ผู้อ่านพระคัมภีร์

Page 1






คํานํา หนังสือเลมนี้ พิมพเปนครั้งที่ 2 ซึ่งในการพิมพครั้งที่ 1 นั้น พิมพใน สมัยที่พระสังฆราชวีระ อาภรณรัตน เปนผูจัดการแผนกคริตศาสนธรรม ในป ค.ศ. 1991 ซึ่งเปนผลมาจากงานฉลองหิรัญสมโภชสถาปนาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 1990 ที่สามเณราลัย นักบุญยอแซฟ สามพราน มีพิธีแตงตั้งผูอานพระคัมภีร 118 คน จาก 31 วัด ฆราวาสที่ไดรับแตงตั้งไดเสนอขอใหจัดอบรมฯ เพื่อเปดโอกาสให พวกเขามาพบปะกันอีก หลังจากปฏิบัติหนาที่ประมาณ 7-8 เดือน เมื่อเราเห็นไดถึงพลัง น้ําใจ และความกระตือรือรนของฆราวาส ที่ ตองการชวยงานของพระศาสนจักรเชนนี้ จึงจัดการอบรมอีกในวันที่ 23-25 สิงหาคม 1991 โดยเนนอบรมพระสมณสาสน พันธกิจของ พระผูไถ (Redemptoris Missio) เนื้อหาในเลมนี้ประกอบดวย กฎหมายพระศาสนจักร พิธีกรรม เกี่ย วกับ ผูอา นพระคัม ภีร ขอพึงใสใจซึ่งปรั บปรุ งจากเอกสาร อบรม ผูอานบทอานวัดพระมารดานิจจานุเคราะห เขียนโดยคุณพอสุทศ ประมวลพรอ ม และคุ ณพอ วีร ศั ก ดิ์ วนาโรจนสุ วิช ผูอํ า นวยการฝา ย 1






อภิบาลและธรรมทูตในสมัยนั้น ไดให Pastoral Directive for Lectors ของอัครสังฆมณฑลซีแอตเติ้ล สหรัฐอเมริกา ซึ่งพิมพใชตั้งแตวันที่ 22 เมษายน 1980 แผนกคําสอนจึงนํามาแปล และทําใหเห็นวาเราเดินมา ถูกทางแลว ผมเห็นวาหนังสือเลมนี้มีประโยชนตอการฝกอบรมผูอานพระคัมภีร จึงจัดพิมพขึ้นมาใหม และเชื่อวาหากเราทุกคนสนใจศึกษาพระวาจาของ พระเจามากขึ้น พิธีกรรมจะมีชีวิตชีวา และคริสตชุมชนของเราจะมีสันติ สุข คุณพอเอกรัตน หอมประทุม ผูจัดการแผนกคริสตศาสนธรรมฯ 17 กุมภาพันธ 2010 วันพุธรับเถา

2






สารบัญ ภาค 1 กฎหมายและพิธีกรรม กฎหมายพระศาสนจักรวาดวย “ผูอานพระคัมภีร” (Lector) ตําแหนงหนาที่ “ผูอานพระคัมภีร” (Lector) พิธีแตงตั้ง “ผูอานพระคัมภีร” (Lector)

5 6 8

ภาค 2 ขอพึงใสใจ ทัศนคติทั่วๆ ไป การแตงกาย แตงตัว ระเบียบที่ควรจัดทําสําหรับสวนรวมและสวนตัว ขอแนะนํา จิตตารมณการชวยงานของพระ

11 12 12 13 16

ภาค 3 คําแนะนําสําหรับผูอานพระคัมภีร คํานํา หนาที่ ความรับผิดชอบ การเตรียมตัว ศักดิ์ศรี จิตตารมณและการฝกฝน ความสํานึกและการสนับสนุน การแตงกาย พิธีแตงตั้ง

18 20 21 21 22 22 23 23 24

3


 ระยะเวลา ภาคผนวก

 25 27

4






ภาคหนึ่ง กฎหมายและพิธีกรรม

กฎหมายพระศาสนจักรวาดวย “ผูอานพระคัมภีร” (Lector) 1. ฆราวาสที่มีอ ายุ และคุณ สมบัติเ หมาะสมตามประกาศของสภา พระสังฆราชคาทอลิก สามารถรับการแตงตั้งเปนศาสนบริกรขั้น ผู อ า นพระคั ม ภี ร แ ละผู ช ว ยพิ ธี ก รรมตามจารี ต พิ ธี ว า ด ว ยการ แตงตั้งนี้ อยางไรก็ดี มิไ ดหมายความวา ฆราวาสเหลานี้มีสิท ธิ ได รั บ การช ว ยเหลื อ หรื อ การตอบแทนจากพระศาสนจั ก ร (ม. 230,1) 2. ฆราวาสสามารถปฏิบัติหนาที่อานพระคัมภีรระหวางพิธีกรรม โดย การทําหนาที่แทนแบบชั่วคราวเหมือนฆราวาสทุกคนสามารถทํา หน า ที่ พิ ธี ก ร หรื อ นั ก ขั บ ร อ ง หรื อ หน า ที่ อื่ น ๆ ตามที่ ก ฎหมาย กําหนด (ม.230,2)

