพระนาม ของพระองคมาคุมครองตน

3.

วิธีทําสําคัญมหากางเขนที่ดี ก. แบมือขวาหานิ้วชิดกัน แตะหนาผาก กลาววา “เดชะพระ นามพระบิดา” ข. เลื่อนลงมาแตะหนาอก กลาววา “และพระบุตร” ค. เลื่อนไปแตะบาซาย กลาววา “และพระ” ง. เลื่อนไปแตะบาขวา กลาววา “จิต” จ. พนมมือ กลาววา “อาแมน”

กอนที่พระเยซูเจาจะเสด็จขึ้นสวรรค พระองคไดประทาน อํานาจทั้งสิ้นแกสาวกและใชเขาไปสั่งสอนทั่วโลก ตรัสวา “ทาน ทั้งหลายจงไปสั่งสอนนานาชาติใหมาเปนศิษยของเรา ทําพิธีลางบาป ใหเขา เดชะพระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต” (มธ 28:19)

-23-


__________________________________________________________________________ 22. พระเปนเจาไดสอนใหเรารูอะไรเกี่ยวกับธรรมชาติเ รนลับของ พระองค 23. สามบุคคลในพระเปนเจาตางกันอยางไร 24. สามบุคคลในพระเปนเจาเทาเสมอกันหรือ 25. สามบุคคลในพระเปนเจาเปนพระเจาเดียวอยางไร

-24-


_________________________________________________________________________

บทที่ 7 ทูตสวรรค (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 328-336)

26. แตแรกเริ่ม พระเปนเจาไดสรางทูตสวรรค ซึ่งเปนจิต คลายพระ เปนเจา 27. ทูตสวรรคบางพวกไดจองหองคิดกบฏตอพระเปนเจา จึงตองรับ อาญาโทษชั่วนิรันดรในนรก กลายเปนปศาจ 28. ทูตสวรรคที่ดีไดรับความสุขชั่วนิรันดรในสวรรค

คอยรับใช

พระเปนเจา และยังทําหนาที่คุมครองรักษามนุษยแตละคนดวย 29. ปศาจอิจฉามนุษย คอยลอลวงมนุษยใหทําบาป จะไดตกนรก เชนเดียวกับมัน

1.

ทูตสวรรคเปนจิต คือ มีสติปญญาและอําเภอใจ แตไมมีรางกาย

2.

พระเปนเจาสรางทูตสวรรคเพื่อรูจัก รัก และปรนนิบัติพระองค แลวจึงจะไดรับความสุขชั่วนิรันดร

-25-


__________________________________________________________________________ 3.

ทูตสวรรคที่คุมครองรักษามนุษย เรียกวา อารักขเทวดา ทาน คอยดลใจใหทําดีหลีกหนีบาป ชวยปองกันเลหกลของปศาจ และปองกันอันตรายทางกายและวิญญาณ

4.

เราควรรัก คิดถึง เคารพเชื่อฟงอารักขเทวดา เพราะทานเปน เพื่อนที่มองไมเห็น และหมั่นสวดขอทานชวยเหลือ

“พระเจาจะทรงสั่งทูตสวรรคเกี่ยวกับทาน ใหคอยพยุงทานไว มิใหเทาสะดุดหิน” (มธ 4:6)

26. แตแรกเริ่ม พระเปนเจาไดสรางอะไร 27. ทูตสวรรคบางพวกไดทําผิดอะไร 28. ทูตสวรรคที่ดีไดรับรางวัลอะไร และทําหนาที่อะไร 29. ปศาจคอยทําอะไรแกเรามนุษย

-26-


_________________________________________________________________________

บทที่ 8 บิดามารดาเดิม (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 396-412)

30. พระเปนเจาไดสรางบิดามารดาเดิมของมนุษยชื่ออาดัมและเอวา 31. พระเปนเจาไดทดลองความซื่อสัตยของอาดัมและเอวา คือให ยอมเชื่อฟงพระองค 32. แตอาดัมและเอวากลับไปเชื่อฟงปศาจที่มาลอลวง

และคิด

จองหอง อยากเปนใหญเทาพระเปนเจา 33. อาดัมและเอวาจึงไดรับ อาญาโทษทางกายและวิญ ญาณดว ย ผลรายจากความผิดของพอแมเดิมนี้ไดติดตอมาถึงลูกหลานทุก คน ยกเวนแตพระนางมารียแตผูเดียว 34. พระเปนเจายังทรงเมตตากรุณาตอมนุษยที่ผิดไปแลว พระองค ไดสัญญาจะใชพระเมสสิยาหมาไถโทษบาป

1.

มนุษยเปนสัตวประเสริฐที่รูคิดผิดชอบ มีรางกายและวิญญาณ

2.

พระเป น เจ า สร า งวิ ญ ญาณมนุ ษ ย ใ ห เ ป น จิ ต คล า ยพระองค วิญญาณจึงอยูชั่วนิรันดรไมมีวันดับสูญ -27-


__________________________________________________________________________ 3.

พระเปนเจาสรางมนุษยเพื่อ รูจัก รัก และปรนนิบัติพระองคใน โลกนี้ แลวจึงจะไดไปรับความสุขนิรันดรในสวรรค

4.

พระเปนเจาสรางมนุษยมาแตแรกนั้น ใหมีความสุขธรรมชาติ อยางสมบูรณ พระคัมภีรจึงกลาววาใหอยูในสวนสวรรค

5.

มนุษยไดสูญเสียความสุขเดิมไปเมื่อไดทําผิดตอพระเปนเจา

6.

การหามกินผลไมตนหนึ่งที่พระคัมภีรเลานั้น หมายความวา บิดา มารดาสามารถปฏิบัติตามคําสั่งของพระเปนเจาอยางงายดาย

7.

เหลือเกิน เมสสิยาห แปลวา ผูถูกใชไป ผูไดรับการอภิเษกดวยการเจิม น้ํามันขึ้นเปนกษัตริย พระสงฆ หรือผูแทนของพระเปนเจา แต กอนเราใชคําวา พระมหาไถ ซึ่งหมายถึง ผูชวยใหพนจากการ เปนทาส

8.

ผลรายจากความผิดของพอแมเดิมนั้นเรียกวา บาปกําเนิด แต ความจริงนั้นไมใชเปนบาปโดยตรง แตเปนผลกรรมที่ติดตาม ความผิดและตกทอดสืบกันไปในเชื้อสายมนุษย

-28-


_________________________________________________________________________

พระยาหเวหพระเจาจึงตรัสกับงูวา “เจาจงถูกสาปแชง ให ลูกหลานของเจาและลูกหลานของนางเปนศัตรูกันดวย เขาจะเหยียบ หัวของเจา และเจาจะกัดสนเทาของเขา” พระเจาตรัสกับหญิงวา “เราจะเพิ่มความทุกขทรมานในการ คลอดบุตรแกทาน ทานจะคลอดบุตรดวยความเจ็บปวด ทานจะใฝหา สามี แตเขาจะเปนนายเหนือทาน” พระองคตรัสกับมนุษยวา “แผนดินจะถูกสาปแชงเพราะทาน! ทานจะตองหากิ น จากแผน ดินดว ยความทุ ก ขย ากทุก วั น ตลอดชีวิ ต แผนดินจะผลิตตนหนามและกอหนาม ทานจะมีอาหารกินก็ดวยหยาด เหงื่อบนใบหนา จนกวาทานจะกลับเปนดินอีก เพราะทานถูกปนมา จากดิน ทานเปนฝุนดิน และจะกลับไปเปนฝุนดินอีก” มนุษยเรียก ภรรยาของตนวา “เอวา” เพราะนางเปนมารดาของผูมีชีวิตทั้งหลาย (ปฐก 3:14-20)

30. บิดามารดาเดิมของมนุษยเปนใคร เกิดมาอยางไร 31. พระเปนเจาตองการอะไรจากบิดามารดาเดิม -29-


__________________________________________________________________________ 32. อาดัมและเอาวาไดเชื่อฟงพระเปนเจาหรือไม 33. อาดัมและเอวาไดรับโทษอยางไร 34. พระเปนเจาไดทอดทิ้งมนุษยหลังจากทําความผิดหรือไม

-30-


_________________________________________________________________________

บทที่ 9 มนุษยกอนสมัยพระเมสสิยาห 35. ลูกหลานของอาดัมและเอวาไดหลงลืมพระเปนเจา หันไปนับถือ พระเท็จเทียมตางๆ และประพฤติชั่วราย 36. พระเปนเจาจึงไดลงอาญาโทษใหน้ําวินาศมาลางชีวิตมนุษยเสีย สิ้น เหลือเพียงแปดคนคือ โนอาห บุตรและภรรยาที่ยังซื่อสัตย ตอพระเปนเจา 37. ตอมาลูกหลานของโนอาหก็ไดหลงลืมพระเปนเจา และแตกแยก กัน เปนหลายชาติหลายภาษา 38. มีชายคนหนึ่งซึ่งยั งคงนับ ถือ พระเป น เจาเที่ยงแทสืบตอ กัน มา ชาตินี้สืบมาจากเชื้อสายของมหาบุรุษอับราฮัม ชาติอิสราเอลหรือยูดาห ทุกวันนี้เรียกวา ชาวยิว

35. ลูกหลานของอาดัมและเอวาไดประพฤติอยางไร 36. พระเปนเจาไดลงอาญาโทษอยางไร 37. ลูกหลานของโนอาหไดประพฤติอยางไรอีก 38. ชาติใดที่นับถือพระเปนเจาเที่ยงแทสืบตอมา -31-

และไดชื่อวา


__________________________________________________________________________

บทแทรก ประวัตยิ อของมนุษยกอนคริสตกาล 1.

กาอินและอาแบล อาดัมและเอวาเมื่อถูกขับไลจากสวนสวรรค แลว ไดมีบุตรชายชื่อกาอินและอาแบล ทั้งสองคนไดทําการบูชา พระเปนเจา พระองคพอพระทัยรับเครื่องบูชาของอาแบล แตไม ยอมรับของกาอิน กาอินจึงมีความอิจฉา และไดฆาอาแบล ผู

2.

เปนนองของตัว (ปฐก 4) น้ําวินาศ ลูกหลานของอาดัมและเอวาสวนมากไดละทิ้งพระ เปนเจา หันไปนับถือและบูชาพระเท็จเทียม และประพฤติชั่วราย ตางๆ พระเปนเจาจึงสั่งโนอาหผูซื่อสัตยตอพระองคใหสรางเรือ สําเภาใหญ และเมื่อไดเอาบุตร ภรรยา และสัตวอยางละคูเขา อยูในสําเภาแลว ก็เกิดฝนตกหนัก และมีน้ําวินาศทวมมนุษย

3.

ทั้งหลายตายสิ้น (ปฐก 7-9) การแตกแยกเปนหลายชาติ ตอมาลูกหลานของโนอาหก็ได หลงลืมพระเปนเจา หันไปนับถือพระเท็จเทียม และไดคิดสราง หอใหสูงถึงฟา เรียกวา หอบาเบล พระเปนเจาจึงบันดาลใหเขา พูดภาษาตางๆ และแตกแยกเปนหลายชาติหลายภาษา (ปฐก 11) -32-


_________________________________________________________________________ 4. อับราฮัม มีผูหนึ่งที่ซื่อสัตยตอพระเปนเจา ชื่ออับราฮัม พระ เปนเจาไดทดลองใจของอับราฮัม โดยสั่งใหนําบุตรชายชื่ออิสอัค ไปทําการบูชายัญ อับราฮัมไดยอมเสียสละทําตามคําสั่งของพระ เปนเจา พระองคจึงไดระงับการบูชายัญนั้น และอวยพรแก อับราฮัมใหสืบเชื้อสายกลายเปนชาติยิ่งใหญ และพระมหาไถจะ บังเกิดในชาตินี้ ชาตินี้คือชาติอิสราเอลหรือยูดาห (ปฐก 32:28) 5.

ซึ่งทุกวันนี้เรียกวาชาติยิว (ปฐก 12-18,22) โสโดม ชาวเมืองไดประพฤติชั่วรายมาก อับราฮัมไดพยายาม วิงวอนพระเป นเจาใหงดเวน การลงอาญาโทษแกเมืองนี้แตไ ม สําเร็จ เพราะมีคนดีในเมืองนี้ไมถึงสิบคน เมื่อทูตสวรรคนําโลทผู เปนหลานของอับราฮัม และครอบครัวออกจากเมืองโสโดมแลว ไดมีไฟตกจากฟาเผาผลาญเมืองโสโดมจนพินาศสิ้นเชิง เมืองนี้ ตอมากลายเปนทะเล เรียกวา “ทะเลตาย” จนถึงทุกวันนี้ (ปฐก

6.

19) เอซาวและยากอบ

อิสอัคมีบุตรชายสองคน ชื่อเอซาวและ

ยากอบ เอซาวไดสละตําแหนงพี่หัวปใหแกยากอบผูเปนนอง เพื่อแลกกับถั่วตมจานหนึ่ง เมื่ออิสอัคชรามากและตาบอดแลว ประสงคจะอวยพรครั้งสุดทายแกเอซาว ยากอบไดปลอมตัวไป แยงรับพรนั้นเสีย (ปฐก 25:19-34) -33-


__________________________________________________________________________ 7. โยเซฟ ยากอบมีบุตรชายสิบสองคน คนที่สิบเอ็ดชื่อโยเซฟ ซึ่ง เปนผูที่บิดารักมากที่สุด พี่ชายจึงอิจฉาและไดเอาโยเซฟไปขาย แกผูใหญแหงอียิปต โยเซฟไดรับความไววางใจจากนายของตน มาก ในที่สุด ไดถูกใสความและตองติดคุก โยเซฟไดทํานายฝน แกนักโทษหลวงสองคนในคุกนั้น เมื่อพระเจาฟาโรห กษัตริย แหงอียิปตไดฝนประหลาด โยเซฟไดทํานายฝนแกพระเจาฟาโรห โยเซฟจึงไดรับแตงตั้งเปนอุปราชแหงอียิปต

โยเซฟไดสะสม

เสบียงอาหารไวมากมายเพื่อเลี้ยงประชาชนเมื่อเกิดอดอยากซึ่ง 8.

นานถึงเจ็ดป (ปฐก 37-41) พี่นองของโยเซฟ เมื่อพี่นองของโยเซฟไปซื้ออาหารที่ประเทศ อียิปต โยเซฟไดแสดงตัวแกพี่นองและใหอภัยแกพี่นองของตน พี่ นองของโยเซฟจึงอพยพครอบครัวไปอยูอียิปต

ลูกหลานของ

โยเซฟและพี่นองสิบสองคนนี้ไดชื่อวา พวกอิสราเอล ยากอบได 9.

ทํานายวา พระมหาไถจะบังเกิดในตระกูลยูดาห (ปฐก 42-50) โมเสส กษัตริยอียิปตองคตอมาไดกดขี่ขมเหงชาวอิสราเอล โดย บังคับใหทํางานหนักและสั่งใหฆาเด็กชายทุกคนที่เกิดจากชาว อิสราเอล โดยใหโยนทิ้งในแมน้ําไนล ชาวอิสราเอลผูหนึ่งนํา ทารกใสตะกราไปลอยทิ้งไวในแมน้ําไนล ราชธิดาของกษัตริย -34-


_________________________________________________________________________ อียิปตไปพบเขาจึงเก็บไปเลี้ยงเปนบุตรบุญธรรม ใหชื่อวา โมเสส (อพย 2) 10. การอพยพจากอียิปต ในที่เปลี่ยวแหงหนึ่ง พระเปนเจาได ประจักษมาสั่งใหโมเสสนําชาติอิสราเอลออกจากอียิปต เพื่อ เดิ น ทางกลั บ ไปในแผ น ดิ น ที่ พ ระองค เ คยสั ญ ญาจะยกให แ ก เชื้อสายอับราฮัม กษัตริยฟาโรหไดขัดขืนคําสั่งของพระเปนเจา พระเปนเจาจึงลงโทษชาติอียิปตดวยอัศจรรยตางๆ (อพย 3-12) 11. ลูกแกะปสกา พระเปนเจาไดสั่งใหชาวอิสราเอลทุกครอบครัว นําลูกแกะสีขาวบริสุทธิ์มาฆา

และยางกินกับขนมปงไมมีเชื้อ

และผั กขม และใหเ อาเลือดแกะทาบานประตูบานพรอมกั บ เตรียมตัวเดินทางในคืนนั้น การกินลูกแกะนี้เรียกวาการเลี้ยง ปสกา คืนนั้นบุตรหัวปของชาวอียิปตทุกบานถูกฆาตายหมด ชาวอียิปตเกรงกลัวพระเปนเจามาก จึงขอรองใหฟาโรหขับไล ชาวอิสราเอลออกจากบานเมืองของตน พระเจาฟาโรหจึงสั่งให โมเสสนําชาวอิสราเอลออกจากประเทศอียิปต (อพย 12-13) 12. การขามทะเลแดง พระเจาฟาโรหเกิดเปลี่ยนพระทัย และสง กองทัพมาไปกวาดตอนชาวอิสราเอลกลับคืนสูประเทศอียิปตอีก กองทัพอียิปตไปทันกับพวกอิสราเอลที่ทะเลแดง พระเปนเจา ทรงชวยเหลือชาวอิสราเอล โดยใหน้ําทะเลแยกออกเปนทางเดิน -35-


__________________________________________________________________________ เมื่อชาวอิสราเอลเดินขามไปแลว

น้ําทะเลก็กลับคืนตัวทวม

กองทัพอียิปตที่เดินตามมาจมน้ําตายกันหมด (อพย 14-15) 13. พระบัญญัติสิบประการ ที่ภูเขาซีนาย พระเปนเจาทรงประกาศ พระบัญญัติสิบประการแกชาวอิสราเอล โมเสสเปนผูรับพระ โองการและจารึกพระบัญ ญั ตินี้ไ วบ นศิล าสองแผน

ซึ่งชาว

อิสราเอลไดเก็บรักษาและแหแหนไปกับพวกเขาเสมอ (อพย 20, ฉธบ 5) 14. อาหารมานนา พระเปนเจาไดทรงเลี้ยงดูชาวอิสราเอล ในขณะ ที่เดินทางในที่เปลี่ยวราวสี่สิบป โดยใหอาหารชนิดหนึ่งตกจาก ฟา เปนเกล็ดสีขาวคลายหิมะ มีรสแปงสาลีปนกับน้ําผึ้ง เรียกวา มานนา (อพย 16) 15. งูทองสัมฤทธิ์ ชาวอิสราเอลไดประพฤติผิดพระบัญญัติบอยๆ จึงตองรับอาญาโทษจากพระเปนเจาเสมอ ครั้งหนึ่งพวกเขาถูกงู พิษกัดตายกันมากมาย เมื่อพวกที่เหลืออยูไดกลับใจสํานึกตัว แลว พระเปนเจาสั่งใหโมเสสทํารูปงูใหญดวยทองสัมฤทธิ์ และ แขวนไวบนหลักไมสูงๆ ผูใดถูกงูกัดก็ใหมองดูรูปทองแดงนั้นจะ รอดชีวิตได (กดว 21:4-9) 16. แผนดินศักดิ์สิทธิ์ เมื่อโมเสสถึงแกกรรมแลว ตําแหนงแทน

โยชูวาไดสืบ

และไดนําชาวอิส ราเอลเขายึด ครองประเทศ -36-


_________________________________________________________________________ ปาเลสไตน อันเปนดินแดนที่พระเปนเจาไดสัญญาจะยกใหแก ลูกหลาน (ยชว 1-4) 17. แซมสัน ชาวอิสราเอลแตแรกไดมีการปกครองโดยผูเฒาที่ เลื่อมใสตอพระบัญญัติเปนหัวหนาพวกเขา เรียกวา ตุลาการ พระเปนเจาทรงชวยเหลือดลใจพวกตุลาการในการสั่งสอนและ ในการปกครองชาวอิสราเอล

เวลาใดที่ชาวอิสราเอลถือพระ

บัญญัติของพระเปนเจา เวลานั้นพวกเขาก็อยูสงบสุข แตเวลาใด ที่เ ขาพากั น ละเมิ ด พระบั ญ ญั ติข องพระองค

ก็ เ กิด การศึ ก

สงครามกับชาติขางเคียง จนบางครั้งก็ตกเปนเมืองขึ้น ชาติหนึ่ง ที่ทําสงครามกับชาติอิสราเอลมากที่สุดก็คือ ชาติฟลิสเตีย จนได ชัยชนะหลายครั้ง แตแซมสันไปไดภรรยาชาวฟลิสเตีย จึงถูกกล อุบายและถูกขาศึกจับได แซมสันไดแสดงกําลังมหาศาลครั้ง สุดทาย โดยพังบานหลังใหญลงทับชาวฟลิสเตียจํานวนมากมาย ตายพรอมกับตนเอง (วนฉ 13-16) 18. ซาอูล ภายหลัง ชาวอิสราเอลไดขอรองใหมีกษัตริยปกครอง ตนเองอยางชาติอื่น พระเปนเจาจึงไดสั่งประกาศกซามูแอลให อภิเษกซาอูลขึ้นเปนกษัตริย แตซาอูลประพฤติผิดตอคําสั่งของ พระเปนเจาเสมอ ประกาศกซามูเอลจึงไดอภิเษกดาวิดขึ้นเปน กษัตริย (1ซมอ 9-12) -37-


__________________________________________________________________________ 19. ดาวิด เมื่อมนุษยรางยักษชื่อ โกลิอัท ไดนํากองทัพฟลิสเตีย มารุกรานชาวอิสราเอล และทาใหชาวอิสราเอลไปรบสูกันตัวตอ ตัว เด็กหนุมดาวิดไดอาสาไปรบกับโกลิอัท และนําชัยชนะมาสู กองทัพอิสราเอล กษัตริยซาอูลจึงอิจฉาและคิดรายดาวิด แต ดาวิดมิไดคิดรายตอบพระองค เมื่อกษัตริยซาอูลสิ้นพระชนม แลว ดาวิดไดขึ้นเปนกษัตริยสืบราชสมบัติตอไป พระองคทํา สงครามแผ อ าณาจั ก รอิ ส ราเอลออกไปจนกวา งใหญ ไ พศาล พระองคยังเปนประกาศก ซึ่งไดทํานายถึงพระมหาไถมากมาย และแตงเพลงสรรเสริญพระเปนเจา ซึ่งใชขับรองจนทุกวันนี้ (1ซมอ 16-17) 20. ซาโลมอน กษัตริยซาโลมอนซึ่งสืบราชสมบัติตอจากกษัตริย ดาวิด เปนผูมีสติปญญาเฉียบแหลม พระองคไดสรางวิหารกรุง เยรูซาเล็ม แตในปลายชีวิตพระองคทรงลุมหลงในสตรีคนตาง ศาสนา และไดเคารพบูชาพระเท็จเทียม เมื่อสิ้นราชกาลของ กษัตริยซาโลมอนแลว อาณาจักรอิสราเอลจึงแตกแยกกัน และ ที่สุด ตกเปนเมืองขึ้นของชาติอื่น พวกอิสราเอลสวนใหญละทิ้ง ความเชื่อในศาสนาเที่ยงแทของตนเสีย เหลือแตตระกูลยูดาหซึ่ง ยังมั่นคงในความเชื่อดั้งเดิม จึงไดชื่อวา ชาติยูดาห (1พกษ 2-12) -38-


_________________________________________________________________________ 21. เหตุการณในสมัยนั้น ชาติยูดาหตกเปนเมืองขึ้นของชาติตางๆ อาทิเชน เปอรเซีย อัสซีเรีย กรีก ซึ่งผลัดกันมีอํานาจรุงเรือง ใน ที่สุดชาวโรมันซึ่งมีกองทัพเขมแข็งไดแผอาณาเขตครอบครอง ทุกประเทศริมทะเลเมดิเตอรเรเนียน ชาติยูดาหตกเปนเมืองขึ้น ชาวโรมันชานาน ชาวยูดาหหวังจะกูอิสรภาพคืนมา จึงคอยพระ มหาไถดวยจิตเรารอน เพราะเขาใจกันวา พระมหาไถจะเสด็จมา กูชาติบานเมือง และจะบันดาลใหชาติยูดาหมีอํานาจรุงเรืองแทน ชาติโรมันตอไป 22. ประกาศก พระเปนเจาทรงใชผูทํานายศักดิ์สิทธิ์บางคนมาสั่ง สอนชาติอิสราเอลในทุกยุคทุกสมัย ผูทํานายเหลานี้ไดกลาว ทํานายถึงพระมหาไถไวมากมาย ผูทํานายนี้เรียกวา ประกาศก ประกาศกที่สําคัญคือ อิสยาห เอลียาห เยเรมีย เอเสเคียล และ ดาเนียล ฯลฯ

-39-


__________________________________________________________________________

บุคคลสําคัญในพันธสัญญาเดิม ในประวัติศาสตรของชาติอิสราเอล มีบุคคลสําคัญมากมายที่ เปนตัวอยางแหงความดีงาม 23. โทบิต เปนผูมีใจบุญซึ่งคอยชวยเหลือเพื่อนมนุษย และชวยฝงศพ ผูตายไรญาติ ภายหลังกลายเปนคนตาบอดและตกทุกขไดยาก แตยังคงซื่อสัตยและไววางใจในพระเปนเจาเสมอ พระเปนเจา ไดใชทูตสวรรคราฟาแอลใหมาชวยเหลือ โดยจําแลงกายมานํา ทางแกบุตรชายของทาน ในการเดินทางไปทวงหนี้สินจากเพื่อน ไดสําเร็จ และยังชวยใหหายจากตาบอดดวย 24. โยบ เปนผูซื่อสัตยตอพระเปนเจาอยางมั่นคง แตกอนเคยร่ํารวย ภายหลังทานตองสูญเสียทรัพยสมบัติ เสียบุตรทุกคนและมีโรค รายเนาเปอยทั้งรางกาย โยบยังคงสรรเสริญพระเปนเจาและ ซื่อสัตยตอพระองคเสมอ พระเปนเจาทรงโปรดใหทานหายจาก โรครายและกลับร่ํารวยยิ่งกวาเดิม และมีบุตรอีกมาก 25. ดาเนียล สมัยที่ชาติอิสราเอลตกเปนเมืองขึ้น และมีผูใสรายเพื่อ ประหารชีวิตนางซูซาน พระเปนเจาทรงใชประกาศกดาเนียลไป ชวยนางใหพนมลทิน -40-


_________________________________________________________________________ 26. ยูดิธ เปนสตรีกลาหาญและมีความเชื่อมั่นในพระเปนเจา นาง ไดกูชาติยูดาหโดยใชกลอุบายตัดศีรษะของแมทัพขาศึกชื่อ โฮโล เฟอรเนส ซึ่งยกกองทัพมาลอมเมือง กองทัพยูดาหไดชัยชนะ เพราะวีรกรรมของนาง 27. พระนางเอสเธอร สมัยที่ชาติยูดาหตกเปนเมืองขึ้น ขุนนาง คนสนิ ท ของกษั ต ริ ย อ าหสุ เ อรั ส ได คิ ด จะริ บ ทรั พ ย ส มบั ติ แ ละ ทําลายลางชาวยูดาหใหหมดสิ้น พระนางเอสเธอรซึ่งเปนราชินี ไดเสี่ยงชีวิตเขาวิงวอนกษัตริยอาหสุเอรัสใหเมตตาชาวยูดาหได สําเร็จ

-41-


__________________________________________________________________________

บทที่ 10 พระเมสสิยาห (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 422-424)

39. พระเปนเจาไดสัญญาจะใชพระเมสสิยาหมาชวยมนุษยที่ผิดไป แลว และไดรื้อฟนคําสัญญานี้แกบรรพบุรุษตลอดมาทุกสมัย 40. พระองคไดเลือกสรรชาติหนึ่งไวเปนพิเศษ เพื่อใหพระเมสสิยาห บังเกิดในชาตินี้ พระองคดูแลเขาใกลชิด ใหเขานับถือพระเปนเจา เสมอมา 41. พระองค ไ ดใ ชป ระกาศกมากมายมาทํ า นายถึงพระเมสสิ ย าห และสั่ ง สอนคนทุ ก สมั ย ให เ ตรี ย มจิ ต ใจต อ นรั บ พระเมสสิ ย าห ประกาศกองคสุดทายคือ นักบุญยอหน บัปติสต ซึ่งไดประกาศ ชี้ตัวพระเมสสิยาหที่เสด็จมาแลว คือ พระเยซูเจา 42. พระเมสสิยาห คือพระบุตรที่บังเกิดเปนมนุษยจากพระนาง มารีย ดวยฤทธิ์อํานาจของพระจิตเจา ชื่อวาพระเยซูคริสตเจา 43. พระเยซูเจามีบุคคลเดียว คือ องคพระบุตร แตมีสองธรรมชาติ คือเปนทั้งพระเปนเจาและเปนมนุษยดวย

-42-


_________________________________________________________________________ 1.

“เยซู” แปลวา ผูชวยใหรอด “คริสตเจา” มาจากคํา “คริสตูส” แปลวา ผูที่ไดรับการอภิเษกดวยน้ํามัน ไดแก พระสงฆ กษัตริย และประกาศกผูทํานาย คํา “เมสสิยาห” และ “คริสตเจา” มี ความหมายอยางเดียวกัน ซึ่งผูทํานายสมัยกอนใชเรียกผูยิ่งใหญ

2.

ซึ่งจะเสด็จมาชวยมนุษยทั่วโลกใหรอด ประกาศก คือผูซึ่งไดรับอํานาจพิเศษจากพระเปนเจาใหมา สั่งสอนมนุษยในสมัยตางๆ แตโบราณกาล

“กุมารคนหนึ่งไดเกิดมาเพื่อเรา และพระเปนเจาไดประทาน พระบุต รของพระองคแกเรา

พระบุ ตรผูนี้เ ปน ผูรับภาระปกครอง

อาณาจักรทั้งมวล พระนามของพระองคคือ พระเจาผูแนะนําที่นา พิศวง” (อสย 9:6) พระเปนเจาเองจะเสด็จมาและจะชวยพวกทานใหรอด (อสย 25:6)

-43-


__________________________________________________________________________ 39. พระเปนเจาไดสัญญาอะไรแกมนุษยที่ผิดไปแลว 40. พระเปนเจาไดจัดเตรียมอะไรสําหรับพระเมสสิยาห 41. พระเปนเจาใชใครมาสอนเรื่องพระเมสสิยาห 42. พระเมสสิยาหเปนใคร 43. พระเยซูเจามีกี่บุคคล และมีกี่ธรรมชาติ

-44-


_________________________________________________________________________

บทแทรก ผูเกี่ยวกับพระเมสสิยาห 1.

บิดามารดาของพระนางมารียสืบ ตระกูล มาจากกษัตริยด าวิด ชื่อยออากิมและอันนา ทั้งสองเปนผูศรัทธา เครงครัดในการ ปรนนิบัติพระเปนเจา แตไมมีบุตรเลย เพราะเปนหมัน จึงได วิงวอนขอพระเปนเจาโปรดใหมีบุตรสักคนหนึ่ง เมื่อทั้งสองทาน มีอายุเขาวัยชรา จึงไดบุตรหญิงคนหนึ่งชื่อ มารีย

2.

พระเปนเจาไดเลือกสรรพระนางมารียใหเปนมารดาของพระเมสสิยาห พระนางจึงไดรับการยกเวนจากบาปกําเนิด และเปนผู ปฏิสนธินิรมล

3.

พระนางมารียไดถวายตัวแดพระเปนเจาตั้งแตเยาววัย และได ปฏิญาณจะรัก ษาพรหมจรรย ภายหลังพระนางแตงงานกับ นักบุญโยเซฟ โดยใหคํามั่นสัญญาตอกันวา จะอยูดวยกันอยาง บริสุทธิ์ (มธ 1:18-25) (พรหมจรรย คือ การรักษาความเปนโสด และถือความบริสุทธิ์ อยางเครงครัด)

4.

พระเปนเจาไดใชทูตสวรรคคาเบรียลมาแจงแกพระนางมารียวา พระนางจะไดเ ป น มารดาของพระเมสสิย าห -45-

ทูต สวรรคไ ด


__________________________________________________________________________ สรรเสริญพระนางวา “วันทามารีย เปยมดวยหรรษทาน พระ เจาสถิตกับทาน ผูไดรับพระพรกวาสตรีใดๆ”

พระนางมารีย

พอทราบวาจะไดเ ปน มารดาของพระเมสสิย าหโ ดยยั งคงเป น พรหมจรรยอยู พระนางยอมรับคําทูตสวรรคอยางสุภาพ พระ บุตรจึงไดรับปฏิสนธิในครรภของพระนางดวยฤทธิ์อํานาจของ พระจิตเจา (การตีระฆังเชา เที่ยง ค่ํา ทุกวัน เพื่อเตือนใหสวดบททูตสวรรค 5.

แจงขาว และระลึกถึงธรรมล้ําลึกนี้) พระนางมารียไดเสด็จไปเยี่ยมนักบุญเอลีซาเบธ อาศัยพระจิต เจาดลใจ นักบุญเอลีซาเบธสรรเสริญพระนางมารียวา (พระ เยซู) “โอรสในครรภของทานทรงไดรับพระพรยิ่งนัก” (ลก 1:39-45)

6.

เมื่อพระนางมารียตั้งครรภ นักบุญโยเซฟเกิดความสงสัย คิดจะ ถอนหมั้นอยางเงีย บๆ

ทูต สวรรคไ ดแจงแกทานวาพระนาง

ตั้งครรภดวยฤทธิ์อํานาจของพระจิตเจา และบุตรในครรภคือ พระเมสสิยาห และนักบุญโยเซฟจึงอยูรับใชพระนางตลอดชีวิต ของทาน

-46-


_________________________________________________________________________ 7.

พระเยซูเจาเวลากอนจะสิ้นพระชนมบนไมกางเขน

ไดทรง

แตงตั้งพระนางมารียเปนมารดาของมนุษยทุกคน โดยตรัสแก นักบุญยอหนวา “นี่คือคุณแมของทาน” (ยน 19:27) 8.

พระนางมารียไดรับเกียรติยกขึ้นสวรรคทั้งกายและวิญญาณ สม กับที่เปนผูปฏิสนธินิรมล และเปนมารดาของพระเมสสิยาห (พระสันตะปาปา ปโอ ที่ 12 ไดประกาศขอความเชื่อนี้ วันที่ 1

9.

