หลักในการเขาสูว ัฒนธรรม จากหนังสือคําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก Principle for Inculturation of the Catechism of the Catholic Church
คํานํา หนังสือคําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก เรียกรองใหมีการเขาสู วัฒนธรรม และแนะนําวิธีการตางๆที่ชัดเจนถึงความเชื่อคาทอลิกในทามกลาง วัฒนธรรมและประชากรที่แตกตางกัน สมเด็จพระสันตะปาปา ยอหน ปอล ที่ 2 ทรงกลาวไวในพระสมณสาร ธรรมนูญเรื่อง “พระคลังแหงความเชื่อ” (Fidei Depositum) แนะนําหนังสือ คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิกแกประชากรของพระเปนเจา ซึ่งหนังสือคําสอน ทองถิ่นจะนําไปพัฒนาเพื่อเปนการติดตามหนังสือคําสอนเลมนี้อยางใกลชิด ควรนําไปไตรตรองตามความแตกตางของสถานการณและวัฒนธรรมตางๆ สิ่งแรกคือ เราตองไตรตรองวาวัฒนธรรมคืออะไร และคําวา การเขาสู วัฒนธรรม มีความหมายอยางไร “วัฒนธรรม” ตามความหมายในพจนานุกรม (ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525) สิ่งที่ทาํ ใหเจริญงอกงามแกหมูคณะ วิถีชีวิตของหมู คณะ ในพระราชบัญญัติวัฒนธรรม พ.ศ. 2485 หมายถึง ลักษณะทีแ่ สดงถึง ความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบเรียบรอย ความกลมเกลียว กาวหนาของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน ทางวิทยาการ หมายถึง พฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมูผลิตสรางขึ้นดวยการเรียนรูจักกัน และกัน และรวมใชอยูในหมูพวกของตน “วัฒนธรรม” เปนวิธีเฉพาะที่กลุมบุคคลแสดงบทของชีวิตและ สัมพันธกับธรรมชาติ พระเจา โลกและบุคคลอื่นๆ วัฒนธรรม เปนการทําให สวนตางๆของชีวิตมนุษยสมบูรณ วัฒนธรรมเปนการใชชีวติ และแสดงออก 1
โดยทางธรรมประเพณี ภาษา สัมพันธภาพ อาหาร ดนตรี และศาสนา ครอบคลุมชีวิตทั้งครบของกลุม และชีวิตของแตละปจเจกบุคคลที่อยูในกลุมนั้น ดังนั้นความเปนมนุษยทั้งมวลสัมพันธและตอบรับกับพระเจา และแสดงออกถึง ความเชื่อนี้จากวัฒนธรรมและในวัฒนธรรมของพวกเขา การเขาสูวัฒนธรรม เปนขบวนการตอเนื่องซึ่งกันและกันระหวาง ความเชื่อและวัฒนธรรม เปนวิธีหนึ่งในการมองประเพณี จารีต และพิธีกรรม ตางๆ ของประชาชน เพื่อคนพบความกระตือรือรนและการชวยใหรอดพนของ พระเปนเจาในพวกเขา โดยทางการเขาสูวัฒนธรรม พระศาสนจักรรับรองสิ่งที่ เปนสิ่งดีในวัฒนธรรม ชําระสิง่ ผิดและชั่วราย ใหความเขมแข็งกับสิ่งที่ออนแอ ใหการศึกษาในสิ่งที่ไมรู การเขาสูวัฒนธรรมไดรบั การกลาวถึงในเอกสารอยางเปนทางการครั้ง แรกในสารถึงประชากรของพระเจา ซึ่งออกมาหลังจากสิ้นสุดสมัชชา พระสังฆราชเรื่องการสอนคําสอน ในป ค.