หนังสือก้าวไปด้วยกัน

Page 1


ก้าวไปด้วยกัน คู่มือสำหรับชุมชนคริสตชน เพื่อร่วมทางแห่งความเชื่อกับผู้ใหญ่ที่สนใจคริสตศาสนธรรม

OUR JOURNEY TOGETHER 47 CATECHETICAL SESSIONS FOR CHRISTIAN INITIATION OF ADULTS (RCIA)

ฉบับปรับปรุงใหม่ ค.ศ. 2007

โดย ออสวอลด์ ฮีรเ์ มอร์ ดำเนินการแปลและจัดพิมพ์โดย แผนกคริสตศาสนธรรม ฝ่ายงานอภิบาลและธรรมทูต อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ



คำนำ หนังสือ “ก้าวไปด้วยกัน” เป็นหนังสือแปลจากต้นฉบับอังกฤษชือ่ “Our Journey Together” ของคุณพ่อ Oswald Hirmer เกิด 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1930 พระสงฆ์ชาวเยอรมัน ผูเ้ ป็นธรรมทูตในอาฟริกาใต้มากกว่า 20 ปี ปัจจุบนั ได้รบั อภิเษกเป็นพระสังฆราช (28 มิถุนายน ค.ศ. 1997) ท่านเป็นผู้คิดค้นหาวิธีการนำพระวาจาเข้าสู่ชีวิตคริสตชน เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพระเยซูเจ้า ทำให้พระวาจาของพระองค์ทรงชีวิตและ เจริญงอกงามอยูต่ ลอดไป “ก้าวไปด้วยกัน” เป็นหนังสือเล่มหนึ่งในชุดของสถาบัน LUMKO ซึ่งสามารถใช้ กับการสอนคำสอนผูใ้ หญ่ได้เป็นอย่างดี เนือ้ หาของหนังสือประกอบด้วย 3 ภาค คือ ภาคแรก เป็นวิธกี ารและการสอนคำสอนผูใ้ หญ่ 47 บทเรียน รวมทัง้ ศีลศักดิส์ ทิ ธิต์ า่ งๆ และช่วงเวลาของการเข้าเป็นคริสตชน ภาคทีส่ อง (ภาคผนวก) เป็นเรือ่ งของพระคัมภีรแ์ ละการใช้พระคัมภีร์ ภาคทีส่ าม กล่าวถึงจารีตและพิธกี รรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการรับผูใ้ หญ่เข้าเป็นคริสตชน “สภาสังคายนาวาติกนั ที่ 2 ได้สง่ั ให้ปรับปรุงแก้ไขประมวลพิธศี ลี ล้างบาปผูใ้ หญ่ และ กำหนดให้รอ้ื ฟืน้ การเตรียมเป็นคริสตชนสำหรับผูใ้ หญ่ซง่ึ แบ่งเป็นหลายขัน้ ตอน เพือ่ ให้เวลา เตรียมเป็นคริสตชน ซึ่งต้องมีการอบรมอย่างเหมาะสมจะได้ศักดิ์สิทธิ์ไปด้วยพิธีซึ่งต้อง ประกอบ” ในเวลาต่อมา สมณกระทรวงคารวกิจได้จดั พิมพ์ประมวลพิธใี หม่สำหรับการรับผูใ้ หญ่เข้าเป็นคริสตชน (Rites of Christian lnitiation of Adults - RCIA) เมือ่ วันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1972 ซึง่ คณะกรรมการคาทอลิกเพือ่ พิธกี รรมได้ดำเนินการแปลเป็นภาษาไทย เมือ่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975 และข้าพเจ้าได้จดั พิมพ์ครัง้ ที่ 2 ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2000 ฝ่ายงานอภิบาลและธรรมทูตอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เห็นว่า หนังสือ “ก้าวไปด้วยกัน” นี้ สามารถใช้เป็นแนวทางในการสอนคำสอนผูใ้ หญ่ในปัจจุบนั นีไ้ ด้อย่างเหมาะสม จึงได้ดำเนินการแปลและจัดพิมพ์เผยแพร่เป็นภาษาไทยครัง้ แรก เมือ่ มิถนุ ายน ค.ศ. 1995 โดยคุณครูทพิ วัลย์ กิจสกุล และคุณพ่อวีรศักดิ์ วนาโรจน์สวุ ชิ ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2005 ข้าพเจ้า กับครูทศั นีย์ มธุรสสุวรรณ ได้ปรับปรุงใหม่ จัดพิมพ์ครัง้ ทีส่ อง และจัดพิมพ์ครัง้ ที่ สาม ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2007 หวังว่าหนังสือเล่มนีจ้ ะช่วยเราในการฟืน้ ฟูชวี ติ ชุมชนในเขตวัดคาทอลิกของเรา ให้มชี วี ติ ชีวายิง่ ขึน้ เป็นพิเศษในปีพระวาจา (ค.ศ. 2007-2010) บาทหลวง วีระ อาภรณ์รตั น์ แผนกคริสตศาสนธรรมฯ 8 กันยายน ค.ศ. 2007


หนังสือ ก้าวไปด้วยกัน Our Journey Together โดยคุณพ่อ Oswald Hirmer จัดแปลโดย แผนกคริสตศาสนธรรม กรุงเทพฯ Nihil Obstat Imprimatur

บาทหลวงสุรชัย ชุม่ ศรีพนั ธ์ พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู 20 กันยายน ค.ศ. 2005

พิมพ์ครัง้ ที่ 1 พิมพ์ครัง้ ที่ 2 พิมพ์ครัง้ ที่ 3

มิถนุ ายน ค.ศ. 1995 ตุลาคม ค.ศ. 2005 กันยายน ค.ศ. 2007

รูปเล่ม พิสูจน์อักษร

คุณสมบัติ งามวงศ์ และคุณสุรตั น์ เจริญผล บาทหลวงวีระ อาภรณ์รตั น์ และคุณครูทศั นีย์ มธุรสสุวรรณ

จัดพิมพ์โดย

ฝ่ายงานอภิบาลและธรรมทูตอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 57 ซอยโอเรียนเต็ล บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร. 0-2237-5276, 0-2233-0338 โทรสาร 0-2233-8159 E-mail : ccbkk@catholic.or.th ศูนย์หนังสือและอุปกรณ์ 57 ซอยโอเรียนเต็ล บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร. 0-2630-6820-4 โรงพิมพ์อัสสัมชัญ 51 ซอยโอเรียนเต็ล บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร. 0-2233-0523 โทรสาร 0-2235-1045

จัดจำหน่ายโดย พิมพ์ท่ี

จำนวน จำนวน จำนวน

2,000 เล่ม 1,000 เล่ม 1,000 เล่ม


1

สารบัญ แนะนำขั้นตอนการรับผู้ใหญ่เข้าเป็นคริสตชน จดหมายถึงพี่น้องคริสตชน การเดินทางไปหมู่บ้านเอมมาอูส เราตั้งกลุ่มผู้สมัครเรียนคริสตศาสนธรรม วิธีการใช้พระคัมภีร์ วิธีการใช้หนังสือกับผู้นำกลุ่ม วิธกี ารแบ่ง “กลุม่ ย่อย” ช่วงพบกันครั้งแรก 1. พระเป็นเจ้าทรงนำทางท่านอย่างไร 2. การค้นพบพระจิตของพระเจ้าในมรดกและวัฒนธรรม 3. การค้นพบแผนการของพระเป็นเจ้าสำหรับท่านและโลก 4. การค้นพบพลังของไม้กางเขน 5. การค้นพบความปิตยิ นิ ดีของการกลับคืนพระชนมชีพ 6. เราได้ยนิ เสียงเรียกของพระคริสตเจ้า 7. เราได้รบั เชิญให้มาเป็นประชากรของพระเป็นเจ้า ช่วงของการเป็นคริสตชนสำรอง การเลือกพี่เลี้ยง หน้าที่ของผู้เรียนคำสอนในพันธกิจของพระศาสนจักร ความเชื่อของบรรพบุรุษ 8. แบบอย่างความเชือ่ ทีย่ ง่ิ ใหญ่ 9. พระเป็นเจ้าทรงสดับฟังเสียงร้องของเรา

หน้า 7 9 9 12 16 17 18 19 20 22 24 26 28 31 33 35 36 37 38 38 42


2 หน้า 10. เลือดแห่งอิสรภาพ 11. น้ำแห่งอิสรภาพ 12. บัญญัต1ิ 0 ประการแห่งอิสรภาพ พิธีระหว่างการเป็นผู้สมัครเรียนคำสอน หนทางของพระเยซูเจ้านำเราสู่โลกใหม่ 13. แนวทางใหม่ในการแก้ปญ ั หา

46 50 53 57 58 58

14. การภาวนาแบบใหม่ 15. แนวทางใหม่ในการทำให้ชวี ติ มีความหมาย 16. แนวทางใหม่ในการมองเพือ่ นพีน่ อ้ ง 17. แนวทางใหม่ในการปฏิบตั กิ บั “ผูถ้ กู ทอดทิง้ ” 18. ฟ้าใหม่และแผ่นดินใหม่ 19. พระคริสตเจ้าทรงเป็น “เมล็ดพันธุ”์ แห่งโลกใหม่ของพระเป็นเจ้า พิธีระหว่างการเป็นผู้สมัครเรียนคำสอน บทสัญลักษณ์ของอัครสาวก 20. ข้าพเจ้าเชือ่ ในพระเป็นเจ้าพระบิดาทรงสรรพานุภาพ 21. ข้าพเจ้าเชือ่ ในพระเยซูคริสตเจ้า 22. พระเยซูเจ้าทรงรับทรมานเพือ่ เรา 23. พระเยซูเจ้าสิน้ พระชนม์เพือ่ เรา 24. พระคริสตเจ้าได้สน้ิ พระชนม์เพือ่ บรรพบุรษุ ของเราด้วย หมายเหตุ : เรือ่ งไฟชำระ 25. พระเยซูเจ้าทรงกลับคืนพระชนมชีพ 26. พระเยซูเจ้าทรงกลับคืนพระชนมชีพและมาประทับอยูก่ บั เรา

61 65 69 72 75 78 82 84 84 88 91 94 97 101 102 105


3 หน้า 27. พระเยซูเจ้าเสด็จสูส่ วรรค์ 28. ข้าพเจ้าเชือ่ ในพระจิต 29. คริสตชนต้องเป็นแสงสว่างส่องโลก 30. คริสตชนถูกส่งไปสมานฉันท์ทา่ มกลางพีน่ อ้ งประชาชน พิธีระหว่างเป็นผู้สมัครเรียนคำสอน 31. ข้าพเจ้าเชือ่ ในพระศาสนจักรคาทอลิก 32. แบบอย่างการดำเนินชีวติ ในชุมนุมพระศาสนจักร 33. พระเป็นเจ้าเป็นชุมชนแห่งการแบ่งปัน : พระบิดา พระบุตรและพระจิต 34. การแบ่งแยกในกลุม่ คริสตชน 35. ข้าพเจ้าเชือ่ ถึงการกลับคืนชีพของร่างกายและชีวติ นิรนั ดร ศีลศักดิ์สิทธิ์ 36. ศีลล้างบาป : ชีวติ เพือ่ พระคริสตเจ้า 37. ศีลล้างบาป : การเข้าร่วมกับชุมชนคริสตชน หมายเหตุ : บาปกำเนิด ความเข้าใจเรือ่ งพิธกี ารเข้าเป็นคริสตชน 38. ศีลกำลัง : เราได้รบั การเจิมด้วยพระจิตแห่งความกล้าหาญ 39. ศีลมหาสนิท : งานเลีย้ งฉลองทีย่ ง่ิ ใหญ่ของเอกภาพ 40. ศีลมหาสนิท : บูชายิง่ ใหญ่ของพระเยซูเจ้า 41. ศีลอภัยบาป : หนทางกลับมาหาพระเป็นเจ้าและเพือ่ นพีน่ อ้ ง

108 112 116 119 123 124 128 132 135 139 145 145 148 151 152 155 159 163 167


4 หน้า พิธีระหว่างเป็นผู้สมัครเรียนคำสอน 42. ศีลอภัยบาป : ศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการคืนดี วิธรี บั ศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการคืนดี 43. ศีลเจิมผูป้ ว่ ย : ศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการรักษาและความหวัง 44. ศีลสมรส : สะท้อนความรักของพระเป็นเจ้า 45. ศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ 7 ประการ คือสัญลักษณ์ของพระเยซูเจ้า ผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพ ประทับอยูท่ า่ มกลางเรา ช่วงเวลาแห่งการชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ในเทศกาลมหาพรต พระวรสารวันอาทิตย์ในช่วงเวลาการชำระจิตใจในเทศกาลมหาพรต การชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ช่วงเทศกาลมหาพรต การประกอบพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการเริ่มต้น วันเสาร์ศักดิ์สิทธิ์ พิธีตื่นเฝ้าปัสกาและพิธีศีลล้างบาป ศีลกำลัง ศีลมหาสนิท ช่วงเวลาแห่งการเป็นคริสตชนใหม่ พระวรสารวันอาทิตย์ช่วงการเป็นคริสตชนใหม่ 46. จงติดตามพระจิตเจ้า 47. จงใช้พรสวรรค์เพือ่ รับใช้ชมุ ชน ชีวิตคริสตชนในพระศาสนจักรยุคแรกเริ่ม กิจกรรมปิดการอบรม บทภาวนาที่ควรท่องจำ คำถามและคำตอบ

170 171 174 177 181 185 187 188 191 192 193 194 198 199 200 201 210 214 217 219 220 223


5 หน้า ภาคผนวก 1. วิธกี ารเปิดพระคัมภีร์ 2. วิธกี ารรวบรวมพระคัมภีรพ์ นั ธสัญญาเดิม 3. วิธกี ารรวบรวมพระคัมภีรพ์ นั ธสัญญาใหม่ 4. วิธที จ่ี ะเข้าใจถึงประวัตศิ าสตร์การสร้างในหนังสือปฐมกาล

230 233 234 235

5. นิกายต่างๆ 6. วิธกี ารแบ่งปันพระวาจา วิธกี ารแบ่งปันพระวาจา 7 ขัน้ ตอน การตอบสนองของกลุ่ม รู้ - รับ - รัก บันทึกชีวิตอาศัยพระวาจา 7. หน้าทีข่ องคริสตชนในโลก (เอกสารของพระศาสนจักร) จารีตและพิธีกรรมต่างๆ เมื่อไรประกอบพิธี พิธีต้อนรับผู้สมัครเรียนคำสอน จารีตช่วงเรียนคำสอน 1. บทภาวนาละทิง้ ความชัว่ 2. การอวยพรผูเ้ รียนคำสอน 3. การเจิมน้ำมันผูเ้ รียนคำสอน 4. การมอบบทข้าพเจ้าเชือ่ 5. การมอบบทข้าแต่พระบิดา 6. พิธสี มั ผัสหูและปาก (เอฟฟาธา) 7. การสวดบทข้าพเจ้าเชือ่

238 240 240 242 243 245 246 251 253 253 264 265 271 275 277 280 283 284


6 หน้า พิธีเลือกสรรหรือการลงทะเบียนสมัครเป็นคริสตชน การชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ในเทศกาลมหาพรต พิธพี จิ ารณาความตัง้ ใจครัง้ แรก (อาทิตย์ท่ี 3 เทศกาลมหาพรต) พิธพี จิ ารณาความตัง้ ใจครัง้ ทีส่ อง (อาทิตย์ท่ี 4 เทศกาลมหาพรต) พิธพี จิ ารณาความตัง้ ใจครัง้ ทีส่ าม (อาทิตย์ท่ี 5 เทศกาลมหาพรต) การเตรียมพิธีในวันเสาร์ศักดิ์สิทธิ์ การประกอบศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการเริ่มต้น (วันตื่นเฝ้าปัสกา) พิธีศีลล้างบาป พิธีศีลกำลัง พิธีศีลมหาสนิท ภาคผนวก 1. จารีตการต้อนรับเข้าในพระศาสนจักรคาทอลิก 2. จารีตแบบย่อของการเริม่ ชีวติ คริสตชน 3. ข้อกำหนดของพระศาสนจักรเรือ่ งการจำศีลในเทศกาลมหาพรต 4. โครงร่างสำหรับการเริม่ ชีวติ คริสตชนสำหรับผูใ้ หญ่

286 294 294 299 303 307 308 319 322 323 329 330 332


7

แนะนำวิธกี ารใช้หนังสือก้าวไปด้วยกัน และ ขัน้ ตอนการรับผูใ้ หญ่เข้าเป็นคริสตชน (RCIA) “การรับผู้ใหญ่เข้าเป็นคริสตชน” ในเขตวัด มีผลต่อเขตวัดทั้งหมด จึงจำเป็น ต้องมีการแนะนำความคิดนี้ และการใช้หนังสือคูม่ อื ก้าวไปด้วยกันดังต่อไปนี้ 1. ให้มีการพูดคุยกับทีมงานอภิบาลของวัดถึงความแตกต่างระหว่างคำว่า “ชั้นผู้เรียนคำสอน” และ “กลุ่มผู้เรียนคำสอน” (ดูหน้า 12-15 จงนำบทที่ 9 ใน หนังสือก้าวไปด้วยกันนี้ไปปฏิบัติ) 2. พูดคุยกับสภาอภิบาลของวัดถึงความคิดอันเดียวกันนี้ 3. ให้นำความคิดเรือ่ ง “กลุม่ ผูเ้ รียนคำสอน” ไปแนะนำช่วงพิธกี รรมวันอาทิตย์ หลังจากพระวรสาร 4. ให้มกี ารฝึก “ผูน้ ำกลุม่ ” ถึงวิธกี ารใช้บทเรียนคำสอน ก. ให้กลุม่ ผูเ้ ข้ารับการอบรมเป็นผูน้ ำกลุม่ อ่านเนือ้ หาบทที่ 6 (หรือ 9 หรือ 23 หรือ 36) ข. คำแนะนำ - ให้ผนู้ ำหยุดการอ่านทุกครัง้ ทีพ่ บขีดสองขีด ( - - ) ข้างหลังประโยค ซึง่ เป็น เครือ่ งหมายให้ทกุ คนในกลุม่ ร่วมกันหาคำตอบ ให้ผนู้ ำอ่านคำถามซ้ำอีกครัง้ ถ้าจำเป็นโดยผู้นำต้องคอยกระตุ้นให้ทุกคนในกลุ่มร่วมกันแบ่งบันความคิด ด้วยการตอบมากๆ มิใช่เพียงแค่คำตอบเดียวต่อหนึง่ คำถาม ค. การดำเนินการประชุม - ควรให้ผู้เข้ารับการอบรมมีบทบาทเป็นผู้นำการประชุมบ้าง - ผู้นำขอให้คนใดคนหนึ่งก่อสวด


8 - ผูน้ ำอ่านข้อความจากพระคัมภีรด์ ว้ ยเสียงดังฟังชัด ซ้ำย่อหน้า หรือคำถาม ทีส่ ำคัญและหยุดอ่านทุกครัง้ ทีพ่ บขีดสองขีด ( - - ) ข้างหลังประโยค - ผูน้ ำไม่ควรอ่านพระคัมภีรเ์ อง แต่ควรขอให้คนหนึง่ ในกลุม่ อ่านและหมุนเวียน กันอ่านเรื่อยๆ ง. ปิดการประชุมด้วยการขอให้คนหนึง่ ในกลุม่ สวดปิดการประชุมและก่อเพลง จ. ทำการประเมินการประชุม ด้วยคำถามต่อไปนี้ การประเมินผล (หลังจากการเรียนคำสอน ควรมีการ “ประเมินผล” โดยใช้คำถามต่อไปนี้ การประเมินผลจะช่วยให้ปรับปรุงแนวทางการนำกลุ่มให้ดีขึ้น) 1. ในระหว่างการประชุมกลุม่ มีบรรยากาศด้านชีวติ จิตหรือไม่ 2. ผูน้ ำดำเนินการประชุมเป็นอย่างไร - มีแนวการประชุมแบบใดบ้างที่ผู้นำกลุ่มดำเนินการประชุมดีแล้ว - ผูน้ ำดำเนินการประชุมกลุม่ แบบผูใ้ หญ่ตอ่ ผูใ้ หญ่ หรือแบบครูในห้องเรียน - ผูน้ ำดำเนินการประชุมเร็วไปหรือช้าเกินไป หรือไม่ - ผู้นำติดอยู่กับเนื้อหาของแต่ละบท หรือมีการเพิ่มเติมความคิดเห็นและการ อธิบายส่วนตัวด้วยหรือไม่ - ผูน้ ำ “ควบคุม” การประชุมด้วยการพูดมากเกินไปหรือไม่ - ผู้นำสนับสนุนให้สมาชิกในกลุ่มมีส่วนร่วมในการประชุมหรือไม่ 3. ผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มแสดงบทบาทในการประชุมอย่างไร - มีใครในกลุม่ “ควบคุม” การประชุมด้วยการพูดนานเกินไปหรือบ่อยเกินไป โดยไม่เปิดโอกาสให้สมาชิกในกลุ่มได้พูดบ้างหรือไม่ - ผูเ้ ข้าร่วมประชุมฟังกันและกัน ขณะพูดคุยแบ่งปันความคิดหรือไม่ 4. มีสง่ิ ใดเข้ามารบกวนการประชุมกลุม่ หรือไม่


9

จดหมายถึงพีน่ อ้ งคริสตชน พี่น้องที่รัก หนังสือคู่มือเล่มนี้จะเป็นแนวทางสำหรับการจัดการสอนคำสอนในเขตวัดของ ท่าน เราตั้งชื่อหนังสือคู่มือเล่มนี้ว่า “ก้าวไปด้วยกัน” ก็เพราะว่าหนังสือเล่มนี้ จะนำคริสตชนและผู้สมัครเรียนคำสอนก้าวไปด้วยกันบนเส้นทางแห่งความเชื่อ โดยช่วยเหลือกันและกันเพือ่ ไปสูพ่ ธิ ศี ลี ล้างบาปและความเข้าใจในความเชือ่ ทีล่ กึ ซึง้ ยิง่ ขึน้ การเดินทางไปหมู่บ้านเอมมาอูส (OUR JOURNEY TO EMMAUS) เราทุกคนกำลังเดินทางไป หมู่บ้านเอมมาอูส

คริสตชนและผู้เรียนคำสอน ก็เช่นกัน มีพระคริสตเจ้าทรง ร่วมดำเนินไปกับเราด้วย

ก้าวหลักบนเส้นทางสูเ่ อมมาอูสนี้ จะเป็นก้าวสำคัญสำหรับผูท้ ร่ี บั ศีลล้างบาปเช่นกัน (เทียบ ลูกา 24:13-35)


10 ช่วงเวลารู้จักกันครั้งแรก (PERIOD OF FIRST CONTACT) ศิษย์สองคนกำลังแสวงหาความจริงเกี่ยวกับเรื่อง ของพระเยซูคริสตเจ้า เราก็เช่นเดียวกันกำลัง แสวงหาหนทางนัน้ และบางครัง้ อาจรูส้ กึ สับสนบ้าง เหตุน้ี เราจึงต้องการเพือ่ นร่วมเดินทางไปกับเรา ช่วงของการเป็นคริสตชนสำรอง (PERIOD OF THE CATECHUMENATE) พระเยซูคริสตเจ้าทรงอธิบายถึงแผนการของ พระเป็นเจ้าให้แก่ศิษย์ทั้งสองที่กำลังเดินทางไป ยังหมู่บ้านเอมมาอูส ในระหว่างการเรียนคำสอนก็เช่นกัน เรากำลังฟัง พระองค์ พระองค์ทรงร่วมเดินทางไปกับเรา ทรง ชีห้ นทางแก่เรา และทรงทำให้หวั ใจของเราเร่าร้อน ช่วงเวลาแห่งการชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ ในเทศกาลมหาพรต (PERIOD OF LENTEN PURIFICATION) เวลานัน้ ก็มาถึง เมือ่ ท่านตัดสินใจทีจ่ ะเชิญ พระเยซูเจ้าว่า “พระอาจารย์ โปรดพักอยู่กับเรา เถิด เพราะใกล้ค่ำและวันก็ล่วงไปมากแล้ว” เพื่อ เป็นการเชิญพระองค์เข้ามาสู่ชีวิตของท่าน เมือ่ ท่านตัดสินใจแน่วแน่เช่นนีแ้ ล้ว ชือ่ ของท่านก็ถกู จารึกลงในหนังสือทะเบียน สมัครเป็นคริสตชนหรือผู้รับเลือกสรร ระยะเวลาก่อนการล้างบาป เป็นช่วงของการชำระจิตใจให้บริสทุ ธิ์


11 การประกอบพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการเริ่มต้น (CELEBRATION OF THE SACRAMENTS OF INITIATION) ศี ล ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ แ ห่ ง การเริ ่ ม ต้ น ชี ว ิ ต คริ ส ตชน หมายถึงศีลล้างบาป ศีลกำลังและศีลมหาสนิท ศีลเหล่านี้นำเราเข้าสู่พระธรรมล้ำลึกของ พระเป็นเจ้าและเข้าสู่ชุมชนคริสตชน “พวกเขาจำพระองค์ได้เมื่อทรงปิขนมปัง” ช่วงเวลาแห่งการเป็นคริสตชนใหม่ (PERIOD OF DEEPENING) ทีห่ มูบ่ า้ นเอมมาอูส เมือ่ ศิษย์ทง้ั สองจำพระองค์ ได้เมื่อทรงปิขนมปัง การเดินทางแห่งความเชื่อ ของเขาหาได้ยุติเพียงแค่นั้นไม่ พวกเขายังได้ กลั บ มาพบปะกั บ พี ่ น ้ อ งร่ ว มความเชื ่ อ ผู ้ ม ี ประสบการณ์พบกับพระอาจารย์ผู้ทรงกลับคืน พระชนมชีพ พวกเขาต้องทำให้ความเชือ่ ใน พระคริสตเจ้าผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพลึกซึ้ง ยิง่ ขึน้ ด้วยเหตุนี้ พวกเขาจึงกลับไปยังกรุงเยรูซาเล็ม เพือ่ พบกับพีน่ อ้ งร่วมความเชือ่ พวกเขาเพิม่ พูน ความเชื ่ อ ให้ แ ก่ ก ั น และกั น โดยแบ่ ง ปั น ประสบการณ์ ข องตน “พวกเราได้ พ บพระอาจารย์ผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพแล้วจริงๆ”


12

เราตัง้ กลุม่ ผูส้ มัครเรียนคริสตศาสนธรรม ในอดี ต เรารวบรวมผู ้ ส มั ค รเรี ย นคริ ส ตศาสนธรรมและจัดให้พวกเขาเรียนทีเ่ ราเรียกว่า “คำสอน” มันเหมือนกับการเรียนในโรงเรียนทั่วไป ที่มี ครูเท่านัน้ ทีร่ อบรูเ้ รือ่ งต่างๆ เกีย่ วกับความเชือ่ เพียงคนเดียว ส่วนคนอืน่ ๆ ในชัน้ ต้องตัง้ ใจฟัง และท่องสิ่งที่ครูสอน ในปัจจุบนั เราต้องการตัง้ กลุม่ ผูส้ มัครเรียนคริสตศาสนธรรม กลุม่ เหล่านีป้ ระกอบด้วย ผู้สมัครเรียน (CATECHUMENS) พี่เลี้ยง (SPONSORS) และบรรดาคริสตชนในเขตวัด พวกเขามาประชุ ม เพื ่ อ ศึ ก ษาและแสวงหา หนทางแห่งความเชื่อร่วมกัน เราจะตั้งกลุ่มผู้สมัครเรียนคริสตศาสนธรรมได้อย่างไร ถึงแม้วา่ สถานการณ์ของแต่ละสถานทีย่ อ่ มแตกต่างกัน รายงานของพระสงฆ์องค์หนึ่งต่อไปนี้อาจมีประโยชน์และเป็นแรงบันดาลใจสำหรับผู้อื่น เขาเขียนว่า : ขั้นเตรียมการ ช่วงที่ละเอียดอ่อนและยุ่งยากที่สุดในการจัดตั้งกลุ่มผู้สมัครเรียนคริสตศาสนธรรม คือช่วงเตรียมการ เราต้องติดต่อประสานงานกับบรรดาสัตบุรษุ สภาอภิบาล


13 ระดับวัดและผูท้ เ่ี กีย่ วข้องทุกคน เราควรทำให้พวกเขาเข้าใจแนวคิดนี้ และความจำเป็นอย่างเร่งด่วนของการมีกลุ่มผู้เรียนคำสอนขึ้นในเขตวัด การจะทำเช่นนีไ้ ด้ จำเป็นต้องมีการเปลีย่ นแนวความคิดเกีย่ วกับพระศาสนจักร เกีย่ วกับชีวติ คริสตชนและการสอนคำสอน เราต้องอธิบายสิง่ เหล่านีใ้ ห้ชดั เจน เมือ่ เรา ทำความเข้าใจกับพวกเขาเกีย่ วกับการจัดตัง้ กลุม่ ผูเ้ รียนคำสอน เพือ่ เป็นทางเลือกทางใหม่สำหรับวัด โดยปกติจะดำเนินตามขั้นตอนต่อไปนี้  จัดให้มก ี ารประชุมบรรดาครูคำสอนในเขตวัดทัง้ หมด และอธิบายให้พวกเขา ฟังเกี่ยวกับแนวคิดของกลุ่มผู้สมัครเรียนคำสอนและวิธีการใหม่เกี่ยวกับ “การรับเข้ามาเป็นคริสตชน” จากนัน ้ พระสงฆ์และครูคำสอนอธิบายความคิดเดียวกันนีใ้ ห้สภาอภิบาลระดับวัดเข้าใจ ในวันอาทิตย์ใดอาทิตย์หนึง ่ พระสงฆ์ ครูคำสอน พีเ่ ลีย้ ง และคริสตชนสำรอง ผูม้ ปี ระสบการณ์กลุม่ ผูเ้ รียนคำสอน อธิบายสิง่ นีใ้ ห้สตั บุรษุ ฟัง หัวข้อที่จะนำเสนอคือ 1. ผูใ้ ดปรารถนาฟืน้ ฟูความเชือ่ ของตน สามารถมาร่วมกลุม่ ผูเ้ รียนคำสอนได้ 2. วิธกี ารเรียนใช้การแบ่งปันประสบการณ์ความเชือ่ 3. ผูส้ มัครเป็นคริสตชนสำรองเป็นพระพรของชุมชุนของเราและพวกเขาช่วยเรา ให้ฟื้นฟูความเชื่อด้วย


14 อันตรายและความเสี่ยง  อันตรายและความเสี่ยงของการจัดตั้งกลุ่มผู้เรียนคำสอนก็คือ การจัดตั้งขึ้น มาโดยไม่มีบรรดาพี่เลี้ยงร่วมด้วย การหาพี่เลี้ยงที่มีความรับผิดชอบและ มีความกระตือรือร้นเป็นปัญหามาก จึงจำเป็นทีจ่ ะต้องมีการเปลีย่ นแปลง แนวความคิดให้เขา เพราะถ้าไม่มสี ง่ิ นีเ้ ราก็จะวกกลับไปสูร่ ะบบการเรียนคำสอนแบบเก่าๆ เหตุนี้ เราต้องให้สัตบุรุษเข้าใจก่อนว่าผู้เรียนคำสอนนั้นคือ พระพรของพระเป็นเจ้า และการที่เราจะคู่ควรกับพระพรนั้นได้ เราต้อง ต้อนรับเขาเสมือนหนึง่ เป็นพีน่ อ้ งของเรา และเราต้องพร้อมทีจ่ ะก้าวไปด้วยกัน กับเขาบนเส้นทางแห่งความเชื่อ  อันตรายอีกข้อหนึง ่ ก็คอื การแต่งตัง้ ให้ครูคำสอนคนใดคนหนึง่ ให้เป็นผูน้ ำ ของกลุม่ ผูส้ มัครเรียนคำสอน ครูคนนัน้ อาจทำลายกลุม่ ผูส้ มัครเรียนคำสอน ได้หากเขาไม่เปิดใจกว้างสำหรับการเปลีย่ นแปลง และการกลับใจอย่างแท้จริง เพือ่ รับบทบาทใหม่ทแ่ี ตกต่างไปจากเดิมของตนในกลุม่ ผูส้ มัครเรียนคำสอนนี้  เรามีประสบการณ์ถง ึ อันตรายทีเ่ ตรียมคริสตชนสำรอง เพือ่ รับศีลล้างบาป เท่านัน้ หากขาดจิตตารมณ์และการยอมปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนและกิจกรรมต่างๆ อย่างมีความหมาย สมาชิกในกลุ่มผู้สมัครเรียนคำสอน “ตามปกติจำนวนสมาชิกในกลุ่ม ผู้เรียนคำสอนควรจะมาจากเขตวัดเดียวกัน หรือเขตวัดใกล้เคียง”


15 สมาชิกในกลุ่มของผู้เรียนคำสอนได้แก่ ผูท้ ป่ี ระสงค์รว่ มเป็นสมาชิกในชุมชนคริสตชน  ผู้กำลังเตรียมตัวรับศีลมหาสนิทและศีลกำลัง  บรรดาพีเ่ ลีย ้ ง (SPONSORS)  บรรดาคริสตชนที่ประสงค์จะรื้อฟื้นชีวิตแห่งศีลล้างบาปของตน 

สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือ การรื้อฟื้นความเชื่อ ทำให้การกลับใจของตนเติบโตยิ่งขึ้น

และ

การประชุม “พลังสำคัญของกลุม่ ผูส้ มัครเรียนคำสอนก็คอื มิตรภาพแท้จริง และการแบ่งปัน สิ ่ ง นี ้ จ ะเป็ น ไปได้ ก ็ ต ้ อ งอาศั ย การมาร่ ว มประชุ ม ประจำสั ป ดาห์ ก ั น อย่ า งศรั ท ธา และสม่ำเสมอ เราจัดให้มวี นั ทีเ่ รียกว่า “วันแห่งการแบ่งปัน” ปีละ 3-4 ครัง้ ในโอกาสเช่นนี้ ก็จะได้พบปะกับสมาชิกมากขึ้น เมื่อกลุ่มผู้สมัครเรียนคำสอนจากหลายๆ วัด มา ร่วมกันภาวนาและแบ่งปัน” ระยะเวลาของการเรียนคริสตศาสนธรรม “โดยทัว่ ไป การก้าวไปด้วยกันบนเส้นทางแห่งความเชือ่ นีจ้ ะใช้เวลา 2 ปี เริม่ ตัง้ แต่หลังเทศกาลปัสกา (ฉลองพระตรีเอกภาพ) และดำเนินต่อไปถึงเทศกาลปัสกา ถัดไป และสิน้ สุดลงเมือ่ ถึงเทศกาลปัสกาปีทส่ี าม”


16

วิธกี ารใช้พระคัมภีร์ ในการก้าวไปด้วยกันของเรา เราจะใช้ พระคัมภีร์เป็นดุจกระจกส่องดูชีวิตของเรา โดยอาศัยแสงสว่างของพระเป็นเจ้า เราอัญเชิญพระเยซูผท ู้ รงกลับคืนพระชนมชีพมาประทับอยูท่ า่ มกลางเรา โดยอาศัย การอ่านพระคัมภีร์ พระองค์ทรงเป็นองค์พระวจนาถต์ ทรงรับเอากายและประสงค์ทจ่ี ะ อยู่ท่ามกลางเรา  ด้วยเหตุน้ี กลุม่ ผูส้ มัครเรียนคำสอน เปรียบเหมือนบ้านที่เราจะสามารถสัมผัสกับ พระคริสตเจ้าและความบรรเทาของพระองค์ได้ ในกลุม ่ ผูส้ มัครเรียนคำสอนนัน้ เราจะไม่ใช้พระคัมภีร์อย่างที่เราใช้ในระบบโรงเรียน เราใช้พระคัมภีรอ ์ ย่างสำรวมโดยการฟังพระองค์ เราจะไม่กล่าวเกีย่ วกับพระองค์ เราต้องการฟังพระองค์อย่างทีม ่ ารียไ์ ด้นง่ั ฟังอยูแ่ ทบพระบาทของพระองค์ทห่ี มูบ่ า้ นเบธานี (ลูกา 10:39) การศึกษาในเรื่องของ จะเปิดพระคัมภีรไ ์ ด้อย่างไร ซึง่ จะกล่าวไว้ในหน้า 230 วิธก ี ารรวมรวมพระคัมภีรพ์ นั ธสัญญาเดิม จะมีกล่าวไว้ในหน้า 233 วิธก ี ารรวบรวมพระคัมภีรพ ์ นั ธสัญญาใหม่ ซึง่ จะมีกล่าวไว้ใน หน้า 234 วิธก ี ารแบ่งปันพระวาจา 4 วิธี ซึง่ จะมีกล่าวไว้ในหน้า 240-245 


17

วิธกี ารใช้หนังสือกับผูน้ ำกลุม่ (Animator) ผูน้ ำกลุม่ ต้องช่วยให้กลุม่ ผูส้ มัครเรียนคำสอนรูจ้ กั ใช้บทเรียนต่างๆ ในหนังสือเล่มนีร้ ว่ มกัน ต้องไม่ทำตนเป็น “ครู” หรือ “ผูท้ ร่ี อบรูห้ มดทุกอย่าง” ผูน้ ำกลุม่ ต้องให้กำลังใจช่วยให้สมาชิกทุกคนร่วมกันแสวงหา และเดินไปบนเส้นทางแห่งความเชือ่ ซึง่ ได้เริม่ ต้นพร้อมๆ กัน ใครก็ได้ในกลุม่ สามารถเป็นผูน้ ำกลุม่ ได้ หน้าทีข่ องผูน้ ำกลุม่ มีอะไรบ้าง  ผู้นำกลุ่มมีหน้าที่ต้อนรับสมาชิกที่มาเรียนทุกครั้ง  ผูน ้ ำกลุม่ เป็นผูเ้ ชิญชวนสมาชิกภาวนาเริม่ บทเรียน และอ่านเรือ่ งราวในขัน้ มองชีวิตและอ่านพระคัมภีร์... ผู้นำกลุ่มจะไม่ทำทุกอย่างเสียเองทั้งหมด แต่ ต้องเป็นสมาชิกในกลุ่มเป็นผู้ปฏิบัติโดยมีเขาเป็นผู้ทำให้กลุ่มมีชีวิตชีวา  ผูน ้ ำกลุม่ เป็นผูต้ ง้ั คำถามจากบทเรียนในหนังสือเล่มนี้ เขาต้องแน่ใจว่าทุกคน เข้าใจคำถามทุกข้อและหากจำเป็นก็ต้องทวนคำถามอีกครั้ง  หลังข้อความในทีม ่ เี ครือ่ งหมายสองขีด ( - - ) เช่นนีใ้ ห้ผนู้ ำกลุม่ หยุดอ่านและ ให้ทุกคนช่วยกันหาคำตอบ  ผูน ้ ำกลุม่ จะไม่หยุดทันทีเมือ่ ได้คำตอบเพียงข้อเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้สมาชิก คนอืน่ ๆ ได้แสดงความคิดเห็นของเขาบ้าง  ผูน ้ ำกลุม่ จะต้องรูจ้ กั ก้าวไปเป็นขัน้ ตอนสูห่ วั ข้อต่อไป และต้องทราบว่าเมือ่ ใด สมควรที่จะก้าวต่อไป  ผู้นำกลุ่มต้องช่วยให้สมาชิกที่ขี้อายกล้าแสดงความคิดเห็น ช่วยให้เขาได้มี ส่วนร่วมในการอ่านบทอ่าน ร้องเพลงหรือร่วมในกิจกรรมต่างๆ ด้วย  เมือ ่ มีใครถามคำถามขึน้ มา ผูน้ ำกลุม่ อย่าตอบคำถามเองแต่ควรเปิดโอกาสให้ คนอืน่ ได้ตอบกันก่อน โดยตนเอง อาจพูดว่า “ใครมีความเห็นเกีย่ วกับคำถาม นีอ้ ย่างไรบ้าง” หรือมีใครจะช่วยเราตอบคำถามนีบ้ า้ งไหม”


18 วิธีการแบ่ง “กลุ่มย่อย” กลุม่ ย่อย (Buzz Group) คืออะไร เวลาสมาชิกถูกถามพร้อมๆ กัน ปกติคนที่เก่งก็พร้อมที่จะตอบคำถามเสมอ ในขณะที่คนขี้อายไม่มีโอกาสได้ร่วมถกเถียงด้วยเลย เพื่อเป็นการแก้ปัญหานี้พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมกันปรึกษา เราจึงต้องใช้วิธีการแบ่งกลุ่มย่อยซึ่งเป็นสิ่งที่ง่ายและได้ผลดีด้วย กลุม่ ย่อยนีป้ ระกอบด้วย 2-3 คน ทีน่ ง่ั อยู-่ ใกล้ๆ กันในกลุ่ม เมื่อผู้นำกลุ่มบอกให้ ปรึกษากัน คน 2-3 คนนี้ก็หันมาคุยกัน ปรึกษากันตามคำถามทีม่ อบให้ โดยไม่จำเป็นต้องออกจากห้องไป หรือลุกจาก ทีน่ ง่ั พวกเขาจะปรึกษากันเบาๆ เพือ่ ไม่ให้เป็นที่รบกวนแก่กลุ่มที่อยู่ข้างๆ ใน ห้องนั้น เราก็จะได้ยินเพียงเสียงกระซิบกระซาบกันเท่านั้น หากมีคำถามทีย่ ากกว่านีม้ าปรึกษากัน ผูน้ ำกลุม่ สามารถแบ่งกลุม่ ให้ใหญ่กว่าเดิม โดยมีสมาชิกกลุม่ ละ 4-6 คน เราเรียกว่ากลุม่ เล็ก ในแต่ละกรณี เมือ่ หมดเวลาปรึกษากันแล้ว ให้สมาชิกคนหนึง่ ของกลุม่ รายงาน ให้กลุม่ ใหญ่ทราบ ปกติแล้วกลุม่ ย่อยจะใช้เวลาในการปรึกษาไม่เกิน 3-5 นาที ส่วน กลุ่มเล็กอาจใช้เวลามากกว่านั้นแล้วแต่ความยากง่ายของคำถาม


19

ช่วงพบกันครัง้ แรก (PERIOD OF FIRST CONTACT)

เพื่อนที่รัก ท่านต้องการทราบเกีย่ วกับความเชือ่ ของชาวคาทอลิก และต้องการรูว้ า่ พวกเรา เชื่ออะไรบ้าง บทเรียนเหล่านี้จะพบกับพระคริสตเจ้าและกลุ่มคริสตชน ดังนั้นเราจึง เรียกช่วงเวลานีว้ า่ “ช่วงพบกันครัง้ แรก” เราขอต้อนรับพวกท่านเข้ามาเป็นสมาชิก ในพระศาสนจักร หลังจากพบกันครั้งแรกนี้ ถ้าท่านต้องการจะเดินต่อไปบนเส้นทางแห่งความเชื่อท่านก็จะได้เป็นคริสตชนสำรอง


20 1. พระเป็นเจ้าทรงนำทางท่านอย่างไร ผู้นำกลุ่มกล่าวต้อนรับทุกคนและขอให้ใครคนหนึ่งนำสวด จากนัน้ ผูน้ ำกลุม่ ให้สมาชิกคนหนึง่ ในกลุม่ อ่านเรือ่ งของทอม หนึง่ หรือสองครัง้ ก. มองชีวิต ทอมเป็นนักธุรกิจวัยกลางคน เขาแต่งงานแล้ว และมีลกู ทัง้ หมด สีค่ น ทอมเป็นคนขยันทำงานเพือ่ เลีย้ งดูครอบครัวของเขา อย่างไรก็ตาม ทอมมีข้อเสียอยู่อย่างหนึ่งคือ เขาไม่สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเอง ได้ เขามักมีเรือ่ งทะเลาะวิวาทกับภรรยาเสมอ แม้กระทัง่ สิง่ เล็กๆ น้อยๆ ก็สามารถทำให้เขาโกรธได้ เขาก็ทำ เช่นนีก้ บั คนใกล้บา้ นและกับเพือ่ นของเขาด้วย นอกจากนีเ้ ขายังรูส้ กึ อิจฉา เมือ่ เห็นบุคคลเหล่านัน้ ได้ดกี ว่าเขา บ่อยครัง้ ทีเ่ ขาพยายามเอาชนะอารมณ์ และความอิจฉาของตนเองโดยลงทุนถึงขนาดไปกล่าวขอโทษคนทีเ่ ขาพูด หรือทำผิดและทำให้ผอู้ น่ื ต้องเสียใจ มันเหมือนมีบางสิง่ ในใจทีช่ กั ชวนเขา ให้พยายามสมานความสัมพันธ์กบั ผูอ้ น่ื แต่ทว่าทุกอย่างกลับแย่ลงกว่าเดิม ผูค้ นต่างพากันหลบหน้าเขาพร้อมกับพูดว่า “คนนีแ้ ย่มาก อย่าไปสนใจเขา เลย” แบ่งปันความคิดเห็นร่วมกัน (คำถามต่อไปนี้ควรปรึกษากันในกลุ่มย่อย ให้แต่ละคนในกลุ่มย่อยคุยกับเพื่อนที่นั่งข้างๆ เกีย่ วกับคำถามเหล่านีโ้ ดยไม่ตอ้ งออกจากห้อง และก่อนทีผ่ นู้ ำกลุม่ จะถามคำถามใหม่ตอ่ ไป ให้แต่ละกลุม่ ย่อยรายงานต่อกลุม่ ใหญ่กอ่ น)


21 ท่านคิดว่าทอมรูส้ กึ อย่างไรเมือ่ ผูค้ นต่างหลบหน้าเขา - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  ท่านคิดว่าพระเป็นเจ้าทรงมองดูชว ี ติ ของทอมอย่างไร - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  เราเห็นพระเจ้าทรงยืน ่ มือมานำชีวติ ของทอมตอนไหน - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  ท่านเห็นพระเป็นเจ้าทรงยื่นมือมานำชีวิตของท่านเมื่อใด ให้แบ่งปันตัวอย่างประสบการณ์ที่พระเป็นเจ้าทรงคุ้มครองและนำทางในชีวิต ของท่าน - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 

ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า มีคนเป็นจำนวนมากทีม่ ชี วี ติ อยูก่ อ่ นทีพ่ ระเยซูเจ้าทรงบังเกิดมา ดังนัน้ พวกเขา จึงไม่เคยได้ยนิ เรือ่ งเกีย่ วกับพระองค์เลย อย่างไรก็ตามเขาเหล่านัน้ ก็ได้สมั ผัสกับ พระเป็นเจ้าด้วยหลายวิธี และพวกเขาก็ได้แบ่งปันประสบการณ์ของพวกเขาให้เรา ฟังโดยเขียนไว้ในบทเพลงสดุดที ่ี 139 อ่านบทสดุดที ่ี 139:1-14 สรรเสริญพระเจ้าผูท้ รงรอบรู้  ผูแ ้ ต่งบทเพลงสดุดี 139 ได้สมั ผัสกับพระเป็นเจ้าอย่างไร - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  เมือ ่ ใดบ้างทีเ่ ราได้สมั ผัสกับพระองค์เช่นเดียวกันนี้ - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า  ให้ท่านขอบคุณพระเป็นเจ้าด้วยคำพูดของท่านเอง  ขอบคุณพระองค์ที่ทรงคุ้มครองและนำทางท่าน  บอกพระองค์ว่าท่านต้องการให้พระองค์นำทางท่านไป


22 2. การค้นพบพระจิตของพระเจ้าในมรดกและวัฒนธรรม ให้ใครอ่านเรื่องของสุนีย์ให้เราฟัง ก. มองชีวิต สุนยี เ์ ป็นคริสตชนคนเดียวในครอบครัว เมือ่ ถึงวันไหว้พระจันทร์ เธอก็ไปพักผ่อนทีต่ า่ งจังหวัด เพราะเธอไม่รวู้ า่ จะร่วมพิธใี นฐานะคริสตชน ได้อย่างไร เธอควรจุดธูปที่แท่นบรรพบุรุษของครอบครัวและร่วมในพิธีไหว้ บรรพบุรุษหรือไม่ เธอรูส้ กึ เสียใจทีพ่ อ่ แม่กล่าวว่า เธอมิได้เป็นสมาชิกในครอบครัว ต่อไป เพราะเธอมานับถือพระเยซู เธอรูส้ กึ เสียใจมากยิง่ ขึน้ เพราะพ่อแม่ กล่าวหาเธอว่าดูหมิน่ ธรรมเนียมของบรรพบุรษุ และตัดเธอออกจาก ครอบครัว สุนยี ไ์ ม่รจู้ ะตอบพ่อแม่วา่ อย่างไร แบ่งปันความคิดเห็นร่วมกัน (แบ่งสมาชิกออกเป็นกลุม่ ๆละ 3-7 คน ให้ปรึกษากันเกีย่ วกับคำถามต่อไปนี้ แล้วกลับ มารายงานในกลุม่ ใหญ่ภายใน 30 นาที)  เป็นการถูกต้องหรือไม่ทก ่ี ล่าวว่า พระศาสนจักรไม่ยอมรับขนบธรรมเนียมดัง้ เดิม ทัง้ หมด -  จงเขียนรายชื่อของพระเป็นเจ้าในวัฒนธรรมของเรา เอาเฉพาะที่ประชาชน รูจ้ กั ตัง้ แต่กอ่ นทีไ่ ด้ยนิ ชือ่ ของพระเยซูเจ้าหรือของศาสนาอืน่ - -


23 ประเพณีใดของชาติของเรา ทีท่ า่ นได้พบพระจิตของพระเจ้า ให้คดิ ถึงประเพณี ทีท่ ำให้ประชาชนมีความสุขและช่วยให้ดำรงชีวติ อยูร่ ว่ มกันอย่างมีสนั ติภาพ -  ในความคิดเห็นของท่าน มีประเพณีใดบ้างทีไ ่ ม่ได้ทำให้ประชาชนมีความสงบสุข อีกต่อไป แต่กลับสร้างความรูส้ กึ ทีไ่ ม่ดแี ละความอยุตธิ รรม - 

ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า คริสตชนในสมัยแรกเริ่ม ได้ถามนักบุญเปาโลว่า “พวกเราควรจะรักษาขนบ ธรรมเนียมเดิมไว้หรือจะละทิ้งไป” นักบุญเปาโลแนะนำให้พวกเขามองดูขนบธรรมเนียมของตนด้วยสายตาของ พระเจ้าและให้พระจิตเจ้าทรงชีแ้ นะ ท่านบอกให้พวกเรารักษาสิง่ ทีด่ ๆี เอาไว้ อ่าน 1 เธสะโลนิกา 5: 14-22 จงยึดสิง่ ทีด่ งี ามไว้  ให้เราอ่านวรรคที่ 19-22 หลายๆ ครัง ้  มีโอกาสใดบ้างทีเ่ ราตกในอันตรายทีจ ่ ะควบคุมพระจิตเจ้าในตัวเรา - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  นักบุญเปาโลหมายความว่าอย่างไรเมือ ่ ท่านกล่าว “จงทดสอบทุกสิง่ และยึดสิง่ ที่ ดีงามไว้” เราต้องให้อะไรผ่านการทดสอบบ้างและเราจะทดสอบได้อย่างไร - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า พระเจ้าทรงอยู่กับบรรพบุรุษของเราเสมอ พระจิตเจ้าทรงนำทางเราอยู่จนทุก วันนี้ และทรงทำให้เราหลักแหลมยิง่ ขึน้ ให้เราเปิดตัวเองกับพระเป็นเจ้าและมองดู ทุกสิ่งด้วยสายตาของพระองค์ ให้เราภาวนาจากใจของเรา จงวอนขอพระจิตเจ้าช่วยเราให้เห็นว่าสิ่งใดดีหรือสิ่งใดควรแก้ไขในชีวิตของเรา


24 3. การค้นพบแผนการของพระเป็นเจ้าสำหรับท่านและโลก ให้ใครสักคนอ่านเรื่องของสุภาให้พวกเราฟัง ก. มองชีวิต สุภาเป็นครูสาวคนหนึง่ เธอชอบช่วยเหลือผูใ้ หญ่ทจ่ี บแค่ ชัน้ ประถมศึกษาให้ได้รบั การศึกษาต่อเนือ่ งในเวลาเย็น เธอรูด้ วี า่ คนที่ มีความรู้น้อยย่อมเสียเปรียบเพราะด้อยการศึกษา สุภามีแผนการใหญ่ในชีวิต เธอต้องการความก้าวหน้าและ ประสบความสำเร็จในชีวิต แต่สุภาไม่ต้องการไปวัด เธอมักพูดเสมอว่า “ไปวัดแล้วได้อะไร พวกคริสตชนพูดแต่เรือ่ งสวรรค์ ขณะทีพ่ วกเรากำลังทุกข์ทรมานในโลกนี้ พวกเราต้องการความสุขในโลกนี้ ฉะนัน้ ฉันจึงไม่มาเสียเวลากับ การสวดภาวนาหรือการไปวัด สูเ้ อาเวลาไปสอนคนให้อา่ นออกเขียนได้ ดีกว่าไปนั่งอ่านพระคัมภีร์” ให้กลุ่มย่อยปรึกษากันเกี่ยวกับคำถามต่อไปนี้แล้วมารายงานในกลุ่มใหญ่  สาเหตุอะไรทีส ่ ภุ าไม่ยอมไปร่วมกับพีน่ อ้ งคริสตชน -  สุภาต้องการอะไรจากพระศาสนจักร -  ท่านคาดหวังอะไรจากพระศาสนจักร ท่านคิดว่าพระศาสนจักรมีหน้าที่อะไร ในโลกของเรานี้ - -


25 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ให้เราศึกษาพระวาจาของพระเป็นเจ้า ซึง่ แสดงให้เราเห็นแผนการของพระองค์ สำหรับเราและโลกนี้ อ่าน ลูกา 4: 16 -19 พระเยซูเจ้าทีเ่ มืองนาซาเร็ธ ให้เราอ่านพระวาจาตอนนี้ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง  จงเปรียบเทียบข้อความตอนนี้กับทัศนะของสุภาที่ว่า “พวกคริสตชนเอาแต่พูด เรือ่ งสวรรค์อย่างเดียว” - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  ใน ลูกา 4:16 -19 พระเยซูเจ้าทรงเปิดเผยแผนการของพระเป็นเจ้าสำหรับโลก นี้ ท่านคิดอย่างไรเกีย่ วกับแผนการนี้ - พระเป็นเจ้ามีแผนการปลดปล่อยเราให้เป็นอิสระ และพระเยซูเจ้าทรงเป็น ผู้ปลดปล่อยที่ยิ่งใหญ่  นอกจากนี้พระองค์ยังทรงมีแผนการสำหรับเราแต่ละคน พระองค์ทรงต้องการ ปลดปล่อยพวกเราโดยสิ้นเชิง มีอะไรบ้างไหมที่ทำให้ท่านมืดมนในชีวิต ทั้งๆ ทีท่ า่ นมีดวงตาครบ มีอะไรทีก่ ดขีท่ า่ นและทำให้ทา่ นต้องตกเป็นทาสบ้างไหม ทัง้ ๆ ทีท่ า่ นอยากเป็นอิสระ - - (ให้คยุ กับเพือ่ นทีน่ ง่ั ข้างๆเท่านัน้ ไม่ตอ้ งรายงานกลุม่ ) 

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า วันนี้พระเยซูเจ้าทรงเปิดเผยแผนการของพระเป็นเจ้าสำหรับเราและโลกนี้ พระองค์ประสงค์ให้เราทุกคนมีความสุขและได้รบั การปลดปล่อยจากความทุกข์ทรมาน ทั้งสิ้น เราจะยอมรับพระเยซูเจ้าเป็นผู้ปลดปล่อยของเราหรือไม่ 

พระเยซูเจ้าทรงเรียกเราให้รว่ มมือกับพระองค์เพือ่ ปลดปล่อยโลก เราจะทำ อย่างไรเพื่อเอาชนะความโดดเดี่ยวและความยากจนที่อยู่รอบข้างเราขณะนี้


26 4. การค้นพบพลังของไม้กางเขน ให้ใครคนหนึ่งอ่านเรื่องของอารีย์ให้เราฟัง ก. มองชีวิต อารีย์ ได้รับข่าวร้ายว่าสามีของเธอได้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุไฟ ไหม้โรงงาน ขณะทีเ่ ขากำลังทำงานอยูใ่ นโรงงานนัน้ พร้อมกับเพือ่ นอีกสีค่ น อารีย์ รูส้ กึ สิน้ หวัง เธอกับลูกเล็กๆ อีกสีค่ นจะเป็นอย่างไรบ้าง เธอ ยังไม่ทราบ เธอจึงไปหาเพือ่ นบ้านและเล่าความทุกข์ของเธอให้ฟงั จากนัน้ เขาทัง้ สองคนก็นง่ั ร้องไห้ดว้ ยกัน แต่แล้วเพือ่ นบ้านก็ชใ้ี ห้เธอดูไม้กางเขน ที่แขวนบนฝาผนังโดยไม่พูดอะไร อารีย์ จึงเข้าใจว่าพระเยซูเจ้าก็ได้สน้ิ พระชนม์อย่างทรมานบนไม้กางเขน พระองค์เท่านัน้ ทีจ่ ะเข้าใจเธออย่างแท้จริง เธอรูด้ วี า่ เธอไม่ได้ทกุ ข์ทรมานตามลำพัง เมือ่ อารียจ์ ากเพือ่ นมา จิตใจของเธอก็เปีย่ มด้วยความสงบเพราะไม้กางเขนนั้นได้ให้พลังใหม่แก่เธอ แบ่งปันความคิดเห็นร่วมกัน  ทำไมอารียจ ์ งึ ได้รบั ความบรรเทาใจเมือ่ เธอมองดูไม้กางเขน - -(กลุม่ ย่อย,รายงาน)  แบ่งปันประสบการณ์ทท ่ี า่ นเคยมีความทุกข์มากๆให้เพือ่ นข้างๆ ฟัง - มีใครเคยได้รบ ั ความบรรเทาใจและพละกำลังจากไม้กางเขนของพระเยซูเจ้าบ้าง กรุณาแบ่งปันประสบการณ์ - -


27 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า เราเห็นไม้กางเขนแขวนบนผนังห้องเสมอ หลายคนมองดูแล้วก็เห็นแค่ชายคนหนึง่ ถูกตรึงอยูบ่ นนัน้ แต่มบี างคนเห็นมากกว่านัน้ ตัวอย่างเช่น ประกาศกอิสยาห์ได้เล่านิมติ ของท่านเกีย่ วกับพระเยซูเจ้าบนไม้กางเขน ท่านเห็นนิมติ นีเ้ กิดขึน้ ก่อนทีพ่ ระเยซูเจ้าจะถูกตรึงกางเขนจริงๆ เป็นเวลานาน อ่าน อิสยาห์ 53: 2-5  ขณะที่ทุกคนกำลังเงียบให้ผู้นำกลุ่มอ่านข้อความต่อไปนี้อย่างช้าๆ และสำรวม “พวกเราได้รบั การเยียวยาอาศัยพระทรมานทีพ่ ระองค์ทรงรับ” (ซ้ำ 3 ครัง้ )  บนไม้กางเขนนัน ้ พระเยซูเจ้าทรงชนะความทรมานและความตาย อารียไ์ ด้สมั ผัสกับชัยชนะบนไม้กางเขนของพระเยซูเจ้าได้อย่างไร - ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า ไม้กางเขนเตือนใจเราให้ระลึกว่าพระเยซูเจ้าทรงอยูก่ บั เราทุกครัง้ ทีเ่ รามีความยากลำบาก กางเขนของพระองค์ก็คือกางเขนของเรา เราเต็มใจรับพระเยซูเจ้าผู้ถูกตรึงกางเขนเป็นผู้ปลดปล่อยและองค์ความหวังของเราหรือไม่ ให้เราภาวนาจากใจของเรา ให้เรามองดูกางเขนและสนทนากับพระเยซูเจ้า บอกพระองค์ถึงความยากลำบากของเรา ให้เราฝากทุกคนทีท่ กุ ข์ทรมานไว้กบั พระองค์


28 5. การค้นพบความปิติยินดีของการกลับคืนพระชนมชีพ ก. มองชีวิต ให้เราดูรปู และงานของคุณแม่เทเรซา

เห็นอะไรในภาพนีบ้ า้ ง -  มีใครรูป ้ ระวัตชิ วี ติ และงานของ คุณแม่เทเรซาบ้าง - 

ให้ใครคนหนึ่งอ่านเรื่องราวของคุณแม่เทเรซา คุณแม่เทเรซาเป็นนักบวชในศาสนาคริสต์นกิ ายคาทอลิก มา ทำงานในประเทศอินเดีย ท่านเกิดในประเทศยูโกสลาเวีย แต่จากบ้านเกิด เมืองนอนมารับใช้คนยากจนในทุกหนทุกแห่ง ท่านและบรรดานักบวชในคณะของท่านออกไปรวบรวมคนเจ็บป่วยและหิวโหยตามถนนในเมืองกัลกัตตา ประเทศอินเดีย และนำพวกเขา


29 เข้ามาอยู่ในบ้านที่พวกเขาสามารถสิ้นชีวิตอย่างสงบ บรรดานักบวชเหล่านี้เอาใจใส่พวกเขาด้วยความรัก ดั่งแม่ที่ เอาใจใส่ลกู ๆ ทีก่ ำพร้าทนทุกข์ คนทีไ่ ปเยีย่ มต่างก็แปลกใจเมือ่ เห็นบรรดา นักบวชทำสิ่งเหล่านี้ด้วยใบหน้าที่ยิ้มแย้มและใจเบิกบาน ในบ้านอีกหลังหนึ่ง คุณแม่เทเรซาและนักบวชของท่านได้ดูแล พวกคนโรคเรือ้ น และรักษาแผลทีส่ ง่ กลิน่ เหม็น ดูแลพวกเขาด้วยความรัก และเอาใจใส่ วันหนึ่งนักบวชสาวคนหนึ่งมาขออนุญาตคุณแม่ว่า “คุณแม่คะ โปรดให้ดิฉันออกไปหาคนยากจนและทุกข์ทรมานในถนนด้วยเถอะ” คุณแม่เทเรซาจึงมองดูหน้านักบวชสาวคนนัน้ พอเห็นสีหน้าโศกเศร้าของเธอ คุณแม่จงึ บอกเธอว่า “อย่าเลยลูก กลับไปพักผ่อนก่อนเถอะ เธอไม่สามารถดูแลคนยากจนด้วยหัวใจทีห่ ดหูเ่ ช่นนีไ้ ด้ เราต้องนำความปิตยิ นิ ดี ไปให้คนยากไร้ ท่านคิดว่าทำไมคุณแม่เทเรซาและนักบวชของท่านจึงเอาใจใส่คนทีถ่ กู ทอดทิง้ และ ทุกข์ทรมานเหล่านีไ้ ด้ดว้ ยความร่าเริงยินดี - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)



ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า เมื่อเราฟังพระวาจาของพระเป็นเจ้าในวันนี้ เราจึงได้คำตอบสำหรับคำถามที่ ว่า “ทำไมคุณแม่เทเรซาและนักบวชของท่านจึงสามารถยิม้ แย้มท่ามกลางความทุกข์ทรมานเหล่านั้นได้”


30 อ่าน กิจการอัครสาวก 2: 22-28 เปโตรปราศรัยต่อหน้าประชาชน ในจดหมายฉบับนี้นักบุญเปโตรได้ประกาศถึงการสิ้นพระชนม์และการกลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจ้า ให้อา่ นข้อ 25-28 อีกครัง้ และหาคำทีก่ ล่าวถึงความยินดี -  ทำไมเราจึงกล่าวได้วา ่ การกลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจ้าเป็นเหตุผลที่ ทำให้คุณแม่เทเรซาและนักบวชของท่านมีความสุขท่ามกลางความทุกข์ทรมาน ทีพ่ วกเขาพบเห็น - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า พระเยซูเจ้าทรงกลับคืนพระชนมชีพและประทับอยู่ท่ามกลางเรา จงเล่าให้เพือ่ นทีอ่ ยูข่ า้ งๆ และกลุม่ ฟังถึงเหตุการณ์ทท่ี า่ นมีความปิตยิ นิ ดี เมือ่ รู้ว่าพระองค์ทรงอยู่กับท่าน


31 6. เราได้ยินเสียงเรียกของพระคริสตเจ้า ให้เราดูรูปของชูชาติ ก. มองชีวิต

ท่านเห็นอะไรในรูปนี้  ชูชาติมองเห็นคนกำลังไปวัดวันอาทิตย์กน ั เขาอาจถามตนเองว่า “ผมจะเข้าร่วม กับพวกคริสตชนดีไหม” มีเหตุผลอะไรบ้างทีเ่ ขาควรจะเป็นคริสตชน - (กล่มย่อย, รายงาน)  อะไรเป็นเหตุผลไม่ถก ู ต้องในการทีช่ ชู าติจะเป็นคริสตชน - 

บางทีเราอาจไม่รเู้ หตุผลจริงๆ ว่าทำไมเราต้องการเป็นคริสตชน หรือทำไมเรา จึงเป็นคริสตชน อย่างไรก็ดี เราควรรู้ว่าเป็นพระจิตของพระคริสตเจ้าผู้กลับคืนพระชนมชีพทรงเรียกเรา


32 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ให้เรามาดูการที่พระเยซูเจ้าทรงเรียกบรรดาศิษย์ อ่าน มัทธิว 4: 12-22 พระเยซูเจ้าทรงเรียกศิษย์ชดุ แรกสีค่ น

เราเห็นอะไรบ้างและมีอะไรกำลังเกิดขึน้ -  ให้เราทุกคนอยูใ่ นความสงบขณะทีผ ่ นู้ ำกลุม่ อ่านประโยคต่อไปนีอ้ ย่างช้าๆ และ สำรวม “จงตามเรามาเถิด...” (อ่านซ้ำสามครัง้ )  พระเยซูเจ้าทรงเรียกร้องอะไรจากผูท ้ ต่ี ดิ ตามพระองค์บา้ ง ให้เราดูขอ้ 17 และ 22 (อ่านสองข้อนีใ้ นใจแล้วบอกเพือ่ นของท่านว่าท่านได้พบอะไรบ้าง) - ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า  ภาพของชูชาติและภาพของพระเยซูเจ้าเกี่ยวข้องกันอย่างไร (อภิปรายกันในกลุม่ ) -  พระเยซูเจ้าทรงเรียกเราเช่นกันว่า “จงตามเรามาเถิด” เราต้องละทิง้ อะไรบ้าง ถ้าเราต้องการติดตามพระองค์ไป - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)


33 7. เราได้รับเชิญให้มาเป็นประชากรของพระเป็นเจ้า ก. มองชีวิต จงดูรปู ข้างล่างนี้ แล้วบอกว่าเราเห็นอะไรบ้าง มีอะไรผิดปกติกับคนที่อยู่ในรูปนี้บ้าง

จงให้เหตุผลว่าทำไมมนุษย์เราและประเทศต่างๆ จึงไม่สามารถอยูก่ นั อย่างสันติ ได้ - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  มีสิ่งใดที่เกิดขึ้นเหมือนกันในหมู่บ้าน ในเมือง หรือในประเทศของเราบ้างไหม (อภิปรายในกลุม่ ใหญ่) - - ทำไมจึงเกิดขึน้ ได้ (อภิปรายในกลุม่ ใหญ่) - มนุษย์แบ่งพรรคแบ่งพวกและต่อสูก้ นั บ้างก็อยากเป็นใหญ่และร่ำรวยกว่าคนอื่น คนบางกลุ่มหรือบางเผ่าต้องการปกครองอีกกลุ่มหนึ่ง ความอิจฉาและริษยา ครอบงำชีวิตและการกระทำของพวกเขา อย่างไรก็ตาม นัน่ ไม่ใช่พระประสงค์ของพระเป็นเจ้า พระเยซูเจ้าทรงบังเกิดมา เพือ่ รวบรวมมนุษย์ให้เป็นหนึง่ เดียวกัน นีค่ อื พระประสงค์ของพระบิดา 


34 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า อ่าน มาระโก 3: 31-35 มารดาและพีน่ อ้ งของพระเยซูเจ้า ให้เราดูรูปนี้

เราเห็นอะไร มีอะไรกำลังเกิดขึน้ บ้าง -  ให้เราทุกคนเงียบขณะที่ผู้นำกลุ่มอ่านประโยคต่อไปนี้อย่างช้าๆและสำรวม “นีค่ อื มารดาและพีน่ อ้ งเรา” (อ่านซ้ำสามครัง้ ) 

ในวัฒนธรรมของเรา ใครบ้างทีเ่ ป็นพีน่ อ้ งของเรา - -

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า  ให้เราเปรียบเทียบสองภาพในบทเรียนนี้ วิธใี ดทีเ่ ป็นวิธข ี องพระเยซูเจ้าในการ เอาชนะการแบ่งแยกและการต่อสู้ระหว่างคนในสังคม ให้กลับไปดูมาระโก 3: 31-35 - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  ให้ยกตัวอย่างว่าพวกคริสตชนอยูก ่ นั อย่างฉันพีน่ อ้ งได้อย่างไร (อภิปรายใน กลุม่ ใหญ่) - เมือ่ ใดบ้างทีเ่ ขาล้มเหลวในเรือ่ งนี้ (อภิปรายในกลุม่ ใหญ่) - เราได้รบั เชิญให้มาเป็นประชากรของพระเป็นเจ้า และยอมรับซึง่ กันและกัน ฉันพีน่ อ้ ง