พฤศจิกายน 1950) นักบุญโยเซฟ มีอาชีพเปนชางไม ไดทํางานหากินเลี้ยงดูพระ เยซูเจาและแมพระดวยความยากลําบาก

นักบุญโยเซฟเปน

หัวหนาครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ จึงเปนที่พึ่งของครอบครัวคาทอลิก เปนที่พึ่งของกรรมกร และเปนที่พึ่งของผูใกลตายทั้งหลาย 10. ยอหน บัปติสต บิดาของยอหนเปนพระสงฆยูดาห ชื่อเศคาริยาห และมารดาชื่อ เอลีซาเบธ สามีภรรยาคูนี้เปนหมัน ไมมีบุตรจน เขาวัยชราแลว ทั้งสองตางสวดภาวนาวอนขอพระเปนเจาโปรด ใหตนมีบุตรอยูเสมอ วันหนึ่งขณะที่เศคาริยาหทําการบูชาใน พระวิหาร ทูตสวรรคไดประจักษมาแจงวา พระเปนเจาทรงฟง คําภาวนาของทานแลว ภรรยาทานจะมีบุตรชายซึ่งจะตองใชชื่อ วา ยอหน บัปติสต แตเศคาริยาหไมยอมเชื่อ จึงกลายเปนใบ ตอมาเมื่อภรรยาของเศคาริยาหตั้งครรภแลว พระนางมารียได -47-


__________________________________________________________________________ เสด็จไปเยี่ยม เด็กในครรภนั้นจึงพนบาปกําเนิด และเมื่อเด็กนั้น เกิดมา เศคาริยาหไดตั้งชื่อวา ยอหน บัปติสต ตามคําสั่งของ ทูตสวรรค เศคาริยาหจึงหายจากเปนใบ 11. ยอหน บัปติสต เมื่อเจริญเติบโตขึ้นมาก็ไดไปอยูในที่เปลี่ยว จําศีลภาวนาเครงครัด ประชาชนตางเลื่อมใสศรัทธาและไปฟง คําสั่งสอนของทาน ยอหนจึงประกาศวา พระเมสสิยาหเสด็จ มาแลว

ยอหน ไดโ ปรดพิธีลางแกค นที่ เ ชื่อ และยอมกลับ ใจ

ภายหลังพระเยซูเจาเสด็จไปรับพิธีลางจากนักบุญยอหน พระจิต เจาดลใจใหยอหนรูจักพระเยซูเจาวาเปนพระเมสสิยาห 12. เมื่อพระเยซูเจาทรงรับพิธีลางแลว เสด็จขึ้นจากน้ํา ทันใดนั้น ทองฟาเปดออก พระองคทรงเห็นพระจิตของพระเจาเสด็จลงมา เหนือพระองคดุจนกพิราบ แลวมีเสียงจากสวรรคกลาววา “ผูนี้ เปนบุตรสุดที่รักของเรา เปนที่โปรดปรานของเรา” (มธ 3:17) 13. นักบุญยอหนไดไปตักเตือนกษัตริยเฮโรดที่ประพฤติชั่ว จึงถูก กษัตริยเฮโรดคุมขังไว และในที่สุดก็ถูกตัดศีรษะ

-48-


_________________________________________________________________________

บทที่ 11 พระเยซูเจาในปฐมวัย (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 525-534)

44. พระเยซูเจาบังเกิดในถ้ําเลี้ยงสัตวที่เมืองเบธเลเฮม

ประเทศ

ปาเลสไตน (ลก 2:4) 45. พระเยซูเจาบังเกิดเปนคนยากจนเชนนี้ เพื่อสอนมนุษยมิใหหลง ผูกพันในทรัพยสมบัติ ชื่อเสียง อํานาจและความสนุกสบายใน โลกนี้ 46. เมื่อพระเยซูเจาทรงบังเกิด ทูตสวรรคไดแจงขาวแกคนเลี้ยงแกะ คนเลี้ยงแกะจึงไดเขาเฝาพระองค (ลก 2:9-20) 47. พระเยซูเจาบังเกิดไดแปดวัน แลวทรงรับพิธีเขาสุหนัต และไดรับ พระนามวา เยซู เมื่อครบสี่สิบวัน พระนางมารียไดถือศีลชําระ และนําพระองคไปถวายในพระวิหาร ซีโมนผูเฒาไดรูจักพระองค ในโอกาสนั้น 48. บัณฑิตสามองคเห็นดาวประหลาด

และรูจากคําทํานายวา

พระเมสสิยาหบังเกิดแลว จึงเดินทางมานมัสการพระองค (มธ 2)

-49-


__________________________________________________________________________ 49. กษัตริยเฮโรดคิดจะฆาพระเยซูเจา นักบุญโยเซฟไดรับคําสั่งจาก ทูตสวรรค จึงไดพาพระเยซูเจาและแมพระหนีไปอยูประเทศ อียิปต ภายหลังจึงไดไปอยูที่เมืองนาซาเร็ธ (มธ 2:13-23) 50. เมื่ออายุสิบสองขวบ พระเยซูเจาไดเดินทางไปกรุงเยรูซาเล็มกับ บิดามารดา พระองคไดหายไปสามวัน บิดามารดาไดพบพระองค โตตอบกับพวกนักปราชญในพระวิหาร (ลก 2:41-50) 51. พระเยซูเจาทรงอยูกับบิดามารดาสามสิบป พระองคนบนอบ เชื่อฟง ชวยทํางานและสวดภาวนา เปนตัวอยางแกเรา (ลก 3:23)

1.

เราฉลองวันเกิดของพระเยซูเจาในวันที่ 25 ธันวาคม เรียกวา วันคริสตสมภพ

2.

นักบุญโยเซฟและแมพระ ตองไปจดสํามะโนครัวที่เมืองเบธเลเฮม ตามคําสั่งของจักรพรรดิแหงกรุงโรม เมื่อหาที่พักตามบานเรือน ไมได จึงตองไปอาศัยถ้ําเลี้ยงสัตว

3.

โหราจารยไดนําทองคํา กํายานและมดยอบ ไปถวายแดพระเยซู เจา -50-


_________________________________________________________________________ 44. พระเยซูเจาบังเกิดที่ไหน 45. ทําไมพระเยซูเจาจึงบังเกิดเปนคนยากจนเชนนั้น 46. ใครทราบวาพระเยซูเจาบังเกิด 47. พระเยซูเจาไดรับพิธีอะไรเมื่อเกิดไดแปดวันและสี่สิบวัน 48. ใครเดินทางมานมัสการพระเยซูเจา 49. กษัตริยเฮโรดคิดอะไรตอพระเยซูเจา 50. เมื่ออายุสิบสองขวบ พระเยซูเจาไดทําอะไร 51. พระเยซูเจาอยูกับพอแมนานเทาใด และทรงทําอะไร

-51-


__________________________________________________________________________

บทที่ 12 การเทศนาประกาศพระธรรม (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 535-556)

52. พระเยซูเจาเมื่อพระชนมสามสิบพรรษา ไดรับพิธีลางจากนักบุญ ยอหน บัปติสต และไปในที่เปลี่ยวเพื่อจําศีลอดอาหาร และสวด ภาวนาสี่สิบวัน และพระองคไดถูกประจญจากปศาจ 53. ตอจากนั้นพระเยซูเจาเลือกสาวกสิบสองคน และไดออกเทศนา ประกาศพระธรรมแกประชาชน (ลก 5) 54. พระเยซูเจาทรงสอนเรื่องความรักที่แทตอพระเปนเจา และตอ เพื่อนมนุษย และทรงสอนใหถือพระบัญญัติอยางถูกตองครบ ครัน 55. พระเยซูเจาทรงประกาศยืนยันวาพระองคเปนพระเมสสิยาหและ เปนบุตรพระเปนเจา (มธ 16:16) 56. พระองคพิสูจนวา พระองคเปนพระเปนเจาดวยการทํานาย การ ทําอัศจรรยมากมาย และเปนตนดวยการกลับคืนพระชนมชีพ ของพระองคเอง

-52-


_________________________________________________________________________ 57. พระเยซูเจาไดทํานายถึงการทรมาน การถูกตรึงกางเขนและการ คืนชีพของพระองคเอง และทรงทํานายวากรุงเยรูซาเล็มจะถูก ทําลาย พระศาสนจักรจะถูกเบียดเบียน ซึ่งไดเปนจริงครบถวน 58. พระเยซูเจาทรงทําอัศจรรยมากมาย คือ รักษาโรคนานาชนิดให หายทั น ที

ทํ าใหค นตายกลั บ คืนชี พ และแสดงอํานาจเหนื อ

ธรรมชาติหลายอยาง 59. พวกฟาริสีและพระสงฆยิวตางอิจฉา และเกลียดชังพระเยซูเจา พวกเขาคอยจับผิดและหาโอกาสประหารชีวิตพระองค

1.

วรสาร แปลวา ถอยคําประเสริฐ หมายถึงพระธรรมคําสอนของ พระเยซูเจา ซึ่งเขียนขึ้นโดยนักบุญมัทธิว มาระโก ลูกา และ ยอหน

2.

ปศาจไดประจญพระเยซูเจาคือ ก. ใหพระองคทําอัศจรรยเปลี่ยนกอนหินเปนขนมปง ข. ใหอวดฤทธิ์อํานาจกระโดดลงจากยอดวิหาร

3.

ค. ใหนมัสการมันเพื่อแลกกับทรัพยสมบัติในโลกนี้ อัศจรรย คือ สิ่งประหลาดเหนือธรรมชาติที่เกินความสามารถ ของมนุษย มีแตพระเปนเจาผูเดียวที่ทําได -53-


__________________________________________________________________________ 4.

พระเยซูเจาไดรักษาโรคเรื้อน ทําใหคนตาบอดกลับมองเห็น คน หูหนวกกลับไดยิน คนงอยกลับเดินได ทรงขับไลปศาจที่สิงในตัว คน และบังคับพายุ

5.

พระเยซูเจาไดทําใหคนตายกลับคืนชีพตามที่เลาในพระคัมภีร มี สามคนคือ ลูกชายของแมมา ย ลูกสาวของไยรัส หัวหนาโรงธรรม และลาซารัส

6.

พวกฟาริสีและพระสงฆยิวเกลียดชังพระเยซูเจา เพราะเหตุนี้ ก. ประชาชนเลื่อมใสพระเยซูเจามากกวาพวกเขา ข. พระเยซูเจาประกาศวาพระองคเปนพระเมสสิยาห ไมตรง ความเข า ใจของเขาที่ ต อ งการผู มี อํ า นาจฝ า ยโลกเพื่ อ กู อิสรภาพของชาติยิว ค. พระเยซูเจาไดตําหนิการกระทําผิดของเขา เชน การทําบุญ เอาหนาและการกดขี่ผูอื่น

52. เมื่อพระชนมสามสิบพรรษา พระเยซูเจาไดทําอะไร 53. ตอจากนั้นพระองคไดทําอะไร 54. พระเยซูเจาไดสอนเรื่องอะไร 55. พระเยซูเจาประกาศวาพระองคเปนผูใด -54-


_________________________________________________________________________ 56. พระเยซูเจาไดพิสูจนอยางไรวาพระองคเปนพระเจา 57. พระเยซูเจาไดทํานายถึงเรื่องอะไร 58. พระเยซูเจาไดทําอัศจรรยอะไรบาง 59. มีใครคิดรายตอพระเยซูเจา

-55-


__________________________________________________________________________

บทที่ 13 การไถกู (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 610-618)

60. ในคืนสุดทาย พระเยซูเจาทรงกินเลี้ยงปสกากับสาวก ไดลางเทา ใหสาวก และทรงตั้งศีลมหาสนิทขึ้น 61. ยูดาส สาวกผูทรยศไดกินสินบนพาทหารไปจับกุมพระเยซูเจา ขณะที่กําลังสวดภาวนาในสวนเกทเสมนี 62. พระเยซูเจาไดถูกนําไปขึ้นศาลของพระสงฆยิว แตพวกเขาหา ความผิดพระองคไมได เมื่อพระองคยืนยันวาพระองคเปนบุตร ของพระเปนเจา เขาจึงลงมติใหตัดสินประหารชีวิตพระองคเสีย 63. ขาหลวงโรมันชื่อ ปลาต รูวาพระเยซูเจาไมมีความผิด แตเพราะ กลัวพวกยิว จึงไดอนุมัติใหประหารชีวิตพระเยซูเจาโดยตรึง กางเขน 64. พระเยซูเจาถูกทรมาน ถูกเฆี่ยน ถูกประจาน และสวมมงกุฎ หนาม และถูกตรึงกางเขน 65. พระเยซู เ จ าทรงยอมรับ ความทรมาน ไมกางเขนเชนนี้ เพื่อไถกูมนุษย -56-

และสิ้น พระชนมบ น


_________________________________________________________________________ 66. เมื่อพระเยซูเจาสิ้นพระชนมแลว เขาไดฝงศพของพระองคใน คูหา

1.

พระเยซูเจาถูกตรึงกางเขนบนเนินเขากัลวารีโอ ที่กรุงเยรูซาเล็ม ในวันศุกรศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแตเที่ยงจนถึงบายสามโมงจึงสิ้นพระชนม

2.

กอนสิ้นพระชนม

พระเยซูเ จาไดข อใหพ ระบิด ายกโทษแกผู

ประหารพระองค ไดยกโทษแกโจรคนหนึ่ง และไดแตงตั้งพระนาง มารียเปนมารดาของมนุษยทุกคน โดยตรัสแกนักบุญยอหนวา “นี่คือคุณแมของทาน” (ยน 19:27) 3.

ไดเกิดอัศจรรยมากมายในเวลาที่พระเยซูเจาสิ้นพระชนม คือ ดวงอาทิตยมืดไป แผนดินไหว ภูเขาแตกแยก มีผูตายกลับคืนชีพ และมานในพระวิหารฉีกขาด

4.

พระเยซูเจาสิ้นพระชนมในสวนที่เปนมนุษยเทานั้น

สภาวะ

พระเจาของพระองคทรงอยูเสมอไมรูจักตาย 5.

ในการไถกูมนุษย ไมจําเปนที่พระเยซูเจาจะตองรับความตาย และความทรมานรายแรงเชนนี้ เพราะพระองคเปนพระเปนเจา กิจการบุญเพียงเล็กนอยของพระองคก็มีคามากไมมีสิ้นสุด -57-


__________________________________________________________________________ 6.

พระเยซูเจาทรงยอมรับความทรมานรายแรง และสิ้นพระชนม บนไมกางเขนเชนนี้ เพื่อสอนวาบาปเปนสิ่งที่นาเกลียดเพียงใด และพระองครักมนุษยเพียงใด จนกระทั่งยอมสละชีวิตเพื่อเรา

7.

เมื่อพระเยซูเจาถูกฝงแลว พวกศัตรูระลึกถึงคําที่พระองคกลาว วาจะกลับคืนพระชนมชีพในวันที่สาม เขาจึงใชทหารไปเฝาคูหาที่ ฝงพระศพของพระองค

60. พระเยซูเจาไดทําอะไรในคืนสุดทาย 61. พระเยซูเจาถูกจับกุมอยางไร 62. พระเยซูเจาถูกตัดสินอยางไร 63. ทําไมปลาตจึงอนุมัติใหประหารชีวิตพระเยซูเจา 64. พระเยซูเจาถูกทรมานอยางไร 65. ทําไมพระเยซูเจาจึงยอมรับความทรมานและสิ้นพระชนม 66. เขาไดทําอะไรกับพระศพของพระองค

-58-


_________________________________________________________________________

บทที่ 14 การกลับคืนพระชนมชีพอยางรุงเรือง (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 638)

67. พระเยซู เจาทรงกลั บ คืน พระชนมชีพอยางรุงเรือ งในวัน ที่ส าม หลังจากสิ้นพระชนม ตรงกับวันอาทิตยปสกา เวลาใกลรุง 68. พระเยซูเจาไดประจักษแกสาวกบอยๆ ตลอดระยะเวลาสี่สิบวัน หลังจากนั้น พระองคเสด็จขึ้นสวรรคตอหนาสาวกและศิษยอื่นๆ 69. เมื่อพระเยซูเจาไปสวรรคแลว สาวกไดชุมนุมกันสวดภาวนาคอย รับพระจิตเจา

ในวันที่สิบ พระจิตเจาไดเสด็จมาสูพวกเขา

ปรากฏเปนพายุกลา และเปนรูปคลายลิ้นไฟลอยเหนือพวกเขา 70. พระจิตเจาไดประทานพระคุณตางๆ แกสาวกคือ ประทาน ความรูซึ้งในพระธรรมคําสอน ความรอนรนกลาหาญ พูดภาษา ตางๆ และทําอัศจรรยมากมาย 71. เมื่อไดรับพระจิตเจาแลว สาวกไดแยกกันไปเทศนาสั่งสอนคน ทั่วไปใหรูจักพระเยซูเจา และเขาถือศาสนาของพระองค

-59-


__________________________________________________________________________ 67. พระเยซูเจากลับคืนพระชนมชีพวันใด 68. เมื่อกลับคืนพระชนมชีพแลว พระเยซูเจาไดทําอะไร 69. เมื่อพระเยซูเจาไปสวรรคแลว สาวกไดทําอะไร 70. พระจิตเจาประทานพระคุณอะไรแกสาวก 71. เมื่อไดรับพระจิตเจาแลว สาวกไดทําอะไร

-60-


_________________________________________________________________________

บทแทรก ประวัตยิ อของพระศาสนจักร 1.

นักบุญเปโตร ไดแตงตั้งมัทธีอัส เปนสาวกแทนยูดาส ผูทรยศ เมื่อไดรับพระจิตเจาแลว สาวกไดแยกกันไปเทศนาสั่งสอนคน ทั่วไปใหรูจักพระเยซูเจา ไดมีคนกลับใจเปนคริสตชนมากมาย

2.

(กจ 1:20-26) นักบุญเปโตรและยอหน ไดทําอัศจรรยรักษาคนงอยที่ประตู พระวิหาร จึงถูกพระสงฆยิวจับกุมไปเฆี่ยนและหามมิใหพูดถึง พระเยซูเจา แตเปโตรไดตอบวา “เราตองเชื่อฟงพระเปนเจายิ่ง

3.

กวาเชื่อฟงมนุษย” สเตเฟน สังฆานุกรรูปหนึ่งไดโตเถียงกับพวกยูดาห ไดถูกพวก นั้นรุมขวางดวยกอนหินถึงแกความตาย แตกอนตายไดสวดอุทิศ แกผูประหารตน ทานเปนมรณสักขีองคแรกที่สละชีวิตเพื่อพระ

4.

เยซูเจา เปาโล เดิมชื่อเซาโล เปนผูเครงครัดในศาสนายูดาห และไดมี สวนเกี่ยวของในการประหารสเตเฟน เซาโลไดขออํานาจจาก ผูใหญเพื่อจับคริสตชนมาลงโทษ ขณะที่เดินทางไปเมืองดามัสกัส เกิดฟาผาใกลๆ จนเซาโลตกจากมาและตาบอดไป ทั้งมีเสียง -61-


__________________________________________________________________________ ถามวา “เซาโล เซาโล ทานเบียดเบียนเราทําไม” เซาโลจึงถาม วา “พระเจาขา พระองคคือใคร” พระองคตรัสวา “เราคือเยซู ซึ่งทานกําลังเบียดเบียน” เซาโลจึงไดกลับใจ และเมื่อรับศีลลาง บาปแลวตาก็หายบอดทันที

เซาโลไดเปลี่ยนชื่อเปนเปาโล

และออกประกาศเทศนาแกคนตางชาติ

ทําใหคนกลับใจเปน

คาทอลิกมากมาย ทานไดเดินทางไปเกือบทั่วอาณาจักรโรมัน และที่สุดทานไดสละชีวิตเพื่อพระเยซูเจา โดยถูกจําคุกหลายป 5.

และถูกตัดศีรษะที่กรุงโรม กรุงเยรูซาเล็มถูกทําลาย ในราว ค.ศ. 72 พวกยิวไดรวมกําลัง กูอิสรภาพ ชาวโรมันจึงสงกองทัพไปปราบปรามโดยลอมกรุง เยรูซาเล็มไวชานาน ในที่สุด ชาวโรมันไดทําลายกรุงเยรูซาเล็ม อยางสิ้นเชิง และไถตัวเมืองเอาเกลือโรย สมตามคําทํานายของ

6.

พระเยซูเจาที่วา “จะไมมีหินซอนกันถึงสามแผนเหลืออยูอีกเลย” การเบียดเบียนศาสนาคาทอลิก จักรพรรดิเนโรไดเผากรุงโรม เพื่อสรางเมืองใหม พระองคเชื่อคํายุยงของพวกยิว ศัตรูของชาว คาทอลิก จึงไดใสความวาคาทอลิกเปนผูเผาเมือง และออก กฎหมายลงโทษรายแรงแกคาทอลิก นับตั้งแตนั้นมาเปนเวลา สามรอยกวาป พระศาสนจักรคาทอลิกจึงถูกเบียดเบียนอยาง รุนแรง คาทอลิกจํานวนมากยืนยันความเชื่อในพระเยซูเจาดวย -62-


_________________________________________________________________________ การเสียสละชีวิตเพื่อยืนยันความเชื่อของตนนี้เรียกวา มารตีร หรือมรณสักขี ซึ่งมีมากกวาสามลานคนในสมัยนั้น มีทั้งผูดีมี สกุ ล และพวกเจ า นายและคนสามั ญ

มี ทั้ ง เด็ ก และสตรี

นักปราชญและคนธรรมดา ตางยอมพลีชีวิตดวยความสมัครใจ เพื่อพระเยซูเจา แตวายิ่งมีคาทอลิกถูกฆาตายมาก ก็ยิ่งมีคน กลับใจเปนคาทอลิกมากทวีขึ้น จนกลาวกันวา “โลหิตของมรณ สักขีเปนเมล็ดพันธุของคาทอลิก” คาทอลิกสมัยนั้นตองหลบ ซอนในอุโมงคใตดิน เรียกวา “กาตาคอมบ” อันมีเหลืออยู 7.

มากมายในกรุงโรมจนทุกวันนี้ เปโตร ขณะที่พระศาสนจักรถูก เบียดเบียนอยางรุนแรง นักบุญเปโตรไดหนีออกจากกรุงโรม พบพระเยซูเจาแบกกางเขน สวนทาง เปโตรจึงถามวา “โกววาดิส” (พระองคจะไปไหน) พระเยซูเจาตอบวา “เราจะกลับไปกรุงโรมใหเขาตรึงกางเขนเรา อีกครั้งหนึ่ง” นักบุญเปโตรจึงทราบน้ําพระทัยของพระองค ทาน ไดกลับไปกรุงโรม และไดถูกจับตรึงกางเขนเอาศีรษะลงดิน ศพ ของเปโตรถูกฝงที่กรุงโรม อันเปนที่ตั้งพระวิหารใหญที่สุดในโลก

8.

เวลานี้ผูสืบตําแหนงของนักบุญเปโตรไดชื่อวา พระสันตะปาปา คอนสตันติน ในราวตนศตวรรษที่ 4 จักรพรรดิคอนสตันตินได ใหเสรีภาพแกพระศาสนจักรคาทอลิก และเลิกเบียดเบียนพระ -63-


__________________________________________________________________________ ศาสนา ตอมาพระองคไดเขานับถือศาสนาคาทอลิกดวย และทํา ใหพระศาสนาแพรอยางกวางขวาง อาณาจักรโรมันไดทรุดโทรม ต อ มาพวกบาบาเรี ย นหรื อ คนป า ได บุ ก รุ ก อาณาจั ก รโรมั น และทําลายความเจริญรุงเรืองของอาณาจักรโรมัน พระศาสน จักรคาทอลิกไดทํางานหนักเพื่อสั่งสอนคนปาเหลานั้นทีละเล็กที 9.

ละนอย ในที่สุดก็ไดผลสําเร็จงดงาม การแตกแยก เมื่ออาณาจักรโรมันไดยายเมืองหลวงจากกรุง โรมไปตั้งที่เมืองไบแซนไทนหรือคอนสแตนติโนเปล พระสังฆราช เมืองนั้นจึงตั้งตัวเปนหัวหนาพระศาสนจักร ไมยอมขึ้นกับพระ สันตะปาปาที่กรุงโรม พระศาสนจักรไดแตกแยกเปนสองฝาย ที่ แตกแยกออกไปนี้เรียกวา กิสมาติก ซึ่งภายหลังตกอยูในการ ยึดครองของพวกอิสลาม และแตกแยกกันเองเปนหลายพวก บางพวกไดกลับเขามารวมกับพระศาสนจักรคาทอลิก โดยรักษา

จารีตเดิมไว เรียกวา จารีตตะวันออก 10. โปรเตสแตนท ราวศตวรรษที่ 16 (ค.ศ. 1517) มารติน ลูเธอร นักพรตคณะนักบุญออกัสติน ไดตอสูพระสันตะปาปา และตั้ง ศาสนาของตนขึ้นใหมในประเทศเยอรมัน

ทั้งยังไดเปลี่ยน

ขอความเชื่อและแกไขพระธรรมคํ าสอนตามใจชอบ เรียกวา โปรเตสแตนทหรือคริสเตียน -64-

พวกนี้


_________________________________________________________________________ 11. แองกลีกันหรือเชิรช ออฟ อิงแลนด ราวศตวรรษที่ 16 กษัตริยเ ฮนรี่ที่ 8 ของอังกฤษไดข อหยาเพื่อสมรสใหมอีก พระสันตะปาปาไมอนุญาตเพราะขัดตอพระบัญญัติพระเปนเจา กษัตริยเฮนรี่จึงไดแยกศาสนาในอังกฤษออกไป ไมยอมขึ้นตอ พระสั น ตะปาปาที่ก รุ งโรม

พวกคาทอลิก ที่ซื่อ สัต ยตอ พระ

สันตะปาปาไดถูกเบียดเบียน นักบุญโธมัส มอร ไดสละชีวิตเพื่อ พระศาสนาในโอกาสนี้ดวย 12. พระศาสนจักรคาทอลิก

ในประวัติศาสตร แมวาจะถูก

เบียดเบียนจากศัตรูภายนอก ถูกบอนทําลายจากศัตรูภายใน และเกิดแตกแยกกัน แตพระศาสนจักรยังสามารถดําเนินสืบมา เปนปกแผนอยางมั่นคง และเผยแพรไปทั่วโลก ทั้งยังคงรักษา พระธรรมคําสอนและอํานาจที่ไดรับจากพระเยซูเจาสืบมาอยาง ครบครัน

-65-


__________________________________________________________________________

บทที่ 15 พระศาสนจักรโรมันคาทอลิก (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 830-838)

72. พระเยซู เ จาทรงพอพระทั ย ที่จะใหมนุ ษ ย รว มรั บ ผลประโยชน จากการไถกูของพระองค ดวยการเขาเปนประชากรของพระเปน เจา ในพระศาสนจักรของพระองค 73. พระศาสนจักรโรมันคาทอลิก คือ ประชากรของพระเปนเจา ซึ่ง อยูภายใตการปกครองของสมเด็จพระสันตะปาปา ผูแทนของ พระเยซูเจาบนแผนดินนี้ 74. พระเยซู เ จาไดตั้งพระศาสนจั ก ร

ดว ยการมอบอํานาจของ

พระองคแกนักบุญ เปโตรและอัครสาวก ในการสอน การ ปกครอง และโปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ 75. พระเยซูเจาไดรับรองวา พระศาสนจักรจะไมผิดพลั้งในการสอน และจะดํารงอยูจนสิ้นพิภพ

1.

พระเยซูเจาไดทรงสอนถึงเรื่องพระราชัยสวรรค และอาณาจักร ของพระเยซูเจา ซึ่งหมายถึงพระศาสนจักรที่พระองคจะตั้งขึ้น -66-


_________________________________________________________________________ พระองคไดสัญญาวา จะสรางพระศาสนจักรบนศิลา ซึ่งเปนชื่อ ของนักบุญเปโตร นอกจากนั้นทรงเปรียบเทียบพระศาสนจักร ของพระองคเปนฝูงแกะ หรืออวนที่จับปลามากมาย หรือไรองุน ตลอดจนการกินเลี้ยง ฯลฯ สิ่งเหลานี้แสดงวาพระเยซูเจาไดมี เจตจํานงจะสถาปนาพระศาสนจักรของพระองคขึ้น 2.

พระเยซูเจาไดทรงคัดเลือกอัครสาวกสิบสององค ทรงเอาใจใส ดูแลเขาเปนพิเศษ และใชเขาไปสั่งสอนทั่วโลก ตลอดจนมอบ อํานาจของพระองคทั้งสิ้นแกพวกเขา และสัญญาวาจะอยูกับ พวกเขาตลอดไป ประตูนรกจะไมมีวันชนะพวกเขาได

ขอนี้

แสดงวาพระเยซูเจาทรงตั้งพระศาสนจักรขึ้นอยางชัดเจน 3.

พระเยซู เ จ า พอพระทั ย จะช ว ยมนุ ษ ย ทุ ก คนให เ อาตั ว รอดไป สวรรคโดยทางพระศาสนจักร พระองคพอพระทัยที่จะใหมนุษย ไดรับผลจากการไถกูในสังคมศักดิ์สิทธิ์นี้ พระศาสนจักรจึงเปน หนทางที่งายและปลอดภัยไปสูความรอดชั่วนิรันดร

4.

พระศาสนจักรไดชื่อวา “โรมัน” เพราะหัวหนาสูงสุด คือ พระ สันตะปาปา ทรงอยูที่กรุงโรม “คาทอลิก” แปลวา สากล เพราะ เปนพระศาสนจักรสําหรับทุกชาติทุกภาษา

-67-


__________________________________________________________________________

พระเยซูเจาตรัสกับซีโมน เปโตร วา “ซีโมน บุตรของยอหน ทาน รักเรามากกวาคนเหลานี้รักเราไหม” เปโตรทูลตอบวา “ใชแลว พระ เจาขา พระองคทรงทราบวาขาพเจารักพระองค” พระเยซูเจาตรัสกับ เขาวา “จงเลี้ยงลูกแกะของเราเถิด” พระองคตรัสถามเขาอีกเปนครั้ง ที่สองวา “ซีโมน บุตรของยอหน ทานรักเราไหม” เขาทูลตอบวา “ใช แลว พระเจาขา พระองคทรงทราบวาขาพเจารักพระองค” พระองค ตรัสกับเขาวา “จงดูแลลูกแกะของเราเถิด” พระองคตรัสถามเปนครั้ง ที่สามวา “ซีโมน บุตรของยอหน ทานรักเราไหม” เปโตร รูสึกเปนทุกข ที่พระองคตรัสถามตนถึงสามครั้งวา ทานรักเราไหม เขาทูลตอบวา “พระเจาขา พระองคทรงทราบทุกสิ่ง พระองคทรงทราบวาขาพเจารัก พระองค” พระเยซูเจาตรัสกับเขาวา “จงเลี้ยงดูแกะของเราเถิด” (ยน 21:15-17) 72. มนุษยจะรวมกันไดรับผลประโยชนจากการไถกูอยางไร 73. พระศาสนจักรโรมันคาทอลิกคืออะไร 74. พระเยซูเจาไดตั้งพระศาสนจักรอยางไร 75. พระเยซูเจาไดรับรองอะไรแกพระศาสนจักร -68-


_________________________________________________________________________

บทที่ 16 การปกครองพระศาสนจักร (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 880-892)

76. พระศาสนจักรคาทอลิกมีการปกครองเปนลําดับชั้นขึ้นไปดังนี้ คือ สัตบุรุษ พระสงฆ พระสังฆราชและพระสันตะปาปา ซึ่งเปน หัวหนาสูงสุด 77. คาทอลิกเคารพยกยองพระสันตะปาปาในฐานะที่เปนผูแทนพระ เยซูเจาบนแผนดินในการปกครองคาทอลิกทั่วโลก 78. พระสังฆราชเปนผูสืบตําแหนงอัครสาวกของพระเยซูเจา และ เปนผูรวมงานของพระสันตะปาปาในการปกครองพระศาสนจักร 79. พระสันตะปาปาเมื่อประกาศพระธรรมคําสอนเปนทางการ และ คณะพระสังฆราชเมื่อประกาศพระธรรมรวมกับพระสันตะปาปา จะไมรูจักผิดพลั้งในขอที่ตองเชื่อและศีลธรรม หรือปฏิบัติเพื่อ เอาตัวรอดไปสวรรค 80. สัตบุรุษคาทอลิกและพระสงฆเปนผูรวมงานของพระสันตะปาปา และพระสังฆราชในกิจการตางๆ ของพระศาสนจักรตามฐานะ และหนาที่ของตน

-69-


__________________________________________________________________________ 1.

พระคารดินัลเปนที่ปรึกษาใกลชิดพระสันตะปาปา ชวยปกครอง พระศาสนจักร เปนหัวหนากระทรวงศาสนา พระคารดินัลมีสิทธิ์ เลือกและไดรับเลือกเปนพระสันตะปาปาองคตอไป

2.

พระสันตะปาปาปกครองทั่วโลก โดยแบงการปกครองทองที่ ออกเปนเขต แตละอาณาเขตเรียกวาสังฆมณฑล

โดยมี

พระสังฆราชเปนประมุขสังฆมณฑล 3.

พระสั ง ฆราชมี อํ านาจปกครองพระสงฆแ ละสัต บุ รุษ ในสั งฆมณฑลของตน โดยแตงตั้งพระสงฆเจาวัดปกครองแตละวัด

4.

เวลานี้ประเทศไทยมี 10 สังฆมณฑล คือ กรุงเทพฯ จันทบุรี นครราชสีมา ราชบุรี อุบลราชธานี อุดรธานี ทาแร-หนองแสง เชียงใหม นครสวรรค และสุราษฎรธานี

5.

สัตบุรุษคาทอลิก เปนผูรวมงานของผูใหญทางศาสนาในกิจการ ตางๆ ของพระศาสนา หมายความวา นอกจากเคารพเชื่อฟง แลว สัตบุรุษตองมีสวนในการทะนุบํารุง และเผยแพรพระ ศาสนาในดานตางๆ ตามกําลังความสามารถของตน เปนตน รวมในกิจการคาทอลิกคณะตางๆ เชน พลมารี วินเซนต เดอ ปอล ฯลฯ -70-


_________________________________________________________________________ 76. พระศาสนจักรมีการปกครองอยางไร 77. พระสันตะปาปาสืบตําแหนงจากใคร 78. พระสังฆราชสืบตําแหนงจากใคร 79. พระสันตะปาปาและพระสังฆราชสอนโดยไมผิดพลั้งในเรื่องใด 80. สัตบุรุษคาทอลิกมีหนาที่อะไรในพระศาสนจักร

-71-


__________________________________________________________________________

บทที่ 17 กิจการคาทอลิก (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 898-913)

81. กิจการคาทอลิก คือ การที่สัตบุรุษคาทอลิกเขารวมมือปฏิบัติ หนาที่เยี่ยงอัครสาวก เพื่อรับใชพระศาสนจักรภายใตการแนะนํา ของพระสังฆราชของตน 82. คาทอลิก ซึ่งสํานึกถึงหนาที่ของตนอันเนื่องมาจากศีลลางบาป จึงเสียสละอาสาเขาทํางานรวมกับพระสงฆ เพื่อเผยแพรพระ อาณาจักรของพระเปนเจา เปนผูทํางานในกิจการคาทอลิก 83. กิจการคาทอลิกมีจุดประสงคจะนําความเชื่อ และหลักคําสอน ของพระเยซูเจาไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน เพื่อใหเกิดประโยชน แกตนเองและผูอื่นเปนสวนรวม 84. กิจการคาทอลิกมีวงงานในดานเกี่ยวกับครอบครัวคาทอลิก งาน ดานสังคม การอบรมเยาวชน และงานสังคมสงเคราะหทั่วไป

1.

