ธวัชชัย สันติสุข
ISBN 978-616-316-015-7
กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ธวัชชัย สันติสุข
กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
คํานําในการพิมพครั้งที่ 3 หนังสือ “ปาของประเทศไทย” ฉบับพิมพครั้งแรก พ.ศ. 2549 และฉบับพิมพครั้งที่สอง พ.ศ. 2550 โดยกรม อุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื ไดรบั ความสนใจจากผูอ า นจํานวนมาก จนมีจาํ นวนไมเพียงพอกับความตองการ สํานักงานหอพรรณไมซงึ่ ในปจจุบนั สังกัดสํานักวิจยั การอนุรกั ษปา ไมและพันธุพ ชื กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุ พืช จึงไดจดั พิมพหนังสือ “ปาของประเทศไทย” ขึน้ เปนครัง้ ทีส่ าม โดยมีภาพประกอบและเนือ้ หาสาระเชนเดิม แตมกี าร แกไขเฉพาะคําผิดเทาทีป่ รากฏเพิม่ เติมเทานัน้ นอกจากนัน้ ยังไดปรับปรุงรูปเลมใหมใหดสู วยงามและเปนสัดสวนมากขึน้ ผูเ ขียนขอเรียนย้าํ วาเกณฑการจําแนกประเภทปาไมและสังคมพืชของประเทศไทยของหนังสือเลมนีอ้ ยูใ นกรอบกวางตาม แนวคิดที่วา ปาไมและสังคมพืชไดพัฒนาขึ้นมาตามธรรมชาติในชวงระยะเวลาอันยาวนานภายใตอิทธิพลของปจจัยสิ่ง แวดลอมในเขตรอนจนอยูในภาวะสมดุลสุดยอด (climax) เกือบสุดยอด (subclimax) หรืออยูในภาวะสุดยอดอันเนื่อง มาจากชีวปจจัย (disclimax) ในอดีตจนถึงปจจุบัน มีความสับสนเปนอยางมากในการเรียกชื่อและจําแนกประเภทปา ไมและสังคมพืชของประเทศไทย สาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากการนําแนวคิดและเกณฑการจําแนกปาไมและสังคมพืชตาม แบบนักการปาไมชาวตะวันตกมาใชกบั ปาไมเขตรอน (tropical forest) ซึง่ มีปจ จัยสิง่ แวดลอม โครงสรางของปาและองค ประกอบของพรรณพฤกษชาติในปาแตกตางโดยสิน้ เชิงจากปาไมเขตอบอุน (temperate forest) ปาผสมผลัดใบเขตรอน (tropical mixed deciduous forest) และปาผสมผลัดใบเขตอบอุน (temperate mixed deciduous forest) มีความ แตกตางกันอยางชัดเจน เนือ่ งจากถูกควบคุมโดยปจจัยหลักเกีย่ วกับอุณหภูมทิ แี่ ตกตางกัน การจําแนกปาไมออกเปนปา ไมเนือ้ ออน (softwood) และปาไมเนือ้ แข็ง (hardwood) ตามเกณฑการจําแนกประเภทปาเขตอบอุน จึงไมสามารถนํา มาประยุกตใชกบั ปาเขตรอนของประเทศไทย ซึง่ สวนใหญเปนปาไมเนือ้ แข็งแทบทัง้ สิน้ ผูเ ขียนไดนาํ ความรูด า นนิเวศปา ไมและพฤกษศาสตรปา ไมทไี่ ดศกึ ษาจากมหาวิทยาลัยทัง้ ในและตางประเทศ ตลอดจนความเชีย่ วชาญและประสบการณ ในการปฏิบัติงานภาคสนาม ในปาทั่วทุกภาคในประเทศไทยติดตอกันเปนเวลานานกวาสี่ทศวรรษ มาประมวลขึ้นเปน หนังสือ “ปาของประเทศไทย” ผูเขียนหวังวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนไมมากก็นอยตอผูอานที่มีความสนใจดาน พฤกษนิเวศ นิเวศปาไม พฤกษศาสตรปาไมและธรรมชาติวิทยาทั่วไปของประเทศไทย และขอนอมรับขอผิดพลาดอัน พึงจะบังเกิดและขอวิจารณสําหรับแกไขปรับปรุงในการจัดพิมพครั้งตอไป และขอขอบคุณกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ที่ไดสนับสนุนการจัดพิมพหนังสือ “ปาของประเทศไทย” ขึ้นใหมเปนครั้งที่สาม
ศาสตราจารยพิเศษ ดร. ธวัชชัย สันติสุข, ราชบัณฑิต ที่ปรึกษาดานพฤกษศาสตรปาไมและความหลากหลายทางชีวภาพ สํานักงานหอพรรณไม สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กรกฎาคม ๒๕๕๕
3
สารบัญ
4
หนา
คํานํา
5
บทนํา
7
ปาของประเทศไทยและปจจัยที่เกี่ยวของกับชนิดของปาไม ลมฟาอากาศ (climatic) ชนิดของดิน-หิน (edaphic) ความสูงเหนือระดับทะเลปานกลาง (elevation) ชีวปจจัย (biotic)
9 9 9 13 13
ชนิดปาของประเทศไทย ปาไมผลัดใบ (evergreen forest) ปาดิบชื้น (tropical evergreen rain forest หรือ tropical rain forest) ปาดิบแลง (seasonal rain forest, semi-evergreen forest หรือ dry evergreen forest) ปาดิบเขาต่ํา (lower montane rain forest) ปาไมกอ (lower montane oak forest) ปาไมกอ-ไมสน (lower montane pine-oak forest) ปาไมสนเขา (lower montane coniferous forest) ปาละเมาะเขาต่ํา (lower montane scrub) ปาดิบเขาสูงหรือปาเมฆ (upper montane rain forest หรือ cloud forest) ปาละเมาะเขาสูง (upper montane scrub) แองพรุภูเขา (montane peat bog หรือ sphagnum bog) ปาชายเลนหรือปาโกงกาง (mangrove forest) ปาพรุ (peat swamp forest หรือ coastal peat swamp forest) ปาบึงน้ําจืด หรือปาบุง-ทาม (freshwater swamp forest) สังคมพืชชายหาด (strand vegetation) ปาผลัดใบ (deciduous forest) ปาเบญจพรรณหรือปาผสมผลัดใบ (mixed deciduous forest) ปาเต็งรัง (deciduous dipterocarp forest หรือ dry dipterocarp forest) ปาเต็งรัง-ไมสน (pine-deciduous dipterocarp forest) บรรณานุกรม ดรรชนีชื่อพรรณไม
13 13 14 21 33 39 45 48 48 56 59 63 65 71 73 78 81 81 91 99 104 105
บทนํา ประเทศไทยตั้งอยูระหวางเสนละติจูด (เสนรุง) 5 ํ–21 ํ เหนือ และระหวางเสนลองจิจูด (เสน แวง) ที่ 97 ํ–106 ํ ตะวันออก มีเนื้อที่ท้งั หมดประมาณ 320,696,888 ไร หรือประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร มีระยะทางจากเขตแดนใต ดานทิศเหนือถึงใตสดุ ประมาณ 1,620 กิโลเมตร สวนกวาง ทีส่ ดุ จากเขตแดนทิศตะวันออกถึงเขตแดนทิศตะวันตกประมาณ 750 กิโลเมตร พืน้ ทีต่ งั้ ของประเทศไทย จึงอยูในภูมิอากาศเขตรอน (tropic) เนื่องจากมีระยะหางของเสนละติจูดไมมากนัก อยางไรก็ตาม ประเทศไทยมีเทือกเขาสูงตามภูมิภาคตางๆ ที่กอใหเกิดความแตกตางของลมฟาอากาศเฉพาะแหลง (microclimate) นอกจากนีย้ ังมีความแตกตางของสภาพดินหิน และภูมิประเทศ เหลานีเ้ ปนปจจัยรวมที่ กอใหเกิด ความหลากหลายทางชีวภาพในอัตราสูงขึ้นไดในประเทศ ไดแก ความหลากหลายของระบบ นิเวศหรือถิ่นที่อยู หรือชนิดปาที่หลากหลาย (habitat diversity) ความหลากหลายของชนิด (species diversity) ตลอดจนความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) เมื่อป พ.ศ. 2504 ประเทศไทยมีปาปกคลุมพื้นที่ถึง 171 ลานไร (หรือประมาณรอยละ 53) เนือ้ ทีป่ า ของประเทศ ไดถกู ทําลายและใชประโยชนจากการเพิม่ ของประชากร และการพัฒนาสังคมและ เศรษฐกิจของประเทศอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะในชวงหาทศวรรษที่ผานมา จนในป พ.