ศ. 1977 จึงกลายเปนสวนหนึ่งของ ขบวนการสอนคําสอน สมเด็จพระสันตะปาปา ยอหน ปอล ที่ 2 ไดทรงรวมไว ในพระสมณสาสนเตือนใจเรื่อง การสอนคําสอนในยุคปจจุบัน (Catechesi Tradendae) (ขอ 53) และในสมัชชาสมัยวิสามัญ ป ค.ศ. 1985 ไดชี้ใหเห็นถึง ความสําคัญของการเขาสูวัฒนธรรม (ขอ 4) เปนสิ่งที่คิดไมถึง วาเปนการ กลาวถึงองครวมทั้งครบ ความสมบูรณ และการพัฒนางานคําสอน โดยอาจไม กลาวถึงวัฒนธรรมและการเขาสูวัฒนธรรม เปนสิ่งที่ตองคํานึงถึงวา ไมใชเปน แคเพียง “ปรับใหเขากัน” กับวัฒนธรรมของคริสตชน แตเปนกระทําให เจริญกาวหนา และชวยใหพฒ ั นาไดอยางเต็มศักยภาพ ดวยการนําทางของ พระจิต Monsignor Robert N. Lynch General Secretary United States Catholic Conference
2
หลักในการเขาสูว ัฒนธรรม ที่ชวยในการใชหนังสือคําสอน หลักตางๆ เหลานี้ดําเนินการในขั้นตอนการเตรียม และขั้นตอนซึ่ง สัมพันธตอกัน แตสอดคลองกับการดําเนินการที่แตกตางกันของการเขาสู วัฒนธรรม ขั้นเตรียมการ ก. ครูคําสอนตองรูจักวัฒนธรรมของประชาชน เห็นความสําคัญของ คุณคาของวัฒนธรรมนั้น ข. ถาครูคําสอนมิไดพูดภาษาเดียวกับประชาชน เขาควรหาผูที่สามารถ พูดภาษาของผูเรียนมาทํางานในกลุมของตน ค. ครูคําสอนตองจัดทําสภาพแวดลอมที่เอื้อตอประเพณีของประชาชน และสรางกลุมที่ยึดหลักของการใหความเคารพ ความไววางใจ มิตรภาพและความรักตอกันและกัน ขั้นตอนที่ 1 มีความรูอยางลึกซึ้งในวัฒนธรรมของประชาชน สังเกต ฟง และเรียนรูจ ากความเปนจริงของความเปนอยูของผูเรียน มีความสนใจในเศรษฐกิจทางสังคม และจิตวิทยาของพวกเขา รวมทั้ง ความตองการดานการอภิบาล ทําการเสวนาฉันมิตรกับพวกเขา
3
ขั้นตอนที่ 2 ประกาศพระวรสารกับวัฒนธรรม คนหาเครื่องหมายการประทับอยูของพระเจาที่ฝงแนนอยูในวัฒนธรรม ชี้บอกถึงการกระทําของพระเจาในทุกสิ่งที่ดีในวัฒนธรรม ประกาศพระวรสารในฐานะสารของการปลดปลอย ความหวัง และการ ชวยใหรอดพน ชวยประชาชนใหรจู ักแยกแยะวาสิ่งใดในวัฒนธรรมของเขาที่ขัดแยงกับ คุณคาของพระวรสาร และนําไปสูความเสียหายและเปนการกดขี่ ประชาชน ขั้นตอนที่ 3 จัดรูปแบบชุมชนแหงความเชื่อและการใหความชวยเหลือ ชวยในการภาวนาสวนรวม แสวงหาน้ําพระทัยของพระเจารวมกัน พัฒนาใหเกิดความตระหนักและความรูส ึกแหงความรับผิดชอบตอสังคม สงเสริมใหแตละบุคคลใชความสามารถที่ตนมีเพื่อขยาย พระอาณาจักรของพระเจา ขั้นตอนที่ 4 จัดตั้งการสอนคําสอนอยางเปนทางการ เพื่อเนนย้ําความจริงที่เปนศูนยกลางความเชื่ออยางเหมาะสม สอนสารของคริสตชนทั้งครบ สัมพันธสารนั้นกับคุณคาของวัฒนธรรม นําประชาชนใหตอบรับสารของพระเปนเจาในชีวิตประจําวันของพวกเขา ชวยสรางวัฒนธรรมคริสตชนใหม จดจําสิ่งที่เปนคุณคาของพระวรสารใน วัฒนธรรมที่ไดไตรตรอง และปฏิเสธสิ่งที่เปนความบาป ขั้นตอนที่ 5 สรางสังคมใหม ตระหนักถึงวาคุณคาของคริสตชนสามารถปฏิรูปครอบครัวและ สัมพันธภาพไดอยางไร 4