โดยอํานาจแหงศีลลางบาป คาทอลิกทุกคนไดรับมอบหมายจาก พระเปนเจาใหยืนยันความเชื่อ และปฏิบัติตามคําสอนของพระ -72-


_________________________________________________________________________ เยซูเจาในสังคมคาทอลิก ความรักตอพระเปนเจาเรงรัดใหเขา ทําตนใหศักดิ์สิทธิ์ดว ยการชวยเผยแผพระอาณาจัก รของพระ เปนเจา และชักจูงวิญญาณเขามาหาพระองค 2.

งานเผยแผความเชื่อจะตองอยูภายใตการดูแลของพระสังฆราช จึงจะเปนกิจการคาทอลิกที่ถูกตองและไดผล

3.

กิจการคาทอลิกที่สําคัญ ไดแก พลมารี คณะวินเซนต เดอ ปอล และคณะตางๆ จึงรวมกันชวยเหลือพระศาสนจักร

4.

คาทอลิกทุกคนควรรวมทํางานในกิจการคาทอลิกคณะใดคณะ หนึ่งตามกําลังความสามารถของตน เพื่อจะไดทําหนาที่คาทอลิก อยางสมบูรณ

“ทานทั้งหลายเปนเกลือดองแผนดิน ถาเกลือจืดไปแลว จะ เอาอะไรมาทําใหเค็มอีกเลา

เกลือนั้นยอมไมมีประโยชนอะไร

นอกจากจะถูกทอดทิ้งใหคนเหยียบย่ํา ‘ทานทั้งหลายเปนแสงสวาง สองโลก เมืองที่ตั้งอยูบนภูเขาจะไมถูกปดบัง ไมมีใครจุดตะเกียงแลว เอามาวางไวใตถัง แตยอมตั้งไวบนเชิงตะเกียง จะไดสองสวางแกทุก คนในบาน ในทํานองเดียวกัน

แสงสวางของทานตองสองแสงตอ -73-


__________________________________________________________________________ หนามนุษย เพื่อคนทั้งหลายจะไดเห็นกิจการดีของทาน และสรรเสริญ พระบิดาของทานผูสถิตในสวรรค” (มธ 5:13-16)

81. กิจการคาทอลิกคืออะไร 82. ใครเปนผูทํางานในกิจการคาทอลิก 83. กิจการคาทอลิกมีจุดประสงคอะไร 84. กิจการคาทอลิกทํางานดานใดบาง

-74-


_________________________________________________________________________

บทที่ 18 พระศาสนจักรหนึง่ เดียว (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 813-816)

85. พระเยซูเจาตั้งพระศาสนจักรหนึ่งเดียว ศักดิ์สิทธิ์ สากล และสืบ ตอเนื่องจากอัครสาวกไมขาดสาย 86. พระศาสนจักรคาทอลิก

มีลักษณะตรงกับพระศาสนจักรที่

พระเยซูเจาไดตั้งขึ้นทุกประการดังนี้ คือ ก. มีหัวหนาสูงสุดแตเพียงผูเดียวคือพระสันตะปาปา มีความ เชื่อหนึ่งเดียวและมีศีลศักดิ์สิทธิ์อยางเดียวกัน ข. รักษาพระธรรมอันศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซูเจาไว และมีผู ปฏิบัติตามพระธรรมนั้นจนเปนนักบุญมากมาย ค. เปนศาสนาสําหรับชนทุกชาติ ทุกภาษา ทุกชั้นวรรณะและ ศาสนานี้ไดเผยแพรไปทั่วโลก ง. พระศาสนจักรคาทอลิกสืบตอเนื่องจากอัครสาวก โดยมี หัวหนาที่สืบตําแหนงจากอัครสาวกโดยชอบธรรม ไดรักษา พระธรรมคําสอน การปกครองของอัครสาวกไวครบครัน 87. พระศาสนจักรคาทอลิกพยายามสงเสริมความเปนหนึ่งเดียวกัน กับพี่นองที่แยกออกไปในศาสนาคริสตนิกายอื่นๆ ดวยความรัก -75-


__________________________________________________________________________ และความเห็นอกเห็นใจกัน 1.

หลังพระสังคายนาวาติกันที่ 2 พระศาสนจักรมีความปรารถนา เรารอนที่จะใหคริสตชนนิกายอื่นๆ ไดมารวมเปนหนึ่งเดียวกัน พระศาสนจักรจึงไดพยายามทําทุกสิ่งที่ทําไดเพื่อปรองดองกับ คริสตชนนิกายตางๆ

“เรายอมสละชีวิตเพื่อแกะของเรา เรายังมีแกะอื่นๆ ซึ่งไมอยู ในคอกนี้ เราตองนําหนาแกะเหลานี้ดวย แกะจะฟงเสียงของเรา จะมี แกะเพียงฝูงเดียว และผูเลี้ยงเพียงคนเดียว” (ยน 10:15-16)

85. พระศาสนจักรซึ่งพระเยซูเจาไดตั้งนั้นมีลักษณะอยางไร 86. พระศาสนจักรคาทอลิกมีลักษณะตรงกับพระศาสนจักรที่พระ เยซูเจาไดตั้งไวหรือไม 87. พระศาสนจั ก รคาทอลิก มีทาทีอ ยางไรตอ ศาสนาคริส ตนิก าย อื่นๆ -76-


_________________________________________________________________________

บทที่ 19 พระกายทิพยของพระเยซูเจา (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 787-795)

88. พระศาสนจักรคาทอลิกเปนประดุจพระกายทิพยของพระเยซู เจา คือ คาทอลิกมีความผูกพันเปนหนึ่งเดียวกันทางจิตใจ และมี ความสัมพันธอันลึกซึ้งตอพระเยซูเจา

เปรียบดังอวัยวะใน

รางกายที่สัมพันธกับศีรษะ 89. คาทอลิกทุกคนตางเปนสวนที่มีชีวิตรวมกันในพระกายทิพยของ พระเยซูเจา โดยไดรับชีวิตเหนือธรรมชาติ และพระหรรษทาน ตางๆ ตลอดจนไดรับสวนบุญกุศลรวมกัน และทําบุญกุศลอุทิศ ใหกันและกันได 90. สมาชิกของพระกายทิพยนี้อยูในสวรรค ในไฟชําระ และในโลกนี้ ตางชวยเหลือและพึ่งพาอาศัยกันและกัน สวดภาวนาและทําบุญ ชวยเหลือกัน

รวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เรียกวา สหพันธ

นักบุญ

-77-


__________________________________________________________________________ 1.

พระกายทิพยของพระเยซูเจา มีพระเยซูเจาประดุจศีรษะ มีพระ จิตเจาประดุจวิญญาณ เพราะวาพระจิตเจาคอยบํารุงพระศาสน จักรใหมีชีวิตดํารงในความจริงและความศักดิ์สิทธิ์ และคอย ชวยเหลือคุมครองในทามกลางความยากลําบากตางๆ

2.

กอนที่นักบุญเปาโลจะมาเปนศิษยของพระเยซูเจา ทานคิดจะ ทํ าลายลา งพวกคาทอลิก ให หมดสิ้ นไป

แต พ ระเยซู เ จ าได

ประจักษแกทาน ถามทานวา “ทานเบียดเบียนเราทําไม” นักบุญ เปาโลจึงไดอธิบายเรื่องพระกายทิพยของพระเยซูเจาวา พระ เยซูเจาทรงรักพระศาสนจักรเหมือนเปนรางกายของพระองค เอง (กจ 9:4)

“เราเปนเถาองุน ทานทั้งหลายเปนกิ่งกาน ผูที่ดํารงอยูในเรา และเราดํารงอยูในเขา ก็ยอมเกิดผลมาก” (ยน 15:5) “พระองคทรงเปนศีรษะแหงรางกาย คือพระศาสนจักร” (คส 1:18) -78-


_________________________________________________________________________ “แมเราจะมีจํานวนมาก เราก็รวมเปนรางกายเดียวในพระคริสต เจา” (รม 12:5)

88. พระศาสนจักรคาทอลิกเปนประดุจพระกายทิพยของพระเยซู เจาอยางไร 89. คาทอลิกไดรับผลประโยชนอะไรในพระกายทิพยนี้ 90. สหพันธนักบุญหมายถึงใคร

-79-


__________________________________________________________________________

บทที่ 20 เหตุสดุ ทาย (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 1006-1014)

91. เหตุสุดทายของมนุษยคือความตาย การพิพากษา สวรรคและ นรกชั่วนิรันดร 92. ความตาย คือ การที่วิญญาณแยกออกจากรางกาย รางกายจะ เนาเปอยไป จนถึงวันสิ้นพิภพจะกลับคืนชีวิตใหม สวนวิญญาณ จะถูกพิพากษา 93. การพิพากษา คือ การที่พระเปนเจาพิจารณาและตัดสินบุญ บาป ของวิญญาณผูตาย 94. พระเป น เจาพิพ ากษาครั้งแรก

ในทั นทีที่วิญ ญาณออกจาก

รางกาย เรียกวา การพิพากษาทีละคน 95. วันสิ้นพิภพ มนุษยทุกคนจะกลับคืนชีวิตใหม และพระเปนเจาจะ พิพากษาอยางเปดเผยอีกครั้งหนึ่ง เรียกวา การพิพากษา ประมวลพรอม

-80-


_________________________________________________________________________ 1.

หลังจากพิพากษาทีละคน วิญญาณผูตายจะไปอยูในสวรรค หรือในนรก หรือในไฟชําระ สุดแทแตบุญบาปที่ติดวิญญาณไป

2.

พระเยซูเจาไดทํานายถึงการสิ้นพิภพวา จะเกิดภัยพิบัติรายแรง ดวงอาทิตยจะมืดมัว ดาวจะตกลงบนโลก และจะมีไฟเผาผลาญ ทุกสิ่งในโลก หลังจากนั้นมนุษยจะกลับคืนชีวิตใหม คนดีจะมี รางกายรุงเรือง สวนคนชั่วจะมีรางกายนาเกลียดนาชัง

3.

เมื่อพระเยซูเจาเสด็จมาพิพากษาประมวลพรอมแลว คนชั่ว จะตองไปรับโทษชั่วนิรันดรในนรกทั้งกายและวิญญาณ สวนคน ดีจะไดรับความสุขนิรันดรในสวรรคทั้งกายและวิญญาณดวย

91. เหตุสุดทายของมนุษยคืออะไร 92. ความตายคืออะไร ตายแลวเปนอยางไร 93. การพิพากษาคืออะไร 94. พระเปนเจาพิพากษาครั้งแรกเมื่อไร 95. จะมีอะไรเกิดขึ้นในวันสิ้นพิภพ

-81-


__________________________________________________________________________

บทที่ 21 ชีวิตนิรน ั ดร (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 1 ขอ 1023-1037)

96. สวรรคเปนสภาพแหงความบรมสุขพนประมาณ ชาวสวรรคได เห็นแจงในพระเปนเจาและรับความสุขรุงเรืองนิรันดร 97. ผูที่ไปสวรรคคือ ผูที่มีวิญญาณบริสุทธิ์อยางสมบูรณและอยูใน สถานะพระหรรษทานเวลาตาย 98. นรกเปนสภาพแหงความทุกขทรมาน ซึ่งปศาจและคนมีบาปหนัก ทนทุกขทรมานรายแรงและไมเห็นพระเปนเจา ไมมีหวังพนทุกข ทรมานเวลาตาย 99. ผูที่ตองตกนรกคือ คนที่มีบาปหนักในวิญญาณแมแตขอเดียว เวลาตาย 100. ไฟชําระ เปนสภาพทรมานรายแรง ซึ่งในนั้นวิญญาณที่ยังไม บริสุทธิ์อยางสมบูรณจะตองทนทุกขทรมานรายแรงแสนสาหัส จนกวาจะหมดมลทิน 101. ผูที่ตองไปอยูในไฟชําระคือ คนที่มีบาปเบา หรือยังมิไดใชโทษ บาปครบถวนในเวลา

-82-


_________________________________________________________________________ 102. เราอาจชวยวิญญาณในไฟชําระไดโดยการสวดภาวนา ขอมิสซา อุทิศใหและการรับพระคุณการุณย ตลอดจนการทําบุญกุศล ตางๆ อุทิศแกเขา

1.

การอยูในสถานะพระหรรษทาน คือการที่วิญญาณมีพระหรรษ ทานศักดิ์สิทธิกรและไมมีบาปหนักในวิญญาณ (ดูบทที่ 23 และ 41)

2.

การมีวิญญาณบริสุทธิ์อยางสมบูรณ หมายความวา ไมมีบาป หนัก ไมมีบาปเบา และไมมีโทษบาปเลยแมแตนอย

96. สวรรคคืออะไร และชาวสวรรครับความสุขอยางไร 97. ใครจะไปสวรรค 98. นรกคืออะไร และชาวนรกทรมานอยางไร 99. ใครตองตกนรก 100. ไฟชําระคืออะไร 101. ใครตองไปไฟชําระ 102. เราจะชวยเหลือวิญญาณในไฟชําระไดอยางไร -83-


__________________________________________________________________________

บทที่ 22 พระบัญญัติ (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 1750-1754)

103. พระเปนเจาไดตั้งกฎศีลธรรมใหมนุษยประพฤติตาม พระองค ยังคงควบคุมดูแลกฎศีลธรรมนี้เสมอ 104. พระเปนเจายังไดตราพระบัญญัติ 10 ประการ และประกาศแก ชาติอิสราเอลที่ภูเขาซีนาย เพื่อใหมนุษยรูชัดแจงถึงพระประสงค ของพระองค และจะไดปฏิบัติตามเพื่อความสุขชั่วนิรันดร 105. ในพระบัญญัติ 10 ประการนี้ สามประการแรกสั่งใหปฏิบัติ หนาที่ตอพระเปนเจา เจ็ดประการหลังสั่งใหปฏิบัติหนาที่ตอ เพื่อนมนุษย ยอสั้นๆ คือ สั่งใหรักพระเปนเจาและรักเพื่อนมนุษย (มธ 22:34-40) 106. มนุษยทุกคนตางมีมโนธรรม ซึ่งชวยใหตัดสินใจในเวลาเฉพาะ หนาวา สิ่งใดดี ควรทํา หรือสิ่งใดชั่วที่ควรละเวน ทุกคนจึงตอง เชื่อฟงมโนธรรมที่ถูกตองเสมอ

-84-


_________________________________________________________________________ 1.

ศีล แปลวา ขอบัญญัติที่กําหนดการปฏิบัติทางกาย วาจา ใจ ธรรม แปลวา คุณความดี คําวาศีลธรรม จึงหมายถึง การ ปฏิบัติหรือความประพฤติดี ซึ่งเปนไปตามกฎธรรมชาติในจิตใจ มนุษย

2.

พระเปนเจาควบคุมดูแลกฎศีลธรรม โดยการบําเหน็จรางวัล ความดีหรือลงโทษความชั่วในชีวิตนี้หรือในชีวิตหนา

3.

มโนธรรมอาจผิดพลาดไปได เนื่องจากสาเหตุหลายประการ เชน การจงใจฝา ฝน มโนธรรมจนเคยชิน

หรือความกัง วลใจใน

ความผิดเล็กนอยจนเกินกวาเหตุ ฯลฯ ดังนั้น ทุกคนมีหนาที่ปรับ มโนธรรมของตนให ถู ก ต อ งด ว ยพระธรรมคํ า สอนตาม ความสามารถ และปรึกษาพระสงฆหรือผูมีความรูในพระธรรม

“คนตา งชาติ ซึ่ง ไม รู จัก ธรรมบั ญ ญั ติ

และประพฤติต าม

ขอกําหนดของธรรมบัญญัติจากสามัญสํานึก พวกเขาแสดงใหเห็นสิ่ง ที่ธรรมบัญญัติกําหนดไวในใจตามมโนธรรม และบางครั้งความคิด ตามเหตุผลที่กลาวโทษก็ปองกันพวกเขา” (รม 2:14-15) -85-


__________________________________________________________________________ 103. ใครเปนผูตั้งและควบคุมกฎศีลธรรม 104. ทําไมพระเปนเจาจึงตราพระบัญญัติขึ้น 105. พระบัญญัติ 10 ประการนี้สั่งอะไรบาง ยอสั้นๆ ไดอยางไร 106. เราตองเชื่อฟงมโนธรรมหรือไม

-86-


_________________________________________________________________________

บทที่ 23 ฤทธิ์กุศล (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 1805-1829)

107. จิตใจมนุษยซึ่งมีความโนมเอียงไปในการทําดีโดยธรรมชาติ หรือ โดยการฝกฝนใหเคยชิน เรียกวามีฤทธิ์กุศล ซึ่งชวยใหทําดีงาย ขึ้น และเพิ่มกิจการบุญทวีขึ้น 108. พระเปนเจายังประทานฤทธิ์กุศลตางๆ ใหแกเรา พรอมกับพระ หรรษทานศักดิ์สิทธิกร ฤทธิ์กุศลที่มาจากพระเปนเจานี้เรียกวา ฤทธิ์กุศลเหนือธรรมชาติ 109. ฤทธิ์กุศลเหนือธรรมชาติ (คุณธรรมทางเทววิทยา) ที่เกี่ยวกับ พระเปนเจา คือความเชื่อ ความไวใจ และความรัก 110. ฤทธิ์กุศล (คุณธรรมหลัก) ที่เกี่ยวกับความประพฤติที่สําคัญคือ 1. ความฉลาดรอบคอบ 2. ความยุติธรรม 3. ความกลาหาญ เขมแข็ง 4. ความมัธยัสถ นอกจากนั้นยังมีฤทธิ์กุศลอื่นๆ อีกมาก ซึ่งติดตามฤทธิ์กุศลเหลานี้ เชน ความสุภาพ ความเมตตากรุณา ความบริสุทธิ์ ความเพียร ฯลฯ 111. มนุษยทุกคนจะตองพยายามบําเพ็ญฤทธิ์กุศลตางๆ เพื่อปฏิบัติ ตามพระบัญญัติของพระเปนเจาครบครันยิ่งขึ้น -87-


__________________________________________________________________________ 1.

ฤทธิ์ แปลวา กําลังหรืออํานาจศักดิ์สิทธิ์ และกุศล แปลวา สิ่งที่ ชอบ ฤทธิ์กุศล จึงหมายถึงลักษณะในจิตใจที่มีอํานาจผลักดันให

2.

ประพฤติดี ประพฤติชอบ ถือตามพระบัญญัติของพระเปนเจา ความฉลาดรอบคอบ คือ การรูจักวาอะไรดี อะไรชั่ว และรูจัก

3.

วิธีทําดีหรือหลีกหนีชั่วเพื่อเอาตัวรอด ความยุติธรรม คือ การมีจิตใจเที่ยงตรงและเคารพกรรมสิทธิ์

4.

ของผูอื่น ความกลาหาญเขมแข็ง คือการยอมอดทนตอความยากลําบาก

5.

และพยายามเอาชนะอุปสรรคตางๆ ในการเอาวิญญาณรอด ความมัธยัสถ คือการรูจักบังคับจิตใจตนเอง และการยับยั้งใจ

6.

ที่จะไมหาความสุขทางรางกายเกินขอบเขต กรรมสิทธิ์ คือ การเปนเจาของอยางถูกตองในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

7.

ในความยุติธรรม ทุกคนจะตองเคารพกรรมสิทธิ์ในวิญญาณ ชีวิต รางกาย ทรัพยสิน และชื่อเสียงของผูอื่น

-88-


_________________________________________________________________________

พระเยซู เ จ า ได แ สดงแบบฉบั บ ของพระองค ใ นการถื อ ฤทธิ์ กุศลนานาชนิด และพระองคไดสอนใหเราเอาแบบอยางพระองคใน การถือฤทธิ์กุศล “จงรับเอาแอกของเราแบกไว และมาเปนศิษยของ เรา เพราะเรามีใจสุภาพออนโยนและถอมตน” (มธ 11:29)

107. จิตใจมนุษยมีฤทธิ์กุศลไดอยางไร 108. เราไดรับฤทธิ์กุศลเหนือธรรมชาติอยางไร 109. ฤทธิ์กุศลเหนือธรรมชาติที่เกี่ยวกับพระเปนเจามีอะไรบาง 110. ฤทธิ์กุศลเหนือธรรมชาติที่เกี่ยวกับความประพฤติมีอะไร 111. เราตองบําเพ็ญฤทธิ์กุศลหรือไม

-89-


__________________________________________________________________________

บทที่ 24 ความหวัง (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 1817-1821)

112. ความหวังเปนฤทธิ์กุศลที่ชวยใหเรามุงหวังวาจะไดสวรรค และ พระเปนเจาจะประทานพระหรรษทานชวยใหไปสวรรคได 113. เรามีความหวังเพราะวา 1. พระเปนเจามีความเมตตากรุณาและรักมนุษยทุกคน 2. พระเยซูเจาไดสิ้นพระชนมเพื่อมนุษยทุกคน 3. พระเยซูเจาไดสัญญาวาจะชวยทุกคน และพระองคซื่อสัตย ตอคําสัญญา 114. ความหวังชวยใหเราไปสวรรค ในเมื่อเราพยายามทําดีหลีกหนี บาป

1.

แม ว า พระเป น เจ า พยายามช ว ยมนุ ษ ย ทุ ก คนให ไ ปสวรรค ทุ ก วิถีทาง แตมนุษยก็ยังมีอําเภอใจ เขาอาจขัดสูพระเปนเจา และ เลือกทางเดินที่ผิดได -90-


_________________________________________________________________________ 2.

ความหวั ง ช ว ยใหเ รามี จิ ตใจมั่น คงในการเผชิ ญ กั บ ความทุ ก ข ยากลําบากชั่วคราวในชีวิตนี้

เพราะเชื่อมั่นวาจะพบความสุข

ชั่วนิรันดรในชีวิตหนา

จงตักเตือนชายหนุมใหรูจักมีเหตุผลในทุกสิ่ง โดยทานจะตอง เปนแบบอยางในกิจการที่ดี เมื่อสอนก็จงสอนดวยความจริงใจและ จริงจัง (ทต 2:6-7) ยิ่งกวานั้น เรายังภูมิใจในความทุกข เพราะรูวาความทุกข กอใหเกิดความพากเพียร ความพากเพียรกอใหเกิดคุณธรรมที่แทจริง คุณธรรมที่แทจริงกอใหเกิดความหวัง ความหวังนี้ไมทําใหเราผิดหวัง เพราะพระจิตเจาซึ่งพระเจาประทานใหเราไดหลั่งความรักของพระเจา ลงในดวงใจของเรา (รม 5:3-5) จงชื่นชมยินดีในความหวัง จงมีความอดทนตอความทุกขยาก จงพากเพียรในการภาวนา (รม 12:12) 112. ความหวังเปนอะไร 113. เพราะเหตุใดเราจึงมีความหวัง 114. ความหวังชวยใหรอดในกรณีใด -91-


__________________________________________________________________________

บทที่ 25 ความรักตอพระเปนเจา (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 1822-1829)

115. ความรั ก เป นฤทธิ์กุ ศลที่ชว ยใหเรารั ก พระเปนเจาเหนือ ทุก สิ่ง และรักเพื่อนมนุษยเหมือนรักตนเอง เพราะเห็นแกพระเปนเจา 116. พระเปนเจาทรงเปนบอเกิดแหงสรรพความดีทั้งมวล พระองคเอง เปนความดีสูงสุด ดังนั้น เราจึงตองรักพระเปนเจาเหนือทุกสิ่ง 117. การถือตามพระบัญญัติของพระเปนเจาอยางสุจริต เปนการ แสดงความรักที่แทจริงตอพระองค

1.

ความรัก คือ การมีจิตใจผูกพันและสนิทกับผูที่ตนรัก โดยถือ วาผูนั้นเปนความดีสําหรับตน จนยอมสละทุกสิ่งเพื่อผูที่ตนรักได

2.

พระเยซูเจาทรงสอนใหรักพระเปนเจาดวยสิ้นสุดจิตใจ สิ้นสุด วิญญาณ สิ้นสุดสติปญญา คือยกยองพระเปนเจาเปนความดี เหนือสารพัดทุกสิ่ง และยอมสละทุกสิ่งเพื่อพระองค

-92-


_________________________________________________________________________

ชาวฟาริสีมาชุมนุมพรอมกัน พวกเขาคนหนึ่งเปนบัณฑิตทาง กฎหมาย ไดทูลถามเพื่อจะจับผิดพระองควา ‘พระอาจารย บทบัญญัติ ขอใดเปนเอกในธรรมบัญญัต’ิ พระเยซูเจาตรัสตอบวา ‘ทานจะตองรัก องคพ ระผูเ ปน เจา สติปญ ญาของทาน

พระเจาของทานสุด จิตใจ สุ ด วิญ ญาณ

สุ ด

นี่คือ บทบั ญ ญั ติเ อกและเปน บทบัญ ญัติแรก

บทบัญญัติประการที่สองก็เชนเดียวกัน คือทานตองรักเพื่อนมนุษย เหมือนรักตนเอง

ธรรมบัญญัติและคําสอนของบรรดาประกาศกก็

ขึ้นอยูกับบทบัญญัติสองประการนี้’ (มธ 22:35-40)

115. ความรักตอพระเปนเจาคืออะไร 116. เพราะเหตุใดเราจึงตองรักพระเปนเจาเหนือทุกสิ่ง 117. การปฏิบัติสิ่งใดจึงเปนการแสดงความรักที่แทจริงตอพระเปนเจา

-93-


__________________________________________________________________________

บทที่ 26 ความรักตอเพือ่ นมนุษย 118. พระเปนเจาทรงบัญญัติใหเรารักเพื่อนมนุษยทั้งหลายเหมือนรัก ตนเอง พระเยซูเจาทรงกําชับใหถือพระบัญญัตินี้อยางดี 119. ในการแสดงความรักตอเพื่อนมนุษย เราปฏิบัติดังนี้คือ ก. ปรารถนาดี และทําดีแกเขาทางกายและทางวิญญาณ ข. ไมทําผิดคิดรายตอเขา ค. ใหอภัยแกเขาเสมอ 120. พระเยซูเจาไดสั่งใหเรารัก มนุ ษยทุก คนแมก ระทั่งศั ตรูของเรา เพราะทุกคนเปนบุตรพระเปนเจาดวยกันทั้งนั้น ไมเวนใคร พระ เยซูเจาเองเปนตัวอยางแกเราในเรื่องนี้ 121. ในการแสดงความรักตอศัตรู เราตองปฏิบัติดังนี้คือ ก. ไมเกลียดหรือพยาบาท ข. ใหอภัย ค. ชวยเหลือเขาทางกายและวิญญาณเมื่อสามารถ

-94-


_________________________________________________________________________ 1.

การรักเพื่อนมนุษยเหมือนรักตนเอง หมายความวา เราตอง ปรารถนาดีและทําดีแกผูอื่น เพราะเขาเปนมนุษยเหมือนเรา เขา เปนบุตรพระเปนเจาและเปนพี่นองรวมพระบิดาเดียวกับเรา

2.

ความรักไมขึ้นอยูกับความรูสึกตามธรรมชาติ แตขึ้นอยูกับน้ําใจ และเจตนาดี โดยธรรมชาติเรารูสึกรักพี่นองผูใกลชิดมากกวา ผูอื่นได แตในความรักตอเพื่อนมนุษย เราตองปรารถนาดีตอทุก

3.

คนในฐานะที่เขาเปนมนุษยและเปนพี่นองรวมพระบิดาเดียวกัน การทําดีแกผูอื่นทางวิญญาณ ไดแก 1. สอน 2. เตือนคนผิด 3. ชวยคิดอาน 4. ชวยบรรเทาใจ 5. อดทนตอความผิดของเขา

4.

6. ใหอภัย 7. สวดอุทิศให การทําดีแกผูอื่นทางกาย ไดแก 1. ใหอาหาร 2. ใหเสื้อผา 3. ใหที่พักอาศัย 4. ชวยรักษาพยาบาล 5. เยี่ยมผูถูกจองจํา 6. ชวยผูประสบความเดือดรอน 7. ชวยฝงศพ

5.

เราถือตามความยุติธรรม และเรียกรองคาเสียหายหรือดําเนินคดี ตามกฎหมายได โดยไมผิดตอบัญญัติแหงความรัก

-95-


__________________________________________________________________________

ในคืนสุดทาย พระเยซูเจาไดลางเทาใหสาวก และสั่งสอนพวก เขาเปนครั้งสุดทายวา “เราใหบทบัญญัติใหมแกทานทั้งหลาย ใหทาน รักกัน เรารักทานทั้งหลายอยางไร ทานก็จงรักกันอยางนั้นเถิด ถา ทานมีความรักตอกัน ทุกคนจะรูวา ทานเปนศิษยของเรา” (ยน 13:34-35) พระเยซูเจาไดตรัสสอนถึงวันพิพากษาวา พระมหากษัตริยจะ ตรัสแกผูที่อยูเบื้องขวาวา “เชิญมาเถิด ทานทั้งหลายที่ไดรับพระพร จากพระบิดาของเรา เชิญมารับอาณาจักรเปนมรดกที่เตรียมไวใหทาน แลวตั้งแตสรางโลก เพราะวา เมื่อเราหิว ทานไดใหเรากิน เรากระหาย ทานไดใหเราดื่ม ฯลฯ” บรรดาผูชอบธรรมจะทูลถามวา “พระเจาขา เมื่อไรเลาขาพเจาทั้งหลายไดเห็นพระองคทรงหิว แลวไดถวายพระ กระยาหาร

หรือ ทรงกระหาย

แลว ไดถวายใหทรงดื่ม

ฯลฯ

พระมหากษัตริยจะตรัสตอบวา “เราบอกความจริงแกทานทั้งหลายวา ทานทําสิ่งใดตอพี่นองผูต่ําตอยที่สุดของเราคนหนึ่ง ทานก็ทําสิ่งนั้นตอ เรา” (มธ 25:31-40)

-96-


_________________________________________________________________________ 118. ทําไมเราจึงตองรักเพื่อนมนุษย 119. เราจะปฏิบัติอยางไรในความรักตอเพื่อนมนุษย 120. เราตองรักผูที่เปนศัตรูดวยหรือ 121. เราตองปฏิบัติอยางไรในความรักตอศัตรู

-97-


__________________________________________________________________________

บทที่ 27 บาป (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 1849-1864)

122. บาป คือ การจงใจฝาฝนพระบัญญัติของพระเปนเจา และพระ บัญญัติของพระศาสนจักร 123. บาปมีสองชนิด คือ บาปหนัก และบาปเบา 124. บาปหนัก คือ การฝาฝนพระบัญญัติในขอหนัก โดยรูตัวและ ยินยอมเต็มใจ 125. บาปเบา คือ การทําผิดพระบัญญัติในขอเล็กนอยโดยรูตัวและ ยินยอมเต็มใจ หรือทําผิดพระบัญญัติในขอหนักโดยไมสูยินยอม เต็มใจ 126. บาปหนักทําใหเราสูญเสียพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร และความ ดีตางๆ ทําใหเราเปนศัตรูตอพระเปนเจาและจะตองรับอาญา โทษนรก 127. บาปเบาใหโทษคือ ทําใหความรักและความศรัทธาตอพระเปน เจาเสื่อมลง ทําใหตกในบาปหนักไดงาย และจะตองรับโทษในไฟ ชําระ -98-


_________________________________________________________________________ 1.

การฝาฝนพระบัญญัติของพระเปนเจา

คือจงใจกระทําสิ่งที่

พระเปนเจาหาม หรือไมยอมทําสิ่งที่พระองคสั่ง 2.

ทุกคนตองรูจักพระบัญญัติตามความสามารถและตามฐานะของ ตน การไมยอมหาความรูในพระบัญญัติที่ตนตองรูก็เปนบาปได

3.

ในกรณีสงสัยควรศึกษาพระธรรมคําสอนหรือปรึกษาพระสงฆ โอกาสบาป คือ บุคคล สิ่งของ หรือสถานที่ซึ่งเปนเหตุใหคนทํา บาปไดงาย เชน เพื่อนชั่ว หนังสือลามก ไนทคลับ สถานอาบอบนวด และแหลงอบายมุขตางๆ ทุกคนมีหนาที่ระมัดระวังและ หลีกหนีอันตรายทางวิญญาณ การเสี่ยงเขาหาโอกาสบาปโดย เจตนาหรือทําสิ่งที่ลอแหลมตอวิญญาณก็เปนการจงใจทําบาป นั้นดวย

4.

การทําบาปนั้นอาจทําไดดวย

1. ความคิด 2. ปรารถนา

3. วาจา 4. กิจการ 5. การละเลย

พระเยซูเจาทรงสอนวา “ถาตาขวาของทานเปนเหตุใหทานทํา บาป จงควักมันทิ้งเสีย เพราะเพียงแตเสียอวัยวะสวนเดียว ยังดีกวา -99-


__________________________________________________________________________ ปลอยใหรางกายทั้งหมดของทานตกนรก ถามือขวาของทานเปนเหตุ ใหทานทําบาป จงตัดมันทิ้งเสีย เพราะเพียงแตเสียอวัยวะสวนเดียว ยังดีกวาปลอยใหรางกายทั้งหมดตกนรก” (มธ 5:29-30)

122. บาปคืออะไร 123. บาปมีกี่ชนิด 124. บาปหนักคืออะไร 125. บาปเบาคืออะไร 126. บาปหนักเกิดผลรายอยางไร 127. บาปเบาเกิดผลรายอยางไร

-100-


_________________________________________________________________________

บทที่ 28 พยศชั่ว (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 1865-1869)

128. นิสัยหรือความเคยชินในบาป ซึ่งเปนสันดานมาแตกําเนิด หรือ เกิดจากการทําบาปนั้นซ้ําๆ กันบอยจนเคยตัว เรียกวา พยศชั่ว 129. พยศชั่วสําคัญซึ่งเปนตนเหตุใหทําบาปอื่นๆ เรียกวา บาปตน มี 7 อยาง คือ 1. จองหอง 2. ตระหนี่ 3. ลามก 4. โลภอาหาร 5. อิจฉา 6. โมโห 7. เกียจคราน 130. พยศชั่วเพิ่มบาปใหหนักทวีขึ้น และเหนี่ยวรั้งใหทําบาปเรื่อยไป จนยากที่จะกลับใจ

1.

จองหอง คือ ความอยากไดชื่อเสียงและเกียรติยศเกินประมาณ

2.

หรือในทางที่ผิด และอวดอางความดีของตนเกินขนาด ตระหนี่ คือ การมีจิตใจผูกพันกับทรัพยสินเกินประมาณ

3.

ลามก คือ การมุงหาความสุขทางเพศที่ผิดพระบัญญัติ

4.

โลภอาหาร คือ การมุงหาความสุขในการกินดื่มเกินขอบเขต

-101-


__________________________________________________________________________ 5. อิจฉา คือ การไมยอมใหผูอื่นดีกวาตน และถือวาความดีของ 6.

ผูอื่นเปนสิ่งรายสําหรับตน โมโห คือ การวุนวายใจนอกลูนอกทางเมื่อประสบสิ่งไมถูก

7.