ศ. 2551 เนือ้ ที่ปา ของประเทศลดลงเหลือเพียง 96 ลานไร (หรือประมาณรอยละ 30) พื้นที่ปาที่เหลือสวนใหญกระจาย ตามเทือกเขาแนวชายแดนไทย-พมา เขตจังหวัดเชียงราย เชียงใหม แมฮองสอน ตาก กาญจนบุรี และ เพชรบุรี ลงไปถึงภาคใตในเขตจังหวัด ระนอง พังงา สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช จนสุดชายแดนไทยมาเลเซีย ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีเนื้อที่ปาเหลือนอยที่สุด จะพบปากระจายอยูเฉพาะในเขต จังหวัดชัยภูมิ เลย อุดรธานี สกลนคร นครราชสีมา และอุบลราชธานี นอกจากนั้นมีปาอยูบางในบริเวณ รอยตอ 5 จังหวัด ไดแก สระแกว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง และจันทบุรี พืน้ ทีป่ า และสังคมพืชตามธรรมชาติทเี่ หลือในปจจุบนั สวนใหญอยูใ นพืน้ ทีเ่ ขตปาอนุรกั ษ ไดแก อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา และพื้นที่ตนน้ําลําธาร ซึ่งไดรับความคุมครองดวยกฎหมายปา ไมหลายฉบับ ปาและสังคมพืชทุกชนิด ทีเ่ คยมีอยูต งั้ แตดงั้ เดิม ในปจจุบนั ยังคงเหลืออยูบ า งตามพืน้ ทีป่ า อนุรักษทั่วประเทศ ถึงแมวาพื้นที่ปาบางประเภทจะถูกรบกวนและอยูในภาวะถดถอย ปาและสังคมพืช เหลานี้เปนถิ่นที่อยูที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอการดํารงอยูของพืช สัตว และจุลินทรีย การบริหารและ การจัดการปาอนุรักษในยุคปจจุบันจึงตองการความเขาใจอยางถองแทเกี่ยวกับ ลักษณะโครงสราง และ องคประกอบของพรรณพืชของปาชนิดตางๆ เพื่อใหปาอํานวยประโยชนอยางยั่งยืนและการอนุรักษ ทรัพยากรปาไมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ แนวคิดในการจําแนกประเภทปาไมและสังคมพืชของประเทศไทยในอดีตเปนไปอยางกวางๆ ปา และสังคมพืชบางชนิดถูกจําแนกโดยขาดหลักเกณฑ ทําใหเกิดความสับสนในการเรียกชื่อหรือระบุชนิด ปาและสังคมพืชของประเทศไทย วัตถุประสงคของหนังสือเลมนี้ก็เพื่อหาเกณฑยุติหรือเกณฑที่ยอมรับ กันทัว่ ไป ในการจําแนกประเภทปาและสังคมพืชในเขตรอนโดยเฉพาะของประเทศไทย โดยเนนถึงสภาพ ปาหรือสังคมพืชดัง้ เดิมตามธรรมชาติ ทีไ่ ดพฒ ั นาขึน้ มาในชวงเวลาอันยาวนานจนกลายมาเปนปาสุดยอด (climax forest) โดยใชขอ มูลดานองคประกอบของพรรณพฤกษชาติ (floristic composition) ในปาเปนพืน้ ฐานในการวิเคราะห 5
»†Ò¢Í§»ÃÐà·Èä·Â »˜¨¨Ñ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñºª¹Ô´»†ÒäÁŒ ปจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลกอใหเกิดปาและสังคมพืชชนิดตางๆ ในประเทศไทย ไมไดเกิดจากปจจัยหนึ่งปจจัยใดโดยเฉพาะ แตเกิดจากปฏิกิริยารวมกัน ระหวางปจจัยมากนอยแตกตางกันไป (ตารางที่ 1) ปจจัยสําคัญที่กอให เกิดปาหรือสังคมพืชชนิดตางๆ ในประเทศไทย พอสรุปไดอยางกวางๆ คือ 1. ลมฟาอากาศ (climatic) โดยเฉพาะฤดูกาลและปริมาณของฝนเฉลี่ยรายป ตลอดจนการกระจายของฝน (จํานวนวันที่ฝนตก) ในแตละป เนื่องจากประเทศไทยตั้ง อยูในแนวเขตที่มีการแบงแยกฤดูกาลระหวางฤดูฝนและฤดูแลงชัดเจน (seasonal) ไดแก พื้นที่ภาคกลาง (ตั้งแตบริเวณเหนือจังหวัดชุมพร) ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี ปริมาณฝนเฉลีย่ รายปประมาณ 1,050–1,470 มม. จํานวนวันฝนตกเฉลีย่ รายป ระหวาง 75–97 วัน สวนใหญฝนตก ในชวงเดือนพฤษภาคม–ตุลาคม ปาสวนใหญของภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนปาชนิดที่ผลัดใบ (deciduous forest) ในฤดู แลง (พฤศจิกายน–เมษายน) แทบทั้งสิ้น ไดแก ปาเบญจพรรณ หรือ ปาผสมผลัดใบและ ปาเต็งรัง ยกเวนพื้นที่บริเวณหุบเขาที่ชุมชื้น พื้นที่ริมลําธาร แมน้ํา ซึ่งมีความชุมชื้นตลอด ป ปาที่ขึ้นอยูจะเปลี่ยนสภาพไปเปนปาชนิดที่ไมผลัดใบ (evergreen forest) ไดแก ปาดิบ แลง (seasonal rain forest หรือ semi-evergreen forest หรือ dry evergreen forest) พื้นที่ภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงใต ซึ่งมีปริมาณฝนเฉลี่ยรายปประมาณ 1,760–3,140 มม. จํานวนวันฝนตกเฉลี่ยรายป ระหวาง 102–150 วัน ในเขตจังหวัด ระนอง และตราด บางปปริมาณฝนเฉลี่ยรายปสูงถึง 4,000 มม. ปาสวนใหญของภาคดัง กลาวเปนปาชนิดที่ไมผลัดใบ (evergreen) บริเวณที่มีฝนตกชุกและมีชวงฤดูแลงที่คอน ขางสัน้ หรือเกือบจะไมมฤี ดูกาลทีแ่ บงแยกเปนฤดูแลงและฤดูฝนชัดเจน (everwet) ปาสวน ใหญเปนปาดิบชื้น (tropical evergreen rain forest) ไดแก บริเวณภาคใตตอนลางและ จังหวัดตราด บริเวณอื่นที่มีชวงฤดูแลงชัดเจน (3–4 เดือน) จะมีไมผลัดใบ (deciduous tree) ขึ้นแทรกกระจายในหมูไมไมผลัดใบ (evergreen tree) ปาประเภทนี้จึงมีลักษณะ โครงสรางคลายปาดิบแลงของภาคอืน่ ๆ แตจะแตกตางกันบางในองคประกอบชนิดพรรณ ไม (floristic composition) กลาวไดวา ลมฟาอากาศเปนปจจัยที่สําคัญที่สุดที่กอใหเกิด ปาชนิดตางๆ (climatic formation) ในประเทศไทย
ภาพที่ 1 แสดงปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายปในประเทศไทยในชวงเวลา 30 ป (พ.ศ. 2494–2523) แหลงขอมูล : กรมอุตุนิยมวิทยา (2525)
8
ภาพที่ 2 แผนภาพ 2-มิติ ของพื้นที่ประเทศไทย ตั้งแตระดับทะเลปานกลาง จนถึงระดับสูงสุดที่ดอย อินทนนท (2,565 เมตร) แสดงการกระจายของปาชนิดตางๆ ในแผนดินที่ไมใชพ้ืนที่ชุมน้ํา (wetland) ทั้งในเขตพื้นที่ระดับต่ํา (lowland zone) ไดแก ปาดิบชื้น TERF, ปาดิบแลง SRF, ปาเบญจพรรณ MDF และปาเต็งรัง DDF และปาในเขตพื้นที่ระดับสูงบนภูเขา (montane zone) ไดแกปาดิบเขาต่ํา LMF และปาดิบเขาสูง UMF ที่มีความสัมพันธกับปจจัยสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะความชุมชื้นในดินและบรรยากาศ (moisture gradient) ในสภาพชุมชื้น (mesic) และสภาพแลง (xeric) เหลานีม้ อี ทิ ธิพลตอชวงเวลาการรวงหลนของใบไม (leaf duration) แบบ ไมผลัดใบ (evergreen) หรือผลัดใบ (deciduous) ลักษณะเรือนยอดชั้นบนของตนไมในปา (main canopy) อาจจะมีเรือนยอดชิดตอเนือ่ งกัน (closed) หรือเรือนยอดเปด (open) ทัง้ นีจ้ ะสัมพันธ กับการปรากฏของพืชพื้นลาง โดยเฉพาะพืชจําพวกหญาและไผ (graminoid undergrowth) ที่ อาจจะมีนอ ยหรือไมปรากฏ (few or none) จนถึงหนาแนน (abundant) ปาเต็งรังบางทองที่ จะมีสนสองใบและสนสามใบ (pines) ขึ้นปะปน (DDF + P) เชนเดียวกับปาดิบเขาต่ําที่ถูก รบกวนหรือปาดิบเขาต่ําแบบทุติยภูมิ (secondary) จะพบ pines ขึ้นปะปนทั่วไป (LMF + P) 9
ตารางที่ 1 ปจจัยสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอการกระจายของสังคมพืชและปาธรรมชาติชนิดตางๆ ของประเทศไทย
ชนิดปา ปาไมผลัดใบ EVERGREEN FOREST
1. ปาดิบชื้น Tropical evergreen rain forest 2. ปาดิบแลง Seasonal rain f. / Dry evergreen forest 3. ปาดิบเขาต่ํา Lower montane rain forest 4. ปาไมกอ Lower montane oak forest 5. ปาไมกอ-ไมสน Lower montane pine-oak forest 6. ปาไมสนเขา Lower montane coniferous forest 7. ปาละเมาะเขาต่ํา Lower montane scrub 8. ปาดิบเขาสูง Upper montane rain forest 9. ปาละเมาะเขาสูง Upper montane scrub 10. แองพรุภูเขา Montane peat bog or sphagnum bog 11. ปาชายเลน Mangrove forest 12. ปาพรุ Peat swamp forest 13. ปาบึงน้ําจืด, ปาบุง-ทาม Freshwater swamp forest 14. สังคมพืชชายหาด (หาดทรายและโขดหิน) Strand vegetion (sand strand, sand dune & rock strand) ปาผลัดใบ DECIDUOUS FOREST 15. ปาเบญจพรรณ, ปาผสมผลัดใบ Mixed deciduous forest 16. ปาเต็งรัง Deciduous dipterocarp forest 17. ปาเต็งรัง-ไมสน Pine-deciduous dipterocarp forest 10