มีความหนักแนนตอความรูสึกถึงความรับผิดชอบตอพลเมืองและชีวิตของ สังคม ทํางานเพื่อเสริมความยุติธรรมในสังคม ในระดับที่แตกตางกัน เปลี่ยนแปลงสังคมจากภายในและทําใหใหมขึ้น ขั้นตอนที่ 6 เฉลิมฉลองชีวิตคริสตชน ขอบพระคุณในการประทับอยูและการกระทําของพระจิต สนับสนุนประชาชนใหกระทําใหพิธีกรรมมีความมั่งคั่งขึ้นดวยความ เครงครัดในศาสนาและการอุทิศตน เฉลิมฉลองพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณถึงการกระทําของพระเจาในชุมชน
5
หลักทั่วไปในการสอนคําสอนที่เขาสูวัฒนธรรม ที่ไดรับการสนับสนุนจาก หนังสือคําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก
1. มีความเชื่อหนึ่งเดียว พระศาสนจักรหนึ่งเดียว นับแตหลายศตวรรษมาแลว โดยผานทางภาษา วัฒนธรรม ประชากร และประชาชาติเปนจํานวนมากมาย พระศาสนจักรมิไดหยุดยั้งที่จะประกาศ ยืนยันความเชื่อหนึ่งเดียวที่ไดรับมา จากพระผูเปนเจาพระองคเดียว ถายทอด มาโดยศีลลางบาปหนึ่งเดียว และมีรากฝงลึกอยูในความเชื่อมั่นที่วา มนุษยทุก คนมีพระเจาและพระบิดาแตพระองคเดียว (เทียบ อฟ 4:4-6) (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 172) 2. ความหลากหลายกลายเปนพระพรของพระเปนเจาที่มีตอ พระศาสนจักร ความหลากหลายทําใหพระศาสนจักรเปนสากล แตแรกเริ่ม พระศาสนจักรซึ่งมีความเปนหนึ่งนี้ อยางไรก็ดี จะเสนอ ตนเองในลักษณะที่มีความหลากหลายมากมาย อันเนื่องมาจากการที่พระคุณ ซึ่งพระเจาประทานมาหลายอยางตางๆ กัน และบุคคลที่ไดรับพระคุณเหลานี้ ก็มีเปนจํานวนมากอีกดวย ประชากรและวัฒนธรรมแปลกๆ แตกตางกันไปมา รวมตัวกันอยูในเอกภาพแหงประชากรของพระเจา ความหลากหลายซึ่งมีอยู อยางมั่งคั่งมากมายนั้น มิไดเปนอุปสรรคขัดขวางเอกภาพของพระศาสนจักร เลย (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 814)
6
3. การสอนทั้งหมด ทั้งเนื้อหาและวิธีการตองปรับใหเหมาะกับ วัฒนธรรม อายุและเงื่อนไขทางสังคมของผูเรียน ตามลักษณะเคาโครงและจุดมุง หมายในตัวมันเอง หนังสือเลมนี้ไมได มีเจตนาที่จะทําการปรับเปลี่ยนคําอธิบายและวิธีสอนคําสอนใหสําเร็จไปตาม คําเรียกรองของวัฒนธรรมที่ตางกัน วัยที่ตางกัน วุฒิภาวะฝายจิตที่ตางกัน สถานการณในสังคมและในพระศาสนจักรที่ตางกัน ของผูที่เปนบุคคลเปาหมาย ของการสอนคําสอน การปรับเปลี่ยนอันขาดเสียมิไดนี้ เปนเรื่องของหนังสือ คําสอนทองถิ่นที่จะตองปรับใหเหมาะสม และยิ่งกวานั้น ยังเปนเรื่องของบุคคล ที่เปนผูสอนสัตบุรุษอีกดวย (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 24) 4. หลักพื้นฐานในการอภิบาลเพื่อการสอนคําสอนคือความรัก ความ รักนี้หมายความถึงความรูถึงสารของคริสตชน และสิ่งที่ไดรับการ สอน เคาโครงและจุดหมายทั้งหลายทั้งสิ้นของหลักคําสอน