35

ช่วงของการเป็นคริสตชนสำรอง (PERIOD OF THE CATECHUMENATE) พี่น้องที่รัก ท่านแสดงให้เราเห็นแล้วว่า ท่านตัดสินใจที่ดำเนินต่อไปบนทางความเชื่อนี้ ฉะนัน้ กลุม่ คริสตชนขอต้อนรับท่านเข้าสู่ “พิธตี อ้ นรับผูส้ มัครเรียนคำสอน” ท่านเป็นผูส้ มัครเรียนคำสอน (catechumen) ซึง่ หมายถึงคนทีถ่ กู นำเข้าสูห่ นทาง ของพระคริสตเจ้า ในฐานะสมาชิกชุมชนคริสตชน และในหนทางสูค่ วามสัมพันธ์ในพระคริสตเจ้า พี่เลี้ยงของท่านจะต้อนรับท่านให้มีส่วนในชีวิตของชุมชน และช่วยท่านในเวลารับ การอบรมคริสตศาสนธรรม ให้เข้าใจความเชือ่ ดียง่ิ ขึน้

พระศาสนจักรขอต้อนรับท่านด้วย “พิธตี อ้ นรับผูส้ มัครเรียนคำสอน” “ผูเ้ รียนคำสอนเหล่านี้ พระศาสนจักรได้เอาใจใส่ถอื เป็นลูกของตน และรวมเข้า อยูใ่ นพระศาสนจักรแล้ว และถือว่าอยูใ่ นพระเคหะของพระคริสตเจ้าแล้ว” (RCIA 18) ให้ดจู ารีตพิธนี ใ้ี นหน้า 251-264 พร้อมทัง้ ระยะเวลาของจารีตพิธนี ้ี


36 การเลือกพี่เลี้ยง (SPONSORS) พีเ่ ลีย้ งควรเป็นบุคคลทีม่ สี ว่ นร่วมอย่างแข็งขันในกิจกรรมต่างๆ ภายในเขตวัด และขอแนะนำให้ทา่ นเลือกพีเ่ ลีย้ งทีม่ สี ภาพชีวติ เช่นเดียวกันกับตน เช่น ถ้าท่านเป็น ผู้ที่สมรสแล้วควรเลือกพี่เลี้ยงที่แต่งงานแล้ว บุคคลเหล่านี้จะเข้าใจชีวิตของคู่สมรส ดีกว่าผู้ที่ไม่ได้แต่งงาน หน้าที่ของพี่เลี้ยง

พีเ่ ลีย้ งมีหน้าทีใ่ นการเข้าร่วมเรียนคำสอนกับผูส้ มัคร และร่วมในการตัง้ กลุม่ ผู้เรียนคำสอน  พี่เลี้ยงต้องแบ่งปันความเชื่อและช่วยพวกเขาให้เข้าใจในความเชื่อ  พี่เลี้ยงต้องเป็นผู้นำในการเรียนคำสอนในฐานะเป็นผู้นำกลุ่ม ตามคำแนะนำใน คู่มือนี้  พี่เลี้ยงต้องนำผู้สมัครเข้าร่วมกับกลุ่มคริสตชน  พี่เลี้ยงกับผู้สมัครควรมี “กิจกรรม” ร่วมกันบ้าง เช่น เยี่ยมผู้ป่วย การจัดบ้าน แบบคริสตชน ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการดำเนินชีวติ  ถ้าพี่เลี้ยงหรือสมาชิกของชุมชนคริสตชนที่ได้รับมอบอำนาจจากพระสังฆราช อวยพรผูส้ มัครระหว่างเรียนคำสอนและภาวนา “บทภาวนาละทิง้ ความชัว่ ” เพือ่ ผูส้ มัคร (ดูหน้า 265-270) 


37 หน้าที่ของผู้เรียนคำสอนในพันธกิจของพระศาสนจักร เมือ่ คุน้ กับการบำเพ็ญชีวติ แบบคริสตชน และได้เห็นแบบฉบับ กับได้รบั ความ ช่วยเหลือจากพีเ่ ลีย้ ง (SPONSORS) และพ่อแม่อปุ ภัมภ์ (GODPARENTS) และชุมชน สัตบุรษุ ทัง้ หมด เขาก็เกิดความคุน้ เคย ภาวนาขอพระเป็นเจ้าได้งา่ ยขึน้ รูจ้ กั แสดง ความเชือ่ นำคนอืน่ มาสนใจพระคริสตเจ้า ประกอบกิจการตามการดลใจของเบือ้ งบน และปฏิบัติความรักต่อเพื่อนมนุษย์จนถึงกับสละน้ำใจของตนเอง เมื่อได้รับการสอน เช่นนี้ (RCIA ข้อ 19.2) ผู้เรียนคำสอนมีหน้าที่เผยแผ่พระวาจาและ เสริมสร้างพระศาสนจักร (RCIA ข้อ 19.4) ใน ฐานะทีผ่ เู้ รียนคำสอนเป็นสมาชิกคนหนึง่ ของ พระศาสนจักร ด้วยเหตุนจ้ี งึ มีหน้าทีใ่ น พระศาสนจักรดังนี้ สร้างสันติในครอบครัว ในทีท ่ ำงาน ... มีสว ่ นร่วมในการแบ่งปันพระวาจา ตกแต่งบ้านด้วยเครือ ่ งหมายอย่างคริสตชน (กางเขน, รูปภาพ ...) เยีย่ มผูป้ ว่ ย แบ่งปันสิง ่ ทีเ่ ห็นและได้ยนิ ในชัว่ โมงเรียน คำสอนกับเพื่อนๆ มีสว ่ นร่วมในงานต่างๆของพระศาสนจักร ซึ่งเป็นการปรับปรุงวิธีการดำเนินชีวิต ชุมชน มีแผนงานทีเ่ ป็นรูปธรรมในการแก้ปญ ั หา ต่างๆ ตามทีเ่ ขียนไว้ในบทเรียนในคูม่ อื นี้ 


38

ความเชือ่ ของบรรพบุรษุ บทเรียนที่ 8-12 8. แบบอย่างความเชื่อที่ยิ่งใหญ่ ก. มองชีวิต เราทุกคนต่างก็รกั ปู่ ย่า ตา ยาย และบรรพบุรษุ ของเรา บุคคลเหล่านีใ้ ห้กำเนิด ชีวิตแก่เรา เราเหมือนพวกท่านคือ เราพูดภาษาและดำเนินชีวิตตามแบบอย่างท่าน เรายังมีบรรพบุรษุ ร่วมความเชือ่ เดียวกันด้วย บุคคลเหล่านีเ้ ชือ่ ในพระผูเ้ ป็นเจ้าเมือ่ ยัง มีชีวิตอยู่และได้ให้แบบอย่างความเชื่อที่ลึกซึ้งแก่เรา พวกท่านได้ให้แรงดลใจแก่เรา และเป็นแบบอย่างความเชื่อที่ยิ่งใหญ่แก่เรา วันนีเ้ ราจะฟังสองตัวอย่างเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ เรือ่ งแรกเป็นเรือ่ งของแมต ทาลบอท ซึง่ อยูใ่ นสมัยของเรา เรือ่ งทีส่ องเป็นเรือ่ งของอับราฮัม บิดาของผูม้ คี วามเชือ่ ใน พระเป็นเจ้า

นีค่ อื ภาพของ แมต ทาลบอท (Matt Talbot) ให้ใครคนหนึ่งอ่านเรื่องของเขาให้ทุกคนฟัง


39 แมต ทาลบอท (ค.ศ. 1856-1925) อาศัยในเมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ เมื่อมีอายุได้สิบสองปี เขาถูกส่งไปทำงานในร้านขายสุรา เขาดื่มเหล้าอย่างมาก เมื่ออายุได้สิบหกปีเขาก็เป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง แมต ทาลบอทต้องการเงินอยูเ่ ป็นประจำ เขายืมบ้าง ขายรองเท้าของเขาและ แม้กระทัง่ ขโมยเงินจากขอทานตาบอด ต่อมาเมือ่ เขาสารภาพเรือ่ งนีก้ บั คุณแม่ ทำให้หวั ใจของแม่แทบแตกสลาย แมตต้องการเพียงสิง่ เดียวเท่านัน้ คือ ดืม่ เหล้า แต่แล้วก็มีบางอย่างเกิดขึ้นกับแมต เมื่อเขาอายุได้ยี่สิบแปดปี ขณะที่เขา ไม่มเี งินแม้สลึงเดียว เขาดักอยูห่ น้าร้านขายสุรา ยืนคอยเพือ่ นทีผ่ า่ นไปมาและขอ ให้พวกเขาซื้อเหล้าให้ตัวเองดื่ม แต่พวกนั้นกลับปฏิเสธเขาพร้อมกับหัวเราะเยาะ แมตตกใจมาก เขาแทบไม่เชื่อเลยเหมือนโดนฟ้าผ่า “ฉันไม่มีเพื่อนแท้สักคนเลย หรือ” จากประสบการณ์น้ี ทีพ่ ระเป็นเจ้าทรงเรียกแมต และเขาก็ตดิ ตามเสียงเรียก ของพระองค์โดยละทิง้ 14 ปีแห่งการเป็นขีเ้ มาไว้เบือ้ งหลัง การกระทำนีไ้ ม่ใช่ของ ง่ายสำหรับเขาเลย เป็นความทรมานอย่างมากสำหรับเขา บ่อยครัง้ เขาต้องการใช้เวลาส่วนใหญ่สวดภาวนาเบื้องหน้าไม้กางเขน แมตต้องทำงานอย่างหนักเพือ่ ใช้หนีส้ นิ และช่วยเหลือผูท้ ต่ี กทุกข์ได้ยาก ต่อมาเขาร่วมกับสหภาพแรงงานเพื่อต่อสู้กับบริษัทที่เขาทำงานอยู่ เพื่อ ต่อต้านความอยุติธรรมและสภาพของการทำงานที่เลวร้าย แมตไม่เคยหวนกลับสู่วิถีชีวิตแบบเก่าของเขา และไม่เคยดื่มเหล้าอีกเลย จนกระทัง่ วันทีเ่ ขาเสียชีวติ เมือ่ อายุได้ 69 ปี ปัจจุบันนี้คนเป็นจำนวนมากไปเยี่ยมที่หลุมฝังศพของเขา และนับถือเขา เหมือนเป็นนักบุญองค์หนึ่ง


40 แมต ทาลบอท ได้ตอบสนองการเรียกของพระเป็นเจ้าอย่างไร (อภิปรายในกลุม่ ถ้าจำเป็นให้อ่านเรื่องอีกครั้ง) ท่านรูจ ้ กั ใครบ้างไหมทีไ่ ด้เปลีย่ นวิถชี วี ติ ของตนเหมือนแมต ทาลบอท - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 

ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า อับราฮัม (Abraham) เป็นบิดาของผูม้ คี วามเชือ่ ในพระเป็นเจ้า ท่านดำรงชีวติ ประมาณ 4000 ปีทแ่ี ล้ว แต่ความเชือ่ ของอับราฮัมมีชวี ติ ในเราสมัยปัจจุบนั นี้ ท่านเป็น แบบอย่างของความเชื่อที่ยิ่งใหญ่สำหรับทุกคน อ่าน ปฐมกาล 12: 1-5 พระเป็นเจ้าทรงเรียกอับราฮัม

อภิปรายในกลุม่ ย่อย 10 นาที จากนัน้ กลับมารายงานในกลุม่ ใหญ่


41 ทำไมเราจึงขนานนามอับราฮัมว่าเป็นบิดาแห่งความเชือ่ -  อับราฮัมต้องละทิง ้ อะไรเบือ้ งหลังบ้าง เมือ่ พระเป็นเจ้าทรงเรียกท่าน (ศึกษาข้อที่ 1) -  พระเป็นเจ้าทรงสัญญาอะไรกับอับราฮัม (ศึกษาข้อที่ 2 และ 3) - 

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า  เราได้เริม ่ ออกเดินทางไปบนเส้นทางแห่งความเชือ่ เช่นกัน แล้วเราละทิง้ “ชีวติ เก่า” หรือไม่ - - (อภิปรายในกลุม่ ใหญ่)  ให้เราวอนขอพระเป็นเจ้าประทานความเชื่อที่มั่นคงแก่เรา ขอเชิญทุกคนภาวนาตามความต้องการจากใจ


42 9. พระเป็นเจ้าทรงสดับฟังเสียงร้องของเรา ก. มองชีวิต เราแต่ละคนเผชิญกับความยากลำบากในบางช่วงของชีวิต ในเวลานั้นเรา ต้องการความช่วยเหลือ เราร้องขอความช่วยเหลือ มีความยากลำบากบางประการ ทีม่ ผี ลกระทบต่อชุมชนทัง้ หมด ต่อประเทศและต่อทุกคนบนพืน้ แผ่นดิน ประชาชาติ ทั้งมวลต่างร้องขอความช่วยเหลือ

เราเห็นความยากลำบากอะไรบ้างในรูปนี้ -  จงดูรป ู ผูช้ ายทีก่ ำลังพูดกับประชาชน เขาอาจเป็นนักการเมือง คุณคิดว่าเขากำลัง สัญญาอะไรกับประชาชน  ให้แบ่งปันกลุม ่ ย่อย กลุม่ ละ 4-6 คน และอภิปรายกันถึงคำถามต่อไปนี้ “มีความทุกข์ทรมานอะไรบ้างที่มีผลต่อประชาชาติทั้งมวล” (หลังจาก 5 นาที ให้แต่ละกลุม่ รายงานให้กลุม่ ใหญ่ฟงั ) - 


43 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า พระเป็นเจ้าทรงเอาพระทัยใส่ต่อความทุกข์ยากของประชากรของพระองค์ อ่าน หนังสือ อพยพ 2:23 -25 และ 3:1-12 : พระเป็นเจ้าทรงเรียกโมเสส

จงอธิบายว่าเกิดอะไรขึน้ ในภาพนี้ -  ให้ทก ุ คนเงียบ ผูน้ ำกลุม่ อ่านข้อความเหล่านีช้ า้ ๆ และสำรวม “เรารูถ้ งึ ความทุกข์รอ้ นต่างๆของเจ้า” (3 ครัง้ ) “เราเห็นความทุกข์รอ้ นของประชากรของเรากำลังประสบ” (3 ครัง้ ) “เราลงมาเพือ่ ช่วยพวกเจ้าให้รอด” (3 ครัง้ ) ให้ทกุ คนเงียบสัก 2 นาที และรำพึงถึงข้อความเหล่านี้ (ให้ทกุ คนในกลุม่ หาคำตอบของคำถามเหล่านีใ้ นพระคัมภีร์ แล้วรายงานให้ กลุ่มใหญ่ฟังถึงข้อความที่พบ) 

เรารูไ้ ด้อย่างไรว่าพระเป็นเจ้าทรงเอาพระทัยใส่ในทุกข์รอ้ นต่างๆ ของประชากรของ พระองค์ (ดู ข้อ 7-10 และ 12) - -


44 เรารูไ้ ด้อย่างไรว่าพระเป็นเจ้าต้องการให้ประชากรของพระองค์มสี ว่ นร่วมกับพระองค์ ในการต่อสูเ้ พือ่ ปลดปล่อยให้เป็นอิสระ - - (กลุม่ ย่อย รายงาน)



ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า พระเป็นเจ้ายังทรงสดับฟังเสียงร้องของเราในปัจจุบัน พระองค์ทรงร่วมต่อสู้ เคียงบ่าเคียงไหล่กบั เรา ในทุกวันนีพ้ ระองค์ยงั คงใช้บรรดาผูน้ ำทัง้ หลายต่อสูก้ บั ความ ชั่วร้ายและความทุกข์ทรมาน ท่านเป็นหนึง่ ในบรรดาผูน้ ำเหล่านีด้ ว้ ยมิใช่หรือ ท่านรับผิดชอบชีวติ ของใครอยู่ บางทีทา่ นเป็นบิดาหรือมารดา พระองค์ทรงเรียกท่าน ปรารถนาให้ทา่ นปกป้องดูแล ครอบครัวของท่าน ถ้าท่านเป็นครู พระองค์ทรงเรียกท่านให้สอนหนังสือแก่บรรดาเด็กๆที่ไม่รู้ หนังสือ เราจะไม่ร่วมรับผิดชอบถึงสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นในประเทศของเราหรือ พระองค์ ทรงเรียกเราให้ลุกขึ้นต่อสู้กับการกดขี่และความอยุติธรรมในรูปแบบต่างๆ (ให้เราอภิปรายถึงคำถามต่อไปนีใ้ นกลุม่ ย่อยประมาณ 5-7 นาที และกลับมา รายงานในกลุ่มใหญ่)  ในปัจจุบน ั พระเป็นเจ้าติดต่อกับเราอย่างไร ทำไมเราถึงพูดว่าพระเป็นเจ้าตรัสกับ เราผ่านทางสิง่ ต่างๆ รอบตัวเรา - 

ทำไมพวกเราทุกคนต้องร่วมรับผิดชอบ (ไม่เฉพาะแต่บรรดาผู้นำเท่านั้น) เอาชนะความทุกข์ทรมานและการกดขี่ของพี่น้องของเรา

เพื่อ


45 ให้เราภาวนาจากใจจริง ให้เราภาวนาเพือ่ บรรดาผูน้ ำของเรา เพือ่ พระเป็นเจ้าประทานปรีชาญาณและความ กล้าหาญ ให้สามารถบริหารประเทศด้วยความยุตธิ รรม ให้เกิดสันติภาพและความ สมานฉันท์ภายในประเทศ  ให้เราภาวนาเพื่อบรรดาผู้ถูกกดขี่เหงเพราะเห็นแก่ความยุติธรรม  ให้เราภาวนาเพือ ่ บรรดาผูป้ ฏิบตั ติ อ่ ผูอ้ น่ื อย่างอยุตธิ รรม ให้พวกเขาสำนึกผิดและ ปรับปรุงชีวิต 

บทเสริม ใช้วธิ กี าร “รู-้ รับ-รัก” (Look , Listen ,Love) ในหน้า 243 วิธีการนี้จะช่วยให้ท่านเห็นปัญหาอาศัยความสว่างของพระเป็นเจ้า และคริสตชนใช้วธิ กี าร “รู-้ รับ-รัก” ค้นหาไปพร้อมๆ กัน

ผู้เรียนคำสอน


46 10. เลือดแห่งอิสรภาพ ก. มองชีวิต พระเป็นเจ้าทรงสดับฟังเสียงร้องของประชากรของพระองค์อยูเ่ สมอ ตัง้ แต่สมัย โมเสส ประมาณ 1,300 ก่อน ค.ศ. จนกระทัง่ ปัจจุบนั พระเป็นเจ้าประทับอยูก่ บั บุคคล ผู้ยอมสละเลือดเนื้อของตนเพื่อปลดปล่อยผู้อื่นให้เป็นอิสระ หนึง่ ในบรรดาบุคคลผูย้ อมสละเลือดของตนเพือ่ เพือ่ นพีน่ อ้ งคือ มาร์ตนิ ลูเธอร์ คิง (15 ม.ค. 1929 - 4 เม.ย. 1968) เลือดของเขากลายเป็นสัญลักษณ์วา่ เขายอม สละตนเองอย่างแท้จริงเพื่อความอยู่รอดของเพื่อนพี่น้อง ท่านรูอ้ ะไรบ้างเกีย่ วกับชีวติ ของ มาร์ตนิ ลูเธอร์ คิง (Martin Luther King) - -



ให้คนหนึง่ อ่านเรือ่ งราวของ มาร์ตนิ ลูเธอร์ คิง

มาร์ตนิ ลูเธอร์ คิง เป็นเจ้าวัดและนักเทศน์ เขาได้รบั การยกย่องว่าเป็นหนึง่ ในบรรดาผู้ปลดปล่อยประชาชนชาวอเมริกันที่มาจากทวีปแอฟริกา


47 ในวันที่ 4 เมษายน ปี ค.ศ. 1968 คิงกำลังยืนอยูต่ ามลำพังบนระเบียงของ โรงแรมแห่งหนึง่ เพือ่ นๆ กำลังคอยเขาเพือ่ ร่วมรับประทานอาหารเย็นด้วยกัน ไม่กน่ี าทีตอ่ มา คิงถูกยิงล้มลง ขณะทีเ่ ขาหลัง่ เลือดเพือ่ เพือ่ นพีน่ อ้ งชาวผิวดำ เขาอายุ 39 ปี ทำไมเขาถูกฆาตกรรม มาร์ตนิ ลูเธอร์ คิง ถูกฆาตกรรมเพราะว่าเขายืนขึน้ ต่อสูก้ บั ความอยุตธิ รรมในประเทศสหรัฐอเมริกา เขาเรียกร้องสิทธิทเ่ี ท่าเทียมกัน สำหรับคนผิวดำ คนผิวขาวในประเทศอเมริกาออกกฎหมายบังคับให้คนผิวดำ เป็นประชากรชัน้ ทีส่ อง กฎหมายเหล่านีบ้ งั คับให้เด็กๆ ผิวดำต้องออกจาก โรงเรียน ห้ามคนผิวดำนัง่ เก้าอีข้ องคนผิวขาวบนรถเมล์และตามสถานทีส่ าธารณะ มาร์ตนิ ลูเธอร์ คิง ให้แรงบันดาลใจแก่คนผิวดำลุกขึน้ เรียกร้องเพือ่ สิทธิของ ตนเองโดยไม่ใช้วิธีรุนแรง คนผิวดำใช้วิธีการเดินขบวนอย่างสงบ การเจรจา และร่วมกันคว่ำบาตร (บอย-ค็อท) แม้คงิ จะชังกฎหมายทีช่ ว่ั ช้าแต่เขาไม่รงั เกียจ ศัตรูผิวขาวผู้ออกกฎหมายเหล่านั้น แต่แล้วเขาถูกยิง อย่างไรก็ตามเลือดของคิงยังเข้มข้นกว่ากระสุนปืนแห่ง ความเกลียดชัง การตายของเขาปลุกประชาชนอเมริกาขึน้ มา มีการร่างกฎหมาย ขึ้นใหม่ สิทธิของคนผิวดำได้รับการยอมรับ วันตายของคิงได้รับการยอมรับว่า เป็นการนำการปลดปล่อยสำหรับคนผิวดำ ปัจจุบันเมืองใหญ่ๆ หลายเมืองใน ประเทศอเมริกาบริหารโดยนายกเทศมนตรีผิวดำ บางคนกล่าวว่ากฎหมายสำหรับอิสรภาพของคนผิวดำมิได้เขียนด้วยหมึก แต่ดว้ ยเลือดของมาร์ตนิ ลูเธอร์ คิง ให้พดู คุยกันถึงคำถามดังต่อไปนี้ (หลังจาก 5-7 นาที) แล้วกลับมารายงานต่อกุลม่ ใหญ่


48 ทำไมเรากล่าวว่าเลือดของมาร์ตนิ ลูเธอร์ คิง ช่วยเพือ่ นพีน่ อ้ งของเขาให้รอด (จงให้เหตุผล) -  ท่านรู้จักใครอีกบ้างซึ่งต้องทนทุกข์เป็นอันมากเพราะต้องการช่วยเหลือคนอื่น จงระลึกถึงเหตุการณ์ในชีวติ ของท่านเองด้วย เมือ่ ท่านต้องทนทุกข์เพราะการ ช่วยเหลือคนอืน่ - 

ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ในอดีตของชาวอิสราเอล พวกเขาได้รับการปลดปล่อยจากการเป็นทาสใน อียปิ ต์ดว้ ยสัญลักษณ์ของเลือด ชาวอิสราเอลเชือ่ ในพระเป็นเจ้า เหตุฉะนัน้ พวกเขา จึงทาวงกบประตูบ้านด้วยเลือดแกะปัสกา อ่าน หนังสืออพยพ 12:1-14 พิธปี สั กา (The Passover)

เราเห็นอะไรในภาพนี้


49 ทำไมเรากล่าวว่าเลือดบนประตูเป็นสัญลักษณ์แห่งความเชื่อในพระเป็นเจ้า - (อภิปรายกันในกลุม่ ย่อย และรายงาน)  ทำไมเลือดแกะเตือนเราระลึกถึงพระเยซูเจ้าบนไม้กางเขน - (อภิปรายกันใน กลุม่ ย่อย และรายงาน) 

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า  ให้แบ่งเป็นกลุม ่ ๆ ละ 4-6 คน ให้เขียนสิ่งที่ท่านปรารถนาอยากให้ได้รับเสรีภาพ หลังจาก 10 นาที รายงานในกลุม่ ใหญ่ อะไรเป็นสิ่งสำคัญทำให้การปลดปล่อยบรรลุผลอย่างแท้จริง พระเป็นเจ้าทรง ต้องการให้ประชากรของพระองค์มีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการปลดปล่อยตนเอง ความเชือ่ ในพระเป็นเจ้าทำให้ชาวอิสราเอลลุกขึน้ ต่อสูก้ บั กษัตริยแ์ ห่งอียปิ ต์ เลือดของ ลูกแกะเป็นสัญลักษณ์แห่งความเชื่อของชาวอิสราเอล ความเชื่อของพวกเขาเป็น อิสระ ความรักของพระเยซูเจ้าบนไม้กางเขนช่วยโลกให้รอด พระโลหิตเป็นสัญลักษณ์ แห่งความรัก ความรักช่วยปลดปล่อยให้อสิ ระ ความรักและการเสียสละตนเองของมาร์ตนิ ลูเธอร์ คิง ปลดปล่อยคนอเมริกนั ผิวดำให้เป็นอิสระ เลือดของคิงเป็นสัญลักษณ์ของการเสียสละตนเองอย่างแท้จริง การเสียสละตนเองช่วยปลดปล่อยให้เป็นอิสระ (ให้อภิปรายในกลุม่ ย่อยและรายงาน) 

ทำไมเราถึ ง กล่ า วว่ า การปลดปล่ อ ยไม่ ไ ด้ ช นะมาด้ ว ยการหลั ่ ง เลื อ ดของผู ้ อ ื ่ น แต่ได้รบั มาด้วยการสละตนเองอย่างแท้จริง - หนังสือพันธสัญญาเดิมถูกรวบรวมขึน้ อย่างไร ดูหน้า 233


50 11. น้ำแห่งอิสรภาพ ก. มองชีวิต ชาวอิสราเอลเป็นบรรพบุรษุ แห่งความเชือ่ พวกเขาเชือ่ ในพระเป็นเจ้าเพราะได้ เห็นความช่วยเหลือของพระองค์ พระเป็นเจ้าช่วยพวกเขาให้รอดจากการเป็นทาสใน ประเทศอียิปต์อาศัยเลือดของแกะ อาศัยน้ำ พวกเขารอดจากเงื้อมมือของฟาโรห์ กษัตริยแ์ ห่งอียปิ ต์ เมือ่ หันมาดูชวี ติ ของเราเอง เราพบว่าน้ำเป็นเครือ่ งมืออันทรง พลังในพระหัตถ์ของพระเป็นเจ้าและเป็นของประทานอันประเสริฐจากพระเป็นเจ้าและนำมา ซึง่ ชีวติ จงมองดูภาพนี้

ในภาพนีท้ า่ นเห็นพลังของน้ำมีความสำคัญกับชีวติ อย่างไร - ท่านเคยมีประสบการณ์กบ ั พลังของน้ำในชีวติ ของท่านเองเมือ่ ไร - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 


51 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า น้ำในทะเลแดงช่วยชาวอิสราเอลให้รอดและน้ำนัน้ เองทำลายล้างศัตรู กษัตริย์ แห่งอียิปต์และกองทัพในทะเลแดง อ่าน หนังสืออพยพ 14:21-31 : การข้ามทะเลแดง

เกิดอะไรขึน้ ในภาพนี้ - (ปรึกษากันในกลุม่ ย่อย 2 คำถามนี้ และรายงานหลังจาก 5 นาที)  ทำไมจึงกล่าวว่า ชาวอิสราเอลได้รบ ั การช่วยให้รอดอาศัยความเชือ่ และน้ำ -  ท่านคิดว่าทำไมคริสตชนเปรียบเทียบน้ำแห่งศีลล้างบาปกับน้ำในทะเลแดง จงให้เหตุผล - 


52 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า  พระเป็นเจ้าทรงเรียกเราให้ร่วมเดินทางไปสู่อิสรภาพกับชาวอิสราเอล อะไรเป็น อุปสรรคหรือ “นายกับทาส” ซึ่งขัดขวางเราในการเดินทางไปหาพระเป็นเจ้า ให้ เราคิดถึงคำว่า “นายกับทาส” ในตัวเรา - ให้เราโมทนาคุณพระเป็นเจ้าในความรักของพระองค์ดว ้ ยการขับบทเพลงของมีเรียม : อพยพ 15:19-21 -  ให้โมทนาคุณพระเป็นเจ้าเป็นการส่วนตัว - -


53 12. บัญญัติ 10 ประการแห่งอิสรภาพ ก. มองชีวิต เราต้องการร่วมเดินทางไปสูด่ นิ แดนแห่งพันธสัญญากับชาวอิสราเอล การ เดินทางอาจประสบความยากลำบากและเราอาจหลงทาง เราต้องการผูน้ ำทาง เมือ่ เราเดินทางไปต่างประเทศ เราไม่รจู้ กั ทาง เราคงจะถามทางจากคนในพืน้ ที่ แล้วเราก็ฟังคำแนะนำด้วยความขอบคุณ

นักเดินทาง 2 คน ในภาพกำลังเดินหลงทาง ชายผูน้ ช้ี ว่ ยพวกเขาอย่างไร -  คุณเคยมีประสบการณ์ในชีวิตบ้างไหมที่มีคนช่วยคุณให้รอดพ้นจากอันตราย แบ่งปันให้กลุม่ ฟัง -  ทำไมเราถึงกล่าวว่า คำพูดแนะนำเป็นคำพูดทีน ่ ำไปสูอ่ สิ รภาพ - 


54 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ประชากรของพระเป็นเจ้าเดินอยู่บนหนทางที่ไปสู่อิสรภาพ พระเป็นเจ้าทรง ช่วยประชากรของพระองค์ให้รอดพ้นจากการเป็นทาสและการกดขี่ในประเทศอียิปต์ เลือดแกะและน้ำในทะเลแดงช่วยพวกเขาให้รอด เดี๋ยวนี้พวกเขาเดินทางอยู่ใน ทะเลทรายและเสีย่ งต่อการหลงทาง ด้วยเหตุนพ้ี ระเป็นเจ้าประทานบัญญัติ 10 ประการ แก่ชาวอิสราเอล และแก่พวกเรา เป็นบัญญัตทิ ช่ี ว่ ยนำทาง พระวจนะ 10 ประการ แห่งปรีชาญาณนี้ช่วยให้ชาวอิสราเอลเดินทางไปสู่อิสรภาพได้ อ่าน หนังสืออพยพ 20:1-17 : บัญญัติ 10 ประการ

พระเป็นเจ้าทรงปลดปล่อยชาวอิสราเอลจากการเป็นทาสของชาวอียิปต์ และ ทรงชี้แนะทางไปสู่อิสรภาพที่แท้จริงแก่ชาวอิสราเอลบนภูเขาซีนาย เรากล่าวได้วา่ บัญญัติ 10 ประการเป็นพระวจนะ 10 ประการแห่งการปลดปล่อย ถ้าเราไม่รเู้ รือ่ งบัญญัติ 10 ประการ เราและมนุษยชาติอาจหลงทางได้


55 สนทนาเกีย่ วกับคำถามต่อไปนี้ ในกลุม่ ย่อย และกลับมารายงานในกลุม่ ใหญ่ หลังจาก 5-7 นาที หากคนทัว่ ไปปฏิเสธพระเป็นเจ้าและยกย่องเงินตราเป็นพระเจ้า จะเกิดอะไรขึน้ -  หากคนทัว ่ ไปปฏิเสธพระเป็นเจ้าและยกย่องอำนาจเป็นพระเจ้า จะเกิดอะไรขึน้ -  หากคนทัว ่ ไปทำให้ตวั เองยิง่ ใหญ่โดยการเหยียบย่ำทำลายผูอ้ น่ื จะเกิดอะไรขึน้ -  ให้แบ่งบันถึงความทุกข์ยากที่เพื่อนพี่น้องของท่านประสบซึ่งเกิดจากฆาตกรรม การผิดประเวณี เป็นพยานเท็จ และการขโมย - 

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า ถ้าเราปฏิเสธบัญญัติ 10 ประการเท่ากับเราปฏิเสธพระปรีชาญาณของพระเป็นเจ้า เราจะกลายเป็นทาสของตัณหาและยอมให้จิตชั่วที่เรียกว่า ซาตาน นำทางเรา ซาตานเป็นตัวการทีอ่ นั ตรายทีส่ ดุ เป็นผูท้ ำลายความสุขและนำมาซึง่ ความทุกข์ยาก หากเราต้องการเดินทางในความเชื่อต่อไป เราควรปฏิบัติตามพระวจนะ 10 ประการแห่งปรีชาญาณซึง่ จะทำให้เราเป็นอิสระ พระบัญญัติ 10 ประการ เป็นเหมือน ป้ายชี้ทางแก่เราสำหรับการเดินทางในชีวิตนี้  สวดบทเพลงสดุดี 119 : 1-8 หรือ บทเพลงสดุดี 119:41-48


56 ข้อควรจำ 1. พระบัญญัติ 10 ประการคืออะไร (พระวจนะ 10 ประการแห่งอิสรภาพ) “เราคือพระเป็นเจ้าของเจ้า ผูน้ ำพวกเจ้าออกจากประเทศอียปิ ต์จากการเป็นทาส” (เทียบ อพยพ 20 :1-17; เฉลยธรรมบัญญัติ 5:1-21) 1. จงนมัสการพระเป็นเจ้าผูเ้ ดียวของเจ้า 2. อย่าออกนามพระเป็นเจ้าโดยไม่สมเหตุ 3. วันพระเจ้าอย่าลืมฉลองเป็นวันศักดิส์ ทิ ธิ์ 4. จงนับถือบิดามารดา 5. อย่าฆ่าคน 6. อย่าทำอุลามก 7. อย่าลักขโมย 8. อย่าใส่ความนินทา 9. อย่าปลงใจในความอุลามก 10. อย่ามักได้ทรัพย์ของเขา


57

พิธรี ะหว่างเป็นผูส้ มัครเรียนคำสอน (RITES DURING THE CATECHUMENATE) การอวยพรผู้เรียนคำสอน

บทภาวนาละทิ้งความชั่ว

หลังจากชั่วโมงเรียนคำสอน สมาชิก ของกลุม่ คริสตชนอวยพรแก่ผเู้ รียนคำสอน ขณะกำลังอวยพร ให้สมาชิกคริสตชน วางมือบนบ่าของผู้สมัครเรียน (บทภาวนาอวยพร 6 บท ดูหน้า 271-274)

สมาชิกของชุมชนผู้ได้รับมอบอำนาจ จากพระสังฆราช สวด “บทภาวนา ละทิ้งความชั่ว” (Minor Exorcisms) (บทภาวนาละทิง้ ความชัว่ 7 บท ดูหน้า 265-270)

การเจิมน้ำมันผู้เรียนคำสอน พระสงฆ์หรือสังฆานุกรเป็นผู้เจิม การเจิมสามารถเจิมซ้ำได้ในโอกาสอื่นๆ ดูรายละเอียดเรือ่ งพิธกี รรมต่างๆ ในภาคผนวก (พิธเี จิมผูเ้ รียนคำสอน ดูหน้า 275-276)


58

หนทางของพระเยซูเจ้านำเราสูโ่ ลกใหม่ (บทที่ 13-19) 13. แนวทางใหม่ในการแก้ปัญหา เรายังก้าวเดินต่อไปในหนทางแห่งความเชื่อ เป็นเหมือนการเดินทางไปสู่ ประเทศใหม่ทเ่ี ราไม่รจู้ กั เราต้องการผูน้ ำทางสักคน เรามิได้เดินคนเดียว เราเดินทาง กับพระคริสต์ พระเยซูเจ้าบอกทางแก่เรา พระองค์เป็นหนทาง พระองค์ยงั เป็นเพือ่ น เดินทางกับเราไปสูโ่ ลกใหม่ซง่ึ พระองค์ทรงเรียกว่า “อาณาจักรของพระเป็นเจ้า” ใน โลกใหม่ของพระองค์ สิง่ ต่างๆ แตกต่างจากแนวทางทีเ่ ราเคยปฏิบตั ิ ให้ดภู าพข้างล่างนี้ เป็นโลกแบบเก่าของเรา เป็นอาณาจักรของมนุษย์ ซึง่ เรา พยายามที่จะแก้ปัญหาโดยแนวทางของเราเอง ก. มองชีวิต


59 เราเห็นปัญหาอะไรบ้างในภาพข้างบน -  ทำไมเราจึงกล่าวว่า บุคคลในภาพพยายามชนะความชัว ่ ด้วยความชัว่ -  จงหาตัวอย่างคล้ายๆ กัน ซึง ่ เกิดกับเพือ่ นบ้าน ในเขตวัด หมูบ่ า้ น และประเทศ ของท่าน - - (กลุม่ ย่อย,รายงาน) 

ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า พระเยซูเจ้าทรงบอกแนวทางในการแก้ปัญหาให้กับเรา อ่าน มัทธิว 5:43-48 : จงรักศัตรู  ให้อา ่ น มัทธิว 5:43-48 อีกครัง้ -  ทุกคนเงียบ ผูน ้ ำกลุม่ อ่านข้อความนีอ้ ย่างช้าๆ และสำรวม “เรากล่าวแก่ทา่ นว่า” (3 ครัง้ ) “จงรักศัตรู” (3 ครัง้ ) “ท่านจงเป็นคนดีอย่างสมบูรณ์ ดังทีพ ่ ระบิดาเจ้าสวรรค์ทรงความดีอย่าง สมบูรณ์เถิด” (3 ครัง้ )  จงเปรียบเทียบภาพข้างล่างทางซ้ายกับทางขวา มีอะไรทีต ่ า่ งกัน ภาพนีแ้ สดงให้เห็น อะไรจากข้อความที่เราอ่านจากพระคัมภีร์


60 

จงอ่านข้อความต่อไปนีแ้ ละเปรียบเทียบกับภาพข้างบน มัทธิว 7:12 (บัญญัตทิ อง) ลูกา 23:32-34 (พระบิดาเจ้าข้า โปรดอภัยความผิดแก่เขาเถิด...) 1 เปโตร 3:8-9 (อย่าตอบโต้ความชัว่ ด้วยความชัว่ จงอวยพรแก่เขา...)

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า พระคริสตเจ้าทรงเรียกเราให้เดินตามทางของพระองค์ พระองค์ทรงเรียกร้องให้เราตอบแทนความชั่วด้วยความดี  ในชุมชนทีเ่ ราอาศัยอยู่ มีการทะเลาะเบาะแว้งบ้างไหม -  ผู้เรียนคำสอนและพี่เลี้ยงร่วมมือกันสร้างสันติในหมู่เพื่อนพี่น้องในเขตวัด และ เพือ่ นบ้านทีท่ ะเลาะกัน เพือ่ ส่งเสริมและรักษาสันติ - ถ้าเราประสบความสำเร็จในการแก้ปัญหาอาศัยแนวทางของพระคริสตเจ้า เท่ากับเราก้าวหน้าในหนทางแห่งความเชือ่ เป็นเหมือนการก้าวเข้าสู่ “อาณาจักรของ พระเป็นเจ้า” หรือเข้าสูโ่ ลกใหม่ของพระคริสตเจ้า ข้อควรจำ 2. พระเยซูตรัสอะไรเกีย่ วกับศัตรูผเู้ บียดเบียนเรา พระองค์ตรัสว่า : “จงรักศัตรู จงอธิฐานภาวนาให้ผทู้ เ่ี บียดเบียนท่าน” (มัทธิว 5:44) บทเสริม มัทธิว 18:15-17 (การตักเตือนกันฉันพีน่ อ้ ง)  โรม 12:9-21(จงอวยพรผูท ้ เ่ี บียดเบียนท่าน)  1 โครินธ์ 13:4-7 (ไม่ยน ิ ดีในความชัว่ )  เอกสารสภาสังคายนาวาติกน ั ที่ 2 : พระธรรมนูญว่าด้วยพระศาสนจักรในโลกสมัยนี้ ข้อ 28 (ความเคารพและรักศัตรู) 


61 14. การภาวนาแบบใหม่ ก. มองชีวิต มนุษย์ภาวนาถึงพระเป็นเจ้าอยูเ่ สมอ ตัวอย่างบรรพบุรษุ ของเรารูจ้ กั ภาวนาต่อ พระเป็นเจ้าผูเ้ ป็นพระผูส้ ร้าง มานานก่อนทีพ่ วกเขาจะได้ยนิ เกีย่ วกับพระคริสตเจ้าหรือ พระศาสนจักร (ให้พูดคุยในกลุ่มย่อยถึงคำถามต่อไปนี้และรายงาน) บรรพบุรุษของเราภาวนาต่อพระเป็นเจ้าในโอกาสใดบ้าง  พวกเขาเรียกพระเป็นเจ้าด้วยพระนามอะไรบ้าง 

ในภาพเราเห็นรูปแบบการภาวนาทีต่ า่ งกันของชาย 2 คน ดูทา่ ทางชายคนหนึง่ กำลังโกรธ เขาชีไ้ ปทีท่ งุ่ นาและเรียกพระเป็นเจ้า พูดว่า “ข้าแต่พระเป็นเจ้าผูอ้ ยูเ่ บือ้ งบน โปรดทอดพระเนตรทุง่ นาและสัตว์เลีย้ งของผม ผมขอพระองค์โปรดให้ผมร่ำรวย อีกสักร้อยเท่า จะให้ผมสวดขออีกนานเท่าไร สักพันครัง้ หรือ ผมเบือ่ ทีจ่ ะขอพระองค์ แล้วนะ”


62 ท่านคิดว่า การภาวนาแบบนีไ้ ม่ดตี รงไหน - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  จงดูชายอีกคนในภาพ ท่านคิดว่าเขากำลังสวดอะไร -  ท่านคิดว่า ชายสองคนนีใ้ ครสวดภาวนาด้วยวิธท ี ด่ี กี ว่ากัน ทำไม - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 

ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ถ้าเราต้องการทราบวิธีภาวนาที่ดี จงไปหาพระเยซูเจ้า พระองค์จะสอนการ ภาวนาแบบใหม่ให้แก่เรา อ่าน มัทธิว 6:7-15 : ข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทัง้ หลาย

ให้ดภู าพข้างบนนี้ ขณะทีผ่ นู้ ำกลุม่ อ่านข้อความต่อไปนีช้ า้ ๆ และสำรวม


63 ข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทัง้ หลาย พระองค์สถิตในสวรรค์ (3 ครัง้ ) พระนามพระองค์จงเป็นทีส่ กั การะ (3 ครัง้ ) พระอาณาจักรจงมาถึง (3 ครัง้ ) พระประสงค์จงสำเร็จในแผ่นดินเหมือนในสวรรค์ (3 ครัง้ ) โปรดประทานอาหารประจำวันแก่ขา้ พเจ้าทัง้ หลายในวันนี้ (3 ครัง้ ) โปรดประทานอภัยแก่ขา้ พเจ้า (3 ครัง้ ) เหมือนข้าพเจ้าให้อภัยแก่ผอู้ น่ื (3 ครัง้ ) โปรดช่วยข้าพเจ้าไม่ให้แพ้การผจญ (3 ครัง้ ) แต่โปรดช่วยให้พน้ จากความชัว่ ร้ายเทอญ (3 ครัง้ ) ให้เราภาวนาบทข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทั้งหลาย “บทข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทั้งหลาย” เป็นตัวอย่างที่ดีของการภาวนา พระเยซูเจ้าทรงสอนให้เราสนทนากับพระเป็นเจ้าโดยไม่ตอ้ งกลัว เหมือนบุตรพูดคุย กับบิดาผู้ใจดี พระเยซูเจ้าตรัสว่าพระเป็นเจ้าทรงรู้ถึงปัญหาของเราก่อนที่เราจะทูล ขอพระองค์ ด้วยเหตุน้ี พระเยซูเจ้าทรงสอนให้เราสรรเสริญและโมทนาคุณพระเป็นเจ้า ก่อนที่จะขอความช่วยเหลือจากพระองค์  ทำไมถึงกล่าวว่า “บทข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทั้งหลาย” สอนเราให้รู้จักการ ภาวนาแบบใหม่ - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)


64 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า เราจะไม่มีกำลังเดินทางไปหาพระเป็นเจ้าได้หากเราไม่ภาวนา เหตุฉะนั้น จงเรียนรูถ้ งึ วิธกี ารภาวนาทีด่ โี ดย : ก) ก่อนท่านเริม่ ภาวนา ให้จนิ ตนาการว่าพระเป็นเจ้ากำลังมองท่านด้วยความรัก ข) แล้วสนทนากับพระเป็นเจ้าเหมือนท่านกำลังพูดคุยกับคุณพ่อ คุณแม่ อย่าเพียงแต่ ขอสิง่ ทีท่ า่ นต้องการจากพระองค์ จงสรรเสริญก่อนและโมทนาคุณพระองค์ แล้วบอก พระองค์ถึงความยากลำบากของท่าน ค) ขณะทีท่ า่ นภาวนา ปล่อยตัวท่านไว้ในพระหัตถ์ของพระองค์ ไว้ใจพระองค์เหมือน เด็กๆ ไว้ใจพ่อและแม่ทร่ี กั ลูกๆ ข้อควรจำ 3. จงสวดบทภาวนาทีพ ่ ระเยซูเจ้าทรงสอน ข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทัง้ หลาย พระองค์สถิตในสวรรค์ พระนามพระองค์จงเป็นที่สักการะ พระอาณาจักรจงมาถึง พระประสงค์จงสำเร็จในแผ่นดินเหมือนในสวรรค์ โปรดประทานอาหารประจำวันแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายในวันนี้ โปรดประทานอภัยแก่ข้าพเจ้า เหมือนข้าพเจ้าให้อภัยแก่ผู้อื่น โปรดช่วยข้าพเจ้าไม่ให้แพ้การผจญ แต่โปรดช่วยให้พน้ จากความชัว่ ร้ายเทอญ อาแมน.


65 15. แนวทางใหม่ในการทำให้ชีวิตมีความหมาย ก. มองชีวิต เราแต่ละคนเคยต่างมีความฝันในชีวติ เยาวชนฝันถึงการสำเร็จจากโรงเรียนทีด่ ี และได้รับใบประกาศนียบัตรอันดับหนึ่งของโรงเรียน หญิงสาวฝันถึงคู่ชีวิตที่ดีสักคน นักธุรกิจฝันถึงความร่ำรวย นักการเมืองฝันถึงการได้รบั เลือกตัง้ ความฝันทัง้ หมดจะ นำมาซึ่งความสุขในวันหนึ่ง จงมองบุคคลต่างๆ ในภาพ

เหตุผลอะไรทีท่ ำให้คนในภาพรูส้ กึ มีความสุขหรือไม่มคี วามสุข - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  บางคนกล่าวว่า คนรวยมีเพือ ่ นมากแต่โดดเดีย่ ว ท่านคิดอย่างไร - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 


66 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า พระคริสตเจ้าทรงชีห้ นทางทีแ่ ตกต่าง แต่แน่นอนให้กบั เรา เพือ่ เราจะมีความสุขในชีวติ ถ้าเราติดตามแบบอย่างของพระองค์วนั หนึง่ เราจะสามารถพูดได้วา่ “ฉันใช้ เวลาในชีวติ อย่างมีคา่ ชีวติ ของฉันมีความหมายและมีเป้าหมาย” พระเยซูเจ้าทรงสอนว่าชีวิตของเราจะมีความหมายและมีความสุข ถ้าเรา “มี ชีวติ เพือ่ คนอืน่ ” ช่วยเหลือผูอ้ น่ื และสละตนเองเพือ่ ผูอ้ น่ื อ่าน มาระโก 3 : 7-12 และ 3 :20-21 : บรรดาศิษย์กไ็ ม่อาจกินอาหาร  ผูน ้ ำอ่านข้อความต่อไปนีอ้ ย่างช้าๆ และสำรวม “พระองค์ทรงรักษาผูป้ ว่ ยจำนวนมาก” (3 ครัง้ ) “บรรดาศิษย์กไ็ ม่อาจกินอาหารได้” (3 ครัง้ ) “มีคนพูดว่า พระองค์ทรงเสียพระสติ” (3 ครัง้ )  จงเปรียบเทียบภาพข้างล่างกับ มาระโก 3 :7-12 และ 3:20-21

อภิปรายในกลุม่ ย่อย กลุม่ ละ 4-6 คน ยกตัวอย่าง “การอยูเ่ พือ่ ผูอ้ น่ื ” ของพระเยซูเจ้า มิใช่เพือ่ ความพึงพอใจและผลประโยชน์ของพระองค์เอง - -


67 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า ถ้าเราต้องการติดตามพระคริสตเจ้า เราต้องละทิ้งชีวิตเก่าไว้เบื้องหลัง เช่น การฉกฉวยทุกอย่างเพือ่ ตัวเอง แสวงหาผลประโยชน์ในทุกสิง่ อยากร่ำรวยและยิง่ ใหญ่ กว่าคนอื่น นี่คือแนวทางแบบเก่าของเรา เราเคยว่าคนอืน่ “บ้า” หากคนนัน้ ยอมทิง้ ความสะดวกสบายของตนเองเพือ่ ทำ ให้ผู้อื่นมีความสุข แต่พระคริสตเจ้าทรงกระทำเช่นนัน้ พระองค์ยงั ชีแ้ นวทางใหม่ในการทำให้ชวี ติ ของเรามีความสุขและเต็มไปด้วยความหมาย พระองค์เชื้อเชิญให้เราลืมตนเองและมี ชีวิตอยู่เพื่อผู้อื่นโดยไม่เห็นแก่ตัว (พูดคุยกันบางหัวข้อและรายงาน)  ทำไมเราจึงกล่าวว่า พ่อแม่ทด ่ี มี ชี วี ติ เพือ่ ลูกๆ โดยไม่เห็นแก่ตวั -  กลุม ่ ใดบ้างในเขตวัดของท่านรับใช้พน่ี อ้ งคริสตชนโดยไม่เห็นแก่ตวั อย่าคิดเฉพาะ บรรดา พระสงฆ์ ซิสเตอร์ และบราเดอร์ -  ในหมู ่ พ ี ่ น ้ อ งคริ ส ตชนในเขตวั ด มี ค วามจำเป็ น เร่ ง ด่ ว นอะไรบ้ า ง ที ่ ก ลุ ่ ม ของเรา สามารถสนองความต้องการเหล่านัน้ ได้ - ให้เราวางแผนกิจกรรม เพือ่ ช่วยเพือ่ นพีน่ อ้ งทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือใน เขตวัด ควรเป็นกิจกรรมของพีเ่ ลีย้ งและผูเ้ รียนคำสอนกระทำร่วมกันในระยะยาว


68 บทอ่านเสริม มาระโก 10:35-45 “บุตรแห่งมนุษย์มิได้มาเพื่อให้ผู้อื่นรับใช้ แต่มาเพื่อรับใช้ผู้อื่นและ มอบชีวติ ของตนเป็นสินไถ่ เพือ่ มวลมนุษย์” มาระโก 8:34-35 “ถ้าผู้ใดอยากติดตามเราก็ให้เลิกนึกถึงตนเอง ให้แบกกางเขนของ ตนและติดตามเรา” ฟิลปิ ปี 2:1-7 “อย่าเห็นแก่ประโยชน์ของตนฝ่ายเดียว จงเห็นแก่ผลประโยชน์ของ ผู้อื่นด้วย” เอกสารแห่งสภาสังคายนาวาติกนั ที่ 2 : พระธรรมนูญกล่าวถึงพระศาสนจักร (LG) ข้อ 3,8 และ 93 และพระธรรมนูญว่าด้วยพระศาสนจักรในโลกสมัยนี้ ข้อ 26 ส่งเสริมประโยชน์ส่วนรวม


69 16. แนวทางใหม่ในการมองเพื่อนพี่น้อง ก. มองชีวิต แต่ละคนต่างมีมมุ มองและแนวการตัดสินของตนเอง เช่น บางคนอาจพูดว่า : “ดูผชู้ ายคนนีซ้ ิ เขารวยนะ เงินก็เยอะ รถก็สวย” หรือ ให้เราคิดเกีย่ วกับบุคคลทีอ่ ยูใ่ นภาพข้างล่างนี้

(ประชุมกลุ่มย่อยและรายงานคำถามต่อไปนี้)  เกิดอะไรขึน ้ ในภาพนี้ -  จงบรรยายความรูส ้ กึ ของลูกค้าเมือ่ คนรวยได้รบั บริการก่อน -  ทำไมเจ้าของร้านบริการคนรวยต่างจากคนอืน ่ - จงหาตัวอย่างในชีวต ิ ของท่านทีเ่ ห็นบางคนได้รบั สิทธิพเิ ศษ -  เราเองปฏิบต ั กิ บั ผูอ้ น่ื แตกต่างกันด้วยใช่ไหม - -


70 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า เรากำลังพบโลกใหม่อาศัยพระคริสตเจ้า พระองค์ประทาน “ดวงตาใหม่” ให้กบั เราเพื่อมองเพื่อนพี่น้องในมุมมองใหม่และตัดสินพวกเขาต่างไปจากเดิม พระองค์ยัง ประทานคุณค่า (Values) ใหม่ให้กบั เราด้วย อ่าน มาระโก 12:38-44 : ทานของหญิงม่าย ขณะทีท่ กุ คนเงียบ ผูน้ ำอ่านข้อความต่อไปนีอ้ ย่างช้าๆ และสำรวม “คนมัง่ มีหลายคนใส่เงินจำนวนมาก” (3 ครัง้ ) “หญิงม่ายยากจนคนหนึง่ บริจาคเอาเหรียญทองแดง สองเหรียญใส่ลงในตูท้ าน” (3 ครัง้ ) “หญิงคนนี.้ .. นำทุกอย่างทีม่ อี ยูส่ ำหรับเลีย้ งชีวติ มาทำทาน” (3 ครัง้ ) ขณะดูภาพข้างล่าง ให้อา่ นพระวรสารอีกครัง้

พระเยซูเจ้าทรงมองชายร่ำรวยและหญิงม่ายยากจนอย่างไร อะไรทำให้ประชาชน “ยิง ่ ใหญ่” ในมุมมองของพระเยซูเจ้า - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 


71 จงเปรียบเทียบภาพ หน้า 69 และ 70 มีอะไรทีเ่ หมือนหรือแตกต่างกันบ้าง - -



ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า พระคริสตเจ้าเชื้อเชิญเราให้มองเพื่อนพี่น้องด้วย “สายตาใหม่” พระองค์มิได้สนใจในเงินทอง เสือ้ ผ้าสวยหรูและรูปโฉมภายนอก พระองค์กำลังท้าทายเราเรือ่ ง มุมมองในการตัดสินผูอ้ น่ื พระองค์ขอให้เรามองเห็นคุณค่าภายในของเพือ่ นพีน่ อ้ งและ ปฏิบัติต่อพวกเขาตามศักดิ์ศรีของเขา  แบ่งกลุม ่ ย่อย กลุม่ ละ 4-6 คน ให้แต่ละคนพูดสิง่ ทีต่ นเองชืน่ ชมเพือ่ นๆ ในกลุม่ - (ไม่ต้องรายงานในกลุ่มใหญ่)  พูดถึงคนอืน ่ ในชุมชนของท่านซึง่ ยากจนและไม่สสู้ ำคัญนัก หาคุณค่าภายในของ พวกเขา จงมองพวกเขาอย่างทีพ่ ระเยซูทรงมอง - ถ้าเราสามารถมองผูอ้ น่ื ด้วยสายตาของพระคริสตเจ้า เรากำลังก้าวเดินบน หนทางสูโ่ ลกใหม่ของพระคริสตเจ้าซึง่ พระองค์เรียกว่า “อาณาจักรของพระเป็นเจ้า”

บทอ่านเสริม ยากอบ 2:1-9 “การให้เกียรติคนยากจน” เอกสารแห่งสภาสังคายนาวาติกนั ที่ 2 - พระธรรมนูญพระศาสนจักรในโลกสมัยนี้ ข้อ 1 ข้อ19 และ ข้อ 29 - ความสัมพันธ์ของพระศาสนจักรกับบรรดาศาสนาทีไ่ ม่ใช่คริสตศาสนา ข้อ 5


72 17. แนวทางใหม่ในการปฏิบัติกับ “ผู้ถูกทอดทิ้ง” ก. มองชีวิต เรารู้สึกมีความสุขมากหากมีคนรักเราและพูดถึงเราในสิ่งที่ดี มันทำให้เรามี ความสุขเพราะเรารู้สึกว่าคนอื่นยอมรับเรา อย่างไรก็ตามยังมีคนอีกมากมายที่ไม่ได้ รับการยอมรับ ภาพข้างล่างเราเห็นคนทีร่ สู้ กึ เหมือนตนเองกำลัง “ถูกทอดทิง้ ”

ท่านเห็นอะไรในภาพนี้ -  ท่านคิดว่าบุคคลเหล่านีร ้ สู้ กึ อย่างไร -  ทำไมพวกเขาถึงรูส ้ กึ ว่าถูกเหยียดหยาม - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  มีใครบ้างในชุมชน (ในเขตวัด หมูบ ่ า้ น และประเทศของเรา) อยูใ่ นกลุม่ ผูถ้ กู เหยียดหยามและถูกปฏิบตั เิ หมือน “คนทีถ่ กู ทอดทิง้ ” -  ถามตัวเองอย่างซือ ่ สัตย์วา่ มีใครบ้างไหมทีเ่ ราเองพยายามหลีกเลีย่ ง ทำไม - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 


73 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ในสมัยของพระเยซูเจ้า โรคเรือ้ นเป็นโรคทีท่ กุ ข์ทรมานและไม่สามารถรักษาให้ หายได้ แม้ในปัจจุบันแพทย์สามารถรักษาโรคเรื้อนได้แล้ว แต่โรคเรื้อนที่เต็มไปด้วย แผลเป็นหนอง เนือ้ หนังถูกกินจนถึงกระดูก คนทัว่ ไปจึงรังเกียจคนโรคเรือ้ น ชาวบ้าน บังคับให้บุคคลเหล่านี้ไปอยู่นอกหมู่บ้าน ไม่มีใครได้รับอนุญาตให้เข้าใกล้หรือสัมผัส เขา ฉะนัน้ คนโรคเรือ้ นเป็น “บุคคลทีถ่ กู ทอดทิง้ ” จริงๆ อ่าน มัทธิว 8:1-4 : พระเยซูเจ้าทรงรักษาคนโรคเรือ้ น

พระเยซูเจ้ามิเพียงทรงอยูเ่ คียงข้างคนโรคเรือ้ นเท่านัน้ แต่พระองค์ยงั ทรง อยู่เคียงข้างกับผู้ถูกเหยียดหยามด้วย เช่น คนบาป คนยากจน คนไร้การศึกษา คนต่างศาสนา สตรีและเด็กๆ  ขณะทีท ่ กุ คนเงียบ ผูน้ ำอ่านข้อความต่อไปนีอ้ ย่างช้า ๆ และสำรวม “คนโรคเรือ้ นคนหนึง่ มาเฝ้าพระองค์” (3 ครัง้ ) “พระเยซูเจ้าทรงยืน่ พระหัตถ์สมั ผัสเขา” (3 ครัง้ ) “จงหายเถิด” (3 ครัง้ )


74 เงียบ 2 นาที - แบ่งปันกับเพือ ่ นๆ ถึงข้อความทีเ่ ราประทับใจ - 

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า พระเยซูเจ้าทรงเชื้อเชิญเราให้ติดตามพระองค์และเลียนแบบอย่างของพระองค์ ใน ปัจจุบนั พระองค์ทรงบอกให้เรายืนหยัดเพือ่ บุคคลทีถ่ กู เบียดเบียนทรงสอนเราถึงวิธกี าร ปฎิบตั กิ บั “ผูถ้ กู ทอดทิง้ ” ในประเทศของเรามีองค์กรใดบ้างซึง ่ ช่วยเหลือผูถ้ กู ทอดทิง้ หรือเรียกร้องสิทธิเพือ่ พวกเขา - คริสตชนควรเป็นแรงสำคัญในองค์กรทีย ่ นื หยัดเพือ่ ผูถ้ กู เบียดเบียนหรือไม่สามารถ ช่วยตนเองได้ใช่ไหม จงยกเหตุผลประกอบ (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  มีใครบ้างในเขตวัด ในหมูบ ่ า้ นหรือเมืองของเราทีถ่ กู เบียดเบียนหรือไม่สามารถช่วย ตนเองได้ -  เราจะทำอะไรได้บ้างเพื่อบุคคลเหล่านี้ ให้วางแผนเป็นรูปธรรมโดยร่วมกันปฏิบัติ เป็นกลุ่ม บทอ่านเสริม มัทธิว 11:2-6 : พระเยซูเจ้าเสด็จมาเพือ่ คนตาบอดและคนป่วย ลูกา 10:25-37 : ชาวสะมาเรียผูใ้ จดีมไิ ด้เบียดเบียนชาวยิว แต่กลับช่วยเหลือ ลูกา 7:40-50 : พระเยซูเจ้าทรงช่วยเหลือโสเภณี ลูกา 5:27-31 : พระเยซูเจ้าทรงช่วยเหลือคนเก็บภาษี เอกสารแห่งสภาสังคายนา วาติกนั ที่ 2 - พระธรรมนูญว่าด้วยพระศาสนจักรในโลกสมัยนี้ ข้อ 32 - สมณกฤษฎีกาว่าด้วยการแพร่ธรรมของฆราวาส ข้อ 8


75 18. ฟ้าใหม่และแผ่นดินใหม่ ก. มองชีวิต ในทุกวันนี้ เรามีประสบการณ์กบั โลกอันวุน่ วาย เราได้ยนิ เรือ่ งแผ่นดินไหวและ น้ำท่วม ข่าวสงครามและการต่อสู้ การกดขี่ ความยากจนและความตาย ในภาพเห็นรูปโลกที่ถ่ายมาจากยานอวกาศ เป็นโลกที่เราอาศัยอยู่ มีสักช่วงหนึ่งไหมที่โลกของเราจะสงบเรียบร้อย

(แบ่งกลุม่ ย่อย กลุม่ ละ 4-6 คน อภิปรายถึงคำถามต่อไปนีแ้ ละรายงานหลังจาก 10-15 นาที) โลกทีส ่ มบูรณ์แบบในความฝันของเราทีซ่ ง่ึ ทุกสิง่ ทุกอย่างสงบเรียบร้อยเป็นอย่างไร จงพรรณาถึงวิธีที่ผู้คนในโลกที่สมบูรณ์แบบปฏิบัติต่อกัน จงพรรณนาถึงวิธีที่ผู้คน ปกครองตนเองและจงพรรณนาถึงวิธแี จกสิง่ ของ - -


76 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า พระเป็นเจ้าทรงต้องการโลกทีส่ มบูรณ์แบบด้วย พระองค์ทรงเปิดเผยแผนการ สำคัญนี้ให้เรารู้ โลกที่สมบูรณ์แบบที่พระเป็นเจ้าวางแผนอยู่ในพระคัมภีร์เล่มสุดท้าย และเรารู้ว่าพระวาจาและคำสัญญาของพระเป็นเจ้าจะเป็นจริง อ่านหนังสือวิวรณ์ (Revelation) บทที่ 21:1-6 ฟ้าใหม่และแผ่นดินใหม่ บทที่ 22:1-7 พระเยซูเจ้าจะเสด็จมาในไม่ชา้

แบ่งกลุม่ ย่อย กลุม่ ละ 4-6 คน อ่านข้อความข้างบนอีกครัง้ และพูดคุยคำถามต่อไปนี้ อะไรเป็น “สิง่ ใหม่” ในฟ้าใหม่และแผ่นดินใหม่ - “อะไรเป็นความฝันของเราทีจ่ ะทำให้ฟา้ ใหม่และแผ่นดินใหม่สมบูรณ์” - จงเขียนคำตอบของท่านและรายงานต่อกลุ่มใหญ่ จงเปรียบเทียบโลกทีส่ มบูรณ์แบบในความฝันของท่านกับแผนการสำคัญ (masterplan) ของพระเป็นเจ้าทีเ่ ปิดเผยกับเราในพระคัมภีร์ - -


77 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า ในปัจจุบันพระเป็นเจ้าทรงเผยแสดงเป้าหมายสุดท้ายในการเดินทางให้เรา ทราบ พระองค์ทรงเรียกให้เราก้าวหน้าไปบนทางสูฟ่ า้ ใหม่และแผ่นดินใหม่ เราไม่ได้ เดินเพียงลำพัง พระเยซูเจ้าทรงร่วมเดินทางไปกับเราด้วยอาศัยพระองค์ ฟ้าใหม่ และแผ่นดินใหม่ได้เริ่มขึ้นแล้ว พูดคุยในกลุม่ ๆ ละ 2 คน คนแรก ข่าวเรือ่ งฟ้าใหม่และแผ่นดินใหม่เหมือนยาเสพติดหรือยานอนหลับ ทำให้ เราลืมความทุกข์ยากของเรา ศาสนาเป็นเพียงการบรรเทาใจง่ายๆ และป้องกันเรา จากการตื่นขึ้นมาพบกับความทุกข์ยากในโลก คนทีส่ อง “ไม่จริง ตรงกันข้าม ข่าวเรือ่ งฟ้าใหม่และแผ่นดินใหม่ทำให้เรากล้า เปลี่ยนแปลงสภาพอันเลวร้ายในโลกที่เราอาศัยอยู่” ท่านคิดอย่างไร จงให้เหตุผล -  เราควรไตร่ตรองเรือ ่ งฟ้าใหม่และแผ่นดินใหม่” ในเขตวัดของเราอย่างไร เหนือสิง่ อืน่ ใด พระศาสนจักรควรเป็นเครือ่ งหมายของฟ้าใหม่และแผ่นดินใหม่ - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 

บทอ่านเสริม อิสยาห์ 2:1-5 : พระเจ้าทรงครอบครองอย่างสันติทว่ั สากล อิสยาห์ 25:6-9 : พระเจ้าจอมโยธาจะทรงจัดการเลีย้ งสำหรับชนชาติทง้ั หลาย มัทธิว 5:1-10 : บทเทศน์บนภูเขา : ความสุขแท้จริง


78 19. พระคริสตเจ้าทรงเป็น “เมล็ดพันธุ์” แห่งโลกใหม่ของพระเป็นเจ้า ก. มองชีวิต จงดูตน้ ไม้ตน้ นี้ รากของมันหยัง่ รากลึกลงในดิน กิง่ ก้านเหมือนแขนอันทรงพลัง ทีก่ างออกรับแดด บรรดานกสร้างรังของมันบนต้นไม้ซง่ึ ให้รม่ เงาและการคุม้ ครอง อย่างไรก็ตามต้นไม้ใหญ่ต้นนี้เติบโตขึ้นมาจากต้นเล็กๆ จงดูแก่นกลางเล็กๆ ของเมล็ด พลังแห่งชีวติ อยูใ่ นต้นไม้นน้ั ราก ลำต้นและกิง่ ก้านแฝงอยูใ่ นเมล็ดเล็กๆ นี้

จงคิดถึงสิ่งต่างๆ ซึ่งเริ่มก่อตัวขึ้นจากสิ่งเล็กๆ และกลายเป็นสิ่งใหญ่โตในเวลา ต่อมา เช่น ความสามารถหรือพรสวรรค์อะไรบ้างทีเ่ ราพบในตัวเด็กเล็กๆ ซึง่ เติบโตขึน้ และกลายเป็นความสมบูรณ์ของชีวติ ในเวลาต่อมา - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) สิง่ เดียวกันนีก้ ำลังเกิดขึน้ ในฟ้าใหม่และแผ่นดินใหม่ของพระเป็นเจ้า ซึง่ พระเยซูเจ้าทรงเรียกว่า “อาณาจักรของพระเป็นเจ้า” พระองค์ทรงหว่านเมล็ดพันธุ์ เหล่านัน้ ในโลก เป็นเมล็ดพันธุเ์ ล็กๆ ซึง่ จะเติบโตขึน้ และแผ่กระจายไปทัว่ โลก