ปจจัย ลมฟาอากาศ สภาพดิน-หิน ชีวปจจัย
ความสูงจากระดับน้ําทะเล
++
+
–800 (–900)
++
+
–800 (–900)
++
+
(900–) 1000–1800 (–1900)
++
+
+
(700–) 1000–2000
++
++
++
(700–) 1000–1400 (–1800)
++
++
++
++
++
+
++
++
+
1900–2300
++
++
+
1200–2500
+
++
0–20
++
++
0–30
+
++
5–200
+
++
0–20
+
++
++
800 (–900)
+
++
++
–600 (–900)
+
++
++
(70–) 150–1200 (–1350)
1100–1500 +
1200–1800 (1900–) 2000–2565
2. ชนิดของดินหิน (edaphic) บริเวณที่มีดินลึกอุดมสมบูรณ เก็บความชุมชื้นไวไดมากหรือนอยตลอดป จะเปน ปจจัยกําหนดชนิดปาที่ขึ้นอยูแตกตางกันไปไดอยางมาก จากปาบนพื้นที่มีดินตื้น ไมสมบูรณ แหงแลงและไมสามารถเก็บ ความชุม ชืน้ ในดินไวในฤดูแลงได ในทองถิน่ ทีม่ ีฤดูฝนและฤดูแลงแยกกันชัดเจน ปาสวนใหญ จะเปนประเภทปาผลัดใบดัง กลาวแลว ในบริเวณนีห้ ากพืน้ ทีม่ ดี นิ ดีคอ นขางอุดมสมบูรณกจ็ ะเปนปาผสมผลัดใบหรือปาเบญจพรรณ (mixed deciduous forest) โดยเฉพาะถาเปนดินที่สลายมาจากหินปูน (limestone) มักจะพบไมสักขึ้นเปนกลุมๆ หนาแนน สวนในที่ดินตื้น หรือดินปนทราย ดินปนลูกรัง มักจะเปนปาเต็งรัง ปาแดง หรือปาแพะ (deciduous dipterocarp forest) เปนที่นาสังเกต วา ปาเต็งรังชอบดินที่มีสภาพเปนกรด จะไมพบปาเต็งรังตามภูเขาหินปูนทั่วไป จะพบแตเพียงรัง Shorea siamensis ที่ สามารถขึ้นอยูไดในปาผลัดใบตามภูเขาหินปูน พืน้ ทีต่ ามชายฝง ทะเลมีนา้ํ ทะเลทวมถึงเปนดินเลน จะพบปาโกงกางหรือปาชายเลน (mangrove forest) สวนพืน้ ที่ ริมฝงน้ําของแมน้ําหรือลําคลองใหญที่ในฤดูฝนน้ําจะลนตลิ่งเออทวมขังอยูบาง พื้นที่เปลี่ยนสภาพเปนพรุ ปาจะเปนชนิด ปาบึงน้ําจืด หรือปาบุง-ทาม (freshwater swamp forest) บางพื้นที่ที่มีการขังของน้ําจืดอยางถาวร และมีการทับถมของ ซากอินทรียวัตถุที่ไมคอยผุสลาย ปาจะมีลักษณะเปนปาพรุ (peat swamp forest) 3. ความสูงเหนือระดับทะเลปานกลาง (elevation) มีความสัมพันธโดยตรงกับอุณหภูมิ (temperature) และความ ชุมชื้นในอากาศ (atmospheric humidity) ภูเขาในเขตรอนจะมีอุณหภูมิลดลง โดยเฉลี่ย 0.4–0.7 oC ตอระดับความสูง ที่เพิ่มขึ้นประมาณ 100 เมตร อุณหภูมิเฉลี่ยยิ่งลดลงมากบนภูเขาสูงประกอบกับความชุมชื้นที่มีมากขึ้น จากเมฆ/หมอก ที่มักจะปกคลุมสันเขาและยอดเขาที่สูงเกินกวา 1,000 เมตร ตั้งแตระดับความสูงประมาณ 1,900–2,565 เมตร จะอยู ในแนวเขตปกคลุมของเมฆ/หมอกเกือบตลอดป บางครั้งเรียกปาในเขตนี้วา “ปาเมฆ” หรือ “cloud forest” ปาสวนใหญ จะเปนประเภทปาไมผลัดใบ ประกอบดวยพรรณไมเขตอบอุน (temperate) และพรรณไมเขตภูเขา (montane) จํานวน มาก (ภาพที่ 3) ภูเขาสูงบางแหงที่มียอดเขาและสันเขาเปดโลงประกอบดวยหินกอนใหญมากกวาชั้นดิน จะมีพรรณไมใน เขตอบอุนขึ้นปกคลุมเปนหยอมเล็กๆ ตามซอกหิน ดูคลายสังคมพืชกลุมอัลไพน (subalpine vegetation) เชนบริเวณ สันเขาและยอดเขาระดับ 1,900–2,180 เมตร บนดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม 4. ชีวปจจัย (biotic) ไดแก ปาที่เกิดขึ้นจากมนุษยที่กอใหเกิดผลกระทบโดยทางตรงหรือทางออม ไฟปาที่เกิดขึ้น ประจําปในชวงฤดูแลงสวนใหญเกิดจากการจุดไฟเผานา-ไร หรือจุดเผาพืชพื้นลางในปา เพื่อลาสัตวหรือเก็บเห็ด ฯลฯ ไฟ ปาทีเ่ กิดขึน้ เปนประจําโดยเฉพาะในปาผลัดใบ ทําใหเกิดปาผสมผลัดใบหรือปาเบญจพรรณและปาเต็งรังขึน้ การเลีย้ งสัตว ในปาและการแผวถางปา ทําใหปาธรรมชาติดั้งเดิมเปลี่ยนสภาพเปนปารุน ปาใสออนหรือปาเหลา (secondary growth) อันทําใหเกิดความสับสนในการระบุสังคมพืชประเภทนี้ที่จัดเปนสังคมพืชในชวงระยะทดแทน (successional stage) ไฟ ปาจัดเปนปจจัยสําคัญทีม่ สี ว นทําใหชนิดปาและสังคมพืชเปลีย่ นแปลงไปได โดยเฉพาะปาผลัดใบทีม่ เี ศษไม ใบไมรว งหลน เปนเชื้อเพลิงอยูมาก จึงเกิดไฟไหมลุกลามไปตามพื้นลางของปาเปนประจําทุกป พรรณไมในปาประเภทนี้ จําเปนจะตอง ปรับตัวใหเขากับไฟปา กลาวคือ มีเปลือกหนา ระบบรากแข็งแรง ทนไฟ เชน พรรณไมในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ ซึ่งจัด เปนปาประเภทที่อยูควบคูกับไฟ เรียกวาเปน fire climax community ถาหากปองกันไฟปาไดติดตอกันนานหลายป ชนิด พรรณไมและลักษณะโครงสรางในปาผลัดใบดังกลาวจะเปลี่ยนไป
11
ª¹Ô´»†Ò¢Í§»ÃÐà·Èä·Â
ประเทศไทยประกอบดวยปาหลายชนิด จําแนกออกไดเปนสองประเภทใหญๆ คือ ปาไมผลัด ใบ (evergreen forest) และปาผลัดใบ (deciduous forest) ปาไมผลัดใบ มีเรือนยอดที่ดูเขียวชอุมตลอดป เนื่องจากตนไมแทบทั้งหมดที่ข้นึ เปนประเภท ไมผลัดใบ เชน ปาดิบชืน้ อยางไรก็ตาม จะพบไมตน ผลัดใบขึน้ แทรกในชัน้ เรือนยอดทีเ่ ขียวชอุม อยูบ า ง ขึน้ อยูก บั ดินฟาอากาศและความชุมชื้นในดิน พื้นที่ใดที่มีความชุมชื้นไมสม่ําเสมอตลอดปหรือมีชวงฤดู แลงนาน จะพบไมตนผลัดใบขึ้นปะปน กระจายอยูใ นชัน้ เรือนยอดมากขึน้ เชน ปาดิบแลง แตกลาว โดยรวมแลว เรือนยอดของปาดิบแลงยังคงปรากฏ เปนสีเขียวตอเนื่องตลอดทั้งป ปาไมผลัดใบใน ประเทศไทย จําแนกออกเปนชนิดหลัก ได 14 ชนิด ดังนี้ 1. ปาดิบชื้น (tropical evergreen rain forest หรือ tropical rain forest) 2. ปาดิบแลง (seasonal rain forest หรือ semi-evergreen forest หรือ dry evergreen forest) 3. ปาดิบเขาต่ํา (lower montane rain forest) 4. ปาไมกอ (lower montane oak forest) 5. ปาไมกอ-ไมสน (lower montane pine-oak forest) 6. ปาไมสนเขา (lower montane coniferous forest) 7. ปาละเมาะเขาต่ํา (lower montane scrub) 8. ปาดิบเขาสูงหรือปาเมฆ (upper montane rain forest หรือ cloud forest) 9. ปาละเมาะเขาสูง (upper montane scrub) 10. แองพรุภูเขา (montane peat bog หรือ sphagnum bog) 11. ปาชายเลนหรือปาโกงกาง (mangrove forest) 12. ปาพรุ (peat swamp forest) 13. ปาบึงน้ําจืด หรือปาบุง-ทาม (freshwater swamp forest) 14. สังคมพืชชายหาด (strand vegetation) ตามหาดทราย (sand strand) และโขดหิน (rock strand)
12
»†ÒäÁ‹¼ÅÑ´ãº
(evergreen forest)
13
1
»†Ò´Ôºª×é¹
(tropical evergreen rain forest ËÃ×Í tropical rain forest)