และการสอนคํา สอนนั้น จักตองตั้งไวในความรักอันไมรูจบสิ้น ไมวา เราอธิบายถึงสิ่งที่จะตอง เชื่อ ตองหวัง หรือตองปฏิบัติ แตจักตองทําใหความรักขององคพระเยซูคริสต เจาปรากฏใหเห็นอยูเสมอ เพื่อวาแตละคนจะไดเขาใจวา กิจการแหงคุณธรรม ความดีในแบบคริสตชนที่สมบูรณพรอมนั้น มิไดมีบอเกิดมาจากสิ่งอื่นใด นอกจากความรัก และความรักเพียงเทานั้นไมมีวิธีพูดแบบอื่นใดอีกเลย (เทียบ 1คร 13:8) (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 25) 5. เปนความจริงเดียวกันที่บรรจุอยูในธรรมประเพณีคาทอลิกสามารถ เปนและควรไดรับการแสดงออกในวิธีการที่มีความหมายตอ วัฒนธรรมและประเพณีที่หลากหลาย "ธรรมประเพณี" นัน้ มีหลายลักษณะตางๆกัน ซึ่งจะตองแยกใหชัดเจน คือ "ธรรมประเพณี" ดานเทววิทยา ดานระเบียบวินัย ดานพิธีกรรม หรือดาน 7
กิจศรัทธา ซึ่งเกิดขึ้นตามกระแสแหงกาลเวลาในพระศาสนจักรทองถิ่นทั้งหลาย ธรรมประเพณีดังกลาวประกอบกันขึ้นเปนรูปแบบเฉพาะ ซึ่งภายใตรูปแบบนี้ ธรรมประเพณีใหญจะไดรับการแสดงออก (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 83) 6. คุณคาของภาษาแหงความเชื่อ ตองไดรับการสอนในวิธีซึ่งทําใหเกิด ความเขาใจทั้งในระดับสวนบุคคลและชุมชน ดุจเดียวกับผูเปนมารดาที่สอนลูกๆใหหัดพูด เพื่อจะไดเขาใจและ ติดตอสื่อสารกับผูอื่นไดฉันใด พระศาสนจักรมารดาของเรา ก็สอนเราใหรูจัก ภาษาแหงความเชื่อ เพื่อชักนําเราใหใชปญญาเขาใจความเชื่อ และเขาสูชวี ิต แหงความเชื่อฉันนั้น (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 171) 7. พระศาสนจักรคาทอลิกฝงแนนอยูในความจริงของมนุษย แสดงออกและมีชีวิตความเชื่อในวิธีที่แตกตางกัน พระศาสนจักรซึ่งมีลักษณะเปนสากลโดยกระแสเรียกและพันธกิจที่ ไดัรับมอบหมายมานั้น หยั่งรากฝงโคนลงบนพื้นที่หลายหลากแตกตางกัน ทั้ง ในเชิงวัฒนธรรม สังคม และมนุษยธรรม โดยมีโฉมหนาและรูปแบบการ แสดงออกตางๆกันไปในแตละสวนของโลก (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 835) 8. การสอนคําสอนแทหมายความถึง การตระหนักถึงสภาพการณของ มนุษยและสังคม และนําไปสูการปฏิบัติในมุมมองของการชวย ทําลายความชั่วในทุกรูปแบบ “คําสอนดานสังคมของพระศาสนจักรเสนอแนะหลักใหพิจารณา เสนอ เกณฑใหตัดสินและใหแนวทางเพื่อปฏิบัติ” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 2423) 8
9. พระเจาเปนของทุกคน พระเจามิไดเปนกรรมสิทธิ์สวนบุคคลของ กลุมใดกลุมหนึ่ง “...พระเจามิไดเปนกรรมสิทธิข์ องชนชาติใดเปนพิเศษ แตพระองคได ทรงจัดหามาสําหรับพระองคเอง ซึ่งประชากรหนึ่ง กอปรดวยเขาทั้งหลายผูซึ่ง ในอดีตไมใชประชากร แตเปน “เชื้อชาติที่พระเจาทรงเลือกสรร เปนราชปุโรหิต เปนประชาชาติศักดิ์สิทธิ”์ (1ปต 2:9) (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 782)