5






3. เมื่อพระศาสนจักรมีความจําเปน และเมื่อขาดศาสนบริกร แมวา ฆราวาสที่ไมไดรับแตงตั้งเปนผูอานพระคัมภีรหรือผูชวยพิธีกรรม ก็สามารถปฏิบัติหนาที่ได กลาวคือ อานบทอานในพิธีกรรม เปน ประธานวจนพิ ธี ก รรม โปรดศี ล ล า งบาปและแจกศี ล มหาสนิ ท ตามที่กฎหมายกําหนด (ม.230,3) 4. กอนที่ผูใดจะรับศีลบวชเปนสังฆานุกรถาวรหรือชั่วคราว เขาตอง รับแตงตั้งเปนผูอานพระคัมภีรและผูชวยพิธีกรรม และตองปฏิบัติ หนาที่เปนชวงเวลานานพอสมควร (ม.1035,1)

ตําแหนงหนาที่ “ผูอานพระคัมภีร” (Lector)

ศาสนบริก ร ผูอานพระคัม ภีร (Lector) เปนตํ าแหนงหนา ที่ ทางการขั้นแรก ซึ่งพระศาสนจักรใหแกสามเณรใหญที่ใกลจะไดรับการ บวชเปนพระสงฆในอีกไมกี่ปขางหนา ตําแหนงหนาที่ทางการขั้นที่สอง คือ ผูชวยพิธีกรรม (Acolythus จากภาษากรีก แปลวา ผูติดตาม กลาวคือติดตามชวยสังฆานุกรและพระสงฆในเวลาประกอบพิธีกรรม) ผูที่ไดรับตําแหนงขั้นนี้ตอไปก็จะไดรับการพิจารณาใหรับศีลบวชเป น สังฆานุกร (Diaconus) และพระสงฆ อนึ่ง ตํ า แหนงหนา ที่ทั้งสองขั้นดั งกลา ว ป จ จุ บั นพระศาสนจั ก ร ไมไดสงวนไวใหสามเณรใหญโดยเฉพาะเทานั้น แมฆราวาสก็อาจไดรับ หนาที่นี้ ถาหากพระสังฆราชผูปกครองเห็นวาจําเปนและเหมาะสม ดังที่ เราไดกลาวมาแลว 6






“ผูอานพระคัมภีร”

หนาที่ : ของผูอานพระคัมภีร โดยเฉพาะเจาะจงคือ “อานบท อานจากพระคัมภีรตางๆ (ยกเวนบทพระวรสารซึ่งสงวนไวเปนพิเศษแก สังฆานุกร) ในเวลาประกอบพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ หรือในพิธีกรรม อื่นๆ นอกนั้นยังอาจประกอบหนาที่แ ทนนัก รอ งเพลงสดุ ดี (Psalmist) โดยอานหรือขับรองเพลงสดุดีที่มีแทรกในระหวางบทอานพระคัมภีร ทํา หนาที่แทนสังฆานุกรหรือนักรองเพลงสดุดีในการประกาศขอตั้งใจตางๆ ในบทภาวนาเพื่อมวลชน เปนผูนําสัตบุรุษในการรองเพลงและการรวม จิ ต ใจในพิ ธี ก รรม” ในสมณกฤษฎี ก า (Motu Proprio) Ministeria Quaedam ยังกําหนดหนาที่อื่นๆ ไวอีกวา “ยังอาจทําหนาที่สอนอบรม สัตบุรุษใหเขามารับศีลศักดิ์สิทธิ์ตางๆ อยางเหมาะสม ทั้งยังสอนและ เตรียมผูทําหนาที่ผูอานฯ ชั่วคราวในพิธีกรรมดวย” สําหรับชีวิตสวนตัว ของศาสนบริกรผูอานพระคัมภีรนั้น พระศาสนจักรเตือนให “รําพึงถึง พระวาจาในพระคัมภีร (ที่ตนอาน) และดําเนินชีวิตตามแบบอยางแหง คําสั่งสอนนั้นดวย”

7






พิธีแตงตั้งผูอานพระคัมภีร

หลังอานพระวรสาร พระสังฆราชนั่งที่อาสนที่เตรียมไว สวมหมวก สูง สังฆานุกรหรือพระสงฆผูทําหนาที่นี้เรียกผูสมัครพรอมๆ กันวา สังฆานุกร ผูที่จะรับแตงตั้งเปนผูอานพระคัมภีรเชิญยืนขึ้น ผูสมัคร อยูครับ / คะ พระสังฆราช ลูก ที่รั กทั้งหลาย พระบิดาเจาไดท รงใชพระบุตรเยซู คริสตมาบังเกิดเปนมนุษย เปนผูเปดเผยธรรมอันล้ําลึก ใหเราทราบถึงแผนการที่ทรงกอบกูมนุษยชาติ และเปน ผูจัดการใหแผนการอันเรนลับนี้สําเร็จลุลวงไป องคพระคริสตเจาไดทรงสั่งสอนใหเราทราบความจริง เรื่องนี้ทุกขอแลว จึงทรงมอบใหพระศาสนจักรมีหนาที่ ประกาศขาวดีใหประชาโลกทั้งมวลไดทราบ เมื่อลูกรับตําแหนงเปนผูอานพระคัมภีร เปนผูเผยแผ พระวาจา ลูกสมัครเขามาชวยเหลือภารกิจอันนี้ของ พระศาสนจั ก ร จึง นั บ วา ลู ก เข า มารั บ หนา ที่พิ เ ศษใน ทา มกลางประชากรของพระเป นเจา มีตํา แหนงเป น ผูรับใชความเชื่อ อันมีพระวาจาเปนรากฐาน ลู ก จะต อ งประกาศพระวาจาระหว า งที่ มี ก ารชุ ม นุ ม ประกอบพิธีทางศาสนา ลูกจะประกาศใหมนุษยทุกๆ คนที่ยังไมทราบไดทราบขาวดี อันนําความรอดมาให มวลมนุษย 8