อารมณของตน เกียจคราน คือ การชอบอยูวางเปลาเกินควรและละเลยหนาที่ ของตน

“เราทุกคนถูกกิเลสตัณหาทดลอง ดึงดูด และหลอกลวง กิเลสตัณหากอใหเกิดบาป และเมื่อบาปมีมาก บาปก็กอใหเกิดความ ตาย” (ยก 1:14-15)

128. พยศชั่วคืออะไร 129. พยศชั่วมีอะไรบาง 130. พยศชั่วเกิดผลรายอยางไร

-102-


_________________________________________________________________________

บทที่ 29 พระบัญญัตพ ิ ระเปนเจาประการที่หนึ่ง จงนมัสการองคพระผูเปนเจา พระเจาพระองคเดียวของทาน (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2084-2141)

131. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่หนึ่ง สั่งใหนมัสการพระเปน เจา คือ เคารพบูชาพระองคอยางสูงสุดในฐานะที่พระองคเปน พระผูสรางและเปนเจานายสูงสุด 132. เราตองนมัสการพระเปนเจาภายใน คือ เชื่อ ไวใจ รัก และ เคารพบูชาพระองคในจิตใจ 133. เราตองนมัสการพระเปนเจาเปนการภายนอก คือ แสดงความ เชื่อ ไวใจ รัก และบูชาดวยกิจการภายนอก เชน การสวดภาวนา การไปวัดและรวมพิธีกรรมตางๆ 134. คาทอลิกเขารวมนมัสการพระเปนเจาที่ทําเปนสวนรวมในนาม พระศาสนจักรทั่วโลก ซึ่งไดแกพิธีบูชาขอบพระคุณและพิธีกรรม เปนทางการของศาสนาทุกอยาง 135. บาปที่ผิดตอพระบัญญัติพระเปนเจาประการที่หนึ่ง คือ 1. การละเลยเพิกเฉย 2. การเคารพบูชาคนหรือสิ่งอื่นขึ้นแทน พระเป น เจ า

3.

การเชื่ อ ถื อ หรื อ พึ่ ง พาอาศั ย อํ า นาจที่

นอกเหนือไปจากฤทธิ์อํานาจของพระเปนเจา 4. การทุราจาร -103-


__________________________________________________________________________

1.

นมัสการ แปลวา การไหว แตในศาสนาคาทอลิก ใชหมายถึง การเคารพยกยองอยางสูงสุด

2.

ซึ่งใชกับพระผูสรางแตผูเดียว

เทานั้น ทุราจาร แปลวา ความประพฤติชั่วรายเลวทราม ในศัพท คาทอลิกใชหมายถึง การประมาทดูหมิ่นพระเปนเจาดวยการพูด หรือกระทําผิดตอนักบวช สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในศาสนา หรือสถานที่ ทางศาสนา

3.

การพึ่งพาอาศัยอํานาจนอกเหนือ อํานาจพระเปนเจา ไดแก เชื่อถือเครื่องรางของขลัง คาถาอาคม ใชอํานาจผี เขาเจา เขาทรง เชื่อหมอดู ซึ่งเปนการลบหลูฤทธิ์อํานาจของพระเปนเจา

พระเยซู เ จ า ถู ก ป ศ าจผจญ

ชี้ ใ ห พ ระองค ท อดพระเนตร

อาณาจักรตางๆ อันรุงเรืองของโลก แลวทูลวา ‘เราจะใหทุกสิ่งเหลานี้ แกทาน ถาทานกราบนมัสการเรา’ พระเยซูเจาจึงตรัสวา ‘เจาซาตาน จงไปใหพน ยังมีเขียนไวในพระคัมภีรวา ‘จงกราบนมัสการองคพระผู -104-


_________________________________________________________________________ เปนเจา พระเจาของเจา และรับใชพระองคแตผูเดียวเทานั้น’ (มธ 4:8-10)

131. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่หนึ่งสั่งอะไร 132. เรานมัสการพระเปนเจาภายในจิตใจอยางไร 133. เรานมัสการพระเปนเจาเปนการภายนอกอยางไร 134. คาทอลิกตองเขารวมการนมัสการเปนสวนรวมหรือไม 135. บาปที่ผิดตอการนมัสการพระเปนเจามีอะไร

-105-


__________________________________________________________________________

บทที่ 30 ความสัมพันธกับผูม  ีความเชื่ออืน ่ 136. ศาสนาคาทอลิกมีความประสงคใหคาทอลิกเคารพผูมีความเชื่อ อื่น และรักษาไมตรีจิตกับคนทุกศาสนา และชวยเหลือซึ่งกันและ กันตามบทบัญญัติแหงความรัก พระศาสนจักรคาทอลิกเคารพ ตอเสรีภาพในการถือศาสนา

ดังนั้น คาทอลิกไมมีสิทธิ์ที่จะ

ลบหลูดูหมิ่นหรือเบียดเบียนคนในศาสนาอื่น 137. ศาสนาคาทอลิ ก เคารพต อ ขนบธรรมเนี ย มประเพณี แ ละ วัฒนธรรมของชนทองถิ่นทั่ วไป เพราะทุกคนมีสิท ธิ์ถือ ตาม ประเพณีอันดีงามของแตละชาติได คาทอลิกจึงมีสิทธิ์ชวยเหลือ และรวมในงานพิธีตามประเพณีของชาติ ซึ่งไมเกี่ยวกับเรื่อง ศาสนาโดยตรงได 138. แตคาทอลิกจะตองระวังไมทําผิดตอความเชื่อ

หรือฝาฝนตอ

พระบั ญ ญั ติ ใ นการร ว มมื อ ช ว ยเหลื อ และถื อ ตามประเพณี ดังกลาว 139. ศาสนาคาทอลิกอนุญาตใหสละทรัพยชวยการกุศลสาธารณะใน ศาสนาอื่น หรือกิจการที่เกี่ยวกับสังคมสงเคราะห แตตองแสดง -106-


_________________________________________________________________________ เจตจํานงวาไดสละทรัพยเพื่อไมตรีจิต มิใชเพื่อทําบุญในศาสนา อื่น 140. คาทอลิกมีสิทธิไปในงานศพ งานบวชนาค งานมงคลสมรส และ งานมงคลอื่นๆ เพื่อรวมเปนเกียรติแกเจาภาพ และอาจรวมใน กิจการที่เปนประเพณี มิใชกิจการทางศาสนาโดยตรง 141. พระศาสนจักรอนุญาตใหเคารพนักบวชศาสนาอื่น หรือใหของ หรือไหวในฐานะเปนผูใหญ แตมิใชเพื่อการทําบุญหรือเพราะเขา เปนคนวิเศษ ฯลฯ 142. การรักษาโรคโดยใชเครื่องยาสมุนไพร และการรักษาตามหลัก ธรรมชาติไมผิด เชน การนวด เจาะ รม อาบ อบ ฯลฯ แตการ รักษาโรคโดยเวทยมนต คาถาอาคม หรืออาศัยผี เปนการทําผิด ตอความเชื่อคาทอลิกอยางรายแรง 143. ในการสัมพันธกับผูมีความเชื่ออื่น คาทอลิกพึงหลีกเลี่ยงการ กระทําทุกสิ่งที่ลอแหลมเปนภัยตอความเชื่อของตน หรือเปนที่ สะดุ ด จิต ใจผูอื่น

หรือ เป น เหตุ ใ หผูอื่น เขาใจพระศาสนจัก ร

คาทอลิกในแงราย

-107-


__________________________________________________________________________ 136. ศาสนาคาทอลิกมีความประสงคใหคาทอลิกปฏิบัติเชนไรตอผูมี ความเชื่ออื่น 137. ศาสนาคาทอลิกหามชวยเหลือและรวมในงานพิธีตามประเพณี ของชาติหรือ 138. ศาสนาคาทอลิ ก ต อ งระมั ด ระวั ง ในการร ว มมื อ และถื อ ตาม ประเพณีของชาติอยางไร 139. ศาสนาคาทอลิกอนุญาตใหสละทรัพยชวยการกุศลสาธารณะใน ศาสนาอื่นหรือกิจการที่เกี่ยวกับสังคมสงเคราะหหรือ 140. ศาสนาคาทอลิกอนุญาตใหไปรวมงานศพ งานบวชนาค งาน มงคลสมรส และงานมงคลอื่นๆ เพื่อรวมเปนเกียรติแกเจาภาพ หรือ 141. ศาสนาคาทอลิกอนุญาตใหเคารพนักบวชตางศาสนาหรือไหวใน ฐานะเปนผูใหญหรือ 142. การรักษาโรคโดยทางเวทยมนต คาถาอาคม หรืออาศัยผี ผิดตอ ความเชื่อของคาทอลิกหรือ 143. ในการสัมพันธกับคนตางศาสนา คาทอลิกพึงหลีกเลี่ยงอะไรบาง

-108-


_________________________________________________________________________

บทแทรก ความเขาใจเกี่ยวกับศาสนสัมพันธ คําและความหมาย การเสวนา (Dialogue) เปนการมีปฏิสัมพันธระหวางพระศาสน จักรคาทอลิกกับศาสนา นิกาย วัฒนธรรม ลัทธิการเมืองหรือ แนวความคิดทางดานสังคม การปกครองและการเมือง เปนคําที่กิน ความกวางๆ ซึ่งในบางครั้งก็ใชแทนคําวาศาสนสัมพันธ (Interreligious Dialogue) การเสวนานี้แมความหมายแรกคือการเจรจา การสนทนา แตความหมายไมหยุดเพียงแคนั้น ยังรวมถึงการทํางานรวมกันในดาน ตางๆ อีกดวย ศาสนสัมพันธ (Interreligious Dialogue) เปนคําทางการบงบอก ถึงกระบวนการและเปาหมาย เปน การระบุเฉพาะเจาะจงวาเปน ความสัมพันธระหวางศาสนาและลัทธินิกายตางๆ ไมรวมถึงลัท ธิ การเมืองหรือวิทยาศาสตรหรือเรื่องทางโลก คําศาสนสัมพันธนี้กิน ความกวาง ศาสนสัมพันธมี 2 ลักษณะ คือ ศาสนสัมพันธภายใน และศาสนสัมพันธภายนอก คริสตสัมพันธ (Ecumenism) เปนการระบุเฉพาะเจาะจงถึง ศาสนสัมพันธระหวางศาสนาคริสตนิกายตางๆ -109-


__________________________________________________________________________ จดหมายอภิบาลของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แหงประเทศไทย วาดวยแนวทางการเขารวมพิธีกรรมศาสนาอื่น เจริญพรมายังพี่นองคริสตชนทั้งหลาย พี่นองยอมตระหนักดีวา สถานการณของสังคมในปจจุบัน เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตมาก อาจทําใหคริสตชนคาทอลิกไมแนใจวา จะปฏิบัติอยางไรเกี่ยวกับการเขารวมพิธีกรรมศาสนาอื่น

เชน การ

ตักบาตร การไหวพระพุทธรูป หรือการไหวเจา เหลานี้เปนตน เราจึง ขอมอบจดหมายอภิ บ าลนี้ เ ป น แนวทางเพื่ อช ว ยเหลื อ พี่ นอ งในการ ตัดสินใจเกี่ยวกับการเขารวมพิธีกรรมศาสนาอื่น ตอไปนี้เปนแนวทางกวางๆ ที่พี่นองควรจะเรียนรูเพื่อนําไป ปฏิบัติอยางถูกตอง โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับผูที่ตองเผชิญปญหาใน การเขารวมพิธีกรรมศาสนาอื่น ดวยเหตุผลอยางใดอยางหนึ่ง เชน โดยตําแหนงหนาที่การงาน หรือมีคูสมรสที่มิไดเปนคาทอลิก ดังนี้เปน ตน

สวนผูที่ไมตองเผชิญปญหาดังกลาวก็จะไดรับรู เรียนรู และ

เขาใจแนวทางปฏิบัติที่ถูกตองดวย

-110-


_________________________________________________________________________ แนวทางกวางๆ ที่เราขอมอบใหพี่นองมีอยู 2 ขอ คือ ขอที่ 1 คริสตชนตองทราบกอนวา การเขารวมพิธีกรรมศาสนาอื่น มิใชวาเปนสิ่งที่ทําไมไดไปเสียทั้งหมด ทั้งนี้ก็เพราะวาการเขารวม พิธีกรรมใดๆ จะทําไดหรือไมนั้น ไมไดขึ้นกับเนื้อหาสาระของการ กระทํา และสภาพแวดลอมเพียงอยางเดียว แตยังขึ้นกับเจตนาของ ผูกระทําเปนสําคัญอีกดวย หมายความวา เนื้อหาสาระของพิธีกรรม สภาพแวดลอม และเจตนาของผูเขารวมพิธีตองดีพรอมทั้งสามอยาง จึงจะรวมพิธีได ขอที่ 2 คริสตชนตองทราบดวยวา การรวมพิธีกรรมนั้นมี 2 อยางคือ การอยูในพิธี (passive participation) และการเขามีสวนรวมในพิธี (active participation) การอยูในพิธี หมายถึง การอยูในสถานที่ที่มีการประกอบ พิธีกรรม โดยตนมิไดมีบทบาททําอะไรในพิธีนั้น

ในกรณีเชนนี้

คริสตชนสามารถอยูในพิธีไดโดยวางตัวดวยความสุภาพเรียบรอย การเขามีสวนรวมในพิธี หมายถึง การทําอะไรบางอยาง ตามที่มีกําหนดไวในพิธีกรรมนั้นๆ ในกรณีเชนนี้ คริสตชนพึงละเวน -111-


__________________________________________________________________________ การมีสวนรวมในพิธี ทั้งนี้เพื่อคงไวซึ่งเอกลักษณของการเปนคริสตชน อยางไรก็ตาม ในกรณีที่คนหนึ่งตองเขามีสวนรวมในพิธี เราขอแนะนํา วา กอนตัดสินใจจะตองเรียนรูเสียกอนวาสิ่งที่ตนจะทําไดหรือไมได ดี หรือไมดี โดยตอบคําถามตอไปนี้เสียกอน คือ ก) ฉันกําลังปฏิเสธความเชื่อคาทอลิก และทําขัดตอคําสอน คาทอลิกหรือไม ข) การกระทําของฉันเปนที่สะดุดแกบุคคลอื่นที่เปนคาทอลิก หรือศาสนิกชนอื่นๆ โดยเฉพาะคนที่เปนสมาชิกศาสนานั้นหรือไม ในกรณีที่ตอบวา “ไม” ทั้งสองคําถาม เขาสามารถเขามีสวน รวมในพิธีได สวนในกรณีที่ตอบวา “ใช” ไมวาในคําถามขอใด เขาก็ไม อาจเขารวมพิธีได มิฉะนั้นจะถือวาเปนการกระทําที่ผิด ในกรณีสงสัย ใหปรึกษากับพระสงฆหรือผูแนะนําวิญญาณ ขอใหสังเกตวา การเปนที่สะดุด เปนเรื่องหนึ่งที่สําคัญเชนกัน ขอพี่นองจงระวังอยาใหเกิดขึ้น นักบุญเปาโลไดเขียนจดหมายเตือน ชาวโครินธเกี่ยวกับเรื่องการรับประทานเนื้อสัตวที่บวงสรวงถวายใน สักการะสถาน ทานขอรองใหคริสตชนที่เห็นวาการรับประทานเนื้อ ดังกลาวโดยไมรูสึกผิดในมโนธรรม ไดละเวนการรับประทานเนื้อนั้น เพราะเห็นแกพี่นองที่มีมโนธรรมออนแอกวา ทานกลาววา “ไมควรทํา -112-


_________________________________________________________________________ อะไรใหเปนที่สะดุดแกใครเลย ไมวาจะเปนยิว กรีก หรือพระศาสนจักร ของพระองค” (1คร 10:32) สุดทาย เราขอเตือนพี่นองคริสตชนทุกคนพึงมุงมั่นที่จะปฏิบัติ ศาสนาของตนอยางเครงครัดและดวยความจริงใจ แตขณะเดียวกันก็ ใหเกียรติและเคารพพี่นองศาสนาอื่นตามเจตนารมณของพระวรสาร และตามคําสอนของพระศาสนจักร พรอมทั้งยอมรับวา แตละศาสนา ก็มีคุณลักษณะดีเดนเปนเอกลักษณเฉพาะของตนทั้งทางดานคําสอน และพิธีกรรม ใหไว ณ วันสมโภชปสกา วันอาทิตยที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1994 ขอพระพรของพระคริสตเจาผูทรงกลับคืนพระชนมชีพสถิตอยูกับพี่นองทุกคน พระคารดินัล มีชัย กิจบุญชู ประธานสภาพระสังฆราชคาทอลิก แหงประเทศไทย พระสังฆราช เทียนชัย สมานจิต เลขาธิการสภาพระสังฆราชคาทอลิก แหงประเทศไทย

-113-


__________________________________________________________________________

บทที่ 31 พระบัญญัตพ ิ ระเปนเจาประการที่สอง “อยาออกพระนามพระเจาโดยไมสมเหตุ” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2142-2167)

144. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่ 2

สั่งใหเคารพพระนาม

พระเปนเจา และหามใชพระนามของพระองคในทางที่ผิด 145. การใชพระนามพระเปนเจาในทางที่ผิด ไดแก 1. สาบานที่ผิด 2. ผิดตอการบนบาน

3. กลาวรายตอพระผูเปนเจาหรือสิ่ง

ศักดิ์สิทธิ์ 146. เราสาบานไดในเรื่องจริงและเรื่องที่สําคัญเทานั้น 147. การบนบาน คือ การสัญญาแกพระเปนเจาวาจะทํากิจการดี บางอยางโดยผูกมัดตนเอง ถาไมทําก็เปนบาป 148. การกลาวรายถึงพระเปนเจา คือ การพูดจาดูหมิ่นพระเปนเจา แมพระ นักบุญตางๆ ฯลฯ

1.

การสาบาน คือ การอางถึงพระเปนเจาเพื่อยืนยันคําพูดหรือ คําสัญญาของตน -114-


_________________________________________________________________________ 2.

ในการบนบาน ควรจะคิดใหดีเสียกอน แลวถาเปนเรื่องสําคัญ ควรปรึกษาพระสงฆ

พระเยซูเจาทรงสอนวา ทานยังไดยินคํากลาวแกคนโบราณวา “อยาผิดคําสาบาน แตจงทําตามที่ไดสาบานไวตอองคพระผูเปนเจา” แตเราบอกทานทั้งหลายวา อยาสาบานเลย อยาอางถึงสวรรค เพราะ เปนที่ประทับของพระเจา อยาอางถึงแผนดิน เพราะเปนที่รองพระบาท ของพระองค

อยาอางถึงกรุงเยรูซาเล็ม เพราะเปนนครหลวงของ

พระมหากษัตริย อยาอางถึงศีรษะของทาน เพราะทานไมอาจเปลี่ยน ผมสักเสนใหเปนดําเปนขาวได ทานจงกลาวเพียงวา “ใช” หรือ “ไมใช” ที่เกินไปนั้นมาจากปศาจ (มธ 5:33-37) 144. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่สองสั่งอะไร 145. การใชพระนามพระเปนเจาในทางที่ผิดมีอะไรบาง 146. เราสาบานไดหรือไม 147. การบนบานคืออะไร 148. การกลาวรายถึงพระเปนเจาคืออะไร -115-


__________________________________________________________________________

บทที่ 32 พระบัญญัตพ ิ ระเปนเจาประการที่สาม “อยาลืมฉลองวันพระเจาเปนวันศักดิ์สิทธิ์” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2168-2195)

149. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่ 3 สั่งใหถือวันพระเจา คือ ตองไปรวมพิธีบูชาขอบพระคุณและหยุดทํางานกรรมกรในวัน นั้น 150. การขาดพิธีบูชาขอบพระคุณ ในวั นพระเจาเปนบาปหนัก (ดู กฎหมายพระศาสนจักร ม. 1246-7) ยกเวนกรณีจําเปน 151. ในวันพระเจา หามทํางานกรรมกร คือ งานที่ใชกําลังกาย เชน ขุดดิน ไถนา กอสราง แบกหาม ฯลฯ

1.

วันพระเจาคือวันอาทิตย วันปสกาและวันฉลองพระคริสตสมภพ 25 ธันวาคม

2.

ในวันพระเจา คาทอลิกจะตองรวมพิธีบูชาขอบพระคุณตั้งแต ตนจนจบ ดวยความสํารวมใจกาย ผูที่แมจะไปวัด แตก็ถือวา ขาดมิสซาวันพระเจาได ในกรณีดังนี้คือ -116-


_________________________________________________________________________ ก. ไปชาเกินไป หรือออกจากวัด กอนเสร็จพิธีจนขาดตอน สําคัญของมิสซา คือ ตั้งแตพระสงฆถวายปงและน้ําองุน จนถึงพระสงฆรับศีลมหาสนิทแลว ข. อยูนอกวัด หรืออยูนอกกลุมผูรวมพิธีบูชาขอบพระคุณ เมื่อ มี ค นแน น จนเป น ที่ แ สดงว า มิ ไ ด ร ว มจิ ต ใจร ว มพิ ธี บู ช า ขอบพระคุณเลย ค. ทํ า สิ่ ง ใดที่ ขั ด ต อ การร ว มจิ ต ใจในพิ ธี บู ช าขอบพระคุ ณ ตลอดเวลาที่เปนสวนสําคัญของมิสซา เชน คุยกัน นอน หลับ อานหนังสืออื่นๆ สูบบุหรี่ ชมภาพตางๆ ฯลฯ 3.

ผูที่ไดรับการยกเวนจากการรวมพิธีบูชาขอบพระคุณวันพระเจา คือ ผูที่อยูไกลวัดเกินไป หรือการเดินทางไปวัดลําบากมาก ผูปวยหรือผูฟนไข ผูพยาบาลคนปวย เลี้ยงทารก เฝาบาน และ ความจําเปนอื่นๆ

4.

ในวันพระเจาอนุญาตใหทํางานที่ใชสติปญญา และงานที่มิใช กรรมกร เชน การเรียน การสอน แมจะคิดคาจาง งานฝมือ และ งานเพื่อการกุศลแมจะเปนงานกรรมกร เชน ตบแตงวัด ฯลฯ

5.

ในวันพระเจาอนุญาตงานจําเปนทุกชนิดคือ ก. งานฉุกเฉิน เชน ดับเพลิง ขนของหนีน้ําทวม ขนขาวหรือ เกี่ยวขาวเพื่อมิใหเสียหาย การปองกันเหตุรายตางๆ -117-


__________________________________________________________________________ ข. งานจําเปนสวนตัว เชน หุงหาอาหาร เลี้ยงสัตว ซักเสื้อผา การหากินของผูหาเชากินค่ํา งานที่หยุดไมไดโดยไมเกิด ความเสียหาย ค. งานจําเปนสวนรวม เชน คนขับรถ เรือโดยสาร การขาย อาหารหรือเครื่องใชที่จําเปน ชางตัดผม ชางไฟฟา ประปา งานซอมถนนหรือสะพาน ฯลฯ

149. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่สามสั่งอะไร 150. การขาดพิธีบูชาขอบพระคุณวันพระเจาเปนบาปหรือไม 151. ในวันพระเจาหามงานอะไร

-118-


_________________________________________________________________________

บทที่ 33 พระบัญญัตพ ิ ระเปนเจาประการที่สี่ “จงนับถือบิดามารดา” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2197-2257)

152. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่สี่ สั่งใหทุกคนปฏิบัติหนาที่ใน ครอบครัวและหนาที่ในสังคม คือ หนาที่ระหวางบิดามารดากับ บุตร และหนาที่ระหวางผูใหญกับผูนอย 153. บุตรมีหนาที่ รัก เคารพ เชื่อฟง และมีความกตัญูกตเวทีตอ บิดามารดาหรือผูปกครองของตน 154. บิดามารดาหรือผูปกครองมีหนาที่ รัก เลี้ยงดู อบรม เอาใจใส วิญญาณ และชวยจัดอนาคตของบุตร หรือผูที่อยูในความ อุปการะของตน 155. ผูนอยมีหนาที่เคารพนับถือและเชื่อฟงผูใหญ พลเมืองมีหนาที่ เคารพเชื่อฟงผูบริหารแผนดินและถือตามกฎหมาย ตลอดจนทํา หนาที่พลเมืองดี 156. ผูมีอํานาจหรือผูใหญในสังคมมีหนาที่ปกครองดูแล และเอาใจใส ผูอ ยูใ ตอํ านาจ

และตอ งรั ก ษาความยุติธ รรม

ผลประโยชนของสวนรวม ทั้งตองใชอํานาจใหถูกตอง -119-

และรัก ษา


__________________________________________________________________________ 152. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่สี่สั่งอะไร 153. บุตรมีหนาที่อะไรตอบิดามารดา 154. บิดามารดามีหนาที่อะไรตอบุตร 155. ผูนอยมีหนาที่อะไรตอผูใหญ 156. ผูมีอํานาจหรือผูใหญในสังคมมีหนาที่อะไรตอผูอยูใตอํานาจ

-120-


_________________________________________________________________________

บทแทรก อธิบายหนาทีต่ างๆ ในพระบัญญัติประการที่สี่ 1.

หนาที่ของบุตรตอบิดามารดา ก. รัก คือ ความปรารถนาดี และพยายามทําดีใหบิดามารดา มีความสุขทั้งกายและใจ ข. เคารพนับถือ คือ ยกยองพอแมดวยกาย วาจาและใจ โดย ถือวาพอแมเปนผูแทนพระเปนเจา เพราะไดใหกําเนิดและ อบรมเลี้ยงดูเราแทนพระองค ค. เชื่อฟง คือ ทําตามคําสั่งของพอแมอยางเครงครัด โดยไม บนไมเถียง เวนแตเมื่อพอแมสั่งใหทําผิดพระบัญญัติ บุตร ทําตามไมได จะตองขัดโดยสุภาพ ง. มีความกตัญูกตเวที คือ รูจักบุญคุณและตอบแทน บุญคุณบิดามารดาตามความสามารถ

2.

ในการแสดงความกตัญูกตเวทีตอบิดามารดา ควรปฏิบัติดังนี้ ก. ในวัยเด็ก 1. ชวยทํางาน 2. ประหยัดทรัพยและชวยรักษา ทรัพยของพอแม 3. ตั้งใจเลาเรียนและประพฤติดี 4. สวด ภาวนาและทําบุญอุทิศแดพอแม

-121-


__________________________________________________________________________ ข. เมื่อเติบโตขึ้น 1. ทํามาหากินเลี้ยงบิดามารดา 2. ชวย รักษาพยาบาลเมื่อทานเจ็บไข 3. ชวยเหลือทางวิญญาณ เชน ชวยใหทานไดรับศีลรับพรในเวลาใกลจะตาย 4. เมื่อ พอแมลวงลับไปแลว ตองปฏิบัติตามคําสั่งสุดทาย และถือ ตามพินัยกรรม สวดภาวนาและขอมิสซาอุทิศให ฯลฯ 3.

หนาที่บิดามารดาตอบุตร ก. รัก คือ พยายามใหความสุขทางกายและใจแกบุตรทุกคน เสมอกัน ข. เลี้ยงดู คือ ทํามาหากิน ใหบุตรมีอาหาร เสื้อผา และ สิ่งจําเปนแกชีวิต ค. อบรม คือ สั่งสอนตักเตือนใหประพฤติดี และลงโทษอยาง เหมาะสมเมื่อทําผิด ง. เอาใจใสตอวิญญาณ คือ ใหบุตรรับศีลลางบาป เรียน คําสอน อบรมใหบุตรเปนคาทอลิกที่ดี คอยตักเตือนใหบุตร หมั่นแกบาปรับศีลมหาสนิท ถาบุตรจะถวายตัวแกพระเปนเจา พอแมตองสนับสนุนชวยเหลือ ขัดขวางไมไดเปน อันขาด จ. ชวยจัดอนาคต คือ ใหการศึกษาและสะสมทรัพยมรดกไว เปนทุน และชวยใหไดแตงงานอยางคาทอลิกที่ดี ในการ -122-


_________________________________________________________________________ แต งงานของบุ ต ร

พอ แม ไ ม มีสิ ท ธิ์ บั งคั บ หรือ ขัด ขวาง

เด็ดขาด เวนแตจะเปนที่เสื่อมเสียทางวิญญาณหรือทาง ครอบครัวเทานั้น 4.

หนาที่ตอประเทศชาติ ก. เปนพลเมืองดี คือ เคารพผูใหญทางบานเมือง ถือตาม กฎหมาย เสียภาษี และปองกันประเทศชาติ แมวาจะตอง เสียสละชีวิตก็ตาม ข. รับผิดชอบในการเลือกตั้งผูแทนราษฎร คือ ลงคะแนนเสียง เลือกตั้งผูแทนราษฎร โดยเลือกคนดี มีความรูและซื่อสัตย สามารถทําประโยชนแกประเทศชาติ

5.

การลงคะแนนเสียงแกผูแทนที่เปนศัตรูตอชาติหรือศาสนาเปน บาปหนัก เพราะตองมีสวนรับผิดชอบในความผิดที่เขาจะทําขึ้น และการละเว น ไม ล งคะแนนเสี ย งอั น เป น เหตุ ใ ห ค นไม ดีไ ด รั บ เลือกตั้ง ก็เปนบาปหนักเชนเดียวกัน

6.

ผูมีอํานาจจะตองบริหารบานเมืองดวยความซื่อสัตยและความ ยุติธรรม จะตองรักษาผลประโยชนของสวนรวม และรักษา ความสงบเรียบรอยในสังคม

7.

ทุกคนจะตองเคารพสิทธิ์ของคนตางศาสนา ละเวนการดูหมิ่น เบียดเบียนกัน และตองถือวามนุษยทุกชาติ ทุกผิว เปนพี่นองกัน -123-


__________________________________________________________________________ 8.

คาทอลิกตองเชื่อฟงพระสงฆ และนับถือพระสงฆในฐานะเปน ผูแทนของพระเยซูเจา และตองใหความชวยเหลือแกพระสงฆ ดวยกิจการและกําลังทรัพยตามความสามารถ

-124-


_________________________________________________________________________

บทที่ 34 พระบัญญัติประการที่หา “อยาฆาคน” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2258-2330)

157. พระบัญญัติประการที่หา หามทํารายรางกายและวิญญาณของ ผูอื่น 158. การทํารายชีวิตและรางกายของผูอื่น คือ การทําอันตรายใดๆ แกเขา เชน ทําใหบาดเจ็บ พิการ หรือถึงแกความตาย 159. การทํารายวิญญาณของผูอื่น คือ ทําสิ่งใดๆ ที่เปนเหตุใหเขา ทําบาป เชน การพูด เขียน การเปนตัวอยางไมดี หรือการยุยงให เขาทําบาป 160. การฆาคนเปนบาปหนักรายแรง เพราะเปนการละเมิดสิทธิ์เหนือ ชีวิตมนุษย ซึ่งเปนของพระเปนเจาแตผูเดียว 161. การฆาคนอาจทําไดในกรณีจําเปนดังนี้ ก. เพื่อปองกันชีวิตของตนเองหรือของผูอื่นจากคนราย หรือ เพื่อปองกันทรัพยสินจํานวนมาก ข. เพื่อปองกันประเทศชาติจากขาศึกที่รุกราน ค. เพชฌฆาตซึ่งทําหนาที่ประหารชีวิตนักโทษ ตัดสิน -125-

ซึ่งถูกศาล


__________________________________________________________________________ 162. การฆาตัวเองเปนบาปหนักรายแรง เพราะวาเราไมมีสิทธิ์ทําลาย ชีวิตซึ่งเปนของพระเจาแตผูเดียว 163. การฆาทารกในครรภหรือจงใจทําแทงบุตรเปนบาปหนักรายแรง เชนเดียวกับฆาคน พระศาสนจักรลงโทษอยางหนักแกผูทําผิด เชนนี้ รวมทั้งผูมีสวนรวมมือดวย 164. การฆาสัตวไมเปนบาป เพราะวาพระเจาสรางสัตวเพื่อประโยชน ของมนุษย แตการทรมานสัตวโดยไรเหตุผลก็เปนบาปเบาได 165. พระบัญญัติประการที่หา หามการทะเลาะวิวาท เกลียดชัง พยาบาท ดาแชง รังแก เบียดเบียนกัน ฯลฯ 166. พระบัญญัติประการที่หา สั่งใหมีความรัก เมตตากรุณาตอกัน ใหอภัยและทําดีแกผูอื่นทั้งกายและวิญญาณ

1.

การเปนที่สะดุด คือ การพูดหรือการกระทําสิ่งใดๆ ไมถูกตอง อันเปนเหตุใหผูอื่นทําบาป ผูที่เปนที่สะดุดแกผูอื่นมีบาป เพราะ เปนการทํารายวิญญาณของเขา (มธ 18:6-7)

2.

พระบั ญ ญัติ ป ระการที่ ห า มีข อ บั ง คับ สํ า หรั บ นายแพทย แ ละผู พยาบาลคนเจ็บใหปฏิบัติหนาที่ของตนโดยสุจริตและเครงครัด -126-


_________________________________________________________________________ และตองแสวงหาความรูใหเพียงพอในการรับผิดชอบตอชีวิตและ สุขภาพของผูอื่น

157. พระบัญญัติประการที่หาหามอะไร 158. การทํารายชีวิตและรางกายของผูอื่นคืออะไร 159. การทํารายวิญญาณของผูอื่นคืออะไร 160. การฆาคนเปนบาปหนักเพียงใด 161. การฆาคนอาจทําไดในกรณีใด 162. การฆาตัวเองเปนบาปหนักเพียงใด 163. การฆาทารกในครรภเปนบาปหนักเพียงใด 164. การฆาสัตวเปนบาปหรือไม เพราะเหตุใด 165. พระบัญญัติประการที่หายังหามอะไรอีก 166. พระบัญญัติประการที่หาสั่งอะไร

-127-


__________________________________________________________________________

บทที่ 35 พระบัญญัตพ ิ ระเปนเจาประการที่หก “อยาผิดประเวณี” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2331-2440)

167. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่หก สั่งใหเราเคารพและรักษา ความบริสุทธิ์ในรางกายของตนเองและของผูอื่น ทุก อยางที่ผิด ตอ ความบริสุ ทธิ์

หามกิจการ

และหามแสวงหาหรือ เสี่ย ง

อันตรายตอความบริสุทธิ์ 168. กิจการที่ผิดตอความบริสุทธิ์คือ การจงใจทําผิดทางเพศเพื่อหา ความสุขในกามรมณทุกชนิดซึ่งตนไมมีสิทธิ์ เชน การพูด ฟง มองดู สัมผัส และกิจการลามกทุกชนิด 169. วิธีรักษาความบริสุทธิ์คือ 1. หลีกเลี่ยงอันตรายและโอกาสบาป 2. หมั่นแกบาปรับศีลมหาสนิทบอยๆ

3. มีความศรัทธาตอ

แมพระ และสวดภาวนา ทรมานกายและใจ ที่ดี เปนตน

-128-

4. การคบเพื่อน


_________________________________________________________________________ 1.

ความบริสุทธิ์ในรางกายนี้หมายถึง การละเวนจากการหาความ สนุกที่ผิดในเรื่องทางเพศ

2.

กามรมณ คือ ความใคร หรือความปรารถนาเกี่ยวกับทางเพศ

3.