ความทาทายทีส่ ําคัญตอการเขาสูวัฒนธรรม ของหนังสือคําสอน 1. เพื่อชวยพระสงฆและบุคคลในสังฆมณฑลไดเห็นความสําคัญของ วัฒนธรรมในฐานะพระพรจากพระเจา วัฒนธรรมเปนพระพรจากพระเจา เปนสิ่งที่ไดรับการยืนยันและไดรบั การปกปอง เปนสิ่งจําเปนตอชีวิตของชุมชนของพระศาสนจักรและชีวิตความ เชื่อของคริสตชนเปนสวนตัว 2. เพื่อเขาใจถึงเอกภาพและความหลากหลายวาเปนการรวมมือกัน อยางกวางขวางในพระศาสนจักร การบูรณาการคุณคาของวัฒนธรรมในพระศาสนจักรนําไปสูค วามมั่งคั่งของทั้งสองฝาย การซึมซับเพียงวัฒนธรรมนําไปสูความเสื่อมทางวัฒนธรรม และความเชื่อ ขณะที่มีการเติบโตของหลายกลุมภาษา แสดงถึงความทาทายใหกับ หลายวัด ซึ่งเปนโอกาสที่จะเปนคาทอลิกอยางแทจริงดวย
9
3. เพื่อสงเสริมใหงานธรรมทูตบังเกิดผลในทามกลางประชาชน ทุกวัฒนธรรม ใหการอบรม ใหความชวยเหลือ และใหอํานาจฆราวาสที่ยังขาดสิ่ง เหลานี้ เพื่อทํางานแพรธรรมของพระศาสนจักร ทามกลางประชาชนในทุก วัฒนธรรม ในทองถิ่นของตน 4. ยกระดับความตระหนักเพื่อนําสูการอุทิศตนรับใชประชาชน ในทุกวัฒนธรรม การขาดการบังเกิดผลและการแพรหลายเรื่องการเขาสูวัฒนธรรม ของการประกาศพระวรสารและการสอนคําสอน ทําใหเกิดการไหลเทออกจาก พระศาสนจักร อันเปนมูลฐานที่สําคัญยิ่ง 5. เพื่อเปนการใหความเคารพ ใหความเอาใจใส และใหการศึกษาเรื่อง ความเชื่อแกทุกคน เพื่อตอบสนองตอการเพิ่มจํานวนประชากร แต ทรัพยากรทางการเงินลดลง การที่เงินกองทุนลดลง ทําใหสังฆมณฑลตกอยูในภาวะอันตรายใน การจัดโครงการฝกอบรมครูคําสอนในวัฒนธรรมที่แตกตางกัน เพื่อใหพวกเขา สามารถพูดภาษาของประชาชนและชวยพวกเขาใหสามารถใชไดทั้งสองภาษา และสองวัฒนธรรม 6. เพื่อมอบโอกาสในการอบรมผูใหญ และการมีมโนธรรมที่บรรลุ วุฒิภาวะ ที่มาคือการขาดการออกไปสูกลุมของประชาชนที่แตกตางวัฒนธรรม ผูที่รูสึกวาตนเปนสวนเกิน และบอยครั้งถูกละเลยในความเปนมนุษยของเขา และความขัดสนฝายจิต เชน แรงงานอพยพ เยาวชน ผูสูงอายุ ผูพิการ และยัง 10
ยืนยันถึงความจําเปน ถึงความมีคุณคาและการใหความชวยเหลือเพื่อใหพวก เขามีชีวิตที่ดีขึ้น 7. เพื่อใหความชวยเหลือที่จําเปนกับบรรดาผูปกครอง เพื่อพวกเขาจะ ไดสามารถกระทําตามบทบาทของเขาในฐานะผูใหความรูดาน ความเชื่อเบื้องตนในครอบครัวของเขา ไมเพียงพอที่จะจัดโครงการตางๆ และใหความชวยเหลือกับกลุม ครอบครัวที่แตกแยก ตองชวยพวกเขาใหสามารถเผชิญกับดานฝายจิต ฝาย กาย และการขาดแคลนดานวัตถุ โดยเฉพาะผูที่มาจากประเทศอื่น หรือเมือง อื่น ซึ่งมีวัฒนธรรมแตกตางจากพวกเขา 8. เพื่อตอบสนองความตองการดานฝายจิต และดานวัตถุใหกับผูอพยพ เพื่อใหความชวยเหลือไดโดยตรงกับผูอพยพ ซึ่งมีความจําเปนบังคับ ใหตองจากบานเกิดของเขามาดวยเหตุผลทางเศรษฐกิจ การเมืองและศาสนา 9. เพื่อเผชิญกับความตองการดานงานคําสอนที่หลากหลายของ วัฒนธรรม ของประชากร เติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว ยังมีความขาดแคลนในเรื่องโครงการดานคําสอน วัสดุอุปกรณคําสอน หนังสือวีดีทัศน ที่ชวยสงเสริมคุณคาทางวัฒนธรรมของประชาชน