79 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า พระเยซูเจ้าทรงเป็น “เมล็ดพันธุ”์ ของฟ้าใหม่และแผ่นดินใหม่ คือ อาณาจักร ของพระเป็นเจ้า สิ่งที่พระเยซูเจ้าตรัสและกระทำทั้งหมดเป็นเหมือนเมล็ดพันธุ์แห่งฟ้าใหม่และ แผ่นดินใหม่ ดูภาพข้างล่างและอ่านข้อความจากพระวรสารตามไปด้วย ถามและ อภิปรายถึงสิ่งเหล่านี้กับเพื่อนในกลุ่มที่นั่งใกล้กับเรา “เรายังคงเห็นเมล็ดพันธุ์ของ อาณาจักรของพระเป็นเจ้าเติบโตขึ้นในโลกปัจจุบันได้ที่ไหน” เมล็ดพันธุ์แห่งอาณาจักรสวรรค์ มาระโก 2:1-12 พระเยซูเจ้าทรงรักษาและทรงอภัยบาป เรายังเห็นสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นได้ที่ไหน พระเยซูเจ้าทรงคาดหวังอะไรจากเรา เมล็ดพันธุ์แห่งอาณาจักรสวรรค์ มัทธิว 15:32-37 พระเยซูเจ้าสงสารประชาชนที่หิวโหย พระองค์ทรงเลี้ยงอาหารพวกเขา เรายังเห็นสิ่งเหล่านี้ได้ที่ไหน พระเยซูเจ้าทรงคาดหวังอะไรจากเรา ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า ท่านสามารถเห็นอาณาจักรของพระเป็นเจ้าเติบโตขึ้นท่ามกลางเราได้ที่ไหน (อภิปรายกันในกลุ่มใหญ่)


80 เรามีประสบการณ์ถงึ พลังของพระเยซูเจ้าในชีวติ และครอบครัวของเราอย่างไร - เราเห็นพระเยซูเจ้ากำลังดลใจเพือ ่ นพีน่ อ้ งในเขตวัดของเราทีไ่ หน - เราต้องทำอะไรบ้างหากต้องการให้พระคริสตเจ้าปกครองและนำทางชีวต ิ ของเรา- 

ให้จบบทเรียนด้วยการสวด 10 ครัง้ อย่างช้าๆ และสำรวม “ข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทัง้ หลาย พระองค์สถิตในสวรรค์ พระอาณาจักรจงมาถึง พระประสงค์จงสำเร็จในแผ่นดินเหมือนในสวรรค์” อ่านข้อความทัง้ 3 ตอนในพระคัมภีรต์ อ่ ไปนีส้ ว่ นตัวหรือกับเพือ่ นๆ ในบทเรียนครัง้ ต่อไป เมล็ดพันธุ์แห่งอาณาจักรสวรรค์ มาระโก 9:33-37 ผู้ใดยิ่งใหญ่กว่ากัน สิ่งนี้ยังเกิดขึ้นในปัจจุบันที่ไหน พระเยซูเจ้าทรงคาดหวังอะไรจากเรา เมล็ดพันธุ์แห่งอาณาจักรสวรรค์ มัทธิว 19:16-24: เศรษฐีหนุ่ม สิ่งนี้ยังเกิดขึ้นในปัจจุบันที่ไหน พระเยซูเจ้าทรงคาดหวังอะไรจากเรา


81 เมล็ดพันธุ์แห่งอาณาจักรสวรรค์ มัทธิว 5:13-16 ท่านเป็นเกลือและแสงสว่าง สิ่งนี้ยังเกิดขึ้นในปัจจุบันที่ไหน พระเยซูเจ้าทรงคาดหวังอะไรจากเรา


82

พิธรี ะหว่างเป็นผูส้ มัครเรียนคำสอน (RITES DURING THE CATECHUMENATE) การอวยพรผู้เรียนคำสอน

บทภาวนาละทิ้งความชั่ว

หลังจากชัว่ โมงเรียนคำสอน สมาชิกของ กลุ่มคริสตชนอวยพรแก่ผู้เรียนคำสอน ขณะกำลังอวยพร ให้สมาชิกคริสตชน วางมือบนบ่าของผู้สมัครเรียน (บทภาวนาอวยพร 6 บท ดูหน้า 271-274)

สมาชิกของชุมชนผู้ได้รับมอบอำนาจ จากพระสังฆราช สวด “บทภาวนา ละทิ้งความชั่ว” (Minor Exorcisms) (บทภาวนาละทิง้ ความชัว่ 7 บท ดูหน้า 265-270)

การเจิมน้ำมันผู้เรียนคำสอน พระสงฆ์หรือสังฆานุกรเป็นผู้เจิม การเจิมสามารถเจิมซ้ำได้ในโอกาสอืน่ ๆ ดูรายละเอียดเรื่องพิธีกรรมต่างๆ ใน ภาคผนวก (พิธเี จิมผูเ้ รียนคำสอน ดูหน้า 275-276)


83 หน้าที่ของผู้เรียนคำสอนในพันธกิจของพระศาสนจักร เมือ่ คุน้ กับการบำเพ็ญชีวติ แบบคริสตชน และได้เห็นแบบฉบับ กับได้รบั ความ ช่วยเหลือจากพีเ่ ลีย้ ง (SPONSORS) และพ่อแม่อปุ ภัมภ์ (GODPARENTS) และชุมชน สัตบุรษุ ทัง้ หมด เขาก็เกิดความคุน้ เคย ภาวนาขอพระเป็นเจ้าได้งา่ ยขึน้ รูจ้ กั แสดง ความเชือ่ นำคนอืน่ มาสนใจพระคริสตเจ้า ประกอบกิจการตามการดลใจของเบือ้ งบน และปฏิบัติความรักต่อเพื่อนมนุษย์จนถึงกับสละน้ำใจของตนเอง เมื่อได้รับการสอน เช่นนี้ (RCIA ข้อ 19.2) ผู้เรียนคำสอนมีหน้าที่เผยแผ่พระวาจาและ เสริมสร้างพระศาสนจักร (RCIA ข้อ 19.4) ใน ฐานะทีผ่ เู้ รียนคำสอนเป็นสมาชิกคนหนึง่ ของ พระศาสนจักร ด้วยเหตุนจ้ี งึ มีหน้าทีใ่ น พระศาสนจักรดังนี้ สร้างสันติในครอบครัว ในทีท ่ ำงาน ... มีสว ่ นร่วมในการแบ่งปันพระวาจา   ตกแต่ ง บ้ า นด้ ว ยเครื ่ อ งหมายอย่ า ง คริสตชน (กางเขน, รูปภาพ ...) เยีย่ มผูป้ ว่ ย แบ่งปันสิง ่ ทีเ่ ห็นและได้ยนิ ในชัว่ โมงเรียน คำสอนกับเพื่อนๆ มีสว ่ นร่วมในงานต่างๆของพระศาสนจักร ซึ่งเป็นการปรับปรุงวิธีการดำเนินชีวิต ชุมชน มีแผนงานทีเ่ ป็นรูปธรรมในการแก้ปญ ั หา ต่างๆ ตามทีเ่ ขียนไว้ในบทเรียนในคูม่ อื นี้ 


84

บทสัญลักษณ์ของอัครสาวก (บทที่ 20-35) 20. ข้าพเจ้าเชื่อในพระเป็นเจ้าพระบิดาทรงสรรพานุภาพ ก. มองชีวิต มนุษย์ในปัจจุบนั สามารถทำสิง่ น่ามหัศจรรย์ ไม่วา่ จะเป็นการสร้างสะพานข้าม แม่นำ้ ใหญ่ๆ สร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยสูงเสียดฟ้า เดินทางจากทีห่ นึง่ ไปอีกทีท่ ห่ี า่ งไกลด้วย รถยนต์หรือเครื่องบินในระยะเวลาอันสั้น บางคนเดินทางไปถึงดวงจันทร์และเดินบน ดวงจันทร์มาแล้ว ดูเหมือนว่าไม่มสี ง่ิ ใดทีเ่ ป็นไปไม่ได้สำหรับมนุษย์ในปัจจุบนั เหมือน ที่เราเห็นในภาพข้างล่าง


85 

มีบางคนกล่าวว่า : “พระเป็นเจ้าตายแล้ว ไม่มพี ระเป็นเจ้า เราไม่เคยเห็นพระองค์ มนุษย์ฉลาดและมี อำนาจเพียงพอในการช่วยตนเอง เราสามารถทำสิง่ น่ามหัศจรรย์ เราไม่ตอ้ งการ พระเป็นเจ้าอีกแล้ว” ท่านจะอธิบายกับคนประเภทนีไ้ ด้อย่างไรว่าทำไมท่านถึงเชือ่ ในพระเป็นเจ้า - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)

ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า บางคนมีประสบการณ์กับพระเป็นเจ้าอย่างลึกซึ้งมาก ตัวอย่าง ชาวอิสราเอล บันทึกประสบการณ์กับพระเป็นเจ้าของพวกเขาเพื่อแบ่งปันกับพวกเรา ในหนังสือ เพลงสดุดเี ราได้ยนิ เกีย่ วกับวิธที ช่ี าวอิสราเอลมีประสบการณ์และสนทนากับพระเป็นเจ้า ให้เราอ่านเพลงสดุดแี ละถามตัวเองว่าเรามีประสบการณ์ คล้ายๆ กันนีก้ บั พระเป็นเจ้า หรือไม่ ชาวอิสราเองมองดูดวงดาวบนท้องฟ้า และสัตว์เลี้ยงในท้องทุ่ง เพลงสดุดที ่ี 8:1-9 (อ่านเพลงสดุดีนี้อย่างช้าๆ) เวลาท่านมองดูธรรมชาติ ท่านมีประสบการณ์อะไรกับพระเป็นเจ้า (ให้แบ่งปันประสบการณ์กับคนที่นั่งใกล้กับเราหรือในกลุ่มใหญ่)


86 ชาวอิสราเอลโหยหาพระเป็นเจ้า เพลงสดุดที ่ี 63:1-5 (อ่านบทสดุดีนี้อย่างช้าๆ) ในโอกาสใดบ้างทีท่ า่ นโหยหาพระเป็นเจ้า (กลุม่ ย่อย, รายงาน)

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า บรรพบุรษุ ของเรามีประสบการณ์กบั พระเป็นเจ้าคล้ายๆ กัน ถึงแม้วา่ พวกท่าน ไม่เคยอ่านหนังสือพระคัมภีรห์ รือเรียนเกีย่ วกับพระศาสนจักรเลย แต่ในใจของพวกเขา ยืนยันว่ามีพระเป็นเจ้า (อภิปรายในกลุม่ ใหญ่)  ก่อนที่บรรพบุรุษของเราจะได้ยินเกี่ยวกับพระคริสตเจ้า พวกเขาเรียกพระเป็นเจ้า ว่าอย่างไร -  จงแต่ง “บทเพลงสรรเสริญ” ซึง ่ ท่านร้องสรรเสริญพระเป็นเจ้า พระผูส้ ร้างในแบบ เดียวกับทีช่ าวอิสราเอลเคยแต่ง - ข้อควรจำ 4. ประโยคแรกในบทสัญลักษณ์ของอัครสาวกคืออะไร “ข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระเป็นเจ้า พระบิดาทรงสรรพานุภาพ สร้างฟ้าดิน”


87

เพือ่ เข้าใจเรือ่ งการเนรมิตรสร้างโลก ในหนังสือปฐมกาล (Genesis) ดูหน้า 235 บทอ่านเสริม เพลงสดุดี 40:1-5: ยามทีช่ าวอิสราเอลมีประสบการณ์ถงึ การช่วยเหลือของพระเป็นเจ้า เพลงสดุดี 51:1-9: ยามทีช่ าวอิสราเอลสำนึกผิดต่อพระเป็นเจ้า เพลงสดุดี 41:1-3 ชาวอิสราเอลมีประสบการณ์ถงึ พระเป็นเจ้าในยามเจ็บไข้


88 21. ข้าพเจ้าเชื่อในพระเยซูคริสตเจ้า ก. มองชีวิต มีสายใยอันเหนียวแน่นระหว่างมารดาและบุตร เป็นเวลา 9 เดือนทีบ่ ตุ รได้รบั การเลีย้ งดูและเติบโตขึน้ ในครรภ์ของมารดา ลมหายใจของมารดาให้ชวี ติ แก่บตุ ร เลือด ของเธอทำให้บตุ รเจริญวัย บุตรเป็นของขวัญล้ำค่า จงมองดูภาพนี้

เรารูไ้ ด้อย่างไรว่าสตรีและเด็กคนนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของกันและกัน -  จงคิดถึงเด็กๆ ที่ท่านรู้จัก อาจเป็นลูกของท่านเองหรือของเพื่อนบ้าน เมื่อเด็กโต ขึ้นพวกเขาจะเหมือนกับบิดามารดาตรงไหนบ้าง จงคิดถึงหลายๆ อย่าง - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  จงคิดถึงตัวท่านเอง หาพฤติกรรมบางอย่างทีท ่ ง้ั บิดามารดาและตัวท่านเองประพฤติ เหมือนกัน - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 


89 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า เมือ่ เราสวดบทสัญลักษณ์ของอัครสาวก เราประกาศถึงสิง่ ยิง่ ใหญ่ทพ่ี ระเป็นเจ้า ทรงกระทำเพือ่ เรา เราประกาศยืนยันถึงพระเยซูเจ้าว่า “เชือ่ ถึงพระเอกบุตรเยซูคริสต์ สวามีของเรา ปฏิสนธิเดชะพระจิต บังเกิดจากพระนางมารีอาพรหมจารี” จงฟังพระวาจาของพระเป็นเจ้าซึง่ ตรัสแก่เรา เรือ่ งพระบุตรพระเป็นเจ้าทรงรับสภาพมนุษย์ในครรภ์ของพระนางมารีย์ อ่าน ลูกา 1:26-38 : ทูตสวรรค์แจ้งข่าวการประสูตขิ องพระเยซูเจ้า  ทุกคนเงียบ ผูน ้ ำอ่านข้อความต่อไปนีอ้ ย่างช้าๆ และสำรวม “หญิงพรหมจารีผนู้ น้ั ชือ่ มารีย”์ (3 ครัง้ ) “วันทามารีอา เปีย่ มด้วยพระหรรษทาน” (3 ครัง้ ) “พระจิตเจ้าจะเสด็จลงมาเหนือท่าน” (3 ครัง้ ) “พระอานุภาพของพระผูส้ งู สุดจะแผ่เงาปกคลุมท่าน” (3 ครัง้ ) “บุตรทีเ่ กิดมาจะเป็นผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิ์ และจะรับนามว่าบุตรของพระเจ้า” (3 ครัง้ ) “ขอให้เป็นไปกับข้าพเจ้า ตามวาจาของท่านเถิด” (3 ครัง้ )  เงียบ 2 นาที ขณะดูภาพข้างล่างนี้ - -


90 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า เราพบกับพระนางมารีย์ มารดาของพระเยซูเจ้าขณะเดินทาง พระนางจะร่วม เดินทางไปกับเรา ไปหาพระเป็นเจ้า เหมือนทีพ่ ระนางเคยร่วมเดินทางกับพระเยซูเจ้า ตลอดชีวิตของพระองค์ พระกุมารเยซูทรงเติบโตในครรภ์ของพระนางมารียเ์ ป็นเวลา 9 เดือน เหมือน เด็กอื่นๆ ทั่วไป อย่างไรก็ตาม พระกุมารไม่มีบิดาเป็นมนุษย์ เพราะพระองค์ทรง ปฏิสนธิดว้ ยพระอานุภาพของพระจิต ด้วยเหตุน้ี เราประกาศยืนยันความเชือ่ ด้วยบทสัญลักษณ์ของอัครสาวกว่า “ข้าพเจ้าเชื่อถึงพระเป็นเจ้า พระบิดาทรงสรรพานุภาพ สร้างฟ้าดิน เชือ่ ถึงพระเอกบุตรเยซูคริสต์สวามีของเรา”  เรายืนยันว่าพระบิดาของพระเยซูเจ้าคือ พระเป็นเจ้าเอง พระเยซูเจ้าและพระบิดา ของพระองค์เป็นเหมือนกันได้อย่างไร พระองค์กบั พระมารดามารียเ์ ป็นเหมือนกัน ได้อย่างไร - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  ให้เราโมทนาคุณพระเป็นเจ้าสำหรับความเป็นหนึง่ เดียวกันอย่างลึกซึง้ ของพระองค์ กับพระนางมารียแ์ ละกับเราด้วย ให้เราภาวนาจากใจ - ข้อควรจำ 5. ใครเป็นบิดาของพระเยซูเจ้า พระเป็นเจ้า พระบิดาผูท้ รงสรรพานุภาพ 6. เราสวดอะไรในบทสัญลักษณ์ของอัครสาวกเกี่ยวกับพระเยซูเจ้าและพระนางพรหมจารีมารีอา “ข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระเอกบุตรเยซูคริสต์สวามีของเรา ปฏิสนธิเดชะพระจิตบังเกิดจาก พระนางมารีอาพรหมจารี” 7. จงสวดบทวันทามารีอา (Hail Mary) วันทามารีอาเปีย่ มด้วยหรรษทาน พระเจ้าสถิตกับท่าน ผูม้ บี ญ ุ กว่าหญิงใดๆ และ พระเยซูโอรสของท่านทรงบุญนักหนา สันตะมารีอา มารดาพระเจ้า โปรดภาวนา เพือ่ เราคนบาป บัดนี้ และเมือ่ จะตาย อาแมน


91 22. พระเยซูเจ้าทรงรับทรมานเพื่อเรา ก. มองชีวิต ในบทสัญลักษณ์ของอัครสาวก เราประกาศว่าพระเยซูเจ้าทรงรับทรมาน ดูเป็น เรือ่ งแปลกมากว่าทำไมพระบุตรของพระเป็นเจ้าต้องรับทรมาน เราอาจพบคำตอบเมือ่ เรามองดูความทุกข์ทรมานของตัวเราเองก่อน

ความทุกข์ทรมานแบบใดบ้างทีเ่ ราเห็นในภาพข้างบน -  ทำไมบุคคลเหล่านีต ้ อ้ งมีความยากลำบาก อะไรเป็นสาเหตุทำให้พวกเขามี ความทุกข์เช่นนั้น (อภิปรายถึงคำถามต่อไปนีใ้ นกลุม่ ย่อยและรายงานหลังจาก 5-7 นาที) มีคนจำนวนมากต้องทนทุกข์ทรมานเนื่องจากมีคนปฏิบัติต่อพวกเขาอย่างหยาบช้า และไร้ศลี ธรรม จงยกตัวอย่าง - ทำไมเราถึงกล่าวว่าความทุกข์ทรมานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือการหันหลังให้พระเป็นเจ้า-


92 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า พระเยซูเจ้าทรงรักประชาชน ทรงรักษาพวกเขา ให้อาหารและยอมรับผูท้ อดทิง้ พระองค์ประสงค์จะร่วมมีสว่ นกับทุกข์ทรมานของประชาชน ความรักอันปราศจากขอบเขตของพระเยซูเจ้าท้าทายบรรดาผู้นำชาวยิว พวกเขารู้สึกกระสับกระส่ายและเริ่มเกลียดชังพระองค์ อย่างไรก็ตามพระเยซูเจ้าทรง เตรียมตัวแม้กระทัง่ ความตายเพือ่ ประชาชน พระองค์มไิ ด้ถอยหนีจากศัตรูและมิได้คดิ ทำลายพวกเขาด้วย พระเยซูเจ้าทรงทำอะไร อ่านสิ่งที่พระเยซูเจ้าทรงกระทำในระหว่างมหาทรมาน อ่านมัทธิว 26:36-46 : ความทรมานของพระเยซูในสวนเกทเสมนี  จงอ่านข้อความจากพระคัมภีรอ ์ กี ครัง้ พร้อมกับดูรปู ภาพข้างล่าง

ให้แต่ละคนเลือกคำหรือข้อความใดข้อความหนึ่งจากพระคัมภีร์ที่เราได้รับฟัง อ่านดังๆ 3 ครัง้ อย่างช้าๆ และสำรวม - เราไม่ต้องการคำอธิบายเพียงแต่ให้อ่านดังๆ และอ่านซ้ำ วิธีการนี้ช่วยให้เรา จำและสำนึกถึงการประทับอยู่ของพระเยซูเจ้าในสวนเกทเสมนี


93 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า พระคริสตเจ้าทรงเรียกเราให้ตดิ ตามพระองค์ไปในวิถที างสูฟ่ า้ ใหม่ และแผ่นดินใหม่ พระองค์เสด็จมาประทับอยูท่ า่ มกลางความทุกข์ยากของเรา ทรงร่วมในความยากลำบาก และขอให้เราชนะความยากลำบากนัน้ พร้อมกับพระองค์ แบ่งกลุม่ ย่อย กลุม่ ละ 4-6 คน อภิปรายถึงคำถามต่อไปนี้ เราพบสถานการณ์ในชีวติ ของเราทีค่ ล้ายคลึงและเตือนให้เราคิดถึงพระเยซูในสวนเกทเสมนี - พระเยซูเจ้าทรงทำอย่างไร และเราเองทำอย่างไรในสถานการณ์เช่นนี้ - พระบิดาทรงมีพระประสงค์อย่างไรเพือ่ รับทุกข์ทรมานหรือให้รกั แม้กระทัง่ ศัตรูของ พระองค์ พระเยซูทรงแสดงความรักต่อศัตรูของพระองค์ในสวนเกทเสมนีอย่างไร - - (รายงาน ต่อกลุ่มใหญ่) พระเยซูเจ้าทรงรับทรมานในสวนเกทเสมนี พระองค์ทรงปฏิเสธที่จะเกลียดศัตรู พระองค์ทรงรักพวกเขา นีแ่ หละเป็นพระประสงค์ของพระบิดา เป็นหนทางของ พระเป็นเจ้าสูค่ วามรอด (Salvation) ข้อควรจำ 8. บทภาวนาทีม่ ชี อ่ื เสียงของพระเยซูเจ้าในสวนเกทเสมนีคอื บทภาวนาอะไร “พระบิดาเจ้าข้า ถ้าข้าพเจ้าต้องดื่มจากถ้วยนี้โดยหลีกเลี่ยงมิได้แล้ว ขอให้เป็นไป 

ตามพระประสงค์ของพระองค์เถิด” (มัทธิว 26:42) สำหรับพ่อแม่อปุ ถัมภ์ (Sponsors) พ่อแม่อปุ ถัมภ์และผูเ้ รียนคำสอนควรเยีย่ มคนทีก่ ำลังทนทุกข์ ให้กำลังใจพวกเขาด้วย วาจาแห่งความเชือ่ ความยินดีและความหวัง


94 23. พระเยซูเจ้าสิ้นพระชนม์เพื่อเรา ก. มองชีวิต ในบทสัญลักษณ์ของอัครสาวก เราประกาศว่า “พระเยซูเจ้าทรงรับทรมานสมัยปอนซิโอ ปีลาโต ถูกตรึงกางเขน ตายและ ฝังไว้ เสด็จลงใต้บาดาล” ศัตรูทย่ี ง่ิ ใหญ่ของเราคือความตาย ดูรปู ภาพนี้

ท่านเห็นอะไรในภาพนี้ - จงมองดูภาพสุสาน ทำไมคนเอากางเขนปักไว้หน้าหลุมศพของผูต ้ าย - จงมองดูภาพชายทีถ ่ กู ยิง ในยุคของเราผูค้ นเสียชีวติ จากความรุนแรงอย่างไร - 

ท่านอาจเคยอยูก่ บั ผูก้ ำลังสิน้ ใจ บางคนสิน้ ลมอย่างสงบแต่บางคนก็ไม่ จงแบ่งปันประสบการณ์เรือ่ งความตายกับกลุม่ - -




95 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า นีค่ อื ข่าวดีทเ่ี ราประกาศว่า “พระเยซูเจ้าทรงสิน้ พระชนม์เพือ่ เรา” พระองค์ทรง ร่วมส่วนในความตายกับประชากรทั้งมวล พระองค์ทรงเสด็จลงใต้บาดาลเพื่อให้ ความหวังและชีวิตแก่บรรดาผู้ตายเหล่านั้น อ่าน ลูกา 23: 26-46 : การสิน้ พระชนม์ของพระเยซูเจ้า อ่านข้อความจากพระคัมภีรอ์ กี ครัง้ ขณะดูภาพข้างล่าง

พระเยซูเจ้ามีอำนาจสามารถลงจากกางเขนและทำลายศัตรูของพระองค์ได้ ทำไม พระองค์ไม่ทำเช่นนัน้ - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  เรารูไ ้ ด้อย่างไรว่าพระเยซูเจ้าทรงรักศัตรูทต่ี รึงพระองค์บนไม้กางเขน -  ทำไมเราถึงกล่าวว่าพระเยซูเจ้าชนะความชัว ่ ด้วยความดี -  ขณะพระเยซูเจ้าอยู่บนไม้กางเขน พระองค์แสดงให้เราเห็นว่าศัตรูของพระองค์ไม่ มีอำนาจทำลายความรักและชีวติ ของพระองค์ได้ ด้วยพระวาจาของพระองค์ตอนไหน ดูขอ้ 34 และ 46 - 


96 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า บทหนทางไปหาพระเป็นเจ้า เราต้องติดตามพระเยซูเจ้าไปสูก่ างเขน สำหรับ หลายๆ คน กางเขนดูเป็นเรือ่ งน่าอาย แต่สำหรับคริสตชนกางเขนเป็นสัญลักษณ์แห่ง ชัยชนะ บนไม้กางเขนพระเยซูเจ้าทรงชนะความเกลียดชังของศัตรู พระองค์ไม่โต้ตอบ ศัตรูแต่กลับให้อภัยและภาวนาให้กบั พวกเขา พระองค์ทำตามพระประสงค์ของพระบิดา จนถึงทีส่ ดุ พระองค์ทรงรักบรรดาผูท้ ป่ี ระหารพระองค์ นีค่ อื พระประสงค์ของพระบิดา ตัง้ แต่พระเยซูเจ้าทรงสิน้ พระชนม์บนไม้กางเขน ไม่มใี ครอีกต่อไปทีจ่ ะสิน้ ใจอย่าง โดดเดี่ยว ในเวลาสิ้นใจเราสามารถร่วมเป็นหนึ่งเดียวกับพระเยซูเจ้าเพราะเรารู้ว่า พระองค์จะเสด็จสู่ดินแดนผู้ตายพร้อมกับเราด้วย ในเวลาเราจะสิน้ ใจ เราสามารถทำอะไรได้บา้ งเพือ่ ร่วมเป็นหนึง่ เดียวกับพระเยซูเจ้า - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  เราสามารถช่วยอะไรเพือ ่ นพีน่ อ้ งได้บา้ งในเวลาทีเ่ ขากำลังจะสิน้ ใจ -  จงเปรียบเทียบภาพหน้า 94 และ 95 สองภาพนีเ้ กีย ่ วข้องกันอย่างไร - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 

ข้อควรจำ 9. พระเยซูเจ้าทรงภาวนาเพือ่ ศัตรูทต่ี รึงกางเขนพระองค์อย่างไร “พระบิดาเจ้าข้า โปรดอภัยความผิดแก่เขาเถิด เพราะเขาไม่รวู้ า่ กำลังทำอะไร” (ลูกา 23:34) บทเสริม ยอห์น 19:25-30 พระเยซูเจ้ากับพระมารดาทีเ่ ชิงกางเขน ยอห์น 11:17-27 การกลับคืนชีพของลาซารัส ยอห์น 6:51-58: “...ใครทีก่ นิ ปังนีจ้ ะมีชวี ติ อยูต่ ลอดไป...”


97 24. พระคริสตเจ้าได้สิ้นพระชนม์เพื่อบรรพบุรุษของเราด้วย ก. มองชีวิต เรารักบรรพชนของเรา เรารูส้ กึ เป็นหนึง่ เดียวกับพวกเขาและได้รบั การปกป้อง จากพวกเขา บรรพชนของเราหลายคนไม่มีโอกาสรู้จักพระคริสตเจ้า พวกเขาจะเป็น อย่างไร เมือ่ เราเป็นคริสตชนแล้วเรายังคงเป็นหนึง่ เดียวกับพวกเขาอีกหรือไม่ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นคำถาม

อภิปรายคำถามต่อไปนีใ้ นกลุม่ ย่อย กลุม่ ละ 4-6 คน แล้วกลับมารายงานหลังจาก 15-20 นาที มีประเพณีอะไรบ้างทีเ่ ตือนเราให้คด ิ ถึงบรรพชน - ท่านคิดว่าท่านคาดหวังอะไรจากบรรพชนและบรรพชนคาดหวังอะไรจากท่านบ้าง-ในปัจจุบน ั มีประเพณีอะไรบ้างซึง่ เป็นประเพณีสำหรับผูต้ าย - -


98 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า พระเป็นเจ้าตรัสกับเราอย่างชัดเจนว่า พระองค์ต้องการให้มนุษย์ทุกคนได้รับ ความรอด พระคริสตเจ้าทรงสิน้ พระชนม์ไม่เฉพาะแต่ผมู้ โี อกาสรูจ้ กั และเชือ่ ในพระองค์ เท่านัน้ แต่เพือ่ มนุษย์ทง้ั มวล และทุกคนทีม่ เี จตจำนงทีด่ สี ามารถเอาตัวรอดอาศัย การสิ้นพระชนม์ของพระองค์ อ่านข้อความจากพระคัมภีร์ต่อไปนี้ หลังจากอ่านคำถามเดียวกันแล้ว พระวาจาตอนนี้กล่าวถึงบรรพบุรุษที่ไม่รู้จักพระคริสตเจ้าว่าอย่างไร ก) นักบุญเปาโลพูดใน 1 ทิโมธี 4:10 ว่า : พวกเราตรากตรำทำงานและต่อสู้ก็เพื่อสิ่งนี้ เราได้มอบความหวังไว้ในพระเจ้า ผูท้ รงชีวติ และพระองค์ทรงเป็นพระผูไ้ ถ่ของมนุษย์ทกุ คน โดยเฉพาะของผูท้ ม่ี ี ความเชื่อ ข) นักบุญเปาโลพูดใน 1 ทิโมธี 2:1,3-6 ว่า : ในขัน้ แรกนี้ ข้าพเจ้าขอร้องให้วอนขอ อธิษฐาน อ้อนวอนแทนและขอบพระคุณ พระเจ้าเพือ่ มนุษย์ทกุ คน การกระทำเช่นนีเ้ ป็นการกระทำทีด่ งี ามและเป็นที่ พอพระทัยพระเจ้าพระผูไ้ ถ่ของเรา พระองค์มพี ระประสงค์ให้ทกุ คนได้รบั ความรอดพ้นและรูค้ วามจริงทีส่ มบูรณ์ ทัง้ นีเ้ พราะมีพระเจ้าเพียงพระองค์เดียว และพระเจ้ากับมนุษย์กม็ คี นกลางแต่เพียงผูเ้ ดียวซึง่ เป็นมนุษย์คนหนึง่ คือ พระคริสตเยซู ผู้ทรงมอบพระองค์เป็นค่าไถ่สำหรับมนุษย์ทุกคน การมอบ พระองค์ดังกล่าวนี้คือการเป็นพยานยืนยันที่ทรงให้ไว้ตามเวลาที่กำหนด ค) นักบุญยอห์นพูดใน 1 ยอห์น 2:1-2 ว่า : “...เรายังมีทนายแก้ต่างให้เฉพาะพระพักตร์ของพระบิดา คือพระเยซูคริสตเจ้า ผูท้ รงเทีย่ งธรรม พระองค์ทรงเป็นเครือ่ งบูชาชดเชยบาปของเราและไม่เพียงแต่ ชดเชยเฉพาะบาปของเราเท่านัน้ แต่ชดเชยบาปของมนุษย์ทง้ั โลกด้วย”


99 ง) พระเยซูเจ้าตรัสในยอห์น 12:32 ว่า : “และเมือ่ เราจะถูกยกขึน้ จากแผ่นดิน เราจะดึงดูดทุกคนเข้ามาหาเรา” ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า ความเชือ่ นำเราสูส่ ายสัมพันธ์ใหม่และลึกซึง้ ยิง่ ขึน้ กับบรรพชนของเรา พระคริสตเจ้าสิน้ พระชนม์เพือ่ มนุษย์ทง้ั ปวงมิใช่เพียงกลุม่ ผูม้ คี วามเชือ่ เท่านัน้ ถ้าบรรพชนของ เราทำตามเสียงของพระเป็นเจ้าในดวงใจของพวกเขาและปฏิบตั ใิ นสิง่ ทีด่ ี ก็ได้รบั ความ รอดเหมือนกัน พระคริสตเจ้าทรงยอมรับพวกเขาเข้าร่วมกับสหพันธ์นกั บุญในสวรรค์ ด้วย เหตุฉะนั้น ตามประเพณีดั้งเดิมของพระศาสนจักรคาทอลิก เราคิดถึงบรรดา บรรพชนของเราในคำภาวนา และเราทำบุญระลึกถึงพวกเขาเหล่านั้นด้วยพิธีมิสซา และการฉลองต่างๆ จงดูภาพ 3 ภาพ (หน้า 100) และอภิปรายถึงเหตุการณ์ในภาพซึง่ จะช่วยให้ เราเข้าใจดียง่ิ ขึน้ ถึงความเชือ่ ของคริสตชนเกีย่ วกับบรรดาพีน่ อ้ งชายหญิงผูล้ ว่ งลับไปแล้ว  จงศึกษาอย่างตัง ้ ใจเกีย่ วกับประเพณีและบรรดาผูต้ ายในภาพทัง้ สาม จงเปรียบเทียบภาพเหล่านั้นและตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ภาพใดใกล้เคียงกับความเชือ่ ของคริสตชนมากทีส่ ดุ - 2. ในภาพทีห่ นึง่ ความไม่สบายใจแบบใดเกิดกับพีน่ อ้ งคริสตชน - 3. ในภาพทีห่ นึง่ ข้อความในพระคัมภีรต์ อนใดทีห่ มูพ่ น่ี อ้ งคริสตชนมองข้ามไป - 4. ในภาพทีส่ อง ข้อความในพระคัมภีรต์ อนใดทีพ่ น่ี อ้ งคริสตชนมองข้ามไป - 5. มีอะไรแตกต่างกันบ้าง ในระหว่างภาพที่ 2 กับ ภาพที่ 3 ซึง่ เกีย่ วกับความสัมพันธ์ ของเรากับพีน่ อ้ งทีส่ น้ิ ใจไปแล้ว - 6. จงวาดภาพซึง่ แสดงให้เห็นภาพคนต่างศาสนาทีเ่ กีย่ วข้องกับผูต้ าย - -


100 1. พีน่ อ้ งคริสตชนเหล่านีต้ อ้ งการแน่ใจ ว่าเกียรติมงคลมีแด่พระคริสตเจ้าแต่ องค์เดียว เพราะฉะนัน้ พวกเขา ไม่เคยให้เกียรติบรรดาผู้ตาย หรือ พูดถึงบรรดา “นักบุญ” เลย

2. พี่น้องคริสตชนเหล่านี้ต้องการ แน่ใจว่าพวกเขาได้รบั การปกป้อง ในยามทุ ก ข์ ย ากโดยวอนขอ จากบรรพชน คริสตชนเหล่านี้ ยอมรับว่าพระคริสตเจ้าทรงเป็น พระเป็นเจ้า แต่ไม่ค่อยวอนขอ ความคุ้มครองจากพระองค์

3. พีน่ อ้ งคริสตชนเหล่านีเ้ ชือ่ ว่าพระคริสตเจ้า ทรงเป็ น พระเจ้ า ของทั ้ ง ผู ้ เ ป็ น และผู ้ ตายและเชือ่ ว่าบรรพชนทัง้ หลายอยูท่ า่ มกลาง บรรดานักบุญ คริสตชนเหล่านี้วอนขอ ความช่วยเหลือจากพระคริสตเจ้า และ เชื่อว่าบรรพชนผู้สิ้นใจไปแล้ววอนขอ ความช่วยเหลือต่อพระคริสตเจ้าเพือ่ ญาติ พี่น้องที่อยู่ในโลก


101 หมายเหตุ เรือ่ ง “ไฟชำระ” (PURGATORY) ความเชือ่ คาทอลิกสอนเราว่า : เป็นการดี และสมควรทีจ่ ะภาวนาเพือ่ พีน่ อ้ งชายหญิง ที่สิ้นใจไปแล้ว พวกเขาอาจต้องการคำภาวนาเพื่อการ เดินทางขั้นสุดท้ายไปหาพระเป็นเจ้า “การเดินทางขัน้ สุดท้าย” ไปหาพระเป็นเจ้า นี้ คาทอลิกเรียกว่า “ไฟชำระ” หรือ “เวลา แห่งการชำระตนให้บริสุทธิ์” ในพระคัมภีรเ์ ขียนไว้วา่ “สิง่ ใดทีเ่ ป็นมลทิน หรือผูท้ ม่ี คี วามประพฤตินา่ รังเกียจหรือผูพ้ ดู เท็จจะไม่เข้าไปในนครนีเ้ ลย (วิวรณ์ 21:27) เราสามารถร่วมเดินทางไปกับบรรดาพีน่ อ้ งในไฟชำระได้ อาศัยการภาวนาให้ พวกเขา โดยการวอนขอพระเมตตาต่อพระเป็นเจ้า โปรดชำระล้างพวกเขาให้บริสทุ ธิ์ จากมลทินทั้งปวงและยอมให้พวกเขาเข้าสู่วิมานสวรรค์ด้วย ดูในหนังสือสวด บทภาวนาอุทศิ แด่พน่ี อ้ งผูล้ ว่ งลับ - -



พิธีมิสซาเพื่อพี่น้องผู้ล่วงลับ เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการแสดงความเป็นหนึ่งเดียว กับพวกเขา เป็นการระลึกถึงและภาวนาให้พวกเขา อาศัยความเป็นหนึง่ เดียวกัน กับพระคริสตเจ้า ทำให้เราพีน่ อ้ งทัง้ ผูเ้ ป็นและผูต้ ายอยูใ่ กล้ชดิ กัน คริสตชนทีอ่ ยูใ่ นโลก ในไฟชำระและในสวรรค์ ต่างเป็นหนึง่ เดียวกันอาศัย พระคริสตเจ้า ทุกคนเป็นดัง่ ครอบครัวใหญ่ครอบครัวหนึง่ ซึง่ เราเรียกว่า “สหพันธ์นักบุญ” (Communion of Saints)


102 25. พระเยซูเจ้าทรงกลับคืนพระชนมชีพ ในบทนี้เราทุกคนได้รับเชิญให้ร่วมเดินทางไปกับศิษย์สองคนของพระเยซูเจ้า ไปยังหมูบ่ า้ นเล็กๆ ทีช่ อ่ื เอมมาอูส (อยูห่ า่ งจากกรุงเยรูซาเล็มประมาณ 11 กิโลเมตร) ศิษย์สองคนรูส้ กึ กังวล ทัง้ สองสนทนากันว่า “เกิดอะไรขึน้ กับพระเยซู พระองค์สน้ิ พระชนม์ แ ละถู ก ฝั ง ไว้ ” เราอาจเป็ น คนหนึ ่ ง ที ่ ม ี ค ำถามคล้ า ยๆ กั น นี ้ เพราะฉะนั ้ น ให้เราร่วมเดินทางไปกับศิษย์ทั้งสอง อ่าน ลูกา 24:13-35 : การเดินทางไปหมูบ่ า้ นเอมมาอูส ให้ทก ุ คนดูภาพข้างล่างและอ่านข้อความจากพระคัมภีรท์ แ่ี สดงในแต่ละภาพอีกครัง้ หลังจากเราอ่านข้อความเหล่านี้จากพระคัมภีร์ ให้เราถามตัวเองในแต่ละช่วงว่า : มีเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในชีวติ ของเราคล้ายอย่างนี้ บ้างไหม บนหนทางสู่เอมมาอูส อ่านข้อ 13 ถามตัวเองว่า :เรากำลังเดินไปหาพระเป็นเจ้า ใครร่วมเดินทางไปกับเราด้วย ใบหน้าของศิษย์ทั้งสองดูโศกเศร้า อ่านข้อ 14-17 ถามตัวเองว่า : อะไรทำให้เรารูส้ กึ เสียใจ อะไรทำให้เรารู้สึกเครียดและผิดหวัง


103 พระองค์อธิบายพระคัมภีร์ อ่านข้อ 25-27 ถามตัวเองว่า : เราเป็นคนหนึ่งที่พูดและ อ่านเกี่ยวกับพระเยซูเจ้าในพระคัมภีร์ เรา ต้องทำอะไรเพือ่ พระเยซูจะสัมผัสใจของเรา และอธิบายพระคัมภีร์ให้เราฟัง ศิษย์ทั้งสองเชิญให้พระองค์พักอยู่กับพวกเขา อ่านข้อ 28-29 ถามตัวเองว่า : เราเคยตัดสินใจพักอยู่กับ พระเยซูเจ้าบ้างไหม เรารู้ได้อย่างไรในชีวิตของเราว่า เราเชิญ พระเยซูให้พักกับเราที่บ้าน ที่ทำงาน ใน ความยินดี และในความเสียใจ พวกเขาจำพระองค์ได้ อ่านข้อ 30-32 ถามตัวเองว่าใจของเรา “เร่าร้อน” ขณะฟัง พระวาจาของพระเป็นเจ้าในมิสซาหรือไม่ ถ้า “ไม่” ถามว่า “ทำไมถึงไม่” เราตระหนักถึงการประทับอยู่ของพระเยซู ผู้กลับคืนชีพในพิธีมิสซาขณะบิปังหรือไม่ ถ้า ไม่” ถามว่า “ทำไมถึงไม่”


104 “พระองค์หายไปจากสายตาของพวกเขา” ศิษย์ทง้ั สองจำพระองค์ได้ แต่พระองค์หายไปจาก สายตาของเขาแล้ว สิ่งเดียวกันนี้อาจเกิดขึ้นกับ เรา หลังจากพบพระเจ้าผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพ หรือหลังจากรับศีลล้างบาป ดูเหมือนพระเยซูเจ้า หายไปจากเรา เหตุฉะนั้นความเชื่อของเราในพระเยซูเจ้าต้องการพละกำลังและทำให้ลกึ ซึง้ แม้หลังจากการรับศีลล้างบาป เหตุนเ้ี องศิษย์ทง้ั สองจึงรีบออกจากเอมมาอูสกลับไปหาคณะอัครสาวกทันที ศิษย์สองคนเล่าเรื่องที่เกิดขึ้น อ่านข้อ 33-35 ถามตั ว เอง : เมื ่ อ เราพบพระคริ ส ตเจ้ า และมี ประสบการณ์ถึงการประทับอยู่ของพระองค์ เรา เคยแบ่งปันประสบการณ์นี้กับผู้อื่นหรือไม่ เรา ควรแบ่งปันความเชื่อในพระคริสตเจ้าให้ใครบ้าง เราถูกส่งไปหาใคร บทเสริม (วิธกี ารแบ่งปันพระวาจา ให้ดขู น้ั ตอน 7 ขัน้ หน้า 240) มัทธิว 28:1-10 : การกลับคืนพระชนมชีพ ยอห์น 20:19-29 : พระเยซูเจ้าทรงสำแดงพระองค์กบั บรรดาศิษย์ มัทธิว 18:19 : ทีใ่ ดมีสองหรือสามคนชุมนุมกันในนามของเรา มัทธิว 28:16-20 : พระเยซูจะอยูก่ บั เราตราบจนสิน้ พิภพ 1 โครินธ์ 15:12-28 : ถ้าพระคริสตเจ้าไม่ได้ทรงกลับคืนพระชนมชีพ ความเชื่อของเราก็ไร้ประโยชน์ แต่ความจริงคือพระคริสตเจ้าทรงกลับคืนพระชนมชีพ


105 26. พระเยซูเจ้าทรงกลับคืนพระชนมชีพและมาประทับอยู่กับเรา ก. มองชีวิต ในบทสัญลักษณ์ของอัครสาวก เราประกาศว่า “ในวันทีส่ าม พระเยซูเจ้าทรงกลับคืนชีพ” ในบทเรียนวันนีเ้ ราจะมีประสบการณ์ถงึ ความยินดีในการกลับคืนพระชนมชีพจากความตายของพระคริสตเจ้า ถ้าดวงตาของเราเปิดออก เราจะเห็นฤทธานุภาพ ของพระเจ้าผู้กลับคืนพระชนมชีพในโลกปัจจุบัน เราสามารถมีประสบการณ์กับ พระองค์ในหมูพ่ น่ี อ้ งผูม้ คี วามเชือ่ ได้ แต่ถา้ เรายอมเปิดตาของเรา เราจะเห็นพระคริสตเจ้าผู้กลับคืนพระชนมชีพทำงานรอบตัวเรา แม้แต่ในสถานที่ที่เราคาดไม่ถึงว่าจะพบ พระองค์ จงค้นหาการประทับอยู่ของพระเยซูเจ้าผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพในวิธีต่างๆ จากภาพข้างล่างนี้

อภิปรายในกลุ่มใหญ่ ไมเราถึงกล่าวว่าพระเยซูเจ้าประทับอยูท ่ ใ่ี ดก็ตามทีม่ กี ารชุมนุมเพือ่ สร้างสันติภาพ หรือชุมนุมวางแผนเพือ่ ช่วยผูอ้ น่ื - -


106 

มีกลุม่ และองค์กรมากมายทีม่ ไิ ด้อา้ งชือ่ “คริสตชน” แต่พระคริสตเจ้าผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพก็ประทับอยูท่ น่ี น่ั ท่านคิดว่า ทำไมถึงเป็นเช่นนี้ ท่านรูจ้ กั กลุม่ เช่นนี้ บ้างไหม - -

ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ในกลุม่ ย่อยให้อา่ นข้อความจากพระคัมภีรก์ ลุม่ ละตอน และตอบคำถามต่อไปนี้ “ในสถานการณ์เช่นนี้ พระคริสตเจ้าทรงประทับอยู่ในรูปแบบใด สิ่งเหล่านี้ยังคงเกิดขึ้นในปัจจุบันที่ไหน” ก) มัทธิว 18:18 -19: ทีใ่ ดมีคนสองคนหรือสามคนชุมนุมอยู.่ .. ข) มัทธิว 25:37- 45: ... ท่านได้ปฏิบตั ติ อ่ เราเอง ค) มัทธิว 28:16-20 : เราจะอยูก่ บั ท่านเสมอไป ง) ลูกา 9:49-50: เราได้เห็นคนหนึง่ ขับไล่ปศี าจในพระนามของพระองค์ แต่เขามิได้อยู่กับเรา จ) ลูกา 22:19-20: จงทำดังนีเ้ พือ่ ระลึกถึงเราเถิด (กลับมารายงานหลังจาก 10 นาที) ค) ก้าวเดินไปข้างหน้า ชีวิตคริสตชนเป็นการร่วมเดินทางกับพระเยซูเจ้าผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพ เราจะประสบกับความทุกข์ยากหากเราหลงทางจากพระองค์หรือถ้าเราต้องการเดินไปเพียงตามลำพัง (อภิปรายในกลุ่มใหญ่) 

เราทำอะไรได้บา้ งเพือ่ คงความสัมพันธ์อนั ใกล้ชดิ กับพระเยซูเจ้า ผูท้ รงกลับคืน พระชนมชีพ - -


107 ชุมชนของพระศาสนจักรช่วยให้เราคงความสัมพันธ์อนั ใกล้ชดิ กับพระเยซูเจ้าผูท้ รง กลับคืนพระชนมชีพได้อย่างไร -  ชุมชนของพระศาสนจักรช่วยให้เราพบวิถีทางกลับไปหาพระเยซูเจ้าผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพได้อย่างไร หากเราหันเหไปจากทางของพระองค์ - 

ให้เราภาวนาจากใจ และเชิญพระเยซูเจ้าให้รว่ มเดินทางกับเราในทุกหนแห่งทีเ่ ราไป - -


108 27. พระเยซูเจ้าเสด็จสู่สวรรค์ ก. มองชีวิต ในบทข้าพเจ้าเชือ่ เราประกาศว่า “เสด็จขึ้นสวรรค์ประทับเบื้องขวาพระเป็นเจ้าพระบิดา” ให้เรามองดูชีวิตของเราเองและคิดถึงคนที่ได้เลื่อนตำแหน่งสูงขึ้น

อภิปรายในกลุ่มย่อยถึงคำถามต่อไปนี้  ในภาพเราเห็นผูน ้ ำ 3 แบบ มีอะไรทีต่ า่ งกันในระหว่างผูน้ ำเหล่านัน้ -  จงยกตัวอย่างบรรดาผูน ้ ำประเทศของเราผูซ้ ง่ึ ประชาชนยกให้เป็นผูน้ ำ หรือคนที-่ ยกตนเองขึน้ เป็นผูน้ ำ หรือบุคคลผูซ้ ง่ึ พระเป็นเจ้าแต่งตัง้ ให้เป็นผูน้ ำ -  เมือ ่ คนขึน้ สูภ่ าวะผูน้ ำ หมายความว่าเขาต้องอยูไ่ กลจากประชาชนและอยู่ “สูงกว่า” ผูอ้ น่ื หรือสูส่ ภาวะผูน้ ำหมายถึงอะไร - -


109 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ในบทอ่านจากพระคัมภีร์ เราได้ยนิ พระเยซูเจ้าทรงขึน้ สูภ่ าวะผูน้ ำและเป็น พระเจ้าแห่งพระเจ้าทัง้ หลาย ณ เบือ้ งขวาพระเป็นเจ้าพระบิดา อ่านกิจการอัครสาวก 1: 6 -11 : พระเยซูเจ้าเสด็จสูส่ วรรค์ จงดูรูปข้างล่างขณะอ่านข้อความจากพระคัมภีร์อีกครั้ง

“เมฆบังพระองค์จากสายตาของเขา” เมฆนีห้ มายถึงอะไร พระคัมภีร์อธิบายให้เราฟังว่า เมฆนี้หมายถึงอะไร มันมีความหมายมากกว่า เพียงเป็นเมฆทีอ่ ยูบ่ นท้องฟ้า ตัวอย่าง เมือ่ ชาวอิสราเอลเห็นภูเขาซีนายปกคลุมไปด้วย เมฆ ชาวอิสราเอลรู้ว่าเมฆเป็นสัญลักษณ์ของการประทับอยู่และฤทธานุภาพของ พระเป็นเจ้า เมื่อพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นเหนือเมฆ บรรดาอัครสาวกตระหนักดีว่าพระเยซูเจ้า ทรงเข้าสู่พระสิริมงคลของพระเป็นเจ้า พระองค์ทรงรับพระราชอำนาจสูงสุดทั้งใน สวรรค์และบนแผ่นดิน พระองค์ทรงเป็นพระเป็นเจ้าของบรรดานานาชาติ


110 อ่าน มัทธิว 28:16-20 นักบุญมัทธิว บรรยายการเสด็จสู่สวรรค์เพื่อมอบอาชญาสิทธิ์ของพระเยซูเจ้า อย่างไร - ข้อความจากพระคัมภีร์ : “พระเยซูพระองค์นท้ี ท่ี รงเสด็จสูส่ วรรค์ จะเสด็จ กลับมาเช่นเดียวกับที่ท่านทั้งหลายเห็นพระองค์ทรงจากไปสู่สวรรค์” ข้อความตอนนี้หมายความว่าอะไร เมฆของพระเป็นเจ้าปกคลุมพระเยซูเจ้าจากสายตาบรรดาอัครสาวก พวกเขา เห็นพระองค์เป็นครั้งสุดท้าย อย่างไรก็ตามพระเยซูเจ้าจะเสด็จกลับมาอีกในวัน พิพากษาบน “เมฆ” แห่งสิรมิ งคลของพระเป็นเจ้าเพือ่ ตัดสินผูเ้ ป็นและผูต้ าย อ่าน มัทธิว 24:29-31 : การเสด็จมาของบุตรแห่งมนุษย์ 

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า ก้าวทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ในการเดินทางของท่านไปหาพระเป็นเจ้าคือ ท่านยอมรับ ด้วยสิน้ สุดจิตใจว่า พระเยซูเจ้าทรงเป็นพระเป็นเจ้า (อภิปรายในกลุ่มย่อยถึงคำถามต่อไปนี้)  หมายความว่าอะไรทีว ่ า่ บิดาและมารดายอมรับว่าพระเยซูเจ้าทรงเป็นพระเจ้าของ พวกท่าน - อะไรเป็นผลตามมาสำหรับการที่นักธุรกิจคนหนึ่งยอมรับว่าพระเยซูเจ้าทรงเป็น พระเจ้า -  ท่านรูจ ้ กั ใครบ้างไหมทีย่ อมรับว่าพระเยซูเจ้าทรงเป็นพระเจ้าของพวกเขา จงพูดถึง บุคคลเหล่านัน้ - 


111 ข้อควรจำ 10. บทภาวนาใดในระหว่างมิสซา ที่เรายืนยันว่าพระเยซูเจ้าทรงเป็นพระเจ้า และวอนขอพระกรุณาจากพระองค์ “ข้าแต่พระเจ้าทรงพระกรุณาเทอญ ข้าแต่พระคริตเจ้าทรงพระกรุณาเทอญ ข้าแต่พระเจ้าทรงพระกรุณาเทอญ” 11. เราประกาศยืนยันอะไรเกีย่ วกับพระเยซูคริสตเจ้า เมือ่ เราสวด “บทสัญลักษณ์ของอัครสาวก” (Apostles’ Creed) “เชือ่ ถึงพระเอกบุตรเยซูคริสต์สวามีของเรา ปฏิสนธิเดชะพระจิต บังเกิดจาก พระนางมารีอา พรหมจารี รับทรมานสมัยปอนซีโอ ปีลาโต ถูกตรึงกางเขน ตายแล้วฝังไว้ เสด็จลงใต้บาดาล วันทีส่ ามกลับคืนชีพจากบรรดาผูต้ าย เสด็จ ขึน้ สวรรค์ประทับเบือ้ งขวาพระเป็นเจ้าพระบิดา ทรงสรรพานุภาพ แล้วจะเสด็จ มาพิพากษาผู้เป็นและผู้ตาย”


112 28. ข้าพเจ้าเชื่อในพระจิต ก. มองชีวิต ในบทสัญลักษณ์ของอัครสาวก เราประกาศว่า “ข้าพเจ้าเชื่อถึงพระจิต” เมือ่ เราสำรวจดูชวี ติ ของเรา เราอาจเคยมีประสบการณ์เกีย่ วกับจิตทีต่ า่ งกัน ทั้งดีและไม่ดี

เราพบจิตที่ดีและไม่ดีในภาพใด  เมือ ่ ท่านได้ยนิ คำว่า “จิต” อะไรผุดขึน้ มาในจิตใจของท่าน ท่านใช้จติ ทีบ่ า้ นเมือ่ ไร ท่านคิดว่า “จิต” หมายถึงอะไร - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  จงยกตัวอย่าง เมือ ่ ท่านได้รบั การดลใจจากภายในให้กระทำความดี -  ท่านได้เห็นจิตแห่งความกล้าหาญทีไ ่ หน -  ท่านเห็นพระจิตของพระเป็นเจ้าทำงานในชุมชน ในเขตวัดหรือประเทศของท่านทีใ่ ด - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 


113 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า เราพบพระจิตของพระเป็นเจ้ากำลังทำงานอยู่ทุกหนแห่งในโลก ที่ใดก็ตามที่ เราพบชีวิต พระจิตของพระเป็นเจ้าทำงานอยู่ที่นั่น ที่ใดก็ตามเราพบความรักและ การแบ่งปัน พระจิตของพระเป็นเจ้าทำงานอยูท่ น่ี น่ั ด้วย ในสิง่ ใดก็ตามทีด่ ปี ระเสริฐ และงดงาม พระจิตของพระเป็นเจ้าปรากฏให้เห็นได้ พระจิตเจ้ามาจากพระเป็นเจ้า พระเยซูเจ้าทรงสัญญาจะประทานพระจิตแก่ บรรดาสานุศิษย์และพระองค์ก็ทรงกระทำตามสัญญานั้น อ่านกิจการอัครสาวก 2:1-18 : การเสด็จมาของพระจิตเจ้า (วันเปนเตกอสเต) ขณะอ่านพระคัมภีร์ ให้ดภู าพข้างล่าง

พระจิตเจ้าปรากฏพระองค์เองให้เห็นได้เหมือนเราเห็นในภาพได้อย่างไร - พระจิตเจ้าปรากฏพระองค์เองให้เห็นได้เหมือนข้อความในกิจการอัครสาวกทีเ่ ราอ่าน ได้อย่างไร ดูขอ้ 1- 4 -  ทำไมเรากล่าวว่าพระจิตเจ้าเป็นพระจิตแห่งเอกภาพ เราเห็นสิง ่ นีใ้ นข้อความจาก พระคัมภีรไ์ ด้อย่างไร - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 


114 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า ก่อนทีบ่ รรดาศิษย์ของพระเยซูได้รบั พระจิตเจ้า พวกเขาประชุมและอธิษฐาน ร่วมกัน ให้เราอ่าน กิจการอัครสาวก 1:14 : “ทุกคนร่วมอธิฐานภาวนาสม่ำเสมอ เป็น น้ำหนึง่ ใจเดียวกันพร้อมกับบรรดาสตรีรวมทัง้ มารีย์ พระมารดาของพระเยซูและพีน่ อ้ ง ของพระองค์” ถ้าเราต้องการรับพระจิตเจ้า เราต้องกระทำเช่นเดียวกัน เมือ่ เราภาวนา เรา เปิดใจหาพระเป็นเจ้าและพี่น้องชายหญิง เพียงแค่เรา “เปิดรับ” เราก็สามารถรับ พระจิตเจ้า  ท่านเคย “ร่วมกันภาวนาเป็นกลุม ่ ” หรือไม่ ถ้าไม่เคย ขอให้วางแผนภาวนาเป็นกลุม่ ขอให้มาร่วมประชุมกันเป็นครัง้ คราว ขับบทเพลง ภาวนาจากใจและภาวนาจาก พระคัมภีร์ และจงภาวนาเพือ่ กันและกัน เมือ่ ท่านมาร่วมชุมนุมกันเป็นกลุม่ เพือ่ สวดภาวนา จงภาวนาเหมือนบรรดาศิษย์ขณะ เมื่อพวกเขากำลังรอรับพระจิตเจ้า ข้อตกลง : ท่านจะมาชุมนุมกันเมือ่ ไร - ท่านจะมาชุมนุมกันทีไ่ หน - ใครจะเตรียมข้อความจากพระคัมภีร์ บทเพลง - ใครสามารถช่วยแบ่งบันพระคัมภีร์ - 

เราสามารถฟังการดลใจของพระจิตเจ้าผูซ้ ง่ึ นำทางชีวติ ของเราได้อย่าไร เราต้องทำ อะไรเพือ่ ให้ได้ยนิ คำแนะนำของพระจิตเจ้าจากภายในตัวเรา - - (กลุม่ ย่อย,รายงาน)


115 ข้อควรจำ 12. บทภาวนาบทใดทีเ่ ราเชิญพระจิตเจ้ามาสถิตในดวงใจของสัตบุรษ ุ “เชิญเสด็จมาพระจิตเจ้าข้า เชิญมาสถิตในดวงใจสัตบุรษุ และบันดาลให้เร่าร้อนด้วย ความรักต่อพระองค์” บทเสริม กาลาเทีย 5:16-26 : ผลของพระจิตเจ้า กิจการอัครสาวก 13:1-5 : พระจิตเจ้าทรงนำทางนักบุญเปาโลอยูเ่ สมอ


116 29. คริสตชนต้องเป็นแสงสว่างส่องโลก ก. มองชีวิต พระศาสนจักรกำเนิดในวันพระจิตเจ้าเสด็จมา (วันเปนเตกอสเต-Pentecost) ชุมชนคริสตชนเต็มเปีย่ มไปด้วยพลังของพระจิตเจ้า วันทีส่ มาชิกของชุมชนคริสตชน ใหม่โดยมีเปโตรเป็นหัวหน้าบรรดาอัครสาวกได้ปรากฏตัวแก่โลก สิ่งที่พระคริสตเจ้า ต้องการคือ ให้พระศาสนจักรเป็นแสงสว่างแก่คนทัง้ มวล จงดูภาพข้างล่าง

ท่านเห็นอะไรในภาพนี้ -- คริสตชนมีขา ่ วอะไรจะบอกกับบุคคลต่างๆ เหล่านี้ (กลุม่ ย่อย, รายงาน) -  จงมองดูบรรดากรรมกรซึง ่ รวมตัวกันเป็นสหภาพแรงงาน คริสตชนควรเข้าไปมีสว่ น ร่วมในสหภาพแรงงานหรือไม่ บางคนกล่าวว่า พระศาสนจักรไม่ควรเข้าไปเกีย่ วข้อง กับพวกเขา ท่านคิดอย่างไร ให้เหตุผล - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 


117 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ให้ เ ราฟั ง พระวาจาของพระเจ้ า พระองค์ ท รงส่ ง สานุ ศ ิ ษ ย์ ไ ปเผชิ ญ กั บ สถานการณ์ที่ลำบาก พระเยซูเจ้าตรัสว่า “เราส่งท่านทัง้ หลายไปดุจลูกแกะในฝูงสุนขั ป่า” อ่าน ลูกา 10:1-16 : พระเยซูเจ้าทรงส่งศิษย์เจ็ดสิบสองคน

จงดูภาพเงียบๆ ผูน้ ำอ่านข้อความต่อไปนีอ้ ย่างช้าๆ และสำรวม “ข้าวทีจ่ ะเกีย่ วมีมาก” (3 ครัง้ ) “จงไปเถิด” (3 ครัง้ ) “เราส่งท่านทัง้ หลายไปดุจลูกแกะในฝูงสุนขั ป่า” (3 ครัง้ ) “จงกล่าวก่อนว่าสันติสขุ จงมีแก่บา้ นนีเ้ ถิด” (3 ครัง้ )

“พระอาณาจักรของพระเจ้าใกล้เข้ามาแล้ว” (3 ครัง้ ) “ผูใ้ ดฟังท่าน ผูน้ น้ั ฟังเรา” (3 ครัง้ ) เงียบ 2 นาที และรำพึงถึงข้อความทีป่ ระทับใจท่านเป็นพิเศษ แบ่งปันกับเพือ ่ นทีน่ ง่ั ข้างๆ ถึงข้อความทีป่ ระทับใจ - -


118 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า “การก้าวเดินไปข้างหน้า” ในทางของพระคริสตเจ้านำเราให้ก้าวไปในทิศทาง ทีถ่ กู ต้องในโลก เราต้องก้าวออกไปหาเพือ่ นพีน่ อ้ งในโลกและสานงานทีพ่ ระคริสตเจ้า ได้เริ่มไว้ พระคริสตเจ้าตรัสว่า “เป็นงานที่ยากลำบาก” พระองค์เองเป็นดุจลูกแกะที่ ถูกสุนัขป่าฉีกเป็นชิ้นๆ พระองค์หวังให้เรา “นำการปฏิวัติแห่งความรัก” แก่ประชาชน ที่พระเยซูเจ้า ทรงเรียกว่า “พระอาณาจักรของพระเจ้า” เป็นอาณาจักรทีจ่ ะชนะการแตกแยกทัง้ ปวง อ่าน มัทธิว 5:43-48 พระเยซูเจ้าทรงหวังอะไรจากบรรดาศิษย์ของพระองค์ในการเป็น “แสงสว่างส่องโลก”  จงให้ตว ั อย่างว่า คริสตชนควรเป็น “แสงสว่างส่องโลก” ในทีใ่ ดบ้าง -  จงยกตัวอย่างว่า คริสตชนเป็นดุจลูกแกะในฝูงสุนข ั ป่าทีใ่ ดบ้าง - ข้อควรจำ 13. เมือ่ พระองค์ทรงส่งบรรดาศิษย์ไปประกาศข่าวเรือ่ งความรักในสถานการณ์ ทีอ่ นั ตราย พระคริสตเจ้าตรัสว่าอะไร “จงไปเถิด เราส่งท่านทัง้ หลายไปดุจลูกแกะในฝูงสุนขั ป่า” (ลูกา 10:3) บทเสริม มัทธิว 5:13-16 ท่านเป็นเกลือ แสงสว่างและเมืองทีต่ ง้ั อยูบ่ นภูเขา หนังสือพันธสัญญาใหม่ถกู รวบรวมอย่างไร ดูหน้า 234


119 30. คริสตชนถูกส่งไปสมานฉันท์ท่ามกลางพี่น้องประชาชน ก. มองชีวิต ในวันสมโภชพระจิตเจ้า มีเรื่องน่าตื่นเต้นเกิดขึ้นในหมู่ประชาชนในกรุงเยรูซาเล็ม พระจิตเจ้าเสด็จมาเหนือบรรดาสาวก ผูค้ นจากต่างเชือ้ ชาติและต่างภาษา พากันฟังบรรดาอัครสาวก ประชาชนเหล่านัน้ รูส้ กึ ประหลาดใจเพราะว่าต่างคนต่าง ได้ยินบรรดาอัครสาวกพูดเป็นภาษาของพวกเขา เกิดความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ท่ามกลางพวกเขา ถึงแม้จะมาจากต่างชาติตา่ งภาษากันก็ตาม โลกของเราในปัจจุบันต้องการเอกภาพ ประชาชนประสบกับความทุกข์ยาก เนือ่ งจากการขาดเอกภาพ เกิดความแตกแยกและการต่อสูก้ นั จงดูภาพข้างล่าง

เราเห็นอะไรในภาพ -  เราพบกับสถานการณ์ทค ่ี ล้ายๆ อย่างนีใ้ นชีวติ ของเราทีไ่ หน - - (กลุม่ ย่อย,รายงาน)  เราเคยพบกับการขาดความเป็นหนึง ่ เดียวกันในหมูค่ นต่างชาติ แม้แต่ตา่ งนิกายกัน ทีไ่ หน - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) 


120 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า หมู่พี่น้องคริสตชนในสมัยแรกๆ ฉายแสงแห่งความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน พระจิตเจ้าทรงทำให้พวกเขาเป็นน้ำหนึง่ ใจเดียวกัน เราเห็นความเป็นน้ำหนึง่ ใจเดียวกันของหมูค่ ริสตชนสมัยแรกๆ ในบทอ่านนี้ อ่าน หนังสือกิจการอัครสาวก 2:42-47 : ชีวติ ของคริสตชนกลุม่ แรก

ทุกคนเงียบ คนใดคนหนึง่ ในกลุม่ อ่านข้อความต่อไปอย่างช้าๆ และสำรวม “ดำเนินชีวติ ร่วมกันฉันพีน่ อ้ ง” (3 ครัง้ ) “มีทกุ สิง่ เป็นของส่วนรวม” (3 ครัง้ ) “แบ่งเงินให้ทกุ คนตามความต้องการ” (3 ครัง้ ) “กินอาหารด้วยความยินดี” (3 ครัง้ )

“สรรเสริญพระเจ้า” (3 ครัง้ )  เงียบ 2 นาที รำพึงถึงข้อความทีท ่ า่ นประทับใจเป็นพิเศษ -  แบ่งปันกับกลุม ่ ถึงคำหรือข้อความทีท่ า่ นประทับใจ - -


121 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า  จงเปรียบเทียบภาพหน้า (119) และ (120) อธิบายสิง่ ทีต่ า่ งกัน -  จงหาตัวอย่าง 5 ข้อ (ในกิจการอัครสาก 2:43-47) ทีแ ่ สดงความเป็นน้ำหนึง่ ใจเดียวกันของหมูค่ ริสตชนในสมัยแรก - จงคิดถึงชุมชนในเขตวัดของเราหรือพระศาสนจักรในประเทศ ทีส่ มาชิก พระศาสนจักรพยายามสร้างความเป็นน้ำหนึง่ ใจเดียวกันท่ามกลางหมูค่ นทีแ่ ตกแยก และทะเลาะวิวาทด้วยวิธอี ะไร - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  ความก้าวหน้าในหนทางของพระคริสตเจ้าต้องเป็นจริงขึ้นมา เราควรเริ่มสร้าง เอกภาพท่ามกลางความแตกแยก พระคริสตเจ้าขอให้เราสร้างเอกภาพในหมู่พี่น้องประชาชน - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) จงเลือกยกตัวอย่างเหตุการณ์ทเ่ี ราเข้าไปสร้างความเป็นน้ำหนึง ่ ใจเดียวกัน ให้เกิดขึ้นในหมู่พี่น้องที่แตกแยกในเขตวัดของเรา - - จงยกตัวอย่างที่เป็น รูปธรรม - จงเสนอแนะวิธีการในการแก้ปัญหา แต่ละคนในกลุ่มควรเสนอวิธีแก้ปัญหาแบบของตน - เลือกวิธีแก้ปัญหาหนึ่งข้อซึ่งทุกคนในกลุ่มเห็นด้วย อภิปรายกันถึงความเป็นไปได้และผลเสียในวิธีแก้ปัญหานี้ - ตกลงกันว่าใครจะเป็นผูไ้ ปแก้ปญ ั หา ทีไ่ หน และเมือ่ ไร


122 ข้อควรจำ 14. เราบรรยายถึงความเป็นน้ำหนึง่ ใจเดียวกันในพีน่ อ้ งคริสตชนสมัยแรก อย่างไร พวกเขาประชุมกันอย่างสม่ำเสมอ นำทรัพย์สนิ มาแบ่งปันกันและร่วมกันสรรเสริญ พระเจ้า บทเสริม คริสตชนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ในโลกปัจจุบนั ได้อย่างไร ผูน้ ำพระศาสนจักรแนะนำให้เราทำอะไร ดูหน้า 246-250 หน้าทีข่ องคริสตชนในโลก (เอกสารของพระศาสนจักร)