โอกาสและอันตรายตอความบริสุทธิ์คือ การคบเพื่อนชั่ว การ สนิทสนมเกินควรกับเพื่อนตางเพศ การดูมหรสพที่ผิดศีลธรรม ภาพยนตร งิ้ว ละคร ลําตัด รําวง การเตนรํา การเที่ยวใน สถานที่เปนภัย เชน สถานอาบอบนวด ไนตคลับ ดิสโกเธค ฯลฯ

4.

พระเปนเจาสรางความสุขในกามารมณ เพื่อชักจูงใหมนุษยทํา หนาที่พอแมจะไดมีบุตรสืบสกุลตอไป

ดังนั้น ความสุขใน

กามรมณจึงไมใชสิ่งชั่วราย ทุกคนมีสิทธิ์แสวงหาความสุขนั้น ตามกฎระเบียบของพระเปนเจา คือ ในชีวิตสมรสเทานั้น การหา ความสุ ข ในกามรมณ น อกจากชี วิ ต สมรสจึ ง เป น การละเมิ ด พระบัญญัติของพระเปนเจาอยางหนัก 5.

การสําเร็จความใครดวยตนเอง (Masturbation) การผิดประเวณี ตอคนเพศเดียวกัน (การเลนเพื่อน Sodomy หรือ Lesbianism) เปนการหาความสุขในกามรมณที่ผิดตอจุดมุงหมายซึ่งพระเจา กําหนดไว จึงเปนบาปเชนเดียวกัน -129-


__________________________________________________________________________

ทานไดยินคํากลาวที่วา “อยาลวงประเวณี” แตเรากลาวแก ทานทั้งหลายวา ผูใดมองหญิงดวยความใคร ก็ไดลวงประเวณีกับ นางในใจแลว ถาตาขวาของทานเปนเหตุใหทานทําบาป จงควักมันทิ้ง เสีย เพราะเพียงแตเสียอวัยวะสวนเดียว ยังดีกวาปลอยใหรางกาย ทั้งหมดของทานตกนรก (มธ 5:27-29)

167. พระบัญญัติประการหกสั่งอะไร 168. กิจการที่ผิดความบริสุทธิ์มีอะไรบาง 169. มีวิธีใดที่ชวยรักษาความบริสุทธิ์

-130-


_________________________________________________________________________

บทที่ 36 พระบัญญัตพ ิ ระเปนเจาประการที่เจ็ด “อยาลักขโมย” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2401-2463)

170. พระบัญญัติประการที่เจ็ด สั่งใหรักษาความยุติธรรม และเคารพ กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินของผูอื่น 171. บาปที่ผิดตอความยุติธรรมในทรัพยสิน คือ 1. เอาของๆเขาไว อยางผิดยุติธรรม 2. เก็บของๆเขาไวอยางผิดยุติธรรม 3. ทํา ทรัพยสินของเขาเสียหาย

4. รวมมือในการทําผิดยุติธรรม

ดังกลาวมานี้ 172. ผูที่ทําบาปผิดยุติธรรมในทรัพยสินของผูอื่น แมจะแกบาปแลวก็ จําเปนตองคืน หรือชดใชความเสียหายแกเขาจนครบถวนจึงจะ พนบาป

1.

กรรมสิทธิ์ คือ การเปนเจาของโดยถูกตองในทรัพยสินที่มีอยูหา มาได หรือไดรับตกทอดอยางถูกตอง

-131-


__________________________________________________________________________ 2.

การเอาของผูอื่นมาอยางผิดยุติธรรม คือ เอาของๆ เขาโดย เจาของไมยินยอมยกให เชน ขโมย โกง ปลน แยงชิง บังคับ ขูเข็ญ เรียกดอกเบี้ยเกินควร

3.

เก็บของๆ เขาไวผิดยุติธรรม คือ การยึดเอาหรือไมใหสิ่งของเงิน ทองแกผูอื่นในเมื่อเขามีสิทธิ์ควรไดรับ เชน การไมยอมใชหนี้ ไม จายคาจาง ลูกจางที่ไมทํางานตามที่ตกลง การไมยอมคืนสิ่งของ ที่เขาฝาก เก็บของตกหลนไมคืนเจาของ

4.

ทําทรัพยสินเขาเสียหาย คือ ทําใหเขาสูญเสียทรัพยสิน หรือ กีดกันมิใหเขาไดรับผลประโยชนที่ควรไดรับ

5.

การรวมมือในการทําผิดยุติธรรม คือ ชวยเหลือหรือรวมมีสวน เชน การเสี้ยมสอน ยุยงสงเสริม สมรูรวมคิด รับซื้อของโจร หรือชวยเหลือดวยวิธีตางๆ

6.

การพนันเปนเหตุใหคนทําผิดยุติธรรมมากที่สุด เมื่อการเลน พนันเปนการลางผลาญทรัพยสินในครอบครัว การพนันจึงเปน บาปผิดตอความยุติธรรม

7.

นายจางมีหนาที่ตองจายคาจางอยางยุติธรรม คือ เพียงพอตอ การดํารงชีวิตและเลี้ยงครอบครัวของลูกจาง ควรชวยอุปการะ ครอบครั ว และชว ยเหลือ ในยามเจ็ บ ปว ย อันตรายทางกายและวิญญาณของเขาดวย -132-

และตอ งปอ งกั น


_________________________________________________________________________ 8.

ลูกจางตองเคารพเชื่อฟง และทํางานตามที่ตกลง และรักษา ผลประโยชนของนายจาง

และมีความซื่อสัตยสุจริตในหนาที่

การงานของตน

170. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่เจ็ดสั่งอะไร 171. บาปที่ผิดตอความยุติธรรมในทรัพยสินมีอะไรบาง 172. ผูที่ทําผิดตอความยุติธรรมในทรัพยสิน ถาแกบาปเทานั้นจะพน บาปหรือไม

-133-


__________________________________________________________________________

บทที่ 37 พระบัญญัตพ ิ ระเปนเจาประการที่แปด “อยาพูดเท็จใสรายผูอื่น” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2464-2513)

173. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่แปด สั่งใหรักษาความจริง และเคารพชื่อเสียงของผูอื่น 174. บาปที่ผิดตอความจริงและผิดตอชื่อเสียงของผูอื่น คือ 1. โกหก 2. เปนพยานเท็จ 3. ใสความ 4. นินทา 5. พิพากษาดวย เบาความ 6. เผยความลับผิดยุติธรรม 175. ผูที่ทําผิดตอความจริงและผิดตอชื่อเสียงของผูอื่น จะตองชดเชย ความเสียหายและคืนชื่อเสียงแกเขา 176. ผูที่มีสวนรวมในการทําลายชื่อเสียงของผูอื่นก็มีบาป และจะตอง ชดเชยความเสียหาย และคืนชื่อเสียงแกเขาเชนเดียวกัน

1.

โกหก คือ พูดผิดตอความจริงที่ตนรูเพื่อหลอกลวงผูอื่นใหหลง ผิด -134-


_________________________________________________________________________ 2. เปนพยานเท็จ คือ การชวยยืนยันเรื่องเท็จวาเปนจริงในการ 3.

ตัดสินคดีใดๆ ใสความ คือ การกลาวหาวาเขาทําผิดที่เขาไมไดทํา ขอบกพรองที่เขาไมมี

หรือมี

หรือเพิ่มความผิดของเขาใหหนักกวาที่

4.

เปนจริง การนินทา คือ การเปดเผยความผิดลับของเขาแกผูที่ไมควรรู

5.

อันเปนเหตุใหเขาเสียชื่อเสียง การพิพากษาดวยเบาความ คือ การตัดสินหรือกลาวหาวา

6.

ผูอื่นมีความผิดโดยไมมีเหตุผลเพียงพอ การเปดเผยความลับผิดยุติธรรม คือ การนําเรื่องสวนตัวของ เขาไปเที่ยวเลาบอกใหเขาเสียชื่อเสียงหรือเกิดความเสียหาย

173. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่แปดสั่งหามอะไร 174. บาปที่ผิดตอความจริงและผิดตอชื่อเสียงผูอื่นมีอะไรบาง 175. ผูที่ผิด ตอความจริง

และผิด ตอ ชื่อ เสีย งของผูอื่น จะตอ งทํา

อยางไรเพื่อใหพนบาป 176. ผูมีสวนรวมในการทําลายชื่อเสียงของผูอื่นจะตองทําอยางไร

-135-


__________________________________________________________________________

บทที่ 38 พระบัญญัตพ ิ ระเปนเจาประการที่เกา “อยาปลงใจผิดประเวณี” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2514-2533)

177. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่เกา สั่งใหรักษาความบริสุทธิ์ ทางจิตใจ และหามคิดหรือปรารถนาในสิ่งที่ผิดตอความบริสุทธิ์ 178. การคิดหรือปรารถนาผิดตอความบริสุทธิ์ โดยรูตัวและเต็มใจ เปนบาปหนัก 179. วิธีขจัดความคิดและความปรารถนาผิดตอความบริสุทธิ์

คือ

1. สวดภาวนาสั้นๆ บอยๆ 2. ไมอยูวางเปลา มีงานอดิเรก เลน กีฬา ดนตรี 3. สํารวมกาย วาจา ใจ

1.

ความคิดหรือความปรารถนาไมดีที่เกิดขึ้นเองโดยไมยินยอมเต็ม ใจ ไมเปนบาป

2.

การพยายามสละทิ้งความคิดหรือความปรารถนาไมดี กลับเปน การบุญกุศล เพราะเปนสิ่งยากลําบาก -136-


_________________________________________________________________________ 3.

การหลีกหนีความคิดไมดีโดยหันไปคิดถึงหรือสนใจสิ่งอื่นๆ เปน วิธีงายที่สุดเพื่อชนะการประจญเรื่องนี้

177. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่เกาสั่งและหามอะไร 178. การคิดหรือปรารถนาผิดตอความบริสุทธิ์เปนบาปเพียงใด 179. วิธีขจัดความคิดหรือความปรารถนาไมดีมีอะไรบาง

-137-


__________________________________________________________________________

บทที่ 39 พระบัญญัตพ ิ ระเปนเจาประการที่สบ ิ “อยามักไดทรัพยสินของผูอื่น” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2534-2557)

180. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่สิบ สั่งใหรักษาความยุติธรรม ในใจ และหามคิดปรารถนาหรือมักไดทรัพยสมบัติของผูอื่นโดย ผิดความยุติธรรม 181. การคิด มุงหมายจะไดท รั พ ยส มบั ติผูอื่น โดยผิด ความยุ ติธ รรม การตั้งใจจะขโมย หรือมักไดทรัพยสินของผูอื่นเปนบาปหนักหรือ เบาแลวแตกรณี 182. วิธีขจัดความมักไดทรัพยสมบัติ คือ 1. ทํามาหากินอยางสุจริต เพื่อจะมีสิ่งที่ตองการ 2. พึงพอใจในฐานะและทรัพยสมบัติที่ตน มีอยู

1.

ความมักไดหรือความโลภในทรัพยสมบัติ เปนเหตุทําใหผิดความ ยุติธรรมไดทุกชนิด -138-


_________________________________________________________________________ 2.

การถือความยากจนตามแบบอยางพระเยซูเจา เปนวิธีที่ดีที่สุด เพื่อชนะความมักได

180. พระบัญญัติพระเปนเจาประการที่สิบสั่งและหามอะไร 181. บาปที่ผิดตอพระบัญญัตินี้มีอะไรและเปนบาปเพียงใด 182. วิธีขจัดความมักไดในทรัพยสมบัติมีอะไรบาง

-139-


__________________________________________________________________________

บทที่ 40 พระบัญญัติแหงพระศาสนจักร (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2041-2043)

183. พระศาสนจั ก รได รับ มอบอํ านาจจากพระเยซูเ จ าให ทําหนา ที่ ปกครองดูแลคาทอลิก ดังนั้น พระศาสนจักรจึงมีอํานาจตั้ง บัญญัติได 184. พระศาสนจักรสั่งใหอดเนื้อและถือศีลอดอาหาร เพื่อใหคาทอลิก ทุกคนรวมพลีกรรมกับพระศาสนจักรทั่วไป เปนการระลึกถึง และการมีสวนรวมในความทรมานและการสิ้นพระชนมของพระ เยซูเจา 185. พระศาสนจั ก รสั่ ง ให ค าทอลิ ก แก บ าปรั บ ศี ล มหาสนิ ท อย า ง ถูกตองในกําหนดเวลาปสกา เพื่อจะไดรับผลประโยชนจากการ ไถกูของพระเยซูเจา และรวมยินดีในการฉลองการกลับคืนพระ ชนมชีพของพระองค 186. พระศาสนจักรสั่งใหคาทอลิก สละทรัพยทําบุญชวยพระศาสน จักรตามฐานะและความสามารถ เพราะวาคาทอลิกมีหนาที่รวม รับผิดชอบในสังคมทางวิญญาณ

และชวยเหลือตอบแทน

พระศาสนจักร ซึ่งทํางานเพื่อผลประโยชนฝายวิญญาณของตน -140-


_________________________________________________________________________ 1.

ทุกวันศุกรตลอดปและทุกวันในเทศกาลมหาพรต พลีกรรมของพระศาสนจักรทั่วไป

เปนวัน

ในวันเหลานี้คาทอลิกตอง

ชดเชยใชโทษบาปของตนตามวิธีการของแตละคน ไดแก การ สวดภาวนา ปฏิบัติกิจเมตตาปรานีและความรักเปนพิเศษ การ เสียสละตนเองและการทําหนาที่ของตนอยางซื่อสัตย (กฎหมาย พระศาสนจักร ม. 1249) 2.

คริสตชนที่มีอายุตั้งแต 14 ปบริบูรณขึ้นไป ตองอดเนื้อตาม กําหนดของพระศาสนจักร

3.

วันบังคับใหอดเนื้อ ทุกวันศุกรตลอดป และทุกวันในเทศกาล มหาพรต

4.

การอดเนื้อ หมายถึง การปฏิบัติอยางใดอยางหนึ่งตามกําหนด ตอไปนี้ ซึ่งถือไดวาเทากับเปนการอดเนื้อ คือ ก. อดเนื้อตามปกติ ข. ปฏิบัติกิจศรัทธาพิเศษนอกเหนือไปจากที่เคยทําเปนประจํา เชน เดินรูป 14 ภาค เฝาศีลมหาสนิท สวดสายประคํา ค. ปฏิบัติกิจเมตตาปรานี เชน ใหทานคนยากจน เยี่ยมคนปวย ง. งดเวนอาหารหรือบางสิ่งที่เคยทําเปนประจํา เชน งดดื่ม สุรา เบียร งดสูบบุหรี่ ฯลฯ -141-


__________________________________________________________________________ จ. อดออมและละเวนความฟุงเฟอ ตางๆ

เชน งดไปชม

ภาพยนตร งดไปทานอาหารตามภัตตาคาร งดดูโทรทัศน หรือวีดีโอเทปบางรายการ ฯลฯ 5.

การถือศีลอดอาหาร หมายถึง ในวันนั้นรับประทานอิ่มเพียงมื้อ เดีย ว

สว นอีก สองมื้อ รั บ ประทานเพีย งครึ่งหนึ่ง

และไม

รับประทานอาหารอื่นใดระหวางมื้อทั้งสาม นอกจากน้ําธรรมดา หรือเครื่องดื่มที่ไมใชประเภทอาหาร 6.

ผูที่ตองถือศีลอดอาหาร คือคริสตชนอายุตั้งแต 18 ปบริบูรณ จนถึง 59 ปบริบูรณ

7.

วั น บั ง คั บ ใหถื อ ศีล อดอาหาร

คือ วั น พุ ธ รั บ เถ าและวั น ศุ ก ร

ศักดิ์สิทธิ์ 8.

การพลีกรรมหรือการอดเนื้อ และถือศีลอดอาหาร มีจุดประสงค เพื่อรวมเปนหนึ่งเดียวกับ คริส ตชนทั่ วโลกในการระลึกถึงการ ทรมานและการสิ้นพระชนมของพระเยซูคริสตเจา และใหทุกคน รวมมีสวนและไดรับคุณคาจากการไถกูของพระองค

-142-


_________________________________________________________________________

พระเยซูเจาตรัสแกสาวกวา “ผูใดฟงทาน ผูนั้นก็ฟงเรา ผูใด สบประมาททาน ผูนั้นก็สบประมาทเรา แตผูที่สบประมาทเรา ก็ สบประมาทผูที่ทรงสงเรามา” (ลก 10:16)

183. ทําไมพระศาสนจักรจึงมีอํานาจตั้งพระบัญญัติ 184. พระศาสนจักรสั่งใหอดเนื้อและถือศีลอดอาหารเพื่ออะไร 185. ทําไมพระศาสนจักรจึงสั่งใหคาทอลิกแกบาปรับศีลมหาสนิท ใน กําหนดปสกา 186. ทําไมคาทอลิกจึงตองสละทรัพยชวยบํารุงพระศาสนจักร

-143-


__________________________________________________________________________

บทที่ 41 พระหรรษทาน (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 1996-1999)

187. พระหรรษทาน

คือ พระคุ ณ เหนือ ธรรมชาติที่พ ระเปน เจ า

ประทานแกเรา เพื่อชวยใหไปสวรรค อาศัยบุญบารมีของพระ เยซูเจา 188. พระหรรษทานจําเปนสําหรับมนุษย เพราะไมมีใครสามารถเอา ตัวรอดไปสวรรคดวยกําลังของตนเองได 189. พระหรรษทานมีสองชนิด คือ พระหรรษทานปจจุบัน และพระ หรรษทานศักดิ์สิทธิกร 190. เราไดรับพระหรรษทานโดยการสวดภาวนาและรับศีลมหาสนิท

1.

พระคุณ คือ ความดีตางๆ ที่พระเปนเจาประทานแกมนุษย

2.

พระคุณเหนือธรรมชาติ คือความดีทางวิญญาณที่พระเปนเจา ประทานใหเปนพิเศษจากน้ําพระทัยดีของพระองค ซึ่งมนุษยไมมี สิทธิ์จะไดรับ -144-


_________________________________________________________________________ 3. อาศัยบุญบารมีของพระเยซูเจา คือพระเปนเจาใหความ ชวยเหลือมนุษย เห็นแกบุญกุศลของพระเยซูเจา เพราะพระองค ไดรับความทรมานและสิ้นพระชนมเพื่อมนุษยทุกคน 4.

พระเปนเจาประทานความชวยเหลือแกเรามนุษยใหไปสวรรค โดยทําใหวิญญาณศักดิ์สิทธิ์สมควรไปสวรรค คือใหพระหรรษทานศั ก ดิ์ สิ ท ธิ ก รและช ว ยให ก ารสร า งบุ ญ กุ ศ ลเพื่ อ จะได รั บ รางวัลในสวรรคโดยใหพระหรรษทานปจจุบัน

พระวจนาตถทรงรับธรรมชาติมนุษย และเสด็จมาประทับอยู ทามกลางเรา

เราไดเห็ น พระสิริรุงโรจนของพระองคเ ปน พระสิริ

รุงโรจนที่ทรงรับจากพระบิดา ในฐานะพระบุตรเพียงพระองคเดียว เปยมดวยพระหรรษทานและความจริง ยอหนเปนพยานถึงพระองค และประกาศวาผูที่มาภายหลั งขาพเจาไดนํ าหนาขาพเจา

เพราะ

พระองคทรงดํารงอยูกอนขาพเจา’ จากความไพบูลยของพระองค เรา ทุกคนไดรับพระหรรษทานตอเนื่องกัน เพราะพระเจาไดประทานธรรม บัญญัติผานทางโมเสส แตพระหรรษทานและความจริงมาทางพระ เยซูคริสตเจา ไมมีใครเคยเห็นพระเจาเลย พระบุตรเพียงพระองค -145-


__________________________________________________________________________ เดียว ผูสถิตอยูในพระอุระของพระบิดานั้นไดทรงเปดเผยใหเรารู (ยน 1:14-18)

187. พระหรรษทานคืออะไร 188. พระหรรษทานจําเปนสําหรับมนุษยหรือไม 189. พระหรรษทานมีกี่ชนิด อะไรบาง 190. เราไดรับพระหรรษทานอยางไร

-146-


_________________________________________________________________________

บทที่ 42 พระหรรษทานปจจุบัน (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2000)

191. พระหรรษทานปจจุบัน คือ พระคุณเหนือธรรมชาติที่เปนความ สวางและกําลังทางวิญญาณ เพื่อชวยใหรูจักและสามารถทําดี หนีชั่วในการเอาตัวรอดไปสวรรค 192. มนุษยทุกคนไดรับพระหรรษทานปจจุบันจากพระเปนเจาอยาง เพียงพอและความเหมาะสมสําหรับเอาตัวรอดไปสวรรคได 193. พระหรรษทานปจจุบันใหเสรีภาพอันสมบูรณแกจิตใจมนุษย คือ มนุษยจะเชื่อฟงหรือขัดสูได 194. การขัดสูพระหรรษทานปจจุบัน จะทําใหไดรับพระหรรษทานนี้ ลดนอยลง จิตใจจะมืดมัวและแข็งกระดางจมอยูในความชั่วราย ยิ่งขึ้น จนยากที่จะกลับใจได

1.

ปจจุบัน แปลวา เวลานี้หรือในขณะนี้ เพราะเรารับพระหรรษทาน ปจจุบัน ในทุกขณะที่จะทําดีหนีชั่วแตละเวลาเสมอ

-147-


__________________________________________________________________________ 2.

พระเปนเจาทรงประทานพระหรรษทานปจจุบันอยางเหมาะสม ตามความตองการของแตละคน ดังนั้น ถาทุกคนใชพระหรรษทาน ป จ จุ บั น ให เ กิ ด ประโยชน เ สมอก็ จ ะเอาตั ว รอดไปสวรรค ไ ด แนนอน

ดังนั้น ถาผูใดอยูในพระคริสตเจา ผูนั้นก็เปนสิ่งสรางใหม สภาพเกาผานพนไป สภาพใหมเกิดขึ้นแลว ทุกสิ่งมาจากพระเจา พระองคทรงทําใหเราคืนดีกับพระองคเดชะพระคริสตเจา และทรง มอบภารกิจการคืนดีนี้ใหกับเรา (2คร 5:17-18)

191. พระหรรษทานปจจุบันคืออะไร 192. ทุกคนไดรับพระหรรษทานปจจุบันอยางเพียงพอหรือ 193. พระหรรษทานปจจุบันบังคับจิตใจมนุษยหรือ 194. การขัดสูพระหรรษทานบังเกิดผลรายอยางไร

-148-


_________________________________________________________________________

บทที่ 43 พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 2003)

195. พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร คือ พระคุณเหนือธรรมชาติที่ทํา ใหวิญญาณสนิทกับพระเปนเจา บันดาลใหมีชีวิตเหนือธรรมชาติ เปนบุตรบุญธรรมของพระองคและมีสิทธิ์ไปสวรรค 196. เราไดรับพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรเมื่อไดรับศีลลางบาป และ ไดรับพระหรรษทานเพิ่มทวีขึ้นเมื่อรับศีลศักดิ์สิทธิ์อื่นๆ หรือโดย การสวดภาวนาและทําบุญกุศลตางๆ 197. เราสูญเสียพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรทันทีเมื่อทําบาปหนัก 198. เราไดรับพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรที่เสียไปกลับคืนใหมโดยการ ชําระบาปหนักดวยศีลอภัยบาป หรือมีความทุกขถึงบาป อยาง สมบูรณ

1.

พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรทําใหวิญญาณสนิทกับพระเปนเจา คือ วิญญาณมีสวนรวมในชีวิตของพระเปนเจา ซึ่งหมายถึงการ แปรสภาพของวิ ญ ญาณจากคนบาปกลายเป น ผู ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ -149-


__________________________________________________________________________ บริสุทธิ์ และเปนที่พอพระทัยของพระองค เปรียบไดกับเหล็กที่ ถูกไฟรอนลุกแดงคลายไฟฉันใด วิญญาณที่มีพระหรรษทาน ศักดิ์สิทธิกรก็มีชีวิตใหมคลายพระเปนเจาฉันนั้น 2.

ชีวิตเหนือธรรมชาติ เปนชีวิตฝายวิญญาณ ซึ่งเกิดจากการสนิท กับพระเปนเจา เชนเดียวกับชีวิตธรรมชาติในรางกายซึ่งสนิทกับ วิญญาณ

3.

ชีวิตเหนือธรรมชาติเปนการเริ่มตนชีวิตนิรันดร ดวยการเริ่มตน สนิทกับพระเปนเจาตั้งแตในโลกนี้

4.

พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร ชวยใหกิจการบุญมีคุณคาสมควรจะ ไดรับรางวัลในสวรรค ดังนั้น คนที่มีบาปหนักไมอาจสรางบุญ กุศลที่จะรับรางวัลในสวรรคโดยตรง แตกิจการบุญตางๆ ของ เขาจะชวยใหเขาไดกลับตนเปนคนดี

5.

การสรางบุญกุศลเพื่อจะไดรับรางวัลในสวรรค จําเปนตองอยูใน สถานะพระหรรษทาน และทํากิจการดีนั้นเพื่อพระเปนเจาเทานั้น

6.

ผูมีวิญญาณบริสุทธิ์ปราศจากบาปหนัก และมีพระหรรษทาน ศักดิ์สิทธิกร เรียกวาอยูในสถานะพระหรรษทาน สวนผูที่มีบาป หนักหรือไมมีพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร เรียกวาไมอยูในสถานะ พระหรรษทาน -150-


_________________________________________________________________________

นักบุญเปาโลไดสอนชาวโรมในจดหมายของทานวา “ใครๆ ที่ มีพระจิตของพระเจาเปนผูนํา ก็เปนบุตรของพระเจา ทานทั้งหลาย ไมไดรับจิตการเปนทาสซึ่งมีแตความหวาดกลัวอีก แตไดรับจิตการ เปนบุตรบุญธรรม ซึ่งทําใหเรารองออกมาวา “อับบา พอจา” พระจิต เจาเองทรงเปนพยานยืนยันรวมกับจิตของเราวา เราเปนบุตรของพระ เจา เมื่อเราเปนบุตร เราก็เปนทายาทดวย เปนทายาทของพระเจาและ เปนทายาทรวมกับพระคริสตเจา” (รม 8:14-17)

195. พระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรคืออะไร 196. เราไดรับพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรไดอยางไร 197. เราสูญเสียพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกรไดอยางไร 198. เราจะไดรับพระหรรษทานที่เสียไปกลับคืนมาไดอยางไร

-151-


__________________________________________________________________________

บทที่ 44 ศีลศักดิ์สท ิ ธิ์ (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 3 ขอ 1210-1221)

199. ศีลศักดิ์สิทธิ์ คือ เครื่องหมายศักดิ์สิทธิ์ที่พระเยซูเจาทรงตั้งขึ้น เพื่อประทานพระหรรษทานแกผูที่รับโดยถูกตอง 200. ศีลศักดิ์สิทธิ์มี 7 ประการ คือ 1. ศีลลางบาป 2. ศีลอภัยบาป 3. ศีลมหาสนิท 4. ศีลกําลัง 5. ศีลบวช 6. ศีลสมรส

7.

ศีลเจิมผูปวย 201. ศีลลางบาป ศีลกําลัง และศีลบวช รับไดเพียงครั้งเดียว เพราะ ศีลทั้งสามนี้จารึกตราอันไมลบเลือนไวในวิญญาณ 202. ตราอั น ไม ล บเลื อ นในวิ ญ ญาณเป น ลั ก ษณะพิ เ ศษที่ ทํ า ให วิญญาณมีสวนรวมในหนาที่สงฆของพระเยซูเจา 203. ศีลศักดิ์สิทธิ์ประทานพระหรรษทานแกผูรับทุกครั้งที่รับศีลอยาง ถูกตอง

1.

เครื่องหมาย คือ สิ่งที่มองเห็นไดและใชแทนหรือทําใหเขาใจถึง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เชน ธง เปนเครื่องหมายของชาติ ฯลฯ -152-


_________________________________________________________________________ 2.

เครื่องหมายของศีลศักดิ์สิทธิ์ทําใหเขาใจถึงพระหรรษทาน และ ประทานพระหรรษทานแกผูที่รับเครื่องหมายนี้ดวยฤทธิ์อํานาจ ของพระเยซูเจาเอง

3.

การรับศีลศักดิ์สิทธิ์ไมถูกตอง นอกจากไมไดรับพระหรรษทาน แลว ยังมีบาปหนัก คือ ทุราจารศีลศักดิ์สิทธิ์อีกดวย

4.

ศีลลางบาปและศีลอภัยบาป เปนศีลศักดิ์สิทธิ์สําหรับชําระบาป ของผูที่ไมอยูในสถานะพระหรรษทาน

5.

ศีลกําลัง ศีลมหาสนิท ศีลเจิมผูปวย ศีลบวชและศีลสมรส เปน ศีลศักดิ์สิทธิ์สําหรับผูที่อยูในสถานะพระหรรษทานเทานั้น ดังนั้น คนที่มีบาปหนักจึงรับศีลเหลานี้ไมได

นอกจากจะไดแกบาป

เสียกอน 6.

ตราอันไมลบเลือนของศีลศักดิ์สิทธิ์ประทานพระคุณดังนี้คือ ก. เรียกรองพระหรรษทานมาสูวิญญาณ ข. ชวยเพิ่มพระหรรษทาน และทําใหวิญญาณไดรับความ ชวยเหลือตางๆ

7.

ค. ชวยปองกันพระหรรษทานในวิญญาณ ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเขาเปนคริสตชน คือ ศีลลางบาป ศีล มหาสนิท ศีลกําลัง

-153-


__________________________________________________________________________ 8. ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเยียวยารักษา คือ ศีลอภัยบาป และศีล 9.

เจิมผูปวย ศีลศักดิ์สิทธิ์ที่เสริมสรางความเปนหนึ่งเดียว คือ ศีลบวชและ ศีลสมรส

199. ศีลศักดิ์สิทธิ์คืออะไร 200. ศีลศักดิ์สิทธิ์มีกี่ประการ 201. ศีลศักดิ์สิทธิ์ประการใดที่รับไดเพียงครั้งเดียว 202. ตราอันไมลบเลือนในวิญญาณคืออะไร 203. ศีลศักดิ์สิทธิ์ประทานพระหรรษทานทุกครั้งหรือไม

-154-


_________________________________________________________________________

บทที่ 45 ศีลลางบาป (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1213-1284)

204. ศีลลางบาปเปนศีลศักดิ์สิทธิ์ที่ชําระบาปกําเนิดและบาปอื่นๆ ยก โทษบาปทั้งสิ้น ทั้งทําใหผูรับศีลลางบาปเกิดเปนบุตรพระเปน เจาและอยูในพระหรรษทาน 205. ศีลลางบาปทําใหผูรับเกิดเปนบุตรพระเปนเจา

โดยประทาน

พระหรรษทานศั ก ดิ์สิท ธิก รและจารึก ตราอัน ไมล บเลือ นไวใ น วิญญาณของผูรับ 206. ผูรับศีลลางบาปไดเขาอยูในพระศาสนจักร คือ ไดเปนสมาชิก สมบูรณของพระศาสนจักร และมีสิท ธิ์รับ ศีลศัก ดิ์สิท ธิ์อื่นๆ ตลอดจนไดมีสวนในบุญกุศลของพระศาสนจักร 207. ทุกคนจําเปนตองรับศีลลางบาป เพื่อจะเอาตัวรอดไปสวรรคได 208. ผูที่ไมสามารถรับศีลลางบาป ยังมีหนทางเอาตัวรอดไปสวรรค ได คือ 1.สละชีวิตเพื่อพระศาสนจักรเที่ยงแท เรียกวา ศีลลาง บาปดวยเลือด 2. ปรารถนาโดยจริงใจจะรับศีลลางบาป และมี ความรักตอพระเปนเจา ทั้งเปนทุกขถึงบาปที่ตนไดกระทําไว เรียกวา ศีลลางบาปดวยไฟ -155-


__________________________________________________________________________ 209. การโปรดศีลลางบาป ตามปกติเปนหนาที่ของพระสงฆ แตใน กรณีจําเปนเพื่อชวยคนใกลจะตายใหไดรับศีลลางบาป ใครๆ ก็ โปรดศีลลางบาปได 210. วิธีโปรดศีลลางบาป คือ มีเจตนาโปรดศีลลางบาปจริงๆ และใช น้ําธรรมชาติเทบนศีรษะของผูรับศีลลางบาป พลางกลาววา “ฉันลางทาน เดชะพระนามพระบิดา และพระบุตรและพระจิต” 211. ผูมีอายุรูความแลว จะรับศีลลางบาปไดตองรูและยอมเชื่อขอคําสอนสําคัญ รูบทสวดสําคัญและเปนทุกขถึงบาปที่ตนไดทําไว 212. ผูรับ ศีล ลางบาปตอ งสั ญ ญาวาจะทิ้งปศาจ

การโอโ ถงและ

กิจการชั่วรายของปศาจ และตองสัญญาจะถือตามคําสอนของ พระเยซูเจาจนตลอดชีวิต 213. พระศาสนจักรกําหนดใหผูรับศีลลางบาปมีพอแมทูนหัวเพื่อทํา หนาที่อบรมสั่งสอนและตักเตือนลูกทูนหัวใหเปนคาทอลิกที่ดี 214. คาทอลิก จะตอ งเคารพเชื่อ ฟ งพอ แมทูน หัว ของตนและปฏิบั ติ ตามคําสั่งสอนอยางเครงครัด

-156-


_________________________________________________________________________ 1.

ในการโปรดศีลลางบาปแกทารกที่ใกลตาย ถาเปนบุตรของคน ตางศาสนาจําเปนตองรอใหแนชัดวาทารกนั้นไมมีหวังรอดชีวิต เสียกอนจึงจะโปรดศีลลางบาปได และเรียนใหพระสงฆเจาวัด ทราบ แตถาทารกไดรับศีลลางบาปแลวกลับฟนขึ้นและหายเปน ปกติ ผูโปรดศีลลางบาปมีหนาที่เอาใจใสชวยใหเขาเรียนคําสอน เปนคาทอลิกเมื่อโตขึ้น

2.

ก อ นจะโปรดศี ล ล า งบาปแก ผู มี อ ายุ รู ค วามที่ ใ กล ต ายนั้ น จําเปนตองสอนขอความเชื่อสําคัญที่สุดสี่ขอ และสอนใหเขาเปน ทุกขถึงบาปและแสดงความรักตอพระเปนเจา ถามีเวลาพอก็ ตองสอนบทสวดสําคัญดวย จึงโปรดศีลลางบาปแกเขาได และ แจงใหพระสงฆเจาวัดทราบ

3.

การโปรดศีลลางบาปแกคนใกลตาย หรือชวยใหเขาไดรับศีลลาง บาปเปนการบุญยิ่งใหญ เพราะเปนการชวยใหเขาไปสวรรค

4.

พ อ แม ค าทอลิ ก ต อ งรี บ นํ า บุ ต รซึ่ ง เพิ่ ง เกิ ด ไปรั บ ศี ล ล า งบาป ภายในอาทิตยแรกๆ (เทียบ กฎหมายพระศาสนจักร ม. 867) ถาเด็กไมสบายควรรีบนําไปรับศีลลางบาปโดยเร็วที่สุด

5.