เมื่อมีลูกเปนผูชวยเหลือ เชนนี้ มนุษ ยจะเขามารูจั ก พระผูเปนเจาผูทรงเปนพระบิดา และรูจักองคพระบุตร คือพระเยซูคริสตเจา ซึ่งพระบิดาทรงใชมา แลวจึงจะ เขาไปรับชีวิตนิรันดรไดดวย ฉะนั้น เมื่อลูกจะประกาศ พระวาจาใหผูอื่นไดฟ งนั้น ลู กเองจึงตอ งมีใจวานอน สอนงาย ยินดีที่จะรับฟงการดลใจของพระจิตเจา หมั่น ไตรตรองคิดคํานึงถึงพระวาจานั้นอยูเสมอ ลูกเองก็จะ มีความรักตอพระวาจายิ่งวันยิ่งมากขึ้น ลูกจงพยายาม ดําเนินชีวิตของลูกเองใหทุกคนไดเห็นวา องคพระเยซู คริสตเจา พระผูกอบกูนั้นประทับอยูในตัวลูกดวย (ฟงเทศนจบแลว ทุกคนยืนขึ้น พระสังฆราชถอดหมวก เชื้อเชิญสัตบุรุษใหภาวนา)

พระสังฆราช พี่นองที่รักทั้งหลาย ใหเราพรอมใจกันออนวอนขอพระ บิ ด าเจ า ได ท รงพระกรุ ณ าประทานพรให ผู รั บ ใช พระองค ท า น ซึ่ ง จะรั บ หน า ที่ เ ป น ผู อ า นพระคั ม ภี ร เหลานี้ ขอให เ ขาเอาใจใส ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ที่ ไ ด รั บ นี้ อ ย า งดี คื อ ประกาศขาวดีถึงองคพระคริสตเจา และถวายเกียรติ แดพระบิดาผูประทับในสวรรค (ทุกคนภาวนาในใจ) 9


 พระสังฆราชภาวนาตอไปวา

ทุกคน



ขาแตพระบิดาเจา องคบอเกิดความสวางและความดี ทั้งปวง พระองคทรงใชพระบุตร พระวจนาตถผูท รง ประทานชีวิต มาเปดเผยใหทราบวาทรงรักมวลมนุษย ขอไดทรงพระกรุณาอวยพระพรพี่นองเหลานี้ที่ไดเลือก มาทํ า หน า ที่ผู อา นพระคั ม ภีร ขอไดโ ปรดให เ ขาหมั่ น คํานึงถึงพระวาจา จะไดมีความรูจริง และประกาศพระ วาจาใหพี่นอ งไดอยางถูก ตอง ทั้งนี้ ขอพึ่งพระบารมี พระคริสตเจาของขาพเจาทั้งหลาย อาแมน

ผูสมัครแตละคนเขามาหาพระสังฆราช พระสังฆราชมอบหนังสือพระคัมภีรให กลาววา

พระสังฆราช จงรั บ หนั งสื อ พระคั ม ภีร และประกาศพระวาจาของ พระเจาใหถูกตอง เพื่อวาพระวาจานี้จะไดมีอิทธิพลล้ํา ลึกยิ่งๆ ขึ้นในจิตใจมนุษย ผูสมัคร อาแมน

10






ภาคสอง ขอพึงใสใจ

ทัศนคติทั่วๆ ไป 1.

ชีวิตของผูอานตองมีความพยายามไปสูความบริบูรณเสมอในเรื่อง พระธรรมคําสอน อันเนื่องมาจากพระวาจา พยายามเสมอที่จะ เปนผูเหมาะสมกับการอานพระวาจา 2. มีจิตใจรักพระวาจา และมีความเชื่อในสิ่งที่ตนอานในพระคัมภีร 3. ควรมีพระคัมภีรหรือหนังสือบทอานตางๆในมิสซาเปนของสวนตัว 4. รูจักใชปฏิทินคาทอลิก และรอบรูเทศกาลตางๆ ซึ่งสัมพันธกับ บทอานตางๆ 5. สามารถรับรูอยางเปนจริงเปนจังในเกียรติแหงหนาที่การอานพระ วาจา 6. เมื่อมีโอกาสยินดีใชพระวาจาเพื่อสองสวางชีวิตของตนและของ ผูอื่นเปนการเผยแผสัจธรรมของพระใหกวางไกลออกไป 11






7.

เป น ผู รั บ ใช พ ระวาจาอย า งซื่ อ สั ต ย ไม บิ ด เบื อ นสิ่ ง ที่ อ า น และ แสวงหาความรูที่ถูกตองเสมอเมื่อมีโอกาส 8. “ขอใหพระวาจาเดน สวนผูอานดอยลง” 9. เก็บรักษาพระคัมภีรและหนังสือบทอานดวยความเคารพ 10. ฝกหัดเสมอ มีการตระเตรียมการอานอยางดี ถามเมื่อไมแนใจ

การแตงกาย แตงตัว 1.