123

พิธรี ะหว่างเป็นผูส้ มัครเรียนคำสอน (RITES DURING THE CATECHUMENATE) การอวยพรผู้เรียนคำสอน

บทภาวนาละทิ้งความชั่ว

หลังจากชั่วโมงเรียนคำสอน สมาชิก ของกลุม่ คริสตชนอวยพรแก่ผเู้ รียนคำสอน ขณะกำลังอวยพร ให้สมาชิกคริสตชน วางมือบนบ่าของผู้สมัครเรียน (บทภาวนาอวยพร 6 บท ดูหน้า 271-274)

สมาชิกของชุมชนผู้ได้รับมอบอำนาจ จากพระสังฆราช สวด “บทภาวนา ละทิ้งความชั่ว” (Minor Exorcisms) (บทภาวนาละทิง้ ความชัว่ 7 บท ดูหน้า 265-270)

การเจิมน้ำมันผู้เรียนคำสอน พระสงฆ์หรือสังฆานุกรเป็นผู้เจิม การเจิมสามารถเจิมซ้ำได้ในโอกาสอื่นๆ ดูรายละเอียดเรือ่ งพิธกี รรมต่างๆ ในภาคผนวก (พิธเี จิมผูเ้ รียนคำสอน ดูหน้า 275-276)


124 31. ข้าพเจ้าเชื่อในพระศาสนจักรคาทอลิก ก. มองชีวิต ในบทสัญลักษณ์ของอัครสาวก เราประกาศว่า “ข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระศาสนจักรศักดิส์ ทิ ธิส์ ากล” คริสตชนต้องเป็นส่วนหนึง่ ของ พระศาสนจักรและรูส้ กึ เสมอว่าพระศาสนจักรเป็นเหมือนบ้านของเรา และก็เป็นเช่นนัน้ จริงๆ และเราควรมีความรูเ้ กีย่ วกับพระศาสนจักรให้มากกว่านี้

ในภาพ เราเห็นบรรดาผูน้ ำของพระศาสนจักรคาทอลิกมารวมกันทีม่ หาวิหาร นักบุญเปโตรในกรุงโรม มหาวิหารนีถ้ กู สร้างขึน้ บนหลุมพระศพของนักบุญเปโตรผูซ้ ง่ึ พระเยซูเจ้าทรงแต่งตัง้ ให้เป็นผูน้ ำของพระศาสนจักร ในปี ค.ศ. 1962 พระสังฆราช กว่าสองพันคนมาร่วมกันประชุมสภาสังคายานาวาติกนั ที่ 2 โดยมีสมเด็จพระสันตะปาปา พระสังฆราชแห่งกรุงโรม ผูส้ บื ทอดอำนาจจากนักบุญเปโตรและเป็นผูน้ ำของ พระศาสนจักรเป็นประธานในการประชุม  หน้าทีข ่ องพระสงฆ์และพระสังฆราชคืออะไร - -


125 

ในภาพ ท่านเห็นว่าบรรดาผูน้ ำของพระศาสนจักรต้องการทำให้คำสัง่ ของพระเยซูเจ้าที่ตรัสว่า “ผู้ใดที่ปรารถนาจะเป็นคนที่หนึ่งในบรรดาท่านทั้งหลาย ก็จะต้อง ทำตนให้เป็นผู้รับใช้ เหมือนกับบุตรแห่งมนุษย์...” (มัทธิว 20:27) สำเร็จไปได้ อย่างไร - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)

ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า พระสงฆ์และพระสังฆราชในพระศาสนจักรคาทอลิกไม่ได้ “แต่งตัง้ ตนเอง” ขึน้ เป็นผู้นำ พวกเขาได้รับหน้าที่จากบรรดาอัครสาวกโดยการปกมือ เปรียบเสมือน สายโซ่อนั มิรจู้ กั ขาดของบรรดาพระสังฆราชและพระสงฆ์ ซึง่ เชือ่ มเราคริสตชนกับ พระคริสตเจ้าและบรรดาอัครสาวก อ่าน 2 ทิโมธี 1:1-8 “ท่านได้รบั พระพรนีโ้ ดยการปกมือของข้าพเจ้า” นักบุญเปาโลเดินทางจากเมืองหนึ่งไปอีกเมืองหนึ่งเพื่อตั้งกลุ่มคริสตชน ก่อน ทีท่ า่ นจะจากเมืองนัน้ ไป ท่านแต่งตัง้ ผูน้ ำคนหนึง่ ให้ดแู ลกลุม่ คริสตชน เช่น เมือ่ ท่าน จะจากเมืองเอเฟซัส ท่านแต่งตัง้ ทิโมธีให้เป็นหัวหน้าพระศาสนจักรในเมืองเอเฟซัส  นักบุญเปาโลแต่งตัง ้ ทิโมธีขน้ึ เป็นผูน้ ำกลุม่ คริสตชนด้วยกิจการอะไร จงหาจาก ข้อความในพระคัมภีรท์ เ่ี ราได้อา่ นไป - 

จงหาจากข้อความในพระคัมภีรว์ า่ อะไรเป็น “คุณลักษณะหรือของประทานจาก พระเป็นเจ้า” ซึง่ นักบุญเปาโลคาดหวังในตัวทิโมธี - -


126

จากภาพข้างบน จงดูสายโซ่อนั มิรขู้ าดซึง่ เชือ่ มเรากับพระคริสตเจ้า และบรรดา อัครสาวกในปัจจุบนั - -

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า ท่านไม่ได้เดินทางไปหาพระเป็นเจ้าตามลำพัง กลุม่ คริสตชนทัง้ หมดร่วมเดิน ทางไปกับท่านและให้การสนับสนุนท่านด้วย ในระหว่างการเดินทางนี้ พระคริสตเจ้า ทรงแต่งตั้งพระสังฆราชและพระสงฆ์ให้เป็นผู้นำในหนทางนี้  ให้กลุ่มผู้เรียนคำสอนกลุ่มละ 2-3 คน ค้นหาจากข้อความต่อไปนี้ว่า พระเยซูเจ้า ทรงคาดหวังอะไรจากบรรดาอัครสาวก พระสังฆราช และพระสงฆ์ ก) จงไปสัง่ สอนนานาชาติให้มาเป็นศิษย์ของเรา : มัทธิว 28:19-20 ข) งานฉลองอาหารค่ำมือ้ สุดท้าย : ลูกา 22 :19-20 ค) จงอภัยบาป : ยอห์น 20:22-23 ง) จงปรึกษากันทัง้ กลุม่ แล้วค่อยตัดสินใจ : กิจการอัครสาวก 15:5-12


127 จ) การขจัดผูส้ อนผิด 1 ทิโมธี 1:1-3 ฉ) จงเป็นแบบอย่าง เทศน์และสอน : 1 ทิโมธี 4:12 ช) พระเยซูเจ้าทรงแต่งตัง้ เปโตรให้เป็นหัวหน้าบรรดาอัครสาวก : มัทธิว 16:18-20, ยอห์น 21:15-17 บรรดาผูน้ ำของพระศาสนจักรช่วยเหลือกลุม่ คริสตชนทัง้ มวลให้เป็นแสงสว่างส่องโลก และเสริมสร้างเอกภาพท่ามกลางประชาชน ข้อควรจำ 15. พระสังฆราชของเราชือ่ อะไร อยูท่ ไ่ี หน 16. ใครเป็นผู้นำสูงสุดของพระศาสนจักร สมเด็จพระสันตะปาปา 17. ทำไมสมเด็จพระสันตะปาปาอยู่ที่กรุงโรม เพราะว่านักบุญเปโตรไปเทศนาที่กรุงโรมและถูกฝังไว้ที่นั่น 18. สมเด็จพระสันตะปาปาองค์ปัจจุบันชื่ออะไร 19. พิธแี ต่งตัง้ พระสังฆราชหรือพระสงฆ์ให้รบั หน้าทีข่ องอัครสาวกเรียกว่าอะไร พิธศี ลี บวช (หรือการปกมือ)


128 32. แบบอย่างการดำเนินชีวิตในชุมชนพระศาสนจักร ผู้นำที่แท้จริงของพระศาสนจักรคือพระเยซูเจ้า อาศัยพระจิตพระองค์ทรงนำ และสนับสนุนบรรดาผู้นำของพระศาสนจักรและชุมชนพระศาสนจักรทั้งมวล ตัวอย่างเช่น บรรดาพระสังฆราชของพระศาสนจักรมาร่วมประชุมกันครัง้ แล้ว ครัง้ เล่า เพือ่ แสวงหาแนวทางทีพ่ ระเยซูเจ้าปรารถนาให้พวกเขาทำ พระสังฆราชทำ เช่นนี้เพราะว่าพระเยซูเจ้าทรงสัญญากับชุมชนพระศาสนจักรว่า “แต่พระผู้ช่วยเหลือ คือพระจิตเจ้าทีพ่ ระบิดาจะทรงส่งมาในนามของเรานัน้ จะทรงสอนท่านทุกสิง่ และจะ ทรงให้ทา่ นระลึกถึงทุกสิง่ ทีเ่ ราเคยบอกท่าน” (ยอห์น 14:26) กลุม่ คริสตชนทัง้ หมดซึง่ ได้รบั การดลใจจากพระจิตเจ้าร่วมประชุมกัน เพือ่ แสวงหาแนวทางการดำเนินชีวิตแบบคริสตชนภายใต้เงื่อนไขของโลกปัจจุบัน นี่จึงเป็น เหตุผลว่าทำไมพระศาสนจักรต้องมี “การเปลีย่ นแปลง” ในภาพต่อไปนีเ้ ราเห็นแบบอย่าง “การดำเนินชีวติ ของพระศาสนจักร” เหมือน ที่เราพบได้ในหลายแห่งในโลก  แบ่งกลุ่มย่อย 2-3 คน และให้แต่ละกลุ่มศึกษาภาพข้างล่าง แล้วให้แต่ละกลุ่ม อภิปรายคำถามต่อไปนี้และรายงาน “ภาพใดทีเ่ ตือนให้เราคิดถึงสภาพวัดของเราเอง” ยังขาดสิง่ ใดอีกในชุมชน พระศาสนจักรท้องถิ่นของเรา


129 วันอาทิตย์ คริสตชนในเขตวัดมาร่วมพิธี มิสซา พิธีนี้เป็นศูนย์กลางชีวิตคริสตชน ทีเ่ รามาร่วมฉลองความเป็นหนึง่ เดียวกับ พระเป็นเจ้าและกับผู้อื่น

ระหว่างสัปดาห์คริสตชนไปชุมนุมกันที่ บ้ า นคนใดคนหนึ ่ ง พวกเขาร่ ว มกั น อ่านพระคัมภีร์และแบ่งปันพระวาจาของ พระเจ้าซึ่งสัมผัสใจของแต่ละคน

พวกเขาสร้างชุมชนคริสตชนกลุ่มย่อย (Small Christian Communities) เพือ่ ร่วมกันภาวนา แบ่งปันพระคัมภีร์และ ช่ ว ยเหลื อ ซึ ่ ง กั น และกั น เมื ่ อ ต้ อ งการ ความช่วยเหลือผูน้ ำค่อยๆ เข้ามารับผิดชอบงานต่างๆ ของชุมชนวัด


130 “ชุมชนคริสตชนกลุ่มย่อย” มองออก ไปนอกกลุม่ เล็กๆ ของพวกเขา อาศัย การดลใจจากพระคัมภีรใ์ ห้พวกเขาทำ บางอย่าง เพือ่ ช่วยแก้ปญ ั หาต่างๆ ใน สังคม เช่น การขาดแคลนโรงพยาบาล โรงเรียน คนตกงาน ฯลฯ

ชุมชนคริสตชนกลุ่มย่อยส่งตัวแทน เข้าร่วมในสภาอภิบาลของวัด สภาอภิบาลทั้งหมดควรประสานงาน และมีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน

พวกเขาเป็นหนึ่งเดียวกับพระคริสตเจ้าด้วยการรับศีลล้างบาปและศีลมหาสนิท พวกเขาเป็นหนึง่ เดียวกันในการ สวดภาวนาและการทำงานร่วมกัน ใน ชุมชนคริสตชน พวกเขาเป็นน้ำหนึง่ ใจเดียวกันกับคริสตชนทั่วโลก อาศัย พระสังฆราชและบรรดาพระสงฆ์


131 รายงาน แบบอย่างของพระศาสนจักรแบบใดที่เราพบในพระศาสนจักรท้องถิ่น จงเปรียบเทียบพระศาสนจักรท้องถิ่นกับภาพข้างบน หน้าที่ หากพระศาสนจักรท้องถิ่นยังขาดลักษณะที่สำคัญ สมาชิกในกลุ่มควรพูดกับ สมาชิกคณะกรรมการสภาอภิบาลวัดที่สนิทกับเรามากที่สุด และสอบถามว่าทำไมวัด ของเราถึงขาดลักษณะสำคัญนี้


132 33. พระเป็นเจ้าเป็นชุมชนแห่งการแบ่งปัน : พระบิดา พระบุตรและพระจิต ก. มองชีวิต จากส่วนลึกภายใน เรามีความปรารถนาอันยิ่งใหญ่ในการได้อยู่ร่วมกับ ประชาชน เราปรารถนาให้ชนุ ชนรักและยอมรับเรา เราต้องการเพือ่ นทีแ่ บ่งปันและ ช่วยเหลือเรา เราปรารถนาชุมชนทีเ่ รารูส้ กึ ว่าเป็นบ้านและปลอดภัย

มีวธิ แี ตกต่างกันทีป่ ระชาชนจัดตัง้ ชุมชน ดูภาพข้างบน ท่านคิดว่าจะทำอะไรเพือ ่ ให้ประชาชนมาร่วมกันจัดตัง้ ชุมชน (กลุม่ ย่อย,รายงาน)- พระเป็นเจ้าทรงจารึกความปรารถนาภายในตัวเราให้ปรารถนาอยูร่ ว่ มกัน และ เป็นหนึ่งเดียวกันในความรัก สิ่งเหล่านี้ต้องเป็นเช่นนั้นเพราะพระเป็นเจ้าทรงเป็น ชุมชนแห่งความรักและการแบ่งปัน พระบิดา พระบุตรและพระจิต ทรงเป็นพระเป็นเจ้า หนึ่งเดียว


133 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ทีแ่ ม่นำ้ จอร์แดน พระเป็นเจ้าทรงเปิดเผยพระองค์เองดุจชุมชนทีเ่ ต็มไปด้วยความรัก อ่าน มาระโก 1:4-13 : พระเยซูเจ้าทรงรับพิธลี า้ ง อ่านข้อ 9 -11 อีกครัง้ และดูภาพข้างล่าง

ทำไมเรากล่าว่าพระเป็นเจ้าทรงเปิดเผยพระองค์เองดุจชุมชนทีเ่ ต็มไปด้วยความรัก ทีแ่ ม่นำ้ จอร์แดนในฐานะ “พระตรีเอกภาพ” (Holy Trinity) - - (อภิปรายในกลุม่ ใหญ่)  เราสามารถกล่าวได้วา ่ พระเป็นเจ้าทรงเปิดเผยพระองค์เองในฐานะ “พระตรีเอกภาพ” (Holy Trinity) มีพระเป็นเจ้าหนึง่ เดียวแต่มสี ามพระบุคคล คือ พระบิดา พระบุตร และพระจิต 

ทำไมท่านคิดว่า พระเป็นเจ้าพระบิดาโปรดปรานพระเยซูเจ้าพระบุตรของพระองค์ - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) พระจิตทรงเสริมกำลังพระเยซูเจ้าสำหรับงานทีย่ ากลำบากใช่ไหม จงค้นหาสิง่ ยากลำบากที่พระเยซูเจ้าทรงต้องการพละกำลังพิเศษจากพระจิตเจ้า - - (กลุ่มย่อย, รายงาน) (ถ้าเป็นไปได้ ให้แบ่งกลุม่ ย่อย 2-3 คน และแจกข้อความจากพระคัมภีรต์ อ่ ไปนีใ้ ห้ ร่วมกันศึกษาและกลับมารายงาน) 


134 พระคัมภีรบ์ อกอะไรเราบ้างเกีย่ วกับ “พระตรีเอกภาพ” ยอห์น 14:26 ยอห์น 16:12-15 ยอห์น 17:20-23 มัทธิว 28:16-20



ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า มีความปรารถนาลึกๆ ในใจของเราทุกคนทีต่ อ้ งการอยูใ่ นชุมชนทีร่ กั กัน ความ ปรารถนานี้มาจากพระเป็นเจ้า พระองค์ทรงต้องการให้เราเป็นเหมือนพระองค์ เหตุฉะนัน้ พระองค์ปรารถนา ให้เราเป็นชุมชนทีม่ กี ารแบ่งปันและความรัก โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ภายในพระศาสนจักรของพระองค์ เอกภาพและความรักควรเกิดขึน้ ในชุมชน ของพระศาสนจักร เพราะเราพบสิง่ นีใ้ นพระบิดา พระบุตรและพระจิต  ในเขตวัดของเรา เห็นว่าทีใ่ ดบ้างต้องการชุมชนทีม ่ คี วามรักและการแบ่งปัน - (กลุ่มย่อย,รายงาน)  เราสามารถทำอะไรได้บา ้ งเพือ่ ให้ชมุ ชนดีขน้ึ - - (กลุม่ ย่อย,รายงาน)  บทภาวนาบทใดเตือนให้เราคิดถึงพระตรีเอกภาพ - ข้อควรจำ 20. จงทำเครือ่ งหมายกางเขน และอวยพรตัวท่านเองในพระนามของพระตรีเอกภาพ “เดชะพระนามพระบิดา และพระบุตร และพระจิต” 21. บทภาวนาบนสัน้ ๆ บทใดทีเ่ ราสรรเสริญพระตรีเอกภาพ “สิริพึงมีแด่พระบิดา และพระบุตร และพระจิต เหมือนในปฐมกาล บัดนี้และทุก เมือ่ ตลอดนิรนั ดร อาแมน”


135 34. “การแบ่งแยกในกลุ่มคริสตชน” ก. มองชีวิต เราได้ยนิ สิง่ ดีๆ มากมายเกีย่ วกับพระศาสนจักร แต่คนในพระศาสนจักรยังเป็น คนบาปและยังคงต้องต่อสู้ต่อต้านความชั่วอย่างต่อเนื่อง ดูภาพข้างล่างและหาสิ่งที่ไม่ถูกต้องในชุมชนพระศาสนจักร

จากภาพข้างบน เราเห็นการขาดความสามัคคีในรูปแบบทีต่ า่ งกัน ภาพใดบ้าง - (กลุ่มย่อย,รายงาน)  ท่านรูส ้ กึ อย่างไรเกีย่ วกับความแตกแยกท่ามกลางนิกายต่างๆ -  ท่านพบความแตกแยกท่ามกลางหมูพ ่ น่ี อ้ งคาทอลิกทีใ่ ดบ้าง - - (กลุม่ ย่อย,รายงาน) 


136 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า มีความยุ่งยากเกิดขึ้นในพระศาสนจักรที่เมืองโครินธ์ นักบุญเปาโลเองได้ตั้ง กลุม่ คริสตชนขึน้ ทีน่ น่ั แต่หลังจากท่านจากเมืองโครินธ์ไปไม่นาน ความยุง่ ยากก็เกิดขึน้ ด้วยเหตุน้ี นักบุญเปาโลจึงเขียนจดหมายถึงพระศาสนจักรในเมืองโครินธ์ ท่าน ใช้ผู้ส่งข่าวพิเศษไปส่งจดหมาย อ่าน 1 โครินธ์ 1:10-16 : การแบ่งแยกในกลุม่ คริสตชน

จงหาเหตุผลว่าทำไมคริสตชนในเมืองโครินธ์จึงเกิดการแบ่งแยก ดู 1 โครินธ์ 1:10-16 -  ท่านคิดว่าอะไรเป็นเหตุผลทำให้มน ี กิ ายต่างๆ เกิดขึน้ มากในปัจจุบนั - (กลุ่มย่อย,รายงาน) (เพิม่ เติม : ตัง้ แต่แรกมีพระศาสนจักรเพียงพระศาสนจักรหนึง่ เดียว คือ พระศาสนจักรคาทอลิก แต่มผี นู้ ำบางคนต้องการปรับปรุงและปฏิรปู พระศาสนจักร เหตุฉะนั้นบุคคลเหล่านั้นจึงแยกไปตั้งนิกายของตนเองขึ้นมาใหม่) นิกายต่างๆ ทีไ ่ ม่ใช่คาทอลิกเริม่ เกิดขึน้ เมือ่ ไร ดู “รายนามนิกายต่างๆ” หน้า (238) - 


137 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า ท่านปรารถนาจะเข้ามาดำเนินชีวติ เป็นคริสตชนในพระศาสนจักรโรมันคาทอลิก ถึงแม้วา่ พระศาสนจักรเป็นพระศาสนจักรทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ดุ ก็ตาม แต่นน่ั ไม่ใช่สง่ิ ทีน่ า่ ภาคภูมิใจ เรายอมรับด้วยความสุภาพว่า เราได้รับการตำหนิเรื่องการแบ่งแยกของ คริสตชนเป็นนิกายต่างๆ สมเด็จพระสันตะปาปาปอล ที่ 6 ได้ขออภัยเรือ่ งการ แบ่งแยกในพระศาสนจักร เราสำนึกว่าเราเป็นคนบาป ความชัว่ คุกคามเรามิได้ขาด ฉะนัน้ พระศาสนจักร ต้องปฏิรูปตนเองอยู่เสมอ  เราสามารถทำอะไรได้บา ้ง เพือ่ ปฏิรปู ชีวติ คริสตชนของเราเองหลังรับศีลล้างบาป - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) (เพิม่ เติม : โดยการสวดภาวนาอย่างสม่ำเสมอ ขออภัยโทษพระเป็นเจ้าในพิธมี สิ ซา รับศีลอภัยบาป อ่านพระคัมภีร์ และโดยการแบ่งปันพระวาจากับเพือ่ นบ้าน)  ทำไมพระศาสนจักรคาทอลิกไม่อนุญาตให้คาทอลิกมีเสรีภาพในการไปรับศีลมหาสนิทในคริสตจักรอื่น (เพิม่ เติม : “การรับประทานร่วมกัน” เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นหนึง่ เดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ศีลมหาสนิท ถ้าไม่มคี วามเป็นหนึง่ เดียวกันอย่างแท้จริงในระหว่าง คริสตจักรต่างๆ เราก็ไม่ควรเสแสร้งว่าเราเป็นหนึง่ เดียวกันด้วยการรับศีลมหาสนิท ร่วมกัน อย่างไรก็ตามมีโอกาสเพียงอย่างเดียวคือ คริสตชนทีไ่ ม่ใช่คาทอลิกรับศีลมหาสนิทในพระศาสนจักรคาทอลิกได้ เพราะคริสตชนเหล่านัน้ เชือ่ ถึงศีลมหาสนิท อย่างที่พระศาสนจักรคาทอลิกเชื่อ)


138 ข้อควรจำ 22. นักบุญเปาโลกล่าวอะไรกับคริสตชนในเมืองโครินธ์ทเ่ี กิดความแตกแยก กันเอง “ในพระนามของพระเยซูคริสต์ องค์พระผู้เป็นเจ้าของเรา ให้ท่านปรองดองกัน อย่าแตกแยก” (1 โครินธ์ 1:10) 23. จงยกตัวอย่างว่าเราปรับปรุงชีวติ คริสตชนครัง้ แล้วครัง้ เล่า หลังจากรับศีลล้างบาปอย่างไร ด้วยการขอโทษผูอ้ น่ื รับศีลแห่งการคืนดี โดยการสวดภาวนาและแบ่งปันพระวาจา ฯลฯ


139 35. ข้าพเจ้าเชื่อถึงการกลับคืนชีพของร่างกายและชีวิตนิรันดร ก. มองชีวิต ในตอนท้ายของบทสัญลักษณ์อัครสาวก เราประกาศว่า “ข้าพเจ้าเชื่อถึงการ กลับคืนชีพของเนื้อหนังและชีวิตนิรันดร” ชีวติ ของเราเปรียบเหมือนการเดินทางอันยาวไกล แล้วชีวติ สิน้ สุดทีไ่ หน

ลึกๆ ในใจของเรา ความตายไม่ใช่ฉากสุดท้ายของชีวติ



ประเพณีอะไรบ้างที่บรรพบุรุษแสดงให้เราเห็นว่าพวกท่านเชื่อถึงชีวิตหลังความตาย - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)


140 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า “ชีวิตสิ้นสุดที่ไหน” เป็นคำถามที่สำคัญมาก ให้เรามองดูชีวิตของพระนาง มารีย์ผู้เป็นมารดาของพระเยซูเจ้า แม่พระเป็นคริสตชนและสานุศิษย์ที่สมบูรณ์แบบ ทีส่ ดุ ของพระเยซูเจ้า ชีวติ ของพระนางจบลงอย่างไร พระเยซูเจ้าทำอะไรเพือ่ แม่พระ หลังจากพระนางสิ้นใจ แบ่งเป็นกลุม่ ย่อย กลุม่ ละ 3-4 คน ให้แต่ละกลุม่ ดูภาพต่อไปนีก้ ลุม่ ละ 1-2 ภาพ พร้อมกับอ่านข้อความใต้ภาพ และให้อภิปรายถึงคำถามต่อไปนี้ : “ทำไมเรากล่าวว่าแม่พระเป็นคริสตชนที่สมบูรณ์แบบที่สุด” ถ้าเราไม่สามารถแบ่งกลุม่ ได้ ให้เลือกภาพแรกนีแ้ ละภาพสุดท้ายในหน้า (143)  จงดูภาพและอ่านข้อความต่อไปนี้ อภิปรายถึงคำถามว่า “ทำไมเรากล่าวว่าแม่พระเป็นคริสตชนที่สมบูรณ์แบบที่สุด” พระนางมารีย์ทรงยอมรับพระเยซูเจ้าด้วยความเชื่อและความรัก แม่พระตอบเสียงเรียกของพระเป็นเจ้าว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้รับใช้ของพระเจ้า ขอให้ เป็นไปกับข้าพเจ้าตามวาจาของท่านเถิด” (ลูกา 1:38) พระนางมารีย์เป็นแบบอย่างที่ดียิ่งแก่ คริสตชนทัง้ หลาย - (ถ้ามีเวลา ให้ดภู าพและพูดคุยเรือ่ งแม่พระรับเกียรติยกขึน้ สวรรค์ (The Assumption of the Blessed Virgin Mary หน้า 143)


141 พระนางยอมรั บ พระเยซู เ จ้ า อย่ า ง สมบูรณ์ในชีวิตของพระนาง “พระนางประสูตพิ ระโอรสองค์แรก ทรงใช้ผา้ พันพระวรกายพระกุมารนั้น แล้วทรงวางไว้ ในรางหญ้า เนื่องจากไม่มีที่ในห้องพักแรม เลย” (ลูกา 2:7) เราให้เกียรติพระนางมารีย์ ดุจพระชนนีพระเจ้า (Mater Dei) - แม่พระมีส่วนร่วมในภารกิจ ของพระเยซูเจ้า พระนางบอกแก่บรรดาคนรับใช้ในงานแต่งงานที่หมู่บ้านคานาว่า “เขาบอกให้ท่านทำ อะไรก็จงทำเถิด” (ยอห์น 2:5) เราขอพระนางมารียภ์ าวนาเพือ่ เราด้วย - พระเยซูเจ้าทรงโปรดให้แม่พระเป็นแบบอย่างแห่งความเชื่อที่แท้จริงในพระเจ้า พระองค์ตรัสว่า “ใครเป็นมารดาและพี่น้อง ของเรา... ผู้ที่ปฏิบัติตามพระประสงค์ของพระบิดาของเราผูส้ ถิตในสวรรค์ ผูน้ น้ั เป็น พี ่ น ้ อ งชายหญิ ง และเป็ น มารดาของเรา” (มัทธิว 12:50) พระนางมารีย์ทรงทำตามพระประสงค์ของ พระเป็นเจ้าอย่างสมบูรณ์แบบทีส่ ดุ - -


142 พระนางมารีย์ยืนอยู่เคียงข้างพระเยซูเจ้า ขณะพระองค์ ท รงแบกไม้ ก างเขนและ รับความทุกข์ทรมาน ที่เชิงกางเขนมีพระมารดาประทับยืนอยู่ พระนางมีส่วนร่วมในมหาทรมานและการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ (ยอห์น 19:25-27) ด้วยเหตุนี้เราจึงภาวนาว่า : “สันตะมารีอา มารดาพระเจ้า โปรดภาวนาเพื่อเราคนบาป บัดนีแ้ ละเมือ่ จะตาย - พระนางมารีย์ประทับกับบรรดาศิษย์ของพระเยซูเจ้า พระนางเป็นมารดาของพระศาสนจักรในสมัย แรกเริ่ม “ทุกคนร่วมอธิษฐานภาวนาสม่ำเสมอ เป็น น้ำหนึง่ ใจเดียวกันพร้อมกับบรรดาสตรี รวมทัง้ มารีย์พระมารดาของพระเยซูเจ้า และพี่น้อง ของพระองค์ดว้ ย” (กิจการอัครสาวก 1:14) ด้วยเหตุผลนี้เราจึงมีรูปปั้นของพระนางมารีย์ ในวัดและทีบ่ า้ น เพือ่ เตือนใจเราว่าพระนางมารีย์ทรงรักบรรดาศิษย์ของพระบุตรของ พระนาง พระนางทรงเป็นมารดาของ พระศาสนจักร - -


143

พระนางมารียส์ น้ิ ใจ พระเยซูเจ้าทรงรับแม่พระไปอยู่ “ในบ้าน” ร่วมกับพระบิดา พระองค์ทรงรับ “แม่พระขึน้ สวรรค์ทง้ั ร่างกายและวิญญาณ” ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า พระเยซูเจ้าทรงช่วยพระนางมารียจ์ นวาระสุดท้ายของชีวติ โดยรับพระนาง เข้าสูส่ ริ มิ งคลในสรวงสวรรค์ แม่พระให้ความหวังและความยินดีแก่เราว่า สิง่ ทีเ่ กิดกับ พระนางจะเกิดกับเราด้วย พระนางเป็นแบบอย่างที่ยิ่งใหญ่ในการเดินทางแห่งความ เชื่อ ถ้าเราติดตามพระคริสตเจ้าเหมือนอย่างพระนาง พระเป็นเจ้าจะนำเราไปสู่ชีวิต ใหม่เหมือนพระองค์ทรงทำกับแม่พระด้วย และในวาระสุดท้ายเราจะได้รบั การยกขึน้ สวรรค์ทั้งร่างกายและวิญญาณ  ผู้เรียนคำสอนและพี่เลี้ยงควรไปสวดภาวนาให้ผู้ล่วงลับที่สุสาน และอาจร่วมกัน ศึกษาบทภาวนาที่ใช้สวดสำหรับพิธีฝังศพแบบคริสตชน ข้อควรจำ 24. บทภาวนาตอนใดในบทสัญลักษณ์ของอัครสาวก ซึ่งเราสวดเกี่ยวกับชีวิต และความตาย ข้าพเจ้าเชื่อในการกลับคืนชีพของเนื้อหนังและชีวิตนิรันดร


144

พิธรี ะหว่างเป็นผูส้ มัครเรียนคำสอน (RITES DURING THE CATECHUMENATE) การอวยพรผู้เรียนคำสอน

บทภาวนาละทิ้งความชั่ว

หลังจากชั่วโมงเรียนคำสอน สมาชิก ของกลุม่ คริสตชนอวยพรแก่ผเู้ รียนคำสอน ขณะกำลังอวยพร ให้สมาชิกคริสตชน วางมือบนบ่าของผู้สมัครเรียน (บทภาวนาอวยพร 6 บท ดูหน้า 271-274)

สมาชิกของชุมชนผู้ได้รับมอบอำนาจ จากพระสังฆราช สวด “บทภาวนา ละทิ้งความชั่ว” (Minor Exorcisms) (บทภาวนาละทิง้ ความชัว่ 7 บท ดูหน้า 265-270)

การเจิมน้ำมันผู้เรียนคำสอน พระสงฆ์หรือสังฆานุกรเป็นผู้เจิม การเจิมสามารถเจิมซ้ำได้ในโอกาสอื่นๆ ดูรายละเอียดเรือ่ งพิธกี รรมต่างๆ ในภาคผนวก (พิธเี จิมผูเ้ รียนคำสอน ดูหน้า 275-276)


145

ศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ (THE SACRAMENTS) บทเรียนที่ 36-45 36. ศีลล้างบาป : ชีวิตเพื่อพระคริสตเจ้า ก. มองชีวิต การเดินทางในความเชือ่ เป็นการมอบชีวติ ของเราแด่พระคริสตเจ้า การเดินทาง แห่งความเชื่อของเราเป็นการเดินทางไปหาพระองค์  ทำไมเรากล่าวว่า บุคคลทีอ ่ ยูใ่ นภาพ “กลับใจ” ไปหาพระคริสตเจ้า - (กลุ่มย่อย,รายงาน)

มีอะไรเปลีย่ นแปลงในชีวติ ของบุคคลเหล่านีห้ ลังจากกลับใจมาหาพระคริสตเจ้า -  แบ่งปันกับกลุม ่ ถึงความเปลีย่ นแปลงในชีวติ ของท่านหลังจากท่านเข้ามา “ร่วม เดินทางด้วยกัน” - 


146 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า จงอ่านเรื่องราวของศักเคียสคนเก็บภาษี ในสมัยของพระเยซูเจ้า ประชาชน เกลียดคนเก็บภาษีมากๆ พวกเขาเก็บภาษีเกินอัตรา โกงและหาความร่ำรวยให้ตวั เอง นอกจากนัน้ คนเก็บภาษียงั ทำงานร่วมกับศัตรูของประชาชนชาวยิวคือ กองทหารโรมัน อ่าน ลูกา 19:1-10: การกลับใจของศักเคียส

ทุกคนเงียบ ขอให้คนหนึง่ อ่านข้อความต่อไปนีอ้ ย่างช้าๆ และสำรวม สามครัง้ “เขาพยายามมองดูวา่ ใครคือพระเยซูเจ้า” (3 ครัง้ ) “เขาปีนขึน้ ต้นมะเดือ่ เทศเพือ่ ให้เห็นพระเยซูเจ้า” (3 ครัง้ ) “ศักเคียส รีบลงมาเถิด” (3 ครัง้ ) “เราจะไปพักทีบ่ า้ นท่านในวันนี”้ (3 ครัง้ ) “ศักเคียสต้อนรับพระองค์ดว้ ยความยินดี” (3 ครัง้ ) “ถ้าข้าพเจ้าโกงสิง่ ใดของใครมา ข้าพเจ้าจะคืนให้เขาสีเ่ ท่า” (3 ครัง้ ) 


147 

จงเปรียบเทียบภาพหน้า 145 และ 146 มีสง่ิ ทีเ่ หมือนกันเกิดขึน้ ในภาพทัง้ สอง อธิบาย - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า เรื่องราวศักเคียสชี้ให้เราเห็นการเดินทางแห่งความเชื่อของเราเอง  ดูภาพศักเคียส และค้นหาขั้นตอนต่างๆทำให้ศักเคียสกลับใจมาหาพระคริสตเจ้า - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  เรือ ่ งราวของศักเคียสเกีย่ วข้องอะไรกับการกลับใจของเรา - - ท่านเคยรูส้ กึ เฝ้าปรารถนา “พบพระเยซูเจ้า” และมาใกล้ชดิ กับพระองค์บา้ งไหม - - (แบ่งปันกับเพือ่ นข้างๆ) - ท่านต้องทำอะไรบ้างเพือ่ “พบ” พระองค์และอยูใ่ กล้ชดิ กับพระองค์ - - ท่านทราบได้อย่างไรว่าท่านต้อนรับพระเยซูเจ้าเข้าในบ้านและชีวติ ของท่านแล้ว -- ท่านต้องเปลีย่ นแปลงอะไรในชีวติ ของท่านเอง -  มีขอ ้ ความจากพระคัมภีรต์ อนใดอีกทีส่ อนเราเกีย่ วกับ “คนกลับใจ” มาหาพระเยซูเจ้า ลูกา 7 : 36-50 : หญิงคนบาป ลูกา 23:39-43 : ผูร้ า้ ยกลับใจ ลูกา 9:57-62 : ความยากลำบากในการติดตามพระคริสตเจ้า ข้อควรจำ 25. เราทราบได้อย่างไรว่าศักเคียส “เชือ่ ” ในพระเยซูเจ้า ศักเคียสยอมรับพระเยซูเจ้าในฐานะเพือ่ นคนหนึง่ และเปลีย่ นแปลงชีวติ ของตนเอง 26. ในระหว่างพิธรี บั ศีลล้างบาป พระสงฆ์จะถามท่านว่า “ท่านเชือ่ ในพระเยซูคริสตเจ้าหรือ” ท่านจะตอบอะไร “ข้าพเจ้าเชือ่ ”


148 37. ศีลล้างบาป : การเข้าร่วมกับชุมชนคริสตชน ก. มองชีวิต มนุษย์ทกุ คนสังกัดอยูใ่ นชุมชนใดชุมชนหนึง่ มองดูภาพข้างล่าง มีชมุ ชนที่ แตกต่างกันมากมายในโลก มีเชือ้ ชาติและชนชาติตา่ งกัน

ทำไมแต่ละกลุม่ ในภาพสามารถพูดว่า “เราเป็นพวกเดียวกัน” (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  จงดูรป ู ลูกสาวสีค่ นกับมารดาของพวกเธอ อะไรทีผ่ กู มัดพวกเขาเข้าด้วยกัน ท่านทราบได้อย่างไรว่าพวกเขาเกีย่ วข้องกัน -  ในภาพ มีอะไรทีต ่ า่ งกันระหว่างกลุม่ คริสตชนกับกลุม่ อืน่ ๆ - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) (เพิม่ เติม ชุมชนคริสตชนมีสมาชิกทีม่ าจากเชือ้ ชาติและประเทศต่างๆกัน แต่พระจิตเจ้าทรงสร้าง “ความสัมพันธ์” ใหม่ระหว่างเชือ้ ชาติตา่ งๆ จากทุกฐานะของชีวติ และภูม-ิ หลังทีแ่ ตกต่างกันในชุมชนคริสตชน อาศัยศีลล้างบาปทุกคนเป็นสมาชิกของชุมชน 


149 ใหม่ซึ่งมีพระเยซูคริสตเจ้าเป็นผู้นำ ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ในข้อความจากพระคัมภีรต์ อ่ ไปนี้ เราจะได้ฟงั เรือ่ งราวของนักบุญเปาโล ท่าน กลับใจมาหาพระคริสตเจ้าและเข้าร่วมกับชุมชนคริสตชนได้อย่างไร อ่าน กิจการอัครสาวก 9:1-19 เซาโลกลับใจ

ขณะทีท่ กุ คนดูทภ่ี าพ คนในกลุม่ ผลัดกันอ่านข้อความต่อไปนีอ้ ย่างช้าๆ และสำรวม “เขาได้ยนิ เสียงกล่าวว่า” (3 ครัง้ ) “ท่านเบียดเบียนเราทำไม” (3 ครัง้ ) “เราคือเยซู” (3 ครัง้ ) “จงลุกขึน้ เข้าไปในเมือง” (3 ครัง้ ) “รับศีลล้างบาป” (3 ครัง้ )  ให้เราเงียบ 2 นาที แบ่งปันซึง ่ กันและกันถึงข้อความทีป่ ระทับใจท่าน 


150 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า นักบุญเปาโลกลับใจมาหาพระคริสตเจ้าและอุทศิ ตนทัง้ ครบเพือ่ พระองค์ อีกทัง้ ยังติดตามพระองค์ตลอดชีวิตของท่าน ออกเทศนาทุกหนแห่งว่าพระเยซูเจ้าทรงเป็น พระบุตรของพระเป็นเจ้า และยอมรับแม้กระทัง่ ความตายเพือ่ พระองค์ เปาโล “ก้าวหน้าต่อไป” ท่านเข้าไปในเมืองและได้รบั การล้างบาปโดยผูน้ ำกลุม่ คริสตชนทีน่ น่ั โดยศีลล้างบาป นักบุญเปาโลเป็นสมาชิกของชุมชนคริสตชนอย่างเห็น ได้ชัด อาศัยน้ำแห่งศีลล้างบาป แสดงให้ท่านเห็นว่าพระคริสตเจ้าทรงชำระล้างท่าน จากบาปทัง้ สิน้ ต่อมาท่านแบ่งปันประสบการณ์เกีย่ วกับการล้างบาปในจดหมายถึงชาวโรมว่า “ท่านทัง้ หลายไม่รหู้ รือว่า เราทุกคนได้รบั ศีลล้างบาปเดชะพระคริสตเยซู ก็ได้ รับศีลล้างบาปเข้าร่วมกับการสิน้ พระชนม์ของพระองค์ดว้ ย ดังนัน้ เราถูกฝังไว้ในความตายพร้อมกับพระองค์ อาศัยศีลล้างบาป เพือ่ ว่าพระคริสตเจ้าทรงกลับคืนพระชนมชีพ จากบรรดาผู้ตายเดชะพระสิริรุ่งโรจน์ของพระบิดาฉันใด เราก็จะดำเนินชีวิตแบบใหม่ ด้วยฉันนัน้ ” (โรม 6:3-4)  จงเปรียบเทียบรูปภาพทัง ้ สองในหน้า 148 และ 149 พวกเขากำลังทำอะไร -  จงหาว่าพระคริสตเจ้าทรงตรัสอะไรเกีย ่ วกับเรือ่ งศีลล้างบาปบ้าง มัทธิว 28:19-20 จงหาว่านักบุญเปาโลกล่าวอะไรเกีย ่ วกับเรือ่ งการเข้ารับพิธลี า้ งของชนชาติตา่ งๆ 1 โครินธ์ 12:12-13 การเปรียบเทียบกับร่างกาย กาลาเทีย 3:26-29 ไม่มคี วามแตกต่างในระหว่างพวกท่านอีกต่อไป ข้อควรจำ 27. นักบุญเปาโลเข้าเป็นคริสตชนได้อย่างไร พระคริสตเจ้าทรงเรียกเปาโล และท่านได้รบั ศีลล้างบาปโดยพระสงฆ์ของ กลุม่ คริสตชนในเมืองดามัสกัส


151 28. พระเยซูเจ้าสัง่ อะไรบรรดาสานุศษ ิ ย์เรือ่ งการโปรดศีลล้างบาป พระเยซูเจ้าตรัสว่า “ท่านจงไปสัง่ สอนนานาชาติให้มาเป็นศิษย์ของเรา ทำพิธี ศีลล้างบาปให้เขา เดชะพระนามพระบิดา และพระบุตร และพระจิต” (มัทธิว 28:19) หมายเหตุเรื่องบาปกำเนิด (ORIGINAL SIN) ในหนังสือคำสอนบางเล่มเขียนว่า “เราได้รบั การชำระล้างจากบาปกำเนิดและ จากบาปส่วนตัวโดยอาศัยศีลล้างบาป บาปกำเนิดคืออะไร บาปกำเนิดติดตามตัวเราตั้งแต่เกิดจากประชาชนผู้เจริญชีวิตก่อนเรา เราเกิด มาพร้อมกับมีภาระหนักบนบ่าซึง่ เราส่งต่อให้กบั คนรุน่ ต่อไป เปรียบเหมือน : เราเป็น คนทีอ่ าศัยอยูใ่ นถ้ำมืดแห่งหนึง่ ลูกหลานทีเ่ กิดมาก็เกิดท่ามกลางความมืดในถ้ำนัน้ อาศัยความเชือ่ ในพระคริสตเจ้า พระองค์ทรงชีห้ นทางออกจากความมืด ใน ศีลล้างบาปพระองค์ทรงจับมือเราและนำเราสูอ่ สิ ระและแสงสว่าง ด้วยเหตุน้ี เราจึง กล่าวว่า ศีลล้างบาปชำระล้างเราจากบาปกำเนิด บาปส่วนตัวคืออะไร บาปส่วนตัวคือบาปที่เรายินยอมทำด้วยตัวของเราเอง เปรียบเหมือนหนี้สิน ทีต่ วั เราเองก่อขึน้ ไม่ได้เกิดจากบิดามารดา แต่เรากระทำด้วยตนเอง ในศีลล้างบาปเราได้รบั การชำระล้างจากบาปกำเนิด และบาปส่วนตัวทัง้ หมด (ถ้าเราได้รบั ศีลล้างบาปเมือ่ เป็นผูใ้ หญ่) อย่างไรก็ตามไม่ใช่นำ้ ทีช่ ำระล้างเรา แต่เป็น พระคริสตเจ้าผูท้ ำให้เราสะอาด เป็นพระองค์ผนู้ ำเราออกจากถ้ำแห่งความมืดนัน้ เมือ่ เราขอรับศีลล้างบาปเรายอมรับพระคริสตเจ้าเป็นพระผูช้ ว่ ยให้รอด น้ำแห่งศีลล้างบาป จึงเตือนใจให้เราคิดถึงฤทธานุภาพแห่งการรักษาของพระคริสตเจ้า


152 มารีย์ พระมารดาของพระเยซูเจ้าปฏิสนธิโดยไม่มีบาปกำเนิด เราประกาศความเชือ่ ของพระศาสนจักรว่า พระนางมารียเ์ ป็นผูป้ ราศจากบาป กำเนิด เพราะเห็นแก่พระคริสตเจ้า พระเป็นเจ้าทรงปกป้องพระนางจากความชัว่ ร้าย ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา พระนางจึงปฏิสนธิโดยปราศจากบาปกำเนิด ฉะนั้นวันที่ 8 ธันวาคมของทุกปี เราสมโภช “พระนางมารียผ์ ปู้ ฏิสนธินริ มล” (Immaculate Conception) ความเข้าใจเรื่องพิธีการเข้าเป็นคริสตชน โดยอาศัยศีลล้างบาป (Baptism) เรากลายเป็นบุตรของพระเป็นเจ้าและเป็น สมาชิกของชุมชนคริสตชน จงศึกษาภาพต่อไปนี้ แต่ละภาพเป็นภาพขัน้ ตอนทีผ่ เู้ รียน พิธเี หล่านีแ้ สดงชัดเจนว่า โดยอาศัยศีลล้างบาป เรา คำสอนไปสูพ่ ธิ ศี ลี ล้างบาป กลายเป็นสมาชิกในครอบครัวใหม่คือพระศาสนจักร จงศึกษาภาพต่อไปและถามตัวเองว่า “ทำไมชุมชนคริสตชนประกอบพิธนี ้ี สำหรับฉัน”

พิธตี อ้ นรับท่านเป็น “ผูส้ มัครเรียนคำสอน”

การอวยพรและและบทภาวนาละทิ้งความชั่ว พระสงฆ์หรือสมาชิกของพระศาสนจักรเป็น ผู้ประกอบพิธี


153 พีเ่ ลีย้ งร่วมเดินทางบนหนทางแห่งความเชือ่ ร่วมกับท่าน ระหว่างเทศกาลมหาพรต (Lent) พระสงฆ์สวดภาวนา “ ชำระจิตใจให้บริสทุ ธิ์ ขณะที่พี่เลี้ยงวางมือบนบ่า

ท่านและกลุ่มคริสตชนร่วมกันศึกษา พระคัมภีร์ คริสตชนกลุ่มย่อยนี้ภาวนาและ สนับสนุนท่านในหนทางนี้

เมือ่ พระสงฆ์เสกน้ำล้างบาป พ่อแม่อปุ ถัมภ์ และผูส้ มัครออกมายืนข้างหน้าอ่างล้างบาป ทุกคนสวดบทร่ำวิงวอนนักบุญทั้งหลาย มีความหมายว่าศีลล้างบาปทำให้เรากลาย เป็นสมาชิกในสหพันธ์นกั บุญทัง้ ทีม่ ชี วี ติ อยู่ และสิ้นใจไปแล้ว ระหว่างพิธีศีลล้างบาป พ่อแม่อุปถัมภ์ วางมือบนบ่าของผู้เข้ารับพิธีล้างบาป เป็นเครื่องหมายแสดงความเป็นหนึ่ง เดียวกันระหว่างพระศาสนจักรกับผู้เข้า รับพิธีล้างบาป


154 หลังจากพิธีล้างบาป ทุกคนแสดงความยินดีและต้อนรับคริสตชนใหม่เข้าสูช่ มุ ชนพระศาสนจักร

พ่อแม่อปุ ถัมภ์ (Godparent) ต่อเทียนเล็กๆ จากเทียนปัสกาส่งให้ผู้รับศีลล้างบาปใหม่ หมายความว่า “ผู้รับศีลใหม่กลายเป็น แสงสว่าง” เหมือนทุกคนในพระศาสนจักร


155 38. ศีลกำลัง : เราได้รับการเจิมด้วยพระจิตแห่งความกล้าหาญ ก. มองชีวิต ศีลกำลัง (Confirmation) ประทานพละกำลัง เพือ่ งานของเราในฐานะสมาชิก ของพระศาสนจักรจะได้สำเร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี เราต้องการความกล้าหาญและ พละกำลังเพื่องานของคริสตชนในโลกจะสำเร็จไป ภาพข้างล่างเรากระทำภารกิจในโลกให้สำเร็จไปในรูปแบบต่างๆ กัน

คุณพ่อเรย์ เบรนเนิน ทีบ่ า้ นเด็กพัทยา

ท่านคิดว่านักสังคมสงเคราะห์ในภาพข้างบนกำลังทำอะไร  ท่านเคยทราบเกีย ่ วกับมรณสักขีทส่ี องคอน ทีท่ นทุกข์ และพลีชวี ติ เพือ่ รักษาความเชือ่ ทีเ่ ห็นในภาพบ้างไหม -  ทำไมถึงกล่าวว่าบุคคลเหล่านีก ้ ำลัง “ยืนขึน้ ต่อสูเ้ พือ่ พระเป็นเจ้า” ในสังคม - 


156 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า เป็นเรื่องง่ายที่จะพูดเกี่ยวกับพระเป็นเจ้าระหว่างพิธีกรรมในวัด แต่เป็นเรื่อง ยากทีจ่ ะ “ยืนขึน้ ต่อสูเ้ พือ่ พระเป็นเจ้า” ในสังคม แม้แต่บรรดาอัครสาวกยังหวาดกลัว ทีจ่ ะพูดเรือ่ งพระคริสตเจ้าในทีส่ าธารณะ พวกเขาปิดประตูและรวมกันอยูใ่ นบ้าน พวก เขากลัวถูกจับและถูกฆ่าเหมือนพระเยซูเจ้า ในบทอ่านต่อไปเราจะฟังเรื่องที่พระเยซูเจ้าทรงประทานพละกำลังและความ กล้าหาญแก่บรรดาศิษย์ของพระองค์ อ่าน กิจการอัครสาวก 2:1-8 วันพระจิตเจ้าเสด็จลงมา (Pentecost)

อะไรแสดงให้เราเห็นว่า บรรดาอัครสาวกมีความกล้าหาญหลังจากได้รบั พระจิตเจ้า แล้ว -  จงยกตัวอย่างในพระคัมภีร์ เรือ ่ งอัครสาวกมีความกล้าหาญหลังจากได้รบั พระจิต ในวันพระจิตเจ้าเสด็จลงมา - กิจการอัครสาวก 2:14-16 :เปโตรปราศรัยต่อหน้าประชาชนอย่างกล้าหาญ - กิจการอัครสาวก 4:1-4 บรรดาอัครสาวกปราศรัยในทีส่ าธารณะและถูกจับ 


157 - กิจการอัครสาวก 5:27-33 เชื่อฟังมนุษย์ 

เปโตรกล่าวว่า “เราต้องเชือ่ ฟังพระเป็นเจ้ายิง่ กว่า

หลังจากวันพระจิตเจ้าเสด็จลงมาครัง้ แรก ผูม้ คี วามเชือ่ ใหม่ได้รบั พระจิตเจ้าอย่างไร - ให้อา่ นกิจการอัครสาวก 8:14-17 : เปโตรและยอห์นไปหาชาวสะมาเรีย

ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า หลังจากเราได้รับศีลล้างบาป เราต้องนำพระคริสตเจ้าไปประกาศแก่ผู้อื่น การเดินทางแห่งความเชือ่ นำทางทีถ่ กู ต้องในชีวติ ประจำวันของเราไม่วา่ จะเป็นทีบ่ า้ น ที่ทำงานและในสังคมก็ตาม คริสตชนต้องการพละกำลังและความกล้าหาญเพื่อภารกิจในโลก ด้วยเหตุนี้ หลังจากรับศีลล้างบาป เรารับศีลกำลัง ซึง่ เป็นศีลศักดิส์ ทิ ธิท์ เ่ี ราได้รบั “พระจิตเจ้า” ผูท้ ำ ให้เราเข้มแข็งและกล้าหาญ

พระสังฆราชเจิมผูส้ มัครด้วยน้ำมันศักดิส์ ทิ ธิ์ (น้ำมันคริสมา) และวอนขอพระจิตเจ้าให้เสด็จลงมาเหนือผูส้ มัครพร้อมกับภาวนาว่า “จงรับเครือ่ งหมายของพระจิตเจ้า ซึง่ พระบิดาประทานให้”


158 ข้อควรจำ 29. ทำไมศีลกำลังเตือนให้เราระลึกถึงวันทีพ ่ ระจิตเจ้าเสด็จลงมา เพราะว่าในวันพระจิตเจ้าเสด็จลงมา คริสตชนกลุม่ แรกได้รบั พระจิตแห่งความเข้มแข็ง และความกล้าหาญ 30. พระสังฆราชทำอะไรและกล่าวอะไรขณะท่านโปรดศีลกำลัง ท่านเจิมเราพร้อมกับกล่าวว่า “จงรับเครือ่ งหมายของพระจิตเจ้า ซึง่ พระบิดาประทานให้” 39. ศีลมหาสนิท : งานเลี้ยงฉลองที่ยิ่งใหญ่ของเอกภาพ


159 39. ศีลมาหสนิท : งานเลี้ยงฉลองที่ยิ่งใหญ่ของเอกภาพ ก. มองชีวิต ศีลล้างบาป (Baptism) ทำให้เราเป็นบุตรของพระเป็นเจ้าและเป็นสมาชิกของ พระศาสนจักร ในฐานะเป็นสมาชิกของชุมชนคริสตชนเรามีสทิ ธิรว่ มพิธมี สิ ซาบูชา ขอบพระคุณและรับพระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจ้า มิสซา (Holy Mass or Eucharist) เป็นการรับประทานอาหารในครอบครัวของบรรดาบุตรของพระเป็นเจ้า

มีอะไรทีแ่ ตกต่างกันระหว่างการรับประทานอาหารในภาพนี้ - - (กลุม่ ย่อย,รายงาน)  มีความหมายอะไรทีล ่ กึ ซึง้ ในงานเลีย้ งแต่งงาน (ในวัฒนธรรมไทยและเอเชีย) - 

(เพิม่ เติม : งานเลีย้ งแต่งงาน เป็นการยืนยันต่อทุกคนถึงเอกภาพระหว่างเจ้าบ่าวและ เจ้าสาว อีกยังเป็นการเชือ่ มสัมพันธ์ระหว่างสองครอบครัว นอกจากนัน้ งานเลีย้ งแต่งงาน ยังเป็นการยืนยันถึง “คำมัน่ สัญญาหรือพันธสัญญา (COVENANT)” ระหว่างเจ้าบ่าว และเจ้าสาวว่า ทัง้ สองจะอยูร่ ว่ มกัน รักและชือ่ สัตย์ตอ่ กันทัง้ ในยามสุขและยามทุกข์


160 ในหลายวัฒนธรรมของชาวเอเชีย งานเลี้ยงแต่งงานมีการแบ่งปันอาหารบางครัง้ จากจานกลางด้วยกัน ซึง่ หมายถึงเอกภาพใหม่ระหว่างเจ้าบ่าวและเจ้าสาว) ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ในมิสซา เราทำสิง่ เดียวกันกับทีพ่ ระเยซูเจ้าทรงกระทำในงานเลีย้ งอาหารค่ำมือ้ สุดท้าย (The last Supper) อาหารค่ำมือ้ สุดท้ายยังถือเป็นงานเลีย้ งแต่งงานระหว่าง พระเยซูเจ้าและพระศาสนจักร เป็นอาหารแห่งพันธสัญญาระหว่างพระเป็นเจ้ากับมนุษย์ เป็นการสัญญาอย่างสง่าว่า พระเป็นเจ้าจะไม่ละทิ้งประชากรของพระองค์เหมือน เจ้าบ่าวที่ซื่อสัตย์ต่อเจ้าสาวของตน อ่าน 1 โครินธ์ 11:23-27 : งานเลีย้ งอาหารค่ำมือ้ สุดท้าย

ทุกคนดูภาพข้างบนอย่างเงียบๆ บางคนในกลุม่ ให้อา่ นข้อความนีอ้ ย่างช้าๆ และสำรวม “ในคืนทีท่ รงถูกทรยศ” (3 ครัง้ ) “พระองค์ทรงหยิบปัง” (3 ครัง้ ) “ทรงบิออก” (3 ครัง้ )


161 “นีค่ อื กายของเราเพือ่ ท่านทัง้ หลาย” (3 ครัง้ ) “หลังอาหารค่ำก็ทรงหยิบถ้วย” (3 ครัง้ ) “ถ้วยนีค้ อื พันธสัญญาใหม่” (3 ครัง้ ) “ในโลหิตของเรา” (3 ครัง้ ) “จงทำการนีเ้ พือ่ ระลึกถึงเราเถิด” (3 ครัง้ ) ให้เราเงียบ 3 นาที รำพึงข้อความทีป่ ระทับใจ เป็นพิเศษและแบ่งปันกับเพือ่ น



ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า การเดินทางในความเชื่อนำเราเข้าไปยังโต๊ะอาหารของพระเยซูเจ้า พระองค์ ทรงบิปงั แจกให้เรา พระองค์ทรงแบ่งปันทุกสิง่ ทีพ่ ระองค์มใี ห้กบั เรา ไม่วา่ จะเป็นชีวติ ความรัก ร่างกาย และแม้แต่โลหิต ทรงสร้างเอกภาพท่ามกลางประชากรของพระองค์ ด้วยการอุทิศตัวพระองค์เองอย่างไม่เห็นแก่ตัว พระเยซูเจ้าทรงหวังว่าเราจะกระทำเช่นเดียวกัน พระองค์ตรัสว่า “จงทำการนี้ เพือ่ ระลึกถึงเราเถิด” หากเรามีสว่ นร่วมในพิธี “บิปงั ” ในมิสซา เราควร “บิปงั ” เพือ่ คนอืน่ ทัง้ ทีบ่ า้ น ทีท่ ำงาน และทุกแห่งทีเ่ ราอยู่


162 คนในภาพ “บิปงั ” เหมือนพระเยซูเจ้าทรงกระทำในอาหารค่ำมือ้ สุดท้ายอย่างไร - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) (เพิม่ เติม : โดยการร่วมพิธมี สิ ซา โดยการแบ่งปันพระคัมภีรใ์ นกลุม่ คริสตชนย่อย โดย ให้เวลากับคนอืน่ โดยการช่วยเหลือและเยีย่ มเยียนผูป้ ว่ ย บุคคลเหล่านีท้ ำให้คำสัง่ ของ พระเยซูเจ้าสำเร็จไป : “จงทำการนีเ้ พือ่ ระลึกถึงเราเถิด” ช่วงทีพ่ ระเยซูเจ้าทรงมี พระชนม์อยู่ พระองค์ทรงอุทศิ ตัวพระองค์ทง้ั ครบเช่นเดียวกันด้วย) ข้อความในพระคัมภีรต ์ อนใดช่วยให้เราเข้าใจศีลมหาสนิทมากขึน้ มัทธิว 9:10-13: พระเยซูเจ้าร่วมรับประทานอาหารกับคนบาป ยอห์น 6:51-58 “ผูท้ ก่ี นิ เนือ้ ของเรา...ก็ดำรงอยูใ่ นเรา...” ข้อควรจำ 31. พระเยซูเจ้าทรงตรัสอะไรในงานเลีย้ งอาหารค่ำมือ้ สุดท้ายกับบรรดา อัครสาวก รับปังนี้ไปกินให้ทั่วกัน นี่เป็นกายของเราที่จะมอบเพื่อท่าน รับถ้วยนี้ไปดื่มไปให้ทั่วกัน นี่เป็นถ้วยโลหิตของเรา โลหิตแห่งพันธสัญญาใหม่อันยืนยง โลหิตซึ่งจะหลั่งออกเพื่ออภัยบาป สำหรับท่านและมนุษย์ทั้งหลาย จงทำการนี้เพื่อระลึกถึงเราเถิด 

32. ทำไมเราเรียกพิธมี สิ ซาว่าเป็น “การรับประทานอาหารในครอบครัว” ของ บรรดาบุตรของพระเป็นเจ้า เพราะว่าในมิสซาเราร่วมรับประทานจากโต๊ะของพระบิดาของเรา และยอมรับ ซึ่งกันและกันว่าทุกคนเป็นพี่น้องชายหญิงของเรา


163 40. ศีลมหาสนิท : บูชายิ่งใหญ่ของพระเยซูเจ้า ก. มองชีวิต ในภาพข้างล่างเราเห็นบุคคลต่างๆ เหล่านี้ “เสียสละ” ตนเพือ่ ผูอ้ น่ื หรือ “อุทิศตนเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น”

บุคคลในภาพ “อุทศิ ตน” เพือ่ ผูอ้ น่ื อย่างไร ตัวอย่าง หน่วยกูภ้ ยั พยาบาล ฯลฯ - (กลุ่มย่อยและรายงาน)  ทำไมท่านคิดว่ากางเขนของพระคริสตเจ้าอยูท ่ า่ มกลางภาพเหล่านี้ -  ท่านรูจ ้ กั ใครบ้างทีย่ อมอุทศิ ตนเพือ่ ช่วยผูอ้ น่ื -  ทำไมเราเปรียบเทียบพระคริสตเจ้าบนไม้กางเขนกับ “เมล็ดที่เน่าเปื่อย (dying seed)” - 


164 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า พระเยซูเจ้าบนไม้กางเขนทรงร่วมเป็นหนึ่งเดียวกับผู้ถูกทอดทิ้ง และแม้กับ บุคคลทีค่ ดิ ว่าพระเป็นเจ้าทอดทิง้ ตนเองด้วย พระองค์ทรงเป็น “เครือ่ งบูชา” เพือ่ บุคคล เหล่านี้ อ่าน มาระโก 15.33-37 : พระเยซูเจ้าสิน้ พระชนม์

อ่าน มาระโก 15.33-37 อีกครัง้ พร้อมกับดูภาพข้างบน -  ให้ภาวนาเพื่อบุคคลต่อไปนี้ เพือ่ ผูท้ ถ่ี กู ทอดทิง้ - เพือ่ นักโทษทีถ่ กู จองจำเพราะการลุกขึน้ เรียกร้องเพือ่ สิทธิของเพือ่ นพีน่ อ้ ง - เพือ่ บุคคลทีส่ น้ิ หวังในชีวติ - เพือ่ ผูท้ ำงานสร้างความสมานฉันท์ (สร้างสันติ) 


165 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า ทุกวันอาทิตย์คริสตชนมาร่วมพิธีมิสซา ซึ่งเป็นงานเลี้ยงในครอบครัวของ บรรดาบุตรของพระเป็นเจ้า ในมิสซาเป็นการบูชาของประชากรของพระเจ้า เมื่อเรา ร่วมพิธีมิสซาเหมือนเราคริสตชนกำลังยืนอยู่ที่เชิงกางเขนของพระเยซูเจ้า เพราะ ในมิสซาพระเยซูเจ้าทรงบูชาพระองค์เองแด่พระบิดาเจ้าในสวรรค์และเพือ่ เราแต่ละคน

เมือ่ เราบิปงั ในมิสซา พิธมี สิ ซาเตือนให้เราระลึกถึงพระเยซูเจ้าผูเ้ ป็นลูกแกะของ พระเป็นเจ้าผูพ้ ลีพระชนม์เพือ่ เราบนไม้กางเขน ยังเตือนให้เราระลึกอีกว่าพระเยซูเจ้า ทรงมอบพระองค์ให้กบั เราบนพระแท่นบูชา พระแท่นเป็นสถานทีซ่ ง่ึ กางเขนของ พระเยซูเจ้ากลายเป็นปัจจุบันและเป็นที่ซึ่งพระหฤทัยของพระองค์ต้อนรับเราทุกคน เมือ่ เราร่วมพิธมี สิ ซาเราควรมีสว่ นร่วมอย่างกระตือรือร้นด้วยการร่วมภาวนา ร้องเพลง ร่วมกันและช่วยในพิธี อย่างไรก็ตาม แค่นย้ี งั ไม่เพียงพอ พระเยซูเจ้าตรัสเรียกเราให้อทุ ศิ ตัวเองเพือ่ พระเป็นเจ้าพร้อมกับพระองค์ ถ้าเราทำเช่นนัน้ ได้เท่ากับเรามีสว่ นร่วมในบูชายิง่ ใหญ่ กับพระเยซูเจ้าอย่างแท้จริง


166 คงเป็นการร่วมมิสซาทีย่ งั ไม่ดพี อ หากเราไม่ยอมสละตัวเองเพือ่ เพือ่ นพีน่ อ้ งที่ ต้องการความช่วยเหลือ เราควรต่อเนือ่ งพิธมี สิ ซาในการดำเนินชีวติ แต่ละวันด้วยการ สละตัวเองเพื่อผู้อื่นเหมือนพระเยซูเจ้าทรงกระทำ ข้อควรจำ 33. ทำไมถึงเรียกพิธมี สิ ซาว่าเป็นการบูชายิง่ ใหญ่ของพระเยซูเจ้า เพราะว่าในพิธมี สิ ซาพระเยซูเจ้าทรงบูชาพระองค์เองแด่พระบิดาเจ้าในสวรรค์และเพือ่ ประชากรในโลกเหมือนที่พระองค์ทรงกระทำบนไม้กางเขน 34. เราสามารถฉลองมิสซาอย่างต่อเนื่องในชีวิตประจำวันของเราได้อย่างไร โดยการสละตัวเองเพื่อคนที่ต้องการความช่วยเหลือ


167 41. ศีลอภัยบาป : หนทางกลับมาหาพระเป็นเจ้าและเพื่อนพี่น้อง ก. มองชีวิต เราตัดสินใจติดตามทางของพระคริสตเจ้า อย่างไรก็ดบี างครัง้ เราก็ทำตามใจ ตัวเองและปฏิเสธทีจ่ ะติดตามพระองค์ เราหลงทางเหมือนชายในภาพข้างล่าง เขา หลงทางในทะเลทรายและชีวิตกำลังตกอยู่ในอันตราย

ท่านคิดว่า ชายคนนีร้ สู้ กึ อย่างไรทีห่ ลงทางในทะเลทราย -  ทำไมถึงเปรียบเทียบคนบาปกับคนทีห ่ ลงทางในทะเลทราย -  คนทีท ่ ำบาปขโมย โกหก ผิดประเวณี เห็นแก่ตวั ก่อให้เกิดความทุกข์ยากอะไรบ้าง - - (กลุม่ ย่อยและรายงาน) 


168 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ในจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเอเฟซัสแสดงให้เราเห็นแนวทางอันน่า พิศวงในการติดตามพระคริสตเจ้าและความหายนะในการหลงทางจากพระองค์ อ่าน เอเฟซัส 4.17-32 : ชีวติ ใหม่ในพระคริสตเจ้า ประชุมกลุม่ (20 นาที) แบ่งกลุม่ ย่อย กลุม่ ละ 3-4 คน และตอบคำถามต่อไปนี้ โดยหาข้อความจาก พระคัมภีร์ มีเหตุผลอะไรทีเ่ ราควรดำเนินชีวติ ใหม่ทต่ี า่ งไปจากคนทีไ่ ม่รจู้ กั พระเป็นเจ้า - (ดูขอ้ 20,24,25,27,30,32) จงยกตัวอย่างของคนที่ “หลงทาง” มา 5-10 ตัวอย่าง - - (ดูขอ ้ 17-32) - (กลับมารายงานหลังจาก 20 นาที) 