พอแมทูนหัวใหคํามั่นสัญญาแทนลูกทูนหัวซึ่งเปนทารก และตอง สัมผัสลูกทูนหัวขณะรับศีลลางบาป แตจะใชผูอื่นแทนตนได -157-


__________________________________________________________________________ 204. ศีลลางบาปคืออะไร 205. ศีลลางบาปทําใหผูรับเกิดเปนบุตรพระเจาอยางไร 206. ผูรับศีลลางบาปเขาอยูในพระศาสนจักรอยางไร 207. จําเปนตองรับศีลลางบาปหรือไม 208. ผูที่ไมสามารถรับศีลลางบาปมีหนทางเอาตัวรอดไปสวรรคไ ด อยางไร 209. การโปรดศีลลางบาปเปนหนาที่ของใคร 210. จงบอกวิธีโปรดศีลลางบาป 211. ผูมีอายุรูความแลว กอนจะรับศีลลางบาปตองทําอะไร 212. ผูรับศีลลางบาปตองสัญญาอะไร 213. พระศาสนจักรกําหนดใหมีพอแมทูนหัวเพื่ออะไร 214. คาทอลิกมีหนาที่อะไรตอพอแมทูนหัวของตน

-158-


_________________________________________________________________________

บทที่ 46 ศีลกําลัง (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1285-1321)

215. ศีลกําลังเปนศีลศักดิ์สิท ธิ์ที่เชิญพระจิตมาสูวิญญาณของผูรับ ทําใหผูรับมีกําลังทางวิญญาณ มีความเชื่อมั่นคง และเปน คาทอลิกอยางสมบูรณ 216. ศีลกําลังเพิ่มพระหรรษทานศักดิ์สิทธิกร ลบเลือนในวิญญาณ

และจารึกตราอันไม

และประทานพระคุณเจ็ดประการของ

พระจิต ซึ่งทําใหผูรับศีลกําลังมีจิตใจเขมแข็ง เสมือนทหารของ พระเยซูเจา 217. พระคุณเจ็ดประการของพระจิต คือ พระดําริ (wisdom) สติปญญา (understanding) ความคิดอาน (counsel) พละกําลัง (fortitude) ความรู (knowledge) ความศรัทธา (piety) และความ ยําเกรงพระเจา (fear of the Lord) (เทียบ อสย 11:1-2) 218. คาทอลิกควรรับศีลกําลังเมื่ออายุรูความ เพราะจะตองสูกับศัตรู ทางวิญญาณ 219. ศัตรูทางวิญญาณ คือ ปศาจ คนใจโลภ และรางกายของตนเอง

-159-


__________________________________________________________________________ 220. ผูรับศีลกําลังไดคือ ผูที่ไดรับศีลลางบาป รูคําสอนเพียงพอและ ตองอยูในสถานะพระหรรษทาน 221. การับศีลกําลังไมจําเปนทีเดียวสําหรับเอาตัวรอดไปสวรรค ถึง กระนั้น ก็ ดี

ผูใ ดเลิ นเลอ หรือ ดู ห มิ่น ไม ย อมรับ ศีล กํา ลังเมื่ อ

สามารถรับได

ผูนั้นก็มีบาปหนักและขาดกําลังสําคัญสําหรับ

วิญญาณ 222. การโปรดศีลกําลังเปนหนาที่ของพระสังฆราช แตบางกรณีใช พระสงฆแทนได 223. พิธีโปรดศีลกําลังมีดังนี้คือ หลังจากบทเทศน มีการรื้อฟนคํามั่น สัญ ญาศีล ลางบาป

พระสังฆราชปกมือ เหนือผูรับศีล กําลัง

ภาวนาเจิมน้ํามันคริสมาเปนเครื่องหมายกางเขนบนหนาผาก พลางกลาววา “นักบุญ........... จงรับเครื่องหมายพระจิตเจา ซึ่ง พระบิดาประทานให” 224. พระศาสนจักรกําหนดใหผูรับ ศีลกําลังมีพอแมทูนหัวเพื่อคอย อบรมสั่งสอนตักเตือนผูรับศีลกําลังใหเปนคาทอลิกที่ดี 225. ผูที่รับศีลกําลังตองเตรียมตัว โดยแกบาปชําระวิญญาณ และ สํารวมจิตใจสวดภาวนา เพื่อวิงวอนขอพระคุณจากพระจิตเจา

-160-


_________________________________________________________________________ 1.

พระดําริ คือ พระคุณแหงพระจิตที่ชวยใหรูคุณคาอันสูงสงในสิ่ง

2.

ที่เกี่ยวกับพระเปนเจาและตัดสินทุกสิ่งตามนั้น สติปญญา คือ พระคุณแหงพระจิตที่ชวยใหเขาใจซาบซึ้งใน

3.

ขอความเชื่อ และพระธรรมคําสอน ความคิดอาน คือ พระคุณแหงพระจิตที่ชวยใหเราตัดสินใจ

4.

เลือกทําสิ่งที่ดีอยางถูกตอง พละกําลัง คือ พระคุณแหงพระจิตที่ชวยใหเราสามารถสูทน

5.

ความยากลําบากและชนะศัตรูทางวิญญาณ ความรู คือ พระคุณแหงพระจิตที่ชวยใหรูซึ้งถึงสิ่งตางๆ ในโลก

6.

นี้อยางถูกตอง อันเปนหนทางนําไปถึงพระเปนเจา ความศรัทธา คือ พระคุณแหงพระจิตที่ชวยใหรักพระเปนเจา

7.

โดยปรนนิบัติพระองคอยางดี ความยําเกรง คือ พระคุณแหงพระจิตที่ชวยใหเคารพยําเกรง พระเปนเจา ไมกลาทําผิดตอพระองค

8.

ปศาจเปนศัตรูทางวิญญาณ โดยคอยรบกวนและประจญลอลวง

9.

ใหคนทําบาป จะไดตกนรกกับมัน คนใจโลภ คือ คนที่ปลอยตัวหาความสนุกสบายและมีใจผูกพัน กับทรัพยสมบัติ ชื่อเสียงและความสุขทางโลก คนใจโลภเปน -161-


__________________________________________________________________________ ศัตรูวิญญาณ โดยเปนตัวอยางไมดี หรือคอยชักชวนใหทําบาป หรือคอยรังแกขมเหงคนดี 10. รางกายของตน คือ ความรูสึกฝายเนื้อหนัง ซึ่งพอใจในความสุข ที่เปนบาป และเบื่อหนายตอความดี 11. การปกมือในพิธีศีลกําลัง หมายถึง การเชิญพระจิตสูวิญญาณ การเจิมน้ํามัน หมายถึง การใหกําลังวิญญาณ การตบแกม หมายถึง ผูรับศีลกําลังตองมีจิตใจเขมแข็ง ยอมสูทนความอับอาย และความยากลําบากเพื่อพระเยซูเจา 12. น้ํามันคริสมา คือ น้ํามันมะกอกปนกับยางหอมมัลซั่ม ซึ่ง พระสังฆราชเสกในวันพฤหัสบดีศักดิ์สิทธิ์ 13. น้ํามัน หมายถึง พละกําลังและพระหรรษทานในวิญญาณ สวน ยางหอม หมายถึง ความดีและฤทธิ์กุศล 14. ผูที่รับศีลกําลังจะตองเขาเงียบและแกบาปมูล (ดูความหมาย หนา 167) เพื่อเตรียมตัวรับศีลกําลังอยางดี

พระจิตของพระเจาจะอยูบนทาน คือจิตแหงปญญาและความ เขาใจ จิตแหงการวินิจฉัยและอานุภาพ จิตแหงความรูและความ ยําเกรงพระเจา (อสย 11:2) -162-


_________________________________________________________________________ 215. ศีลกําลังคืออะไร 216. ศีลกําลังประทานพระคุณอะไรแกวิญญาณ 217. พระคุณเจ็ดประการของพระจิตมีอะไรบาง 218. คาทอลิกควรรับศีลกําลังเมื่อไร 219. ศัตรูทางวิญญาณมีอะไรบาง 220. ผูใดรับศีลกําลังได 221. การรับศีลกําลังจําเปนหรือไม 222. ใครเปนผูโปรดศีลกําลัง 223. พิธีโปรดศีลกําลังมีอะไร 224. พระศาสนจักรกําหนดใหผูรับศีลกําลังมีพอแมทูนหัวเพื่ออะไร 225. ผูที่รับศีลกําลังตองเตรียมตัวอยางไร

-163-


__________________________________________________________________________

บทที่ 47 ศีลอภัยบาป (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1422-1498)

226. ศีลอภัยบาป คือ ศีลศักดิ์สิทธิ์ที่ชําระบาปซึ่งไดทําหลังจากรับ ศีลลางบาป 227. พระสงฆไดรับอํานาจจากพระเยซูเจาเพื่อยกบาปแกผูที่สารภาพ และเปนทุกขถึงบาปของตนในศีลอภัยบาป 228. ในการรับศีลอภัยบาปตองทํา 5 ประการคือ 1. สวดภาวนาขอ ความสวางจากพระจิต 2. พิจารณาบาป 3. เปนทุกขถึงบาป 4. สารภาพบาป 5. ทํากิจใชโทษบาป 229. การพิจารณาบาป คือ การสํารวจดูในจิตใจวา ตนไดทําบาป อะไร กี่ครั้ง หนักเบาเพียงใด 230. ในการพิจารณาบาป ควรสวดขอความสวางจากพระจิตเจา และพิจารณาบาปตามพระบัญญัติของพระเปนเจา และพระ บั ญ ญั ติ ของพระศาสนจั ก ร ประการและหนาที่ของตน

-164-

และพิ จารณาตามบาปต น เจ็ ด


_________________________________________________________________________ 1.

พระเยซูเจาไดพิสูจนวาพระองคมีอํานาจยกบาปจริง ในการทํา อัศจรรยรักษาคนงอย (มธ 9:1-8)

2.

พระเยซูเจาทรงมีพระทัยกรุณาและใหอภัยบาปแกคนเปนอันมาก เชน ศักเคียส คนเก็บภาษี (ลก 19:1-10) มารีอา มักดาเลนา (มธ 26) สตรีผูลวงประเวณี (ยน 8) และไดยกโทษแกโจรที่ถูก ตรึงกางเขน กอนพระองคจะสิ้นพระชนม (ลก 23)

3.

พระเยซูเจาไดมอบอํานาจในการยกบาปแกสาวกของพระองค หลังจากไดกลับคืนพระชนมชีพแลว (ยน 20) พระศาสนจักรใช อํานาจที่ไดรับจากพระเยซูเจานี้ในศีลอภัยบาป

4.

เวลาพิจารณาบาป ควรใชหนังสือภาวนาหรือทายคําสอนนี้ชวย พิจารณาบาป

5.

ควรพิจารณาทุกวันเวลาสวดกอนเขานอน และเตือนความทุกข ถึงบาปซึ่งทําในวันนั้น และตั้งใจจะรับศีลอภัยบาปโดยเร็ว จะ ชวยใหรับศีลอภัยบาปงาย และชวยใหวิญญาณอยูในศีลในพร ของพระเปนเจาในเวลาตายเสมอ

-165-


__________________________________________________________________________

“จงรับพระจิตเจาเถิด ทานทั้งหลายอภัยบาปของผูใด บาปของผูนั้นก็ไดรับการอภัย ทานทั้งหลายไมอภัยบาปของผูใด บาปของผูนั้นก็ไมไดรับการอภัยดวย” (ยน 20:22ข-23)

226. ศีลอภัยบาปคืออะไร 227. พระสงฆมีอํานาจยกบาปไดอยางไร 228. ในการรับศีลอภัยบาปตองทําอะไรบาง 229. การพิจารณาบาปคืออะไร 230. ควรทําการพิจารณาบาปอยางไร

-166-


_________________________________________________________________________

บทที่ 48 ความทุกขถึงบาป (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1430-1433)

231. ความทุกขถึงบาป คือ การสํานึกผิดตอพระเปนเจา เสียใจที่ได ทําบาป เกลียดชังบาปนั้น และตั้งใจจะไมทําบาปอีกตอไป 232. ความทุกขถึงบาปมีสองชนิด คือ ความทุกขสมบูรณ และความ ทุกขไมสมบูรณ 233. ความทุกขสมบูรณ คือ เสียใจในบาปเพราะรักพระเปนเจา 234. ความทุกขไมสมบูรณ คือ การเสียใจในบาปเพราะกลัวอาญา โทษจากพระเปนเจา 235. ความทุกขสมบูรณพรอมกับความตั้งใจจะรับศีลอภัยบาป ก็ชวย ใหพนจากบาปได แตตองไปรับศีลอภัยบาปนั้นเมื่อสามารถทําได 236. ความทุกขไมสมบูรณชวยใหพนจากบาป เมื่อรับศีลอภัยบาป และไดรับอภัยบาปแลวเทานั้น

1.

ความทุกขถึงบาปตองประกอบดวย ก. เสียใจหรือเสียดายที่ตนไดทําผิดตอพระเปนเจา -167-


__________________________________________________________________________ ข. เกลียดชังบาปนั้น คือ รูวาบาปนั้นเปนสิ่งเลวรายและตั้งใจ จะไมทําอีก คือ เข็ดหลาบที่ไดทําผิดไปแลว ตัดสินใจแนว แนวาจะพยายามสุด ความสามารถที่จะไมทํ าบาปนั้น อีก และตั้งใจจะชดใชความผิดนั้น และหลีกหนีโอกาสและ อันตรายในบาปตางๆ 2.

ความทุกขถึงบาปตองเปนทุกขเหนือธรรมชาติหรือเกี่ยวของกับ พระเปนเจา คือ เสียใจที่ไดทําบาป เพราะเหตุดังตอไปนี้ ก. ไดทําผิดขัดเคืองพระทัยพระเปนเจา ผูซึ่งเปนความดีและ นารัก ข. บาปของตนไดเปนเหตุใหพระเยซูเจาตองรับความทรมาน และสิ้นพระชนมบนไมกางเขน ค. บาปไดทําใหสูญเสียความสุขชั่วนิรันดรและเสียพระหรรษ ทาน ตลอดจนความดีตางๆ ในวิญญาณ ง. บาปทําใหตองรับอาญาโทษจากพระเปนเจา

3.

การเปนทุกขเพราะความเสียหายฝายโลกนี้ ไมใชความทุกขถึง บาป และไมเกิดผลในศีลอภัยบาปเลย เชน เสียใจเพราะตองรับ ความอับอายขายหนาจากบาปของตน ตองรับอาญาโทษแผนดิน หรือรับผลรายจากบาปในชีวิตนี้ ฯลฯ

4.

ลักษณะแหงความตั้งใจจะไมกระทําบาปคือ -168-


_________________________________________________________________________ ก. มั่นคง คือ ตั้งใจแนวแนเด็ดเดี่ยวที่จะไมทําบาปนั้นอีก ข. แผถึงบาปหนักทุกขอ คือตั้งใจจะไมทําบาปทุกขอโดยไม ยกเวนขอใด ค. เกิดผลจริง คือ พยายามทําตามความตั้งใจนั้น เชน ละทิ้ง โอกาสและชดเชยความเสียหายที่ไดทํา หรือพยายามแกไข นิสัยไมดี ฯลฯ เปนตน 5.

ในเวลาใกลตาย เมื่อมีบาปหนักและไมสามารถจะรับศีลอภัย บาปได จําเปนจะตองเตือนความทุกขถึงบาปอยางสมบูรณและ ตั้งใจมั่นคงจะรับศีลอภัยบาปนั้นในเมื่อสามารถจะรับศีลอภัย บาปไดภายหลัง

พระยาหเวห พระเจาแหงพระทั้งหลาย กําลังตรัส ทรงเรียกแผนดินจากตะวันออกถึงตะวันตก จากศิโยนที่งามพรอม พระเจาทรงทอรัศมี พระเจาของเราเสด็จมา และจะไมทรงเงียบเฉย ไฟเผาผลาญนําเสด็จ พายุใหญปนปวนอยูรอบพระองค -169-


__________________________________________________________________________ จากเบื้องบน ทรงเรียกทองฟาและแผนดิน มาพิพากษาประชากรของพระองค (สดด 50:1-4)

231. ความทุกขถึงบาปคืออะไร 232. ความทุกขถึงบาปมีกี่ชนิด อะไรบาง 233. ความทุกขสมบูรณคืออะไร 234. ความทุกขไมสมบูรณคืออะไร 235. ความทุกขสมบูรณเกิดผลอยางไร 236. ความทุกขไมสมบูรณเกิดผลอยางไร

-170-


_________________________________________________________________________

บทที่ 49 การสารภาพบาป (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1455-1458)

237. การสารภาพบาป คือ การบอกบาปของตนแกพระสงฆผูฟง แกบาป เพื่อใหพระสงฆยกบาปให 238. ในการสารภาพบาปจะตอ งบอกบาปหนั ก ทุก ขอใหพ ระสงฆ รู ชัดเจนวาเปนบาปอะไร กี่ครั้ง และมีเหตุผลแวดลอมอันใดที่เพิ่ม บาปหนักขึ้น 239. การปดปงบาปหนักโดยเจตนาแมแตขอเดียว จะทําใหบาปที่ สารภาพไปพลอยไมหลุดดวย แถมเพิ่มบาปในการทุราจารศีล อภัยบาปอีกดวย 240. ผู ที่ ไ ด ทุ ร าจารศี ล อภั ย บาปจํ า เป น จะต อ งรั บ ศี ล อภั ย บาปให ถูกตองเสียใหม คือตองบอกบาปที่ไดเคยปดปงและบาปหนักที่ แกในครั้งนั้น และบาปหนักที่ไดทําตอจากนั้น 241. บาปที่ไดลืมไปโดยไมเจตนาก็หลุดพรอมกับบาปที่ไดสารภาพ อยางดีดวย แตถาระลึกไดภายหลัง จะตองสารภาพแกพระสงฆ เมื่อแกบาปครั้งตอไป

-171-


__________________________________________________________________________ 242. ถาจําไมไดวาไดทําบาปจํานวนเทาใด

ควรกะประมาณใกล

ความจริงที่พอทราบได เชน ประมาณวันละกี่ครั้ง หรืออาทิตย ละกี่ครั้ง หรือเดือนละกี่ครั้ง เปนตน 243. การแกบาปมูล คือ การรื้อฟนบาปเกาๆ ซึ่งเคยแกแลวในระยะ หนึ่งหรือตลอดชีวิตมาแกซ้ําเสียใหม เพื่อเตือนจิตใจเปนทุกขถึง บาปและใหพระสงฆอภัยบาปนั้นซ้ําอีก

1.

พระสงฆผูฟงแกบาปตองรักษาความลับเด็ดขาด และไมมีสิทธิ์ใช ความรูที่ไดจากการสารภาพบาปนอกที่แกบาป เพราะความรูใน ศีลอภัยบาปเปนความรูของพระเยซูเจาแตผูเดียว ดังนั้น เราไม ตองกลัวหรืออายในการสารภาพบาปอยางซื่อสัตย

2.

ผูใดทุราจารศีลอภัยบาป แลวไมยอมรับศีลอภัยบาปเสียใหมให ถูกตอง ยังคงรับศีลอภัยบาปและรับศีลมหาสนิทตอไป ก็ทําบาป ทุราจารศีลอภัยบาป และทุราจารศีลมหาสนิททวีขึ้นเรื่อยๆ ไป

3.

ถาผูใดทุราจารศีลอภัยบาปมาชานานแลว จะแกบาปใหถูกตอง เสียใหม ก็ตองรื้อฟนบาปทั้งหมดมาสารภาพเสียใหมดังนี้คือ ก. บาปที่ไดปดปงในการทุราจารศีลอภัยบาปครั้งแรก ข. บาปหนักที่ไดแกเมื่อครั้งทุราจารนั้น -172-


_________________________________________________________________________ ค. บาปทุราจารศีลอภัยบาปและศีลมหาสนิทที่ไดทําตอๆ มา ชานานเทาใด ง. บาปหนักทั้งหมดซึ่งไดทําตอจากการทุราจารศีลครั้งแรก โดยกะประมาณคราวๆ จ. ในกรณีเชนนี้ควรมีความไวใจในพระสงฆและขอใหทานชวย ซักถามพอสมควร 4.

ถาพระสงฆอ งคหนึ่งไมใ หอภั ย บาป พระสงฆอื่นก็ได

จะไปสารภาพบาปกับ

แตตองบอกใหทานทราบวาตนไมไดรับการ

อภัยบาปเพราะเหตุใด 5.

เหตุแวดลอม คือ สิ่งตางๆ ที่เกี่ยวของในการทําบาปซึ่งเพิ่มบาป ใหหนักขึ้น หรือเปลี่ยนบาปใหกลายเปนบาปชนิดอื่นไป เหตุ แวดลอมรวมอยูในคําถามดังตอไปนี้คือ ทําอะไร ที่ไหน ใชอะไร ทํา ทําทําไม ทําเพราะอะไร ทําอยางไร นานเทาใด หรือในเวลา ใด

6.

การแกบาปมูลมีประโยชนมาก คือ ชวยใหแนใจวาไดพนจาก บาปเหลานั้นทั้งสิ้น ชวยใหจิตใจสงบ และเตือนจิตใจใหสุภาพ โดยเปนทุกขถึงบาปและใชโทษบาปของตน

-173-


__________________________________________________________________________ 7.

ควรแกบาปมูลในเวลาเตรียมรับศีลมหาสนิทครั้งแรก ในการ เตรียมรับศีลกําลัง และเตรียมรับศีลสมรส ในโอกาสเขาเงียบ และเปนตนเมื่อใกลตาย

237. การสารภาพบาปคืออะไร 238. ในการสารภาพบาปตองบอกบาปอยางไร 239. การจงใจปดบังบาปไวในการสารภาพบาปจะเกิดผลรายอยางไร 240. ผูที่ไดทุราจารศีลอภัยบาปจะตองทําอยางไรใหพนจากบาปนั้น 241. บาปที่ไดลืมไปโดยไมเจตนาจะหลุดดวยหรือไม 242. ถาจําไมไดวาไดทําบาปกี่ครั้งจะตองบอกบาปอยางไร 243. การแกบาปมูลคืออะไร

-174-


_________________________________________________________________________

บทที่ 50 วิธีรับศีลอภัยบาป กอนรับศีลอภัยบาป 1.

สวดภาวนาเตรียมตัวรับศีลอภัยบาป (ในภาวนาหรือทายคําสอน นี้ หนา 214-215)

2.

พิจารณาบาป คือ คิดคนสํารวจในใจวา ไดทําบาปกี่ครั้ง (ดู หนา 216-219)

3.

เปนทุกขถึงบาป คือ เสียใจที่ไดทําบาป ขอโทษพระเปนเจา เกลียดบาปและตั้งใจจะไมทําอีก (ดู หนา 219)

วิธีรับศีลอภัยบาป เดชะพระนาม พระบิดา และพระบุตร และพระจิต อาแมน คุณพอที่เคารพ โปรดอวยพรแกขาพเจา เพราะไดทําบาป ไมไดแกบาปมานาน...............แลว ไดรับการอภัยบาปแลว ไดใช โทษบาปแลว ขาพเจาไดทําบาป........................ครั้ง (บอกบาปแกพระสงฆ พูดชาๆ และชัดๆ วาทํากี่ครั้ง ถาจําได)

-175-


__________________________________________________________________________ เมื่อบอกบาปจบแลว สวดวา “และขอสารภาพบาปอื่นๆ ที่ไดทํา มาตลอดชีวิตดวย” (เมื่อพระสงฆตักเตือนเสร็จแลว ใหสวดบทแสดงความทุกข) (หนา 214) ครั้นแลว พระสงฆยกมือทั้งสอง (หรือเพียงแตมือขวา) เหนือ ศีรษะผูสารภาพบาป กลาววา พระเปนเจา พระบิดาผูทรงพระเมตตา ไดทรงทําใหโลกคืนดีกับ พระองค อาศัยการสิ้นพระชนม และการกลับคืนชีพของพระ บุตร และทรงสงพระจิตมาเพื่ออภัยบาปมนุษย ขอพระองค ประทานพระเมตตาและสันติสุขแกทาน อาศัยศาสนบริการของ พระศาสนจักร ขาพเจาจึงอภัยบาปทั้งสิ้นของทาน เดชะพระ นาม พระบิดา และพระบุตร และพระจิต (รับ) อาแมน (แลวจึง ออกจากที่แกบาป) ออกจากที่แกบาป 1. สวดโมทนาคุณหลังจากรับศีลอภัยบาป (ดู หนา 220) 2. ใชโทษบาปที่พระสงฆกําหนดให

-176-


_________________________________________________________________________

บทที่ 51 การใชโทษบาป (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1459-1460)

244. การใชโทษบาป คือ การทําดีเพื่อชดเชยความผิดซึ่งไดทําตอ พระเปนเจา หรือชดเชยความเสียหายที่ไดทําตอผูอื่น 245. เราชดเชยความผิด ที่ไดทําตอพระเปน เจาโดยการสวดภาวนา การฝนจิตใจ การทรมานรางกายและการบุญอื่นๆ 246. เราชดใชความเสียหายที่ไดทําตอผูอื่นโดยคืนชื่อเสียง คืนของที่ ขโมย หรือใชคาเสียหายตางๆ แกเขา 247. การใช โ ทษบาปที่ พ ระสงฆ ไ ด กํ า หนดในศี ล อภั ย บาปนั้ น ไม เพียงพอกับโทษบาปชั่วคราว ซึ่งเราตองชดใชตามความยุติธรรม ของพระเปนเจา ดังนั้น จึงตองใชโทษบาปเพิ่มเติมเองเพื่อจะได พนโทษชั่วคราวในโลกนี้หรือในไฟชําระ 248. เราอาจพนโทษบาปทั้งสิ้นไดโดยการรับพระคุณการุณย 249. พระคุณการุณย คือ การผอนโทษหรือการยกโทษชั่วคราว อัน เนื่องมาจากบาป ซึ่งพระศาสนจักรมีอํานาจประทานใหแกผูเปน และผูตาย อาศัยผลบุญของพระเยซูเจา ของแมพระและนักบุญ ทั้งหลาย -177-


__________________________________________________________________________ 250. พระคุณการุณยมีสองชนิดคือ พระคุณการุณยครบบริบูรณและ พระคุณการุณยไมครบบริบูรณ ซึ่งยกโทษบาปใหนอยลง 251. ผูที่จะรับพระคุณการุณยได ตองอยูในสถานะพระหรรษทาน มี ความตั้งใจรับพระคุณนี้โดยทําตามขอกําหนดของพระศาสนจักร

พระศาสนจักรไดกําหนดการรับพระคุณการุณยไวมากมาย เชน การรับศีลอภัยบาปและรับศีลมหาสนิทในวันฉลองใหญ การสวด ภาวนาตามพระประสงคของสมเด็จพระสันตะปาปา การเยี่ยมวัด ตางๆ การเดินรูปสิบสี่ภาค และการรวมพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ และการ รับพรพิเศษของสมเด็จพระสันตะปาปาในเวลาใกลตาย ฯลฯ

“ถาผูใดอยากติดตามเรา ก็จงเลิกนึกถึงตนเอง จงแบก ไมกางเขนของตนทุกวัน และติดตามเรามา” (ลก 9:23)

-178-


_________________________________________________________________________ 244. การใชโทษบาปคืออะไร 245. เราชดใชความผิดที่ไดทําตอพระเปนเจาอยางไร 246. เราชดใชความเสียหายที่ไดทําตอผูอื่นอยางไร 247. การใชโ ทษบาปที่พ ระสงฆกํ า หนดในศีล อภัย บาปนั้ นเพีย งพอ หรือไม 248. เราอาจพนโทษบาปไดอยางไร 249. พระคุณการุณยคืออะไร 250. พระคุณการุณยมีกี่ชนิด อะไรบาง 251. ผูที่จะรับพระคุณการุณยตองทําอยางไร

-179-


__________________________________________________________________________

บทที่ 52 ศีลมหาสนิท (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1322-1419)

252. ศีลมหาสนิท คือ ศีลศักดิ์สิทธิ์ที่มีพระกาย โลหิต วิญญาณ และ สภาวะพระเจาของพระเยซูเจาอยูใตรูปปรากฏของปงและเหลา องุน เพื่อเปนอาหารเลี้ยงวิญญาณ 253. พระเยซูเจาทรงตั้งศีลมหาสนิทในค่ําวันพฤหัสบดีศักดิ์สิทธิ์ อัน เปนวันกอนที่พระองคจะสิ้นพระชนมบนไมกางเขน และพระองค ทรงมอบอํานาจในการเสกศีลมหาสนิทแกสาวกและพระสงฆ ทั้งหลาย 254. พระเยซูเจาอยูในศีลมหาสนิทได เพราะพระองคเปนพระเจาผูมี ฤทธิ์อํานาจทุกประการ 255. ในการเสกศีลมหาสนิท พระเยซูเจาทรงเปลี่ยนสารของปงเปน พระกาย และเปลี่ยนสารของน้ําองุนเปนพระโลหิตของพระองค แตรูปปรากฏของปงและเหลาองุนยังอยูคงเดิม 256. พระเยซูเจายังอยูครบถวนในศีลมหาสนิททุกแผน เมื่อแบงแผน ศีลมหาสนิท พระเยซูเจาไมถูกแบงดวย กลับอยูครบถวนในแผน ศีลทุกแผน ทุกสวนที่แบงออกนั้น -180-


_________________________________________________________________________ 257. พระเยซูเจาทรงอยูในศีลมหาสนิทเพื่อ

1. อยูใกลชิดมนุษย

2. เปนอาหารเลี้ยงวิญญาณ 3. เปนเครื่องบูชาเพื่อเรามนุษย เสมอไป

1.

รูปปรากฏ คือ สิ่งภายนอกที่มองเห็นและรูสึกได เชน รูป สี รส กลิ่นของสิ่งตางๆ

2.

สาร คือ แกนหรือเนื้อแทของสิ่งของ ดังนั้น สารของปงคือสวนที่ เปนแปงสาลี และสารของน้ําองุนคือสวนที่เปนน้ําคั้นจากผลองุน

3.

พระเยซูเจาทรงอยูครบถวนในรูปปรากฏของปง และทรงอยู ครบถวนใตรูปปรากฏของน้ําองุน เพราะพระองคไดทรงกลับคืน พระชนมชีพแลว พระกายและพระโลหิตจึงแยกจากกันอยาง เด็ดขาดไมได

“เราเปนปงทรงชีวิต ที่ลงมาจากสวรรค ใครที่กินปงนี้จะมีชีวิต อยูตลอดไป และปงที่เราจะใหนี้คือเนื้อของเรา เพื่อใหโลกมีชีวิต” (ยน 6:51) -181-


__________________________________________________________________________ 252. ศีลมหาสนิทคืออะไร 253. พระเยซูเจาทรงตั้งศีลมหาสนิทเมื่อไร 254. พระเยซูเจาอยูในศีลมหาสนิทไดเพราะเหตุใด 255. ปงและเหลาองุนเปลี่ยนเปนพระกายและพระโลหิตของพระเยซู เจาไดอยางไร 256. พระเยซูเจาอยูครบถวนในศีลมหาสนิททุกแผนหรือ ถาแบงศีล ออกเปนอยางไร 257. พระเยซูเจาอยูในศีลมหาสนิทเพื่ออะไร

-182-


_________________________________________________________________________

บทที่ 53 การรับศีลมหาสนิท (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1384-1390)

258. การรับศีลมหาสนิท เปนการเชิญพระเยซูเจาเขามาสนิทในใจ ของผูรับศีล ทําใหผูรับศีลไดรับพระหรรษทานตางๆจากพระองค 259. ศีลมหาสนิทประทานพระคุณดังนี้คือ

1. เพิ่มพระหรรษทาน

ศักดิ์สิทธิกร 2. กําจัดพยศชั่วในจิตใจ 3. เปนหลักประกันวาจะ ไดสนิทกับพระองคในสวรรค และจะไดกลับคืนชีวิตอยางรุงเรือง 260. ผูที่จะรับศีลมหาสนิทจะตองอยูในสถานะพระหรรษทานและอด อาหารตามกําหนด 261. ผูใดที่มีบาปหนักขืนไปรับศีลมหาสนิท แทนที่จะไดบุญ กลับทํา บาปหนัก คือ ทุราจารศีลมหาสนิท ผูที่ไดทุราจารศีลมหาสนิท จะตองรีบรับศีลอภัยบาป และใชโทษบาปโดยเร็ว 262. ผูที่จะรับศีลมหาสนิทตองอดอาหารและเครื่องดื่มทุกชนิด 1 ชั่วโมง กอนรับศีลมหาสนิท

เปนการแสดงความเคารพตอ

พระเยซูเจาในศีลมหาสนิท แตไมหามดื่มน้ําธรรมดา 263. คนที่ปวยเปนเวลานานหรือคนปวยหนักใกลตาย

ไดรับการ

ยกเวนในการอดอาหารและเครื่องดื่มกอนรับศีลมหาสนิท -183-


__________________________________________________________________________ 264. พระศาสนจักรปรารถนาใหคาทอลิกรับศีลมหาสนิทบอยๆ และ สั่งคาทอลิกที่ถึงอายุรูความแลวรับศีลมหาสนิทอยางนอยปละ ครั้งในกําหนดปสกา

1.

คาทอลิกที่ใกลตายจะรับศีลมหาสนิทเพื่อเตรียมตัวไปสูชีวิตหนา การรับศีลมหาสนิทนี้เรียกวา ศีลเสบียง

2.

คาทอลิกสวนมากที่ละทิ้งศาสนาหรือมีจิตใจเย็นเฉย เพราะเหตุ วาไดละเลยการรับศีลมหาสนิทเปนเวลานาน หรือรับศีลมหา สนิทอยางไมถูกตอง

พระเยซูเจาตรัสวา “เราเปนปงทรงชีวิต ที่ลงมาจากสวรรค ใครที่กินปงนี้จะมีชีวิตอยูตลอดไป และปงที่เราจะใหนี้คือเนื้อของเรา เพื่อใหโลกมีชีวิต” เราบอกความจริงแกทานทั้งหลายวา “ถาทานไม กินเนื้อของบุตรแหงมนุษย และไมดื่มโลหิตของเขา ทานจะไมมีชีวิตใน ตนเอง ผูที่กินเนื้อของเรา และดื่มโลหิตของเรา ก็มีชีวิตนิรันดร เราจะ -184-


_________________________________________________________________________ ทําใหเขากลับคืนชีพในวันสุดทาย ผูที่กินเนื้อของเรา และดื่มโลหิตของ เรา ก็ดํารงอยูในเรา และเราก็ดํารงอยูในเขา” (ยน 6:51-56)

258. การรับศีลมหาสนิทคืออะไร 259. ศีลมหาสนิทประทานพระคุณอะไรแกวิญญาณ 260. ผูที่จะรับศีลมหาสนิทตองเตรียมตัวอยางไร 261. ผูที่มีบาปหนักถาขืนเขาไปรับศีลมหาสนิท จะเปนอยางไร 262. ผูที่รับศีลมหาสนิทตองอดอาหารเครื่องดื่มอยางไร 263. ใครที่ไดรับการยกเวนในการอดอาหารและเครื่องดื่มกอนรับศีล มหาสนิท 264. พระศาสนจักรปรารถนาอะไร และสั่งอะไรในเรื่องการรับศีล มหาสนิท

-185-


__________________________________________________________________________

บทที่ 54 วิธีรับศีลมหาสนิท เตรียมตัวรับศีลมหาสนิท 1.