ราบเรียบที่สุด สะอาด เรียบรอย ไมดึงความสนใจของผูฟงจาก พระวาจามาสูความสวยงามของการแตงกายของตน 2. ใสชุดที่พระศาสนจักรทองถิ่นกําหนด หากผูนั้นไดรับการแตงตั้ง และผ า นการอบรม เป น ต น ควรใส ชุ ด ผู อ า นในวั น อาทิ ต ย วั น สมโภช และพิธีโอกาสพิเศษตางๆ 3. สวมรองเท า เสมอเมื่ อ อ า นในสถานที่ ท างการในพิ ธี เพื่ อ ให เหมาะสมกับศักดิ์ศรีของสถานที่ และพิธีกรรมตามสมควร 4. การแตงกายเปนการแสดงการใหเกียรติแ กผูฟง อีกทั้งเปนการ แสดงออกซึ่งความเชื่อในจิตใจของผูอาน

ระเบียบที่ควรจัดทําสําหรับสวนรวมและสวนตัว 1.

แบงความรับผิดชอบเพื่อผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนอาน และไมควรละ ทิ้งหนาที่ หรือเลือกโดยไมจําเปน 12






2.

งานอะไรที่ไมมีในตารางผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันอาน ก็ขอใหได เตรียมตกลงกันตั้งแตเนิ่นๆ โดยดูจากปฏิทินลวงหนา 3. หากใครไมมีหนังสือสําหรับเตรียมอาน หรือเตรียมศึกษาที่บาน ควรถายเอกสารไวลวงหนา 4. บทที่ตัวเองจะเปนผูอาน ผูอานควรทราบเหตุการณแวดลอมที่เกิด เหตุการณในบทอานนั้น ทั้งนี้เพื่อตนเองจะไดผลและเขาใจจาก พระคัมภีรตอนนั้นกอน แลวจึงถายทอดดวยการอานอยางเขาใจ ใหคนฟงเขาใจโดยงาย 5. ควรมีดินสอหรือปากกาไวที่วางหนังสือ เพื่อใชเวลาเตรียมบทอาน 6. ควรอานบทอานละ 1 คน ไมควรอานคนเดียวทั้งบทอานที่ 1 และที่ 2 และบทภาวนาเพื่อมวลชน ทั้งนี้ เพื่อใหแตละคนมีสวนรวมอาน พระวาจามากขึ้น

ขอแนะนํา 1.

2.

ผูอา นไมค วรใหเ พื่ อ นพี่นอ งรอยาวเกินเหตุ เมื่ อ จะเริ่ม อา นพระ วาจาในพิธี อย า งไรก็ ดี ใหป ระธานและสั ตบุ รุ ษ นั่ งใหเ รีย บรอ ย พรอมที่จะฟง ผูอานอานดวยความมั่นใจ จากการเตรียม และความเขาใจอยาง ดีในสิ่งที่ตนอาน และเชื่อในสิ่งที่ตนกําลังจะอานใหเพื่อนพี่นองฟง ขณะอานพระคัมภีรในพิธีควรพนมมือหรือวางมือบนหนังสือ 13






3. ผูอานควรไวตอเครื่องมือ (ไมโครโฟน) วาระดับเสียงดังเบาของตน สามารถปรับใชกับความใกลไกลของไมค จนแนใจวาขาวสารของ พระสามารถไดยินถึงทุกคนในที่ชุมนุมนั้น ตรวจไมโครโฟนกอน เวลามิสซาเริ่ม โดยไมทําใหเกิดความวุนวายเกินควร ในขณะที่คน อื่นจะสวดภาวนาในวัดหรือที่ชุมนุมนั้น 4. ออกเสียง ควรอานใหถูกตองตามหลักภาษา และชัดถอยชัดคํา โดยเฉพาะข อ ความสํ า คั ญ มากๆ หรื อ ข อ ความสรุ ป บทนั้ น และ วรรคตอนตางๆ สื่อความหมายดวยน้ําเสียงที่ราบเรียบ โดยเขาใจ ความหมายของบทอานนั้น 5. ศัพทที่มิใชคําไทย ควรไดรับการออกเสียงที่ถูกตอง เมื่อไมแนใจก็ ศึกษา ไตถาม 6. โดยปกติไมตองอานขอความนําของบทอาน ทั้งไมตองอานบทอาน ที่ 1 และ ที่ 2 คงอานแตชื่อหนังสือของพระคัมภีรเทานั้น และเริ่ม อานเนื้อหาตอไดเลย 7. ผูอานตองจําไวเสมอวา พระวาจาของพระเขียนเสร็จสมบูรณมา เปนพันป จงอานเพื่อสื่อขาวสารศักดิ์สิทธิ์ มิใชอานรายงานขาว ประจําวัน ควรมีการสื่อกับผูอานดวยสายตาตามสมควร ควรอาน ดวยอากัปกิริยาที่เปนธรรมชาติของตนอยางราบเรียบ ไมอานชา หรือเร็วเกินไป ในการนี้ การเตรียมดวยความเขาใจลวงหนาจะมี บทบาทชดเชยไดมากที่สุด ทําใหผูอานสงบและอานเหมือนออกมา 14




8.