ปาดิบชื้นจัดเปนปาฝนในเขตรอน (tropical rain forest) บนพื้นที่ที่ มีฝนตกชุกเกือบตลอดป และมีความชุม ชืน้ ในดินคอนขางสูงสม่าํ เสมอทัง้ ป ไดแก ภาคใตตอนลางตั้งแตจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง ลงไป ปาดิบชื้น ในเขตจังหวัดปตตานี ยะลา และนราธิวาส มีลักษณะคลายคลึงกับปาดิบ ชื้นในประเทศมาเลเซีย ปาดิบชื้นขึ้นปกคลุมเทือกเขาที่มีความชุมชื้น เชน ปาดิบชืน้ ในอุทยานแหงชาติเขาหลวง จังหวัดนครศรีธรรมราช ปาดิบชืน้ ใน เขตรักษาพันธุส ตั วปา เทือกเขาบรรทัด จังหวัดตรัง และพัทลุง และปาดิบชืน้ ในเขตรักษาพันธุสัตวปาฮาลาบาลา จังหวัดยะลา และนราธิวาส นอกจาก นี้ยังพบปาดิบชื้นในเขตพื้นที่ฝนตกชุกปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายปสูง บริเวณ จังหวัดจันทบุรีตอนลาง ตลอดเขตจังหวัดตราด ปาดิบชื้นมีลักษณะโครงสรางเปนปารกทึบ ประกอบดวยพรรณไมหลายรอยชนิด ไมตนของเรือนยอดชั้นบน สวนใหญเปนไมวงศยาง-ตะเคียน (Dipterocarpaceae) มี ลําตนสูงใหญเปลาตรงตั้งแต 30–50 เมตร ถัดลงมาเปนไมตนขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งสามารถขึ้นอยูใตรมเงาของไมใหญไดรวมทั้งตนไมชนิดตางๆ ในวงศหมากหรือปาลม (Palmae) พื้นลางของปารกทึบระเกะระกะไปดวยไมพุม พืชลมลุก ระกํา หวาย ไผตางๆ เถาวัลยหลากชนิด ตามลําตนไมและกิง่ ไมมกั จะมีพชื อิงอาศัย (epiphyte) จําพวกเฟน และ มอส ขึ้นอยูทั่วไป พรรณไมเดนของวงศ Dipterocarpaceae ที่สําคัญ เชน ยางมันหมู Dipterocarpus kerrii, ยางยูง D. grandiflorus, ยางเสียน D. gracilis, ยางวาด D. chartaceus, ยางกลอง D. dyeri, ยางเกลีย้ ง D. hasseltii, กะบาก Anisoptera curtisii, ตะเคียนชันตาแมว Neobalanocarpus heimii, เคีย่ ม Cotylelobium lanceolatum, ไขเขียว Parashorea stellata,ตะเคียนทอง Hopea odorata, ตะเคียนขาว H. pedicellata, ตะเคียน แกว H. sangal, ตะเคียนราก H. latifolia, แอก Shorea glauca, สยา S. laevis, กาลอ S. faguetiana, ตะเคียนสามพอน S. gratissima, กะบากหิน S. hypochra, สยาเหลือง S. 14
ปาดิบชื้น เขตรักษาพันธุ สัตวปาฮาลาบาลา จังหวัด นราธิวาส-ยะลา
เรือนยอดชั้นบนของปาดิบชื้นทางภาค ใตตอนลาง สวนใหญเปนพรรณไมวงศ ยาง (Dipterocarpaceae) ในภาพ เปนกลุมไมสยาเหลือง Shorea curtisii ขึ้นตามไหลเขาและสันเขาใน ปาดิบชื้น (ระดับสูง) บางครั้งเรียกวา hill dipterocarp forest
15
curtisii, มารันตี S. dasyphylla, สยาขาว S. leprosula, ชันหอย S. macroptera, สยาเหลือง S. parvifolia, มารันตี-เสงวาง S. singkawang, พันจําดง Vatica lowii, พันจํา V. odorata พรรณไม ใ นวงศ อื่ น ที่ สํ า คั ญ เช น หลุ ม พอ Intsia palembanica, สะตอ Parkia speciosa, เหรียง P. timoriana, แซะ Callerya atropurpurea, เนียง Archidendron jiringa, มะคะ Cynometra malaccensis, แมงคะ C. ramiflora, ยวน Koompassia excelsa, ยวนผึ้ง K. malaccensis, หยี Dialium indum, หยีทองบึ้ง D. platysepalum, โสกเหลือง Saraca thaipingensis, มะคะขานาง Sindora echinocalyx (Leguminosae–Mimosoideae), พรรณไมหลายชนิดของสกุล คางคาว Aglaia spp., คางคาวอีลิด Dysoxylum spp., สังเครียด Chisocheton spp. (Meliaceae), อินทนิล น้ํา Lagerstroemia speciosa (Lythraceae), ยางนอง Antiaris toxicaria, ขนุนปาน Artocarpus lanceifolius, หาดรุม A. dadah, เอาะ A. elastricus, ขนุนปา A. rigidus (Moraceae), เยลูตง Dyera costulata, ทุงฟา Alstonia macrophylla, สัตบรรณ A. scholaris (Apocynaceae), ทุเรียนดอน Durio lowianus, ทุเรียนนก D. griffithii, ชางแหก Neesia altissima (Bombacaceae), รักปา Semecarpus curtisii, เปรียง Swintonia floribunda, ชันรูจี Parishia insignis, เตยนะ Pentaspadon velutinus, พระเจาหา พระองค Dracontomelon dao (Anacardiaceae), ทายเภาขาว Scaphium linearicarpum, พุงทะลาย S. scaphigerum (Sterculiaceae) และไมตนหลายชนิดของสกุล Syzygium spp. (Myrtaceae), สกุล Goniothalamus spp., Polyalthia spp., Pseuduvaria spp. (Annonaceae) ปาลมตนที่สําคัญ ไดแก ชางไห Borassodendron machadonis, ปาลม บังสูรย Johannesteijsmannia altifrons, หมากพน Orania sylvicola, หลาวชะโอนเขา Oncosperma horridum, ปาลมเจาเมืองตรัง Licuala elegans, ชิง L. distans, หลังกับ Arenga westerhoutii, คอ Livistona speciosa, เตาราง Caryota spp. และหวายอีกหลายชนิด ของสกุล Calamus spp., Daemonorops spp., Korthalsia spp. (Palmae) ปาดิบชืน้ ในเขตจังหวัดจันทบุรตี อนลางและตราด มีไมตน ทีเ่ ดน เชน พระเจาหาพระองค Dracontomelon dao (Anacardiaceae), จันทนชะมด Aglaia silvestris (Meliaceae), มะหาด Artocarpus lacucha (Moraceae), ยางขนุนนก Palaquium obovatum (Sapotaceae), รง Garcinia hanburyi (Guttiferae), พุงทะลาย Scaphium scaphigerum, ทองสุก Heritiera javanica, เสียดชอ H. sumatrana (Sterculiaceae), ชันภู Hopea recopei, ตะเคียนราก H. pierrei, ยางขน Dipterocarpus baudii, ยางกลอง D. dyeri, ชันดํา Shorea guiso, พนอง S. hypochra (Dipterocarpaceae), หยอง Archidendron quocense, เนียง A. jiringa (Leguminosae-Mimosoideae), ปาลมทีพ่ บมากไดแก ระกํา Salacca wallichiana (Palmae)
16
หลังกับ Arenga westerhoutii ใน ปาดิบชื้น อุทยาน แหงชาติเขาหลวง
โสกเหลือง Saraca thaipingensis
ยวน Koompassia excelsa ไมตนผลัดใบใน ปาดิบชื้น ภาคใตตอนลาง ไมหอม Aquilaria malaccensis
17
รักขาว Semecarpus cochinchinensis กอบาน Castanopsis wallichii
ชอผลของชันรูจี Parishia insignis
ปาดิบชื้นฝงทะเลเกาะสุรินทร เรือนยอดสีแดง ไดแก เปรียง Swintonia floribunda ในชวงที่มีชอผล 18
ชมพูน้ํา Syzygium megacarpum
ปาหนันชาง Goniothalamus giganteus
แคฝอย Stereospermum fimbriatum พบมาก ตามปาดิบชื้นและปารุนปาเหลาทางภาคใต
พระเจาหาพระองค Dracontomelon dao
ชันที่ผลิตเปนการคาจากตนตะเคียนชันตาแมว ในปาดิบชื้นภาคใตตอนลาง
ตะเคียนชันตาแมว Neobalanocarpus heimii
ประ Elateriospermum tapos
ยางกลอง Dipterocarpus dyeri
19
2
»†Ò´ÔºáÅŒ§
(seasonal rain forest, semi–evergreen forest ËÃ×Í dry evergreen forest)