ตองมีวิญญาณบริสุทธิ์ ถามีบาปหนักจะตองรับศีลอภัยบาป เสียกอน

2.

อดอาหารและไมดื่มอะไรหนึ่งชั่วโมงกอนรับศีลมหาสนิท ยกเวน น้ําธรรมดา

3.

แตงตัวสะอาดเรียบรอย

วันรับศีลมหาสนิท 1.

ตื่นเชา สํารวมจิตใจและไปวัด พลางนึกถึงพระเยซูเจาที่จะเขา มาในวิญญาณ

2.

สวดภาวนาและเตรียมรับศีลมหาสนิทแสดงความเชื่อ ไวใจและ รักพระเยซูเจา ปรารถนาที่จะรับพระองคเขามาในจิตใจ (สวด บทภาวนาทายหนังสือนี้ หนา 221-222)

เวลารับศีลมหาสนิท 1.

เดินอยางสุภาพเพื่อออกไปรับศีลมหาสนิทที่หนาพระแทน -186-


_________________________________________________________________________ 2.

เมื่อพระสงฆสงศีลให ตองเงยหนา อาปาก และแลบลิ้นพองาม รับศีลมหาสนิทนั้น หรือแบมือออกไปรับและหยิบใสปาก

รับศีลมหาสนิทแลว 1.

กลับไปคุกเขาที่เดิม

พลางคิดถึงพระเยซูเจาที่เขามาอยูใน

วิญญาณ 2.

สวดโมทนาคุณและพูดกับพระองค แสดงความรัก กราบไหว ขอบคุณ ถวายตัวและวอนขอสิ่งที่ตองการจากพระองค (สวด บทภาวนาทายหนังสือนี้ หนา 222-224)

-187-


__________________________________________________________________________

บทที่ 55 พิธีบูชาขอบพระคุณ (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1345-1355)

265. พิธีบูชาขอบพระคุณ คือ การถวายบูชาพระเยซูเจาในศีลมหา สนิทแดพระบิดาเพื่อมนุษยทั้งหลาย 266. พระเยซูเจาทรงทําการบูชาครั้งแรกบนไมกางเขน

โดยรับ

ความทรมานหลั่งพระโลหิตและสิ้นพระชนมเปนการถวายบูชา แดพระบิดาเพื่อมนุษย 267. พระเยซูเจาจําลองและรื้อฟนการบูชาบนไมกางเขนนั้นสืบตอๆ ไปในพิธีบูชาขอบพระคุณ 268. บนไมก างเขนพระเยซู เจาทรงทํ าการบูชาโดยรับทรมาน หลั่ง พระโลหิต และสิ้น พระชนมจริงๆ แตใ นพิธีบูชาขอบพระคุ ณ พระเยซูเจาทรงบูชาพระองคเองอยางลึกลับในศีลมหาสนิท โดย เปนเครื่องหมายและรื้อฟนการบูชาไมกางเขนนั้นถวายแดพระ บิดาเสียใหม 269. พิ ธี บู ช าขอบพระคุ ณ จึ ง มี คุ ณ ค า อย า งเดี ย วกั บ การบู ช าบน ไมกางเขน เพราะผูถวายและเครื่องบูชาคือพระเยซูเจาผูเดียวกัน -188-


_________________________________________________________________________ 270. การถวายบูชามิสซามีจุดประสงค 1. นมัสการ 2. โมทนาคุณ 3. ขอโทษ 4. วิงวอนพระเปนเจา

1.

การบูชา คือ การถวายสิ่งของแดพระเปนเจา เพื่อเปนเครื่อง หมายถึงการยอมอยูใตอํานาจของพระองค

2.

การใช สิ่ ง มี ชี วิ ต ซึ่ ง เป น อาหารเพื่ อ บู ช าพระเป น เจ า เป น เครื่องหมายแสดงวา พระเปนเจามีอํานาจเด็ดขาดเหนือชีวิตของ ตน

3.

การฆาและเผาทําลายเครื่องบูชาเปนเครื่องหมายถึงการนอมรับ อาญาโทษเพราะบาปของตน

4.

สมัยโบราณเขาทําการบูชาโดยฆาสัตวเลี้ยงเผาถวายแดพระเปน เจา เปนเครื่องหมายทํานายถึงพระเยซูเจาจะถูกนําไปฆาเปน การบูชาที่แทจริง

5.

พิธีบูชาขอบพระคุณแสดงถึงความตายของพระเยซูเจา คือ พระ กายของพระองคอยูภายใตรูปปง และพระโลหิตอยูภายใตรูป เหลาองุนแหงศีลมหาสนิท

เมื่อพระกายและพระโลหิตแยก

จากกันเชนนั้น พระองคจึงอยูในสภาพตายอยางลึกซึ้ง -189-


__________________________________________________________________________ 6.

ในการรวมพิธีบู ชาขอบพระคุณ คาทอลิกควรรวมจิตใจกับ พระสงฆผูถวายบูชามิสซาดวยจิตใจศรัทธา ดังเชนพระนางมารีย ไดรวมจิตใจกับพระเยซูเจาเมื่อพระองคสิ้นพระชนมบนไมกางเขน

265. พิธีบูชาขอบพระคุณคืออะไร 266. พระเยซูเจาทําการบูชาครั้งแรกอยางไร 267. พระเยซูเจาจําลองรื้อฟนการบูชาบนไมกางเขนอยางไร 268. การบูชาบนไมกางเขนผิดกับการบูชาบนพระแทนอยางไร 269. พิธีบูชาขอบพระคุณมีคุณคาอยางเดียวกับการบูชาบนไมกางเขน หรือไม 270. พิธีบูชาขอบพระคุณมีจุดประสงคอยางไร

-190-


_________________________________________________________________________

บทที่ 56 ศีลเจิมผูปวย (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1499-1532)

271. ศีลเจิมผูปวย เปนศีลศักดิ์สิทธิ์ที่ประทานพระหรรษทานและ ความบรรเทาแกผูปวยหนักใกลตาย (ดู ยก 5:14-16) 272. ศีลเจิมผูปวยมีประโยชนดังนี้คือ 1. ประทานหรือเพิ่มพระหรรษ ทานศักดิ์สิทธิกร 2. ประทานกําลังในการตอสูการประจญครั้ง สุดทาย 3. ใหความบรรเทาทางจิตใจและรางกาย

4. ชําระ

บาปเบาหรือยกบาปหนักในกรณีที่ไมสามารถรับศีลอภัยบาปได แตเปนทุกขถึงบาป 273. คาทอลิกจะตองรับศีลเจิมผูปวยเมื่อปวยหนัก และรูสึกวาอาจ ตายได 274. ผูที่จะรับศีลเจิมผูปวยจําเปนตองอยูในสถานะพระหรรษทาน ถา ผูใดมีบาปหนักและไมยอมรับศีล อภัยบาปทั้งที่สามารถรับศีล อภัยบาปได ขืนรับศีลเจิมผูปวยก็ทําบาปหนัก เปนการทุราจาร ศีลเจิมผูปวย

-191-


__________________________________________________________________________ 275. เมื่อคนเจ็บหนักไมสามารถรับศีลอภัยบาปไดจริงๆ และมีความ ทุกขถึงบาปพรอมกั บตั้งใจจะรับ ศีลอภัยบาป ศีล เจิมผูปว ย สามารถยกบาปใหได 276. จารีตศีลเจิมผูปวยมีดังนี้คือ พระสงฆสวดอุทิศแกคนปวย และ เจิ ม น้ํ า มั น ศั ก ดิ์สิ ท ธิ์ ที่ ห น า ผากและบนมื อ ทั้ ง สองของคนป ว ย พลางสวดวา “อาศัยการเจิมทาอันศักดิ์สิทธิ์และอาศัยพระทัย เมตตาอันลนพนของพระเจา

ขอพระองคทรงชวยทานดวย

พระหรรษทานของพระเจา อาแมน (หู จมูก ชวยทานใหพนบาป อีกทั้งบรรเทาและชวยใหรอด อาแมน) 277. ผูที่รับเจิมคนไขควรเตือนความเชื่อ ความไวใจและความรักตอ พระเปนเจา และเปนทุกขถึงบาปที่ตัวไดเคยทําโดยใชสวนตางๆ ในรางกาย ซึ่งพระสงฆกําลังเจิมอยูนั้น สวนคนในบานควรรวม จิตใจสวดอุทิศแกคนปวยดวย 278. เมื่อมีคนปวยหนักในบาน เปนหนาที่ของผูใกลชิดกับคนปวย จะตองรีบไปเชิญพระสงฆมาโปรดศีลเจิมผูปวยโดยเร็วที่สุด

-192-


_________________________________________________________________________ 1.

คนเจ็บหนักควรรับศีลเจิมผูปวยเมื่อยังรูสึกตัวและมีสติดีอยู เพื่อ จะไดผลประโยชนจากศีลเจิมผูปวยอยางสมบูรณ อยารออยู จนกระทั่งคนเจ็บหมดสติ หรืออาการเพียบเกินไปแลว

2.

ศีลเจิมผูปวยใหความบรรเทาทางรางกายแกคนเจ็บ โดยชวยให มีกําลังสูทนความเจ็บปวย บางครั้งอาจชวยใหฟนหายเปนปกติ สุดแตน้ําพระทัยพระเปนเจา

“ทานใดเจ็บปวย จงเชิญบรรดาผูอาวุโสของกลุมคริสตชนมา ใหทานเหลานั้นอธิษฐานภาวนาเพื่อผูปวย เอาน้ํามันเจิมผูนั้นในพระ นามขององคพระผูเปนเจา คําอธิษฐานภาวนาดวยความเชื่อจะชวย ผูปวยใหรอดชีวิต องคพระผูเปนเจาจะทรงโปรดใหผูปวยลุกขึ้นได และถาเขาไดกระทําบาป เขาก็จะไดรับการอภัย ดังนั้น จงสารภาพ บาปแกกัน และจงอธิษฐานใหกันเพื่อทานจะไดหายจากโรค คําออน วอนของผูชอบธรรมมีพลังทําใหเกิดผลมากมาย” (ยก 5:14-16)

-193-


__________________________________________________________________________ 271. ศีลเจิมผูปวยคืออะไร 272. ศีลเจิมผูปวยประทานพระคุณอะไรบาง 273. คาทอลิกตองรับศีลเจิมผูปวยเมื่อไร 274. ผูที่จะรับศีลเจิมผูปวยตองเตรียมตัวอยางไร 275. ศีลเจิมผูปวยยกบาปหนักไดในกรณีใด 276. จารีตศีลเจิมผูปวยมีอะไรบาง 277. ผูที่รับศีลเจิมผูปวยควรทําอยางไรในเวลารับศีลเจิมผูปวย 278. ใครทําหนาที่เรียกพระสงฆไปโปรดศีลเจิมผูปวยแกคนเจ็บหนัก

-194-


_________________________________________________________________________

บทแทรก ธรรมเนียมคาทอลิกเกี่ยวกับผูตาย 1.

เมื่อพระสงฆจะโปรดศีลเจิมผูปวยแกคนเจ็บ ในบานควรมีแทน หรือโตะปูผาขาว มีกางเขนและเทียนสองเลมจุดอยู ถาพระสงฆ สงศีลเสบียงดวยควรมีแกวน้ําเล็กๆ สําหรับใหพระสงฆลางมือ

2.

ขณะที่พระสงฆฟงแกบาปคนปวย ควรใหทุกคนในบานหลีกไป หางๆ เพื่อใหคนปวยจะไดแกบาปไดสะดวก

3.

เมื่อโปรดศีลเจิมผูปวยแลว พระสงฆจะประทานพระคุณการุณย พิเศษสําหรับเวลาใกลตายแกคนเจ็บหนัก ผูปวยจะตองเตือน ความทุกขถึงบาปและตั้งใจรับพระคุณการุณยนั้น

4.

ผูใ กล ชิ ด คนป ว ยควรเตือ นจิ ต ใจคนป ว ยใหคิ ด ถึ ง พระเป น เจ า บอยๆ และแสดงความเชื่อ ความหวัง รักพระองคจนวาระ สุดทาย และจงเตือนคนปวยใหหมั่นออกพระนามศักดิ์สิทธิ์ เยซู มารีย โยเซฟ ฯลฯ ถามีเวลาก็อานประวัตินักบุญตางๆ ใหคน ปวยฟง

5.

เมื่อคนปวยสิ้นใจแลว ควรสวดบทภาวนาสงวิญญาณและรีบ แจงแกพระสงฆใหตีระฆังสงวิญญาณเพื่อเตือนคาทอลิกจะได สวดอุทิศแกผูตาย -195-


__________________________________________________________________________ 6.

ผูใกลตายถามีทรัพยสมบัติหรือหนี้สิน ก็ควรจัดทําพินัยกรรม หรือจัดเรื่องหนี้สินใหเรียบรอยตามกฎหมาย

7.

เพื่อไวอาลัยแกผูตาย ในงานศพจึงตองละเวนการเสพสุรา การ กินเลี้ยงหรูหรา การมหรสพตางๆ และหามเลนการพนันอยาง เด็ดขาด

8.

อนุญาตใหคาทอลิกรดน้ําศพ หรืออาบน้ําศพตามประเพณีนิยม ได แตหามใชน้ํามนตหรือพิธีศาสนาอื่น

9.

คาทอลิกไมควรจัดงานศพใหญโตหรูหราฟุมเฟอยเกินไป แตควร จัดงานศพอยางซื่อๆ งายๆ เหมาะสมกับฐานะของตน และควร จะใชเงินสวนใหญในการขอมิสซาหรือทําบุญอุทิศแกผูตาย ซึ่ง เปนประโยชนแกผูตายมากกวา

10. คาทอลิกควรชวยเหลือกันและกันในงานศพ โดยไปเยี่ยมศพและ สวดอุทิศให

ชวยในการฝงศพและระวังอยาใหเปนภาระแก

เจาภาพในการตอนรับเลี้ยงดู แตควรชวยเหลือในการงานและ การเงินตามสมควร

-196-


_________________________________________________________________________

บทที่ 57 ศีลบวช (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1536-1600)

279. ศีลบวช คือ ศีลศักดิ์สิทธิ์ที่ประทานพระหรรษทานและอํานาจ ของพระเยซูเจาแกผูที่บวชเปนพระสงฆ 280. พระสงฆ ไ ด รั บ อํ า นาจของพระเยซู เ จ า ในการถวายพิ ธี บู ช า ขอบพระคุณ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์

สอนพระธรรมคําสอนและ

ปกครองดูแลวิญญาณคาทอลิก 281. ผูที่โปรดศีลบวชไดคือ พระสังฆราช 282. ผูที่จะรับศีลบวชไดมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ 1. มีกระแสเรียกจาก พระเปนเจา 2. เกิดจากพอแมคาทอลิกที่ไดรับศีลสมรสเรียบรอย 3. มีความประพฤติดีงามและมีสติปญญาและสภาพพอสมควร 283. ผูที่ปรารถนาจะเปนพระสงฆ ควรปรึกษาหารือกับพระสงฆ โดยเฉพาะกับพระสงฆวิญญาณรักษของตน และควรหมั่นรับศีล อภัยบาปและรับศีลมหาสนิทบอยๆ มีใจศรัทธาตอแมพระ และ ตั้งใจเลาเรียน เปนตน

-197-


__________________________________________________________________________ 1.

การเปนพระสงฆเปนบุญอันประเสริฐ

เพราะไดรับหนาที่ของ

พระเยซูเจา เพื่อชวยผูอื่นใหไปสวรรค

เรากลาวแกทานวา ทานคือศิลา

และบนศิลานี้ เราจะตั้ง

พระศาสนจักรของเรา ประตูนรกจะไมมีวันชนะพระศาสนจักรได เรา มอบกุญแจอาณาจักรสวรรคให ทุกสิ่งที่ทานจะผูกบนแผนดินนี้ จะผูก ไวในสวรรคดวย ทุกสิ่งที่ทานจะแกบนแผนดินนี้ ก็จะแกในสวรรคดวย แล ว พระองค ท รงกํ า ชั บ บรรดาศิ ษ ย มิ ใ ห บ อกใครว า พระองค คื อ พระคริสตเจา (มธ 16:18-20) พระจิตของพระเจาทรงอยูเหนือขาพเจา เพราะพระองคทรง เจิมขาพเจาไว ใหประกาศขาวดีแกคนยากจน ทรงสงขาพเจาไป ประกาศการปลดปลอยแกผูถูกจองจํา คืนสายตาใหแกคนตาบอด ปลดปลอยผูถูกกดขี่ใหเปนอิสระ ประกาศปแหงความโปรดปรานจาก พระเจา (ลก 4:18-19)

-198-


_________________________________________________________________________ 279. ศีลบวชคืออะไร 280. พระสงฆไดรับอํานาจอันใดจากพระเยซูเจา 281. ใครโปรดศีลบวชได 282. ผูที่จะรับศีลบวชตองมีคุณสมบัติอยางไร 283. ผูที่ปรารถนาจะเปนพระสงฆตองทําอยางไร

-199-


__________________________________________________________________________

บทที่ 58 ศีลสมรส (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1601-1666)

284. ศีลสมรส คือศีลศัก ดิ์สิทธิ์ที่พ ระเยซูค ริสตเจาตั้งขึ้น เพื่อ ประทานพระหรรษทานแกชายและหญิงผูรับศีลลางบาปอยาง ถูกตอง อาศัยการแตงงานตามพิธีของพระศาสนจักร 285. พระเยซูเจาทรงตั้งศีลสมรสเพื่อจุดประสงคดังนี้คือ ก. ประทานพระหรรษทานเพื่อความดีทั้งครบของสามีภรรยา ทั้งฝายกาย จิตใจ และวิญญาณ ข. เพื่อการกําเนิดบุตร และอบรมเลี้ยงดูบุตรในทุกดาน (เทียบ GS.50; HV.9-10; CIC.1055.1) 286. ผูที่รับศีลสมรสไดคือ ผูรับศีลลางบาปที่มีความสามารถ 2 ดาน คือ ก. ตามธรรมชาติ (รูจักใชเหตุผลอยางเพียงพอ รูและเขาใจ สิทธิและหนาที่ของการแตงงาน และมีสุขภาพจิตที่ดี) ข. ตามกฎหมายพระศาสนจักร (ไมมีขอขัดขวางการแตงงาน) 287. ขอขัดขวางในการรับศีลสมรส คือ ก. อายุไมถึงตามเกณฑที่กําหนด -200-


_________________________________________________________________________ ข. ไรสมรรถภาพทางเพศ ค. มีพันธะการแตงงานเกา ง. แตงงานกับผูที่ไมไดรับศีลลางบาป จ. บุคคลที่อยูในศีลบวช ฉ. ผูปฏิญาณตนตลอดชีวิต ช. ลักพาตัวหรือกักขัง ซ. ฆาตกรรมสามีหรือภรรยา เพื่อแตงงานใหม ฌ. ญาติทางสายโลหิต ญ. ญาติเกี่ยวดองทางการแตงงาน ฎ. การอยูกินแบบชูสาวอยางเปดเผย ฏ. ความเกี่ยวพันทางกฎหมาย (บุตรบุญธรรม) 288. ผูรับศีลสมรสตองอยูในสถานะพระหรรษทาน ดังนั้น ผูที่มีบาป หนัก หากไปรับศีลสมรสก็ทําบาปหนัก ทุราจารศีลสมรส พระศาสนจักรจึงแนะนําใหคูสมรสรับศีลอภัยบาปและศีลมหา สนิทในพิธีแตงงาน เพื่อจะไดรับพระหรรษทานอยางอุดม 289. ผูที่จะรับศีลสมรสควรไปปรึกษาพระสงฆเจาอาวาส รับการ อบรมเตรียมแตงงาน และเตรียมจิตใจอยางดี หากยังมิไดรับศีล กําลังควรขอรับศีลนี้กอนแตงงาน

-201-


__________________________________________________________________________ 290. ผูรับศีลสมรสแลวตองรัก ซื่อสัตยตอคูครองของตนจนตลอด ชีวิต และจะหยารางกันไมได (เทียบ มธ 5:32; ลก 16:18; อฟ 5:21-33) ผูรับศีลลางบาปอยางถูกตอง หมายถึง คาทอลิกและชาวคริสต ผูรับศีลลางบาปที่มิใชคาทอลิก

1.

ในการรับศีลสมรส

พระสงฆจะประกาศปาวรองในวัดนาน

พอสมควร เพื่อจะไดทราบขอขัดขวางของคูสมรส ผูที่รูเห็นขอ ขัดขวางของคูสมรสจะตองแจงแกพระสงฆโดยเร็ว มิฉะนั้นก็มี บาป 2.

ผูที่รับ ศีล สมรสในวั ด อื่น จะตอ งขอสํ าเนาศีล ลางบาป

และ

ใบรับรองการปาวรองในวัดของตนไปมอบแกพระสงฆเจาวัดที่ ตนรับศีลสมรสนั้น

พระองคทรงตอบวา “ทานไมไดอานพระคัมภีรหรือวาเมื่อแรกนั้น พระผูสรางทรงสรางมนุษยใหเปนชายและหญิง และตรัสวา ดังนี้ ชาย -202-


_________________________________________________________________________ จะละบิดามารดาไปสนิทอยูกับภรรยาของตนและชายหญิงจะเปนเนื้อ เดียวกัน ดังนี้ เขาจึงไมเปนสองอีกตอไป แตเปนเนื้อเดียวกัน ฉะนั้น สิ่งที่ พระเจาทรงรวมกันไว มนุษยอยาไดแยกเลย” (มธ 19:4-6) พระคัมภีรกลาววา “เพราะเหตุนี้ ชายจะละบิดามารดาไปผูกพัน อยูกับภรรยา และทั้งสองจะเปนเนื้อเดียวกัน” ธรรมล้ําลึกประการนี้ ยิ่งใหญนัก ขาพเจาหมายถึงพระคริสตเจากับพระศาสนจักร (อฟ 5:31-32)

284. ศีลสมรสคืออะไร 285. พระเยซูเจาตั้งศีลสมรสเพื่อจุดประสงคอะไร 286. ผูใดรับศีลสมรสได 287. ขอขัดขวางในการรับศีลสมรสมีอะไรบาง 288. ผูที่รับศีลสมรสตองเตรียมจิตใจอยางไร 289. ผูที่จะรับศีลสมรสควรทําอยางไร 290. ผูที่รับศีลสมรสแลวมีหนาที่อะไรตอคูครองของตน

-203-


__________________________________________________________________________

บทที่ 59 การภาวนา (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 4 ขอ 2559-2561)

291. การภาวนา คือ การยกจิตใจขึ้นหาพระเปนเจา เพื่อพูดกับ พระองค และแสดงความรักตอพระองค 292. การสวดภาวนามีจุดประสงคเพื่อ

1. สรรเสริญและนมัสการ

พระเปนเจา 2. ขอบคุณ 3. ขอโทษ 4. วิงวอนขอทุกสิ่งที่ ตองการจากพระองค 293. พระเปนเจาทรงฟงคําภาวนาของมนุษยทุกคน เพราะวาพระองค มีพระทัยกรุณาและรักมนุษยทุกคน 294. การสวดภาวนาอยางดีก็คือ สวดโดยตั้งใจ ไววางใจ โดยใจ สุภาพและเพียรสวดเรื่อยไป 295. ทุกคนจําเปนตองสวดภาวนา เพื่อจะไดเอาตัวรอดไปสวรรค เพราะวาผู ที่ไ มส วดภาวนาเลยก็ ไ ม ไ ดรั บ ความชว ยเหลือ จาก พระเปนเจา

-204-


_________________________________________________________________________ 1.

พระเปนเจาทรงประทานทุกสิ่งใหเสมอตามที่เราภาวนาขอ ถา สวดภาวนาขออยางดี ขอสิ่งที่ดี และเปนคนดีสมควรไดรับ พระคุณนั้น

2.

เราสวดภาวนาขอใหไดไปสวรรคกอนสิ่งอื่นใด และควรสวด ภาวนาอุทิศแกทุกคน เชน ญาติพี่นอง ผูมีบุญคุณ พระศาสน จักร ประเทศชาติ มิตรและศัตรู และวิญญาณในไฟชําระ ฯลฯ

‘เมื่อทานอธิษฐานภาวนา ก็อยาเปนเหมือนบรรดาคนหนาซื่อ ใจคด เขาชอบยืนอธิษฐานภาวนาในศาลาธรรม และตามมุมลาน เพื่อใหใครๆ เห็น เราบอกความจริงแกทานวา เขาไดรับบําเหน็จของ เขาแลว สวนทานเมื่ออธิษฐานภาวนา จงเขาไปในหองสวนตัว ปด ประตู

อธิษฐานตอพระบิดาของทานผูทรงสถิตอยูทั่วทุกแหง แลว

พระบิดาของทานผูทรงหยั่งรูทุกสิ่ง จะประทานบําเหน็จใหทาน” (มธ 6:5-6) ถาทานทั้งหลายขอสิ่งใดในนามของเรา เราจะทําให (ยน 14:14)

-205-


__________________________________________________________________________ เมื่อเสด็จถึงที่นั่นแลว พระองคตรัสกับเขาเหลานั้นวา “จง อธิษฐานภาวนาเถิด เพื่อจะไมถูกทดลอง” (ลก 22:40)

291. การสวดภาวนาคืออะไร 292. การสวดภาวนามีจุดประสงคอะไร 293. พระเปนเจาทรงฟงคําภาวนาของมนุษยทุกคนหรือ 294. การสวดภาวนาที่ดีคือตองสวดอยางไร 295. ทุกคนจําเปนตองสวดภาวนาหรือไม

-206-


_________________________________________________________________________

บทที่ 60 จารีตและสิ่งคลายศีล (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 ขอ 1667-1679)

296. จารีต คือ กิจการหรือพิธีกรรมซึ่งพระศาสนจักรไดกําหนดขึ้น เพื่อใหคาทอลิกมีสวนรวมในการนมัสการพระเปนเจา 297. สิ่งคลายศีล คือ วัตถุหรือเครื่องหมายตางๆ ที่พระศาสนจักร กําหนดขึ้นเพื่อเตือนความศรัทธา

และประทานพระคุณบาง

ประการตามความเชื่อของผูใช

และอาศัยคําวิงวอนของ

พระศาสนจักร 298. สิ่งคลายศีลและจารีตมีไวเตือนความศรัทธาและเตือนความเชื่อ ของคาทอลิก และทําใหคาทอลิกมีจิตใจเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ในการนมัสการพระเปนเจา 299. สิ่งคลายศีลมิไดประทานพระหรรษทานเหมือนศีลศักดิ์สิทธิ์ แต ประทานพระคุณบางอยางอาศัยฤทธิ์แหงคําภาวนาของพระศาสนจักร สุดแตความเชื่อและความศรัทธาของผูที่ใชสิ่งคลาย สิ่งนั้น

-207-


__________________________________________________________________________ 1.

น้ําเสก มีอํานาจขับไลปศาจและชําระวิญญาณจากบาปเบา

2.

หรือโทษบาป อาศัยคําภาวนาของพระศาสนจักร เทียนเสก หมายถึง ความสวางแหงวิญญาณ ความรอนของ เทียน หมายถึง ความรักตอพระเปนเจา คาทอลิกจะจุดเทียน เสกในเวลาเกิดอันตรายเพื่อสวดภาวนา และในเวลาที่มีคนเจ็บ

3.

หนักใกลตาย กํายาน มีควันหอมที่ลอยขึ้นสูง หมายถึง คําภาวนาที่ลอยขึ้นหา

4.

พระเปนเจา เถา เปนเครื่องหมายถึงความตายและการใชโทษบาป พระศาสนจักรเสกเถาและโปรยเถาบนศีรษะคาทอลิกในวันพุธรับเถา

5.

ตนเทศกาลมหาพรต ใบลาน ซึ่งพระศาสนจักรเสกและแหในวันอาทิตยใบลาน เพื่อ ระลึกถึงวันที่พระเยซูเจาเขากรุงเยรูซาเล็มครั้งสุดทาย

6.

มี

ประชาชนถือใบลานแหตอนรับพระองค พิธีแห เปนการถวายเกียรติและยกยองพระเปนเจา เพื่อแสดง ความเชื่อของสวนรวมและเพื่อวิงวอนหรือโมทนาคุณพระเปน เจา -208-


_________________________________________________________________________ 7. การอวยพรศีลมหาสนิท เปนพิธีแสดงความศรัทธาและถวาย 8.

เกียรติแดพระเยซูเจาในศีลมหาสนิท การเดินรูปสิบสี่ภาค เปนการระลึกถึงพระมหาทรมานและการ สิ้นพระชนมของพระเยซูเจา ตั้งแตพระองคถูกตัดสินประหาร ชีวิตจนถูกตรึงกางเขนและถูกฝงในคูหา

296. จารีตคืออะไร 297. สิ่งคลายศีลคืออะไร 298. จารีตและสิ่งคลายศีลมีประโยชนอะไร 299. สิ่งคลายศีลประทานพระคุณอยางไร

-209-


__________________________________________________________________________

ภาคผนวก อธิบายบทสวด ขาแตพระบิดา (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ภาค 4 ขอ 2777-2854)

300. บทขาแตพระบิดา เปนบทสวดสําคัญที่สุด ซึ่งพระเยซูเจาไดแตง และสอนใหสาวกสวดบทนี้ (ดู มธ 6:9-11; ลก 11:2-4) ขาแตพระบิดา เราเรียกพระเปนเจาเปนพระบิดาเพื่อแสดงความรักตอพระองค เพราะพระองคไดสรางเรา และใหชีวิตเหนือธรรมชาติแกเราทาง ศีลลางบาป ของขาพเจาทั้งหลาย พระเปนเจาเปนบิดาของมนุษยทุกคน ดังนั้น มนุษยทุกคนจึงเปน เหมือนพี่นองกัน พระองคสถิตในสวรรค เราปรารถนาที่จะไปรับความรุงเรือง และอยูรวมกับพระองคใน สวรรค พระนามพระองคจงเปนที่สักการะ เราวิงวอนขอใหมนุษยทุกคนรูจัก และยอมรับนับถือพระเปนเจา -210-


_________________________________________________________________________ พระอาณาจักรจงมาถึง เราวิงวอนขอใหพระองคไดปกครองจิตใจมนุษยทุกคน และชวย ทุกคนใหไดไปสวรรค พระประสงคจงสําเร็จในแผนดินเหมือนในสวรรค เราขอให ม นุ ษ ย ทุ ก คนยอมนอบน อ มทํ า ตามน้ํ า พระทั ย ของ พระองคเหมือนชาวสวรรคทั้งหลาย โปรดประทานอาหารประจําวันแกขาพเจาทั้งหลายในวันนี้ เราวิงวอนขอพระเปนเจาไดโปรดประทานทุกสิ่งที่จําเปนสําหรับ บํารุงเลี้ยงจิตใจและรางกายของเรา เชน พระหรรษทานและ พระคุณตางๆ ทางวิญญาณ และอาหารเครื่องนุงหม ทรัพยสิน เงินทองอันจําเปนแกชีวิต เราขอสําหรับวันนี้ คือขอใหมีกินมีใช ไปวันละวัน ไมขอฟุมเฟอย โปรดประทานอภัยแกขาพเจา เหมือนขาพเจาใหอภัยแกผูอื่น เราขอพระเปนเจาใหอภัยบาปและความผิดแกเรา โดยเราตั้งใจ จะใหอภัยผิดแกผูอื่นเพราะเห็นแกพระเปนเจาเชนกัน โปรดชวยขาพเจาไมใหแพการผจญ เราวิงวอนขอพระเปนเจาปองกันมิใหเราตกในบาป แตโปรดชวยใหพนจากความชั่วรายเทอญ

-211-


__________________________________________________________________________ เราวิงวอนขอพระเปนเจาชวยใหพนจากความทุกข และอันตราย ตางๆ ในโลกนี้ ตลอดจนความทุกขชั่วนิรันดรในชีวิตหนา อาแมน เปนคําลงทายบทสวด แปลวา ขอใหสําเร็จดังที่สวดมานี้เทอญ อธิบายบทสวด วันทามารีอา อธิบายบทสวด วันทามารีย 301. พระศาสนจักรไดแตงบทวันทามารีย โดยใชคําพูดของทูตสวรรค คาเบรียล และนักบุญเอลีซาเบธ (ดู ลก 1:42) วันทามารีย เราขอไหว หรือขอเคารพพระนางมารีย เปยมดวยพระหรรษทาน พระนางไดรับพระหรรษทานอยางลนเหลือจากพระเปนเจา พระเจาสถิตกับทาน พระเปนเจาทรงสถิตอยูกับพระนาง ผูไดรับพระพรกวาสตรีใดๆ ไมมีสตรีผูใดมีบุญเหนือพระนาง เพราะพระนางทรงเปนมารดา ของพระมหาไถ และพระเยซูโอรสของทาน ทรงไดรับพระพรยิ่งนัก -212-


_________________________________________________________________________ นักบุญเอลีซาเบธไดรับการดลใจจากพระจิตเจา จึงสรรเสริญ พระนางวา พระนางเปนมารดาของพระผูไถ สันตะมารีย พระมารดาพระเจา พระนางมารีย ผูศักดิ์สิทธิ์ และเปนมารดาของพระเยซูเจาผูเปน พระเปนเจา โปรดภาวนาเพื่อลูกทั้งหลายผูเปนคนบาป บัดนี้และเมื่อจะตาย อาแมน ราขอใหแมพระชวยวิงวอนพระเปนเจาแทนเราซึ่งเปนคนบาป ให พระองคชวยเราทั้งในปจจุบันและเปนตนเวลาใกลตาย ซึ่งเรา ตองการความชวยเหลืออยางยิ่ง 302. บทสวดลู ก ประคํ า เป น บทสรรเสริ ญ พระนางมารี ย

ซึ่ ง

ประกอบดวยบทขาพเจาเชื่อ ขาแตพระบิดา วันทามารีย และ พระสิริรุงโรจน ฯลฯ

อันเปนบทสั้นๆ หลายบทรวมกันเหมือน

พวงมาลัยดอกไม 303. พระศาสนจักรใหตีระฆังทุกวัน เวลาเชา เที่ยง และค่ํา เพื่อเตือน ใหคาทอลิกสวดบททูตสวรรคแจงขาว เพื่อสรรเสริญพระนาง มารีย ซึ่งไดรับเป นมารดาของพระมหาไถ แตใ นระหวาง ฉลองปสกาใหสวดบทราชินีสวรรค