(เพิม่ เติม : เราถูกเรียกให้ดำเนินชีวติ ใหม่เนือ่ งจากเราเป็นส่วนหนึง่ ในชีวติ ของ พระเป็นเจ้า (17) เลียนแบบชีวิตของพระคริสตเจ้า (20) เราเป็นเสมือนอวัยวะของ ร่างกายเดียวกัน (25) ช่วยเหลือกันและกันให้เจริญชีวติ ในความเชือ่ (29) และ พระเป็นเจ้าทรงรับประกันว่าหนทางของพระคริสตเจ้านำเราไปสู่อิสระภาพที่สมบูรณ์ (30) พระเป็นเจ้าทรงอภัยบาปให้เรา เหตุฉะนัน้ เราจึงควรให้อภัยผูอ้ น่ื ด้วย (32) ใน จดหมายถึงชาวเอเฟซัสนักบุญเปาโลพูดถึงบาปนานาชนิดซึง่ พาให้เรา “หลงทาง” ไป จากทางของพระเป็นเจ้าและพีน่ อ้ งชายหญิง กระนัน้ ก็ตาม ยังมีคนทีไ่ ม่สนใจรูจ้ กั พระเป็นเจ้า ไม่มคี วามละอาย และหมกมุน่ อยูใ่ นราคะตัณหา พูดเท็จ โกรธเป็นเวลา นานๆ ยอมให้ปศี าจเข้าครอบครอง ใช้วาจาทีร่ นุ แรงทำให้คนอืน่ เสียใจและเก็บ ความเกลียดชังไว้ในใจ บาปเหล่านีท้ ำให้พระจิตเจ้าทีเ่ ราได้รบั เสียพระทัย)


169 ค. การกลับมาหาพระเป็นเจ้า พระเป็นเจ้าทรงเรียกให้เรากลับมาหาพระองค์ ถ้าเราหลงออกจากทางของ พระเป็นเจ้าและจากเพือ่ นพีน่ อ้ ง หรือจะเรียกการกลับมาหาพระเป็นเจ้าว่า “การคืนดี กับพระเป็นเจ้า” ในภาพข้างล่าง พระสงฆ์โปรดศีลอภัยบาป ซึง่ นำคนบาปให้กลับมาหา พระเป็นเจ้าอีกครั้งหนึ่ง

ทำไมถึงกล่าวว่าคนในภาพข้างบน “ใช้โทษบาป” และ “สำนึกผิด” - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) (เพิม่ เติม : การแสดงความรักต่อเพือ่ นพีน่ อ้ งเป็นการนำเรากลับมาหาพระเป็นเจ้าอีก ครั้งหนึ่ง) ข้อควรจำ 35. เราขออภัยโทษจากพระเป็นเจ้าด้วยคำพูดว่าอย่างไร พระบิดาเจ้าข้า โปรดประทานอภัยแก่ข้าพเจ้าเหมือนข้าพเจ้าให้อภัยแก่ผู้อื่น ข้าแต่พระเจ้าทรงเมตตาเทอญ ข้าแต่พระคริสตเจ้าทรงเมตตาเทอญ ข้าแต่พระเจ้าทรง เมตตาเทอญ 


170

พิธรี ะหว่างเป็นผูส้ มัครเรียนคำสอน (RITES DURING THE CATECHUMENATE) การอวยพรผู้เรียนคำสอน

บทภาวนาละทิ้งความชั่ว

หลังจากชั่วโมงเรียนคำสอน สมาชิก ของกลุม่ คริสตชนอวยพรแก่ผเู้ รียนคำสอน ขณะกำลังอวยพร ให้สมาชิกคริสตชน วางมือบนบ่าของผู้สมัครเรียน (บทภาวนาอวยพร 6 บท ดูหน้า 271-274)

สมาชิกของชุมชนผู้ได้รับมอบอำนาจ จากพระสังฆราช สวด “บทภาวนา ละทิ้งความชั่ว” (Minor Exorcisms) (บทภาวนาละทิง้ ความชัว่ 7 บท ดูหน้า 265-270)

การเจิมน้ำมันผู้เรียนคำสอน พระสงฆ์หรือสังฆานุกรเป็นผู้เจิม การเจิมสามารถเจิมซ้ำได้ในโอกาสอื่นๆ ดูรายละเอียดเรือ่ งพิธกี รรมต่างๆ ในภาคผนวก (พิธเี จิมผูเ้ รียนคำสอน ดูหน้า 275-276)


171 42. ศีลอภัยบาป : ศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการคืนดี ก. มองชีวิต ในพระศาสนจักรคาทอลิกนับเป็นสิ่งที่น่าชื่นชมที่มีศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการคืนดี (Reconciliation) เป็นศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการอภัยบาปและสันติสขุ ในภาพข้างล่าง พระสงฆ์โปรดศีลแห่งการคืนดีให้กบั คนหนึง่

เกิดอะไรขึน้ ในภาพข้างบน - (คริสตชนควรแบ่งปันประสบการณ์เกี่ยวกับศีลแห่งการคืนดีให้ผู้ที่ยังไม่ได้รับ ศีลล้างบาปได้ฟัง) (เพิม่ เติม : คนทีก่ ลับมาหาพระเป็นเจ้าและชุมชนคริสตชน โดยการขอโทษพระเป็นเจ้าและสารภาพกับพระสงฆ์ พระสงฆ์ให้อภัยบาปและต้อนรับกลับเข้าสู่ชุมชนคริสตชนในพระนามของพระเป็นเจ้า ถ้าเขาเป็นทุกข์เสียใจ และตัง้ ใจทีจ่ ะละทิง้ บาปนัน้ จริงๆ) 


172 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการคืนดีเป็นอย่างไร พระเยซูเจ้าทรงอธิบายโดยเปรียบเทียบ กับเรื่องลูกล้างผลาญ อ่าน ลูกา 15.11-32 : ลูกล้างผลาญ ในตอนท้ายของเรือ่ ง พระเยซูเจ้าทรงบอกเราถึงสิง่ ทีพ่ ระองค์ตอ้ งการให้ คริสตชนทำเมื่อคนบาปกลับมาหาพระเป็นเจ้าและพระศาสนจักร จงดูภาพข้างล่างและอ่าน ข้อ 25-32 อีกครัง้

ทำไมเราจึงกล่าวว่าพระเยซูเจ้าหวังให้ชุมชนคริสตชนทำเช่นเดียวกับที่เราเห็น ในภาพ - - (กลุม่ ย่อยและรายงาน)  ในเรือ ่ งลูกล้างผลาญ จงหาก้าวสำคัญทีเ่ ราต้องยึดไว้หากเราหันเหออกจากพระเป็นเจ้า และชุมชนคริสตชน : บาป - สำนึกผิด - สารภาพบาป - ให้อภัยบาป - การคืนดี - 


173 ค. การกลับมาหาพระเป็นเจ้า ศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการคืนดีเป็นของประทานของพระเยซูเจ้า ผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพ หลังจากการกลับคืนพระชนมชีพพระเยซูเจ้าประทานอำนาจในการ อภัยบาปแก่บรรดาอัครสาวก ทรงเป่าลมเหนือเขาทัง้ หลาย ตรัสว่า “จงรับพระจิตเจ้า เถิด ท่านทัง้ หลายอภัยบาปของผูใ้ ด บาปของผูน้ น้ั ก็ได้รบั การอภัย” (ยอห์น 20:22-23) สมาชิกทั้งหมดของชุมชนต้องอภัยให้กันและกัน ยอมรับคนบาปกลับเข้าในชุมชน ถึงแม้ท่านหันเหออกจากทางของพระเป็นเจ้าด้วยการทำบาปหนัก แต่เมื่อพระสงฆ์ อภัยบาปให้ทา่ น ท่านก็ได้รบั การต้อนรับเข้าสูช่ มุ ชนคริสตชนอีกครัง้ ข้อควรจำ 35. พระเยซูเจ้าประทานอำนาจในการอภัยบาปแก่บรรดาอัครสาวกด้วย พระวาจาตอนใด “จงรับพระจิตเจ้าเถิด ท่านทัง้ หลายอภัยบาปของผูใ้ ด บาปของผูน้ น้ั ก็ได้รบั การอภัย” (ยอห์น 20:22-23) 37. จงสวดภาวนาสารภาพบาปในมิสซา “ข้าพเจ้าขอสารภาพต่อพระเจ้าผู้ทรงสรรพานุภาพและต่อพี่น้องด้วย ว่า ข้าพเจ้าได้ทำบาปมากมาย ด้วยกาย วาจา ใจและด้วยการละเลย ข้าพเจ้าเป็นคนบาป ข้าพเจ้ายอมรับว่าเป็นคนบาป ดังนั้น ขอพระนางมารีย์ ผู้ทรงเป็นพรหมจารีเสมอ ขอทูตสวรรค์และนักบุญทัง้ หลายและพีน่ อ้ งด้วย ช่วยวิงวอนพระเจ้าเพือ่ ข้าพเจ้า ด้วยเทอญ”


174

วิธรี บั ศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการคืนดี 1. ระลึกถึงบาปทีเ่ ราได้กระทำ ใช้พระบัญญัติ 10 ประการ ในการพิจารณาบาป ดูหน้า 56 ข้อความจากพระคัมภีร์ต่อไปนี้ช่วย เราในการพิจารณาบาป เอเฟซัส 4:25-32 โคโลสี 3:5-13 โรม 12:9-19 ยากอบ 3:1-12 กาลาเทีย 5:16-24 วิวรณ์ 3:14-22

2. ขออภัยบาปจากพระเป็นเจ้า จงกลับมาหาพระเป็นเจ้าเหมือนลูกล้างผลาญกลับไปหาบิดาที่กำลังคอยบุตร ของตน จงจินตนาการว่าพระเป็นเจ้าทรง รับท่านไว้ในอ้อมพระหัตถ์ของพระองค์ ขออภัยโทษจากพระองค์ดว้ ยคำพูดของ ท่านเองหรือใช้บทสารภาพบาป ดูหน้า 173 (ข้อ 37)


175 3. สารภาพบาปกับพระสงฆ์ ไปหาพระสงฆ์และพูดว่า “คุณพ่อที่เคารพ โปรดอวยพรลูกด้วยเพราะลูกได้ทำบาป ลูกขอสารภาพบาป 1.............................. 2.............................. 3.............................. ตัวอย่าง ถ้าท่านรับศีลอภัยบาปครัง้ สุดท้ายเมือ่ สีส่ ปั ดาห์ทแ่ี ล้ว ให้บอกพระสงฆ์ ดังนี้ “คุณพ่อทีเ่ คารพ โปรดอวยพรลูกด้วยเพราะลูกได้ทำบาป ลูกรับศีลอภัยบาป ครัง้ สุดท้ายเมือ่ 4 สัปดาห์ทแ่ี ล้ว ลูกได้กระทำบาป ................................................. หลังจากบอกบาปพระสงฆ์แล้ว พระสงฆ์จะให้ทา่ น “ใช้โทษบาป” ด้วยการสวดหรือ ทำความดีชดเชย 4. พระสงฆ์ให้อภัยบาปและเรากลับคืนดีกบั ชุมชนคริสตชน พระสงฆ์ยกมือให้อภัยบาปและวอนขอพระเมตตาจากพระเป็นเจ้าเพื่อท่าน พร้อมกับพูดว่า “.....ข้าพเจ้าอภัยบาปทัง้ สิน้ ของท่าน เดชะพระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต”


176 แล้วพระสงฆ์ทกั ทายต่อว่า พระเป็นเจ้าทรงอภัยบาปของท่านแล้ว เชิญไปเป็นสุขเถิด และท่านตอบว่า “อาแมน” บาปหนักทำให้เราเหินห่างจากพระเป็นเจ้าและชุมชนคริสตชน อย่างไรก็ตาม หลังจากท่านได้รบั การอภัยบาป ท่านกลับคืนดีกบั พระเป็นเจ้าและกับชุมชนคริสตชน อีกครั้ง บาปหนักขัดขวางท่านในการไปรับศีลมหาสนิทร่วมกับพีน่ อ้ ง แต่ศลี ศักดิส์ ทิ ธิ์ แห่งการคืนดีนำเรากลับไปหาพระเป็นเจ้าและพี่น้องอีกครั้งหนึ่ง ถึงแม้ทา่ นไม่ได้ออกนอกทางของพระเป็นเจ้าด้วยการทำบาปหนัก ศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ แห่งการคืนดีชว่ ยให้ทา่ นใกล้ชดิ กับพระเป็นเจ้ามากยิง่ ขึน้ โดยการสารภาพบาปต่อ พระเป็นเจ้าและฟื้นฟูสายสัมพันธ์แห่งรักกับพระองค์ ศีลแห่งการคืนดีเป็นศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งความเมตตาและความรัก เราอาจเปรียบ ได้กบั งานเลีย้ งแต่งงานซึง่ เป็นการฟืน้ ฟูความรักของท่านกับต่อพระเป็นเจ้าและเพือ่ น พีน่ อ้ ง 5. ใช้โทษบาป (Penance) พระสงฆ์ขอให้ทา่ นทำกิจการ “ใช้โทษบาป” ทีบ่ า้ น หรือในวัด เมื่อลูกล้างผลาญได้รับการอภัยและการ ยอมรับอีกครัง้ เขาได้ทำกิจการใช้โทษบาปเพือ่ เป็น การแสดงความรักด้วยกิจการ


177 43. ศีลเจิมผู้ป่วย : ศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการรักษาและความหวัง ก. มองชีวิต โลกป่วย ขาดความสงบและไม่นา่ อยู่ จึงต้องการเยียวยารักษา การป่วยมีหลาย รูปแบบ มิใช่อาการป่วยทุกอย่างสามารถรักษาได้ดว้ ยยา จากส่วนลึกของจิตใจของเรา มีการป่วยที่มีสาเหตุมาจากความชั่ว ด้วยเหตุนี้เราต้องการแพทย์ผู้ยิ่งใหญ่มีอำนาจ เหนือความเจ็บป่วยและอำนาจแห่งความชั่วร้าย ดูภาพข้างล่าง จงหาความป่วยไข้ในรูปแบบต่างๆ ซึง่ ต้องเยียวยารักษา

ในภาพ มีความเจ็บป่วยอะไรบ้างซึง่ ต้องเยียวยารักษา - - (กลุม่ ย่อยและรายงาน) (เพิม่ เติม: ความเจ็บป่วยทางร่างกาย ความโดดเดีย่ ว ความเกลียดชังระหว่างเผ่าพันธุ์ ความชรา จิตชัว่ ...) ถ้าเราต้องการมีสุขภาพแข็งแรงและการรักษาที่เยี่ยมยอด เราต้องมีมากกว่า แพทย์ทเ่ี ก่งและยาดี เราต้องการใครสักคนทีส่ ามารถรักษาจิตและใจได้ดเี ท่ากับร่างกาย 


178 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า พระเยซูเจ้าเสด็จมาเพื่อรักษาเรา พระองค์เสด็จมารักษาเราเป็นการรักษาที่ เยีย่ มยอด พระองค์เป็นนายแพทย์ผยู้ ง่ิ ใหญ่ อ่าน มาระโก 2.1-12 : พระเยซูเจ้าทรงรักษาคนอัมพาต

ให้ดภู าพข้างบน ให้บางคนอ่านข้อความต่อไปนีอ้ ย่างช้าๆ และสำรวม “พระองค์ประทับอยูใ่ นบ้าน” (3 ครัง้ ) “ไม่มที ว่ี า่ งแม้กระทัง่ ทีป่ ระตู” (3 ครัง้ ) “เขาจึงเปิดหลังคาบ้านตรงทีพ ่ ระองค์ประทับอยู”่ (3 ครัง้ ) “และหย่อนแคร่ทค่ี นอัมพาตนอนอยูล่ งมาทางช่องนัน้ ” (3 ครัง้ ) “ลูกเอ๋ย บาปของท่านได้รบั การอภัยแล้ว” (3 ครัง้ ) “เราสัง่ ท่าน จงลุกขึน้ ” (3 ครัง้ ) “เขาก็ลกุ ขึน้ แบกแคร่ออกเดินไปทันทีตอ่ หน้าคนทัง้ หลาย” (3 ครัง้ )



“ทุกคนต่างประหลาดใจ” (3 ครัง้ ) เงียบ 3 นาที และรำพึงถึงคำหรือข้อความทีป ่ ระทับใจ - ทำไมเราจึงกล่าวว่าพระเยซูเจ้าทรงเป็นนายแพทย์ผย ู้ ง่ิ ใหญ่ - (กลุม่ ย่อยและรายงาน)


179 (เพิม่ เติม : พระเยซูเจ้าทรงรักษาความเจ็บป่วยทางร่างกายและทีม่ าแห่งความเจ็บป่วย ทัง้ หลายคือพลังของความชัว่ ร้าย : บาป) ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า ในยามทีเ่ ราป่วย เราสามารถก้าวต่อไปในหนทางของพระเป็นเจ้า เพราะเวลา นั้นพระเป็นเจ้าทรงเคาะเรียกเราที่ประตูเพื่อเข้ามาช่วยเรา ฉะนั้นเราควรต้อนรับ พระองค์ดว้ ยความเชือ่ ทีล่ กึ ซึง้ เหมือนชายอัมพาตทีม่ คี วามเชือ่ ในพระเยซูเจ้าและได้รบั การรักษา ในยามทีเ่ ราป่วยหนักเราควรเรียกพระสงฆ์ให้มาเจิมน้ำมันศักดิส์ ทิ ธิ์ พระสงฆ์ จะเจิมเราด้วยศีลเจิมผูป้ ว่ ย (Anointing of the sick) พระเยซูเจ้าจะเยียวยารักษาเรา ด้วยฤทธานุภาพของพระองค์ พระสงฆ์ทำพิธีศีลเจิมผู้ป่วยอย่างไร พระสงฆ์วางมือบนศีรษะและเจิมน้ำมันบนหน้า ผากของผู้ป่วยพร้อมกับภาวนาว่า “อาศัยการเจิม อันศักดิส์ ทิ ธิน์ ้ี อาศัยพระเมตตาอันล้นพ้นของพระเจ้า ขอพระองค์ทรงช่วยท่านด้วยพระหรรษทาน ของพระจิต อาแมน” แล้วพระสงฆ์เจิมทีม่ อื ของผูป้ ว่ ยกล่าวว่า “ช่วยท่าน ให้พน้ บาป อีกทัง้ บรรเทาและช่วยให้รอด” อาแมน ครัง้ แรกพระสงฆ์เสกบ้านด้วยน้ำเสก และเชิญคน ในบ้านขอขมาโทษต่อพระเป็นเจ้า เรายอมต่อพลังแห่งความชัว่ และบาปซึง่ เป็นบ่อเกิด ของความเจ็บป่วย ฉะนัน้ ให้เราขอขมาโทษต่อพระเป็นเจ้าเพือ่ พระองค์จะทรงรักษา จิตใจของเรา จากนัน้ พระสงฆ์วางมือบนศีรษะผูป้ ว่ ยเงียบๆ


180 คริสตชนในสมัยแรกเริม่ เจิมผูป้ ว่ ยอย่างไร - (อ่านข้อความจากพระคัมภีรต์ อนนีส้ องรอบ) ยากอบ 5:13-16  อ่านข้อความทีพ ่ ระสงฆ์ใช้พดู ขณะเจิมผูป้ ว่ ยอีกครัง้ อภิปรายกันถึงคำถามนี้ : ทำไมเราจึงกล่าวว่าศีลเจิมผูป้ ว่ ย เป็นศีลแห่งการเยียวยารักษาและความหวัง - (กลุ่มย่อย)  จงเปรียบเทียบการเจิมผู้ป่วย หน้า (179) กับรูปคนอัมพาตกับพระเยซูเจ้า หน้า (178) เกิดอะไรขึน้ ในทัง้ สองภาพ - - (กลุม่ ย่อย) 

ข้อควรจำ 38. พระสงฆ์พดู อะไรขณะเจิมผูป้ ว่ ย “ขอพระองค์ทรงช่วยท่านด้วยพระหรรษทานของพระจิต ช่วยท่านให้พ้นบาป อีกทั้ง บรรเทาและช่วยให้รอด อาแมน” 39. ทำไมเรียกพระเยซูเจ้าว่าเป็นแพทย์ผยู้ ง่ิ ใหญ่ เพราะว่าพระเยซูเจ้าแต่ผเู้ ดียวทีส่ ามารถรักษาทัง้ ฝ่ายกายและทำลายอำนาจแห่งจิตชัว่ พระองค์สามารถรักษาเราทั้งฝ่ายกายและวิญญาณ


181 44. ศีลสมรส : สะท้อนความรักของพระเป็นเจ้า ก. มองชีวิต ชายหนุ่มและหญิงสาวต่างฝันถึงภรรยาและสามีที่มีคุณลักษณะในอุดมคติ ดูภาพข้างล่าง ท่านคิดว่าอะไรเป็น “อุดมคติ” ในชีวติ แต่งงานของบุคคลในภาพ

ในภาพ ท่านเห็น “การแบ่งปัน” อะไร จงยกตัวอย่าง - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  จงยกตัวอย่างการไม่รจ ู้ กั แบ่งปันเป็นเหตุให้ทำลายความสุขในครอบครัว - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) สำหรับตัวท่านเอง สามีและภรรยาใน “อุดมคติ” เป็นอย่างไร - 


182 ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ถ้าเราต้องการพบคนรักทีส่ มบูรณ์แบบเราต้องดูพระเป็นเจ้า ถ้าเราต้องการพบ ครอบครัวทีส่ มบูรณ์แบบ เราต้องดูพระตรีเอกภาพ พระเป็นเจ้าพระบิดา พระบุตร และ พระจิต ครอบครัวทีด่ ใี นโลก เป็นกระจกสะท้อนให้เห็นความรักอันอ่อนหวานและ ซือ่ สัตย์ของพระเป็นเจ้า พระเป็นเจ้าทรงเป็นตัวอย่างของชุมชนทีส่ มบูรณ์แบบ

ในภาพข้างบน ท่านเห็นพระตรีเอกภาพตามทีศ่ ลิ ปินจินตนาการไว้อย่างไร -  ทำไมเราจึงกล่าวว่าครอบครัวที่ดีในโลกเป็นเหมือนกระจกสะท้อนความรักของ พระเป็นเจ้า (กลุม่ ย่อย, รายงาน - -) (เพิม่ เติม : พระเป็นเจ้าตัวอย่างแห่งการแบ่งปัน เอกภาพและความซือ่ สัตย์ท่ี สมบูรณ์แบบ พระจิตเป็นผลแห่งความรัก พระเป็นเจ้ามิได้ทรงดำรงอยู่เพื่อพระองค์ 


183 เอง พระองค์ปรารถนาแบ่งปันชีวติ และความรักของพระองค์กบั เรา ครอบครัวจะเป็นครอบครัวทีม่ คี วามสุข ถ้าสามีและภรรยาแบ่งปันทุกสิง่ ทีม่ ี ให้แก่กนั และกัน ยอมรับว่าบุตรเป็นผลแห่งความรัก อีกทัง้ แบ่งปันทุกสิง่ ทีม่ เี พือ่ บุตร) จงอ่านข้อความจากพระคัมภีรต์ อ่ ไปนี้ หลังจากอ่านแล้วตัง้ คำถามว่า “เรื่องที่อ่านเกี่ยวข้องกับภาพข้างล่างนี้อย่างไร” ก) พระเจ้าตรัสว่า “ให้เราสร้างมนุษย์ตามภาพลักษณ์ของเรา” (ปฐก 1:26) ข) “ผูห้ ญิงจะลืมบุตรทีย่ งั กินนมของนางและจะไม่เมตตาบุตรจากครรภ์ของนางได้หรือ แม้วา่ คนเหล่านีย้ งั ลืมได้ กระนัน้ เราก็จะไม่ลมื เจ้า” (อิสยาห์ 49:15) ค) “สามีก็จงรักภรรยาดังที่พระคริสต์ทรงรักพระศาสนจักรและทรงพลีพระองค์เพื่อ พระศาสนจักร” (เอเฟซัส 5:25) ง) “สิง่ ทีพ่ ระเจ้าทรงรวมกันไว้ มนุษย์อย่าได้แยกเลย” (มัทธิว 19:6)



ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า


184 เป็นธรรมเนียมและกฎของพระศาสนจักร ให้สามีและภรรยาต้องเข้าพิธแี ต่งงาน ในวัด หนทางแห่งความเชือ่ สร้างชีวติ ครอบครัวทีอ่ บอุน่ ภายในบ้าน พระคริสตเจ้าทรง รวมเราเข้าด้วยกันอาศัยชีวิตแต่งงานและทรงช่วยให้เราเติบโตในความรัก เมือ่ คริสตชนรับศีลสมรส เท่ากับพวกเขายอมรับพระคริสตเจ้าในชีวติ สมรสด้วย และวอนขอให้พระองค์ทรงช่วยเหลือพวกเขายามประสบกับปัญหาต่างๆ เมือ่ คริสตชนรับศีลสมรส ในพระศาสนจักรเกิดอะไรขึน้ หรือเมือ่ ทัง้ สองรับ ศีลสมรส เมือ่ ทัง้ คูแ่ ต่งงานในพระศาสนจักรชุมชนทัง้ หมดมีสว่ นเกีย่ วข้องด้วย ต่อหน้า ชุมชนคริสตชนคู่บ่าวสาวสัญญาจะใช้ชีวิตคู่ฉันสามีภรรยา ทั้งสองประกาศอย่างสง่า ว่าในชีวิตสมรสพวกเขาปรารถนาสะท้อนความรักและความซื่อสัตย์ของพระเป็นเจ้า พระสงฆ์ถามคูบ่ า่ วสาวว่า : ท่านทั้งสองมาที่นี่โดยไม่ถูกบังคับ แต่มาด้วยความสมัครใจอย่างแท้จริงเพื่อเข้าพิธี สมรสหรือ ท่านทัง้ สองพร้อมทีจ่ ะน้อมรับบุตร ซึง่ พระเป็นเจ้าประทานให้ แล้วอบรมเลีย้ งดูตามกฎ ของพระคริสตเจ้าและพระศาสนจักรหรือ พระสงฆ์ถามเจ้าบ่าว : ท่านพร้อมทีจ่ ะรับ (...) เป็นภรรยา ท่านสัญญาว่าจะถือซือ่ สัตย์ตอ่ เธอทัง้ ในยามสุขและ ยามทุกข์ ทัง้ ในเวลาป่วยและเวลาสบาย เพือ่ รักและยกย่องให้เกียรติเธอ จนกว่าชีวติ จะหาไม่หรือ พระสงฆ์จะถามเจ้าสาวด้วยคำถามเดียวกัน ธรรมเนียมและกฎของพระศาสนจักรคือ ให้สามีและภรรยา “สมรสกันในวัด” จงหาเหตุผลหลายๆ อย่างมาประกอบธรรมเนียมและกฎของพระศาสนจักรนี้


185 45. ศีลศักดิ์สิทธิ์ 7 ประการ คือสัญลักษณ์ของพระเยซูเจ้าผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพประทับอยู่ท่ามกลางเรา พระเยซูเจ้าทรงสัญญาจะประทับอยู่กับเราจนสิ้นพิภพ (มัทธิว 28:20) ที่ใดมี สองหรือสามคนชุมนุมกันในนามของเรา เราอยูท่ น่ี น่ั ในหมูพ่ วกเขา (มัทธิว 18:20) พระองค์ทรงอยู่ท่ามกลางคนอดอยาก หิวกระหาย คนไม่มีเครื่องนุ่งห่ม คนแปลกหน้า ผูป้ ว่ ยและผูถ้ กู จองจำ นีเ่ ป็นสิง่ ทีพ่ ระองค์ทรงบอกกับเรา (มัทธิว 25:35-36) เราสามารถมีประสบการณ์ของพระเยซูเจ้า ผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพประทับ อยูท่ า่ มกลางเรา พระเยซูเจ้าประทานสัญลักษณ์แห่งการประทับอยูใ่ ห้กบั เรา 7 ประการ นั่นก็คือ ศีลศักดิ์สิทธิ์ 7 ประการ เมื่อไรก็ตามที่เรารับ เราเห็นและได้ยิน บางสิ่งซึ่งช่วยให้เราเชื่อถึงการประทับอยู่ของพระเยซูเจ้าผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพ จงแบ่งกลุม่ ย่อย กลุม่ ละ 3-4 คน และให้แต่ละกลุม่ ศึกษาถึงรูปภาพข้างล่างนี้ หลังจาก 10 นาที ให้กลับมารายงานถึงการอภิปรายคำถามต่อไปนี้ เมือ ่ เรารับศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ เราเห็นและได้ยนิ อะไร - เมือ ่ เรารับศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ พระเยซูเจ้าผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพทรงทำอะไร - เมือ ่ เรารับศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ พระเยซูเจ้าทรงคาดหวังอะไรจากเรา - -

ศีลล้างบาป (ดู บทที่ 36/37)

ศีลกำลัง (ดู บทที่ 38)


186

ศีลมหาสนิท (ดู บทที่ 39-40)

ศีลสมรส (ดู บทที่ 44)

ศีลแห่งการคืนดี (ดู บทที่ 42)

ศีลบวช (ดู บทที่ 31)

ศีลเจิมผูป้ ว่ ย (ดู บทที่ 43)

ข้อควรจำ 40. ศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ 7 ประการมีอะไรบ้าง ศีลล้างบาป ศีลกำลัง ศีลมหาสนิท ศีลอภัยบาป ศีลเจิมผูป้ ว่ ย ศีลสมรสและศีลบวช


187

ช่วงเวลาแห่งการชำระจิตใจให้บริสทุ ธิใ์ นเทศกาลมหาพรต (PERIOD OF LENTEN PURIFICATION) ผู้สมัครเรียนคำสอนที่รัก ถ้าชุมนุมคริสตชนเสนอชือ่ ของท่าน ท่านจะเข้าสูข่ น้ั ทีส่ องของการเดินทางและ เป็น “ผูร้ บั เลือกสรร” (ELECT) พิธีเลือกสรรหรือลงทะเบียน จะกระทำในอาทิตย์แรกในเทศกาลมหาพรต ก่อนรับศีลล้างบาป การประกอบพิธี ดูหน้า 286-293

พิธีการชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ จะประกอบในอาทิตย์ทส่ี าม ทีส่ แ่ี ละทีห่ า้ ของเทศกาลมหาพรต การประกอบพิธดี หู น้า 294-306


188

พระวรสารวันอาทิตย์ในช่วงเวลาการชำระจิตใจ ในเทศกาลมหาพรต ผู้รับเลือกสรรที่รัก ช่วงเวลาการชำระจิตใจจนถึงการรับศีลล้างบาปในวันปัสกา เป็นช่วงการเตรียม จิตใจและการภาวนา พระวรสารในวันอาทิตย์ช่วงนี้ได้รับการเลือกเป็นพิเศษสำหรับ ท่านทัง้ หลาย (ช่วงนีถ้ า้ มีผเู้ รียนคำสอนและผูไ้ ด้รบั การเลือก ควรใช้บทอ่านของปี A RCIA 159) ก่อนพิธีมิสซา ท่านกับพี่เลี้ยงและเพื่อนๆ ควรนั่งด้วยกันเพื่ออ่านพระวรสาร ของอาทิตย์นน้ั ๆ ก่อน ให้ใช้พระวรสารวันอาทิตย์ตอ่ ไปนีส้ ำหรับการแบ่งปันพระวาจา (วิธกี าร 7 ขัน้ ดูหน้า 240-241) จงอ่านข้อความข้างภาพต่อไปนี้ อาทิตย์ที่หนึ่ง เทศกาลมหาพรต ปี A พระวรสารนักบุญมัทธิว 4:1-11 พระเยซูเจ้าทรงถูกทดลอง พระคริสตเจ้าทรงร่วมกับเราในการต่อสูก้ บั ความชัว่ ถามตนเอง : ท่านถูกประจญให้สนองความต้องการส่วนตัวโดย หลงลืมพระเป็นเจ้า และเพือ่ นพีน่ อ้ งหรือไม่ ท่านถูกประจญให้แสดงตนว่าสำคัญมาก สำคัญ กว่าผู้อื่นเสมอแม้แต่ในพระศาสนจักรหรือไม่  ท่านถูกประจญให้กดขี่ข่มเหงผู้อื่นและต้องมี อำนาจเหนือผู้อื่นใช่หรือไม่


189 อาทิตย์ที่สอง เทศกาลมหาพรต ปี A พระวรสารนักบุญ มัทธิว 17:1-9 พระเยซูเจ้าทรงสำแดงพระองค์อย่างรุ่งเรือง พระวรสารอาทิตย์นี้สอนเราถึงพระสิริมงคล ซึง่ พระคริสตเจ้าประทานให้กบั เราในศีลล้างบาปถ้าเรามีความเชื่อในพระองค์ พระวรสารยังบอกเราอีกว่าเราไม่สามารถได้ รับพระสิริมงคลของพระคริสตเจ้าได้หากเรา ไม่ร่วมในพระมหาทรมานของพระองค์ด้วย อาทิตย์ที่สาม เทศกาลมหาพรต ปี A พระวรสารนักบุญยอห์น 4:5-42 พระเยซูเจ้ากับชาวสะมาเรีย พระวรสารนี้เตือนเราถึงน้ำแห่งศีลล้างบาป พระเยซูเจ้าทรงเป็นน้ำซึ่งบันดาลชีวิต พระวรสารสอนให้เราเติบโตในความเชื่อ เราพบพระคริสตเจ้าในฐานะเพื่อนคนหนึ่ง เราเปลี่ยนแปลงชีวิตด้วยการออกไป และบอกผู้อื่นว่าเราได้พบพระผู้ช่วยให้รอด แล้ว พระเยซูเจ้ามิได้ทรงตัดผูใ้ ดออกจากความรัก ของพระองค์ พระองค์ทรงชนะอุปสรรคต่างๆ ทางชนชาติและสังคม


190 อาทิตย์ที่สี่ เทศกาลมหาพรต ปี A พระวรสารนักบุญยอห์น 9:1-41 พระเยซูเจ้าทรงรักษาคนตาบอด ผู้ใดยอมรับความมืดบอดของตน จะได้รับแสงสว่าง มิใช่คนฉลาดเป็นผู้สำนึกว่าพระเยซูเจ้าเป็น พระผู้ช่วยให้รอด แต่บุคคลผู้ยอมรับพระองค์ ด้วยความสุภาพถ่อมตน ชายคนนั้นผู้ได้รับการรักษาได้สำนึกว่า พระเยซูเจ้าทรงเป็นประกาศก เป็น “พระบุตร ของพระเป็นเจ้า” และ “บุตรแห่งมนุษย์” เป็น พระเป็นเจ้าเอง อาทิตย์ที่ห้าในเทศกาลมหาพรต ปี A พระวรสารนักบุญยอห์น 11:1-45 การกลับคืนชีพของลาซารัส พระวรสารนี้เตือนเราอีกครั้งถึงสิ่งที่เกิดขึ้นใน ศีลล้างบาป พระคริสตเจ้าทรงบันดาลให้เรามีชีวิตใหม่ ชีวติ ซึง่ พระเยซูเจ้ามอบให้ มิอาจถูกทำลายได้ ด้วยความตาย ในศีลล้างบาปเราตายกับ พระคริสตเจ้า และเข้าสูช่ วี ติ ใหม่พร้อมกับ พระองค์


191

การชำระจิตใจให้บริสทุ ธิช์ ว่ งเทศกาลมหาพรต ผู้รับเลือกสรรที่รัก ในอาทิตย์ทส่ี าม ทีส่ ่ี และทีห่ า้ ในเทศกาลมหาพรต ชุมชนคริสตชนทัง้ หมดอยู่ เคียงข้างท่านและให้กำลังใจท่านในการต่อสูก้ บั ความชัว่ ในอาทิตย์เหล่านีม้ บี ทภาวนา ทีเ่ ราเรียกว่า “การชำระจิตใจให้บริสทุ ธิ”์ “การชำระจิตใจให้บริสทุ ธิ์ (Purifications or scrutinies) มีสว่ นเกีย่ วข้องกับ พระวรสารอาทิตย์ทส่ี าม ทีส่ แ่ี ละทีห่ า้ เทศกาลมหาพรต ปี A : เรือ่ งหญิงชาวสะมาเรีย พระเยซูเจ้าทรงรักษาคนตาบอดและการกลับคืนชีพของลาซารัส ด้วยเหตุนเ้ี มือ่ มี คริสตชนสำรองและผู้รับเลือกสรรเข้าร่วมในพิธีมิสซาด้วย ควรใช้บทอ่านของปี A (RCIA 159) พิธีการชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ (ดูหน้า 294-306) เรียกผู้รับเลือกสรรให้มายืนข้างหน้า ทุกคนใน วัดภาวนาเงียบๆ เพือ่ พวกเขา

พระสงฆ์เชิญผู้รับเลือกสรรให้คุกเข่าลง พี่เลี้ยง วางมือบนบ่าของผูร้ บั เลือกสรร พระสงฆ์และ ทุกคนในวัดภาวนาเพื่อพวกเขา จากนั้นพระสงฆ์ปกมือเหนือผู้รับเลือกสรรและภาวนาเพื่อ พวกเขา ดูหน้า 295


192

การประกอบพิธศี ลี ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการเริม่ ต้น ผู้รับเลือกสรรที่รัก ท่านได้มาถึงขัน้ สุดท้ายแห่งการเริม่ ต้นชีวติ คริสตชน ท่านจะได้รบั ศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ แห่งการเริม่ ต้น ซึง่ ประกอบด้วย ศีลล้างบาป ศีลกำลังและศีลมหาสนิท

ศีลศักดิส์ ทิ ธิเ์ หล่านีเ้ ป็นสัญลักษณ์ทเ่ี ห็นได้ภายนอกว่า พระเป็นเจ้าทรงยอมรับ ท่านเป็นบุตรสุดที่รักและเป็นสมาชิกในครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ของพระองค์ ท่านจะเกิด ใหม่ดว้ ยน้ำแห่งศีลล้างบาป ได้รบั พละกำลังเข้มแข็งอาศัยศีลกำลัง ให้ปฏิบตั พิ นั ธกิจแบบคริสตชน และได้รับอนุญาตให้เข้ามีส่วนในงานเลี้ยงในครอบครัวใหญ่ของ ประชากรของพระเป็นเจ้าคือ พิธมี สิ ซา จงเตรียมตัวท่านอย่างดีสำหรับการเข้าไปรับศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการเริม่ ต้นนี้ จงใช้ เวลาวันเสาร์ก่อนปัสกาในความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพระเป็นเจ้า ด้วยการภาวนาและ การอดอาหาร มาร่วมกับเพื่อนผู้รับเลือกสรรและเตรียมตัวด้วยกันตามคำแนะนำใน หน้าต่อไป


193

วันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ (Holy Saturday) ดูหน้า (307) ในวันเสาร์ศักดิ์สิทธิ์ ตอนเช้าหรือตอนกลางวัน ให้ผู้รับเลือกสรรมาเตรียมตัว ก่อนรับศีลล้างบาป ผูร้ บั เลือกสรรสามารถทำอะไรเพือ่ เตรียมตัวรับศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่ง การเริ่มต้นนี้ได้บ้าง 1. ทบทวนบทเรียนเรือ่ งศีลล้างบาป เช่น บทที่ 37 การเข้าร่วมกับชุมชนคริสตชน (ดูหน้า 148) 2. ถ้าช่วงเรียนคำสอนมิได้ประกอบพิธเี หล่านี้ ให้ประกอบพิธดี งั นี้ : พิธสี มั ผัสหูและปาก (เอฟฟาธา - Ephphetha ดูหน้า 283) พิธเี จิมน้ำมันผูเ้ รียนคำสอน (หน้า 275-276) 3. การสวดบทข้าพเจ้าเชือ่ (หน้า 284) ถ้าช่วงเรียนคำสอนประกอบพิธี “มอบบทข้าพเจ้าเชือ่ ” แล้ว ให้ดหู น้า 277 ผู้เรียนคำสอนควรแบ่งปันประสบการณ์แห่งความเชื่อในระหว่างการประชุมหรือ ระหว่างพิธกี รรมวันอาทิตย์ ผูเ้ รียนคำสอนหรือผูร้ บั ศีลล้างบาปใหม่อาจกล่าวขอบคุณสมาชิกในกลุ่มสำหรับการแบ่งปันความเชื่อ โดยวิธีนี้เราสามารถประกอบพิธี สวดบทข้าพเจ้าเชื่อหรือการมอบบทข้าเจ้าเชื่ออย่างมีความหมาย 4. อธิบายพิธีตื่นเฝ้าปัสกาและพิธีศีลล้างบาปในหน้าต่อไป


194 พิธีตื่นเฝ้าปัสกาและพิธีศีลล้างบาป พิธีแสงสว่าง เสกไฟและเทียนปัสกา เราผ่านจากความมืดไปสู่ความสว่าง สิ่งสร้างใหม่ได้เริ่มขี้น

วจนพิธีกรรม เราระลึกถึงประวัตศิ าสตร์แห่งความรอดใน เรื่องการสร้าง การได้รับอิสรภาพจากการ เป็นทาสของชาวอียิปต์ การเดินทางผ่าน ทะเล การผ่านจากความตายเข้าสู่ชีวิต บรรดาประกาศกเชื้อเชิญให้เราร่วมในการ เดินทางนี้ด้วย

บทร่ำวิงวอนนักบุญทั้งหลาย ผ่านทางศีลล้างบาป เรากลายเป็นสมาชิก ของพระศาสนจักรทัว่ โลก (ชือ่ นักบุญของ ผู้สมัครอาจรวมอยู่ในบทร่ำวิงวอนนักบุญ ทั้งหลาย ผู้สมัครยืนอยู่รอบอ่างล้างบาป ระหว่างสวดบทร่ำวิงวอน)


195 พิธีเสกน้ำ พระเป็นเจ้าทรงกระทำสิ่งที่ยิ่งใหญ่ในอดีต ผ่านทางน้ำ : พระจิตของพระเจ้าทรงอยู่เหนือน้ำเมื่อครั้ง สร้างโลก ชาวอิสราเอลได้รับการช่วยให้รอด จากชาวอียิปต์อาศัยน้ำในทะเลแดง (อพยพ 14:15-31) ในค่ำคืนนี้ น้ำจะชำระล้างผู้รับเลือกสรรให้ กลับมีชีวิตใหม่พร้อมกับพระคริสตเจ้า ประกาศละทิ้งปีศาจ เราถูกเรียกให้ตายพร้อมกับพระคริสเจ้า โดย ละทิง้ และปฏิเสธทุกสิง่ ทีไ่ ม่ใช่ของพระคริสตเจ้า

ประกาศยืนยันความเชื่อ ผู้รับเลือกสรรปฏิญาณตนต่อหน้าทุกคนว่าจะ ยอมรับพระคริสตเจ้าและความเชื่อของชุมชน คริสตชน (ผู้รับเลือกสรรอาจเตรียมคำพูดใน การยืนยันความเชื่อด้วยตนเอง)


196 พิธีศีลล้างบาป ขณะทีพ่ ระสงฆ์เทน้ำบนศีรษะของผูร้ บั เลือกสรร พ่อแม่อปุ ถัมภ์วางมือบนบ่าของผูก้ ำลังรับพิธ-ี ล้าง ในศีลล้างบาป พระเป็นเจ้าพระบิดา พระบุตรและพระจิตครอบครองเรา ศีลล้างบาปประทับตราให้เราเป็นบุตรของพระเป็นเจ้า (เราสามารถประกอบพิธีศีลล้างบาป ด้วยการ เทน้ำลงบนศีรษะเท่านัน้ หรือด้วยการจุม่ ผูร้ บั ศีลลงไปในน้ำหมดทัง้ ตัว RCIA 220)

การแสดงความยินดีกับผู้รับศีลล้างบาปใหม่ หลังจากเสร็จพิธรี บั ศีลล้างบาป คริสตชนในวัด ปรบมือแสดงความยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่ เข้าสู่ชุมนุมคริสตชน อาจมีการต้อนรับตามประเพณีท้องถิ่นแต่ละ แห่ง (RCIA 221)


197

พิธศี ลี ล้างบาป การเจิมด้วยน้ำมันคริสมา (กรณีโปรดศีลล้างบาปผูใ้ หญ่ จะโปรดศีลกำลัง ด้วย ฉะนัน้ จะเจิมน้ำมันคริสมาในพิธโี ปรดศีล กำลัง) น้ำมันคริสมาเตือนเราให้ระลึกว่า “พระคริสตเจ้า” ทรงเจิมเราด้วยพระจิตเจ้า คริสตชนได้รบั การประทับตราด้วยเครือ่ งหมาย อั น มิ อ าจลบเลื อ นได้ ให้ เ ป็ น สมาชิ ก ของ ประชากรสงฆ์ กษัตริยแ์ ละประกาศก การสวมเสื้อขาว พิธนี ส้ี ามารถเลือกได้ มีความหมายว่าผูร้ บั ศีลล้างบาปใหม่ “สวมสภาพมนุษย์ใหม่” ซึ่ง พระเจ้าทรงเนรมิตให้เหมือนพระองค์” (เอเฟซัส 4:24) ควรมีชุดใหม่เตรียมไว้ในกรณีประกอบ พิธศี ีลล้างบาปด้วยการจุ่มน้ำ การรับเทียนแห่งศีลล้างบาป พ่อแม่อุปถัมภ์จุดเทียนจากเทียนปัสกาและ มอบให้ผู้รับศีลล้างบาปใหม่ หมายความว่า : ผู้รับศีลล้างบาปได้รับชีวิตใหม่จากพระคริสตเจ้าผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพ เรากลายเป็นผูน้ ำ แสงสว่ า งและสั ญ ลั ก ษณ์ ข องพระคริ ส ตเจ้ า ผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพในโลก (บทที่ 36 และ 37 เรือ่ งศีลล้างบาป)


198

ศีลกำลัง พิธีศีลล้างบาปผู้ใหญ่ควรตามด้วยการประกอบ พิธีศีลกำลังทันที ศีลกำลังประทานพละกำลังเข้มแข็งให้คริสตชน ผู้รับศีลล้างบาป เรามีส่วนร่วมในพันธกิจของพระคริสตเจ้าซึ่ง พระองค์ทรงเริ่มไว้หลังจากรับศีลล้างบาปและ การเจิมด้วยพระจิตที่แม่น้ำจอร์แดน เราร่วมอยู่ในวันพระจิตเจ้าเสด็จลงมาในสมัยพระศาสนจักรยุคแรกเริ่มผ่านทางศีลกำลังด้วยเหตุผลนี้เอง บรรดาพระสังฆราชกล่าวว่า “...ผู้ใหญ่ที่ได้รับศีลล้างบาป ควรรับศีลกำลังพร้อมกันไป หากไม่มอี ปุ สรรคอันใด” (เทียบ RCIA 228 และ 46) บางแห่งมีการแห่ภาชนะใส่น้ำมันคริสมาเข้าไป ในวั ด แล้ ว เทน้ ำ มั น คริ ส มาใส่ ภ าชนะเล็ ก ๆ สำหรับให้พระสงฆ์ใช้ พิธศี ลี กำลังไม่แนะนำ ให้เช็ดน้ำมันคริสมาออกหลังจากใช้เจิมในพิธี ศีลกำลังแล้ว (บทเรียนคำสอนเกีย่ วกับศีลกำลัง บทที่ 28,29,30 และ 38)


199

ศีลมหาสนิท

การร่วมในพิธีศีลมหาสนิทเป็นการบรรลุถึงจุดสูงสุดของการเริ่มต้นชีวิต คริสตชน “พวกเขาจำพระองค์ได้เมือ่ ทรงปิขนมปัง” การมีสว่ นร่วมในศีลมหาสนิทแสดงให้เห็นชัดว่า “การเริ่มต้นชีวิตคริสตชน” มี ความหมายอย่างแท้จริง เป็นการมีสว่ นในพระกายของพระคริสตเจ้า เมือ่ ผูไ้ ด้รบั ศีลล้างบาปใหม่รบั พระกายและพระโลหิตของพระคริสตเจ้า พวกเขา กลายเป็นหนึง่ เดียวกับ “พระกายส่วนอืน่ ของพระคริสตเจ้า” คือชุมชนพระศาสนจักร “จงทำดังนี้เพื่อระลึกถึงเรา” เป็นคติพจน์ของชีวิตคริสตชน เราผู้มีส่วนร่วมใน พิธบี ปิ งั ควรเสียสละตัวเองเพือ่ เพือ่ นพีน่ อ้ ง และรับใช้พวกเขาเหมือนดังทีพ่ ระคริสตเจ้า ทรงกระทำในช่วงที่พระองค์ทรงพระชนม์อยู่ ถ้าพระสังฆราชไม่ได้มาเป็นประธานมิสซาพิธศี ลี ล้างบาปคริสตชนใหม่ ควรมี วันใดวันหนึง่ ทีผ่ รู้ บั ศีลล้างบาปใหม่ได้รว่ มพิธมี สิ ซากับพระสังฆราช (RCIA 239)


200

ช่วงเวลาแห่งการเป็นคริสตชนใหม่ (PERIOD OF DEEPENING) สมาชิกใหม่ของพระศาสนจักรที่รัก ชุมชนคริสตชนปรารถนานำท่านทัง้ หลายสูพ่ ระธรรมล้ำลึกแห่งความเชือ่ ทีล่ กึ ซึง้ ในช่วง ระหว่างวันปัสกา (Easter) และวันสมโภชพระจิตเจ้า (Pentecost) เราเรียกเวลานีว้ า่ ช่วงเวลาแห่งการเป็นคริสตชนใหม่ ควรจัดให้การประชุมกลุม ่ ของผูเ้ รียน คำสอนอย่างต่อเนือ่ งจนกระทัง่ วันสมโภช พระจิตเจ้า ให้เข้าร่วมกับการประชุมกลุม ่ คริสตชน เท่าที่มี ทำให้ความเชือ ่ ลึกซึง้ ยิง่ ขึน้ และอุทศิ ตน ในหน้าทีข่ องคริสตชน โดยใช้บทเรียนคำสอนบทที่ 46 และ 47 ดูหน้า 210-216 อ่านและรำพึงร่วมกันถึงชีวติ คริสตชนในสมัยพระศาสนจักรยุคแรกเริม่ ดูหน้า 217218 ทางวัดจัดสถานทีพ ่ เิ ศษไว้ให้พอ่ แม่อปุ ถัมภ์ และผูร้ บั ศีลล้างบาปใหม่ชว่ งพิธกี รรม วันอาทิตย์ระหว่างวันปัสกาถึงวันสมโภชพระจิตเจ้า ผูร้ บั ศีลล้างบาปควรเตรียมตัวเอง สำหรับพิธกี รรมในวันอาทิตย์ดว้ ยการรำพึงถึงพระวรสารในอาทิตย์ นัน้ ๆ ดูหน้า 201209 ทางวัดควรจัดงานฉลองปิดช่วงแห่งการเป็นคริสตชนใหม่นใ้ี ห้กบ ั ผูร้ บั ศีลล้างบาปใหม่ ช่วงปีแรกนี้ พระสังฆราชควรถวายพิธม ี สิ ซาร่วมกับผูร้ บั ศีลล้างบาปใหม่ (RCIA 239) 


201

พระวรสารวันอาทิตย์ชว่ งการเป็นคริสตชนใหม่ ทางวัดควรจัดที่นั่งพิเศษสำหรับผู้รับศีลล้างบาปใหม่ในมิสซาตลอดเทศกาล ปัสกา พวกเขาควรได้รบั บทเทศน์และการภาวนาให้เป็นพิเศษ พ่อแม่อปุ ถัมภ์ควรอยู่ กับพวกเขา เมือ่ ไรก็ตามทีม่ ผี รู้ บั ศีลล้างบาปใหม่ในวัดควรใช้บทอ่านปี A (RCIA 40) วันอาทิตย์ปัสกา ปี A.B.C ยอห์น 2:1-9 วันนี้เรามาร่วมฉลองการกลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจ้าด้วยความชื่นชมยินดี พระคริสตเจ้าทรงกลับคืนพระชนมชีพจริงแท้ อัลเลลูยา วันนี้คริสตชนประกาศข่าวแห่ง ความหวังแก่โลกว่า พระคริสตเจ้าทรง กลับคืนชีพแล้ว เป็นการประกาศข่าวแห่ง ความยินดีนี้แก่ผู้สิ้นใจไปแล้วด้วย อีกทั้งเป็นการประกาศความยินดีแก่ผู้สิ้นหวังในชีวิต  เมือ ่ เราชุมนุมกันในนามของพระองค์รว่ มกับเพือ่ นๆ ท่านตระหนักถึงการประทับอยู่ ของพระคริสตเจ้าหรือไม่ -  ในยามที่ท่านรู้สึกโดดเดี่ยวและประสบความทุกข์ยากในชีวิต ท่านยอมให้พระคริสตเจ้าผูก้ ลับคืนพระชนมชีพดลใจท่านหรือไม่ -  ท่านได้พบพระคริสตเจ้าผู้ทรงกลับคืนพระชนมชีพในบรรดาเพื่อนพี่น้องที่กระทำ ความดีหรือไม่ - -


202 อาทิตย์ที่สองเทศกาลปัสกา ปี A ยอห์น 20:19-31 ทุกวันอาทิตย์ระหว่างเทศกาลปัสกาถึงวันสมโภชพระจิตเจ้าเรียกว่า “อาทิตย์ปัสกา” ในช่วง 50 วันระหว่างวันปัสกาถึงวันสมโภชพระจิตเจ้า คริสตชนผูร้ บั ศีลล้างบาปใหม่จะ ได้รบั การสอนเป็นพิเศษทัง้ คริสตชนใหม่และ กลุ่มคริสตชนร่วมกันแสวงหาความเข้าใจ ด้านความเชื่อให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ในทุกวันนี้พระเยซูเจ้าทรงให้กำลังใจกับ พวกเราว่า “อย่าสงสัยอีกต่อไปแต่จงเชือ่ เถิด ผู้ที่เชื่อแม้ไม่ได้เห็นก็เป็นสุข”

เราคริสตชนสนใจในการทำให้ความเชือ่ ลึกซึง้ ในพระคริสตเจ้า และรูจ้ กั พระองค์ มากขึน้ หรือไม่ - เราเชื่อถึงการประทับอยู่ของพระเยซูเจ้าท่ามกลางเราในปัจจุบันและทุกครั้งที่เรา ชุมนุมร่วมกันในพระนามของพระองค์หรือไม่ - -


203 อาทิตย์ที่สาม เทศกาลปัสกา ปี A ลูกา 24:13-35 เรื่องศิษย์สองคนบนถนนสู่หมู่บ้าน เอมมาอูส ช่วยให้เรารูถ้ งึ คุณค่าของ การฉลองศีลมหาสนิทมากยิ่งขึ้น อีกทั้ง เชิญชวนให้เรามาร่วมกันฉลองทุกวันอาทิตย์ พร้อมกับฟังพระวาจาของพระเยซูเจ้า ด้วยเหตุนี้ เรามาร่วมพิธีบิปังทุกวันอาทิตย์ ทุกครั้งเมื่อคริสตชนร่วมในพิธีมิสซา จงถามตัวท่านเองว่า เราเชือ่ ถึงการประทับอยูข่ องพระเยซูเจ้าผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพ ทุกครัง้ ขณะร่วม ในพิธี “บิปงั ” หรือไม่ -  เราเคยบิปง ั และแบ่งปันกับผูอ้ น่ื ทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือจากเราหรือไม่ - 


204 อาทิตย์ที่สี่ เทศกาลปัสกา ปี A ยอห์น 10:1-10 มีอะไรเกิดขึ้นขณะเมื่อรับศีลล้างบาป ทำไมเรามีความเชื่อในพระเยซูเจ้า ใครบอกให้เราไปหาพระองค์ พระเยซูเจ้าตรัสว่า พระองค์เป็น นายชุมพาบาลที่ดี ใครที่ไม่ได้เข้าทาง ประตูก็เป็นขโมย ฉะนั้นพระองค์ทรง เป็นประตูนำสู่ชีวิต คริสตชนเข้าทาง ประตูนี้และเป็นสมาชิกในฝูงแกะของ พระคริสตเจ้าผ่านทางศีลล้างบาป เรายอมฟังเสียงของนายชุมพาบาลทีด่ ผี ชู้ แ้ี นะหนทางแก่เราหรือไม่ -  เราวางใจพระเยซูเจ้าในฐานะเป็นพระผู้ช่วยให้รอดหรือไม่ หรือ เราเชื่อบุคคลที่ พระองค์เรียกว่า “ขโมยหรือโจร” - 


205 อาทิตย์ที่ห้า เทศกาลปัสกา ปี A ยอห์น 14:1-12 ขณะเราเตรียมตัวเองเป็น เวลานาน อาจมีความรู้สึก กั ง วลถึ ง หนทางอั น ยากลำบากพร้อมกับมีคำถามว่า “ฉันจะเดินทางไปถึงปลายทางอย่างปลอดภัยหรือไม่” อาจเกิดอุบัติเหตุระหว่าง การเดินทาง หรือเมือ่ เดิ น ทางไปถึ ง จุ ด หมาย ปลายทาง จะมี ส ถานที ่ สำหรับฉันเองหรือไม่ เมื่อเราได้รับศีลล้างบาป การเดินทางอันยากลำบากได้เริ่มขึ้น เป็นการดีที่จะ ถามตัวเราว่า “เรามีกำลังเพียงพอจะไปถึงจุดหมายปลายทางหรือไม่ หากเกิด ความเหนือ่ ยล้าระหว่างเดินทางไปหาพระเป็นเจ้า จะล้มเลิกการเดินทางหรือไม่” สถานการณ์แห่งความสงสัยนี้ จงฟังพระวาจาของพระเป็นเจ้าที่ว่า “อย่าให้ ใจท่านตกในความสงสัย จงมีความเชือ่ เพราะเราเป็นหนทาง” ใจของท่านเกิดความสงสัย เพราะว่าท่านอยากจะเดินไปตามลำพังโดยไม่มี พระเป็นเจ้าใช่หรือไม่ - ท่านเคยนอนไม่หลับเพราะรูส ้ กึ กังวลและไม่วางใจพระเยซูเจ้าหรือไม่ - 


206 อาทิตย์ที่หก เทศกาลปัสกา ปี A ยอห์น 14:15-21 กิจการอัครสาวก 8:5-8, 14-17 พระศาสนจักรในยุคแรกเริ่ม โปรด ศีลล้างบาปและศีลกำลังพร้อมกัน ในช่วงวันปัสกา ศีลล้างบาปและ ศีลกำลังเป็นศีลทีโ่ ปรดไปพร้อมกันได้ เหมือนวันปัสกากับวันสมโภชพระจิ ต เจ้ า เป็ น วั น ที ่ ไ ปด้ ว ยกั น ด้วยเหตุน้ี จึงมีธรรมเนียมการปกมือ และวอนขอพละกำลังจากพระจิตเจ้า ให้เสด็จมาเหนือผู้รับศีลล้างบาป อาศัยพระจิตเจ้าพระเยซูเจ้าทรง สถิ ต ในเราและเราอยู ่ ใ นพระองค์ ดังนั้นพระองค์ตรัสแก่เราว่า “ท่าน จะเข้าใจว่าเราอยูใ่ นพระบิดา และท่านอยูใ่ นเราและเราอยูใ่ นท่าน” ท่านยอมรับพีน่ อ้ งคริสตชนเป็นพีน่ อ้ งชายหญิง เพราะพระจิตเจ้าองค์เดียวกันสถิต อยูใ่ นพีน่ อ้ งเหล่านัน้ หรือไม่ -  เราขอพระจิตเจ้า ให้ชว ่ ยเราดำเนินชีวติ ฐานะเป็นพีน่ อ้ งชายหญิงในพระคริสตเจ้า หรือไม่ - 


207 สมโภชพระเยซูเจ้าเสด็จสู่สวรรค์ (ASCENSION OF THE LORD) ปี A มัทธิว 28:16-20 กิจการอัครสาวก 1:1-11 มีการเฉลิมฉลองอันยิ่งใหญ่เมื่อ มีผู้นำผู้ยิ่งใหญ่ของชนชาติใด ชนชาติหนึ่งได้รับการสถาปนากษัตริย์มีพิธีการขึ้นครองราชย์ ประธานาธิบดีทำพิธีสาบานตน ผู ้ น ำคนอื ่ น ๆมี พ ิ ธ ี เ ข้ า รั บ ตำแหน่ ง อย่ า งสง่ า บางครั ้ ง ประชาชนในประเทศต่างๆ มี ส่วนร่วมในพิธดี งั กล่าว ด้วยการฟังวิทยุหรือชมการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ วันนีเ้ ราฉลองการขึน้ ครองราชย์ของพระคริสตเจ้า พระเจ้าผูย้ ง่ิ ใหญ่ของ นานาชาติ พระองค์เสด็จสู่สวรรค์และประทับเบื้องขวาของพระบิดา ทรงรับพระสิริรุ่งโรจน์และพระฤทธานุภาพ วันนีเ้ ราชืน่ ชมยินดีพร้อมกับทุกคนทัว่ โลก เราประกาศว่าพระเยซูเจ้าทรงเป็น พระเจ้าของเรา เรายอมรับพระเยซูเจ้าเป็นพระเจ้าของเราในพิธีศีลล้างบาป เรายอมให้พระองค์ ปกครองชีวติ ความโลภ โกรธ หลงหรือไม่ -  เราวางใจในพระองค์ยามประสบกับความยากลำบาก ความป่วยไข้และความกลัว หรือไม่ เราแสวงหาการปกป้องคุม้ ครองจากผูอ้ น่ื หรือไม่ -  เราเคยหวังไหมว่า วันหนึ่งพระเยซูเจ้าจะเสด็จมาในพระสิริรุ่งโรจน์เพื่อนำเราเข้า สูบ่ า้ นของพระบิดา เราเตรียมพร้อมหรือยังสำหรับการเสด็จกลับมาของพระองค์ 


208 อาทิตย์ที่เจ็ด เทศกาลปัสกา ปี A ยอห์น 17:1-11 กิจการอัครสาวก 1:12-14 วันพฤหัสทีผ่ า่ นมาเราสมโภชพระเยซูเจ้า เสด็จสูส่ วรรค์ อาทิตย์หน้าสมโภชพระจิตเจ้า ช่วง 10 วันตัง้ แต่วนั พระเยซูเจ้า เสด็จสูส่ วรรค์ จนถึงวันสมโภชพระจิตเจ้า เป็นช่วงเวลาแห่งการรอคอย เราจงถวายตัวเองว่า “จำตอนที่เรา กระวนกระวายกับการรอคอยการมาของ เพือ่ นรักของเราสักคนได้ไหม เราจดจ่อ แต่กับการรอคอย ทั้งมองออกไปทาง หน้าต่าง เปิดประตูออกไปดูหรือถึงกับออกไปหาเพือ่ นรักคนนัน้ จิตใจทีจ่ ดจ่อกับ การรอคอยต้องเป็นความรูส้ กึ อันเดียวกันกับการรอคอยการเสด็จมาของพระจิตเจ้าของ บรรดาสานุศษิ ย์และแม่พระซึง่ ร่วมใจกันภาวนาในห้องชัน้ บน (The Upper Room) ขณะเราร่วมใจภาวนาในการฉลองนี้ จิตใจและวิญญาณของเรารวมเป็นหนึ่งเดียว กันหรือไม่ -  เราเป็ น หนึ ่ ง เดี ย วกั น ในความรั ก กั บ บรรดาบุ ค คลผู ้ ส ่ ง เสี ย งอ้ อ นวอนขอความช่วยเหลือในวันฉลองนีห้ รือไม่ -  เราเตรียมตัวเองสำหรับการสมโภชพระจิตเจ้าซึง ่ กำลังมาถึงนีอ้ ย่างไร - 


209 สมโภชพระจิตเจ้า(PENTECOST) ยอห์น 20:19-23 กิจการอัครสาวก 2:1-11 วันนี้เป็นวันสิ้นสุดอำนาจ ของจิตชั่ว เรารู้ว่าจิตชั่ว แห่งความอิจฉาสามารถทำลาย ความสุ ข ในใจอย่ า งไร จิ ต แห่ ง ความโกรธและ ความโลภ จิ ต แห่ ง ความ เกลียดชังทำลายความสุข และสันติสุข เรารู้สึกกลัว จิตชั่วเหล่านี้และความตาย อย่างไรก็ตาม วันนี้ พระเป็นเจ้าประทานพระจิต แห่งฤทธานุภาพและความรักแก่เรา ลมหายใจของพระองค์เป็นดังพายุและไฟ วันนี้ จิตแห่งความชั่วถูกทำลายลง ในทุกมิสซา คริสตชนรับพระเป็นเจ้าเข้ามาในชีวติ เรายอมให้พระองค์ประทาน พระจิตเจ้าเหมือนดังพระองค์ประทานแก่บรรดาคริสตชนกลุ่มแรกในกรุงเยรูซาเล็ม ภายในตัวเรา มีจติ แห่งความยินดีและกตัญญูหรือไม่ -  ภายในตัวเรา มีจต ิ แห่งความรักและความเป็นหนึง่ เดียวหรือไม่ -  ภายในตัวเรา มีจต ิ แห่งการออกไปบอกข่าวดีเกีย่ วกับพระคริสตเจ้าแก่ผอู้ น่ื ด้วยความชืน่ ชมยินดีหรือไม่ - 


210 46. จงติดตามพระจิตเจ้า ก. มองชีวิต คริสตชนหลายคนรูส้ กึ ผิดหวังหลังจากได้รบั ศีลล้างบาปแล้ว พวกเขาไม่ได้รบั ประสบการณ์เกีย่ วกับชีวติ ใหม่ดงั ทีค่ าดหวังเอาไว้ บ่อยครัง้ ความผิดหวังประการหนึง่ คือ กลุม่ คริสตชนไม่ได้ให้ความสนใจกับผูร้ บั ศีลล้างบาปใหม่อกี ต่อไป อย่างไรก็ดีสำหรับกลุ่มคริสตชนเล็กๆ ผู้รับศีลล้างบาปใหม่สามารถเติบโตใน พระธรรมล้ำลึกของพระคริสตเจ้าผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพท่ามกลางพวกเขาได้ดกี ว่า เมือ่ นางละมัยไปร่วมการประชุมกลุม่ คริสตชน (Small Christian Community) เธอได้รบั การต้อนรับอย่างอบอุน่ โดยสมาชิกของกลุม่ การประชุมเริม่ ด้วย การขับบทเพลง แล้วผูน้ ำขอให้คนหนึง่ ในกลุม่ นำสวด มีการอ่านพระวาจา ของพระเป็นเจ้าในพระคัมภีร์ ทุกคนดึงเอาคำหรือข้อความสั้นๆ ออกมาและ รำพึงถึงข้อความเหล่านั้นอย่างเงียบๆ หลังจากนัน้ ไม่นาน นางละมัยเริม่ แบ่งปันว่า พระวาจาของพระเป็นเจ้าทีว่ า่ “ผูใ้ ดทีเ่ หน็ดเหนือ่ ยและแบกภาระหนัก จงมาพบเราเถิด” (มัทธิว 11:28) ประทับใจดิฉันมาก “เพือ่ นๆ ค่ะ พระวาจาตอนนีใ้ ห้กำลังใจดิฉนั มากในยามประสบกับความทุกข์ยาก และความโกรธ เพือ่ นๆ ทุกคนก็รวู้ า่ สามีของดิฉนั ไม่ได้กลับมานอนทีบ่ า้ นเป็น เวลา 6 ปีแล้ว เขากลับมาในตอนเช้าเพื่อทานอาหารเช้าและเอาเสื้อผ้าสกปรก มาให้ดฉิ นั ซัก ส่วนเวลาทีเ่ หลือเขาไปอยูก่ บั แฟนใหม่ ลูกชายคนโตตำหนิดฉิ นั ว่า “แม่ทนอยูไ่ ด้อย่างไร พ่อไม่รกั แม่และไม่ชอบหน้าพวกเรา ไล่พอ่ ไปเถอะแม่” ดิฉนั รูส้ กึ เหนือ่ ยมากกับการแบกภาระหนักนีเ้ หลือเกิน แต่พระวาจาของพระเป็นเจ้าให้ความหวังและกำลังใจแก่ดฉิ นั ว่า วันหนึง่ สามีของดิฉนั จะกลับมาหาพวกเรา


211 กลุ่มคริสตชนสามารถมีประสบการณ์ถึงการประทับอยู่ของพระเป็นเจ้าผู้ทรง กลับคืนพระชนมชีพท่ามกลางพวกเขาได้อย่างไร - ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า พระจิตเจ้าทรงนำนางละมัย นางได้กระทำสิง่ ทีเ่ หนือพละกำลังของมนุษย์ จะทำได้ อ่าน กาลาเทีย 5:16-26 : ให้พระจิตเจ้านำชีวติ ของท่าน จงอ่านข้อความนีอ้ กี ครัง้ และรำพึงเงียบๆ 2 นาที  ชีวต ิ ของนางละมัยสะท้อนถึงข้อความในพระคัมภีรอ์ ย่างไร หรือจะพูดอีกนัยหนึง่ ท่านคิดว่าข้อความในพระคัมภีรต์ อนไหนพูดถึงนางละมัย (กลุม่ ย่อย ,รายงาน)  เชิญแบ่งปันกับกลุ่มใหญ่ถึงตัวอย่างในชีวิตที่ท่านยอมให้พระจิตเจ้านำทาง  จงหาในพระคัมภีร์ถึงบุคคลเหล่านี้ที่ติดตามการนำของพระจิตเจ้า พระเยซูเจ้า : มัทธิว 4:1-4 แม่พระ : ลูกา 1:34-38 สิเมโอน : ลูกา 2:25-28 สานุศิษย์ : มัทธิว 10:17-20 นักบุญเปาโล : กิจการอัครสาวก 16:6-10 (แบ่งกลุม่ ย่อย กลุม่ ละ 3-4 คน แต่ละกลุม่ อ่านกลุม่ ละเรือ่ ง พร้อมกับตัง้ คำถามว่า : 