ปาดิบแลงพบกระจัดกระจายทั่วไปตามที่ราบ เชิงเขา ไหลเขา และ หุบเขาที่ชมุ ชื้นจนถึงพื้นที่ระดับความสูงไมเกิน 950 เมตร ทางภาคกลาง (ตัง้ แตจงั หวัดชุมพรขึน้ มา) ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงใต ถึงจังหวัดจันทบุรี ในปาผลัดใบที่มีลําน้ําสายใหญมีน้ํา ไหลหรือความชุม ชืน้ ตลอดป บริเวณสองฟากริมฝง น้าํ จะเปลีย่ นเปนปาดิบ แลงริมฝงหรือ gallery forest ประกอบดวยไมตนขึ้นเปนกลุมๆ เพียงไมกี่ ชนิด เชน ยางนา Dipterocarpus alatus, ยางแดง D. D turbinatus, ตะเคียน ทอง Hopea odorataa (Dipterocarpaceae), ประดูส ม Bischofia javanica (Euphorbiaceae), ทองหลางปา Erythrina subumbranss (LeguminosaePapilionoideae) และยมหอม Toona ciliataa (Meliaceae) เปนตน ปาดิบแลงมีลักษณะโครงสรางคลายกับปาดิบชื้น กลาวคือ เรือนยอดของปาจะดู เขียวชอุมมาก หรือนอยตลอดป แตในปาดิบแลงจะมีไมตนผลัดใบ (deciduous tree) ขึ้น แทรกกระจายมากหรือนอยขึน้ อยูก บั สภาพลมฟาอากาศและความชุม ชืน้ ในดิน ปาดิบแลง ในบริเวณทีม่ คี วามชุม ชืน้ ในดินนอยหรือไมสม่าํ เสมอตลอดป ก็จะปรากฏไมผลัดใบมากขึน้ ในชัน้ เรือนยอด ปาดิบแลงในทีม่ คี วามชุม ชืน้ สูงจะมีไมผลัดใบปะปนอยูเ ปนจํานวนไมมากนัก ไมตนผลัดใบของปาดิบแลงที่สําคัญ เชน สมพง Tetrameles nudiflora (Datiscaceae), ปออีเกง Pterocymbium tinctorium (Sterculiaceae), ซอ Gmelina arborea (Labiatae), มะมือ Choerospondias axillaris (Anacardiaceae), ยมหิน Chukrasia tabularis (Meliaceae), ยมปา Ailanthus triphysa (Simaroubaceae), สะเดาชาง Acrocarpus fraxinifolius (LeguminosaeCaesalpinioideae), กระเชา Holoptelea integrifolia (Ulmaceae), สอม Crypteronia paniculata (Crypteroniaceae), คงคาเดือด Arfeuillea arborescens (Sapindaceae), 20
ตะแบกใหญ Lagerstroemia calyculata, ตะแบกเกรียบ L. balansae และ เสลาดอกขาว L. tomentosa (Lythraceae) เปนตน ไมตนที่พบทั่วไปในปาดิบแลง ไดแกตะเคียนหิน Hopea ferrea, ตะเคียนทอง H. odorata, เคีย่ มคะนอง Shorea henryana, พะยอม S. roxburghii, ยางแดง Dipterocarpus turbinatus, ยางนา D. alatus,
ยางปาย D. costatus, กระบาก Anisoptera costata, กระบากขาว A. scaphula, ซีหรือเต็งดง Vatica harmandiana, ยางหนู V. odorata (Dipterocarpaceae), มะปน Pterygota alata (Sterculiaceae), กะบก Irvingia malayana (Irvingiaceae), ตาเสือ Aphanamixis polystachya, กระทอน Sandoricum koetjape, คางคาว Aglaia spp., สังเครียด Chisocheton spp., คางคาวอีลดิ Dysoxylum spp., กัดลิน้ Walsura trichostemon (Meliaceae), ยางนอง Antiaris toxicaria, มะหาด Artocarpus lacucha, มะเดือ่ อุทมุ พร Ficus racemosa (Moraceae), โพบาย Balakata baccata, ตาตุม บก Falconeria insignis, ดีหมี Cleidion spiciflorum, ประคําไก่ Drypetes roxburghii, มะไฟปา Baccaurea ramiflora, มะคาย Mallotus philippensis (Euphorbiaceae), กา้ น เหลือง Gonocaryum lobbianum (Icacinaceae), ลําไย Dimocarpus longan, คอแลน Nephelium hypoleucum, ลําไยปา Paranephelium xestophyllum, สาย Pometia pinnata (Sapindaceae), มะดูก Siphonodon celastrineus (Celastraceae), แสนคํา Terminalia triptera,
ปาดิบแลงบนไหลเขาระดับสูง มี กลุมไมยางปาย Dipterocarpus costatus หนาแนนตามสันเขาที่ ลาดชันระดับความสูงประมาณ 700–1,000 เมตร
21
2,565 m
1,000 m
MONTANE ZONE
LOWLAND ZONE 0m
ACERACEAE (กวม, เมเปล) BETULACEAE (กําลังเสือโครง) FAGACEAE (กอ) HAMAMELIDACEAE (โพสามหาง) LAURACEAE (ตะไครตน) MAGNOLIACEAE (มณฑาดอย) PROTEACEAE (เหมือดดอย) SYMPLOCACEAE (เหมือดหอม) THEACEAE (สารภีดอย) etc.
ANACARDIACEAE (มะมวง) ANNONACEAE (กระดังงา) DILLENIACEAE (สาน) DIPTEROCARPACEAE (ยาง, ตะเคียน) GUTTIFERAE (มะพูด) MELIACEAE (เลี่ยน) SAPINDACEAE (ลําใย) SAPOTACEAE (ละมุดสีดา) ZINGIBERACEAE (ขิง-ขา-ไพล) etc.
ภาพที่ 3 ผังแสดงการกระจายของพรรณไมวงศตางๆ ที่พบมากในเขตพื้นที่ระดับตตํา (lowland zone) และ เขตพื้นที่ภูเขา (montane zone) ในประเทศไทย 22
ปาดิบแลงที่มีกลุมไม ยางแดง Dipterocarpus turbinatus ริมฝงน้ําแม กลาง อุทยานแหงชาติ ดอยอินทนนท ระดับ ความสูงประมาณ 600–800 เมตร
แกนมอ Rhus succedanea ในปาดิบแลง (ระดับสูง)
กลุมตะแบกใหญ Lagerstroemia calyculata ในปาดิบแลง เขตรักษาพันธุสัตวปา หวยขาแขง
23
ปาดิบแลงที่มีตนไมแคระ แกร็นบนภูเขาหินปูนใกล ชายฝงทะเล ถ้ําเสือ จังหวัดกระบี่
ปาดิบแลงชายฝงทะเล ตามเขาหินปูน อุทยาน แหงชาติเขาสามรอยยอด
24
กระบาก Anisoptera costata ในปาดิบแลง
หุบเขาน้ําโจน เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร สองฟากฝงลําน้ําโจนเปนปาดิบแลง ริมฝงลําน้ํา (gallery forest) ตามไหลเขาที่ลาดชัน ปกคลุมดวยปาเบญจพรรณ
ปาดิบแลงที่มีกลุมพรรณไมยางปะปนกัน (Dipterocarpus spp.) เขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว ระดับความสูงประมาณ 200 เมตร
25
มะเนียงน้ํา Aesculus assamica ริมลําธารในปาดิบแลง เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง ใบเปลี่ยนเปนสีเหลืองในชวงผลัดใบ
26
ยมปา Ailanthus triphysa ไมตนขนาดใหญพรอมชอผล พบทั่วไปในปาดิบแลง
สะเดาชาง Acrocarpus fraxinifolius พบใน ปาดิบแลงทั่วไป
สบ Altingia excelsa ขึน้ เปนกลุม ริมลําธารใน ปาดิบแลง (ระดับสูง)
สําเภา Chaetocarpus castanocarpus พบใน ปาดิบแลงทั่วไป
เขลง Dialium cochinchinensis
ผลยางปาย Dipterocarpus costatus พบตาม สันเขาในปาดิบแลง (ระดับสูง)
ตะโกสวน Diospyros malabarica var. malabarica ขึ้นตามปาดิบแลง (ฝงทะเล)
27
ขี้หนอนควาย Gironniera nervosa พบทั่วไปใน ปาดิบแลง
เลือดนก Horsfieldia glabra ขึ้นริมลําธารใน ปาดิบแลง
มะหอ Spondias lakonensis ในปาดิบแลง
ทองหลางปา Erythrina subumbrans ชอบขึ้น ตามริมลําธารในปาดิบแลง
ขาตน Cinnamomum ilicioides ในปาดิบแลง 28 (ระดับสูง)
เฉียงพรานางแอ Carallia brachiata
ลําดวน Melodorum fruticosum พบมากในปาดิบ แลงภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง
มะปวน Mitrephora vandaeflora พบในปาดิบแลง
มหาพรหม Mitrephora winitii ขึ้นตามเขา หินปูนในปาดิบแลง
ปบทอง Radermachera hainanensis ริมลําธารใน ปาดิบแลง
สะตอปา Parkia leiophylla ริมลําธารในปาดิบ แลง
ลูกดิ่ง Parkia sumatrana ssp. streptocarpa ขึ้น ตามริมลําธารในปาดิบแลง 29
30
ขี้หนอน Scleropyrum wallichianum ขึ้นทั่วไป ในปาดิบแลง
โสกเขา Saraca declinata
พันจํา Vatica odorata
ขี้หนอน หรือขี้มอด Zollingeria dongnaiensis
เลียงผึ้ง Ficus albipila ริมลําธารในปาดิบแลง ผึง้ ชอบจับทํารังตามคาคบไมสงู
เงาะปา Nephelium melliferum ในปาดิบแลง (ระดับสูง)