9.

10.

11.



จากความเขาใจอยางดีแลวของตน และเปนที่ยอมรับสังเกตเห็นได จากผูฟงวา นี่คือพระวาจาของพระเจา มิใชวาจาของขาพเจา ในพิธีกรรมหรือมิสซาปกติ การนั่ง ยืน หรือคุกเขาพรอมๆ กัน เปน สิ่งสําคัญ โดยปกติเปนหนาที่ของพิธีกรอีกคนหนึ่ง แตบอยครั้ง มักจะตกเปนหนาที่ของผูอานตอนนั้นๆ ดวย จึงควรที่ผูอานจะรู อยางถองแทกอนลวงหนาในพิธีกรรมนั้น (โดยเฉพาะในวันพิเศษที่ มีพิธีกรรมแตกตางออกไป) โดยการศึกษา ไตถาม จดจําไว และ นําทุกคนใหยืน นั่ง คุกเขาอยางพรอมเพรียงกัน บทสดุดีเปนบทประจําที่มีในการอาน ตนฉบับเปนเหมือนฉันทลักษณ เมื่อแปลมาเปนกลอนหรือรอยกรองไทย จึงยิ่งควรมีการ เตรียมวรรคใหดียิ่งกวาการอานรอยแกวธรรมดา เพื่อใหขอความ ความหมาย และรู ปแบบ รสชาติของรอ ยกรองไทยคงอยูอยา ง เต็มที่ หากสดุดีบางบทตรงกับเนื้อหาในบทเพลง สามารถรองบท เพลงแทนได เชน สดุดีที่ 23 เปนตน ผา นหน า พระแทน หรื อ ประธานทั้งกอ นและหลั ง ควรทํ า ความ เคารพเสมอ ในบางโอกาสมีผูที่มีศักดิ์เปนบริกรศีลศักดิ์สิทธิ์ของ พระศาสนจักรตามศีลบวชขั้นตอนตางๆ อาจจะตองเปนหนาที่ของ ทานเหลานั้นที่จะอานแทนเรา บทเสริมในโอกาสสมโภช ปจจุบันไมคอยใหความสําคัญ จึงละเวน ได 15






12. พยายามรองอั ลเลลูยา (อยาอา น) แมใ นมิสซาผูตาย ยกเวนใน เทศกาลมหาพรต ที่ไมขับรองเพลงอัลเลลูยา

จิตตารมณการชวยงานของพระ

เราทุกคนมาขอรวมงานของพระคนละหนาที่ เปนพระที่มอบให เราไมควรตีความวาพระหรือพระศาสนจักรเปนหนี้บุญคุณที่เรา จะตองทวงเมื่อมีโอกาส 2. การเอาชีวิตทั้งชีวิตถวายเปนบูชา ก็ยังมิอาจทดแทนโลหิตสักหยด ของพระคริ ส ตเจ า ได การให ทั้ ง ชี วิ ต เวลา บางครั้ ง ทรั พ ย ท าง สติปญญาหรือทรัพยสินฝายวัตถุแกพระหรือพระศาสนจักร ไมมี วันพอเพียงกับพระเมตตายกโทษตอเราไดเลย จึงควรที่เราทุกคน หลั ง จากได ทํ า อะไรให พ ระแล ว คิ ด ได ว า “เราเป น คนใช ที่ ไ ม มี ประโยชนอะไร เราทําตามหนาที่เทานั้น” (ลก 17:10) 3. ทุกคนที่มารวมงานเปนพี่นองกัน ไมควรที่จะกระทําหรือพูดอะไร ในทางที่จะกอใหเกิดการแบงแยกขึ้นกอน เหตุวาเราทุกคนยังคง เปนมนุษยผูออนแอที่ลอแหลม และเปราะแตกหักงายซอนอยูใน จิตใจและความเปนมนุษยของเรา การหวังการอภัยยกโทษตอง ประกอบดวยการเปนทุกขเสียใจ เปลี่ยนแปลงความประพฤติและ จิตตารมณมาประกอบดวยเสมอ ยิ่งเราเปนผูนําพระวาจาสื่อสาร ไปดวยการอาน ยิ่งตองมีชีวิตแงนี้ที่สํารวมมากกวากลุมกิจกรรม อื่น ควรเปนแบบอยางแหงความรัก เอกภาพ ความไมตองการ

1.

16






ชวงชิงอะไรกันอีก ไมตองการอะไรอีก นอกจากไดสื่อพระวาจาไป ถึงผูอื่น งานนี้เปนสิ่งเล็กนอยในสายตาของผูไมมีจิตตารมณ แต ทวายิ่งใหญในน้ําพระทัยของพระเสมอ 4. ควรที่สมาชิกทุกคนภูมิใจในพระวาจาที่ไดเฉลิมฉลองดวยการอาน และแบงปน มากกวาภูมิใจที่เปนกลุมของเรา 5. ในชวงเวลาที่เหมาะสม สมาชิกควรจัดการเขาเงียบสงบจิตใจใน ระหวา งสมาชิก ในสถานที่ที่สงัด และถื อ เป นโอกาสฟนฟู จิตใจ ศึกษา อาศัยพระวาจาของพระเปนศูนยกลาง และพักผอนรวมกัน และใหความรวมมือไปกับทุกคน (ปรับปรุงจากเอกสาร “อบรมผูอานบทอานวัดพระมารดานิจจานุเคราะห โดยคุณพอสุทศ ประมวลพรอม”

17






ภาคสาม คําแนะนําสําหรับผูอานพระคัมภีร

คํานํา 1.