พระจิตเจ้าทรงนำทางประชาชนเหล่านี้อย่างไร พวกเขาไม่อยากฟังเสียงการนำทาง ของพระจิตเจ้าภายในตัวเขาอย่างไร)


212 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า หลังจากรับศีลล้างบาป เราก้าวไปหาพระเป็นเจ้าทีละก้าวๆ โดยมีพระศาสนจักรคอยช่วยเหลือ กลุ่มคริสตชนที่มีชีวิตชีวาจะช่วยให้เรามีประสบการณ์กับพระคริสตเจ้า ท่ามกลางเรา อาศัยกลุม่ คริสตชนเช่นนีค้ ริสตชนคนอืน่ ๆ จะไม่ได้เพียงมาร่วมพิธมี สิ ซา ในวันอาทิตย์เท่านั้น แต่จะทำให้มกี ารจัดตัง้ กลุม่ ขึน้ เพือ่ จัดให้มกี ารประชุมแบ่งปันพระคัมภีรท์ บ่ี า้ น คริสตชนคนใดคนหนึ่ง อาศัยกลุ่มคริสตชนเช่นนี้ คริสตชนจะ ร่วมกันแบ่งปันพระวรสารด้วยจิตตารมณ์ แห่งการภาวนา จะมีการแบ่งปันถึง พระวาจาของพระเป็นเจ้าที่ประทับใจ พวกเขาเป็นพิเศษ อาศัยวิธกี ารนีท้ กุ คน สามารถสัมผัสพระเยซูเจ้าผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพได้ (ดู “วิธกี ารแบ่งปันพระวาจา” หน้า 240241) หลังจากแบ่งปันพระวรสารแล้ว สมาชิก มีโอกาสแบ่งปันถึงปัญหาในชีวติ ประจำวัน อาศัยจิตตารมณ์ของพระเยซูเจ้าผู้ทรง กลับคืนพระชนมชีพ สมาชิกในกลุ่มจะ ยื่นมือเข้าช่วยเหลือ โดยวิธีนี้ทุกคนได้ สัมผัสกับพระเยซูเจ้าทรงกลับคืนพระชนมชีพ


213 ข้อควรจำ 41. นักบุญเปาโลกล่าวอะไรเกีย่ วกับเรือ่ งการนำทางของพระจิตเจ้า นักบุญเปาโลกล่าวว่า “ข้าพเจ้าขอบอกท่านทัง้ หลายว่า จงดำเนินตามพระจิตเจ้า และ อย่าตอบสนองความปรารถนาตามธรรมชาติ” (กาลาเทีย 5:16)


214 47. จงใช้พรสวรรค์เพื่อรับใช้ชุมชน ก. มองชีวิต ในวันนี้ ให้แต่ละคนค้นหาขุมทรัพย์ที่ซ่อนอยู่ภายในตัวเรา เช่น บางคนมี พรสวรรค์ในการสร้างสันติระหว่างเพื่อน ซึ่งนับเป็นขุมทรัพย์อันมีค่ายิ่ง บางคนมี พรสวรรค์ในการร้องเพลง บางคนมีพรสวรรค์ในการทำให้ผอู้ น่ื สนุกและหัวเราะได้ บ่อยครั้งเราแต่ละคนไม่เคยตระหนักถึงพรสวรรค์พิเศษที่เรามี หรือไม่ก็รู้สึก เขินอายในการใช้พรสวรรค์เหล่านั้น อ่านเรือ่ งของนางนภา นางนภาได้รับศีลล้างบาปในวันปัสกา นำความสุขมาให้เธอเป็นอย่างมาก วันหนึง่ สมาชิกของสภาอภิบาลระดับวัด (Parish council) ไปเยีย่ มเธอทีบ่ า้ น เพือ่ ชวนเธอเข้าร่วมในกลุม่ ผูอ้ า่ นพระคัมภีร์ ทุกคนทราบว่าเสียงของเธอเพราะมาก และเธออ่านหนังสือได้ดี เธอรูส้ กึ แปลกใจและตอบว่า “ดิฉนั มีความสุขมากเมือ่ ได้รับศีลล้างบาปในวันปัสกาและชอบไปร่วมพิธีกรรมในวันอาทิตย์ ได้พบ เพือ่ นๆและสวดภาวนาร่วมกัน แต่ดฉิ นั ไม่อยากไปยืนข้างหน้าและอ่านบทอ่าน มันทำให้ดฉิ นั รูส้ กึ ลำบากใจเกินไป ขอบคุณค่ะ สมาชิกของสภาอภิบาลฯ คนนัน้ ยังล้มเหลวในการชวนเธอเข้าร่วมกลุม่ สตรี เยีย่ มผูป้ ว่ ย จึงกลับไปด้วยความผิดหวัง ท่านคิดว่าทำไมนางนภาปฏิเสธทีจ่ ะใช้พรสวรรค์ของเธอ -- (อภิปรายในกลุม่ ใหญ่) คริสตชนสามารถแบ่งปันหน้าทีอ ่ ะไรระหว่างพิธกี รรมในวัดบ้าง - (อภิปรายในกลุ่มใหญ่) 


215 คริสตชนทัง้ หมดในวัดควรทำหน้าทีอ่ ะไรบ้าง นอกจากพิธกี รรมในวัด -- (กลุม่ ย่อย, รายงาน) คริสตชนมีงานและหน้าทีม่ ากมายทีต่ อ้ งทำ ด้วยเหตุทแ่ี ต่ละคนมีพรสวรรค์ตา่ งๆกัน



ข. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ให้เราฟังพระวาจาของพระเป็นเจ้าซึ่งจะชี้ให้เห็นถึงแง่มุมหลายๆด้าน ไม่ว่า จะเป็นเรื่องของนางนภาและพรสวรรค์ของเราเองด้วย อ่าน มัทธิว 25:14-30 : อุปมาเรือ่ งเงินตะลันต์ (Talents) จงดูภาพข้างล่างซึง ่ ครอบคลุมเนือ้ หาทัง้ หมด มัทธิว 25

จากรูปภาพบอกอะไรแก่เราบ้างถึงเรือ่ งของนางนภา - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน) ใครในชุมชนของเรามีพรสวรรค์มาก บุคคลเหล่านีใ้ ช้พรสวรรค์ทม ่ี ใี นการสร้างสรรค์ สิง่ ทีด่ ใี ห้กบั ชุมชนอย่างไร - - ( กลุม่ ย่อย, รายงาน ) 


216 ค. ก้าวเดินไปข้างหน้า เราทุกคนต่างมีพรสวรรค์และความสามารถพิเศษ บางครั้ง เราไม่ได้ใช้ พรสวรรค์ที่มีแต่กลับซ่อนขุมทรัพย์เหล่านั้นไว้อย่างมิดชิด จงดูภาพข้างล่างและหาความหมายทีอ่ ยูใ่ นภาพ (อภิปรายในกลุม่ ใหญ่)



นาย ข

นาย ก

นาย ง

นาง ค นาย ก ไม่ใช่คนเกียจคร้าน แต่ไม่เคยตระหนักว่าตนเองมีพรสวรรค์บางอย่างอยูใ่ นตัว นาย ข รูว้ า่ ตนเองมีพรสวรรค์ แต่ปฏิเสธทีน่ ำพรสวรรค์เหล่านัน้ มาใช้เพราะเกียจคร้าน นาง ค ถูกกีดกันในการใช้พรสวรรค์ทม่ี เี หล่านัน้ นาย ง พระสงฆ์เตือนให้นาย ง นำพรสวรรค์ทต่ี นมีออกมาใช้แต่นาย ง พูดว่าเป็น งานของพระสงฆ์  พรสวรรค์พเิ ศษอะไรทีเ่ ราพบในบรรดาสมาชิกในกลุม ่ - - (กลุม่ ย่อย, รายงาน)  เราสามารถใช้พรสวรรค์ทม ่ี ใี ห้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ได้อย่างไร - - (อภิปรายในกลุม่ ใหญ่)


217 ชีวิตคริสตชนในพระศาสนจักรยุคแรกเริ่ม คริสตชนในยุคแรกเริม่ สามารถบอก เราได้วา่ เราควรดำเนินชีวติ อย่าง คริ ส ตชนหลั ง จากรั บ ศี ล ล้ า งบาป ได้อย่างไร จงอ่านข้อความต่อไปนี้ จะอ่านคนเดียวหรือเป็นกลุ่มก็ได้ หลังจากอ่านข้อความต่อไปนี้ ถามตัวท่านเองว่า : “เราได้ยนิ ถึงการดำเนินชีวติ ของคริสตชนในยุคแรกเริม่ เรา สามารถดำเนินชีวิตในรูปแบบที่คล้ายคลึงกันมาใช้ได้อย่างไรในปัจจุบัน” ตัวอย่างการดำเนินชีวิตของคริสตชนในยุคแรกเริ่ม 1. กิจการอัครสาวก 1:12-14 : ทุกคนภาวนาด้วยกัน 2. กิจการอัครสาวก 2:42-47 : กลุ่มที่มีการแบ่งปัน



3. กิจการอัครสาวก 4:5-22 : พวกเขาประกาศข่าวดีโดยไม่หวัน่ เกรง 4. กิจการอัครสาวก 5:17-33 : ความนบนอบต่อพระเป็นเจ้ามาอันดับหนึ่ง 5 กิจการอัครสาวก 6:1-7 : กลุ่มคริสตชนทั้งหมดมีส่วนร่วมในการเลือก เพื่อนร่วมงานพร้อมกับบรรดาอัครสาวก 6 .กิจการอัครสาวก 7:8-15 : สเทเฟนถูกจับ 7. กิจการอัครสาวก 7:51-60 : การตายของสเทเฟน 8. กิจการอัครสาวก 8:4-8 : คริสตชน “ธรรมดา” ออกไปประกาศพระวรสาร 9. กิจการอัครสาวก 9:1-19 : พระเป็นเจ้าทรงเรียกเปาโล และรับศีลล้างบาป เข้าเป็นคริสตชน 10 .กิจการอัครสาวก 10:17-48 : พระวาจามีเพื่อชนทุกชาติและทุกภาษา


218 11. กิจการอัครสาวก 11:19-26 : คริสตชนตัง้ พระศาสนจักรทีเ่ มืองอันติโอก โดยการ นำของบรรดาอัครสาวก 12. กิจการอัครสาวก 13:1-5 : คริสตชนในยุคแรกเริม่ ส่งบรรดาธรรมทูตออกไป 13. กิจการอัครสาวก 15:1-12 : คริสตชนยุคแรกเริม่ ปรึกษากันถึงเรือ่ งสำคัญๆ นำโดยเปโตร หัวหน้าบรรดาอัครสาวก 14. กิจการอัครสาวก 16:9-15 : พระศาสนจักรในยุโรป (กรีก) เริ่มพระศาสนจักร ในบ้าน หรือ “กลุม่ คริสตชนเล็กๆ” (Small Christian Community) 15. กิจการอัครสาวก 20:17-38 : เปาโลอำลาบรรดาผูอ้ าวุโสแห่งเมืองเอเฟซัส


219 กิจกรรมปิดการอบรม 1. ในช่วงใกล้วนั สมโภชพระจิตเจ้า กลุม่ คริสตชนควรเตรียมพิธฉี ลองพิเศษให้ผรู้ บั ศีลล้างบาปใหม่ โดยจัดให้มพี ธิ ที ส่ี อดคล้องกับประเพณีทอ้ งถิน่ (RCIA 237) 2. พระสังฆราชควรประกอบพิธีมิสซาร่วมกับผู้รับศีลล้างบาปใหม่เมื่อมีโอกาส โดย เฉพาะถ้าพระสังฆราชไม่ได้เป็นประธานในพิธี โปรดศีลล้างบาป ศีลมหาสนิท และศีลกำลัง พิธฉี ลองกับพระสังฆราช แสดงให้พวกเขา เห็ น ว่ า พวกเขาเป็ น หนึ ่ ง เดี ย วกั บ พระศาสนจักรสากล ในโอกาสนีค้ วรให้ผรู้ บั ศีลล้างบาปใหม่ รับศีลมหาสนิทในรูปปังและเหล้าองุน่ (RCIA 239) 3. ในวัดท้องถิน่ แต่ละวัดควรจัดเตรียมพิธฉี ลองให้กบั ผูร้ บั ศีลล้างบาปใหม่ (RCIA 238) ในพิธีนี้ควรจัดรวมให้มีการฟื้นฟูจิตใจให้กับผู้รับศีลล้างบาปในปีก่อนๆด้วย


220

บทภาวนาทีค่ วรท่องจำ เครื่องหมายกางเขน เดชะพระนามพระบิดา และพระบุตรและพระจิต อาแมน สิริพึงมี สิรพิ งึ มีแด่พระบิดา และพระบุตร และพระจิต เหมือนในปฐมกาล บัดนีแ้ ละทุกเมือ่ ตลอดนิรนั ดร อาแมน ข้าแต่พระบิดา ข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทั้งหลาย พระองค์สถิตในสวรรค์ พระนามพระองค์จงเป็นที่สักการะ พระอาณาจักรจงมาถึง พระประสงค์จงสำเร็จ ในแผ่นดินเหมือนในสวรรค์ โปรดประทานอาหารประจำวันแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายในวันนี้ โปรดประทานอภัยแก่ข้าพเจ้าเหมือนข้าพเจ้าให้อภัยแก่ผู้อื่น โปรดช่วยข้าพเจ้าไม่ให้แพ้การผจญ แต่โปรดช่วยให้พน้ จากความชัว่ ร้ายเทอญ อาแมน วันทามารีอา วันทามารีอา เปีย่ มด้วยหรรษทาน พระเจ้าสถิตกับท่าน ผูม้ บี ญ ุ กว่าหญิงใดๆ และพระเยซูโอรสของท่าน ทรงบุญนักหนา สันตะมารีอามารดาพระเจ้า โปรดภาวนาเพือ่ เราคนบาป บัดนีแ้ ละเมือ่ จะตาย อาแมน


221 ข้าพเจ้าเชื่อถึงพระเป็นเจ้า ข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระเป็นเจ้า พระบิดาทรงสรรพานุภาพ สร้างฟ้าดิน เชือ่ ถึง พระเอกบุตรเยซูคริสต์สวามีของเรา ปฏิสนธิเดชะพระจิต บังเกิดจากพระนางมารีอา พรหมจารี รับทรมานสมัยปอนซีโอ ปีลาโต ถูกตรึงกางเขนตายและฝังไว้ เสด็จลงใต้บาดาล วันทีส่ ามกลับคืนชีพจากบรรดาผูต้ าย เสด็จขึน้ สวรรค์ ประทับเบือ้ งขวา พระเป็นเจ้าพระบิดาทรงสรรพานุภาพ แล้วจะเสด็จมาพิพากษาผู้เป็นและผู้ตาย ข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระจิต พระศาสนจักรศักดิส์ ทิ ธิ์ สากล สหพันธ์นกั บุญ การยกบาป การคืนชีพของเนือ้ หนัง และชีวติ นิรนั ดร อาแมน บทแสดงความเชื่อ ข้าแต่พระเป็นเจ้า ข้าพเจ้าเชือ่ มัน่ ในความจริงทุกข้อทีพ่ ระองค์ไขแสดง และ ทีพ่ ระศาสนจักรสัง่ สอน ทัง้ นี้ เพราะพระองค์ไม่รจู้ กั หลง ทัง้ ไม่รจู้ กั หลอกลวง อาแมน บทแสดงความไว้ใจ ข้าแต่พระเป็นเจ้า ข้าพเจ้าไว้ใจมั่นว่า เดชะพระบารมีของพระเยซูคริสตเจ้า พระองค์จะประทานพระหรรษทานแก่ขา้ พเจ้าในโลกนี้ และสันติสขุ นิรนั ดรในโลกหน้า ทัง้ นี้ เพราะพระองค์สญ ั ญาและถือตามเสมอ อาแมน บทแสดงความรัก ข้าแต่พระเป็นเจ้า ข้าพเจ้ารักพระองค์ สุดดวงใจยิ่งกว่าสิ่งทั้งปวง เพราะ พระองค์เป็นความดีงามและทรงน่ารักหาที่สุดมิได้ และเพราะรักพระองค์ ข้าพเจ้า ยังรักผูอ้ น่ื เหมือนรักตัวข้าพเจ้าเอง อาแมน บทแสดงความทุกข์ ข้าแต่พระเป็นเจ้า ข้าพเจ้าเป็นทุกข์เสียใจที่ได้กระทำบาป เพราะบาปเรียก ร้องอาชญาของพระองค์ แต่เป็นต้นเพราะมันทำเคืองพระทัยพระองค์ ซึง่ ดีและน่ารัก ยิง่ นัก เดชะพระหรรษทานช่วย ข้าพเจ้าตัง้ ใจแน่วแน่วา่ จะไม่ทำบาปอีกเลย ทัง้ จะ อุตส่าห์ใช้โทษ ขอทรงพระกรุณายกบาปแก่ขา้ พเจ้าด้วยเถิด อาแมน


222 เยซู มารีอา ยอแซฟ เยซู มารีอา ยอแซฟ ข้าพเจ้าขอถวายดวงใจ สติปญ ั ญาและชีวติ แด่ทา่ น เยซู มารีอา ยอแซฟ โปรดช่วยข้าพเจ้าเมือ่ ใกล้จะตาย เยซู มารีอา ยอแซฟ ขอช่วยให้ขา้ พเจ้าสิน้ ใจอย่างราบรืน่ ในศีลในพรของท่าน ข้าแต่อารักขเทวดา ข้าแต่อารักขเทวดา พระเป็นเจ้าทรงกรุณามอบข้าพเจ้า ไว้ในอารักขาของ ท่าน โปรดส่องสว่าง พิทกั ษ์รกั ษา และคุม้ ครองข้าพเจ้าตามทางความรอด ณ วันนี้ (คืนนี)้ ด้วยเทอญ อาแมน โอ้พระชนนีของพระเป็นเจ้า โอ้พระชนนีของพระเป็นเจ้า ชาวเราหลบมาพึง่ ท่าน โปรดอย่าเมินเฉยต่อ คำวิงวอนในยามทุกข์รอ้ นของเรา แต่โปรดช่วยเราให้พน้ ภัยทัง้ สิน้ เสมอเถิด ท่าน ศรีพรหมจารีผู้ทรงบุญ พระบัญญัติพระศาสนจักร 1. จงร่วมมิสซาและอย่าทำงานในวันอาทิตย์และวันฉลองบังคับ 2. จงอดอาหารและอดเนือ้ ในวันบังคับ 3. จงรับศีลอภัยบาปอย่างน้อยปีละครัง้ และจงรับศีลมหาสนิทอย่างน้อยปีละครัง้ ในกำหนดปัสกา 4. จงบำรุงพระศาสนจักรตามความสามารถ บทร้องหาพระจิต เชิญเสด็จมา พระจิตเจ้าข้า เชิญมาสถิตในดวงใจสัตบุรษุ และบันดาลให้เร่าร้อน ด้วยความรักต่อพระองค์ โปรดส่งพระจิตของพระองค์ และสรรพสิ่งจะอุบัติขึ้นมา แล้วพระองค์จะนิมิตแผ่นดินขึ้นใหม่ ข้าแต่พระเป็นเจ้า พระองค์สอนใจสัตบุรษุ ด้วยความสว่างของพระจิต ขอให้เรา ซาบซึง้ ในความเทีย่ งตรงด้วยพระจิตนัน้ และให้ได้รบั ความบรรเทาจากพระองค์เสมอ เดชะพระสวามีคริสตเจ้า อาแมน


223

คำถามและคำตอบ 1. บัญญัติ 10 ประการมีอะไรบ้าง (คำพูดแห่งการปลดปล่อย 10 ประการ) เราเป็นพระเป็นเจ้า ผูน้ ำพวกเจ้าออกจากประเทศอียปิ ต์ ให้พน้ จากการเป็นทาส 1. จงนมัสการพระเป็นเจ้าผูเ้ ดียวของเจ้า 2. อย่าออกนามพระเป็นเจ้าโดยไม่สมเหตุ 3. วันพระเจ้าอย่าลืมฉลองเป็นวันศักดิส์ ทิ ธิ์ 4. จงนับถือบิดามารดา 5. อย่าฆ่าคน 6. อย่าทำอุลามก 7. อย่าลักขโมย 8. อย่าใส่ความนินทา 9. อย่าปลงใจในความอุลามก 10. อย่ามักได้ทรัพย์ของเขา (เทียบ อพยพ 20 : 2-17) 2. พระคริสตเจ้าตรัสอะไรเกีย่ วกับศัตรูทเ่ี บียดเบียนเรา “จงรักศัตรู จงภาวนาให้ผทู้ เ่ี บียดเบียนท่าน” (มัทธิว 5 :44) 3. พระเยซูเจ้าทรงสอนบทภาวนาอะไรให้กบั เรา ข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทัง้ หลาย พระองค์สถิตในสวรรค์ พระนามพระองค์ จงเป็นทีส่ กั การะ พระอาณาจักรจงมาถึง พระประสงค์จงสำเร็จ ในแผ่นดินเหมือน ในสวรรค์ โปรดประทานอาหารประจำวันแก่ขา้ พเจ้าทัง้ หลายในวันนี้ โปรดประทาน อภัยแก่ขา้ พเจ้าเหมือนข้าพเจ้าให้อภัยแก่ผู้อื่น โปรดช่วยข้าพเจ้าไม่ให้แพ้การผจญ แต่โปรดช่วยให้พน้ จากความชัว่ ร้ายเทอญ อาแมน (เทียบ มัทธิว 6:9-13)


224 4. ในบทข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระเป็นเจ้า คำพูดอะไรเป็นคำพูดคำแรก “ข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระเป็นเจ้าพระบิดาผูท้ รงสรรพนุภาพ สร้างฟ้าดิน” 5. บิดาของพระเยซูเจ้า คือใคร พระเป็นเจ้าพระบิดาผู้ทรงสรรพนุภาพ 6. ในบทข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระเป็นเจ้า มีการประกาศยืนยันถึงพระเยซูเจ้าและ แม่พระว่าอย่างไร “เชือ่ ถึงพระเอกบุตรเยซูคริสต์สวามีของเรา ปฏิสนธิเดชะพระจิต บังเกิดจาก พระนางมารีอาพรหมจารี” 7. บทวันทามารีอา วันทามารีอา เปี่ยมด้วยหรรษทาน พระเจ้าสถิตกับท่าน ผู้มีบุญกว่าหญิง ใดๆ และพระเยซูโอรสของท่าน ทรงบุญนักหนา สันตะมารีอามารดาพระเจ้า โปรด ภาวนาเพือ่ เราคนบาป บัดนีแ้ ละเมือ่ จะตาย อาแมน 8. บทภาวนาอันมีชอ่ื เสียงของพระเยซูเจ้าในสวนเกทเสเมนีคอื บทอะไร พระบิดาเจ้าข้า ถ้าข้าพเจ้าต้องดืม่ จากถ้วยนี้ โดยหลีกเลีย่ งมิได้แล้ว ขอให้ เป็นไปตามพระประสงค์ของพระองค์เถิด” (มัทธิว 26:42) 9. พระเยซูเจ้าภาวนาเพือ่ บรรดาศัตรูทต่ี รึงกางเขนพระองค์วา่ อย่างไร “ข้าแต่พระบิดา โปรดยกโทษแก่เขาเถิด เขาไม่รวู้ า่ เขาทำอะไร” (ลูกา 23:34) 10. บทภาวนาบทไหนทีป่ ระกาศว่าพระเยซูเจ้าทรงเป็นพระเจ้า และวอนขอ พระเมตตาจากพระองค์ในมิสซา “ข้าแต่พระเจ้าทรงพระกรุณาเทอญ ข้าแต่พระคริสตเจ้าทรงพระกรุณาเทอญ ข้าแต่พระเจ้าทรงพระกรุณาเทอญ”


225 11.ในบทข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระเป็นเจ้าประกาศยืนยันอะไรบ้างเกีย่ วกับพระเยซูเจ้า “ข้าพเจ้าเชื่อถึงพระเอกบุตรคริสต์สวามีของเรา ปฏิสนธิเดชะพระจิต บังเกิด จากพระนางมารีอาพรหมจารี รับทรมานสมัยปอนซิโอ ปิลาโต ถูกตรึงกางเขน ตายและ ฝังไว้ เสด็จลงใต้บาดาล วันทีส่ ามกลับคืนชีพจากบรรดาผูต้ าย เสด็จขึน้ สวรรค์ ประทับเบือ้ งขวาพระเป็นเจ้าพระบิดาทรงสรรพนุภาพ แล้วจะเสด็จมาพิพากษาผูเ้ ป็นและ ผู้ตาย 12. บทภาวนาบทไหนซึง่ อัญเชิญพระจิตมาประทับในใจของเรา “เชิญเสด็จมาพระจิตเจ้าข้า เชิญมาสถิตในดวงใจสัตบุรษุ และบันดาลให้เร่าร้อน ด้วยความรักต่อพระองค์” 13. พระวาจาตอนไหนทีพ่ ระเยซูเจ้าตรัสเมือ่ พระองค์ทรงส่งบรรดาศิษย์ออกไป ประกาศข่าวแห่งความรักในสถานที่ต่างๆ “จงไปเถิด เราส่งท่านทัง้ หลายไปดุจลูกแกะ ท่ามกลางสุนขั ป่า” (ลูกา 10:3) 14. เราสามารถบรรยายความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของคริสตชนในยุคแรกเริ่มได้อย่างไร “พวกเขามาประชุมกันทีบ่ า้ น นำสิง่ ของมาแบ่งปันกันและภาวนาสรรเสริญ พระเป็นเจ้า 15. พระสังฆราชของท่านชือ่ อะไร / พำนักอยูท่ ไ่ี หน ......................................................................................... 16. ผูน้ ำของพระศาสนจักรทัง้ หมดคือใคร สมเด็จพระสันตะปาปา ทีก่ รุงโรม 17. ทำไมสมเด็จพระสันตะปาปาอยูท่ ก่ี รุงโรม เพราะว่าท่านนักบุญเปโตรไปเทศนาที่กรุงโรมและถูกฝังที่นั่น


226 18. พระสันตะปาปาองค์ปจั จุบนั ชือ่ อะไร ......................................................................................... 19. เราเรียกพิธซี ง่ึ พระสังฆราชและพระสงฆ์เข้ารับหน้าทีจ่ ากอัครสาวกว่าอะไร ศีลบวช (หรือการปกมือ) 20. จงทำเครือ่ งหมายกางเขนและเอ่ยพระนามพระตรีเอกภาพ “เดชะพระนามพระบิดา และพระบุตร และพระจิต” 21. บทภาวนาสัน้ ๆ ซึง่ เราสวดสรรเสริญพระตรีเอกนุภาพคืออะไร “สิรพิ งึ มีแด่พระบิดา และพระบุตร และพระจิต เหมือนในปฐมกาล บัดนีแ้ ละ ทุกเมือ่ ตลอดนิรนั ดร อาแมน” 22.นักบุญเปาโลพูดอะไรกับกลุม่ คริสตชนทีเ่ มืองโครินธ์ทเ่ี กิดความแตกแยกกัน “พีน่ อ้ งทัง้ หลาย ข้าพเจ้าใคร่จะขอร้องท่านในพระนามพระเยซูคริสต์ องค์พระผูเ้ ป็นเจ้าของเรา ให้ทา่ นปรองดองกัน อย่าให้มกี ารแตกแยกกัน แต่จงมีจติ ใจและความเห็นตรงกัน” (1 โครินธ์ 1:10) 23. จงยกตัวอย่างว่าเราสามารถกลับใจในชีวติ คริสตชนหลังจากการรับ ศีลล้างบาปได้อย่างไร โดยการขออภัยเมือ่ เราทำผิด รับศีลอภัยบาป สวดภาวนา และแบ่งปันพระวาจา ฯลฯ 24. มีการประกาศยืนยันความเชื่อในบทข้าพเจ้าเชื่อถึงพระเป็นเจ้าเกี่ยวกับ ชีวิตหลังความตายว่าอย่างไร “ข้าพเจ้าเชื่อถึงการกลับคืนของเนื้อหนังและชีวิตนิรันดร” 25. เรารูไ้ ด้อย่างไรว่า ศักเคียสเชือ่ ในพระเยซูเจ้า ศักเคียสต้อนรับพระเยซูเจ้าในฐานะเพือ่ นคนหนึง่ และเปลีย่ นแปลงชีวติ ของ ตนเอง (ดู ลูกา 19:1-10)


227 26. ในพิธศี ลี ล้างบาป พระสงฆ์ถามว่า “ท่านเชือ่ ในพระเยซูคริสตเจ้าหรือ” ท่านตอบว่าอะไร “ข้าพเจ้าเชื่อ” 27. นักบุญเปาโลเข้าเป็นคริสตชนได้อย่างไร พระคริสตเจ้าทรงเรียกท่าน หลังจากนัน้ ท่านรับศีลล้างบาปโดยพระสงฆ์ทเ่ี มืองดามัสกัส ชือ่ อานาเนีย (เทียบ กิจการอัครสาวก 9:1-19; 22:3-21; กาลาเทีย 1:12-17) 28. พระวาจาตอนไหนซึง่ พระเยซูเจ้าสัง่ ให้บรรดาศิษย์ออกไปประกาศข่าวดีแก่ ผู้อื่น พระเยซูเจ้าตรัสว่า “ท่านทัง้ หลายจงไปสัง่ สอนนานาชาติให้มาเป็นศิษย์ของเรา ทำพิธลี า้ งบาปให้เขา เดชะพระนาม พระบิดา พระบุตรและพระจิต” (มัทธิว 28:19) 29. ทำไมศีสกำลังเตือนให้เราระลึกถึงพระจิตเจ้าเสด็จลงมา เพราะว่าในวันสมโภชพระจิตเจ้า คริสตชนกลุม่ แรกได้รบั พระจิตแห่งพละกำลัง และความกล้าหาญ (เทียบ กิจการอัครสาวก 2 ) 30. พระสังฆราชทำและพูดอะไร เมือ่ ท่านประกอบพิธศี ลี กำลัง ท่านเจิม พร้อมกับกล่าวว่า “จงรับเครือ่ งหมายพระจิตเจ้า ซึง่ พระบิดาประทาน ให้” 31. พระเยซูเจ้าตรัสอะไรเมือ่ เลีย้ งอาหารค่ำมือ้ สุดท้ายกับบรรดาอัครสาวก “จงรับไปกินให้ทว่ั กันเถิด นีเ่ ป็นกายของเราทีจ่ ะมอบเพือ่ ท่าน จงรับไปดืม่ ให้ทว่ั กันเถิด นีเ่ ป็นถ้วยโลหิตของเรา โลหิตแห่งพันธสัญญาใหม่ อันยืนยง...จงทำดังนี้เพื่อระลึกถึงเราเถิด” 32. ทำไมเรียกมิสซาว่าเป็น “งานเลีย้ งในครอบครัว” ของบุตรของพระเป็นเจ้า เพราะว่าในมิสซาพระเยซูเจ้าทรงถวายบูชาพระองค์เองแด่พระบิดาในสวรรค์ และเพือ่ ประชากรของพระองค์ในโลก เหมือนดังทีพ่ ระองค์ได้ทรงกระทำบนไม้กางเขน


228 33. ทำไมเรียกพิธมี สิ ซาว่าเป็นบูชาอันยิง่ ใหญ่ของพระเยซูเจ้า เพราะว่าในมิสซาพระเยซูเจ้าทรงถวายบูชาพระองค์เองแด่พระบิดาในสวรรค์ และเพือ่ ประชากรของพระองค์ในโลก เหมือนดังทีพ่ ระองค์ได้ทรงกระทำบนไม้กางเขน 34. เราสามารถร่วมพิธมี สิ ซาในชีวติ แต่ละวันของเราอย่างต่อเนือ่ งได้อย่างไร โดยการให้ความช่วยเหลือแก่ผอู้ น่ื คล้ายการ “บิปงั ” 35. เราสามารถขออภัยจากพระเป็นเจ้า ด้วยคำพูดแบบใดบ้าง พระบิดาเจ้าข้า โปรดอภัยความผิดของข้าพเจ้า เหมือนทีข ่ า้ พเจ้าให้อภัยแก่ผทู้ ำผิดต่อข้าพเจ้า ข้าแต่พระเจ้าทรงเมตตาเทอญ ข้าแต่พระคริสตเจ้าทรงเมตตาเทอญ ข้าแต่พระเจ้าทรงเมตตาเทอญ 36. พระเยซูเจ้าทรงมอบอำนาจให้บรรดาสาวกในการอภัยบาป ด้วยพระวาจา ตอนใด ตรัสดังนีแ้ ล้ว พระองค์ทรงเป่าลมเหนือเขาทัง้ หลาย ตรัสว่า “จงรับพระจิตเจ้าเถิด ท่านทัง้ หลายอภัยบาปของผูใ้ ด บาปของผูน้ น้ั ก็ได้รบั การอภัย ท่านทัง้ หลายไม่อภัยบาปของผูใ้ ด บาปของผูน้ น้ั ก็ไม่ได้รบั การอภัยด้วย” (ยอห์น 20: 22-23) 37. จงสวดบทสารภาพบาป ซึง่ เราสวดในมิสซา ข้าพเจ้าขอสารภาพต่อพระเจ้า ผู้ทรงสรรพานุภาพและต่อพี่น้องด้วย ว่าข้าพเจ้าได้กระทำบาปมากมาย ด้วยกาย วาจา ใจ และด้วยการละเลย ข้าพเจ้าเป็นคนบาป ข้าพเจ้ายอมรับว่าเป็นคนบาป ดังนัน้ ขอพระนางมารีย์ ผูท้ รงเป็นพรหมจารีเสมอ ขอทูตสวรรค์และนักบุญทัง้ หลาย และพีน่ อ้ งด้วย ช่วยวิงวอนพระเจ้า เพือ่ ข้าพเจ้าด้วยเทอญ 38. พระสงฆ์พดู อะไร ขณะเจิมผูป้ ว่ ย “ขอพระเป็นเจ้าผูป้ ลดปล่อยท่านจากบาป ปกป้องรักษาท่านด้วยเถิด อาแมน”


229 39. ทำไมเรียกพระเยซูเจ้าว่าเป็นนายแพทย์ผยู้ ง่ิ ใหญ่ เพราะว่าพระเยซูเท่านัน้ ทรงรักษาความป่วยไข้ทางร่างกาย และทำลายอำนาจแห่งจิตชัว่ พระองค์ทรงรักษาทัง้ ร่างกายและวิญญาณ 40. ศีลศักดิส์ ทิ ธิท์ ง้ั 7 ประการ มีอะไรบ้าง ศีลล้างบาป ศีลกำลัง ศีลมหาสนิท ศีลอภัยบาป ศีลเจิมผูป้ ว่ ย ศีลสมรส และศีลบวช 41. นักบุญเปาโลพูดถึงการนำทางของพระจิตเจ้าว่าอย่างไร “ข้าพเจ้าขอบอกท่านว่า จงดำเนินชีวติ ตามพระจิตเจ้า อย่าตอบสนองความปรารถนาตามธรรมชาติ (กาลาเทีย 5:16) 42. วันฉลองบังคับ 7 วัน มีวันอะไรบ้าง 1. วันสมโภชพระคริสตสมภพ (25 ธันวาคม) 2. วันสมโภชพระคริสตเจ้าแสดงองค์ (6 มกราคม) 3. วันสมโภชพระเยซูเจ้าเสด็จขึน้ สวรรค์ 4. วันสมโภชพระนางมารียร์ บั เกียรติยกขึน้ สวรรค์ (15 สิงหาคม) 5. วันสมโภชนักบุญทัง้ หลาย (1 พฤศจิกายน) 6. วันสมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้า 7. วันสมโภชนักบุญเปโตรและเปาโล (29 มิถนุ ายน)


230

ภาคผนวก 1 วิธีการเปิดพระคัมภีร์ ก. ให้ฝกึ เปิดภาคใหญ่ 2 ภาคในพระคัมภีร์  เปิดหนังสือปฐมกาลในพระคัมภีร์ ซึง ่ เป็นหนังสือเล่มแรกในภาคพันธสัญญาเดิม (OLD TESTAMENT) เปิดพระวรสารของนักบุญมัทธิว ซึง่ เป็น พระวรสารเล่มแรกในภาคพันธสัญญาใหม่ (NEW TESTAMENT)



ปิดพระคัมภีรแ์ ละพยายามเปิดให้พบพระวรสารของนักบุญมัทธิว ฝึกเปิดบ่อยๆ หมายเหตุ : คำว่า “พันธสัญญา” หมายถึง “เจตจำนงสุดท้าย” หรือ “ข้อตกลงสุดท้าย” พระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิมบอกเราเกี่ยวกับข้อตกลงสุดท้าย หรือ “พันธสัญญา” ระหว่างพระเป็นเจ้าและชาวอิสราเอล ในพระคัมภีรพ์ นั ธสัญญาเดิมประกอบด้วย พระคัมภีร์ 46 เล่ม พระคัมภีร์พันธสัญญาใหม่ บอกเราเกี่ยวกับพันธสัญญาระหว่างพระเป็นเจ้า กับนานาชาติบนโลก พระเยซูเจ้าบนไม้กางเขนทรงรวบรวมประชากรทัง้ หมดให้เข้าไปหาพระองค์ พันธสัญญาใหม่ประกอบด้วยพระคัมภีร์ 27 เล่ม ซึง่ บันทึกชีวติ และ ข่าวดีเรื่องพระเยซูเจ้า


231

กฎของโมเสส 5 เล่ม

หนังสือสดุดี

(ปัญจบรรพ)

(150 บท)

ดนล

อสค

ยรม

อสย

สดด

ฉธบ

กดว

ลนต

อพย

ปฐก

ข. ให้ฝกึ เปิดหนังสือสำคัญๆในภาคพันธสัญญาเดิม

ประกาศกองค์ใหญ่ 4 ท่าน

จงท่องจำรายชือ่ หนังสือของโมเสส 5 เล่ม (Torah) หนังสือปฐมกาล อพยพ เลวีนติ ิ กันดารวิถี เฉลยธรรมบัญญัติ  จงท่องจำรายชือ ่ ประกาศกองค์ใหญ่ 4 ท่าน ประกาศกอิสยาห์ เยเรมีย์ เอเสเคียล ดาเนียล  จงเรียนเกีย ่ วกับการใช้บทเพลงสดุดี (Psalm) บทเพลงสดุดอี ยูบ่ ริเวณกลางเล่ม ปิดพระคัมภีรแ์ ละเปิดอีกครัง้ ให้พบบทเพลงสดุดี  จงเรียนวิธก ี ารใช้หนังสือเกีย่ วกับ “กฎหมาย” ตัวอย่างเช่น หนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ  จงฝึกเปิดหนังสือประกาศกสำคัญๆ หนังสือประกาศกต่างๆ อยูห่ ลังจากบทเพลงสดุดี 

จงฝึกเปิดหนังสือพันธสัญญาใหม่  จงจำ “ส่วนสำคัญ” ต่างๆในหนังสือพันธสัญญาใหม่ 

พระวรสาร กิจการ 4 เล่ม อัครสาวก

จดหมายของนักบุญเปาโล

จดหมายถึงคริสตชน 7 ฉบับ

หนังสือ วิวรณ์


232 จงท่องจำหนังสือต่อไปนี้ มัทธิว มาระโก ลูกา ยอห์น (มธ มก ลก ยน) กิจการอัครสาวก (กจ) โรม 1 โครินธ์ 2 โครินธ์ (รม 1คร 2คร) กาลาเทีย เอเฟซัส ฟิลปิ ปี โคโลสี (กท อฟ ฟป คส) 1 เธสะโลนิกา 2 เธสะโลนิกา 1 ทิโมธี 2 ทิโมธี (1 ธส 2 ธส 1 ทธ 2 ทธ) ทิตสั ฟิเลโมน ฮีบรู (ทต ฟม ฮบ) ยากอบ (ยก) 1 และ 2 เปโตร (1-2 ปต) 1,2 และ 3 ยอห์น (1-2-3 ยน) ยูดา (ยด) วิวรณ์ (วว) จงฝึกเปิดหนังสือเหล่านีใ้ ห้คล่อง 


233

ภาคผนวก 2 วิธีการรวบรวมพระคัมภีร์พันธสัญญาเดิม พระคัมภีรพ์ นั ธสัญญาเดิมใช้เวลาในการรวบรวมหลายร้อยปี มีวธิ กี ารรวบรวม ดังนี้ 1. เริ่มด้วยชาวอิสราเอลพูดถึงการกระทำอันยิ่งใหญ่ของพระเป็นเจ้าที่ทรงกระทำ ท่ามกลางพวกเขา เช่นพระองค์ทรงเรียกอับราฮัมอย่างไร ทรงนำพวกเขาให้พน้ จาก การเป็นทาสในประเทศอียปิ ต์อย่างไร ทรงนำพวกเขาเข้าสูด่ นิ แดนแห่งพันธสัญญา แล้วพวกเขาสร้างพระวิหารในกรุงเยรูซาเล็มอย่างไร เป็นต้น ชาวอิสราเอลเล่าถึงเหตุการณ์เหล่านี้ให้ลูกหลานฟัง ขณะนั่งกันรอบกองไฟหรือเมื่อไปร่วมกันสักการบูชา พระเป็นเจ้าในเหตุการณ์เหล่านี้ ชาวอิสราเอลมองเห็น การประทับอยู่ของพระเป็นเจ้าท่ามกลางพวกเขา 2. ชาวอิสราเอลบางคนบันทึกเรือ่ งราวทีพ่ วกเขาได้ยนิ จากพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย ผู้บันทึกไม่ได้บันทึกว่า “เหตุการณ์เหล่านีพ้ ง่ึ เกิดขึน้ ” แต่บนั ทึกว่า“พระเป็นเจ้า ทรงกระทำกิจการอันยิ่งใหญ่เหล่านี้” 3. หลังจากผ่านไปหลายร้อยปี ชาวอิสราเอลบางคน นำงานเขียนต่างๆมารวบรวมไว้ ตัวอย่างเช่น ถ้ามี ผูบ้ นั ทึกเรือ่ งการสร้าง 2 คน ผูร้ วบรวมจะนำงานเขียน ของผูเ้ ขียนทัง้ สองมารวมไว้ดว้ ยกัน เช่น หนังสือปฐมกาลบทที่ 1 และ 2 4. พระศาสนจักรคาทอลิกยอมรับหนังสือเหล่านี้ว่าเป็น พระวาจาของพระเป็นเจ้า เพราะว่าหนังสือเหล่านี้ได้เพิ่มพูนความเชื่อให้ชนชาติที่พระองค์ทรงเลือกสรร พระศาสนจักรเชือ่ ว่าหนังสือเหล่านีไ้ ด้รบั การดลใจจากพระจิตเจ้า และได้รบั การ คัดลอกจากต้นฉบับมาโดยไม่ได้เพิ่มเติมหรือเสริมแต่ง


234

ภาคผนวก 3

ยอห์น

ลูกา

มาระโก

มัทธิว

วิธีการรวบรวมพระคัมภีร์พันธสัญญาใหม่ หลังจากการสิ้นพระชนม์และกลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจ้าแล้ว 20 ปี พระวาจาและภารกิจทีพ่ ระองค์ทรงกระทำถูกพูดกันไปปากต่อปาก ในระหว่างการ ประชุมกลุม่ คริสตชน แต่ยงั ไม่มกี ารบันทึกเป็นพระคัมภีรพ์ นั ธสัญญาใหม่ หนั ง สื อ เล่ ม แรกในพระคั ม ภี ร ์ พ ั น ธสั ญ ญาใหม่ คื อ จดหมายของนักบุญเปาโล ตัวอย่างกรณีของนักบุญ เปาโล เมือ่ ท่านถูกศัตรูขบั ไล่ให้ออกจากเมืองเธสะโลนิกา ในปี ค.ศ. 50 ท่านเดินทางต่อไปทีเ่ มืองโครินธ์ ทีน่ น่ั ท่าน เริม่ เขียนจดหมายตอบข้อสงสัยต่างๆของชาวเธสะโลนิกา ในเวลาเดียวกัน ท่านติดต่อกับคริสตชนอืน่ ๆซึง่ ท่านตัง้ ขึน้ โดยให้คำแนะนำและตอบคำถามต่างๆ จดหมายของท่าน ถูกลอกและถูกส่งไปยังกลุ่มคริสตชนต่างๆเพื่อใช้อ่านในที่ประชุม พระวรสารในพระคัมภีรใ์ นพันธสัญญาใหม่ คือ บทเทศน์และบทสอนคำสอนให้กลุ่มคริสตชน ต่างๆและถูกบันทึกไว้ในเวลาต่อมา พระวรสารของ นักบุญมาระโก คือ บทเทศน์ของ นักบุญเปโตร ซึง่ เป็นพระวรสารทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ดุ ต่อมาจดหมายและพระวรสารเหล่านีถ้ กู รวบรวมขึน้ เป็นพระคัมภีรพ์ นั ธสัญญาใหม่ พระคัมภีรเ์ หล่านีส้ ว่ นหนึง่ เป็นประเพณีของพระศาสนจักรทีถ่ กู รวบรวมขึน้ โดยมี บรรดาพระสังฆราชเป็นผู้ดูแลพระศาสนจักร ถือว่าหนังสือเหล่านี้เป็นพระวาจาของ พระเป็นเจ้าเพราะว่าได้เพิ่มพูนความเชื่อของคริสตชน อาศัยการนำของพระจิตเจ้า และบรรดาอัครสาวก


235

ภาคผนวก 4 วิธีที่จะเข้าใจถึงประวัติศาสตร์การสร้างในหนังสือปฐมกาล คำแรกในหนังสือเล่มแรกในพระคัมภีร์ บันทึกว่า “ในปฐมกาลพระเป็นเจ้าทรง สร้างสวรรค์และโลก” แล้วพระเป็นเจ้าทรง สร้างสรรพสิง่ ใน 6 วัน ในวันทีเ่ จ็ด พระองค์ทรงพักผ่อน ในบทแรกของหนังสือพระคัมภีร์นี้เอง ได้สร้างข้อข้องใจให้กับ หลายๆ คน ตัวอย่างเช่น บางคนพูดว่า “ปัจจุบันวิทยาศาสตร์ได้ก้าวหน้าไปมาก ทำให้รวู้ า่ โลกไม่ได้ถกู สร้างขึน้ ภายใน 6 วัน ทัง้ พืช สัตว์ และมนุษย์มวี วิ ฒ ั นาการขึน้ มาช้าๆ นับเป็นล้านๆ ปี บางคนแย้งว่า “ไม่จริง ทุกสิง่ ทีม่ บี นั ทึกไว้ในพระคัมภีรเ์ ป็นเรือ่ งจริง มนุษย์ ไม่ได้วิวัฒนาการขึ้นมาจากสัตว์ แต่เป็นพระเป็นเจ้าต่างหากทรงสร้างมนุษย์ขึ้นมา และยังคงเป็นอยู่แม้แต่ในปัจจุบัน คำถาม : เราสามารถเข้าใจบททีห่ นึง่ ในหนังสือปฐมกาลเรือ่ งการสร้างได้อย่างไร ก. พระคัมภีร์ไม่ใช่หนังสือภูมิศาสตร์

ร์

ชีววิทยา

พระคัมภีร์

สต า ศ ิ ภูม


236 ตอนที่เราเรียนหนังสือ แต่ละวิชาต่างมีตำราเรียนเฉพาะของวิชานั้นๆ ถ้าอยากศึกษาเรือ่ งโลก (GEO ภาษากรีก) ก็ตอ้ งอ่านหนังสือภูมศิ าสตร์ แต่ถา้ อยากรูเ้ รือ่ งพืชและร่างกายของมนุษย์กต็ อ้ งอ่านหนังสือชีววิทยา (BIO แปลว่า ชีวติ ) เมือ่ อ่านพระคัมภีร์ เราอยากรูเ้ รือ่ งอะไร เราไม่อยากรูว้ า่ คนในสมัยนัน้ สร้างบ้าน กันอย่างไร หรือชาวอิสราเอลมีวธิ กี ารปรุงอาหารอย่างไร และไม่อยากรูเ้ รือ่ งภูมศิ าสตร์ และชีววิทยา แต่เมือ่ อ่านพระคัมภีร์ เราอยากรู้เรือ่ งพระเป็นเจ้าว่าพระองค์เป็นใคร พระองค์ทรงกระทำอะไรเพือ่ เรามนุษย์และทรงรักมนุษย์อย่างไร ด้วยเหตุน้ี จึงเป็นการไม่ถกู ต้องหากจะพิสจู น์เรือ่ งพืชหรือสัตว์ หรือการวิวฒ ั นาการของมนุษย์จากการอ่านหนังสือพระคัมภีร์ ข. อะไรเป็นเนื้อหาของบทที่หนึ่งในหนังสือปฐมกาล เรือ่ งการสร้างในบททีห่ นึง่ ของหนังสือปฐมกาล เป็นบทเพลงสรรเสริญ พระฤทธานุภาพของพระเป็นเจ้า เหมือนกับการร้องเพลงสรรเสริญให้เกียรติผู้นำ ตามวัฒนธรรมของชาวอาฟริกา ผู้ขับเพลงสรรเสริญต้องการสื่อเนื้อหาบางอย่างลง ในบทเพลงทีต่ นร้อง ในบทเพลงอาจเขียนว่า “ผูน้ ำของเราเป็นเหมือนซึง่ สิงโตคำราม” ผูฟ้ งั ย่อมรูว้ า่ ผูน้ ำของเขาไม่ใช่สงิ โตจริงๆ แต่เป็นการสือ่ ว่า “ผูน้ ำของเขาทรงอานุภาพ เพียงใด เช่นเดียวกัน ผู้ศึกษาบทแรกในหนังสือปฐมกาลต้องมีความเข้าใจว่า ผู้เขียนในสมัยนั้นไม่มีความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มากเหมือนในปัจจุบัน และสิ่งที่ ต้องการสื่อก็ไม่ใช่เรื่องเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ แต่ผู้ขับบทเพลงสรรเสริญในบทที่หนึ่งของหนังสือปฐมกาล ต้องการบอกถึง พระฤทธานุภาพของพระเป็นเจ้า ซึ่งพระฤทธานุภาพของพระเป็นเจ้ายังดำรงอยู่ใน ปัจจุบนั ด้วย เนือ้ หาในบททีห่ นึง่ คือ


237 ก่อนทุกสิง่ เป็นอยู่ พระเป็นเจ้าดำรงอยูก่ อ่ นแล้ว  ไม่มี “เทพเจ้า” หรือ “ผูส ้ ร้าง” อืน่ ใดอีก มีพระเป็นเจ้าแต่พระองค์เดียวผูท้ รงสร้าง สวรรค์และโลก  พระเป็นเจ้าของชาวอิสราเอลไม่ใช่ “พระเป็นเจ้าประจำเผ่า” ของชาวยิว แต่พระองค์ ทรงเป็นพระเป็นเจ้าของมนุษย์และชนชาติทง้ั มวล เพราะพระองค์ทรงสร้างมนุษย์ ทั้งหมดขึ้นมา 

ค. เรื่องการสร้างใน 7 วันเป็นอย่างไร ผูเ้ ขียนหนังสือปฐมกาลบททีห่ นึง่ คือ บรรดาพระสงฆ์ผปู้ ระกอบพิธกี รรมต่างๆ ในพระวิหาร พวกท่านเขียนหนังสือปฐมกาลขึน้ จากสิง่ ทีบ่ รรพบุรษุ เล่าต่อๆ กันมา รุน่ แล้วรุน่ เล่า อันทีจ่ ริง ชาวอิสราเอลใช้วธิ กี ารนับ 7 วันเป็น 1 สัปดาห์และทำงาน 6 วัน หยุดพัก 1 วันมาเป็นเวลานานแล้ว ด้วยเหตุผลนีเ้ องผูเ้ ขียนเรือ่ งการสร้าง โดยใช้รปู แบบของ 7 วันกับการสร้าง


238

ภาคผนวก 5 นิกายต่างๆ แยกตัวออกจากคาทอลิกเมื่อไร พระเยซูเจ้าปรารถนาให้บรรดาศิษย์ของพระองค์เป็นน้ำหนึง่ ใจเดียวกัน เหมือน ดังทีพ่ ระองค์ทรงเป็นหนึง่ เดียวกับพระบิดาในสวรรค์ (ยอห์น 17:21 ) จึงเป็นเรื่องที่น่าเสียใจที่พระศาสนจักรเกิดความแตกแยกเป็นนิกายต่างๆ มากมาย นิกายต่างๆ เหล่านัน้ เกิดขึน้ เมือ่ ไร สมัยพระเยซูเจ้า 1000 1500 2000 พระศาสนจักรโรมันคาทอลิก คริสตจักรลูเธอรัน ปี 1530 คริสตจักรแองกลีกนั ปี 1550 คริสตจักรโปรเตสแตนท์ ปี 1550 คริสตจักรเมโธดิสต์ ปี 1750 คริสตจักรลูเธอรัน (Lutheran Church) โดยการนำของมาร์ตนิ ลูเธอร์

มาร์ตนิ ลูเธอร์ (ค.ศ. 1483-1546)

แยกตัวออกไปเป็นคริสตจักรลูเธอรัน ค.ศ. 1521 เพราะต้องการให้พระศาสนจักรเป็น พระศาสนจักรศักดิส์ ทิ ธิ์ ด้วยเหตุทเ่ี ขารูส้ กึ ไม่ พ อใจกั บ ตั ว อย่ า งไม่ ด ี ข องพระสงฆ์ แ ละ พระสังฆราชหลายองค์ จึงแยกตัวออกไปจาก พระศาสนจักรคาทอลิก และสอนว่า คริสตชน เอาชีวิตรอดอาศัยความเชื่อของตนอย่างเดียว ไม่ เ กี ่ ย วกั บ อำนาจของพระศาสนจั ก รและ ระบบศีลศักดิ์สิทธิ์


239 คริสตจักรแองกลีกัน (Anglican Church or Church of England) แยก ตัวออกไปเมือ่ กษัตริยเ์ ฮนรี่ ที่ 8 ประเทศอังกฤษ ประกาศแยกตัวออกจากการปกครอง ของสมเด็จพระสันตะปาปา และตั้งพระองค์เองขึ้นเป็นผู้นำของคริสตจักรแองกลีกัน เมื่อ ค.ศ. 1534 เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปฏิเสธที่จะให้กษัตริย์แต่งงาน อีกครั้ง คริสตจักรโปรเตสแตนท์ (The Reformed Church) ยึดในคำสอนของ ยอห์น คาลวิน นักกฎหมายชาวฝรัง่ เศส (ค.ศ. 1509-1564) ผูอ้ าศัยอยูใ่ นประเทศ สวิสเซอร์แลนด์ แยกออกจากพระศาสนจักรคาทอลิก ใน ค.ศ. 1533 เขาเชือ่ ว่าตนได้ รับกระแสเรียกภารกิจทีจ่ ะต้องฟืน้ ฟูศาสนจักรให้เกิดความบริสทุ ธิเ์ หมือนตอนแรกเริม่ กลุม่ ทีร่ บั แนวคิดการปฏิรปู ของคัลวิน ได้แก่ คริสตจักรเพรสบิเตเรียน Dutch Reformed คริสตจักรเมโธดิสต์ (Methodist Church) ตัง้ โดย ยอห์นและชาร์ล เวสลีย์ นักบวชแองกลีกนั เมือ่ ค.ศ. 1738 โดยต้องการปฏิรปู คริสตจักรแองกลีกนั เกิดปัญหา ขัดแย้งเมื่อเขาอภิเษกพระสังฆราชในสหรัฐอเมริกาองค์หนึ่ง โดยมิได้รับอนุญาตเป็น ทางการ กลุม่ คริสตชนทีเ่ ชือ่ ตามเวสลีย์ เรียกว่า เมโธดิสต์ อันเป็นสมญานามทีเ่ รียก ชือ่ ผูต้ ดิ ตาม ขณะทีเ่ ขาอยูท่ อ่ี อกซ์ฟอร์ด สมเด็จพระสันตะปาปา ปอล ที่ 6 ขออภัยบรรดาคริสตชนในนิกายต่างๆ สำหรับ ตัวอย่างอันไม่เหมาะสม ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการแตกแยกออกจาก “พระศาสนจักร แม่”


240

ภาคผนวก 6 วิธีการแบ่งปันพระวาจา

วิธกี ารแบ่งปันพระวาจา 7 ขัน้ ตอน

1. เชิญพระมาประทับกับเรา เราภาวนาเชิญพระเป็นเจ้า ขอเชิญสักคนหนึ่งหรือสองคนเชิญพระเยซูเจ้ามาประทับกับเรา 2. อ่านข้อความจากพระคัมภีร์ เราอ่านข้อความ ให้เราเปิด...............บทที.่ ...................(รอจนทุกคนเปิดพร้อมแล้ว) เชิญคนหนึง่ อ่านข้อ............(เชิญอีกคนหนึง่ อ่านข้อความนัน้ อีกครัง้ ถ้าเป็นไปได้ จากหนังสือที่มีสำนวนต่างกัน) 3. เลือกคำจากพระวาจา เราเลือกคำจากพระวาจาและรำพึงถึงคำๆนั้น เราเลือกคำหรือวลีสั้นๆจากพระวาจา อ่านคำนั้นดังๆซ้ำ 3 ครั้ง ด้วยจิตตารมณ์ แห่งการภาวนา (ให้เราอ่านข้อความนัน้ อีกครัง้ หนึง่ ) 4. ฟัง ปล่อยให้พระเจ้าตรัสกับเราในความเงียบ ให้เราเงียบสัก......นาที และปล่อยให้พระองค์ตรัสกับเรา 5. เราแบ่งปันสิง่ ทีพ ่ ระเจ้าตรัสกับเรา คำไหนทีส่ มั ผัสใจเรา ให้เราแบ่งปันพระวาจาทีส่ ะกิดใจเรา (ไม่มีการแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งที่ตนเองหรือผู้อื่นแบ่งปัน) เราอาจแบ่งปันประสบการณ์ในชีวติ จิตก็ได้ เช่น บางคนดำรงชีวติ อยูใ่ นพระวาจา ทรงชีวิตได้อย่างไร


241 (เรามิได้ “อภิปราย” ถึงความช่วยเหลือต่างๆ ถ้าไม่มีใครแบ่งปันก็ให้ “วิจารณ์” ข้อความนั้น) 6. ปฏิบตั ิ เราอภิปรายกันถึงงานซึ่งกลุ่มของเราได้รับการเรียกร้องให้ทำ ก) รายงานถึงสิง่ ทีไ่ ด้ทำไปแล้ว ข) วางแผนงานทีเ่ ราจะทำต่อไป ใคร ทำอะไร และเมือ่ ไร 7. ภาวนา เราภาวนาร่วมกัน เชิญทุกคนภาวนา ขอบคุณและขอพรจากพระด้วยคำพูดของตนเองซึง่ มาจากใจ เราจบด้วยการภาวนา หรือสวดบทเพลงสดุดที ท่ี กุ คนสวดได้


242

การตอบสนองของกลุม่ ต่อไปนี้ เป็นวิธกี ารหนึง่ ในพระคัมภีรท์ เ่ี รียกว่า “งานกลุม่ ” วิธกี ารนีจ้ ะไม่ใช้ การแบ่งปันถึงพระวาจาของพระเป็นเจ้าซึง่ ประทับใจเราเป็นพิเศษ แต่เป็นการคิดถึง กลุม่ และปัญหาทีเ่ รามีรว่ มกันในเขตวัด หมูบ่ า้ นหรือประเทศของเรา โดยมีวธิ กี ารดังนี้ 1. อ่านข้อความจากพระคัมภีร์  อ่านข้อความนัน ้ 2 ครัง้  เลือกคำหรือข้อความทีป ่ ระทับใจ อ่านทีละคน และเว้นช่วงเงียบระหว่างทีแ่ ต่ละคน อ่าน 2. ปัญหาของกลุม่ เรือ่ งใดซึง่ ตรงกับข้อความในพระคัมภีร์  เชิญพูดคุยกันในกลุม ่ เล็กๆ โดยแต่ละคนพูดกับเพือ่ นข้างๆ อภิปรายคำถามต่อไปนี้ : ปัญหาข้อใดในเขตวัด หมูบ่ า้ น หรือประเทศซึง่ คล้ายกับปัญหาทีม่ ใี นพระคัมภีร์ หรือข้อความในพระคัมภีรเ์ ตือนให้เราติดถึงปัญหาใดในกลุม่  อภิปรายปัญหานี้ 5 นาที  หลังจากนั้นกลับมารายงานให้กลุ่มใหญ่  ให้เลือกปัญหาข้อใดข้อหนึ่งขึ้นมาและปรึกษากันถึงปัญหานั้น 3. พระเป็นเจ้าทรงตรัสอะไรกับเราในปัญหานัน้ ๆ  เงียบสัก 3 นาที พร้อมกับถามตัวเองว่า : “พระเป็นเจ้าตรัสอะไรกับเราผ่านทางพระคัมภีร์ และตรัสอะไรกับเราเกี่ยวกับปัญหานี”้ -  หลังจาก 3 นาที แบ่งปันกับเพือ ่ นๆถึงสิง่ ทีท่ า่ นคิดว่า พระเป็นเจ้าทรงแนะนำให้จัดการกับปัญหานี้อย่างไร 4. พระเป็นเจ้าทรงปรารถนาให้เราทำอะไร ใครจะทำอะไรและเมื่อไร


243

รู้ - รับ - รัก (Look - Listen - Love) คำนำ

รู้ชีวิต

วิธกี ารนี้ ไม่ได้เริม่ การประชุมด้วยการอ่านพระวาจาของพระเป็นเจ้า เริม่ ด้วยการพิจารณาชีวติ ของเราเอง แล้วจึงดำเนินตามขัน้ ตอนของ การ “รู้ รับ รัก” “ให้เชิญคริสตชนหลายๆ คน มาแบ่งปันเกีย่ วกับประสบการณ์ ในชีวิตของเขา” “กรุณาแบ่งปันประสบการณ์จริง ที่ท่านคิดว่า สำคัญและเป็นประโยชน์อย่างย่อๆ อาจเป็นประสบการณ์ในทีท่ ำงาน หรือประสบการณ์ทว่ั ๆ ไปกับเพือ่ นบ้านหรือในครอบครัว” “ให้เลือกเอาประสบการณ์ที่ได้ฟังเรื่องใดเรื่องหนึ่งออกมา แบ่งปันกัน” เมื่อเลือกเรื่องใดเรื่องหนึ่งแล้ว ให้ผู้นำนำการสนทนาด้วยการถาม คำถามต่อไปนี้ “จริงๆ แล้ว เกิดอะไรขึ้น” เราทราบข้อเท็จจริงทั้งหมดแล้วหรือ ยัง เราสามารถได้ขอ้ มูลเพิม่ เติมได้อกี หรือไม่ “ทำไมจึงเกิดเรือ่ งเช่นนีข้ น้ึ ” ให้หาเหตุผลของการเกิดเรือ่ งนี้ “ท่านรู้สึกอย่างไรเกี่ยวกับเรื่องนี้”

รับฟังพระวาจา “พระเป็นเจ้าดำริและรู้สึกอย่างไรกับเหตุการณ์นี้” ให้เราเงียบสัก 3-5 นาที เพือ่ ฟังเสียงของพระเป็นเจ้า ในช่วงที่ เงียบนี้ ให้เราใส่ความรู้สึกของเราลงไปในเหตุการณ์ที่ได้ฟัง ให้เรา ฟังอย่างตัง้ ใจถึงสิง่ ทีพ่ ระเป็นเจ้าทรงรูส้ กึ และดำริเกีย่ วกับเหตุการณ์น้ี จงระลึกถึงพระวาจาซึง่ ท่านจำได้ในพระคัมภีร์ โดยไม่ตอ้ งเปิด พระคัมภีร์


244 ให้จนิ ตนาการว่า : ถ้าพระเป็นเจ้าตรัสถึงเหตุการณ์น้ี พระองค์จะตรัส อะไร “เชิญแต่ละคนแบ่งปันถึงสิ่งที่คิดว่าพระเป็นเจ้าทรงรู้สึกกับ เหตุการณ์นี้” อาจดึงเอาข้อความจากพระคัมภีรอ์ อกมาก็ได้ หากไม่มอี ะไรจะ แบ่งปันให้ดำเนินในขั้นต่อไป รักด้วยกิจการ พระเป็นเจ้าอยากให้เราทำอะไร ใครจะทำอะไร และเมือ่ ไร


245

บันทึกชีวติ อาศัยพระวาจา

1. สภาพชีวติ ปัญหา................................................................................................................ คำถาม :  มีใครทราบถึงรายละเอียดและข้อเท็จจริงของปัญหามากกว่านี้ไหม  คนทั่วไปมีความรู้สึกอย่างไรเกี่ยวกับปัญหานี้  ทำไมถึงเกิดปัญหานี้ขึ้น  ใครต้องทนทุกข์ และใครได้รบ ั ผลประโยชน์จากเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้  คำถามอืน ่ ๆ ซึง่ ช่วยให้เรามองเห็นปัญหาเดียวกันจากแง่มมุ อืน่ ๆ ทีต่ า่ งกัน .......................................................................................................................... 2. พระวาจาของพระเป็นเจ้า ข้อความจากพระคัมภีร์ซึ่งสะท้อนให้เห็นปัญหาของเราคือ................................... คำถาม :  ข้อความหรือประโยคใดซึง ่ ท่านคิดว่า “ถูกต้อง และเมือ่ ได้ยนิ ข้อความนัน้ ทำให้ทา่ น มีความสุข”  ข้อความใดซึง ่ ท่านคิดว่า “ไม่หวังเช่นนัน้ จงบอกด้วยว่า ทำไมท่านจึงมีความเห็นที่แตกต่างไป”  คนอื่นคิดอย่างไรกับปัญหาของเรา  ท่านฟังวิทยุและดูโทรทัศน์เกี่ยวข้องกับปัญหาของเราอย่างไรบ้าง  ท่านคิดว่าพระเป็นเจ้าทรงมีพระดำริอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาของเรานี้  คำถามอืน ่ ๆ ซึง่ ช่วยให้เราสามารถจัดการกับปัญหา อาศัยข้อความจากพระคัมภีร์ .......................................................................................................................... 3. การตอบสนองของเรา พระเป็นเจ้าต้องการให้เราทำอะไร ใครจะทำอะไร และเมือ่ ไร .......................................................................................................................... วัน..................เดือน........................ปี..............วัด..............................................