เพื่อระลึกถึงการกลับคืน

พระชนมชีพของพระเยซูเจา พระบุตรของพระนาง -213-


__________________________________________________________________________

ศาสนกิจประจําวัน 304. คาทอลิกเมื่อตื่นนอนตอนเชาควรทําสําคัญมหากางเขน และ สวดบทภาวนาเชา เพื่อโมทนาคุณพระเปนเจา ซึ่งไดคุมครอง ชีวิตเราทุกวัน และถวายตัวและกิจการงานในวันนั้นแดพระองค ถาไปรวมพิธีบูชาขอบพระคุณเชาไดก็มีประโยชนแกจิตใจมาก 305. ในการรับประทานอาหาร คาทอลิกควรสวดบทภาวนากอนและ หลังอาหาร 306. ในการเดินทางไกล คาทอลิกควรสวดบทภาวนาฝากชีวิตจิตใจ แกพระเปนเจา และขอเทวดารักษาตัวชวยคุมครองใหเดินทาง โดยสวัสดิภาพ 307. ตลอดทั้ง วั นคาทอลิก ควรยกจิต ใจคิด ถึ งพระเปน เจา เปน ครั้ ง คราว และสวดบทภาวนาสั้นๆ ตามสมควร 308. กอนเขานอน คาทอลิกควรสวดบทภาวนาค่ํา พิจารณาบาปและ เปนทุกขถึงบาปที่ไดทําในวันนั้น พรอมกับตั้งใจจะแกบาป เมื่อ จะนอนควรใชน้ําเสกพรมบนที่นอน ทําสําคัญมหากางเขน และ ฝากชีวิตจิตใจแกพระเปนเจาและเทวดารักษาตัว ระลึกถึงความ ตายหรือขอพระธรรมใดๆ จนกวาจะหลับเสีย -214-


_________________________________________________________________________

กระแสเรียกและการถวายตัวแดพระเปนเจา 309. พระเป น เจ า ทรงพอพระทั ย เรี ย กคาทอลิ ก บางคนให ไ ปรั บ ใช ใกลชิดพระองค ดวยการบวชเปนนักบวชหรือพระสงฆ 310. ผูที่ไดรับการดลใจจากพระเปนเจา ซึ่งเรียกไปเปนนักบวชนี้ก็ถือ วาเปนผูที่ไดรับกระแสเรียก 311. เครื่องหมายแสดงวาไดรับกระแสเรียกคือ 1. มีความปรารถนา จริงใจและสมัครใจไปบวช 2. มีความเหมาะสมเพียงพอจะเปน นักบวชได 3. ไดรับการเห็นชอบจากผูใหญฝายวิญญาณและ ผูใหญทางศาสนา 312. ผูเ ข า เป น นั ก บวชจะต อ งถื อ พระวิ นั ย สํ า คั ญ ของนัก บวชอย า ง เครงครัดและสละชีวิตอยางคนชาวโลก 313. พระวินัยสําคัญของชีวิตนักบวชคือ 1. ความนบนอบ 2. ความ บริสุทธิ์ 3. ความยากจน 314. การถวายตัวแดพระเปนเจาเขาเปนนักบวช จะตองทําดวยความ สมัครใจจริง ไมมีใครมีสิทธิ์บังคับผูอื่นใหเปนนักบวชไดเลยเปน อันขาด 315. ผูใดรูสึกวาตนไดรับกระแสเรียก ควรปรึกษาพระสงฆ ผูแนะนํา วิญญาณ และพยายามเปนคนบริสุทธิ์ หมั่นแกบาป รับศีลมหา -215-


__________________________________________________________________________ สนิทบอยๆ มีใจศรัทธาตอแมพระ และฝกหัดตนในการเสียสละ เพื่อพระเปนเจาเสมอ 316. พระเปนเจาทรงสัญญาวาจะใหรางวัลรอยเทาในโลกนี้ และ บําเหน็ จรางวั ลไมมีข อบเขตในสวรรคแกผูที่สละชีวิตอยางคน ชาวโลกเขาเปนนักบวชรับใชใกลชิดพระองคอยางซื่อสัตย (เทียบ ลก 18:28-30)

-216-


_________________________________________________________________________

บทภาวนาที่ควรจํา บทขาแตพระบิดา (มธ 6:9-13) (Pater Noster) ขาแตพระบิดาของขาพเจาทั้งหลาย พระองคสถิตในสวรรค พระนามพระองคจงเปนที่สักการะ พระอาณาจักรจงมาถึง พระประสงคจงสําเร็จในแผนดินเหมือนในสวรรค โปรดประทานอาหารประจําวัน แกขาพเจาทั้งหลายในวันนี้ โปรดประทานอภัยแกขาพเจา เหมือนขาพเจาใหอภัยแกผูอื่น โปรดชวยขาพเจาไมใหแพการผจญ แตโปรดชวยใหพนจากความชั่วรายเทอญ อาแมน บทวันทามารีย (Ave Maria) วันทามารีย เปยมดวยพระหรรษทาน พระเจาสถิตกับทาน ผู ไดรับพระพรกวาสตรีใดๆ และพระเยซูโอรสของทานทรงไดรับพระพร ยิ่งนัก สันตะมารีย พระมารดาพระเจา โปรดภาวนาเพื่อลูกทั้งหลาย ผูเปนคนบาป บัดนี้และเมื่อจะตาย อาแมน

-217-


__________________________________________________________________________ บทพระสิริรุงโรจน (Gloria Patri) พระสิริรุงโรจนแดพระบิดา และพระบุตร และพระจิต เหมือนในปฐมกาล บัดนี้และทุกเมื่อตลอดนิรันดร อาแมน บทสารภาพบาป (Confuteor) ขาพเจาขอสารภาพตอพระเจา ผูทรงสรรพานุภาพและตอพี่ นองดวย วาขาพเจาไดทําบาปมากมาย ดวยกาย วาจา ใจ และดวย การละเลย ขาพเจาเปนคนบาป ขาพเจายอมรับวาเปนคนบาป (ขอนอก เพียงครั้งเดียว) ดังนั้น ขอพระนางมารียผูทรงเปนพรหมจารีเสมอ ขอทูตสวรรค และนักบุญทั้งหลายและพี่นองดวย ชวยวิงวอนพระเจา เพื่อขาพเจาดวยเทอญ พระบัญญัติความรัก (มธ 22:37,39) จงรักองคพระผูเปนเจา พระเจาของทานสุ ดจิตใจ สุดวิญ ญาณ สุด สติปญญาของทาน (ฉธบ 6:5) จงรักเพื่อนมนุษยเหมือนรักตนเอง (ลนต 19:18) บทบัญญัติพื้นฐานของพระศาสนจักร 1. จงรวมพิธีบูชาขอบพระคุณ และหยุด ทํางานในวัน อาทิตยและวัน ฉลองบังคับ 2. จงรับศีลอภัยบาปอยางนอยปละครั้ง -218-


_________________________________________________________________________ 3. จงรับศีลมหาสนิทอยางนอยปละครั้งในกําหนดปสกา 4. จงอดอาหาร และอดเนื้อ ในวันที่กําหนด 5. จงบํารุงพระศาสนจักรตามความสามารถ พระบัญญัติสิบประการ (อพย 20:1-17,ฉธบ 5:1-21) “เราคือองคพระผูเปนเจา พระเจาของทาน” 1. จงนมัสการ องคพระผูเปนเจา พระเจาพระองคเดียวของทาน 2. อยาออกพระนามพระเจาโดยไมสมเหตุ 3. อยาลืมฉลองวันพระเจาเปนวันศักดิ์สิทธิ์ 4. จงนับถือบิดามารดา 5. อยาฆาคน 6. อยาผิดประเวณี 7. อยาลักขโมย 8. อยาพูดเท็จใสรายผูอื่น 9. อยาปลงใจผิดประเวณี 10. อยามักไดทรัพยสินของผูอื่น บทขาพเจาเชื่อ (สัญลักษณของอัครสาวก) (Credo) ข า พเจ า เชื่ อ ในพระเจ า พระบิ ด าผู ท รงสรรพานุ ภ าพ ทรง เนรมิตฟาดิน ขาพเจาเชื่อในพระเยซูคริสตเจา พระบุตรหนึ่งเดียวของ พระเจา องคพระผูเปนเจาของขาพเจาทั้งหลาย ทรงปฏิสนธิเดชะพระ -219-


__________________________________________________________________________ จิตเจา ทรงบังเกิดจากพระนางมารียพรหมจารี ทรงรับทรมานสมัย ปอนทิอัส ปลาต ทรงถูกตรึงกางเขน สิ้นพระชนม และทรงถูกฝงไว เสด็จสูแดนมรณะ วันที่สามทรงกลับคืนพระชนมชีพจากบรรดาผูตาย เสด็จสูสวรรค ประทับเบื้องขวาพระเจา พระบิดาผูทรงสรรพานุภาพ แลวจะเสด็จมาพิพากษาผูเปนและผูตาย ข า พเจ า เชื่ อ ในพระจิ ต เจ า พระศาสนจั ก รศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ส ากล ความสัมพันธเปนหนึ่งเดียวของผูศักดิ์สิทธิ์ การอภัยบาป การกลับคืน ชีพของรางกาย และชีวิตนิรันดร อาแมน บทแสดงความเชื่อ ขาแตพระเจา ขาพเจาเชื่อมั่นในความจริงทุกขอ ที่พระองค ทรงเปดเผย และที่พระศาสนจักรสั่งสอน โปรดทรงเพิ่มพูนความเชื่อ ของขาพเจาดวยเถิด อาแมน บทแสดงความหวัง ขาแตพระเจา ขาพเจาหวังอยางแนวแนวา เดชะพระบารมีของ พระเยซูคริสตเจา พระองคจะประทานพระหรรษทานแกขาพเจาใน โลกนี้ และสันติสุขนิรันดรในโลกหนา ทั้งนี้เพราะพระองคทรงรักษา พระสัญญาที่ทรงใหไวเสมอ อาแมน

-220-


_________________________________________________________________________ บทแสดงความรัก ขาแตพระเจา ขาพเจารักพระองคสุดดวงใจยิ่งกวาสิ่งทั้งปวง เพราะพระองคทรงเปนความดีงามหาที่สุดมิได และทรงสมควรไดรับ ความรักจากมนุษยทั้งมวล และเพราะรักพระองค ขาพเจาจึงรักผูอื่น เหมือนรั ก ตนเอง และพรอ มจะใหอภั ยผูอื่นเสมอ โปรดทรงเพิ่มพูน ความรักของขาพเจาดวยเถิด อาแมน บทแสดงความทุกข ขาแตพระเจา ขาพเจาเปนทุกขเสียใจที่ไดทําบาป เพราะบาป เรีย กรอ งการลงโทษ และโดยเฉพาะอยางยิ่ ง บาปทํ าเคือ งพระทั ย พระองค ผูทรงความดีและทรงสมควรไดรับความรั กจากมนุ ษยทั้ง มวล เดชะพระหรรษทานชวย ขาพเจาตั้งใจแนวแนวา จะไมทําบาป อีกเลย จะหลีกหนีโอกาสบาป และจะพยายามใชโทษบาป โปรดทรง พระกรุณาอภัยบาปแกขาพเจาดวยเถิด อาแมน

-221-


__________________________________________________________________________

บทภาวนากอนรับศีลอภัยบาป บทอัญเชิญพระจิตเจา (Veni Sancte Spiritus) กอ เชิญเสด็จมา ขาแตพระจิตเจา รับ เชิญเสด็จมาสถิตในดวงใจสัตบุรุษ และทรงบันดาลใหลุกรอน ดวยความรักของพระองค กอ โปรดประทานพระจิตของพระองค และสรรพสิ่งจะอุบัติขึ้นมา รับ แลวพระองคจะทรงเนรมิตแผนดินขึ้นใหม ขาแตพระเจา พระองคทรงสอนใจสัตบุรุษดวยการสองสวาง ของพระจิต โปรดใหขาพเจาทั้งหลายซาบซึ้งในความเที่ยงธรรมโดย พระจิต นั้น และโปรดใหไ ดรับ ความบรรเทาจากพระองคทานเสมอ เดชะพระคริสตเจา องคพระผูเปนเจาของขาพเจาทั้งหลาย อาแมน บทภาวนาขอใหรับศีลอภัยบาปโดยดี ขาแตพระเปนเจา ขอทรงพระกรุณาโปรดชวยขาพเจาใหไดรับ ศีลอภัยบาปโดยดี ขาแตพระจิตเจา ขอทรงพระกรุณาโปรดชวย ขาพเจาใหระลึกไดโดยถี่ถวน ซึ่งบาปที่ไดกระทํา โปรดใหขาพเจามี ความทุกขตรอมใจจริงเพราะบาปนั้น ขอใหขาพเจาทําใจใหมั่นคงได จริงๆ วา จะไมกระทําบาปอีกตอไปเลย

-222-


_________________________________________________________________________ ขาแตพระเยซูเจาที่นารัก ขาพเจาไดทําผิดตอพระองคไปแลว และไดเนรคุณพระองค แตขาพเจามาขอขมาและขอพระองคยกโทษ แกขาพเจาดวยเถิด ขาแตพระนางมารียผูศักดิ์สิทธิ์ โปรดภาวนาอุทิศแกขาพเจาคน บาปนี้ใหไดรับศีลอภัยบาปอยางดี (จงสํารวมจิตใจพิจารณาบาปที่ไดทําอยางละเอียด จงคิดดีๆ วา ไดทําบาปอะไรบาง กี่ครั้งกี่หน) 1.

รับศีลอภัยบาปครั้งสุดทายนานเทาไร

2.

พระสงฆไดยกบาปใหแลวหรือยัง ถาพระสงฆยังไมไดยกบาปให เปนเพราะเหตุใด

3.

กิจใชโทษบาป ทําแลวหรือยัง

4.

ในการสารภาพบาปครั้งกอนๆ ไดลืมบาปหนักขอใดบาง และ ไดปดบังบาปหนักขอใดบาง ครั้งนี้ตองชี้แจงแกพระสงฆอยาง ละเอียด และรื้อฟนบาปเหลานั้นมาแกใหถูกตองเสียใหม

-223-


__________________________________________________________________________

ขอพิจารณาบาป (ผูที่รับศีลอภัยบาปบอยๆ พิจารณาบาปในหัวขอ ก. เทานั้น สวนผูที่ไมไดรับศีลอภัยบาปมานาน ควรพิจารณาทั้งขอ ก. และ ข. ดวย)

พระบัญญัติพระเปนเจา 1.

ก. ละทิ้งการสวดเชาค่ํากี่ครั้ง ไมตั้งใจสวดภาวนา ข. สงสัยในขอความเชื่อ เสียใจคิดวาตนไมมีหวังไปสวรรค โกรธเกลียดพระเปนเจา บนวาพระเปนเจา ทําการชูแปรตีซัง เชน ดูหมอดู เชื่อฝน ชวยการบุญในศาสนาอื่น ใชเครื่องลาง หรือน้ํามนต อานหนังสือผิดตอความเชื่อ

2.

ก. สบถสาบานในเรื่องไมจริง พูดจาดูหมิ่นพระเปนเจา ดูหมิ่นผู ศักดิ์สิทธิ์ ดาวาพระสงฆ ดาวานักบวช ข. ผิดคําสาบาน ทนสาบาน หรือสาบานอยางคนตางศาสนา ไมยอมแกบน ดาแชงพระเปนเจา ดาแชงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ออก ชื่อสิ่งศักดิ์สทิ ธิ์อยางไมสมควร

3.

ก. ขาดพิธีบูชาขอบพระคุณวันอาทิตย ไมตั้งใจรวมพิธีบูชา ขอบพระคุณ พูดเลนกันในวัด ข. ทํามาหากินหรือทํางานหนักในวันอาทิตย และวันฉลอง บังคับ ไดบังคับหรือใชผูอื่นทํางานในวันพระเจา -224-


_________________________________________________________________________ 4.

ก. ดื้อตอพอแม ดื้อตอผูใหญ บน ดา เถียงพอแมหรือผูใหญ ไมยอมทํางานที่ทานสั่ง ไมเคารพยําเกรง ข. ไมชวยเหลือเลี้ยงดูพอแมที่แกเฒา ละทิ้งพอแมใหลําบาก หรือขาดแคลนขัดสน ดุ ดา เตะ ตีพอแมของตน ไมเอาใจใส เลี้ยงดูลูกของตนใหมีกินมีใช ไมตักเตือนลูกในการไปแก บาปรับศีล ไมเอาใจใสตักเตือนเมื่อลูกทําผิด ลงโทษรุนแรง เกินกวาเหตุ ไมยอมใหลูกรับศีลลางบาปหรือเรียนคําสอน สงลูกไปเรียนในโรงเรียนตางศาสนาโดยไมจําเปน เมื่อลูก ละทิ้งศาสนาหรือแตงงานไมเรียบรอย พอแมไมไดรูเห็นเปน ใจดวย หรือไมเคยวากลาวตักเตือนเลย

5.

ก. โมโห โกรธ ดาแชง ทําราย ชกตอย ตบตีกัน รังแก ขมเหง ผูอื่น ชักชวนหรือสอนผูอื่นใหทําบาป ข. เกลียดชัง ผูกพยาบาท ทําอันตรายแกเขาจนบาดเจ็บพิการ หรือถึงแกความตาย คิดจะฆาเขา พยายามฆาตัวเอง ผาตัด เพื่อคุมกําเนิด จงใจแทงบุตร กินยาหรือทําสิ่งใดเพื่อทําลาย เด็กในครรภ

6.

ก. อานหนังสือชั่ว ดูรูปชั่ว ตั้งใจดูหรือแอบมองสิ่งชั่ว พูดจา หยาบโลนในเรื่องลามก ดูภาพยนตรหรือโทรทัศนในรายการ ไมดี ฟงวิทยุในรายการไมดี ตั้งใจฟงเรื่องลามกมิดีตางๆ -225-


__________________________________________________________________________ ข. สัมผัสหรือแตะตองเพื่อความสนุกทางเพศแกตนเอง หรือ แกผูอื่น กอด จูบ หรือทํากิจกรรมไมบริสุทธิ์กับตนเองหรือ กับผูอื่น สําเร็จความใครดวยตนเอง ลวงประเวณีกับเขา (เขาเปนญาติสนิทหรือไม เขามีสามีภรรยาหรือไม และยัง อยูดวยกันหรือเปลา) ขมขืนใหผูอื่นทําผิดความบริสุทธิ์ 7.

ก. ขโมย โกง ยักยอก ทําขาวของๆ เขาเสียหายมากนอยเทาใด (ไดคืนหรือใชแกเขาหรือยัง) เลนการพนัน ขูเข็ญเงินทอง จากผูอื่น ไมยอมใชหนี้ เรียกดอกเบี้ยเกินควร รับซื้อของโจร ไมใ หคาจางแกลูกจางตามความยุติธ รรม ไมทํางานให เพียงพอแกคาจางตามความยุติธรรม ไมทํางานใหเพียงพอ แกคาแรง คดโกง โกงเงินของรัฐบาล เลนการพนันที่ผิด กฎหมาย ทําความเสียหายแกผูอื่น ทําความเสียหายแกของ สาธารณะ ไดรวมมือ มีสวนยุยงหรือรูเห็นเปนใจในการทํา อยุติธรรมตางๆ นี้

8.

ก. โกหก นินทา ใสความ ทําลายชื่อเสียงของเขา ข. เปนพยานเท็จ ทําผิดยุติธรรมในการขึ้นศาล พิพากษาเขา โดยเบาความ

9.

ก. เต็มใจคิดหรือปรารถนาผิดตอความบริสุทธิ์ ไดพยายาม สละทิ้งหรือเปลา -226-


_________________________________________________________________________ ข. ตั้งใจจะทําผิด ประเวณี

นึก มุงหมายที่จะทํ าผิด กับ บุ ต ร

ภรรยาของผูอื่น 10. ก. คิดจะขโมย ตั้งใจจะขโมย ปรารถนาจะไดทรัพยสมบัติของ ผูอื่นโดยผิดความยุติธรรม พระบัญญัติพระศาสนจักร กินเนื้อในวันศุกรหรือวันตองหาม ขาดจําศีล ขาดทําปสกา ไม ยอมทําบุญเลย บาปตนเจ็ดประการ จองหอง อวดอางความดีของตนเองเกินไป ดูถูกดูหมิ่นผูอื่น ไมยอม เชื่อฟงผูใหญ ตระหนี่ ไมยอมชวยเหลือคนยากจนขัดสนเมื่อตนชวยได งายๆ อิจฉาริษยา ปลอยจิตใจในความโมโห เสพสุรา กินอาหารเกิน ขนาด เกียจครานในการทํามาหากิน เกียจครานในการไปวัดหรือ ภาวนา หรือแกบาปรับศีล (จงพิจารณาใหดีเถิดวาไดทําบาปตางๆ นี้ มากนอยเทาใด กี่ครั้งกี่หน) เตือนความทุกขถึงบาป ขาแตพ ระเป นเจา

ขาพเจาเสีย ใจที่ไ ดทําผิด เคือ งพระทัย

พระองคผูนารักยิ่งนัก ขาพเจาเปนทุกขตรอมใจเพราะบาปเหลานี้ ทํา ใหขาพเจาเป น ศั ตรู กั บ พระองค

และตอ งสูญ เสีย พระหรรษทาน

ขาพเจาสมควรจะไดรับอาญาโทษรายแรงในชีวิตนี้ และเปนตนในชีวิต -227-


__________________________________________________________________________ หนา ขาพเจาเกลียดชังบาปทั้งปวง เพราะวามันไดเปนเหตุใหพระเยซู เจาถูกทรมานและสิ้นพระชนมบนไมกางเขน ขาพเจารูสึกสํานึกตัวและ ตั้งใจวาแตนี้ไป โดยอาศัยพระหรรษทานของพระองคชวย ขาพเจาจะ พยายามไมทําผิดขัดเคืองพระทัยของพระองคอีกเลย

ขอทรงพระ

กรุณายกโทษบาปแกขาพเจาผูนาสงสารนี้ดวยเถิดพระเจาขา โอพระแมมารีย มารดาแหงพระเยซูเจา โปรดภาวนาอุทิศแก ขาพเจาคนบาป ใหเปนทุกขถึงบาปอยางแทจริงดวยเทอญ (สวดบทขาพเจาขอสารภาพบาป และบทแสดงความทุกข แลวจึงเขาไปในที่แกบาป และ สารภาพบาปแกพระสงฆ ในวิธีแกบาป)

บทภาวนาหลังจากรับศีลอภัยบาปแลว ขาแตพระเปนเจา ขาพเจาขอโมทนาคุณพระองค ที่ไดโปรดให ขาพเจาพนจากบาปทางศีลอภัยบาปนี้ ขอพระองคประทานพระหรรษ ทานชวยขาพเจาอยาไดทําบาปผิดตอพระองคสืบไปอีกเลย

ขาแต

พระเยซูเจาที่รักยิ่ง พระองคไดชําระวิญญาณขาพเจาดวยพระโลหิต อันประเสริฐ ขาพเจาสํานึกในพระกรุณาธิคุณของพระองค ขอแสดง ความรักตอพระองคสิ้นสุดจิตใจ โปรดใหขาพเจารักพระองคยิ่งวันยิ่ง ทวีขึ้นไปเทอญ (หลังจากนั้นจงสวดบทใชโทษบาปที่พระสงฆกําหนดไวใหเรียบรอย)

-228-


_________________________________________________________________________

บทสวดกอนรับศีลมหาสนิท แสดงความเชื่อ พระเยซูพระเจาสูงสุด ขาพเจาเชื่อมั่นวา พระองคประทับอยู ในศีลมหาสนิทนี้ดวยพระองคเองโดยแทจริง เปนพระกาย พระโลหิต พระวิญญาณ และพระเทวภาพของพระองคแทๆ ที่ขาพเจากําลังจะ เขาไปรับอยูนี้ พระเจาขา แสดงความวางใจ ขาแตพระเปนเจา พระองคไดตรัสวา ผูใดวางใจในพระองค ผู นั้นไมมีวันตองอับอาย ขาพเจามั่นใจในคําสัญญาอันนี้ จึงเชื่อมั่นวา เมื่อไดรับประทานพระองคในโลกนี้แลว ขาพเจาจะมีบุญแลเห็น และ เสวยพระองคตลอดนิรันดรในสวรรค พระเจาขา แสดงความรัก ขาแตพระมหาไถ พระองคทรงความรักสุดพรรณนา จึงได ทรงพระกรุณาประทานพระองคเปนอาหารเลี้ยงวิญญาณของขาพเจา ดังนั้น ขาพเจาจะไมรักพระองคไดหรือ จริงแลว ขาพเจารักพระองค

-229-


__________________________________________________________________________ ดวยสิ้นสุดจิตใจ

ขอใหขาพเจาดํารงชีพและตายในความรักตอ

พระองคเถิด พระเจาขา แสดงความสุภาพ ขาแตพระสวามีเจา พระองคคือองคความศักดิ์สิทธิ์ ขาพเจา ไมสมควรใหพระองคเสด็จมาในดวงใจขาพเจา แตขอโปรดตรัสคํา เดียวเถิด และวิญญาณของขาพเจาจะบริสุทธิ์ไป พระเจาขา แสดงความปรารถนา วิญญาณขาพเจาโหยหาพระองค พระเจาขา พระองคคือ ความยินดีและความสุขของขาพเจา ทรงพระกรุณาเสด็จมาเยี่ยม ขาพเจาเถิด โปรดมาตั้งสํานักในวิญญาณขาพเจา เพื่อขาพเจาจะได ดํารงอยูในพระองค พระเจาขา

-230-


_________________________________________________________________________

บทสวดหลังรับศีลมหาสนิท นมัสการ โอพระเยซูเจา ขาพเจาขอกราบนมัสการพระองค ลูกชุมพา ของพระเจา ผูไดพลีพระชนมเพื่อความรอดของมนุษย ขอนมัสการ พระองคอยางสุดซึ้ง รวมกับทูตสวรรคและนักบุญทั้งหลายในสวรรค พระเจาขา สมมนาคุณ ขาพเจาเปนคนบาป พระองคยังทรงเอ็นดู ขาพเจาปวยไข พระองคทรงบําบัดรักษา ขาพเจายากจน พระองคประทานพระคุณ นานา ขาพเจาจะทําไฉน จึงจะสนองพระคุณานุคุณได พระเจาขา ขาพเจาจะซองสาธุการพระนามของพระองค ขาพเจาจะสรรเสริญ พระเมตตากรุณาตลอดนิรันดร พระเจาขา ถวาย พระเจาขา

พระองคประทานพระองคทั้งหมดแกขาพเจา

พระคุณอันนี้ ขาพเจาจะเอาอะไรมาสนอง เพื่อเปนเกียรติมงคลแด พระองค ขอยกถวายรางกาย วิญญาณ และสรรพสิ่งของขาพเจา โปรดกระทําตอขาพเจา ดังทรงเห็นดีเห็นควรเถิดพระเจาขา -231-


__________________________________________________________________________ วิงวอน พระมหาไถพระเจาขา พระองคเสด็จมาครอบครองขาพเจา แลว โปรดอยาใหศัตรูความรอดมาแยงชิงทรัพยสุดประเสริฐนั้นไปเลย โปรดคุมครองขาพเจาใหพนบาปทุกประการ โปรดปองกันการประจญ และโปรดให ข าพเจ า ทั้ ง หลายตั้ง มั่ น ประพฤติ ต ามพระบั ญ ญั ติ โ ดย สุจริตตลอดชีวิตเถิด พระเจาขา ความตั้งใจ พระมหาไถและพระเปนเจา เปนไปไดหรือที่ขาพเจายังจะ บังอาจจงใจทําบาป เปนตนบาปหนักใหขุนเคืองพระทัยอีก ขาพเจา ตั้งใจจริง และอาศัยพระหรรษทานชวย ขาพเจายอมตายดีกวาจะทํา เคืองพระทัย พระเจาขา พระเยซูผูพระทัยดี พระเยซูผูพระทัยดี พระทัยออนหวานนักหนา ขาพเจากราบ อยูเฉพาะพระพักตร วิงวอนเรงรอนขอพระองคโปรดใหดวงใจขาพเจา รอนระอุดวยความเชื่อ ความไวใจและความรัก ทั้งความทุกขถึงบาป และความตั้งใจจริงจะแกไขความประพฤติของขาพเจา ดวยวา ขณะนี้ ขาพเจากําลังพิจารณาดูบาดแผลทั้งหาของพระองค ดวยความรักและ -232-


_________________________________________________________________________ สะเทือนใจ พลางคํานึงถึงวาจาของดาวิดผูทํานายถึงพระองค โอพระ เยซูผูพระทัยดี โดยทานพูดแทนพระองควา “เขาไดแทงมือและเทา ของเรา เขาไดนับกระดูกทุกชิ้นของเรา” (หากสวดบทนี้ตอหนารูปกางเขน หลังรับศีลมหาสนิท หรือทุกวันศุกร ระหวางเทศกาลมหาพรต จะไดรับพระคุณการุณยครบบริบูรณ โดย สวดตามพระประสงคของพระสันตะปาปา และเสริมบทขาแตพระ บิดา วันทามารีย และสิริรุงโรจน อยางละหนึ่งจบ)

-233-


__________________________________________________________________________

บทภาวนาในโอกาสตางๆ บทเยซู มารีย โยเซฟ เยซู มารีย โยเซฟ ขาพเจาขอถวายดวงใจ สติปญญาและชีวิตแด ทาน เยซู มารีย โยเซฟ โปรดทรงชวยขาพเจาเมื่อใกลจะตาย เยซู มารีย โยเซฟ โปรดทรงชวยขาพเจาใหสิ้นใจอยางราบรื่นใน ศีลในพรของทานดวยเทอญ บททูตสวรรคของพระเจา ทูตสวรรคของพระเจา พระองคทรงพระกรุณามอบขาพเจาไว ในความอารักขาของทาน โปรดสองสวาง พิทักษรักษา คุมครอง และ นําทางชีวิตขาพเจาในวันนี้ (คืนนี้) ดวยเทอญ อาแมน

กอ รับ กอ รับ

บททูตสวรรคแจงขาว ทูตสวรรคแจงขาวแดพระนางมารีย และพระนางทรงครรภเดชะพระจิตเจา วันทามารีย ฯลฯ ขาพเจาคือผูรับใชของพระเจา จงเปนไปแกขาพเจาตามวาทะของทาน วันทามารีย ฯลฯ -234-


_________________________________________________________________________ กอ พระวจนาตถทรงรับสภาพมนุษย รับ และเสด็จมาประทับอยูทามกลางขาพเจาทั้งหลาย วันทามารีย ฯลฯ กอ โปรดภาวนาเพื่อลูกดวยเถิด พระชนนีเจาขา รับ ลูกจะไดเหมาะสมที่จะรับตามพระสัญญาของพระคริสตเจา ใหเราภาวนา ขาแตพระเจา ทูตสวรรคมาแจงขาวใหทราบแลววาพระคริสต เจา พระบุตรของพระองคทรงรับสภาพมนุษย ขอพระองคทรงพระ กรุณาประทานพระหรรษทานลงในจิตใจขาพเจาทั้งหลาย ใหพึ่งพระ ทรมานและกางเขนของพระคริ ส ตเจ า เพื่ อ จะได ก ลั บ คื น ชี พ อย า ง รุงโรจน เดชะพระคริสตเจา องคพระผูเปนเจาของขาพเจาทั้งหลาย (รับ) อาแมน

กอ รับ กอ รับ กอ รับ

บทราชินีสวรรค (Regina Caeli) ราชินีสวรรค จงยินดีเถิด อัลเลลูยา เพราะพระบุตรที่พระแมใหกําเนิดนั้น อัลเลลูยา ทรงกลับคืนพระชนมชีพดังตรัสไว อัลเลลูยา โปรดวอนขอพระเจาเพื่อลูกเถิด อัลเลลูยา จงชื่นชมยินดีเถิด มารียพรหมจารี อัลเลลูยา เพราะองค พ ระผู เ ป น เจ า ทรงกลั บ คื น พระชนมชี พ แล ว อย า ง แทจริง อัลเลลูยา -235-


__________________________________________________________________________ ใหเราภาวนา ขา แต พ ระเจ า พระองค ท รงบั น ดาลให โ ลกยิ น ดี อาศั ย การ กลั บ คื น พระชนมชี พ ของพระเยซู ค ริ ส ตเจ า พระบุ ต รของพระองค อาศัยพระนางมารียพรหมจารี พระมารดาของพระบุตร ขอทรงพระ กรุณาโปรดใหขาพเจาทั้งหลาย ไดรับความสุขแหงชีวิตนิรันดร เดชะ พระบารมีพระคริสตเจา องคพระผูเปนเจาของขาพเจาทั้งหลาย (รับ) อาแมน บทถวายกิจการแดพระหฤทัย ขาแตพระหฤทัยแหงพระเยซูเจา

เดชะพระทัยบริสุทธิ์แหง

พระแมมารีย ขาพเจาขอถวายคําภาวนาและสรรพกิจการทุกขรอน ใดๆ ซึ่งขาพเจาจะประสบในวันนี้ เพื่อใชโทษบาปแหงขาพเจา และ เพื่อใหสําเร็จตามพระทัยปรารถนาในขณะเมื่อทรงบูชาพระองคบ น พระแทนและกิจการทั้งสิ้น ขาพเจาขอถวายแดพระหฤทัยของพระองค ตามพระประสงคของสมเด็จพระสันตะปาปาดวยเทอญ อาแมน บทโปรดระลึกเถิด โปรดระลึกเถิด พระแมมารียพรหมจารีผูโอบออมอารี แตไหน แตไ รมายั งไมเ คยไดยิน เลยวา ผูที่มาพึ่งพา ขอความชว ยเหลือ และ ความคุมครองจากพระแม จะถูกพระแมทอดทิ้ง ลูกมั่นใจดังนี้จึงรีบ -236-


_________________________________________________________________________ มาเฝาพระมารดา พรหมจารีแหงพรหมจารีทั้งหลาย ลูกเปนคนบาป มาคร่ําครวญอยูเฉพาะพระพักตรของพระแม ขาแตพระมารดาแหง พระวจนาตถ โปรดอย า เมิ น เฉยต อ วาจาของลู ก แต โ ปรดฟ ง และ ประทานตามที่ลูกวอนขอดวยเทอญ อาแมน บทขาแตพระชนนีพระเจา ข า แต พ ระชนนี พ ระเจ า ลู ก ทั้ ง หลายหลบภั ย มาพึ่ ง พระแม โปรดอยาเมินเฉยตอคําวอนขอในยามทุกขรอนของลูก แตโปรดชวย ลูกใหพนภัยทั้งสิ้นเสมอเถิด พระมารดาพรหมจารีผูทรงไดรับพระพร บทภาวนากอนอาหาร ขาแตพระเจา โปรดประทานพรแกขาพเจาทั้งหลายและแก อาหารที่จ ะรั บ ประทานนี้ เพื่ อ จะได ดํา เนิ น ชีวิ ต รั บ ใชพ ระองค และ เพื่อนมนุษย อาแมน บทภาวนาหลังอาหาร ขอขอบพระคุ ณ พระเจ า ผู ท รงสรรพานุ ภ าพ สํ า หรั บ ของ ประทานนานาประการที่ ไ ด รั บ จากพระองค ผู ท รงจํ า เริ ญ และ ครองราชยตลอดนิรันดร อาแมน

-237-



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.