ภาพที่มีความหมายของพระศาสนจักร ที่สภาสังคายนาวาติกันที่ 2 ไดยกขึ้นมาพูดคือ กิจกรรมของพระศาสนจักร ซึ่งเปน “ศีลแสดง ความเป น หนึ่ ง กล า วคื อ ประชากรศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ร วมกั น เป น หนึ่ ง เดียวกัน และจัดตั้งขึ้นภายใตอํานาจของบรรดาพระสังฆราชของ เขา” (พระธรรมนูญเรื่องพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ ขอ 26) อีกแงมุมหนึ่ง พระศาสนจักรเปนหมูคณะพี่นองชายหญิงที่มีศักดิ์ศรีและหนาที่ เท า เที ย มกั น แต มี พ ระพรพิ เ ศษแตกต า งกั น (พรสวรรค ความสามารถ) เพื่ อ ตอบสนองความต อ งการของคริ ส ตชุ ม ชน ความร่ํ า รวย และความหลากหลายของพระพรพิเ ศษทั้ง หลาย เหล า นี้เ ดนชั ด ขึ้ นเมื่ อ มีชี วิต อยูใ นพระศาสนจั ก ร กลา วคื อ การ ปฏิบั ติหนา ที่ตางๆ อยา งมีประสิท ธิภ าพ (หัว ขอสํ าคั ญของสภา 18






สั ง คายนา โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง พระธรรมนู ญ เรื่ อ งพิ ธี ก รรม ศักดิ์สิทธิ์) 1.1 นอกจากเน น ถึ ง ศาสนบริ ก ารและหน า ที่ ใ นการสั่ ง สอน ศาสนาแล ว พระสั ง ฆธรรมนู ญ ว า ด ว ยพิ ธี ก รรมยั ง ได ชี้ ใ ห เ ห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการประกาศพระวาจาและ วจนพิ ธี ก รรมอี ก ด ว ย พระเยซู เ จ า ประทั บ อยู ภ ายใน คริสตชุมชนแบบพิเศษระหวางสวดบทขอบพระคุณที่พระ แทน (โตะ แหงศีล มหาสนิท ) ฉั นใด พระเยซู เ จา ก็ สํา แดง พระองคระหวางการอานพระคัมภีรจากบรรณฐาน (โตะ แหงพระวาจา) ฉันนั้น 1.2 การอานพระวาจาไมใชสิทธิพิเศษของผูรับศีลบวชเทานั้น แตเ ปนหนา ที่ข องผูอา นพระคัมภีร ซึ่งมีหนาที่โดยตรงใน พิ ธี ก รรม คื อ อ า นบทอ า นจากพระคั ม ภี ร ต า งๆ ยกเว น พระวรสาร พระเยซู เ จ า เองทรงคุ น เคยกั บ พระคั ม ภี ร พระองคปฏิบัติศาสนบริการนี้ในศาลาธรรม ในพระวรสาร ของนักบุญลูกา เลาวาพระองคทรงยืนขึ้นและอาน เมื่ออาน จบแลว “พระองคท รงมวนหนั งสื อ สงคื นใหแ กเจาหนา ที่ แลวทรงนั่งลง” (เทียบ ลก 4:16-22) 1.3 คริสตชนทุกคนไดรับการเชื้อเชิญใหอานและรําพึงถึงพระ คัมภีร อยางไรก็ตาม บางคนไดรับพระพรพิเศษใหประกาศ 19






พระวาจา โดยถู ก เรี ย กให เ ป น ผู อ า นพระคั ม ภี ร แ ละเป น ศาสนบริกรผูอานพระวาจาทามกลางกลุมภาวนา

หนาที่ 2.

ผูอานพระคัมภีร มีหนาที่ตองประกาศพระวาจาของพระเปนเจา ท า มกลางประชากรของพระองค เมื่ อ พวกเขาร ว มกั น ถวาย สักการบูชา (บูชามิสซาศักดิ์สิทธิ์ ทําวัตร และพิธีอื่นๆ) 2.1 คําแนะนําทั่วไปของหนังสือมิสซาโรมัน (ขอ 66) คือ เมื่อไร ก็ตามที่ผูอานพระคัมภีรอยูรวมพิธี แมแตมิสซาประจําวัน ตอ งใหผูอา นปฏิบั ติหนาที่มากกวา จะเปนสังฆานุก รหรื อ พระสงฆ โดยหลักการแลวไมควรที่จะใหผูที่ไมไดรับการ แตงตั้งใหเปนผูอานพระคัมภีรเปนผูปฏิบัติหนาที่นี้ 2.2 ในกรณีที่นัก ขั บรอ งเพลงสดุดีไ มอ ยู ผูอานพระคั ม ภีรทํ า หนาที่แทน 2.3 เมื่ อ ไม มี สั ง ฆานุ ก รหรื อ นั ก ขั บ ร อ งเพลงสดุ ดี ทํ า หน า ที่ นี้ ผูอานพระคัมภีรเปนคนรวบรวมขอตั้งใจของหมูคณะในบท ภาวนาเพื่อมวลชน 2.4 ผูอานพระคัมภีรสามารถเชิญชวนอยางเหมาะสมใหผูที่มา รวมชุมนุม รวมรองเพลง และสามารถนําผูอื่นดวยรูปแบบ ของการมีสวนรวมที่เหมาะสม 20