ตะแบกกราย T. pierrei (Combretaceae), สีเสือ้ Homalium ceylanicum, พิกลุ ปา H. grandiflorum, ขานาง H. tomentosum, กะเบากลัก Hydnocarpus ilicifolia, กระเบาใหญ H. anthelminthica (Flacourtiaceae), มะกลํา่ ตน Adenanthera pavonina, สะตอปา Parkia leiophylla, อีเฒา P. sumatrana subsp. streptocarpa, มะคาโมง Afzelia xylocarpa, เขลง ลูกหยี Dialium cochinchinense, โสกนํ้า Saraca indica, โสกเขา S. declinata (Leguminosae-Mimosoideae), เชียด Cinnamomum iners, อบเชย C. bejolghota, ขาตน C. glaucescens, สุรามะริด C. subavenium, สะทิบ Phoebe paniculata, แหลบุก P. lanceolata, กะทัง Litsea monopetala (Lauraceae), จําปาปา Michelia champaca (Magnoliaceae), เฉียงพรานางแอ Carallia brachiata (Rhizophoraceae), มะมวงปา Mangifera spp., มะปริง Bouea oppositifolia, รักขาว Semecarpus cochinchinensis, มะกอก Spondias pinnata, มะกัก S. bipinnata, มะหอ S. lakonensis (Anacardiaceae), พลอง Memecylon spp. (Melastomataceae), กาสะลองคํา Radermachera ignea, แคฝอย Stereospermum fimbriatum, แคหัวหมู Markhamia stipulata var. stipulata (Bignoniaceae), กอมขม Picrasma javanica (Simaroubaceae), มหาพรหม Mitrephora spp., ยางโอน Polyalthia spp., สังหยู Pseuduvaria spp., สะบันงาดง Cyathocalyx martabanicus var. harmandii, สะแกแสง Cananga latifolia, สะบันงาปา Goniothalamus spp., สาเหลาตน Desmos spp., ลําดวน Melodorum fruticosum, (Annonaceae), เลือดมา Knema spp., มะพราวนกกก Horsfieldia spp., (Myristicaceae) ปาลมตนในปาดิบแลง เชน หมากลิง Areca triandra, ตาว Arenga pinnata, เตาราง Caryota mitis, คอ Livistona speciosa เปนตน ปาดิบแลงบนภูเขาหินปูนในเขต จ.ประจวบคีรีขันธ จะพบจันทนขาวหรือจันทนพมา Mansonia gagei (Sterculiaceae) ขึ้นหนาแนน ปาดิบแลงตามชายฝงทะเลและตามเกาะในอาวไทยและฝงทะเลอันดามัน โดยเฉพาะเกาะที่เปนหินปูน มี ลักษณะเรือนยอดแนนทึบและไมสงู มากนัก (10–20 เมตร) ดานทีร่ บั ลมทะเลเปนประจําเรือนยอดมีลกั ษณะลูล ม ลําตน แคระแกร็น บางครั้งเรือนยอดสูง ไมเกิน 10 เมตร พรรณไมหลายชนิดมีใบหนาแข็ง เชน เกด Manilkara hexandra (Sapotaceae), พลอง Memecylon spp. (Melastomataceae), ดูกคาง Psydrax dicocca var. impolitum (Rubiaceae) หรือตามลําตนและกิง่ มีหนาม เชน มะนาวผี Atalantia monophylla (Rutaceae), ตะขบปา Flacourtia indica (Flacourtiaceae), ขอยหนาม Streblus ilicifolius (Moraceae) เปนตน อาจเรียกปาดิบแลงตามชายฝงทะเล เหลานีว้ า ปาดิบแลงฝง ทะเล (littoral seasonal rain forest) อันมีลกั ษณะโครงสรางแตกตางไปจาก สังคมพืชชายหาด หรือฝงทะเล (strand forest) ที่อยูใกลเคียงกัน เมื่อกอนมักจะเกิดความสับสน บางเรียกปาดิบแลงชายฝงทะเล วา ปาชายหาด หรือ beach forest ซึ่งมีความหมายที่กวางครอบคลุมสังคมพืชชายฝงหลายประเภท
31
3
»†Ò´Ôºà¢ÒμèÓ
(lower montane rain forest)
ปาดิบเขาต่ํา พบบนภูเขาที่สูงกวาระดับทะเลปานกลางตั้งแตประมาณ 1,000 เมตร จนถึง 1,900 เมตร สภาพปามีเรือนยอดแนนทึบ มีไมพ้นื ลาง หนาแนนคลายคลึงกับปาดิบชื้นและปาดิบแลงบนที่ต่ํา แตแตกตางกันในองค ประกอบของพรรณไม ปาดิบเขาต่าํ ประกอบดวยพรรณไมเขตอบอุน (temperate species) และพรรณไมภูเขา (montane species) ที่ตองการอากาศคอนขาง หนาวเย็นตลอดป สวนใหญไดแก ไมกอ นอกจากนี้ยังมีพรรณไมในระดับต่ํา (lowland species) ที่เปนพรรณไมเดนของปาดิบชื้นและปาดิบแลงขึ้นปะปน อยูดวย พรรณพืชจําพวกหมากปาลมที่เปนตน กอ หรือหวาย มีนอยเมื่อเปรียบ เทียบกับปาดิบชืน้ และปาดิบแลง เชนเดียวกับเถาวัลยชนิดตางๆ จะพบขึน้ อยูค อ น ขางนอยในปาดิบเขาต่ํา ความสูงของเรือนยอดชั้นบนของปาดิบเขาต่ํา ประมาณ 20–35 เมตร ความสูงของเรือนยอดจะลดลงตามระดับความสูงของพื้นที่เพิ่ม ขึ้น ปจจุบันปาดิบเขาต่ําที่สมบูรณเหลืออยูนอยมาก สวนใหญจะถูกชาวเขาแผว ถางทําไรเลื่อนลอย พื้นที่ปาดิบเขาตามธรรมชาติ เมื่อถูกทําลายแลวทิ้งรางไว นานๆ จะเปลีย่ นสภาพไปเปนปาดิบเขาต่าํ รุน สอง เชน ปาไมกอ หรือปาไมกอ -ไม สน พื้นที่ปาดิบเขาต่ําดั้งเดิมในปจจุบัน พบเหลือเปนหยอมๆ บนภูเขา เชน ดอย อินทนนท ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม, ดอยภูคา จังหวัดนาน, เทือกเขาสูง ในปาทุงใหญ จังหวัดกาญจนบุรี, เขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี, บนภูเขาหินทราย ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน ภูหลวง จังหวัดเลย และบนภูเขาสูงทางภาค ใต เชน เขาหลวง จังหวัดนครศรีธรรมราช ไมตนที่พบทั่วไปในปาดิบเขาต่ํา เชน ไมกอชนิดตางๆ ของวงศ Fagaceae เชน กอเดือย Castanopsis acuminatissima, กอหรั่ง C. armata, กอน้ํา C. calathiformis, กอแปน C. diversifolia, กอหนาม C. echidnocarpa, กอแหลม C. ferox, กอตาหมู C. fissa, กอตี C. indica, 32
ปาดิบเขาต่ําบริเวณเขา เขียว อุทยานแหงชาติ เขาใหญ ระดับความสูง ประมาณ 1,300 เมตร
ตําแยชาง Girardinia diversifolia ชอบขึ้นตามที่โลงชายปาดิบเขาสูงและ ปาดิบเขาต่ํา
33
34
กายอม Rhododendron veitchianum ในปาดิบ เขาต่ําและปาดิบเขาสูง
เมี่ยงผี Pyrenaria diospyricarpa ในปาดิบเขา ต่ําและปาดิบเขาสูง
มะขามปอมดง Cephalotaxus mannii
ฮอมชาง Phlogacanthus curviflorus ไมพุมขึ้น ริมลําธารในปาดิบเขาต่ํา
มณฑา Magnolia liliifera
มณฑาดอย Manglietia garrettii
จุมป Michelia baillonii ไมตนขนาดใหญใน ปาดิบเขาต่ํา
จําปหลวง Michelia rajaniana
เหมือดคนแดง Helicia vestita กวมแดง Acer calcaratum ในปาดิบเขาต่ํา ใบไมเปลี่ยนสี ในชวงผลัดใบ
ชอดอกชมพูภพู าน Wightia speciosissima ในปาไมกอ ปาดิบ เขาต่ํา ปาดิบเขาสูง ชมพูภพู าน Wightia speciossisimah (ดอกสีชมพู) ในปาดิบเขาสูง ดอยอินทนนท
35
กอตลับ Quercus rex ไมขนาดใหญในปาดิบเขาต่ํา
กอตาหมู Quercus semiserrata ไมขนาดใหญในปาดิบเขาต่ํา
กอตลับ Quercus ramsbottomii
กระโถนพระษี Sapria himalayana พืชเบียน รากบนพื้นลางของปาดิบ เขาต่ําเปนพืชดรรชนีบง ถึงลักษณะดั้งเดิมของปา ธรรมชาติ
36
กอหิน C. piriformis, กอดาน C. purpurea, กอขีห้ มู C. rhamnifolia, กอใบเลือ่ ม C. tribuloides, กอหมี Lithocarpus auriculatus, กอผัวะ L. dealbatus, กอหมน L. elegans, กอพวง L. fenestratus, กอเลือด L. garrettianus, กอดาง L. lindleyanus, กอแงะ L. polystachyus, กอหัวหมู L. sootepensis, กอหมน L. thomsonii, กอดํา L. truncatus, กอหนุน Quercus brandisiana, กอตลับ Q. rex, กอตาคลอย Q. lenticellata, กอดาง Q. myrsinifolia, กอหมวก Q. oidocarpa, กอสีเสียด Q. poilanei, กอตาหมูหลวง Q. semiserrata, กอแอบ Q. vestita พรรณไมชนิดอืน่ เชน จําปหลวง Michelia rajaniana, แกวมหาวัน M. floribunda, จําปปา M. baillonii, มณฑา ดอย Manglietia garrettii, ตองแข็ง Magnolia hodgsonii, จําปดง M. henryi (Magnoliaceae), ทะโล Schima wallichii (Theaceae), ตองลาด Actinodaphne henryi, แกง Cinnamomum tamala, เชียดขาว Lindera pulcherrima, สะ หมี่ Litsea monopetala, หมี่บง