246

หน้าทีข่ องคริสตชนในโลก (เอกสารของพระศาสนจักร) 1. ทำไมคริสตชนควรเข้าไปมีบทบาทในสังคม การเมืองและเศรษฐกิจ สมเด็จพระสันตะปาปาและบรรดาพระสังฆราชทัว่ โลกให้คำแนะนำเราว่า : “ความชื่นชมและความหวัง ความโศกเศร้าและความกังวลของมนุษย์ในสมัยนี้ เป็นพิเศษของคนยากจนและผู้มีความทุกข์เข็ญทั่วไป ย่อมถือว่าเป็นความชื่นชม และความหวัง เป็นความโศกเศร้าและความกังวลของผูเ้ ป็นศิษย์ของพระคริสตเจ้า ด้วย” (พระศาสนจักรในโลกสมัยนี้ ข้อ 1) “ทุกๆ ขณะ พระศาสนจักรมีหน้าทีต่ อ้ งสอดส่องเฝ้าสังเกตดู และตีความสัญญาณ แห่งกาลเวลา อาศัยแสงสว่างของพระวาจา จึงจะสามารถตอบได้อย่างเหมาะสมแก่ คนแต่ละสมัย ต้องตระหนักและเข้าใจถึงการดลใจ ความปรารถนาอันแรงกล้าและ ลักษณะเด่นต่างๆ ของโลกซึง่ เราอาศัยอยู”่ (พระศาสนจักรในโลกสมัยนี้ ข้อ 4) “ในเรื่องการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเกิดขึ้นในโลกทางด้านเศรษฐกิจและด้านการทำงาน ซึง่ ก่อให้เกิดความห่วงใย คริสตชนฆราวาสมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในแนวหน้า เพือ่ แก้ไข ปัญหาต่างๆ ... เพือ่ ให้บรรลุถงึ จุดหมายปลายทางดังกล่าว คริสตชนฆราวาสต้อง ปฏิบัติหน้าที่ของตนให้สำเร็จด้วยความสามารถในงานอาชีพ ด้วยความซื่อสัตย์ และด้วยจิตใจของคริสตชน” (พระกระแสเรียกและภารกิจของคริสตชนฆราวาส ข้อ 43) 2. เราควรปฏิบตั กิ บั ประชาชนทีแ่ ตกต่างกับเราอย่างไร “แน่นอน มนุษย์ทกุ คนไม่เท่าเสมอกันในข้อทีม่ คี วามสามารถทางร่างกายต่างกัน มี กำลังทางสติปญ ั ญาและศีลธรรมต่างกัน แต่การแบ่งแยกทุกแบบในเรือ่ งสิทธิ


247 ขั้นมูลฐานของบุคคล ไม่ว่าทางสังคมหรือทางวัฒนธรรม เพราะเกี่ยวกับเพศ เชือ้ ชาติ สีของผิว ฐานะทางสังคม ภาษาหรือศาสนา ต้องละเว้นและทำไม่ได้ เพราะ ขัดต่อเจตจำนงของพระเป็นเจ้า” (พระศาสนจักรในโลกสมัยนี้ 29) 3. เราควรปฏิบตั อิ ย่างไรกับศัตรูทางการเมือง บรรดาพระสังฆราช ตอบว่า “เราต้องเคารพและรักแม้กระทั่งคนที่คิดหรือทำไม่ เหมือนกับเราในเรือ่ งสังคม การเมือง และศาสนา ความจริง ยิง่ เราพยายามเข้า ใจความคิดเห็นของเขาด้วยความรัก และมนุษยธรรม เรายิง่ จะสามารถติดต่อเจรจา กับเขาได้งา่ ยขึน้ (พระศาสนจักรในโลกสมัยนี้ ข้อ 28) 4. ผูน้ ำของพระศาสนจักรควรพูดอะไรเกีย่ วกับสหภาพแรงงาน “ในบรรดาสิทธิขน้ั พืน้ ฐานของแต่ละบุคคล ต้องนับสิทธิเสรีภาพของคนงานทีจ่ ะตัง้ สมาคม ซึ่งสามารถเป็นตัวแทนเขาได้อย่างแท้จริง กับช่วยจัดการดำรงชีวิตทาง เศรษฐกิจให้เป็นระเบียบถูกต้อง สิทธิเสรีภาพอีกประการหนึง่ ก็คอื สิทธิเสรีภาพที่ จะมีสว่ นในการร่วมกิจการของสมาคมเหล่านี้ โดยไม่ตอ้ งกลัวการแก้เผ็ด” (พระศาสนจักรในโลกสมัยนี้ ข้อ 68) “สหภาพแรงงานและองค์กรอืน่ ๆ ของคนงาน ...ปกป้องสิทธิและปกปักษ์รกั ษา ผลประโยชน์ในฐานะบุคคล ในขณะเดียวกันก็ทำให้บทบาทอันมีชีวิตชีวาทาง วัฒนธรรมนัน้ เต็มเปีย่ มไปด้วย เพือ่ จะช่วยให้คนงานมีสว่ นอย่างเต็มทีแ่ ละมีเกียรติ ในชีวติ ของชาติของตน และช่วยพวกเขาในหนทางการพัฒนา” (การเฉลิมฉลองปีทห่ี นึง่ ร้อย ข้อ 35)


248 5. ลูกจ้างควรเสนอความเห็นในการบริหารโรงงานหรือบริษทั ไหม สมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์น ที่ 23 กล่าวว่า “บรรดาลูกจ้างสามารถมีสว่ นร่วม กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม ซึ่งพวกเขาทำงาน...สิ่งนี้เรียกร้อง ความ สัมพันธ์ระหว่างการจัดการและบรรดาลูกจ้างมีความเข้าใจ การใช้วจิ ารณญาณ และ ความปรารถนาดีจากทั้งสองฝ่าย ทุกฝ่ายร่วมมือกันอย่างแข็งขันและรักภักดี บรรดาลูกจ้างมีโอกาสแสดงความเห็นของพวกเขา ประสบการณ์ของบรรดาลูกจ้างสามารถได้รบ ั มาพิจารณางานทีร่ บั ผิดชอบ บรรดาลูกจ้างมีเสียงสำคัญกว่าในการดำเนินกิจการของห้างร้าน (แสงสว่างใหม่เกีย่ วกับปัญหาสังคม ข้อ 91-92) 6. สมเด็จพระสันตะปาปาตรัสอะไรเกีย่ วกับเรือ่ งการตกงาน สมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2 ทรงเรียกการตกงานว่าเป็นความชัว่ ร้าย พระองค์ตรัสว่าทุกคนมีสิทธิทำงานและพัฒนาตนเองอาศัยการทำงาน พระองค์ ทรงแนะนำบรรดานายจ้าง โดยเฉพาะบริษทั ระดับและนานาชาติใหญ่ๆ ทำให้เกิด การจ้างงานเป็นอันดับแรก “ผลกำไรไม่ใช่เป็นสิง่ ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ แต่คนงานเป็นสิง่ ที่ สำคัญกว่า” พระองค์ตรัสว่า “เป็นความเจ็บปวดอย่างยิ่งหากการตกงานส่งผลกระทบต่อคนหนุ่มสาว ที่ได้รับการฝึกอบรมและเตรียมตัวเพื่อออกมาทำงาน แต่ ไม่สามารถหางานได้ คนตกงานควรได้รบั เงินสงเคราะห์เพือ่ ให้ตนเองและครอบครัว สามารถมีชวี ติ อยูไ่ ด้ ทุกสิง่ ทีม่ ใี นโลกถูกสร้างขึน้ มาเพือ่ มนุษย์ทกุ คน” (คัดจาก เกีย่ วกับงานของมนุษย์ ข้อ 18)


249 7. สิทธิสตรี สมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์น ที่ 23 ตรัสว่า “ตัง้ แต่สตรีเริม่ ตืน่ ตัวมากขึน้ ในด้าน ศักดิศ์ รีของความเป็นมนุษย์ พวกเธอจะไม่อดทนต่อการถูกปฏิบตั เิ ยีย่ งเครือ่ งมือทาง วัตถุ แต่เรียกร้องเพือ่ สิทธิในฐานะทีเ่ ป็นมนุษย์คนหนึง่ ทัง้ ชีวติ ในบ้านและนอกบ้าน (สันติบนแผ่นดิน ข้อ 16) “ควรมีการประเมินบทบาทของมารดาอีกครัง้ มารดามีหน้าทีใ่ นการให้ความรักและ เอาใจใส่ดูแลเลี้ยงดูบุตรของตน เธอจึงควรมีเวลาในการเลี้ยงดูบุตร อย่างไรก็ตาม บ่อยครั้งบางคนมองผู้เป็นมารดาอย่างมีอคติ” สมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2 ตรัสว่า “การละทิง้ หน้าทีข่ องมารดาเพือ่ ใช้เวลาในการทำงานนอกบ้าน เป็นสิง่ ไม่ถกู ต้อง ในสังคมและในครอบครัว เพราะการใช้เวลาในการทำงานนอกบ้านมากเกินไปทำ ให้การเลี้ยงดูบุตรขาดตกบกพร่องไป” ด้วยเหตุน้ี งานของสตรีตอ้ งถูกจัดเป็นพิเศษ โดยทีม่ ารดาต้องไม่บกพร่องในหน้าที่ การเลี้ยงดูบุตรและครอบครัว ไม่ควรมองสตรีอย่างมีอคติ หรือให้ความสำคัญ กับบุตรมากกว่า เพราะว่าสตรีกค็ วรได้รบั โอกาสในการพัฒนาตัวเธอเองด้วยเช่นกัน (บทบาทและพันธกิจของครอบครัว 2) 8. พระศาสนจักรพูดเกีย่ วกับการแบ่งปันผลิตผลกันอย่างยุตธิ รรม สมเด็จพระสันตะปาปา ปีโอ ที่ 11 ตรัสอย่างชัดเจนว่า สิง่ ต่างๆ ในโลกนีถ้ กู จัดแบ่ง กันอย่างไม่ยตุ ธิ รรม พระองค์ตรัสว่า บางคนมีสมบัตมิ หาศาล ขณะทีบ่ างคนไม่มอี ะไร เลย พระองค์ทรงเรียกสิง่ นีว้ า่ “ความไม่ยตุ ธิ รรมในสังคม” พระองค์ตรัสว่า “ด้วยเหตุน้ี แต่ละคนต้องแบ่งสิ่งของของตนเองให้แก่กันและกัน นับเป็นความชั่วอย่างมหันต์ หากคนไม่ ก ี ่ ค นร่ ำ รวยมหาศาล ขณะที ่ ค นจำนวนนั บ ไม่ ถ ้ ว นไม่ ม ี อ ะไรเลย


250 สถานการณ์เช่นนีต้ อ้ งเปลีย่ นแปลงให้สอดคล้องกับกฎ เพือ่ “ความดีสว่ นรวม” ซึง่ เราเรียกว่า “กฎความยุตธิ รรมของสังคม” (การพัฒนาประชาชาติ ข้อ 21) 9. พระศาสนจักรมีสว่ นร่วมในการดำเนินงานเพือ่ การปลดปล่อย “พระศาสนจักรในเอเชีย... เข้าไปหาประชาชนผู้มีความเชื่ออื่น และเชื้อเชิญให้ เสวนาเกีย่ วกับชีวติ ทีม่ งุ่ สูก่ ารปลดปล่อย ซึง่ จำเป็นแก่การครบครันของทุกคน” (สหพันธ์สภาพระสังฆราชแห่งเอเชีย, FABC V) สมเด็จพระสันตะปาปา เปาโล ที่ 6 ตรัสว่า “พระศาสนจักรพยายามเป็นอย่างยิง่ เพือ่ ให้คริสตชนทัง้ หลายอุทศิ ตนเองเพือ่ การปลดปล่อยผูอ้ น่ื โดยเรียกบุคคล เหล่านีว้ า่ ผูป้ ลดปล่อย อาศัยการดลใจในความเชือ่ และแรงกระตุน้ ในความรักแบบ พีน่ อ้ ง พระศาสนจักรจัดเตรียมข้อแนะทีช่ ดั แจ้งผ่านการสอนทางสังคม การประกาศ พระวาจาเรื่องการปลดปล่อยเป็นส่วนหนึ่งซึ่งพระคริสเจ้าพระองค์เองทรงประกาศ และถวายตัวพระองค์เองเป็นบูชาแก่มนุษย์” (การประกาศพระวรสารในโลกปัจจุบนั ข้อ 38) 10. พระศาสนจักรยืนหยัดส่งเสริมชีวติ “พระศาสนจักรเชื่อมั่นว่าชีวิตมนุษย์... แม้อ่อนแอและทนทุกข์...เป็นพระพรยอดเยีย่ มของความดีของพระเจ้าเสมอ พระศาสนจักรได้รบั เรียกให้สง่ เสริมชีวติ มนุษย์... และปกป้องชีวิตจากการโจมตีทั้งหลาย... การทำหมันและการทำแท้งต้องได้รับ การประณามและปฏิเสธอย่างแข็งขัน” (บทบาทและพันธกิจของครอบครัว 65)


251

จารีตและพิธกี รรมต่างๆ (LITURGICAL RITES) เมื่อไรประกอบพิธี พิธีต้อนรับผู้เรียนคำสอน สามารถประกอบเวลาใดก็ได้

(บางวัดฉลองพิธนี ส้ี องครัง้ ต่อปี เช่น วันฉลอง-

พระตรีเอกภาพ และอาทิตย์แรกของการเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้า) “บทภาวนาละทิ้งความชั่ว” และ “การอวยพรผู้เรียนคำสอน” พิธีนี้สามารถกระทำซ้ำได้ช่วงเรียนคำสอน การประกอบพิธนี จ้ี ะประกอบช่วงการอ่านบทอ่าน หรือระหว่างการเรียนคำสอนก็ได้ ผูป้ ระกอบพิธคี อื พระสงฆ์หรือสังฆานุกร หรือสัตบุรษุ ผูไ้ ด้รบั การแต่งตัง้ จากพระสังฆราชแล้ว (RCIA 16) การเจิมน้ำมันผู้เรียนคำสอน พิธีนี้สามารถประกอบได้หลายครั้งช่วงเรียนคำสอน โดยปกติจะประกอบกันหลังจากจบบทเทศน์ในภาควจนพิธีกรรม พิธีมอบบทข้าพเจ้าเชื่อและบทข้าแต่พระบิดา พิธมี อบบทข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระเป็นเจ้า ควรประกอบในอาทิตย์ทส่ี ามเทศกาลมหาพรต และบทข้าแต่พระบิดา ควรประกอบในอาทิตย์ทห่ี า้ เทศกาลมหาพรต คำแนะนำสำหรับการประกอบพิธนี ้ี ควรทำช่วงเรียนคำสอน และเมือ่ สอนบทข้าแต่พระบิดาในการเรียนและอธิบายบทข้าพเจ้าเชื่อถึงพระเป็นเจ้าเสร็จเรียบร้อยแล้ว


252 พิธีสัมผัสหูและปาก (Rite of Ephphetha) จารีตเอฟฟาธาเป็นพิธเี ตียมในวันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ อย่างไรก็ตาม สามารถประกอบพิธนี ไ้ี ด้หลังจาก “บทภาวนาละทิง้ ความชัว่ ” และ “การอวยพรผูเ้ รียนคำสอน” พิธีสวดบทข้าพเจ้าเชื่อ พิธนี เ้ี ป็นพิธเี ตรียมในวันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ สามารถศึกษาความหมายของพิธสี วดบทข้าพเจ้าเชื่อได้ (ในหน้า 285) เช่น ผู้เรียนคำสอนหรือผู้รับศีลล้างบาปใหม่ ปฏิญาณต่อหน้ากลุม่ คริสตชนในวันอาทิตย์ แบ่งปันความเชือ่ ทีม่ กี บั กลุม่ คริสตชน และขอบคุณกลุ่มคริสตชนสำหรับความช่วยเหลือในการติดตามพระคริสตเจ้า พิธีเลือกสรรหรือการเลือกชื่อนักบุญ พิธีนี้สามารถทำได้ตั้งแต่วันอาทิตย์แรกของเทศกาลมหาพรตก่อนรับศีลล้างบาป การชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ (Purifications or Scrutinies) พิธีพิจารณาความตั้งใจครั้งแรกประกอบในวันอาทิตย์ที่สามเทศกาลมหาพรต พิธีพิจารณาความตั้งใจครั้งที่สองประกอบในวันอาทิตย์ที่สี่เทศกาลมหาพรต พิธีพิจารณาความตั้งใจครั้งที่สามประกอบในวันอาทิตย์ที่ห้าเทศกาลมหาพรต (บันทึก บทภาวนาสำหรับการประกอบพิธีใช้พระวรสารของอาทิตย์นั้นๆ ควรใช้ บทอ่านปี A ขณะทีผ่ เู้ รียนคำสอนกำลังเตรียมตัวสำหรับรับศีลล้างบาป) พิธีฉลองศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการเริ่มเป็นคริสตชน เวลาทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ในการฉลองศีลศักดิส์ ทิ ธิน์ ค้ี อื วันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ (Easter Vigil) ถ้าไม่สามารถทำได้ในวันนัน้ ควรประกอบพิธภี ายในเทศกาลปัสกา เพือ่ แสดงให้เห็นความเกี่ยวข้องกันระหว่างศีลศักดิ์สิทธิ์เหล่านี้กับพระธรรมล้ำลึกปัสกา


253

พิธตี อ้ นรับผูส้ มัครเรียนคำสอน (RITE OF ACCEPTANCE INTO THE ORDER OF CATECHUMENS)

เมื่อไรประกอบพิธีนี้ จารีตนี้ทำช่วง “การพบปะกันครั้งแรก” (หรือช่วงการประกาศพระวาจา) “หนังสือก้าวไปด้วยกัน” นี้มีบทเรียนคำสอนเกี่ยวกับการรับผู้เรียนคำสอน 7 บท “ผู้สนใจ” อาจตัดสินใจเข้าสู่ช่วงการเรียนคำสอนหลังจากเข้าฟังบทเรียนคำสอน 7 บทแรกนีแ้ ล้ว ผูส้ นใจคนอืน่ อาจต้องการเวลานานกว่านีใ้ นการ “กลับใจครัง้ แรก” และ การตัดสินใจเข้ารับพิธลี า้ งบาป ผูส้ นใจควรได้รบั การต้อนรับในการประชุมกลุม่ คริสตชนและควรมีโอกาสเข้าร่วมพิธีกรรมในวันอาทิตย์ด้วย มีวดั หลายวัดซึง่ ทำจารีต “ต้อนรับผูส้ มัคร” ปีละหนึง่ ครัง้ ขณะทีว่ ดั อืน่ ๆ ประกอบจารีตนี้ปีละหลายครั้ง เช่น วันฉลองพระตรีเอกภาพและวันอาทิตย์แรกใน เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้า


254

การรับผูส้ มัคร ผูส้ มัคร พ่อแม่อปุ ถัมภ์ และกลุ่มผู้มีความเชื่อ ยืนรวมกันนอกวัด หรือทางประตูวัด  พระสงฆ์ไปพบกลุ่ม ผูส้ มัคร และกล่าวทักทาย แสดงความชืน่ ชมยินดีและ ให้โอวาทสั้นๆ ผูส ้ มัครและพ่อแม่อปุ ถัมภ์ ออกมายืนต่อหน้าพระสงฆ์ 

พระสงฆ์ ผู้สมัคร พระสงฆ์ ผู้สมัคร

ท่านชื่ออะไร ชื่อ.....................................(ผู้สมัครตอบทีละคน) ท่านมาขออะไรจากพระศาสนจักร ชีวิตนิรันดร

ข้อเสนอแนะ ให้อภิปรายในกลุ่ม การทักทายผูส้ มัครด้วยการถามชือ่ และแนะนำตัวเอง (อาจไม่สภุ าพในบางวัฒนธรรม) สามารถประกอบพิธีต้อนรับผู้สมัครนี้ตามประเพณีท้องถิ่นได้อย่างไร ควรให้ผู้สมัคร มีโอกาสสนทนากับพระสงฆ์ แบ่งปันถึงเหตุผลว่าทำไมอยากเข้ามาเป็นสมาชิกของพระศาสนจักร


255

การรับพระวาจาครัง้ แรกของบรรดาผูส้ มัคร พระสงฆ์อ่านข้อความต่อไปนี้เป็นการทักทายผู้สมัคร พระเป็นเจ้าประทานแสงสว่างแก่ทกุ คนในโลก พระองค์ทรงเผยพระองค์เอง อันมิอาจเห็นได้ผ่านทางสิ่งสร้างจากฝีพระหัตถ์ของพระองค์ ด้วยเหตุนี้ มนุษย์โมทนาคุณพระองค์ผู้เป็นพระผู้สร้าง ท่านติดตามแสงสว่างของพระเป็นเจ้าและแนวทางแห่งพระวาจา จงมั่นคง ในหนทางของพระเป็นเจ้าผูด้ ำรงอยู่ จงเดินตามแสงสว่างของพระคริสตเจ้า และวางใจในพระปรีชาญาณของพระองค์ จงมอบชีวิตไว้ในความดูแลของ พระองค์ เพือ่ ท่านจะได้เป็นผูม้ คี วามเชือ่ ในพระองค์ดว้ ยสิน้ สุดจิตใจ นี่แหละความเชื่อซึ่งพระคริสตเจ้าทรงนำท่านเข้าสู่ชีวิตนิรันดร ท่านยอม ร่วมเดินทางภายใต้การนำของพระคริสตเจ้าหรือ ผู้สมัคร

ยินดีครับ/ค่ะ


256

การยืนยันของพ่อแม่อปุ ถัมภ์และกลุม่ คริสตชน พระสงฆ์หันมาถามพ่อแม่อุปถัมภ์และกลุ่มคริสตชนด้วยคำถามต่อไปนี้ พ่อแม่อุปถัมภ์ ท่านได้มอบผู้สมัครแก่พระศาสนจักร ท่านพร้อมจะช่วยเขา ให้พบและติดตามพระคริสตเจ้าหรือ พ่อแม่อุปถัมภ์ ข้าพเจ้าพร้อมครับ/ค่ะ ให้จับมือกัน พระสงฆ์ ข้าแต่พระบิดาผู้เมตตา ข้าพเจ้าขอบคุณพระองค์ที่ได้นำผู้สมัครนี้ด้วยวิธี ต่างๆ ให้แสวงหาพระองค์ ฟังพระวาจาของพระองค์ ด้วยความเชื่อและ เลื่อมใส บัดนี้ขอให้ความปรารถนาของเขาที่จะเป็นคริสตชน สมาชิกใน พระศาสนจักรได้เป็นผลสำเร็จ ทั้งนี้อาศัยพระบารมีพระคริสตเจ้าของ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ทุกคนตอบพร้อมกัน เราขอสรรเสริญและโมทนาคุณพระองค์

ทำเครือ่ งหมายกางเขนให้ผสู้ มัคร ถ้ามีผสู้ มัครสองสามคน พระสงฆ์เชิญ ผูส้ มัครและผูแ้ ม่อปุ ถัมภ์วา่ : จงก้าวมาข้างหน้าพร้อมกับพี่เลี้ยง เพื่อรับเครื่องหมายแห่งชีวิตใหม่ในฐานะผู้เรียนคำสอน


257 พระสงฆ์และพ่อแม่อุปถัมภ์ทำเครื่องหมายกางเขนที่หน้าผากของผู้สมัคร พระสงฆ์ ชื่อ........................จงรับเครื่องหมายกางเขนที่หน้าผาก พระคริสตเจ้าประทานพละกำลังให้แก่ท่านด้วยเครื่องหมายแห่งความรัก จงเรียนรู้เพื่อรู้จักและติดตามพระองค์ ทุกคนตอบพร้อมกัน ขอพระคริสตเจ้าทรงพระเจริญเทอญ ถ้าผูส้ มัครมาก พระสงฆ์กล่าวกับผูส้ มัครดังนี้ ผู้สมัครที่รักทุกคน การตอบของท่านหมายความว่า ท่านปรารถนาจะ แบ่งปันชีวิตและความหวังในพระคริสตเจ้า ข้าพเจ้าทำเครื่องหมายกางเขน ของพระคริสตเจ้า เพื่อเป็นการยอมรับท่านในฐานะเป็นผู้สมัครเรียนคำสอน และขอให้พเ่ี ลีย้ งของท่านทำเช่นเดียวกัน พระศาสนจักรยินดีตอ้ นรับท่านด้วย ความรักและพร้อมที่จะช่วยเหลือท่าน พระสงฆ์ทำเครือ่ งหมายกางเขนเหนือทุกคน ขณะทีพ่ เ่ี ลีย้ งทำเครือ่ งหมายกางเขน ที่หน้าผากผู้สมัคร พระสงฆ์ จงรับเครือ่ งหมายกางเขนทีห่ น้าผาก พระคริสตเจ้าประทานพละกำลังให้แก่ทา่ นด้วยเครือ่ งหมายแห่งความรัก จงเรียนรูเ้ พือ่ รูจ้ กั และติดตามพระองค์ ทุกคนตอบพร้อมกัน ขอพระคริสตเจ้าทรงพระเจริญเทอญ


258

การเจิมเครือ่ งหมายอืน่ ๆ การเจิมเครือ่ งหมายอืน่ ๆ โดยพ่อแม่อปุ ภัมภ์ พระสงฆ์ทำพิธเี จิม พร้อมกับภาวนาว่า ขณะทีท่ ำสัญลักษณ์ทห่ี ู พระสงฆ์กล่าวว่า จงรับเครื่องหมายกางเขนที่หู เพื่อท่านสามารถฟังเสียงของพระเป็นเจ้า ขณะทีท่ ำสัญลักษณ์ทร่ี มิ ผีปาก พระสงฆ์กล่าวว่า จงรับเครื่องหมายกางเขนบนริมผีปากของท่าน เพื่อท่านจะประกาศพระวาจาของพระเป็นเจ้า ขณะทีท่ ำสัญลักษณ์ทห่ี น้าอก พระสงฆ์กล่าวว่า จงรับเครื่องหมายกางเขนบนหัวใจของท่าน อาศัยความเชื่อ พระคริสตเจ้า ทรงประทับอยู่ในใจของท่าน ขณะทีท่ ำสัญลักษณ์บนบ่า พระสงฆ์กล่าวว่า จงรับเครื่องหมายกางขนบนบ่าของท่าน เพื่อท่านสามารถแบกภาระอันอ่อนนุ่มของพระคริสตเจ้า พระสงฆ์ทำเครือ่ งหมายกางเขนเหนือผูส้ มัครทุกคนอีกครัง้ กล่าวว่า ข้าพเจ้าทำเครื่องหมายแห่งชีวิตนิรันดร ในพระนามของพระบิดา และพระบุตร และพระจิต ผู้สมัครเรียนคำสอน อาแมน


259 บทภาวนาส่งท้าย พระสงฆ์ ข้าแต่พระเป็นเจ้า เราทำเครือ่ งหมายกางเขนเหนือผูเ้ รียนคำสอน เหล่านี้ โปรดคุม้ ครองพวกเขา ขอให้พวกเขากอปรไปด้วย พระหรรษทานเพื่อสามารถรักษาพระบัญญัติของพระองค์ และ ก้าวเข้าสู่พระสิริมงคลในการเกิดใหม่อีกครั้งหนึ่งในศีลล้างบาป ทุกคนตอบพร้อมกัน อาแมน

การตัง้ ชือ่ ใหม่ ไม่จำเป็นต้องตั้งชื่อใหม่ให้ผู้สมัคร ผู้สมัครอาจจะจำชื่อที่ได้รับในพิธีรับผู้สมัครนี้ไว้ หากผูส้ มัครอยากได้ชอ่ื ใหม่ พระสงฆ์กล่าวว่า “ท่านปรารถนาให้เรียกชือ่ ท่านว่าอะไร” ผู้สมัคร ชือ่ ............................... พระสงฆ์ ชื่อ..............แต่นี้ไปเราจะเรียกท่านว่า...............

ข้อเสนอแนะให้อภิปรายในกลุ่ม กลุ่มคริสตชนสามารถต้อนรับผู้สมัครเรียนคำสอนตามประเพณีท้องถิ่นได้อย่างไร การตั้งชื่อใหม่สามารถทำตามประเพณีท้องถิ่นได้อย่างไร


260

การเชิญเข้าร่วมฉลองพระวาจาของพระเป็นเจ้า พระสงฆ์เชิญผู้สมัครเรียนคำสอน และพ่อแม่อปุ ถัมภ์เข้ามาในวัดหรือที่ ที่จะอ่านพระวาจาของพระเป็นเจ้า

พระสงฆ์ ชือ่ ...และชือ่ ...เชิญเจ้ามาในวัดเพือ่ ร่วมในการแบ่งปันพระวาจาของพระเป็นเจ้า (ขณะทีผ่ สู้ มัครเรียนคำสอนและพีเ่ ลีย้ งเดินเข้ามาในวัด ให้ขบั บทเพลงหรืออ่านบทสดุดี ที่ 34 “ลูกเอ๋ย มาเถิด มาฟังเรา เราจะสอนเจ้าให้ยำเกรงพระเจ้า”

ภาควจนพิธกี รรม หลังจากผูส้ มัครเรียนคำสอนเข้ามาถึงสถานที่ ที่จัดเตรียมไว้ พระสงฆ์กล่าวกับผู้สมัครสั้นๆ เกีย่ วกับความสำคัญของพระวาจาของพระเป็นเจ้า  แห่พระคัมภีร์เข้ามา และวางไว้บนแท่น อ่านพระคัมภีร์ ซึง่ อาจมีการถวายกำยานด้วยก็ได้ อ่านพระวาจาของพระเป็นเจ้า บทอ่านทีเ่ หมาะสม ปฐมกาล 12:1-4ก ยอห์น 1:35-42 


261

มอบพระคัมภีร์ หลังจากบทเทศน์ มีพธิ มี อบพระคัมภีร์แก่ผู้เรียนคำสอน พระสงฆ์มอบพระคัมภีรแ ์ ก่ ผูเ้ รียนคำสอน กล่าวว่า “จงรับพระวาจา ข่าวดีของพระคริสตเจ้า พระบุตรของพระเป็นเจ้า” 

บทภาวนาเพือ่ ผูเ้ รียนคำสอน พ่อแม่อุปถัมภ์และทุกคนในวัดร่วมกันภาวนาวอนขอเพื่อผู้เรียนคำสอนดังต่อไปนี้ พระสงฆ์ พี่น้องชายหญิงผู้เรียนคำสอนเหล่านี้ได้เตรียมพร้อมเพื่อจะเรียนคำสอน ข้าพเจ้ามีความชื่นชมยินดีที่พระองค์ทรงนำพวกเขาเหล่านี้มาในวันนี้ ให้ เราภาวนาเพือ่ พวกเขาเหล่านีจ้ ะได้กา้ วหน้า จนกระทัง่ พบแนวทางแห่งชีวติ ที่สมบูรณ์ ผูอ้ า่ น เพื่อพระเป็นเจ้าพระบิดาจะทรงเผยแสดงพระคริสตเจ้าแก่ผู้เรียนคำสอนเหล่านีย้ ง่ิ วันยิง่ มากขึน้ ด้วยเถิด ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า


262 ผูอ้ า่ น เพื่อผู้เรียนคำสอนจะได้น้อมรับทุกสิ่งที่พระเป็นเจ้าร้องขอด้วยจิตใจ และวิญญาณทีส่ ภุ าพอ่อนโยน ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า ผูอ้ า่ น เพื่อผู้เรียนคำสอนจะกระตุ้นให้เกิดความเป็นหนึ่งเดียวกันและความรักในชุมชนของเรา ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า ผูอ้ า่ น เพื่อหัวใจของผู้เรียนคำสอนและของเราทุกคนจะมีความเมตตาต่อ ความเดือดร้อนของผู้อื่น ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า ผูอ้ า่ น เพื่อว่าวันหนึ่งผู้เรียนคำสอนเหล่านี้จะเกิดใหม่ด้วยศีลล้างบาป ด้วย สายสัมพันธ์ขององค์พระจิตเจ้า ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า


263

บทภาวนาอวยพร หลังจากภาวนาเพือ่ ผูเ้ รียนคำสอนแล้ว พระสงฆ์วางมือเหนือผูเ้ รียนคำสอน พระสงฆ์ ให้เราภาวนา ข้าแต่พระเป็นเจ้าแห่งบรรพบุรุษและสิ่งสร้างทั้งมวล ข้าพเจ้าทั้งหลายวอนขอพระองค์โปรดทอดพระเนตรมายังข้ารับใช้ของ พระองค์ชื่อ.....และชื่อ........ โปรดให้เขาทั้งหลายมีความร้อนรน ยินดีในความหวัง และพร้อมจะรับใช้ พระนามของพระองค์ทุกเมื่อ ข้าแต่พระเป็นเจ้า โปรดให้เขาทัง้ หลายได้เกิดใหม่ในศีลล้างบาป เพือ่ เข้ามา มีชีวิตท่ามกลางกลุ่มผู้มีความเชื่อ เพื่อว่าวันหนึ่งพวกเขาทั้งหลายจะได้รับ ชีวิตนิรันดรตามที่พระองค์ทรงสัญญา เราวอนขอทั้งนี้อาศัยพระบารมีของพระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้า ทั้งหลาย ทุกคน อาแมน

พิธเี ชิญผูเ้ รียนคำสอนออกไปนอกวัด ตามประเพณีอนั เก่าแก่ของพระศาสนจักร ผูเ้ รียนคำสอนไม่มสี ทิ ธิในการรับศีลมหาสนิท แต่สามารถร่วมในการฟังพระวาจาของ พระเป็นเจ้าเท่านัน้ หลังจากจบบทเทศน์ ผู้เรียนคำสอนต้องออกจากวัด 


264 ผูเ้ รียนคำสอนจะแยกออกไปพร้อมกับพีเ่ ลีย้ งเพือ่ เรียนคำสอนในห้องใดห้องหนึง่ พระสงฆ์ ผูเ้ รียนคำสอน จงไปเป็นสุขเถิด ขอพระเจ้าสถิตกับท่านเสมอ ผู้เรียนคำสอน ขอขอบคุณพระเป็นเจ้า หากมีเหตุผลทีจ่ ำเป็น ผูเ้ รียนคำสอนต้องอยูใ่ นวัดต่อไป พระสงฆ์ ถึงแม้ท่านทั้งหลายยังไม่สามารถมีส่วนร่วมในการรับศีลมหาสนิท ขอให้ ท่านทั้งหลายจงอยู่กับเราในฐานะสัญลักษณ์แห่งความหวัง ขณะที่บุตรชาย หญิงของพระเป็นเจ้าร่วมกินและดืม่ กับพระองค์ และร่วมงานของพระจิตเจ้า ในการสร้างโลกขึ้นอีกครั้ง 

จารีตช่วงเรียนคำสอน (Rites belonging to the Period of the Catechumenate) จารีตต่อไปนี้อยู่ในช่วงเรียนคำสอน 1. บทภาวนาละทิง้ ความชัว่ (Minor Exorcisms) 2. การอวยพรผูเ้ รียนคำสอน จารีตเสริมระหว่างช่วงเรียนคำสอน 3. การเจิมน้ำมันผูเ้ รียนคำสอน 4. การมอบบทข้าพเจ้าเชือ่ (The Creed) 5. การมอบบทข้าแต่พระบิดา (the Lord’s Prayer) 6. พิธสี มั ผัสหูและปาก (Rite of Ephphetha) 7. การสวดบทข้าพเจ้าเชือ่ จารีตเหล่านีป้ ระกอบระหว่างเรียนคำสอน หรือช่วงพิธกี รรมในวันอาทิตย์ หรือในมิสซา หรือช่วงอ่านพระวาจาของพระเป็นเจ้า พิธีกรรมประกอบด้วย บทเพลง บทอ่าน บทเทศน์ จารีตพิธี


265

1. บทภาวนาละทิง้ ความชัว่ (Minor Exorcisms) สวดบทภาวนาละทิ้งความชั่วในตอนเริ่มต้น หรื อ ตอนท้ า ยของการเรี ย นคำสอน หรื อ ใน ระหว่างมิสซาก็ได้ พิธีนี้ประกอบโดยสัตบุรุษที่ได้รับการแต่งตั้ง ชายหรือหญิงก็ได้ (RCIA 109) พิธีนี้สามารถ ประกอบอีกครั้งได้ในโอกาสที่เหมาะสม ขณะกำลังบทภาวนาละทิง้ ความชัว่ คริสตชนยืน่ มือออกไปเหนือผูเ้ รียนคำสอน การยื่นมือเหนือผู้เรียนคำสอนเป็นการแสดงให้เห็นว่าชุมชนคริสตชนทั้งมวลเป็น กำลังใจให้ผเู้ รียนคำสอนในการต่อสูก้ บั ความชัว่ ผูป้ ระกอบพิธสี ามารถเลือกบทภาวนา ต่อไปนี้บทใดบทหนึ่ง 1. บทภาวนาเพื่อการคุ้มครองให้พ้นจากจิตชั่ว ให้เราภาวนา ข้าแต่พระเป็นเจ้าผู้ทรงสรรพานุภาพ พระองค์สัญญาจะประทานพระจิตเจ้าผ่านทางพระเยซูคริสตเจ้า พระบุตรของพระองค์ ข้าพเจ้าทั้งหลายภาวนาวอนขอเพื่อผู้เรียนคำสอนที่มาอยู่เฉพาะ พระพักตร์พระองค์เหล่านี้ โปรดปกปักษ์บุคคลเหล่านี้ให้พ้นจากจิตชั่ว และปกป้องให้รอดจากความผิดและบาป เพื่อสมจะเป็นพระวิหารของพระจิตเจ้า โปรดให้ความเชื่อของข้าพเจ้าทั้งหลายแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น


266 เพื่อพระวาจาของพระองค์จะไม่สูญเปล่า แต่กลับเต็มไปด้วยพระหรรษทานและพลานุภาพ เราวอนขอทั้งนี้อาศัยพระบารมีของพระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทั้งหลาย ทุกคน อาแมน 2. บทภาวนาเพื่อปกป้องจาการทำผิดศีลธรรม ข้าแต่พระเป็นเจ้าของข้าพเจ้าทั้งหลาย พระองค์ทรงเกลียดชังการทุจริต จึงทรงเพิม่ พูนความเชือ่ ให้เข้มแข็ง ทรงสร้างความหวังและอุปถัมภ์ความรักให้เกิดขึ้น อาศัยพระนามของพระเยซูคริสตเจ้า พระบุตรสุดทีร่ กั ของพระองค์ และอาศัยอำนาจของพระจิตเจ้า ข้าพเจ้าทั้งหลายวอนขอพระองค์โปรดคุ้มครองข้ารับใช้ของพระองค์เหล่านี้ ให้พ้นจากความสงสัยและความลังเลในความเชื่อ ความลุ่มหลงในทรัพย์สินเงินทองและกิเลสตัณหาต่างๆ ให้พ้นจากความเกลียดชังและการทะเลาะเบาะแว้ง และความชั่วในทุกรูปแบบ ด้วยเหตุวา่ พระองค์ทรงเรียกพวกเขาทัง้ หลาย ให้มาเป็นผู้ศักดิ์สิทธิ์และปราศจากบาป ในสายพระเนตรของพระองค์ โปรดประทับจิตตารมณ์แห่งความเชื่อและความยำเกรง ความอดทนและความหวัง การบังคับตนเองและความบริสุทธิ์ ความเมตตาและสันติในจิตใจของบุคคลเหล่านี้


267 เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระบารมีของพระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทั้งหลาย ทุกคน อาแมน 3. บทภาวนาเพื่อละทิ้งความไม่ซื่อและความโลภ ข้าแต่พระเป็นเจ้าผู้ทรงสรรพานุภาพ พระองค์ทรงสร้างข้าพเจ้าทั้งหลายตามภาพลักษณ์ของพระองค์ ให้มีความละม้ายคล้ายคลึงกับพระองค์ และทำให้ข้าพเจ้าทั้งหลายศักดิ์สิทธิ์และยุติธรรม ถึงแม้ว่าข้าพเจ้าทั้งหลายได้ทำบาปผิดต่อพระองค์ พระองค์กม็ ไิ ด้ทรงทอดทิง้ แต่กลับช่วยให้รอดด้วยพระปรีชาญาณ โดยการส่งพระบุตรลงมารับเนื้อหนังสภาพมนุษย์ โปรดช่วยข้ารับใช้เหล่านี้ให้รอดพ้น จากความชั่วและการกดขี่ของศัตรู ให้พน้ จากจิตชัว่ ความคดโกงและความโลภ ขอพระองค์โปรดรับพวกเขาเข้าในพระอาณาจักรของพระองค์ และโปรดเปิดดวงใจของเขาให้เข้าใจพระวาจา เพือ่ พวกเขาจะเป็นสมาชิกของพระศาสนจักร บุตรแห่งความสว่าง เป็นพยานยืนยันในความจริง และนำบัญญัติแห่งความรักของพระองค์มาปฏิบัติ เราวอนขอทั้งนี้อาศัยพระบารมีของพระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทั้งหลาย ทุกคน

อาแมน


268 4. บทภาวนาเพื่อละทิ้งความเห็นแก่ตัวและความจองหอง ข้าแต่พระเยซูคริสตเจ้า เมื่อพระองค์ขึ้นไปเทศนาบนภูเขา พระองค์ทรงนำบรรดาอัครสาวกให้พ้นจากทางของบาป และทรงเผยแสดงความสุขแท้จริงแห่งพระอาณาจักรให้แก่พวกเขา โปรดช่วยเหลือข้ารับใช้ของพระองค์เหล่านี้ ผูก้ ำลังฟังพระวาจาของพระองค์ โปรดปกป้องให้พน้ จากความโลภ ตัณหาและความจองหอง ขอให้พวกเขาเหล่านี้พบพระพรแห่งพระอาณาจักรของพระองค์ ในความยากจนและความหิวโหย ในความเมตตาและจิตใจที่บริสุทธิ์ ขอให้พวกเขาเหล่านีส้ ร้างสันติ และอดทนต่อการเบียดเบียนด้วยใจยินดี เพื่อมีส่วนในพระอาณาจักรของพระองค์ และพบกับพระเมตตาตามที่พระองค์ทรงสัญญา ที่สุดขอให้พวกเขาได้มีบุญชมพระพักตร์พระองค์ในสวรรค์ เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระองค์ผทู้ รงดำรงชีพ และเสวยราชย์ตลอดนิรนั ดร ทุกคน อาแมน 5.บทภาวนาเพื่อการปกปักรักษา ข้าแต่พระเป็นเจ้า ผูท้ รงเป็นพระผูส้ ร้างและพระผูช้ ว่ ยให้รอด พระองค์ทรงสร้างข้ารับใช้ของพระองค์เหล่านี้ด้วยความรัก อีกยังทรงเรียกและรับพวกเขาด้วยพระเมตตา ขอโปรดทดลองจิตใจของข้ารับใช้พระองค์เหล่านี้ และเฝ้าดูแลพวกเขา ในฐานะทีก่ ำลังเฝ้าคอยการเสด็จกลับมาของพระบุตร โปรดปกปักรักษาข้ารับใช้ของพระองค์ ด้วยพระญาณเอือ้ อาทร


269 และทำให้สมบูรณ์ในแผนการแห่งความรักของพระองค์ อาศัยความจงรักภักดีต่อพระคริสตเจ้า ขอให้พวกเขาได้ร่วมกลุ่มกับบรรดาศิษย์ของพระองค์บนโลก และเข้าชมพระบารมีของพระองค์ในสวรรค์ด้วย เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระบารมีของพระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทั้งหลาย ทุกคน

อาแมน

6. บทภาวนาเพื่อการเติบโตในความเชื่อ ข้าแต่พระเป็นเจ้า พระองค์ทรงหยั่งรู้ถึงส่วนลึกของจิตใจข้าพเจ้าทั้งหลาย อีกยังประทานรางวัลตามกิจการดีที่กระทำ โปรดทอดพระเนตรความอุตสาหะและความก้าวหน้าของข้ารับใช้ ด้วยพระทัยกรุณา โปรดประทานความเข้มแข็งในการดำเนินชีวิต เพิ่มพูนความเชื่อ และอภัยในความบาปของข้ารับใช้เหล่านี้ โปรดเปิดประตูแห่งความดีและความยุติธรรมแก่พวกเขา และโปรดให้ได้มีส่วนร่วมในศีลศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ของพระองค์บนโลก จนกระทั่งได้ชื่นชมพระบารมีของพระองค์ในสวรรค์ด้วยเถิด เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระบารมีของพระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทั้งหลาย ทุกคน อาแมน


270 7. มัทธิว ตัวอย่างสำหรับผู้เรียนคำสอน ข้าแต่พระเยซูคริสตเจ้า หลังจากพระองค์ทำให้ลมพายุสงบและขับไล่ผีออกจากผู้ถูกปิศาจสิง พระองค์ประทานสัญลักษณ์แห่งพระเมตตาแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ด้วยการเรียกมัทธิว คนเก็บภาษีให้ตดิ ตามพระองค์ไป พระองค์เลือกเขาให้บันทึกเหตุการณ์ต่างๆ เพื่อออกไปสั่งสอนนานาชาติ ข้าพเจ้าทั้งหลายวอนขอเพื่อข้ารับใช้ของพระองค์เหล่านี้ ที่สารภาพว่าพวกเขาเป็นคนบาป โปรดปกปักษ์พวกเขาจากความชั่ว และแสดงพระเมตตาของพระองค์ โดยรักษาพวกเขาจากบาดแผลแห่งบาป และประทานสันติในจิตใจแก่ข้ารับใช้ของพระองค์ ขอพระองค์ประทานความสว่าง เพือ่ การศึกษาพระวาจา และติดตามเสียงเรียกของพระองค์ด้วยความเข้มแข็ง อาศัยพระองค์ผดู้ ำรงชีพ และเสวยราชย์ตลอดนิรนั ดร ทุกคน อาแมน

ข้อเสนอแนะให้อภิปรายในกลุ่ม มีพธิ สี ญ ั ลักษณ์ หรือการฉลองตามประเพณีของเราอันใดบ้าง ทีแ่ สดงให้เห็น การสนับสนุนของกลุ่มในการละทิ้งความชั่ว เราสามารถนำเอาประเพณีเหล่านีไ้ ปใช้ใน “บทภาวนาละทิง้ ความชัว่ ” ได้อย่างไร


271

2. การอวยพรผูเ้ รียนคำสอน การอวยพรต่อไปนี้ สามารถ ทำได้ทุกเมื่อระหว่างเรียนคำสอน การอวยพรสามารถ ทำได้ทง้ั พระสงฆ์และตัวแทนสัตบุรุษที่ได้รับการแต่งตั้ง ขณะอวยพร คริสตชนวางมือ หรือยืน่ มือออกไปเหนือผูเ้ รียนคำสอน ให้เลือกใช้บทภาวนา บทใดบทหนึง่ ต่อไปนีต้ ามโอกาส การอวยพรสามารถอวยพรระหว่างมิสซาหรือทีใ่ ดก็ได้ที่ผู้เรียนคำสอนอยู่รวมกัน เป็นการแสดงให้ผเู้ รียนคำสอนเห็นว่าพวกเขายังมีชมุ ชนคริสตชนคอยให้กำลังใจ และสนับสนุน

(1) ให้เราภาวนา ข้าแต่พระเจ้า โปรดบันดาลให้ผู้เรียนคำสอนเหล่านี้เข้าใจข้อคำสอนแห่งความเชื่อ เพื่อพวกเขาทั้งหลายจะได้เกิดใหม่ในศีลล้างบาป และถูกนับเข้าเป็นสมาชิกของพระศาสนจักร เราวอนขอทัง้ นีอ้ าศัยพระคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน


272 (2)

ข้าแต่พระบิดาเจ้า พระองค์ประกาศแก่ทกุ คนทีเ่ ข้ามาหาพระองค์ ผ่านทางประกาศก ผู้ศักดิ์สิทธิ์ของพระองค์ว่า “จงชำระตัวให้บริสุทธิ์” และพระองค์โปรดให้เราเกิดใหม่ในองค์พระจิตเจ้า ผ่านทางพระคริสตเจ้า โปรดอวยพรข้ารับใช้ของพระองค์เหล่านี้ ให้เตรียมตัวรับศีลล้างบาปด้วยความกระตือรือร้น

โปรดทำให้พันธสัญญาของพระองค์สำเร็จไป โดยทำให้เขาทั้งหลายศักดิ์สิทธิ์ เพื่อการเตรียมตัวเป็นของขวัญล้ำค่าของพระองค์ เพือ่ พวกเขาจะได้เกิดใหม่ เป็นบุตรบุญธรรมของพระองค์ และเข้ามีส่วนในพระศาสนจักร เราวอนขอทัง้ นีอ้ าศัยพระคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน (3)

ข้าแต่พระเป็นเจ้าผู้ทรงสรรพานุภาพ โปรดทอดพระเนตรข้ารับใช้พระองค์เหล่านี้ โปรดให้พวกเขามีความเข้าใจในพระวาจาอย่างถ่องแท้ เพื่อรู้จักและรักพระองค์ และปฏิบัติตามพระประสงค์ของพระองค์ ด้วยความเต็มใจและด้วยใจกว้าง โปรดสอนข้ารับใช้ของพระองค์ในช่วงเวลาแห่งการเตรียมตัวนี้ และนำพวกเขาเข้าในพระศาสนจักร


273 เพื่อมีส่วนร่วมในพระธรรมล้ำลึกศักดิ์สิทธิ์ ทั้งบนแผ่นดินและในสวรรค์ เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน (4)

ข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทั้งหลาย พระองค์ทรงส่งพระเยซูคริสตเจ้า พระบุตรแต่พระองค์เดียวของพระองค์

มาไถ่โลกให้เป็นอิสระจากความเห็นแก่ตัว โปรดประทานความเข้าใจแก่บรรดาผู้เรียนคำสอน ให้มน่ั คงในความเชือ่ และยึดมัน่ ในความจริง เพื่อให้พวกเขาได้เติบโตขึ้นอย่างเข้มแข็ง เพือ่ สมจะได้เกิดใหม่ในศีลล้างบาป และได้รบั การอภัย และร่วมชื่นชมยินดีกับชุมชนคริสตชน ในการสรรเสริญพระนามของพระองค์ เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน (5)

ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้าผูท้ รงสรรพานุภาพ สถิตนิรนั ดร์ พระองค์ประทับอยูเ่ บือ้ งสูง แต่ทรงเอาพระทัยใส่ขา้ รับใช้ผตู้ ำ่ ต้อย โดยประทานรางวัลแห่งความรอดแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ด้วยการส่งพระเยซูคริสตเจ้าพระบุตรของพระองค์ พระเจ้าและพระเป็นเจ้าของข้าพเจ้าทั้งหลาย โปรดทอดพระเนตรมายังผู้เรียนคำสอนเหล่านี้ด้วยพระทัยกรุณา


274 ผู้กำลังถวายสักการะบูชาอยู่เฉพาะพระพักตร์พระองค์ขณะนี้ โปรดเตรียมพวกเขาให้พร้อมที่จะเกิดใหม่ในศีลล้างบาป และอภัยโทษบาปทัง้ สิน้ เพือ่ สมจะได้รว่ มชีวติ อันมิรจู้ กั เสือ่ มสลาย โปรดให้ข้ารับใช้ของพระองค์เหล่านี้ เข้าร่วมในพระศาสนจักรศักดิ์สิทธิ์ สากลและสืบจากอัครสาวก เพื่อเข้ามามีส่วนร่วมในการถวายเกียรติมงคล แด่พระนามของพระองค์กับมวลคริสตชน เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน (6)

ข้าแต่พระเป็นเจ้า พระองค์ทรงขับไล่ปศี าจ และหักโซ่ตรวนแห่งการเป็นทาส ผ่านทางพระบุตรแต่พระองค์เดียวของพระองค์ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอขอบพระคุณพระองค์ ที่ทรงเรียกผู้เรียนคำสอนเหล่านี้มา โปรดให้พวกเขาทั้งหลายเข้มแข็งในความเชื่อ เพื่อรู้ว่าพระองค์ทรงเป็นพระเป็นเจ้าเที่ยงแท้แต่พระองค์เดียว โปรดส่งพระเยซูคริสตเจ้าให้เสด็จมาในโลก โปรดเฝ้าดูแลให้พวกเขามีหัวใจที่บริสุทธิ์และเติบโตในฤทธิ์กุศล เพื่อสมจะได้รับศีลล้างบาปและมีส่วนร่วมในพระธรรมล้ำลึกศักดิ์สิทธิ์ เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน


275

3. การเจิมน้ำมันผูเ้ รียนคำสอน จารี ต การเจิ ม ผู ้ เ รี ย นคำสอนสามารถ ประกอบในช่วงเรียนคำสอนและในโอกาสต่างๆ อันควร (RCIA 128) ผู้ที่ไม่ได้รับการเจิมในช่วงเรียนคำสอน สามารถรับได้ในวันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิก์ อ่ นวัน รับศีลล้างบาปหรือสามารถรับในวันรับศีลล้างบาปเลย พระสงฆ์หรือสังฆานุกรเป็น ผูป้ ระกอบพิธหี ลังจากบทเทศน์ โดยใช้นำ้ มันศักดิส์ ทิ ธิท์ ไ่ี ด้รบั การเสกจากพระสังฆราช บทภาวนาละทิ้งความชั่ว ให้เราภาวนา ข้าแต่พระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย พระบิดาเจ้าทรงส่งพระองค์มาในโลกและทรงเจิมพระองค์ด้วยพระจิตเจ้า พระองค์ทรงทำให้คำทำนายของประกาศกอิสยาห์สำเร็จไปที่ศาลาธรรม ในหมูบ่ า้ นนาซาเร็ธ โดยประกาศการปลดปล่อยแก่ผถู้ กู จองจำ และประกาศปีแห่งความโปรดปรานจากพระเจ้า ข้าพเจ้าทั้งหลายภาวนาเพื่อข้ารับใช้ของพระองค์เหล่านี้ ผูท้ พ ่ี ระองค์เปิดหูและดวงใจ ให้รบั ฟังพระวาจาของพระองค์ โปรดให้พวกเขาเหล่านี้ เต็มไปด้วยพระหรรษทานของพระองค์ ขอโปรดอย่าให้จิตใจของพวกเขาต้องเป็นทุกข์ หรือลุ่มหลงอยู่กับสิ่งของฝ่ายโลก ขอโปรดอย่าให้พวกเขาทัง้ หลายออกห่างจากความหวังตามทีพ่ ระองค์สญ ั ญา


276 หรือตกเป็นทาสของจิตแห่งความสงสัย แต่ขอโปรดให้มีความเชื่อในพระองค์ท่าน ผู้ที่พระบิดาทรงสถาปนาให้เป็นกษัตริย์แห่งสากลโลก เพื่อปกครองทุกสิ่งในโลก โปรดให้ข้ารับใช้ของพระองค์เหล่านี้มั่นคงอยู่ในพระหรรษทาน เพือ่ มีสว่ นร่วมกับประชากรสงฆ์ และแบ่งปันความชืน่ ชมยินดี ในกรุงเยรูซาเล็มใหม่ เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระองค์ผทู้ รงดำรงชีพ และเสวยราชย์ตลอดนิรนั ดร ทุกคน อาแมน การเจิม ต่อหน้าผูเ้ รียนคำสอน พระสงฆ์ : เราขอเจิมท่านด้วยน้ำมันแห่งความรอด ในพระนามของพระคริสตเจ้า พระผูช้ ว่ ยให้รอด ขอพระองค์โปรดประทานพละกำลังให้แก่ท่านด้วยพระฤทธานุภาพ เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระองค์ผดู้ ำรงชีพ และเสวยราชย์ตลอดนิรนั ดร ผูเ้ รียนคำสอน อาแมน พระสงฆ์เจิมผูเ้ รียนคำสอนแต่ละคนด้วยน้ำมันทีห่ น้าอกหรือทีม่ อื ทัง้ สองข้าง หรือ ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย หลังการเจิมน้ำมันต่อด้วยบทภาวนาอวยพรหน้า 271-274 ข้อเสนอแนะให้อภิปรายในกลุ่ม การเจิมมีบทบาทอะไรบ้างในประเพณีท้องถิ่น การแสดงออก สัญลักษณ์ หรือพิธีต่างๆ มีความเกี่ยวข้องกับการเจิมตามประเพณี ของพระศาสนจักรในพิธีกรรมหรือไม่


277

4. การมอบบทข้าพเจ้าเชือ่ พิธีนี้สามารถทำได้ในช่วงเรียนคำสอน เวลาที่เหมาะสมคืออาทิตย์ที่สาม เทศกาลมหาพรต หลังจาก “พิธพี จิ ารณาความตัง้ ใจ” ครัง้ แรกแล้ว บทอ่านและบทเทศน์ ควรเลือกบทอ่านต่อไปนี้ เป็นบทอ่านประจำสัปดาห์ เฉลยธรรมบัญญัติ 6:1-7: จงฟังเถิดชาวอิสราเอล : จงรักพระเป็นเจ้าของเจ้าด้วยสิ้นสุดจิตใจของเจ้า โรม 10:8-13 : ถ้าท่านประกาศยืนยันความเชื่อในองค์พระเป็นเจ้า ท่านก็จะรอด 1 โครินธ์ 15:1-8 : ถ้าท่านยังยึดมั่นตามที่ข้าพเจ้าประกาศนั้น พระวาจานี้จะช่วยให้ท่านรอด มัทธิว 16:13-18 : บนศิลานี้ เราจะตัง้ พระศาสนจักร พิธีมอบบทข้าพเจ้าเชื่อ พระสงฆ์เรียกผูเ้ รียนคำสอนให้ออกมา ยืนข้างหน้า พระสงฆ์เรียกพ่อแม่อป ุ ถัมภ์ให้ออกมา ยืนข้างพระสงฆ์ หันหน้าหาผูเ้ รียนคำสอน พระสงฆ์กล่าวกับผูเ้ รียนคำสอนดังนี้ 


278 พี่น้องที่รักยิ่ง บทข้ า พเจ้ า เชื ่ อ ถึ ง พระเป็ น เจ้ า ประกาศถึ ง กิ จ การอั น ยิ ่ ง ใหญ่ แ ละ มหัศจรรย์ซง่ึ พระเป็นเจ้าทรงกระทำเพือ่ เรา เป็นการประกาศยืนยันความเชือ่ ซึ่งบรรดาอัครสาวกมอบให้แก่เรานับเป็นเวลาช้านาน พระศาสนจักรเองเก็บ รักษาบทข้าพเจ้าเชือ่ ดัง่ เป็นสมบัตลิ ำ้ ค่า ป้องกันจากการเสริมแต่งและคำสอน ทีไ่ ม่ถกู ต้อง เหตุฉะนี้ วันนี้ พระศาสนจักรของวัด ขอมอบสมบัตลิ ำ้ ค่านีแ้ ก่ ท่าน จงรับบทข้าพเจ้าเชือ่ ด้วยความจริงใจและซือ่ สัตย์ เพือ่ เป็นสัญลักษณ์แห่ง การรับความเชือ่ ของอัครสาวก จงยืน่ มือของท่านออกมาและสวดตามเราดังนี้ ข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระเป็นเจ้า พระบิดาทรงสรรพานุภาพ สร้างฟ้าดิน เชือ่ ถึงพระเอกบุตร เยซูคริสต์สวามีของเรา ปฏิสนธิเดชะพระจิตบังเกิดจากพระนางมารีอาพรหมจารี รับทรมานสมัยปอนซีโอปีลาโต ถูกตรึงกางเขน ตายและฝังไว้ เสด็จลงใต้บาดาล วันทีส่ ามกลับคืนชีพจากบรรดาผูต้ าย เสด็จขึน้ สวรรค์ ประทับเบือ้ งขวาพระเป็นเจ้าพระบิดาทรงสรรพานุภาพ แล้วจะเสด็จมาพิพากษาผู้เป็นและผู้ตาย ข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระจิต พระศาสนจักรศักดิส์ ทิ ธิส์ ากล สหพันธ์นกั บุญ การยกบาป การคืนชีพของเนือ้ หนัง และชีวติ นิรนั ดร อาแมน


279

การปกมืออวยพรผูเ้ รียนคำสอน พระสงฆ์เชิญชุมชนคริสตชนร่วมกันภาวนาในความเงียบเพื่อผู้เรียนคำสอนทุกคน หลังจากนัน ้ พระสงฆ์ยน่ื มือออกไปเหนือ ผูเ้ รียนคำสอน ภาวนาว่า

ข้าแต่พระเจ้า บ่อเกิดแห่งแสงสว่างนิรนั ดร์ ความยุตธิ รรม และความจริง โปรดทอดพระเนตรมายังข้ารับใช้ของพระองค์ ชือ่ .............และชือ่ ................. โปรดทำให้เขาทั้งหลายบริสุทธิ์และศักดิ์สิทธิ์ไป โปรดประทานความรูแ้ จ้ง ความหวังและความเข้าใจทีแ่ ท้จริง เพื่อพวกเขาทั้งหลายเหมาะสมจะได้รับพระหรรษทานแห่งศีลล้างบาป เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย อาแมน พิธนี ส้ี ามารถทำพร้อมกับพิธสี มั ผัสหูและปาก (พิธเี อฟฟาธา หน้า 283)


280

5. การมอบบทข้าแต่พระบิดา จารีตนีป้ ระกอบได้หลังจากพิธพี จิ ารณาความตัง้ ใจในอาทิตย์ทห่ี า้ เทศกาลมหาพรต ก่อนพิธีล้างบาปหรือระหว่างอาทิตย์ใดอาทิตย์หนึ่งในช่วงเรียนคำสอน บทอ่าน ในพิธีควรใช้บทอ่านต่อไปนี้ โฮเชยา 11:1-9 : เรานำท่านทัง้ หลายด้วยสายใยแห่งความรัก โรม 8:14-17,26-27 : ท่านได้รบั พระจิตแห่งการเป็นบุตรของพระเป็นเจ้า ทำให้เรา ร้องว่า “อับบา พระบิดา” กาลาเทีย 4:4-7 : พระเป็นเจ้าทรงส่งพระจิตแห่งการเป็นบุตรเข้ามาในใจของ เรา ร้องว่า อับบาพระบิดา พระวาจาและบทเทศน์ พระสงฆ์เชิญผู้เรียนคำสอนเข้ามายืนต่อหน้าสัตบุรษุ กล่าวว่า


281 พี่น้องที่รักยิ่ง พระศาสนจักรได้รับบทข้าแต่พระบิดา และเก็บรักษาไว้ในพระคัมภีร์ เราเชิญผู้เรียนคำสอนทั้งหมดให้ออกมาข้างหน้า และรับบทภาวนาบทนี้จากพระเยซูเจ้าพระองค์เอง ที่ตรัสกับเราผ่านทางพระคัมภีร์ หลังจากนัน้ พระสงฆ์อา่ นพระวรสารของนักบุญมัทธิว 6:9-13 ในระหว่างการเทศน์ ผูป้ ระกอบพิธอี ธิบายความหมายและความสำคัญ ของบทข้าแต่พระบิดา การปกมืออวยพรผู้เรียนคำสอน พระสงฆ์เชิญกลุ่มคริสตชนร่วมกันภาวนาเพื่อผู้เรียนคำสอนเงียบๆ หลังจากนัน้ พระสงฆ์วางมือเหนือผู้เรียนคำสอน ภาวนาว่า 


282 ข้าแต่พระเป็นเจ้าผูท้ รงสรรพานุภาพ สถิตนิรนั ดร พระองค์ทรงขยายพระศาสนจักรของพระองค์อยู่เสมอ โปรดให้ผู้ได้รับเลือกสรรเหล่านี้มั่นคงในความเชื่อ และมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อสมจะได้รับการล้างบาป โปรดให้พวกเขาทั้งหลายได้เกิดใหม่ด้วยน้ำทรงชีวิต เพื่อรวมเข้าในหมู่บุตรบุญธรรมของพระองค์ด้วยเถิด เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน พิธมี อบบทข้าแต่พระบิดาอาจทำรวมกับพิธสี มั ผัสหูและปาก หน้า 283


283

6. พิธสี มั ผัสหูและปาก (เอฟฟาธา - Ephphetha) จารีตนีส้ ามารถประกอบพร้อมกับ “การมอบบทข้าพเจ้าเชือ่ ” หรือ “การมอบ บทข้าแต่พระบิดา” หรืออาจประกอบในวันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ เพือ่ เตรียมสำหรับวันปัสกา และวันรับศีลล้างบาป บทอ่าน มาระโก 7:31-37: พระเยซูเจ้าทรงรักษาคนหูหนวกและคนใบ้ จารีตสัมผัสหูและปาก (เอฟฟาธา) พระสงฆ์สัมผัสหูซ้ายหูขวา และปาก ของผู้เรียนคำสอนด้วยนิ้วหัวแม่มือ กล่าวว่า “เอฟฟาธา : จงเปิดเถิด เพือ่ ท่าน จะประกาศยืนยันความเชื่อถึงสิ่งที่ ท่านได้ยินและสรรเสริญพระสิริมงคลของพระเป็นเจ้า”

ถ้ามีคนมาก ผูป้ ระกอบพิธภี าวนาทัง้ บทสำหรับคนแรกเท่านัน้ ส่วนคนทีเ่ หลือภาวนา เพียงว่า : เอฟฟาธา : จงเปิดเถิด


284

7. การสวดบทข้าพเจ้าเชือ่ ในพิธนี ้ี ผูเ้ รียนคำสอนจะประกาศยืนยันความเชือ่ ทีไ่ ด้รบั มาจากชุมชนคริสตชน การสวดบทข้าพเจ้าเชื่อเตือนให้ผู้เรียนคำสอนตระหนักว่า พวกเขาได้รับการเรียกมา ให้ประกาศยืนยันความเชือ่ ของตน พิธนี ส้ี ามารถประกอบในวันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิห์ รือ วันใดวันหนึ่งที่เหมาะสม บทอ่านและบทเทศน์ มัทธิว 16:13-17 : พระองค์คอื พระคริสตเจ้า พระบุตรของพระเจ้าผูท้ รงชีวติ ยอห์น 6:35, 63-71 : พวกเราจะไปหาใครพระองค์มพี ระวาจาทรงชีวติ เมือ่ พิธสี มั ผัสหูและปาก หรือพิธเี อฟฟาธานำมาประกอบในช่วงนี้ มาระโก 7:31-37 : เอฟฟาธา แปลว่า จงเปิดเถิด พระสงฆ์เทศน์เตือนใจสั้นๆ สัมผัสหูและปากอาจนำมาประกอบช่วงนีไ้ ด้ (หน้า 283) บทภาวนา พระสงฆ์วางมือเหนือผูเ้ รียนคำสอน พร้อมกับภาวนาว่า ให้เราภาวนา ข้าแต่พระเป็นเจ้า ข้าพเจ้าทั้งหลายภาวนาวอนขอเพื่อผู้ที่ได้รับเลือกสรรเหล่านี้ ที่ยอมรับพระธรรมล้ำลึกด้วยความชื่นชมว่า พระองค์ทรงเผยแสดงชีวิตขององค์พระบุตรของพระองค์เพื่อพวกเขา ทั้งหลาย


285 ขณะที่ผู้ได้รับเลือกสรรเหล่านี้ประกาศยืนยันความเชื่อ ขอให้ความเชื่อได้ประทับตราในดวงใจของพวกเขา เพือ่ สนองตามพระประสงค์ของพระองค์ ในการดำเนินชีวติ เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน การสวดบทข้าพเจ้าเชื่อ ต่อไป ผูไ้ ด้รบั เลือกสรร (ผูเ้ รียนคำสอน) สวดบทข้าพเจ้าเชือ่

เราสามารถแทนการสวดบทข้าพเจ้าเชื่อด้วยการเป็นพยานกล่าวคือ  ผู ้ เ รี ย นคำสอนหรื อ ผู ้ ไ ด้ ร ั บ ศี ล ล้ า งบาปใหม่ แ บ่ ง ปั น ประสบการณ์ แ ห่ ง ความเชื ่ อ ระหว่างพิธกี รรมวันอาทิตย์หรือ ในการประชุมกลุม่ คริสตชน  ผูเ้ รียนคำสอนหรือผูไ ้ ด้รบั ศีลล้างบาปใหม่ขอบคุณชุมชนคริสตชนสำหรับ ความเชือ่ และการสนับสนุนที่พวกเขาได้รับ หากกระทำเช่นนีไ้ ด้ จะทำให้พธิ สี วดบทข้าพเจ้าเชือ่ มีความหมายมากยิง่ ขึน้


286

พิธเี ลือกสรรหรือการลงทะเบียนสมัครเป็นคริสตชน (Rite of Election or Enrolment of Names) เมื่อใดประกอบพิธี พิ ธ ี น ี ้ เ ป็ น ขั ้ น ที ่ ส อง หรื อ เป็ น ประตู น ำเข้ า สู ่ ก ารเดิ น ทางแห่ ง ความเชื ่ อ ควรประกอบพิธกี รรมนีใ้ นวันอาทิตย์ทห่ี นึง่ ในเทศกาลมหาพรต ก่อนพิธศี ลี ล้างบาป ชุมชนคริสตชนเลือกผูเ้ รียนคำสอนเหล่านีโ้ ดยอาจมีการตัง้ ชือ่ ให้ผเู้ รียนคำสอนสำหรับ รับศีลล้างบาปในวันปัสกา บุคคลผูไ้ ด้รบั เลือกสรรต้องเป็นคนทีย่ อมอุทศิ ตนเองแด่พระคริสตเจ้าและชุมชน การกลับใจภายในของผูเ้ รียนคำสอนต้องเห็นได้จากการกระทำ และเครือ่ งหมายทีม่ องเห็นได้วา่ เป็นผูเ้ หมาะสม เช่น อภัยให้ผอู้ น่ื สวดภาวนา การให้ ความช่วยเหลือผูอ้ น่ื ซือ่ สัตย์ตอ่ ชีวติ แต่งงาน ฯลฯ การเสนอชื่อผู้สมัคร หลั ง จากบทเทศน์ สมาชิ ก ที ่ รับผิดชอบผู้เรียนคำสอนออกมา เสนอชื่อของผู้ได้รับเลือกสรร ดังนี้


287 คุณพ่อที่เคารพ ข้าพเจ้าทัง้ หลายมีความยินดีขอเสนอชือ่ คริสตชนสำรองเหล่านี้ เพือ่ เข้ารับศีลล้างบาปในวันปัสกา พวกเขาปฏิบัติตนอยู่ในหนทางแห่งความเชื่อ ข้าพเจ้าขอรับรองพวกเขาให้เข้ารับศีลล้างบาป ข้าพเจ้าทั้งหลายขอรับรองว่าคริสตชนสำรองเหล่านี้น้อมรับพระคริสต เจ้าในชีวิต และมีความปรารถนาอย่างแรงกล้าจะเข้าร่วมในชุมชนคริสตชน ของเรา พระสงฆ์ เชิญผูร้ บั เลือกสรรในพระคริสตเจ้า ก้าวออกมาข้างหน้าพร้อมกับพ่อแม่อุปถัมภ์ พ่อแม่อุปถัมภ์และกลุ่มคริสตชนรับรองผู้สมัคร ผูเ้ รียนคำสอนพร้อมกับพ่อแม่อปุ ถัมภ์ ให้ขานชือ่ คริสตชนสำรองทีละคน ก้าวออกมายืนข้างหน้าประธาน พระสงฆ์ พีน่ อ้ งทีร่ กั ยิง่ คริสตชนสำรองเหล่านี้ ขอรับศีลล้างบาปในพระศาสนจักร ในวันปัสกา บุคคลผูเ้ กีย่ วข้องได้พจิ ารณาตามคำร้องขอ โดยช่วงการเตรียมตัว พวกเขาฟั ง พระวาจาของพระคริ ส ตเจ้ า และปฏิ บ ั ต ิ ต ามพระประสงค์ ข อง พระองค์ดว้ ยความพากเพียร อีกยังร่วมภาวนากับหมูพ ่ น่ี อ้ งคริสตชน ข้าพเจ้าจึงขอประกาศแก่ท่านทั้งหลายว่า ชุมชนของเราตัดสินให้ พวกเขารับศีลศักดิส์ ทิ ธิไ์ ด้ ด้วยเหตุน้ี ข้าพเจ้าขอให้พอ่ แม่อปุ ถัมภ์ยนื ยัน ต่อหน้าหมู่พี่น้องคริสตชนอีกครั้งหนึ่ง