2.5 หลั ก การทั่ ว ไป หน า ที่ สํ า คั ญ ของผู อ า นพระคั ม ภี ร คื อ ประกาศพระวาจาของพระเปนเจา ไมใชยุงอยูกับกิจกรรม อยางอื่น

ความรับผิดชอบ

3. ผูอานพระคัมภีร มีหนาที่ประกาศพระวาจาใหทุกคนไดยินขาวสาร ของพระเปนเจา ดวยความเชื่อ กิริยาทาทางในการอานพระคัมภีร และชีวิตของพวกเขา พวกเขาตองระมัดระวังวา ไมมีอะไรที่พวก เขาทําเปนเหตุใหประชาชนไมเอาใจใสหรือปฏิเสธขาวสารของพระ เปนเจา เพื่อใหเกิดผลดียิ่งขึ้น พวกเขาตองสนับสนุนพระวาจาของ พระเปนเจาดวยชีวิต เชนเดียวกับการประกาศของพวกเขา

การเตรียมตัว 4.

การเตรียมอานอยางดีเปนสิ่งจําเปนเสมอ ไมใชเพียงแคคุนเคย คูมือเทานั้น แตตองศึกษาและภาวนาสวนตัวดวย 4.1 สวนหนึ่งของการตระเตรียมที่ดี คือไปถึงวัดกอนพิธีจะเริ่ม เพื่อตรวจความเรียบรอย 4.2 ใช เ วลาชั่ ว ขณะหนึ่ ง ทบทวนและภาวนา (ส ว นตั ว และ แบงปน) กอนอานบทอาน

21






ศักดิ์ศรี

5. สภาสังคายนาวาติกันที่ 2 พระธรรมนูญเรื่องพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ (ขอ 29) ขอรองใหศาสนบริกรทําหนาที่ดวยความเคารพและสงา งาม หนาที่ของผูอานพระคัมภีร และความคาดหวังของสัตบุรุษ เรียกรองคุณลักษณะเหลานี้

จิตตารมณและการฝกฝน

6. เมื่อทําหนาที่ศาสนบริกร ผูอานพระคัมภีรตองไดรับการฝกอบรม อยางเพียงพอ ใหเขาใจความหมายของพิธีกรรม เขาใจความหมาย ของพระคัมภีร และการพูดในที่ชุมชน 6.1 ผูอานพระคัมภีรควรอานดวยสําเนียงที่เหมาะสมกับเนื้อหา ผูฟงและสถานที่ประกอบพิธี 6.2 ผูอานควรมีความคุนเคยกับการใชไมโครโฟน และหนังสือ บทอาน 6.3 ผูอานควรจะเดินถือพระคัมภีรไปยังที่อานดวยความสุภาพ 6.4 แมเริ่มฝกฝนเปนผูอานพระคัมภีรแลว มิไดหมายความวา จะทําหนาที่ไดอยางดี ตองฝกบอยๆ 6.5 การฝ กฝนแบบตอเนื่ อง เชน ศึกษาพระคัมภีร ฝก ปฏิบั ติ วิจารณตัวเอง ภาวนารวมกัน เขาเงียบ รวมกลุมกันตาม โอกาส เปนสิ่งสําคัญที่ชวยเสริมสรางผูอานใหทําหนาที่ไดดี ยิ่งขึ้น 22






ความสํานึกและการสนับสนุน 7.

ศาสนบริการของผูอานพระคัมภีร เปนบทบาทหนึ่งในพิธีกรรมของ พระศาสนจักร หากผูอานไมเอาใจใสปฏิบัติหนาที่อยางดี ก็มีผล ตอผูมารวมพิธี และพิธีกรรมเอง 7.1 การแบ ง ป น พระวาจานี้ ผู อ า นพระคั ม ภี ร ต อ งการความ ชวยเหลือจากสมาชิกของคริสตชุมชน ผูกําลังฟงพวกเขา 7.2 พวกเขาต อ งการคํ า แนะนํ า จากพระสงฆ คณะกรรมการ พิ ธี ก รรมของวั ด ควรให ค วามช ว ยเหลื อ ผู อ า นพระคั ม ภี ร ตองการการสนับสนุนและรับรูของพระอัครสังฆราช ซึ่งทํา หนาที่เปนประธานของศาสนพิธีทั้งหมดในสังฆมณฑล 7.3 ผูที่รับผิดชอบพิธีกรรมของวัดตองเอาใจใสเรื่องตําแหนงของ ผูอานพระคัมภีรในขบวนแห ที่นั่ง เครื่องแตงกาย พิธีแตงตั้ง ฯลฯ

การแตงกาย

8. จะใชหรือไมใชเครื่องแตงกายพิเศษ ไมใชเรื่องสําคัญ แตควรใช เวลาศึกษาเหตุผล เพื่อตัดสินใจเลือกอยางใดอยางหนึ่ง