11
ขอแนะนําเพื่อตอบรับตอความทาทาย ในการเขาสูว ัฒนธรรม “แตแรกเริ่ม พระศาสนจักรซึ่งมีความเปนหนึ่งนี้ อยางไรก็ดี จะเสนอ ตนเองในลักษณะที่มีความหลากหลายมากมาย อันเนื่องมาจากการที่พระคุณ ซึ่งพระเจาประทานมาหลายอยางตางๆ กัน และบุคคลที่ไดรับพระคุณเหลานี้ ก็ มีเปนจํานวนมากอีกดวย ประชากรและวัฒนธรรมแปลกๆ แตกตางกันไปมา รวมตัวกันอยูในเอกภาพแหงประชากรของพระเจา” (คําสอนพระศาสนจักร คาทอลิก ขอ 814) เพื่อตอบรับความทาทายในการเขาสูวัฒนธรรม เราขอแนะนําวา ก. ขอใหพระสังฆราชเตือนบรรดาผูนํานักบวช และบรรดาฆราวาสใน ทุกระดับ ใหยอมรับความแตกตางทางวัฒนธรรมที่มีอยูภายใน พระศาสนจักรคาทอลิกทั่วไป “ลักษณะแหงสากลภาพที่สองรัศมีอยูเหนือประชากรพระเจานี้ เปน ของประทานจากองคพระผูเปนเจาพระองคเอง ซึ่งเดชะพระคุณประการนี้ พระศาสนจักรคาทอลิก -อยางทรงประสิทธิผลและตลอดกาลนาน- จึงได พยายามพิจารณาทบทวนมนุษยชาติทั้งหมดเสียใหม พรอมดวยทุกสิ่งอันเปน สิ่งดีที่มนุษยชาติมีอยูภายใตหวั หนา คือพระคริสต ในเอกภาพแหงพระจิตของ พระองค” (พระศาสนจักร ขอ 13.1-2 เทียบ ยน.11:52) (คําสอนพระศาสนจักร คาทอลิก ขอ 831)
12
ข. ใหมีการสื่อสารถึงกันในระหวางบรรดาผูนําทางวัฒนธรรมที่ แตกตางกัน เพื่อใหเกิดเปนความสามารถที่เรงเราใหบรรลุวุฒิภาวะ ทางความเชื่อ เพื่อรับประกันใหหยั่งรากลงในชีวิตและเปนประจักษ พยานถึงเอกภาพคริสตชน "กฎแหงการผนึกกําลังของมนุษยเขาเปนหนึ่งเดียว และกฎแหงความ รัก หรือเมตตาธรรม" (พระสันตะปาปา ปโอ ที่ 12 Summi pontificatus 3) โดยไมกีดกันความหลากหลาย ซึ่งมีอยูมากมายในตัวบุคคล ในวัฒนธรรม และ ในประชากรชาติตางๆ เปนหลักประกันใหเรามั่นใจวามนุษยทุกคนเปน พี่นองกันอยางแทจริง (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก 361) ค. เพื่อใหบทบาทการเปนประกาศกของฆราวาสในการเปนผูนําเปนที่ รูจักและไดรับการยืนยัน "ประชากรศักดิ์สิทธิ์ของพระเจา ยังมีสวนรวมอีกดวยในตําแหนง หนาที่ประกาศกของพระคริสต" ที่เปนดังนี้ โดยเฉพาะก็อาศัยสํานึกเหนือ ธรรมชาติดา นความเชื่อ ซึ่งเปนของประชากรทั้งหมด ทั้งฆราวาสและฐานันดร สงฆ" (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 785) “เพราะวา เชนเดียวกับสัตบุรษุ ทั้งหลาย ฆราวาสไดรับภาระหนาที่ใน การเปนผูแพรธรรมจากพระเจา โดยอาศัยอํานาจจากศีลลางบาป และศีลกําลัง ฆราวาสจึงมีพันธะและมีสิทธิ -ทั้งในฐานะปจเจกบุคคล