288 พระสงฆ์กล่าวกับพ่อแม่อุปถัมภ์ว่า ท่านมีความเห็นโดยจริงใจต่อหน้าพระเจ้าว่า ผูส้ มัครเหล่านีเ้ หมาะสมที่ จะรับศีลศักดิ์สิทธิ์เข้ามาเป็นคริสตชนหรือ พ่อแม่อุปถัมภ์: ข้าพเจ้าเห็นว่า เขาเป็นผูเ้ หมาะสมแล้ว ให้อภิปรายในกลุ่มผู้เกี่ยวข้องของทางวัด เรื่องพิธีการขานชื่อตามประเพณีของท้องถิ่นว่าจะทำเช่นไรและ รวมถึงการที่ผู้สมัครจะได้รับการรับรองจากกลุ่มคริสตชนโดยวิธีใด ทำอย่างไรเขาสามารถรวมพิธีตามประเพณีท้องถิ่นเข้ากับพิธีเลือกสรรนี้ การลงทะเบียนชื่อเพื่อสมัครเป็นคริสตชน พระสงฆ์ให้ข้อคิดและถามผู้สมัครด้วยคำถามต่อไปนี้ พี่น้องคริสตชนสำรองที่รัก พ่อแม่อุปถัมภ์และครูคำสอนได้พูดถึงท่าน ด้วยความชื่นชม ดังนั้น พระศาสนจักรในพระนามของพระเยซูคริสตเจ้ายอม รับในการตัดสินของเขาเหล่านั้น และขอเรียกท่านให้เข้ารับศีลศักดิ์สิทธิ์แห่ง ปัสกา ต่อจากนีไ้ ป หากท่านได้ยนิ เสียงเรียกของพระคริสตเจ้า ท่านต้อง สนองตอบเสียงเรียกนัน้ เหตุฉะนัน้ ท่านปรารถนาจะเข้าร่วมในชีวติ ของ พระศาสนจักรผ่านทางศีลล้างบาป ศีลกำลังและศีลมหาสนิทหรือ ผู้เรียนคำสอน ข้าพเจ้าปรารถนาครับ/ค่ะ พระสงฆ์

จงลงชื่อของท่านในทะเบียนเถิด


289 ต่อจากนั้น มีการเขียนชื่อของผู้สมัครลงในสมุดทะเบียน การลงทะเบียนชือ่ สามารถประกอบด้วยวิธ-ี การดังนี้ ผู้สมัครแต่ละคนเดินมาลงชื่อใน “สมุดทะเบียน”  พระสงฆ์ ห รื อ พ่ อ แม่ อ ุ ป ถั ม ภ์ ประกาศด้วยเสียงดังฟังชัดและ เขียนชื่อผู้สมัครลงในสมุด  หลั ง จากนั ้ น ส่ ง มอบรายชื ่ อ ของ 

ผูส้ มัครแก่พระสงฆ์ ระหว่างเขียนชือ่ ผูส้ มัคร อาจมีการขับบทเพลงจากบทสดุดที ่ี 16 การประกาศรับรองผู้สมัคร หลังจากนั้นพระสงฆ์หันมากล่าวกับผู้สมัครว่า ชื่อ.........และ ชื่อ........ ข้าพเจ้าขอประกาศแก่ท่านว่า ท่านเป็นสมาชิก ผู้ได้รับเลือกสรรให้เข้ารับศีลล้างบาป ซึ่งเป็นพระธรรมล้ำลึกศักดิ์สิทธิ์ใน วันตื่นเฝ้าปัสกา ผู้สมัคร ขอขอบพระคุณพระเจ้า พระสงฆ์ พระเป็นเจ้าทรงซื่อสัตย์ต่อทุกคนที่พระองค์ทรงเรียกเสมอ ฉะนั้นเป็น หน้าทีข่ องท่านและเราทุกคนในการตอบแทนพระองค์ดว้ ยความซือ่ สัตย์ และ พยายามบรรลุถงึ ความจริงบริบรู ณ์ ซึง่ พระองค์ทรงเผยแสดงให้กบั ท่าน


290 (พระสงฆ์หันไปกล่าวกับพ่อแม่อุปถัมภ์ว่า) บรรดาพ่อแม่อปุ ถัมภ์ ท่านรับรองผูเ้ รียนคำสอนเหล่านี้ ฉะนัน้ จงรับ ผู้เรียนคำสอนในฐานะผู้ได้รับเลือกสรรในพระเป็นเจ้า และรับพวกเขาไว้ใน ความดูแลด้วยความเอาใจใส่ และจงเป็นแบบอย่างทีด่ จี นกว่าพวกเขาจะได้ เข้าร่วมในศีลศักดิ์สิทธิ์ของพระเป็นเจ้า บทภาวนาเพื่อผู้ได้รับเลือกสรร พระสงฆ์เชิญพ่อแม่อุปถัมภ์วางมือบนบ่า ของผูส้ มัคร ขณะทีผ่ ปู้ ระกอบพิธแี ละ ชุมชนคริสตชนภาวนาเพือ่ ผูไ้ ด้รบั เลือกสรร ว่า

พี่น้องที่รักยิ่ง ในการเริ่มต้นช่วงเทศกาลมหาพรต เราเฝ้าคอยฉลอง การอุทศิ ชีวติ ในพระธรรมล้ำลึกแห่งพระมหาทรมาน การสิน้ พระชนม์และการ กลับคืนพระชนมชีพของพระคริสตเจ้า ในวันปัสกาผูร้ บั เลือกสรรเหล่านีจ้ ะเฝ้า ดูแบบอย่างแห่งการรื้อฟื้นในชีวิตคริสตชน ให้เราภาวนาเพื่อผู้รับเลือกสรร เหล่านี้ และเพือ่ เราเอง เราจะรือ้ ฟืน้ ตัวเพือ่ ความอุตสาหะของกันและกัน และ เข้าร่วมฉลองปัสกาด้วยความชื่นชมยินดี


291 ผูอ้ า่ น เพือ่ เราแต่ละคนจะได้ใช้เวลาในช่วงเทศกาลมหาพรตนีอ้ ย่างบังเกิดผล อาศัยการปฏิเสธตนเอง และทำการงานให้ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า ผูอ้ า่ น เพือ่ ผูเ้ รียนคำสอนเหล่านีจ้ ะได้ระลึกถึงวันทีไ่ ด้รบั เลือกนี้ และซือ่ สัตย์ ทุกคน ผูอ้ า่ น ทุกคน ผูอ้ า่ น ทุกคน ผูอ้ า่ น

ทุกคน ผูอ้ า่ น ทุกคน ผูอ้ า่ น ทุกคน

ต่อพระพรทีไ่ ด้รบั จากสวรรค์อยูเ่ สมอ ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพื่อครูคำสอนจะได้ถ่ายทอดพระวาจาของพระเป็นเจ้าอันทรงคุณค่า แก่ผแู้ สวงหาอยูเ่ สมอ ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพื่อพ่อแม่อุปถัมภ์จะเป็นแบบอย่างที่มีชีวิตตามแบบอย่างพระวาจา ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพือ่ ครอบครัวของผูเ้ รียนคำสอนจะไม่เป็นอุปสรรคขัดขวางการดำเนินชีวิตของผู้เรียนคำสอนเหล่านี้ แต่กลับให้ความช่วยเหลือในการ กระตุน้ เตือนให้ตดิ ตามพระจิตเจ้า ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพือ่ ชุมชนคริสตชนของเราจะได้เติบโตในความรัก ความเมตตา และ หมัน่ สวดภาวนาอยูเ่ สมอในช่วงเทศกาลมหาพรตนี้ ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพือ่ บุคคลทีย่ งั ลังเลใจจะได้มคี วามเชือ่ มัน่ คงในพระคริสตเจ้า และ เข้าร่วมกับกลุม่ พีน่ อ้ งชายหญิงของเรา ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า


292 บทภาวนาเพื่อผู้ได้รับเลือกสรร พระสงฆ์วางมือเหนือผูไ้ ด้รบั เลือกสรร พร้อมกับภาวนาว่า

ข้าแต่พระบิดาผู้พระทัยดีและทรงสรรพานุภาพ พระองค์มีพระประสงค์จะสถาปนาทุกสิ่งในองค์พระคริสตเจ้า และนำเราเข้าสู่อ้อมกอดแห่งความรักของพระองค์ ด้วยการประทานกระแสเรียกทีม่ น่ั คง นำเขาเข้าสูอ่ าณาจักรขององค์พระบุตร และประทับตราด้วยพระจิตเจ้า ตามทีพ ่ ระองค์ทรงสัญญาไว้ เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน การเชิญผู้เรียนคำสอนออกไปนอกวัด (Dismissal of the Catechumens) ตามประเพณีเก่าแก่ของพระศาสนจักร คริสตชนสำรองสามารถร่วมพิธีอ่านพระวาจาแต่ไม่สามารถร่วมในพิธีเสกปัง หลังจากเทศน์จบจะ มีการเชิญผูเ้ รียนคำสอนออกไปนอกวัด จารีตนี้ มีความหมายทีเ่ ราควรรือ้ ฟืน้ เพราะแสดงให้ผเู้ รียน คำสอนเห็นว่าพวกเขายังไม่ได้รับการยอมรับ


293 เข้าสูพ่ ระศาสนจักรอย่างสมบูรณ์ ขณะเมือ่ มีการบิปงั หลังจากผูเ้ รียนคำสอนออกไปแล้ว จะไปรวมกันเพือ่ เรียนคำสอนพร้อมกับ พี่เลี้ยงในห้องใดห้องหนึ่ง พระสงฆ์เชิญผู้เรียนคำสอนออกจากวัดด้วยคำพูดเหล่านี้ว่า พี่น้องผู้ได้รับเลือกสรรที่รัก ท่านได้ร่วมเดินทางพร้อมกับเราบนถนนสู่ สิรมิ งคลแห่งปัสกาโดยพระคริสตเจ้าทรงเป็นหนทาง ความจริงและชีวติ ของ ท่าน ขอให้ทา่ นอยูใ่ นสันติของพระคริสตเจ้า จนกว่าจะพบกันอีกในพิธกี าร พิจารณาความตั้งใจ ผู้ได้รับเลือก อาแมน


294

การชำระจิตใจให้บริสทุ ธิใ์ นเทศกาลมหาพรต (Purifications during Lent) ข้อเสนอแนะอภิปรายในกลุ่ม มีประเพณีพิธีฉลอง หรือสัญลักษณ์อะไรบ้างซึ่งสามารถแสดง “การชำระจิตใจ” ตามประเพณีท้องถิ่นได้ พิธฉี ลอง หรือสัญลักษณ์อนั ใดบ้างซึง่ เราสามารถรวมพิธี “การชำระจิตใจ” ในพิธกี าร ละทิ้งความชั่วได้ พิธีพิจารณาความตั้งใจครั้งแรก (อาทิตย์ทส่ี าม เทศกาลมหาพรต) หลังจากบทเทศน์ พระสงฆ์เชิญคริสตชนและ ผูไ้ ด้รบั เลือกสรรขึน้ มามอบตัวไว้ในพระหัตถ์ของ พระเป็นเจ้า ทุกคนภาวนาเงียบ ๆ สักครู่  พระสงฆ์หน ั มาหาผูไ้ ด้รบั เลือกสรร และพูด เตือนใจว่า “พวกเราทุกคนต้องการการกลับใจ ข้าพเจ้าสนับสนุนให้ผไู้ ด้รบั เลือกสรรอุทศิ ตนเองแด่ 

และการชำระจิตใจอยูเ่ สมอ พระเป็นเจ้าอย่างสมบูรณ์”

หลังจากนัน้ พระสงฆ์ขอให้ผไู้ ด้รบั เลือกคุกเข่าลงโดยกล่าวว่า ผูไ้ ด้รบั เลือกสรร เชิญคุกเข่าเพือ่ สวดภาวนาเถิด


295 บทภาวนาเพื่อผู้ได้รับเลือกสรร ขณะสวดภาวนาเพื่อผู้ได้รับเลือกสรร พ่อแม่อุปถัมภ์วางมือบนบ่าของ ลูกอุปถัมภ์

พระสงฆ์ ให้เราภาวนาเพือ่ ผูไ้ ด้รบั เลือกซึง่ พระศาสนจักรเลือกด้วยความมัน่ ใจ ขอให้ พวกเขาได้เตรียมตัวเองให้สมบูรณ์ เพือ่ ในวันฉลองปัสกาจะได้พบกับ พระคริสตเจ้าในศีลศักดิ์สิทธิ์ ผูอ้ า่ น 1 เพื่อผู้ได้รับเลือกจะได้ไตร่ตรองพระวาจาของพระเป็นเจ้าในจิตใจ และซาบซึง้ ในความหมายยิง่ วันยิง่ มากขึน้ ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า ผูอ้ า่ น 2 เพื่อผู้ได้รับเลือกจะได้เรียนรู้เพื่อรู้จักพระคริสตเจ้าผู้เสด็จมาช่วย ผูท้ ห่ี ลงทางให้รอด ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า


296 ผูอ้ า่ น 3 เพื่อบุคคลที่สารภาพด้วยความสุภาพถ่อมตนว่าตนเองเป็นคนบาป ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า ผูอ้ า่ น 4 เพือ่ บุคคลทีย่ อมปฏิเสธทุกสิง่ ในชีวติ ทีเ่ ป็นปฏิปกั ษ์กบั พระคริสตเจ้า และทำให้พระองค์ไม่พอพระทัย ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า ผูอ้ า่ น 5 เพื่อวอนขอพระจิตเจ้าช่วยให้ผู้รับเลือกสรรเอาชนะความอ่อนแอ ทัง้ หลายอาศัยพระฤทธานุภาพของพระองค์ ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า ผูอ้ า่ น 6 เพื่อวอนขอองค์พระจิตเจ้าสอนบรรดาผู้ได้รับเลือกสรรให้รู้จักพระเป็นเจ้ามากขึน้ และทุกสิง่ ทีเ่ ป็นทีพ ่ อพระทัยพระองค์ ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า ผูอ้ า่ น 7 เพื่อครอบครัวของผู้เรียนคำสอนจะได้มีความไว้ใจในองค์พระคริสตเจ้า พบสันติและความศักดิส์ ทิ ธิใ์ นพระองค์ ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า ผูอ้ า่ น 8 เพือ่ เราแต่ละคน จะได้มกี ารเปลีย่ นแปลงตนเองในการเตรียมตัวเพือ่ วันปัสกา สวดภาวนาและพากเพียรในการทำความดี ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า ผูอ้ า่ น 9 เพือ่ โลกของเราและทุกคนทีอ่ อ่ นแอจะกลับเข้มแข็งขึน้ สิง่ ใดที่ ถูกทำลายจะได้รบั การสร้างขึน้ ใหม่ บุคคลทีห่ ลงทางจะได้พบหนทาง ทีถ่ กู ต้อง เพือ่ ได้รบั การไถ่ในองค์พระคริสตเจ้า ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า


297 บทภาวนาละทิ้งความชั่ว พระสงฆ์หนั ไปกล่าวกับผูไ้ ด้รบั เลือกสรร พร้อมกับประสานมือกันทัง้ หมดว่า ข้าแต่พระเป็นเจ้าผู้ทรงสรรพานุภาพ พระองค์ทรงส่งพระบุตรลงมาเป็นพระผู้ช่วยให้รอดของข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอพระองค์โปรดให้บรรดาผู้เรียนคำสอนเหล่านี้ ซึง่ เหมือนกับสตรีชาวสะมาเรียทีก่ ระหายน้ำทรงชีวติ ได้หนั มาหาพระเป็นเจ้า เมื่อเขาได้ฟังพระวาจาของพระองค์ ละทิ้งบาปและความอ่อนแอต่างๆ โปรดป้องกันเขาทั้งหลายจากการทนงตน และจากอำนาจของปีศาจ โดยปลดปล่อยพวกเขาจากจิตชั่ว เพื่อการยอมรับในความผิดบาปที่ตนได้กระทำ เพื่อสมจะได้ชำระใจให้บริสุทธิ์ และก้าวหน้าในหนทางแห่งความรอด เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน พระสงฆ์วางมือเหนือศีรษะ ผู้ได้รับเลือกแต่ละคน จากนั้นยื่นมือเหนือทุกคนภาวนาว่า


298 ข้าแต่พระเยซูคริสตเจ้า อาศัยพระปรีชาญาณอันเต็มไปด้วยพระกรุณาธิคุณของพระองค์ พระองค์เปลีย่ นใจของหญิงคนบาปและสอนให้เธอสักการะบูชาพระบิดาเจ้า ด้วยจิตและความจริง บัดนี้ ขอให้ผู้ได้รับเลือกสรรเหล่านี้เป็นอิสระจากอำนาจของปีศาจ ด้วยฤทธานุภาพของพระองค์ เหมือนพวกเขาได้รบั น้ำทรงชีวติ โปรดสัมผัสจิตใจของผูไ้ ด้รบั เลือกสรร ด้วยอำนาจของพระจิตเจ้า เพื่อให้พวกเขามารู้จักพระบิดาเจ้าในความเชื่อที่แท้จริง ซึ่งแสดงให้เห็นได้ในความรัก ทัง้ นี้ ขอพึง่ พระบารมีพระเยซูคริสตเจ้าผูด้ ำรงชีพ และเสวยราชย์ ตลอดนิรันดร ทุกคน อาแมน อาจมีการขับบทเพลง เช่น บทสุดดีท่ี 6,26,32,38,39,40,51,116:1-9,130,139 หรือ 142 พิธีเชิญผู้ได้รับเลือกสรรออกจากวัด (ดูหน้า 292)


299 พิธีพิจารณาความตั้งใจครั้งที่สอง (อาทิตย์ทส่ี ่ี เทศกาลมหาพรต) หลังจากจบการเทศน์จากพระวรสาร ของนักบุญยอห์น 9:1-41 (การรักษา คนตาบอด) พระสงฆ์เรียกผู้ได้รับ เลือกสรร และพ่อแม่อปุ ถัมภ์ออกมา ยืนข้างหน้าพระสงฆ์ขอให้ทกุ คนในวัด สวดภาวนาฝากตัวเอง และเพื่อผู้ได้ รับเลือกสรรไว้ในพระหัตถ์ โดยให้ข้อคิดเตือนใจว่าเราสามารถเห็นตัวเราเองจริงๆ อาศัยแสงสว่างของพระเป็นเจ้าจง พิจารณาตัว ด้วยการอุทศิ ตัวทัง้ หมดแด่พระเป็นเจ้า เราทุกคนยังต้องการการชำระตนอย่างสม่ำเสมอ หลังจากนั้น พระสงฆ์หันมาหาผู้ได้รับเลือกสรร ขอให้ทุกคน ภาวนาเพื่อการกลับใจที่แท้จริงและอุทิศตนเองทั้งครบแด่พระเป็นเจ้า ขอให้ผไู้ ด้รบั เลือกคุกเข่าลง โดยกล่าวว่า เชิญผู้ได้รับเลือกสรรคุกเข่าและสวดภาวนา บทภาวนาเพื่อผู้ได้รับเลือก ขณะภาวนาให้พอ่ แม่อปุ ถัมภ์วางมือขวาบนบ่า ลูกอุปถัมภ์


300 พระสงฆ์ ให้เราภาวนาเพื่อผู้ที่พระเป็นเจ้าทรงเรียกมา เพื่อพวกเขาจะได้ซื่อสัตย์ต่อพระองค์และเป็นพยานยืนยันถึงพระวาจาอันทรงชีวิต ผูอ้ า่ น 1 เพื่อให้ผู้ได้รับเลือกสรรมีความไว้ใจในพระคริสตเจ้าอย่างหมดหัวใจ เพื่อพวกเขาจะได้พบกับอิสรภาพในใจและเก็บรักษาเอาไว้เสมอ ทุกคน ผูอ้ า่ น 2

ทุกคน ผูอ้ า่ น 3 ทุกคน ผูอ้ า่ น 4 ทุกคน ผูอ้ า่ น 5

ทุกคน ผูอ้ า่ น 6 ทุกคน

ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพื่อผู้ได้รับการเลือกสรรจะได้ถวายพระสิริมงคลแด่พระเป็นเจ้า เท่านัน้ ด้วยการชอบไม้กางเขน ทีค่ นอืน่ มองว่าเป็นเรือ่ งโง่เขลาแก่ ผู้ชาญฉลาดฝ่ายโลก ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพือ่ ผูไ้ ด้รบั เลือกสรรสามารถกำจัดความกลัวออกไป และก้าวไปด้วย ความมัน่ ใจอาศัยอำนาจของพระจิตเจ้า ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพื่อผู้ได้รับเลือกสรรสามารถพบความศักดิ์สิทธิ์และยุติธรรมในองค์ พระจิตเจ้า ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพือ่ ผูท้ นทุกข์ทรมานจากการถูกเบียดเบียน เพือ่ เห็นแก่พระนามของ พระคริสตเจ้าจะได้รับพละกำลังเข้มแข็งในองค์พระคริสตเจ้า ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพือ่ ครอบครัวและชนชาติตา่ งๆ ทีถ่ กู กีดกันไม่ให้เข้ามารับความเชือ่ จะได้รบั อิสรภาพในการเชือ่ ถึงพระวาจา ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า


301 ผูอ้ า่ น 7 เพือ่ บุคคลทีเ่ ผชิญกับค่านิยมต่างๆ ของโลกสามารถมัน่ คงอยูใ่ น ความเชื่อตามจิตตารมณ์แห่งพระวาจา ให้เราภาวนา ทุกคน โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า ผูอ้ า่ น 8 เพือ่ โลกของเราทีพ่ ระบิดาเจ้าทรงรักจะได้มาซึง่ อิสรภาพในจิตใจ อย่างสมบูรณ์ในพระศาสนจักร ให้เราภาวนา ทุกคน

โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า

บทภาวนาละทิ้งความชั่ว พระสงฆ์หนั หน้ามาทางผูไ้ ด้รบั เลือกสรรพร้อมกับยืน่ มือออก ภาวนาว่า: ข้าแต่พระบิดาผู้พระทัยดี พระองค์ทรงนำคนบาปให้ได้เข้าสู่อาณาจักรแห่งความชอบธรรม อาศัยความเชื่อในองค์พระบุตร โปรดให้ผไู้ ด้รบั เลือกเหล่านีห้ ลุดพ้นจากค่านิยมผิดๆ ทีป่ ดิ บังเขาทัง้ หลายอยู่ โปรดให้เขาทั้งหลายมั่นคงในความเชื่อเพื่อสมเป็นบุตรแห่งความสว่าง ตลอดกาล เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน พระสงฆ์อวยพรผู้ได้รับเลือกสรรแต่ละคน หลังจากนั้นวางมือเหนือทุกคนภาวนาว่า


302 ข้าแต่พระเยซูเจ้า พระองค์ทรงเป็นความสว่างส่องโลกด้วยพระจิตแห่งความจริง โปรดให้บุคคลเหล่านี้หลุดพ้นจากการเป็นทาสแห่งความหลอกลวง ขอพระองค์โปรดให้ผู้ได้รับเลือกเหล่านี้ปรารถนาแต่ความดี เพื่อสมจะรับศีลศักดิ์สิทธิ์ ขอโปรดให้พวกเขาได้ชน่ื ชมในความสว่างของพระองค์ เพือ่ มองเห็นได้ เปรียบดั่งคนตาบอดที่ได้เห็นแสงสว่าง โปรดให้ผู้ได้รับเลือกพิสูจน์ตนเองด้วยความเข้มแข็ง และเป็นพยานยืนยัน ถึงความเชือ่ โดยปราศจากความกลัว อาศัยพระองค์ผดู้ ำรงชีพตลอดนิรนั ดร ทุกคน อาแมน พิธีเชิญผู้ได้รับเลือกสรรออกจากวัด (ดูหน้า 292) พระสงฆ์กล่าวกับผู้ได้รับเลือกสรร ผู้ได้รับเลือกสรรที่รัก จงไปเป็นสุขเถิดและเข้าร่วมกับเราในพิธีพิจารณาความตั้งใจครั้งต่อไป ขอพระเป็นเจ้าสถิตกับท่านเสมอ ผู้ได้รับเลือก อาแมน


303 พิธีพิจารณาความตั้งใจครั้งที่สาม (อาทิตย์ทห่ี า้ เทศกาลมหาพรต) หลังจากจบบทเทศน์ โดยใช้ พระวรสารของนักบุญยอห์น 11:145 (ลาซาลัสฟืน้ จากความตาย) พระสงฆ์เรียกผูไ้ ด้รบั เลือกสรร และ พ่ อ แม่ อ ุ ป ถั ม ภ์ อ อกมาข้ า งหน้ า แล้วเชิญให้ทกุ คนร่วมกันภาวนาด้วย การฝากตัวเองและผูไ้ ด้รบั เลือกสรร ไว้ในพระหัตถ์ของพระเป็นเจ้าด้วยการเตือนใจว่าเราสามารถพบตัวเราเอง อาศัยแสงสว่างของพระเป็นเจ้า ให้เราพิจารณาตัวเองด้วยการมอบตนเองแด่พระเป็นเจ้าทัง้ ครบ ซึง่ เราทุกคนต้องการการชำระจิตใจอย่างสม่ำเสมอ แล้วพระสงฆ์หนั มาหาผูไ้ ด้รบั เลือกสรร ขอให้รว่ มกันภาวนาเพือ่ การกลับใจและมอบตนเองแด่พระเป็นเจ้าทัง้ ครบ ด้วยการขอให้ผไู้ ด้รบั เลือกสรรคุกเข่า (หรือก้มศีรษะ) กล่าวว่า ผูไ้ ด้รบั เลือกสรรของพระเป็นเจ้า จงก้มศีรษะ (หรือคุกเข่า) เพือ่ ภาวนา บทภาวนาเพื่อผู้ได้รับเลือกสรร ขณะภาวนา ให้พ่อแม่อุปถัมภ์วางมือขวาบนบ่าของผู้ได้รับเลือกสรรที่ตนอุปถัมภ์


304 พระสงฆ์ ให้ เ ราภาวนาเพื ่ อ ผู ้ ไ ด้ ร ั บ เลื อ กสรร ขอพระหรรษทานแห่ ง ศี ล ศักดิ์สิทธิ์โปรดหลอมพวกเขาให้เป็นหนึ่งเดียวกับพระคริสตเจ้า ใน พระมหาทรมาน และการกลับคืนชีพเพือ่ มีชยั ชนะเหนือความตาย ผูอ้ า่ น 1 เพื่อความเชื่อจะทำให้พวกเขาเข้มแข็งขึ้น ในการต่อสู้กับความชั่ว ทุกคน ผูอ้ า่ น 2 ทุกคน ผูอ้ า่ น 3

ทุกคน ผูอ้ า่ น 4 ทุกคน ผูอ้ า่ น 5 ทุกคน ผูอ้ า่ น 6 ทุกคน ผูอ้ า่ น 7 ทุกคน

ฝ่ายโลกทุกชนิด ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพือ่ ผูไ้ ด้รบั เลือกจะขอบคุณพระเป็นเจ้าอยูเ่ สมอ ทีโ่ ปรดเลือกให้ พวกเขาได้รจู้ กั ชีวติ นิรนั ดรและอยูใ่ นทางแห่งความรอด ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพือ่ แบบอย่างและคำภาวนาของผูเ้ รียนคำสอนทีห่ ลัง่ เลือด เพือ่ เห็น แก่พระคริสตเจ้า ได้เป็นกำลังใจให้ผู้ได้รับเลือกมีความหวังในชีวิต นิรนั ดร ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพือ่ ผูไ้ ด้รบั เลือกสรรจะมีความเกรงกลัวต่อบาปอันทำลายชีวติ ให้เราฯ โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพื่อผู้ที่เศร้าโศกกับการจากไปของบุคคลในครอบครัวหรือเพื่อน จะได้รบั ความบรรเทาใจในองค์พระคริสตเจ้า ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพือ่ เราจะมัน่ คงในความหวังกับการกลับคืนชีพ และมีชวี ติ ใหม่กบั พระคริสตเจ้าในวันปัสกา ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า เพื่อโลกของเราซึ่งพระเป็นเจ้าทรงสร้างด้วยความรัก จะได้งอกงาม ในความเชือ่ และความเมตตา ให้เราภาวนา โปรดสดับฟังเถิดพระเจ้าข้า


305 บทภาวนาละทิ้งความชั่ว พระสงฆ์หนั มาหาผูไ้ ด้รบั เลือก พร้อมกับประสานมือกัน ภาวนาว่า ข้าแต่พระบิดา พระเป็นเจ้าของบรรดาผูเ้ ป็น พระองค์ทรงส่งพระบุตรของพระองค์ลงมาเพื่อพาเราออกจาก อาณาจักรแห่งความตาย และนำเราให้กลับเป็นขึ้นมา โปรดให้ผู้ได้รับเลือกเหล่านี้เป็นอิสระจากอำนาจแห่งความตาย ของจิตแห่งความชั่ว เพื่อพวกเขาจะเป็นพยานยืนยันถึงชีวิตใหม่ของเขาในองค์พระคริสตเจ้า ผู้กลับคืนชีพ เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระองค์ผทู้ รงดำรงชีพและเสวยราชย์ตลอดนิรนั ดร ทุกคน อาแมน พระสงฆ์อวยพรแต่ละคน แล้ววางมือเหนือทุกคนภาวนาว่า


306 ข้าแต่พระเยซูคริสตเจ้า พระองค์ทรงเผยแสดงว่าพระองค์เสด็จมา เพือ่ เราจะได้มชี วี ติ ทีส่ มบูรณ์ยง่ิ ขึน้ โดยโปรดให้ลาซาลัสกลับเป็นขึ้นมาจากความตาย ขอพระองค์โปรดให้บคุ คลทีร่ อคอยศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ อันประทานชีวติ ได้เป็นอิสระจากความตาย และจิตแห่งการทุจริต ขอโปรดประทานให้ผู้ได้รับเลือกเต็มไปด้วยความซื่อสัตย์ ความหวังและความเมตตา อาศัยพระจิตเจ้าผูป้ ระทานชีวติ เพือ่ พวกเขาดำเนินชีวติ ในพระสิรแิ ห่งการกลับคืนชีพของพระองค์ท่านเสมอไป เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระบารมีพระเยซูคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทั้งหลาย ทุกคน อาแมน ระหว่างนีอ้ าจมีการขับบทเพลง เช่น บทสดุดที ่ี 6,26,32,38,39,40,51,116:1-9, 130, 139 หรือ 142 พิธีเชิญผู้ได้รับเลือกสรรออกจากวัด (ดูหน้า 292) พระสงฆ์เชิญผู้ได้รับเลือกสรรออกจากวัดกล่าวว่า ผู้ได้รับเลือกสรรที่รัก จงไปเป็นสุขเถิดและขอพระเป็นเจ้าสถิตกับท่านเสมอ ทุกคน อาแมน


307 การเตรียมพิธีในวันเสาร์ศักดิ์สิทธิ์ 1. ควรแนะนำผู้ได้รับเลือกสรรว่าในวันเสาร์ศักดิ์สิทธิ์พวกเขาควรใช้เวลาเป็นพิเศษ โดยใช้เวลาในการสวดภาวนา รำพึง และทำการอดอาหารเท่าทีท่ ำได้ 2. ถ้าพิธีต่อไปนี้ยังไม่ได้ทำในช่วงเรียนคำสอน ควรทำในวันเสาร์ศักดิ์สิทธิ์ก่อนวันฉลองปัสกา  พิธม ี อบบทข้าแต่พระบิดา (หน้า 280)  พิธส ี วดบทข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระเป็นเจ้า (หน้า 284)  พิธส ี มั ผัสหูและปาก (หน้า 283)  พิธเี ลือกผูไ ้ ด้รบั ศีลล้างบาป (หน้า 286)  พิธเี จิมน้ำมันแก่ผเู้ รียนคำสอน (หน้า 275) การเตรียมพิธใี นวันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิส์ ามารถจบด้วยบทภาวนาอวยพรให้กบั ผูไ้ ด้รบั เลือกสรร ดังต่อไปนี้ บทภาวนาสำหรับอวยพร ข้าแต่พระบิดาเจ้า พระองค์ประกาศแก่ทุกคนผ่านทางบรรดาประกาศก ผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิว์ า่ “จงชำระจิตใจให้บริสทุ ธิ”์ เพือ่ ท่านจะได้เกิดใหม่ในองค์พระจิต อาศัยพระคริสตเจ้า โปรดอวยพระพรแก่ข้ารับใช้ของพระองค์เหล่านี้ เพื่อพวกเขาจะได้เหมาะสมสำหรับการเตรียมตัวรับศีลล้างบาป โปรดทำให้พนั ธสัญญาของพระองค์สำเร็จด้วยการทำให้พวกเขาศักดิส์ ทิ ธิไ์ ป เพื่อจะได้เกิดใหม่ในฐานะบุตรบุญธรรม และเข้าร่วมในพระศาสนจักรของพระองค์ เราวอนขอทัง้ นี้ อาศัยพระบารมีพระคริสตเจ้า พระเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน


308

การประกอบศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการเริม่ ต้น (วันตื่นเฝ้าปัสกา) พิธีศีลล้างบาป การแนะนำตัวผู้สมัคร เมือ่ พระสงฆ์มาถึงทีล่ า้ งบาป สังฆานุกร หรือผูช้ ว่ ยพิธกี รรมขานชือ่ ผูส้ มัครให้ออก มาข้างหน้า พ่อแม่อปุ ถัมภ์นำผูส้ มัครออกมา แล้วยืน ที่โปรดศีลล้างบาปด้วยกัน

พระสงฆ์กล่าวเตือนใจผูม้ าร่วมพิธดี ว้ ยคำพูดต่อไปนี้ หรือทีค่ ล้ายคลึงกัน พี่น้องที่รัก ให้เราภาวนาต่อพระเป็นเจ้าผู้ทรงสรรพานุภาพเพื่อพี่น้อง ชายหญิงของเรา ชือ่ .........และชือ่ ............ผูข้ อรับศีลล้างบาป พระองค์ทรงเรียก และนำพวกเขามาทีน่ ่ี ขอพระองค์ประทานแสงสว่างและพละกำลังให้ตดิ ตาม พระคริสตเจ้า ด้วยจิตใจทีแ่ น่วแน่ และกล้ายืนยันความเชือ่ ในพระศาสนจักร ขอพระองค์ประทานชีวติ ใหม่แห่งองค์พระจิตเจ้า ซึง่ สถิตอยูเ่ หนือน้ำนีแ้ ก่ พวกเขาทั้งหลาย


309 บทร่ำวิงวอนนักบุญทั้งหลาย (Litany) ในบทร่ำวิงวอน จะเติมชือ่ ของนักบุญบางองค์อกี ก็ได้ โดยเฉพาะชือ่ นักบุญองค์อปุ ถัมภ์ของวัดหรือของท้องที่ กับชือ่ นักบุญองค์อปุ ถัมภ์ของผูท้ จ่ี ะรับศีลล้างบาป ข้าแต่พระเจ้า ขอทรงพระกรุณาเทอญ ข้าแต่พระเจ้า ขอทรงพระกรุณาเทอญ ข้าแต่พระคริสตเจ้าขอทรงพระกรุณาเทอญ ข้าแต่พระคริสตเจ้า ขอทรงพระกรุณาเทอญ ข้าแต่พระเจ้า ขอทรงพระกรุณาเทอญ ข้าแต่พระเจ้า ขอทรงพระกรุณาเทอญ สันตะมารีย์ พระชนนีแห่งพระเจ้า ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญ มีคาแอล ช่วยวิงวอนเทอญ เทวดาทั้งหลายของพระเจ้า ช่วยวิงวอนเทอญ ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญ โยเซฟ นักบุญ ยอห์น บัปติสต์ ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญ เปโตรและเปาโล ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญ อันดรูว์ ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญ ยอห์น ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญ มารีย์ ชาวมักดาลา ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญ สเตเฟน ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญ อิกญาซิโอ ชาวอันทิโอก ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญ ลอเรนซ์ นักบุญ เปแปร์ตอู าและเฟลีซติ สั นักบุญ อักเนส นักบุญ เกรโกรี

ช่วยวิงวอนเทอญ ช่วยวิงวอนเทอญ ช่วยวิงวอนเทอญ ช่วยวิงวอนเทอญ


310 นักบุญ เอากุสติน นักบุญ อาทานาสิโอ นักบุญ บาซีลโิ อ นักบุญ มาร์ตนิ นักบุญ เบเนดิก๊ นักบุญ ฟรันซิส และ ดอมีนกิ นักบุญ ฟรันซิส เซเวียร์

ช่วยวิงวอนเทอญ ช่วยวิงวอนเทอญ ช่วยวิงวอนเทอญ ช่วยวิงวอนเทอญ ช่วยวิงวอนเทอญ ช่วยวิงวอนเทอญ

ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญ ยอห์น มารีย์ เวียนเนย์ ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญ แคธริน ชาวเซียนา ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญ เทเรซา แห่งอาวิลา ช่วยวิงวอนเทอญ นักบุญชายหญิงทั้งหลายของพระเจ้า ช่วยวิงวอนเทอญ บุญราศีแห่งประเทศไทย ช่วยวิงวอนเทอญ โปรดเอ็นดูกรุณา ช่วยให้พน้ เถิด พระเจ้าข้า จากความชั่วทั้งมวล ช่วยให้พน้ เถิด พระเจ้าข้า จากความตายนิรันดร ช่วยให้พน้ เถิด พระเจ้าข้า เพราะเห็นแก่การบังเกิดเป็นมนุษย์ของพระองค์ ช่วยให้พน้ เถิด พระเจ้าข้า เพราะเห็นแก่การสิ้นพระชนม์และการกลับคืนชีพของพระองค์ ช่วยให้พน้ เถิด พระเจ้าข้า เพราะเห็นแก่การประทานพระคุณของพระจิต ช่วยให้พน้ เถิด พระเจ้าข้า ข้าพเจ้าทั้งหลายเป็นคนบาป ปรดสดับฟังเถิด พระเจ้าข้า ขอพระองค์โปรดให้ผู้เลือกสรรเหล่านี้ บังเกิดใหม่ด้วยพระหรรษทานแห่งศีลล้างบาป โปรดสดับฟังเถิด พระเจ้าข้า ข้าแต่พระเยซู พระบุตรแห่งพระเจ้าผูท้ รงชีวติ โปรดสดับฟังเถิด พระเจ้าข้า


311 ข้าแต่พระคริสตเจ้า โปรดฟังเถิด ข้าแต่พระคริสตเจ้า โปรดสดับฟังเถิด

ข้าแต่พระคริสตเจ้า โปรดฟังเถิด ข้าแต่พระคริสตเจ้า โปรดสดับฟังเถิด

บทภาวนาเสกน้ำล้างบาป พระสงฆ์เสกน้ำล้างบาป โดยมีเทียนปัสกา วางอยู่ข้างสถานที่ประกอบพิธีล้างบาป

พระสงฆ์พนมมือสวดบทภาวนาต่อไปนี้ ข้าแต่พระเป็นเจ้า ด้วยพระอานุภาพอันไม่ปรากฏแก่ตา พระองค์ทรงใช้เครื่องหมายของศีลศักดิ์สิทธิ์ทำให้บังเกิดผลอันน่าพิศวง และได้จัดเตรียมนั้นด้วยวิธีหลายประการ เพื่อแสดงให้เห็นพระหรรษทานของศีลล้างบาป ข้าแต่พระเป็นเจ้า พระจิตของพระองค์สถิตอยู่เหนือน้ำในตอนแรกที่สร้างโลก เพื่อให้น้ำเริ่มมีฤทธิ์ที่บันดาลความศักดิ์สิทธิ์ได้ตั้งแต่เวลานั้น


312 ข้าแต่พระเป็นเจ้า พระองค์ได้โปรดให้นำ้ วินาศเป็นรูปหมายถึงการบังเกิดใหม่ดว้ ยศีลล้างบาป เพื่อให้น้ำนี้เองเป็นจุดจบของความชั่วช้า และเป็นจุดเริ่มต้นของคุณธรรมทั้งปวง ข้าแต่พระเป็นเจ้า พระองค์ได้โปรดให้บตุ รหลานของอับราฮัมเดินผ่านทะเลแดงบนหนทางแห้ง เพื่อให้ชนชาติที่หลุดพ้นจากการเป็นทาสของกษัตริย์ฟาโรห์ เป็นรูปหมายถึงประชากรที่ได้รับศีลล้างบาป ข้าแต่พระเป็นเจ้า พระบุตรของพระองค์ เมือ่ ทรงรับพิธลี า้ งจากท่านยอห์น ในแม่น้ำจอร์แดนแล้ว ได้รับการเจิมจากพระจิต เมื่อพระองค์ท่านถูกตรึงอยู่บนไม้กางเขน ได้มีน้ำไหลออกจากด้านข้างของพระองค์ท่านพร้อมกับโลหิต และเมือ่ กลับคืนพระชนม์แล้ว พระองค์ทา่ นได้ตรัสกับบรรดาศิษย์วา่ “จงไปสัง่ สอนนานาชาติ ให้มาเป็นศิษย์ของเรา ทำพิธลี า้ งบาปให้เขา เดชะพระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต” ขอโปรดทอดพระเนตรมายังพระศาสนจักรของพระองค์ และโปรดให้ธารน้ำแห่งศีลล้างบาปไหลพวยพุ่งอยู่ในพระศาสนจักร ขอให้น้ำนี้ได้รับพระหรรษทานขององค์พระบุตรจากองค์พระจิตเจ้า เพื่อว่ามนุษย์ซึ่งทรงสร้างมาตามภาพลักษณ์ของพระองค์ จะได้รับการชำระให้หลุดพ้นจากมลทินดั้งเดิมทั้งสิ้นด้วยศีลล้างบาป สมจะบังเกิดใหม่ด้วยน้ำและพระจิต


313 พระสงฆ์เอาเทียนปัสกาจุ่มลงไปในน้ำ หนหนึง่ หรือสามหน พลางกล่าวว่า

โปรดเถิดพระเจ้าข้า โปรดให้พลานุภาพของพระจิตเจ้าลงมาในน้ำนี้ โดยทางพระบุตรของพระองค์เพื่อให้ทุกคนที่ฝังในความตายพร้อมกับพระคริสตเจ้าด้วยศีลล้างบาปได้กลับคืนชีพมีชวี ติ พร้อมกับพระองค์ทา่ นด้วย ทัง้ นี้ ขอพึง่ พระบารมีพระคริสตเจ้าของข้าพเจ้าทั้งหลาย ทุกคน อาแมน การประกาศละทิ้งบาป ประธานในพิธีถามผู้รับเลือกสรร


314 พระสงฆ์ ผู้สมัคร พระสงฆ์ ผู้สมัคร พระสงฆ์ ผู้สมัคร

ท่านละทิ้งปีศาจหรือ ข้าพเจ้าละทิ้ง ท่านละทิ้งกิจการทั้งสิ้นของมันด้วยหรือ ข้าพเจ้าละทิ้ง ท่านละทิ้งความโอ่อ่าฟุ้งเฟ้อทั้งสิ้นของมันด้วยหรือ ข้าพเจ้าละทิ้ง

การประกาศยืนยันความเชื่อ (Profession of Faith) พ่อแม่อุปถัมภ์บอกชื่อของผู้สมัคร กับพระสงฆ์

พระสงฆ์ ท่านเชือ่ ถึงพระเป็นเจ้า พระบิดาผูท้ รงสรรพานุภาพสร้างฟ้าดินหรือ ผู้สมัคร ข้าพเจ้าเชื่อ พระสงฆ์ ท่านเชื่อถึงพระเยซูคริสตเจ้า พระบุตรแต่องค์เดียวของพระองค์ พระเจ้าของเรา ทรงบังเกิดจากพระนางมารีย์พรหมจารี รับทรมาน และถูกฝังไว้ กลับคืนชีพจากบรรดาผูต้ าย และประทับเบือ้ งขวาพระบิดาหรือ ผู้สมัคร ข้าพเจ้าเชื่อ พระสงฆ์ ท่านเชื่อถึงพระจิต พระศาสนจักรศักดิ์สิทธิ์ สากล สหพันธ์นักบุญ การยกบาป การคืนชีพของเนือ้ หนังและชีวติ นิรนั ดรหรือ ผู้สมัคร ข้าพเจ้าเชื่อ


315 พิธีศีลล้างบาป (Baptism) พ่อแม่อปุ ถัมภ์วางมือบนบ่าของผูร้ บั ศีลล้างบาป ขณะล้างบาป พระสงฆ์ประกอบพิธลี า้ งบาปดังนี้

ชื่อ........................ข้าพเจ้าล้างท่านในพระนามของพระบิดา เทน้ำครั้งที่หนึ่ง และพระบุตร เทน้ำครั้งที่สอง และพระจิต เทน้ำครั้งที่สาม ประกาศต้อนรับผู้รับศีลล้างบาปใหม่ ทุกครัง้ ทีล่ า้ งบาป คริสตชนจะแสดง ความยินดีเพือ่ เป็นการต้อนรับสมาชิกใหม่ เข้าสู่พระศาสนจักร


316

คำอธิบายจารีตต่างๆ ก. การเจิมหลังรับศีลล้างบาป (พิธเี จิมจะข้ามไป ถ้ามีการโปรดศีลกำลังทันที) พระสงฆ์ภาวนาเพื่อผู้ได้รับศีลล้างบาปใหม่ว่า ข้าแต่พระเป็นเจ้าผู้ทรงสรรพานุภาพ พระบิดาของพระเยซู พระเจ้า ของข้าพเจ้าทัง้ หลาย พระองค์ทรงโปรดให้ทา่ นหลุดพ้นจากบาปและกลับมี ชีวิตใหม่อาศัยน้ำและพระจิต บัดนี้พระองค์ทรงเจิมท่านด้วยน้ำมันคริสมา แห่งความรอด เพื่อท่านจะได้ร่วมหมู่กับประชากรของพระองค์ จะได้เป็น ส่วนแห่งพระกายของพระคริสตเจ้าผู้ทรงเป็นสงฆ์ ประกาศกและกษัตริย์ ตลอดนิรันดร ผู้รับศีลล้างบาป อาแมน พระสงฆ์เจิมน้ำมันคริสมาที่กลางศีรษะ ของแต่ละคน


317 ข. การสวมชุดขาว ขณะทีพ่ ระสงฆ์กล่าวว่า: จงรับผ้าขาวนี้ พ่อแม่อุปถัมภ์คลุมผ้าขาวให้ผู้รับศีลล้างบาปใหม่ (สามารถใช้สอี น่ื แทนสีขาวได้ ถ้าตามประเพณี ท้องถิ่นมีความหมายที่ดี)

พระสงฆ์: ชือ่ ............และชือ่ .............ท่านได้เกิดใหม่และได้สวมพระคริสตเจ้าในตัวท่าน จงรับชุดแห่งศีลล้างบาปและรักษาไว้อย่าให้ด่างพร้อยจนถึงการพิพากษา ของพระเยซูคริสตเจ้า เพือ่ ท่านจะได้มชี วี ติ นิรนั ดร ผูร้ บั ศีลล้างบาป อาแมน ค. การมอบเทียนทีจ่ ดุ แล้ว พ่อแม่อุปถัมภ์จุดไฟจากเทียนปัสกา และส่งมอบให้ผรู้ บั ศีลล้างบาป พระสงฆ์พดู กับพ่อแม่อุปถัมภ์ว่า เชิญพ่อแม่อุปถัมภ์เข้ามามอบแสงสว่างของ พระคริสตเจ้าแก่ผู้รับศีลล้างบาป พระสงฆ์ภาวนาว่า


318 พระคริสตเจ้าทรงประทานความสว่างให้กับท่านแล้ว จงดำเนินชีวิต เยีย่ งบุตรแห่งความสว่าง และรักษาความเชือ่ ให้สว่างโชติชว่ งในดวงใจของ ท่าน เพื่อเมื่อพระคริสตเจ้าเสด็จกลับมา ท่านสามารถออกไปรับเสด็จ พระองค์พร้อมกับบรรดานักบุญในอาณาจักรสวรรค์ ผู้รับศีลล้างบาป อาแมน

หมายเหตุ ถ้ามีผรู้ บั ศีลล้างบาปแล้ว (คริสเตียน) จะรับความเชือ่ ในพระศาสนจักรคาทอลิก ดูหน้า 323


319 พิธีศีลกำลัง (Confirmation) หากพระสังฆราชไม่วา่ ง พระสงฆ์ผโู้ ปรดศีลล้างบาปสามารถโปรดศีลกำลังได้ เลย (RCIA 228 และ 46 ) พระสงฆ์ทกั ทายผูร้ บั ศีลล้างบาปว่า การเชิญ ผู้รับศีลล้างบาปที่รัก ท่านได้เกิดใหม่ในพระคริสตเจ้าประชากรสงฆ์ของพระองค์แล้ว บัดนี้ ท่านยังต้องรับพระจิตองค์เดียวกับที่คณะอัครสาวกได้รับ พระจิตที่พวกเขา และผู้สืบตำแหน่งได้เชิญเสด็จมายังผู้รับศีลล้างบาป ฉะนั้นท่านก็เช่นเดียวกันจะได้รับพละกำลังของพระจิต พละกำลังนี้จะ ทำให้ทา่ นเหมือนพระคริสตเจ้ายิง่ ขึน้ แล้วท่านจะได้ประกาศการสิน้ พระชนม์ และการกลับคืนชีพของพระองค์ ทัง้ จะได้เป็นสมาชิกร่วมงานกับพระศาสนจักร ในการเสริมสร้างพระกายของพระคริสตเจ้าด้วยความเชือ่ และความรัก พระสงฆ์หันมาหาคริสตชนกล่าวว่า พี่น้องให้เราวอนขอพระบิดาผู้ทรงสรรพานุภาพ โปรดส่งพระจิตมายัง ผูเ้ กิดใหม่ (เหล่านี)้ พระจิตจะประทานพระพรอย่างอุดมสมบูรณ์ บันดาลให้ คริสตชนใหม่เข้มแข็งมัน่ คง และทรงเจิมเขาให้เป็นเหมือนพระคริสต์ พระบุตร ของพระเจ้า (ทุกคนภาวนาส่วนตัวเงียบๆ)


320 การปกมือ

พระสงฆ์ปกมือเหนือผู้รับศีลกำลังภาวนาว่า ข้าแต่พระเป็นเจ้าผูท้ รงสรรพานุภาพ พระบิดาของพระเยซูเจ้า พระองค์โปรดให้ขา้ รับใช้ผนู้ ้ี (เหล่านี)้ เกิดใหม่ดว้ ยน้ำและพระจิต พ้นจากบาป โปรดส่งพระจิตมาประทับอยู่กับเขา ให้เขามีความปรีชาและสติปัญญา ความคิดอ่านและความเข้มแข็ง ความรู้และความเลื่อมใสศรัทธา อีกทั้งโปรดให้เขารับใช้พระองค์ด้วยความยำเกรง ทัง้ นี้ อาศัยพระบารมีพระคริสตเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน


321 การเจิมน้ำมันคริสมา นำน้ำมันคริสมาให้พระสงฆ์ (ควรใส่น้ำมันคริสมาในภาชนะทีใ่ หญ่ขนาดให้ทุกคนเห็นได้

พ่ อ แม่ อ ุ ป ถั ม ภ์ ว างมื อ บนบ่ า ของผู ้ สมั ค รและบอกชื ่ อ ของผู ้ ส มั ค รกั บ พระสงฆ์ พระสงฆ์ใช้หัวแม่มือ จุม่ น้ำมันคริสมา และทำเครือ่ งหมายกางเขนที่หน้าผากของผู้รับศีลกำลังกล่าวว่า ชือ่ ..............จงรับเครือ่ งหมายของพระจิตเจ้า ซึง่ พระบิดาประทานให้ ผู้รับศีลกำลัง อาแมน พระสงฆ์ สันติจงอยู่กับท่านเสมอ ผู้รับศีลกำลัง และอยู่กับท่านด้วย


322 พิธีศีลมหาสนิท

หลังจากเสร็จพิธรี บั ศีลกำลังสามารถนำผูร้ บั ศีลล้างบาปใหม่เข้าร่วมกับคริสตชนอืน่ ๆ  บทภาวนาเพือ ่ มวลชน ต่อทันที  ให้ผู้รับศีลล้างบาปใหม่บางคนร่วมในขบวนถือของถวายเข้ามายังพระแท่น  ควรให้ผร ู้ บั ศีลล้างบาปใหม่ พ่อแม่อปุ ถัมภ์ คูส่ มรส บิดามารดาและครูคำสอน ได้รับศีลมหาสนิททั้งสองชนิด  ก่อนพูด “นี่คือลูกแกะพระเจ้า” พระสงฆ์ควรเตือนใจผู้รับศีลล้างบาปใหม่ว่า การรับศีลมหาสนิทเป็นช่วงสำคัญที่สุดของการเริ่มชีวิตในชุมชนคริสตชน  ควรสวดถึงผูร ้ บั ศีลล้างบาปใหม่ในบทภาวนาขอบพระคุณ (Eucharistic Prayers) 


323 ภาคผนวก

จารีตการต้อนรับเข้าในพระศาสนจักรคาทอลิก

การกล่าวต้อนรับ ให้ทกุ คนทีร่ ว่ มในพิธยี นื ขึน้ ต้อนรับพีน่ อ้ งทีร่ บั ศีลล้างบาปในนิกายอืน่ และสมัคร เข้าในพระศาสนจักรคาทอลิก ถือเทียนจุดอยู่ พระสงฆ์กล่าวทักทายด้วยคำพูดต่อไปนี้ หรือคล้ายคลึงกัน พี่น้องที่รักยิ่ง เราทุกคนได้เข้าเป็นสมาชิกในครอบครัวของพระเป็นเจ้า ร่วมเป็นศิษย์ ติดตามพระคริสตเจ้าอาศัยศีลล้างบาป บัดนี้ ให้เรารือ้ ฟืน้ คำสัญญาแห่ง ศีลล้างบาป ด้วยการปฏิเสธปีศาจและกิจการทั้งสิ้นของมัน พร้อมกับสัญญา จะรับใช้พระเป็นเจ้าด้วยความซื่อสัตย์ เราทุกคนมีความยินดีทเ่ี พือ่ นๆ ของเราเหล่านี้ ปรารถนาจะเข้าร่วมใน พระศาสนจักรคาทอลิก เราทุกคนจะร่วมในหนทางแห่งความเชื่อและช่วย เหลือซึง่ กันและกัน พร้อมกับท่านทัง้ หลายด้วยการเป็นหนึง่ เดียวกันในความรัก ด้วยเหตุน้ี ให้เรารือ้ ฟืน้ คำสัญญาแห่งศีลล้างบาป บทละทิ้งบาป พระสงฆ์ ท่านละทิง้ บาป เพือ่ เจริญชีวติ เป็นอิสระในฐานะบุตรของพระเป็นเจ้า หรือ ผู้สมัคร ข้าพเจ้าละทิ้ง พระสงฆ์ ท่านละทิง้ ความอธรรมและความชัว่ เพือ่ มิให้บาปครอบงำท่านหรือ ผู้สมัคร ข้าพเจ้าละทิ้ง พระสงฆ์ ท่านละทิง้ ปีศาจ ซึง่ เป็นจอมมารและเจ้าแห่งความมืดหรือ ผู้สมัคร ข้าพเจ้าละทิ้ง


324 การประกาศยืนยันความเชื่อ พระสงฆ์ ผู้สมัคร พระสงฆ์

ผู้สมัคร พระสงฆ์ ผู้สมัคร

ท่านเชือ่ ถึงพระเป็นเจ้า พระบิดาทรงสรรพานุภาพสร้างฟ้าดินหรือ ข้าพเจ้าเชื่อ ท่านเชือ่ ถึงพระเยซูคริสตเจ้า พระเอกบุตรของพระองค์ พระเจ้า ของเราทรงบังเกิดจากพระนางมารีย์พรหมจารี รับทรมานและ ถูกฝังไว้ ทรงกลับคืนชีพจากบรรดาผู้ตาย ประทับอยู่เบื้องขวา พระบิดาหรือ ข้าพเจ้าเชื่อ ท่านเชือ่ ถึงพระจิต พระศาสนจักรศักดิส์ ทิ ธิ์ สากล สหพันธ์นกั บุญ การยกบาป การคืนชีพของเนือ้ หนัง และชีวติ นิรนั ดรหรือ ข้าพเจ้าเชื่อ

พรมน้ำแห่งศีลล้างบาป (Sprinkling with Baptismal Water) พระสงฆ์พรมน้ำแห่งศีลล้างบาปให้พี่น้องคริสตชนทุกคนเป็นการรื้อฟื้นศีลล้างบาป ขณะพรมน้ำเสกมีการขับเพลง VIDI AQUAM เพลงลูกสัญญา พระสงฆ์สรุปโดยภาวนาว่า ข้าแต่พระเป็นเจ้า พระบิดาผู้ทรงสรรพานุภาพ พระองค์ทรงโปรดให้ เราได้เกิดใหม่ด้วยน้ำและพระจิต อีกยังทรงอภัยบาปทั้งสิ้นของเรา ขอโปรดให้เราซื่อสัตย์ต่อพระคริสตเจ้า พระเจ้าของเราตลอดไปด้วยเทอญ ทุกคน อาแมน


325 พิธีต้อนรับ พระสงฆ์เชิญผูส้ มัครกับพ่อแม่อปุ ถัมภ์ออกมาต่อหน้าชุมชน เพือ่ ยืนยันความเชือ่ พระสงฆ์ ชื่อ..............และชื่อ..........ตามความประสงค์ของท่าน ท่านสมัครเข้าใน พระศาสนจักรคาทอลิก ท่านได้ตัดสินใจอย่างรอบคอบ อาศัยการนำ ของพระจิตเจ้า บัดนี้ ข้าพเจ้าขอเชิญท่านออกมาข้างหน้าพร้อมกับพ่อแม่อุปถัมภ์เพื่อ ปฏิญาณตามความเชื่อของคาทอลิก อาศัยความเชื่อนี้ ท่านจะเป็น หนึง่ เดียวกับเราเป็นครัง้ แรกด้วยการร่วมโต๊ะศีลมหาสนิทของพระคริสตเจ้า อันเป็นเครื่องหมายของความเป็นหนึ่งเดียวของพระศาสนจักร ผู้สมัคร (พูดตามพระสงฆ์) ข้าพเจ้าเชื่อและขอปฏิญาณทุกข้อที่พระศาสนจักรคาทอลิกเชื่อ สั่งสอน และประกาศ ซึง่ ได้รบั การเผยแสดงจากพระเป็นเจ้า พิธีรับผู้สมัคร ผู้สมัครออกมาพร้อมกับพ่อแม่อุปถัมภ์ทีละคู่ พระสงฆ์กล่าวกับผู้สมัครทีละคนว่า: (วางมือขวาบนศีรษะ ผูส้ มัคร) ชื่อ.........พระเจ้าทรงรับท่านเข้าในพระศาสนจักรคาทอลิกแล้ว พระองค์ ทรงนำท่านมา ณ ทีน่ เ้ี พือ่ เป็นหนึง่ เดียวกับพระจิต ด้วยพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์ และร่วมกับเราในความเชือ่ ซึง่ ท่านปฏิญาณต่อหน้าพีน่ อ้ ง ในครอบครัวนี้ ในวันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ผู้รับศีลล้างบาปใหม่

ผูร้ บั ศีลล้างบาปในวันนัน้ จะประกาศยืนยันความเชือ่ ร่วมกับ


326 พิธีรับศีลกำลัง ผู้รับศีลล้างบาปกับพ่อแม่อุปถัมภ์ออกมายืนต่อหน้าพระสงฆ์เพื่อรับศีลกำลัง พระสงฆ์ พี่น้องที่รัก ท่านเกิดใหม่ในพระคริสตเจ้า ประชากรสงฆ์ของ พระองค์แล้ว บัดนี้ ท่านยังต้องรับพระจิตองค์เดียวกับทีค่ ณะอัครสาวก ได้รับ พระจิตที่พวกเขาและผู้สืบตำแหน่งได้เชิญเสด็จมายังผู้รับศีลล้างบาป ฉะนัน้ ท่านก็เช่นกันจะได้รบั พละกำลังของพระจิต พละกำลังนี้ จะทำให้ทา่ นเหมือนพระคริสตเจ้ายิง่ ขึน้ แล้วท่านจะได้ประกาศพระมหาทรมาน การสิน้ พระชนม์ และการกลับคืนชีพของพระองค์ ทัง้ จะ ได้เป็นสมาชิกร่วมงานกับพระศาสนจักร ในการเสริมสร้างพระกายของ พระคริสตเจ้าด้วยความเชื่อและความรัก พระสงฆ์หนั หน้ามาหาสัตบุรษุ กล่าวว่า พีน่ อ้ ง ให้เราวอนขอพระบิดาผูท้ รงสรรพานุภาพโปรดส่งพระจิต มายังผูเ้ กิดใหม่ (เหล่านี)้ พระจิตจะได้ประทานพระพรอย่างอุดมสมบูรณ์ บันดาลให้เขาเข้มแข็งมั่นคง และจะได้เจิมเขาให้เป็นเหมือนพระคริสต์ พระบุตรของพระเป็นเจ้ายิ่งขึ้น


327 การปกมือ พระสงฆ์ปกมือเหนือกลุ่มผู้รับศีลกำลัง และภาวนาต่อไปว่า

ข้าแต่พระเป็นเจ้าผูท้ รงสรรพานุภาพ พระบิดาของพระเยซูคริสตเจ้า พระองค์โปรดให้ขา้ รับใช้ผนู้ ้ี (เหล่านี)้ เกิดใหม่ดว้ ยน้ำและพระจิต พ้นจากบาป โปรดส่งพระจิตมาประทับอยู่กบั เขา ให้เขามีความปรีชาฉลาดและสติปัญญา ความคิดอ่านและความเข้มแข็ง ความรู้และความเลื่อมใสศรัทธา อีกทั้งโปรดให้เขารับใช้พระองค์ด้วยความยำเกรง ทัง้ นี้ อาศัยพระบารมีพระคริสตเจ้าของข้าพเจ้าทัง้ หลาย ทุกคน อาแมน


328 การเจิมด้วยน้ำมันคริสมา ให้มีการแห่น้ำมันคริสมาเข้ามาให้พระสงฆ์ (ควรใส่น้ำมันคริสมาในภาชนะใหญ่ที่ทุกคน เห็นได้)

พ่อแม่อุปถัมภ์วางมือบนบ่าของผู้สมัคร และ บอกชือ่ ผูส้ มัครกับพระสงฆ์ พระสงฆ์ใช้ หัวแม่มือจุ่มน้ำมันคริสมาและทำเครื่องหมาย กางเขนที่หน้าผาก อันเป็นเครื่องหมายของ การรับศีลกำลังกล่าวว่า

ชื่อ...........................จงรับเครื่องหมายของพระจิตเจ้าซึ่งพระบิดาประทานให้ ผู้รับศีลกำลัง อาแมน พระสงฆ์ สันติจงอยู่กับท่าน ผู้รับศีลกำลัง และอยู่กับท่านด้วย


329 จารีตแบบย่อของการเริ่มต้นชีวิตคริสตชน จารีต “การเข้าเป็นคริสตชนสำหรับผู้ใหญ่” เสนอให้ใช้รูปแบบย่อตามสถานการณ์ที่ เหมาะสม (RCIA 316-345) ข้อแนะนำคือ “ต้องแน่ใจว่าเป็นเพียงการใช้จารีตแบบ ย่อเท่านัน้ ... อาจทำให้ผสู้ มัครสูญเสียชีวติ ภายใน ... (RCIA 308)” คำแนะนำคือ “เพิม่ ” รูปแบบทีส่ น้ั ๆ ของจารีตเมือ่ มีโอกาส พ่อเจ้าวัดควรเลือกจารีตแบบเต็มๆ ก่อนแล้ว จึงเลือกจารีตแบบย่อ (RCIA 309-310) จารีตแบบย่อ 1. การรับผูส้ มัคร 2. การผ่านประตูวดั วจนพิธกี รรม บทภาวนาเพือ่ มวลชน 3. บทภาวนาละทิง้ ความชัว่ 4. การเจิมน้ำมันคริสตชนสำรอง 5. ศีลล้างบาป ศีลกำลัง ศีลมหาสนิท

หน้า หน้า หน้า หน้า หน้า

253-257 260-264 265 275 311-322

จารีตแบบย่อสามารถประกอบให้เสร็จได้ในการประกอบเพียงพิธีเดียว และควร ประกอบพิธีในวันอาทิตย์และถ้าเป็นไปได้ให้กลุ่มคริสตชนเข้ามามีส่วนร่วมพิธีด้วย


330

ข้อกำหนดของพระศาสนจักร ว่าด้วยเรือ่ งการจำศีลในเทศกาลมหาพรต เพื่อพี่น้องจะได้ดำเนินชีวิตอย่างถูกต้องตามจิตตารมณ์ของเทศกาลมหาพรต ดังนัน้ ขอให้พน่ี อ้ งได้ปฏิบตั ติ ามจิตตารมณ์ของพระศาสนจักรดังต่อไปนี้ 1. ตามบัญญัตขิ องพระเป็นเจ้า คริสตชนทุกคนต้องชดเชยใช้โทษบาปของตน ตามวิธกี ารของแต่ละคน และเพือ่ การปฏิบตั ริ ว่ มกัน จึงได้กำหนดวันชดเชยใช้โทษบาป ซึง่ คริสตชนจะได้สวดภาวนาปฏิบตั กิ จิ เมตตาปรานีและความรักเป็นพิเศษ เสียสละ ตนเอง และทำหน้าทีข่ องตนอย่างซือ่ สัตย์ (ม.1249) 2. ทุกวันศุกร์ตลอดปี และทุกวันในเทศกาลมหาพรต เป็นวันพลีกรรมใน พระศาสนจักรทัว่ ไป (ม.1250) 3. ทุกวันศุกร์ตลอดปี ยกเว้นวันฉลองใหญ่ เป็นวันอดเนือ้ หรืออาหารอืน่ ตาม ข้อกำหนดของสภาพระสังฆราชฯ วันพุธรับเถ้าและวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ เป็นวันอดเนื้อ และอดอาหาร (ม.1251) 4. คริสตชนทุกคนทีม่ อี ายุตง้ั แต่ 14 ปีบริบรู ณ์ขน้ึ ไป ต้องอดเนือ้ คริสตชน ทุกคนทีม่ อี ายุตง้ั แต่ 18 ปีบริบรู ณ์ขน้ึ ไป จนถึง 59 ปีบริบรู ณ์ ต้องอดอาหาร เป็นหน้าทีข่ องผูอ้ ภิบาลและบิดามารดา ทีจ่ ะต้องอบรมผูน้ อ้ ยทีย่ งั ไม่ตอ้ งถือกฎ การอดเนือ้ และอดอาหารให้เข้าใจจิตตารมณ์ของการพลีกรรม (ม.1252) สำหรับประเทศไทย อาศัยอำนาจตามมาตรา 1253 ของกฎหมายพระศาสนจักร สภาพระสังฆราชฯ จึงกำหนดวิธกี ารอดเนือ้ และอดอาหารดังต่อไปนี้


331 การอดเนื้อ ผูท้ ไ่ี ด้ปฏิบตั อิ ย่างใดอย่างหนึง่ ตามกำหนดนี้ ถือว่าได้ถอื ตามกฎการอดเนือ้ คือ ก. อดเนื้อ ข. ปฏิบตั กิ จิ ศรัทธานอกเหนือไปจากทีเ่ คยปฏิบตั ิ อาทิ เดินรูป 14 ภาค เฝ้าศีลมหาสนิท สวดสายประคำ ฯลฯ ค. ปฏิบตั กิ จิ เมตตาปรานี เช่น ให้ทานคนจน เยีย่ มคนเจ็บป่วย ฯลฯ ง. งดเว้นอาหารหรือสิง่ ทีเ่ คยปฏิบตั เิ ป็นประจำ อาทิ งดดืม่ สุราและเบียร์ งดสูบบุหรี่ จ. รูจ้ กั อดออมและละเว้นความฟุง้ เฟ้อต่างๆ การอดอาหาร หมายถึง การรับประทานอาหารอิม่ เพียงมือ้ เดียว



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.