23






พิธีแตงตั้ง

9. พระอัครสังฆราชเปนผูแตงตั้งผูอานพระคัมภีร ซึ่งไดรับการรับรอง จากพระสงฆเจาอาวาส พิธีแตงตั้งนี้เปนสวนหนึ่งในพิธีมิสซาบูชา ขอบพระคุณ พรอมกับพิธีแตงตั้งศาสนบริกรอื่นๆ 9.1 ในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ พิธีแตงตั้งผูอานพระคัมภีรตอ จากภาควจนพิธีกรรม กลาวคือ หลังจากบทเทศน - ประธานจะกลาวถึงบทบาทของศาสนบริกรในชีวิต และ สักการบูชาของคริสตชุมชน - ประธานแนะนําผูสมัครถึงความรับผิดชอบของพวกเขา - บทภาวนาของประธาน - ก า ร ม อ บ สั ญ ลั ก ษ ณ ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ บ ท บ า ท ข อ ง ศาสนบริกร - ผูสมัครรับสัญลักษณนั้น 9.2 ใบแต ง ตั้ ง ผู อ า น ผู อ า นพระคั ม ภี ร ค วรรั บ ใบแต ง ตั้ ง ซึ่ ง มี กําหนดเวลาแนนอน 9.3 พิธีแตงตั้งผูอานพระคัมภีร ดูไดจาก “THE INSTITUTION OF READERS (BISHOPS’ COMMITTEE ON LITURGY, MINISTRIES IN THE CHURCH, STUDY TEXT III ; WASHINGTON, DC : USCC PUBLICATIONS OFFICE, 1975, PP.51-53) OR INTERIM (COMMISSIONING) RITE “NATIONAL BULLETIN ON LITURGY ; OTTAWA : 24






CANADIAN CATHOLIC CONFERENCE ; VOL 9, NO. 53, MARCH – APRIL, 1976, PP.90-92) 9.4 หลังจากพิธีแตงตั้งแลว ควรจัดใหผูอานพระคัมภีรมีโอกาส ฟนฟูจิตใจตามสมควร

ระยะเวลา

10. การรับใชพระเปนเจาในพระศาสนจักร โดยประกาศพระวาจานี้ ควรทําดวยความมั่นคง สม่ําเสมอ และอุทิศตน ถึงแมจะไมใชการ แตงตั้งถาวร 10.1 กําหนดระยะเวลาทําหนาที่นี้คราวละ 2 ป 10.2 เมื่ อ สิ้น สุ ด วาระ ผูอ า นพะคั ม ภี รค วรประเมิ นผล รั บ การ อบรม และหากเห็นสมควรก็สามารถรับการแตงตั้งอีกครั้ง หนึ่งได 10.3 ถาผูอานรูสึกวาไมสามารถปฏิบัติหนาที่นี้ตอไป ก็สามารถ ลาออกได 10.4 บุคคลที่ในเวลาตอมาปรากฏวาไมเหมาะสมที่จะเปนผูอาน พระคัมภีร (ความสามารถการทํางานรวมกับคนอื่น หรือ การเปนพยาน) ควรจะออกจากหนาที่ เขาอาจชวยงานอื่นๆ ของวัดได

25






สรุป

“ฝนและหิมะลงมาจากทองฟา และไมกลับไปที่นั่นถาไมไดรดแผนดิน ทําใหแผนดินอุดม ทําใหพืชงอกขึ้น เพื่อใหผูหวานมีเมล็ดพันธุ และใหผูกินมีอาหารฉันใด ถอยคําที่ออกจากปากของเรา จะไมกลับมาหาเราโดยไมเกิดผล ไมทําตามที่เราปรารถนา และไมบรรลุจุดประสงคที่เราสงมาฉันนั้น” (อสย 55:10-11) ARCBISHOP RAYMOND G. HUNTHAUSEN 22 APRIL 1980 ARCHDIOCESE OF SEATTLE

26






ภาคผนวก การแตงตั้ง ผูอานพระคัมภีร คุณสมบัติ

1. 2. 3. 4. 5.

เปนคาทอลิกที่ดีและมีความศรัทธา เปนฆราวาสชายหญิงที่ไดรับศีลกําลัง และมีอายุ 18 ปขึ้นไป ไดรับการรับรองจากสภาภิบาลและพระสงฆเจาวัด สามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางสม่ําเสมอ ผานการอบรมซึ่งทางอัครสังฆมณฑลกําหนด

หนาที่ 1.

อานบทอานจากพระคัมภีร (ยกเวนพระวรสาร) ในเวลาประกอบ พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณหรือในพิธีกรรมอื่นๆ 2. ประกาศขอตั้งใจตางๆ ในบทภาวนาเพื่อมวลชน 3. เปนผูนําสัตบุรุษในการรองเพลง 4. สอนและเตรียมผูทําหนาที่ผูอานชั่วคราวในพิธีกรรม 27






5. รําพึงถึงพระวาจาในพระคัมภีร (ที่ตนอาน) และดําเนินชีวิตตาม แบบอยางคําสอนนั้น (คุณพอสําราญ วงศเสงี่ยม, พิธีกรรม 3 หนา 215-216) ** มีวาระ 2 ป และสามารถรับการแตงตั้งใหมได **

เนื้อหาการอบรม

1. 2. 3. 4. 5.

บทบาทของฆราวาสในพิธีกรรม พิธีกรรมเบื้องตน พระคัมภีรเบื้องตน พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ ภาคปฏิบัติ

28

1 3 3 3

คาบ คาบ คาบ คาบ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.