L. semecarpifolia, ทัง L. beusekomii, เมียดตน L. martabanica, ทัน Phoebe tavoyana (Lauraceae), จันทรทอง Fraxinus floribundus, มวกกอ Olea salicifolia (Oleaceae), มะกอกเลื่อม Canarium subulatum (Burseraceae), ลูบลีบ Ulmus lanceifolia (Ulmaceae), กวมแดง Acer calcaratum, กวม ขาว A. laurinum, กวม A. oblongum (Aceraceae), มะมือ Choerospondias axillaris, แกนมอ Rhus succedanea, มะมวงขี้ใต Mangifera sylvatica (Anacardiaceae), ประสงค Aglaia chittagonga, ยมหอม Toona ciliata, ขี้อาย Walsura robusta (Meliaceae), สารภีดง Mammea harmandii, กะนวน Garcinia merguensis (Guttiferae), มุน ดอย Elaeocarpus braceanus, กุนเถื่อน E. floribundus, มุนดอย E. prunifolius, กอเรียน Sloanea sigun, สตี S. tomentosa (Elaeocarpaceae), มะซัก Sapindus rarak (Sapindaceae), ตีนจําดง Adinandra integerrima, เมี่ยง อาม Camellia connata, เหมือดเม็ก C. oleifera var. confusa, ขีผ้ งึ้ Gordonia dalglieshiana, เมีย่ งอีอาม Pyrenaria cochinchinensis (Theaceae), เหมือดหอม Symplocos racemosa, เหมือดปลาซิว S. sumuntia (Symplocaceae), มะเนียงน้ํา Aesculus assamica (Hippocastanaceae), คางคาก Nyssa javanica (Nyssaceae), ชาสาน Saurauia nepaulensis, สานเห็บ S. roxburghii (Actinidiaceae), มะยมหิน Meliosma pinnata (Sabiaceae), ตะเกราน้ํา Eriobotrya bengalensis forma bengalensis (Rosaceae), เหมือดคนดง Helicia formosana var. oblanceolata, เหมือดคน Heliciopsis terminalis (Proteaceae), หวาเขา Syzygium angkae (Myrtaceae), ขางขาว Xanthophyllum virens (Xanthophyllaceae), นองขาว Alstonia rostrata (Apocynaceae) ไมตนเนื้อออนจําพวกสนเขา (conifer) ไดแก มะขามปอมดง Cephalotaxus mannii (Cephalotaxaceae), พญาไม Podocarpus neriifolius และขุนไม Nageia wallichianus (Podocarpaceae) บนพื้นที่ลาดชันดานทิศตะวัน ออกของภูเขาหินปูนดอยเชียงดาว จ.เชียงใหม ที่ระดับความสูงระหวาง 1,500–1,900 เมตร จะพบมะขามปอมดง C. mannii ขึ้นเปนไมเดนแทรกอยูตามเรือนยอดชั้นบนของปา ปาลมที่พบขึ้นกระจัดกระจายไดแก เตารางภูคา Caryota obtusa, เตาราง C. maxima, เขือง Wallichia caryotoides, คอ Livistona speciosa (Palmae) บริเวณพื้นที่ชุมแฉะในปาดิบเขาต่ําจะพบมะเกี๋ยง Pandanus furcatus (Pandanaceae), กูดตน หรือเฟนตน Cyathea spp. (Cyatheaceae), เฟนบัวแฉก Dipteris conjugata (Dipteridaceae), มะพราวเตา Cycas micholitzii var. simplicipinna (Cycadaceae) ขึ้นกระจัดกระจาย
37
4
»†ÒäÁŒ¡‹Í
(lower montane oak forest)
ปาไมกอเปนปาที่พบทั่วไปบนภูเขาทางภาคเหนือ และพบเปนกลุมบน ภูเขาหินทรายทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแตระดับความสูง 900 เมตร ขึ้นไป ความสูงของเรือนยอดชั้นบนจะแตกตางกันอยางมาก ระหวาง 10–25 เมตร เรือนยอดอาจจะชิดติดกันหรือเวนชองวางมากหรือนอย ลักษณะของ เรือนยอด โดยทั่วไปจึงคอนขางโปรง ไมชิดติดกันแนนทึบดังเชนเรือนยอด ของปาดิบเขาต่ํา เนื่องจากลมพัดผานเรือนยอดชั้นบนได โดยสะดวก ตามกิ่ง ของตนไมชั้นบนจึงมีไลเคนจําพวกฝอยลม Usneaa spp. (Usneaceae) หอย ระยา ปาไมกอสวนใหญ เปนปารุนสองเกิดจากการฟนตัวของปาดิบเขาต่ํา ที่ถูกแผวถางทําไรเลื่อนลอย พื้นที่ไรเกาบางตอนถูกทิ้งรางไวเปนเวลานาน เกิดการทดแทนสังคมพืชอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดเปนปาไมกอขึ้นมา ปาไม กอเหลานี้มักจะถูกรบกวนซ้ําไมมากก็นอย จากการตัดไมสําหรับใชสอย การ เก็บหาของปา การเลี้ยงสัตว ไฟปา การพังทลายตามไหลเขา ฯลฯ ทําใหการ ทดแทน สังคมพืชหยุดชะงักไมตอ เนือ่ ง ดังนัน้ ปาไมกอ จึงมีลกั ษณะโครงสราง ที่แตกตางกันไปในแตละพื้นที่เปนอยางมาก แตองคประกอบของไมตนในปา ไมกอมักจะคลายกัน สวนใหญประกอบดวย พรรณไมวงศไมกอ (Fagaceae) ชาหรือเมี่ยง (Theaceae) และอบเชย (Lauraceae) บางครั้งเรียกปาชนิดวา oak-tea-laurel forest ไมตนที่พบทั่วไป เชน กอเดือย Castanopsis acuminatissima, กอหยุม C. argyrophylla, กอหรั่ง C. armata, กอน้ํา C. calathiformis, กอแปน C. diversifolia, กอหนาม C. echidnocarpa, กอตาหมู C. fissa, กอผา C. hystrix, กอดาน C. purpurea, กอใบเลื่อม C. tribuloides, กอผัวะ Lithocarpus dealbatus, กอหมน L. elegans, กอเลือด L. garrettianus, กอดาง L. lindleyanus, กอแงะ L. polystachyus, กอแดง L. trachycarpus, กอดํา L. truncatus, 38
กอหิน Quercus semecarpifolia ขึ้นตามชายปาดิบเขา ภูเขาหินปูน ระดับความสูง 1,900 เมตร ดอย เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม
กอขาว Quercus lanata ใน ปาไมกอ บนภูเขาหินปูน ระดับความสูง 1,600 เมตร เขตรักษาพันธุสัตวปาดอย เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม
กอหัวหมู Lithocarpus sootepensis ขึ้นเปนกลุมๆ ในปาไมกอ อุทยานแหง ชาติดอยสุเทพ จังหวัด เชียงใหม 39
ชอดอกคําขาว Rhododendron moulmeinense
คําขาว Rhododendron moulmeinense
กอเดือย Castanopsis acuminatissima ไมเดนในปาไมกอ พรอมชอดอก
กอใบเลื่อม Castanopsis tribuloides พบมากในปาไมกอและปาไมกอ-ไมสน
ปาไมกออุทยานแหงชาติดอยสุเทพ ระดับความสูง 1,500 เมตร 40
กอพวง Lithocarpus fenestratus พบมากในปาไมกอและปาไมกอ-ไมสน
ชมพูภูพิงค Prunus cerasoides ในปาไมกอบนภูเขาหินปูน ดอยเชียงดาว
ชมพูภูพิงค Prunus cerasoides
เนาใน Ilex umbellulata ในปาไมกอและปาไมกอ-ไมสน
เหมือดคน Heliciopsis terminalis ในปาไมกอ
41
42
สะเม็ก Agapetes lobbii ในปาดิบเขาต่ํา ปาดิบ เขาสูง และปาไมกอ
กอสรอย Carpinus viminea พบทั่วไปในปาไมกอ
กําปองหลวง Clematis buchananiana
สนใบพาย Podocarpus polystachyus
กําลังเสือโครง Betula alnoides พรรณไมเบิกนํา ของปาดิบเขาต่ําพบทั่วไปในปาไมกอ
ขุนไม Nageia wallichiana
ชันตามเปลือกของตนกํายาน Styrax benzoides ในปาไมกอ
กลวยษี Diospyros glandulosa ในปาไมกอ-ไมสน