และในฐานะกลุมคนที่ รวมกันเขาเปนสมาคม- ที่จะทํางานเพื่อใหสาระของพระเจาเกี่ยวกับเรื่องความ รอดไดเปนที่รูจัก และไดรับโดยมนุษยทุกคนทั่วพื้นแผนดิน พันธะอันนี้ยิ่ง เรงดวนหนักขึ้น เมื่ออาศัยพวกเขาเทานั้นที่มนุษยจะสามารถไดยินไดฟง พระวรสาร และรูจ ักพระคริสตในชุมชนพระศาสนจักร กิจการของพวกเขาเปน เรื่องจําเปนเสียจนกระทั่ง -หากปราศจากกิจการของพวกเขา- การแพรธรรม ของบรรดาผูอภิบาล สวนใหญแลวอาจไมไดรับผลอยางเต็มที่ก็เปนได (เทียบ พระศาสนจักร ขอ 33) (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 900) 13
ง. เพื่อใหการเฉลิมฉลองทางพิธีกรรม ไดสะทอนถึงวัฒนธรรมของ ประชาชน “ดังนั้น การฉลองพิธีกรรมตองสอดคลองกับลักษณะพิเศษและ วัฒนธรรมของประชาชนที่แตกตางกัน เพื่อวาธรรมล้ําลึกของพระคริสตเจา “ไดเปดเผยใหปรากฏ...ใหนานาชาติไดรู เพื่อจะไดนาํ พวกเขามายอมรับความ เชื่อ” (รม 16:26) ตองมีการประกาศ เฉลิมฉลอง และดําเนินชีวิตในทุก วัฒนธรรม วัฒนธรรมตางๆ ไมถูกลบลาง แตรบั คืนมาใชและนําไปสูความ สมบูรณอันเนื่องมาจากพระพรนั้น” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 1204) จ. เพื่อความถูกตองของศรัทธาประชานิยม และการแสดงออกทาง วัฒนธรรมของความเชื่อ เปนที่ยอมรับ ไดรับการสงเสริม และไดรับ การประกอบพิธี นอกเหนือจากพิธีกรรมแลว ชีวิตคริสตชนหลอเลี้ยงดวยรูปแบบ หลากหลายของกิจศรัทธาที่ประชานิยม ซึ่งหยั่งรากลึกในวัฒนธรรมที่แตกตาง กัน พระศาสนจักรสงเสริมรูปแบบตางๆ ของกิจศรัทธาที่ประชานิยม ซึ่ง แสดงออกถึงสัญชาตญาณทางพระวรสารและความปรีชาฉลาดของมนุษย และ ทําใหชีวิตคริสตชนมีความครบครัน โดยการทําใหเกิดความกระจางดวยแสง สวางแหงความเชื่อ (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 1679) ฉ. เพื่อใหแตละบุคคลในแตละสังฆมณฑล มีความสามารถในการ วางแผนนําไปดําเนินการ และประเมินโครงการตางๆ ของการสอน คําสอนไดอยางเพียงพอ ตามลักษณะเคาโครงและจุดมุง หมายในตัวมันเอง หนังสือเลมนี้ไมได มีเจตนาที่จะทําการปรับเปลี่ยนคําอธิบายและวิธีสอนคําสอนใหสําเร็จไปตาม คําเรียกรองของวัฒนธรรมที่ตางกัน วัยที่ตางกัน วุฒิภาวะฝายจิตที่ตางกัน สถานการณในสังคมและในพระศาสนจักรที่ตางกัน ของผูที่เปนบุคคลเปาหมาย 14
ของการสอนคําสอน การปรับเปลี่ยนอันขาดเสียมิไดนี้ เปนเรื่องของหนังสือ คําสอนที่จะตองปรับใหเหมาะสม และยิ่งกวานั้น ยังเปนเรือ่ งของบุคคลที่เปน ผูสอนสัตบุรุษอีกดวย (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 24) ช. เพื่อใหทุกวัดจัดทําโครงการที่มีความหลากหลาย ยืดหยุนได ที่ เกี่ยวของโดยตรงกับความตองการที่หลากหลาย และความกดดันที่ ครอบครัวตางๆ ตองเผชิญในปจจุบัน “ครอบครัวตองไดรับความชวยเหลือและปกปองดวยมาตรการที่ เหมาะสมทางสังคม ที่ใดซึ่งครอบครัวไมอยูในขั้นที่จะปฏิบัติหนาที่ใหสมบูรณ หนวยงานในสังคมอื่นๆ มีภาระหนาที่ใหความชวยเหลือและสนับสนุนสถาบัน ครอบครัวไว” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 2209) ซ. เพื่อใหโครงการตางๆของสังฆมณฑลและของวัดแสดงถึงความ ปรารถนาอยางแทจริงของพระศาสนจักร ถึงความตองการของผู อพยพ เพื่อใหพวกเขาสามารถมีชีวิตอยูในสังคมใหมไดอยาง สมศักดิ์ศรีที่พวกเขามีในฐานะบุตรของพระเจา “การหางานทํา และอาชีพตางๆ นั้นตองเปดใหทุกคนโดยปราศจาก การแบงแยกที่อยุติธรรม วาเปนชายและหญิง สุขภาพที่ดีและผูพิการ คน พื้นเมืองและผูอพยพ (เทียบ การทํางาน ขอ 19,22-23) สังคมตองมีสวน ชวยเหลือพลเมืองใหมีงานทําตามสภาพแวดลอม (เทียบ การเฉลิมฉลองปที่ 100 ขอ 48)” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 2433) ฌ. เพื่อใหบรรดานักเขียนและผูพิมพใหการสนับสนุน และชวยเหลือ ดวยการจัดหาอุปกรณการสอนคําสอนอยางเพียงพอ ที่สะทอนถึง
15
คุณคาของวัฒนธรรมของประชาชน บูรณการกับหนังสือคําสอน พระศาสนจักรคาทอลิก “คําสอนนี้มีจุดประสงคเพื่อรับใชพระศาสนจักรทั้งปวง ทั้งที่มีความ แตกตางกันดานศาสนพิธีและวัฒนธรรม จะเสนอสิ่งซึ่งเปนพื้นฐานและความ รวมมือกันทั้งพระศาสนจักรในพิธีกรรมเสมือนธรรมล้ําลึก และเปนการเฉลิม ฉลอง จากนั้นเปนศีลศักดิ์สทิ ธิ์เจ็ดประการ และสิ่งคลายศีล” (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 1075) หนังสือคําสอนเลมนี้มุงหวังเปนสวนใหญใหเปนประโยชนแก ผูรับผิดชอบในการสอนคําสอน แรกทีเดียวก็พระสังฆราชทั้งหลาย ทั้งในฐานะ ปราชญแหงความเชื่อและผูอภิบาลของพระศาสนจักร หนังสือเลมนี้เสนอมายัง พระสังฆราชดังกลาว เพื่อเปนเครื่องมือในการปฏิบัติภารกิจการสอนคําสอน แกประชากรพระเจาใหสําเร็จลุลวงไป (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 12) ญ. เปนบัญญัติพื้นฐานแหงความรักที่พระเยซูเจาทรงมอบให เพื่อ สนับสนุนทุกคนใหมีความเขาใจถึงความทาทายเรื่องการเขาสู วัฒนธรรม เพื่อสรุปบทเสนอบทนี้ เปนการสมควรที่จะใหระลึกถึงหลักการเชิง อภิบาลที่มีกลาวไวในหนังสือคําสอนโรมันวา เคาโครงและจุดหมายทั้งหลายทั้งสิ้นของหลักคําสอน และการสอนคําสอนนั้น จักตองตั้งไวในความรักอันไมรูจบสิ้น ไมวา เราอธิบายถึงสิ่งที่ จะตองเชื่อ ตองหวัง หรือตองปฏิบัติ แตจักตองทําใหความรักขององคพระ เยซูคริสตเจาปรากฏใหเห็นอยูเสมอ เพื่อวาแตละคนจะไดเขาใจวา กิจการแหง คุณธรรมความดีในแบบคริสตชนที่สมบูรณพรอมนั้น มิไดมีบอเกิดมาจากสิ่ง อื่นใดนอกจากความรัก และความรักเพียงเทานั้นไมมีวิธีพูดแบบอื่นใดอีกเลย (เทียบ 1คร 13:8) (คําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ขอ 25)
16