กอเตี้ย Quercus aliena, กอหนุน Q. brandisiana, กอขาว Q. franchetii, ก อ แอบหลวง Q. helferiana, ก อ แดง Q. kingiana, กอแอบ Q. lamellosa, กอขาว Q. lanata, กอ ขาว Q. lineata, กอแงะ Q. mespilifolia, กอตาหมูหลวง Q. semiserrata, กอหิน Q. semecarpifolia (Fagaceae), สารภีดอย Anneslea fragrans, ไกแดง Ternstroemia gymnanthera, ทะโล Schima wallichii (Theaceae), หนวยนกงุม Beilschmiedia gammieana, อินทวา Persea gamblei, สะทิบ Phoebe spp. (Lauraceae), เหมือดคน ตัวผู Helicia nilagirica, เหมือดคน Heliciopsis terminalis (Proteaceae), คาหด Engelhardtia spicata var. spicata (Juglandaceae), กําลังเสือโครง Betula alnoides, กอสรอย Carpinus viminea (Betulaceae), เอีย้ บวย Myrica esculenta (Myricaceae), นางพญาเสือโครง Prunus cerasoides (Rosaceae), จันทรทอง Fraxinus floribundus (Oleaceae), คางฮุง Albizia chinensis (Leguminosae-Mimosoideae), กระพี้ เ ขาควาย Dalbergia cultrata (LeguminosaePapilionoideae), เสี้ ย วขาว Bauhinia variegata (Leguminosae–Caesalpinioideae), กาว Tristaniopsis burmanica var. rufescens (Myrtaceae), แข ง กวาง Wendlandia tinctoria (Rubiaceae), เมาสรอย Antidesma acidum, โลด Aporosa villosa, มะขามปอม Phyllanthus emblica (Euphorbiaceae), กํายาน Styrax benzoides (Styracaceae), มะยมภู Craibiodendron stellatum, เมาแดง Lyonia ovalifolia, คําขาว Rhododendron moulmeinense, ส ม ป Vaccinium sprengelii (Ericaceae), เหมื อ ดดง Symplocos cochinchinensis Subsp. cochinchinenesis, เหมื อ ดหอม S. racemosa (Symplocaceae), แคหาง คาง Markhamia stipulata var. kerrii (Bignoniaceae), มะขม Pittosporopsis kerrii (Icacinaceae), ปรงเขา Cycas pectinata (Cycadaceae) และ เปงดอย Phoenix loureiri var. loureiri (Palmae) พื้นลางของปาไมกอมักมีพืชจําพวกหญาและพืชลมลุก ของเขตอบอุน ขึ้นกระจัดกระจาย
5
»†ÒäÁŒ¡‹Í-äÁŒÊ¹
(lower montane pine-oak forest)
ปาไมกอ-ไมสน เกิดจากปาไมกอที่ถูกรบกวนบอยๆ จากมนุษย เชน การแผวถางปา ตัดไม เลี้ยงสัตว ฯลฯ ปจจัยที่สําคัญ ไดแก ไฟปาในฤดู แลง (มกราคม–มีนาคม) ที่เกิดจากการจุดอยางตั้งใจหรือไมตั้งใจ ทําให เกิดชองวางในปาชนิดนี้ สนเขาโดยเฉพาะสนสามใบจึงแพรพันธุไดดีในปา ไมกอ พืน้ ทีป่ า บางตอนเปดโลงมากจากการถูกทําลาย จะพบสนสามใบขึน้ เปนกลุม (stand) หนาแนน บางครัง้ จะพบสนสามใบขึน้ เกือบเปนกลุม เดียว ลวนๆ โดยเฉพาะพื้นที่ตามสันเขาและไหลเขาที่คอนขางลาดชันเนื่องจาก การพังทลาย ดังนั้นจํานวนของไมสนในปาไมกอ จึงขึ้นอยูกับอัตราการถูก รบกวน การพังทลายของดินตามไหลเขา-สันเขา สภาพภูมิประเทศและ สภาพดินทีม่ คี วามชุม ชืน้ ในดิน คอนขางนอยโดยเฉพาะดินปนกรวดหรือดิน ทราย นอกจากสนสามใบแลว ปาไมกอ -ไมสนบางพืน้ ทีอ่ าจมีสนสองใบขึน้ แทรกหางๆ โดยเฉพาะบนภูเขาหินทรายทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน ภูกระดึง และภูหลวง จ.เลย จะพบกลุมสนสองใบและสนสามใบขึ้นเกือบ เปนกลุมเดียวลวนๆ แทรกดวยไมตน (ไมใบกวาง) เพียงไมกี่ตน พื้นที่ปา เปดโลง มีพชื พืน้ ลางจําพวกหญา-กกขึน้ หนาแนน สภาพภูมปิ ระเทศดูคลาย ปาไมสน (pine savanna) ของเขตอบอุน ปาไมกอ-ไมสนแตกตางจากปา เต็งรัง-สนเขา (pine-deciduous dipterocarp forest) อยางชัดเจน ทาง ภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงใตที่มีฝนชุก จะไมพบปาไมกอ-ไมสนหรือ ปาสนเขาตามธรรมชาติ บนภูเขาหินปูนทั่วไปก็จะไมพบไมสน (pine) เชน กัน ถึงแมวาจะอยูในชวงระดับความสูงที่ไมสนขึ้นไดเนื่องจากไมสนชอบ สภาพดินที่เปนกรด (calcifuge)
44
กลุมไมสนสามใบ ในปาไมกอ-ไมสนที่ ถูกรบกวนจากไฟปาเปนประจํา เขต รักษาพันธุสัตวปาภูหลวง
ปาไมกอ-ไมสน (สามใบ) บริเวณ บานวัดจันทร จังหวัดเชียงใหม ระดับความสูงประมาณ 1,000 เมตร 45
พรรณไมทพ่ี บมากในปาไมกอ -ไมสน เชน สนสามใบ Pinus kesiya, สนสองใบ P. merkusii (Pinaceae) ไมใบ กวางที่พบทั่วไป เชน กอเดือย Castanopsis acuminatissima, กอหยุม C. argyrophylla, กอหนาม C. echidnocarpa, กอใบเลื่อม C. tribuloides, กอแปน C. diversifolia, กอผัวะ Lithocarpus dealbatus, กอเตี้ย Quercus aliena, กอ หนุน Q. brandisiana, กอแอบหลวง Q. helferiana, กอแดง Q. kingiana, กอแงะ Q. mespilifolia (Fagaceae), สารภี ดอย Anneslea fragrans, ปลายสาน Eurya acuminata, ทะโล Schima wallichii (Theaceae), เหมือดคนตัวผู Helicia nilagirica (Proteaceae), คาหด Engelhardtia spicata var. spicata (Juglandaceae), หวา Syzygium cumini, กาว Tristaniopsis burmanica var. rufescens (Myrtaceae), มะยมภู Craibiodendron stellatum, เมาแดง Lyonia ovalifolia, สมป Vaccinium sprengelii (Ericaceae), กระพี้เขาควาย Dalbergia cultrata (Leguminosae), เหมือดหอม Symplocos racemosa (Symplocaceae), แขงกวาง Wendlandia tinctoria (Rubiaceae), กํายาน Styrax benzoides (Styracaceae), มะขามปอม Phyllanthus emblica (Euphorbiaceae), ปรงเขา Cycas pectinata (Cycadaceae), เปง ดอย Phoenix loureiri var. loureiri (Palmae)
ปาไมกอ-ไมสน (สามใบ) อุทยานแหงชาติภูกระดึง ระดับ ความสูงประมาณ 1,300 เมตร
46
กลุมไมสนสามใบ ขึ้นหนา แนนตามสันเขาในปาไม กอ-ไมสน อุทยานแหงชาติ ดอยอินทนนท
ตีนฮุงดอย Paris polyphylla พบตามพื้นลางของปาไมกอ-ไมสน
47
6
»†ÒäÁŒÊ¹à¢Ò
(lower montane coniferous forest)
ดอย Phoenix loureiri var. loureiri (Palmae)
ปาไมสนเขาเปนปาไมที่มีกลุมไมเนื้อออนจําพวก conifer หรือไมสน เขา ขึน้ บนทีร่ าบสูงของภูเขาหินทรายยอดตัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแตระดับความสูงประมาณ 1,100–1,300 เมตร เชน ภูหลวง ภูกระดึง พืน้ ดินเปนดินทรายถึงประมาณรอยละ 65–90 โครงสรางของปาดัง้ เดิมตาม ธรรมชาติ มีไมสนเขาขนาดใหญ ไดแก แปกลม Calocedrus macrolepis (Cupressaceae) ขึ้นเปนไมเดนของเรือนยอดชั้นบน มีความสูงตั้งแต 25–33 เมตร แปกลมบางตนสูงถึง 48 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลาง 70–95 เซนติเมตร แตจะพบแปกลมในปาสนเขาบนภูหลวงเทานัน้ ไมสนเขา ชนิดอื่นในปาไมสนเขา ไดแก พญาไม Podocarpus neriifoliuss สนใบพาย P. polystachyuss และสนสามพันป Dacrydium elatum m (Podocarpaceae) ไมสนเขาที่มีขนาดรองลงมา ไดแก ซางจีน Nageia motleyi และขุนไม N. wallichianaa (Podocarpaceae) พรรณไมดอกอืน่ ๆ ทีเ่ ปนองคประกอบ ของปาไมสนเขา ไดแก กอตลับ Quercus spp., กอพวง Lithocarpus fenestratuss (Fagaceae) เข็มปา Aidia parvifoliaa (Rubiaceae) และ มะหา Syzygium oblatum m (Myrtaceae) พื้นที่ตามสันเขาบางแหงที่เปน ดินทราย ทางภาคใตตอนลาง จะพบกลุม สนสามพันป Dacrydium elatum ถึงระดับความสูงประมาณ 1,500 เมตร
48
พญาไม Podocarpus neriifolius ในปาไมสนเขาและปาไมกอ
สามพันป Dacrydium elatum ในปาไมสนเขา ภูกระดึง สนสามพันป Dacrydium elatum ในปาไมสนเขา
แปกลม Calocedrus macrolepis เปนไม สนเขาขนาดใหญใน ปาไมสนเขา บนภูเขา หินทรายเขตรักษา พันธุสัตวปาภูหลวง
49
7
»†ÒÅÐàÁÒÐà¢ÒμèÓ (lower montane scrub)
ปาละเมาะเขาต่าํ พบเปนหยอมเล็กๆ ตามลานหินบนภูเขาหินทราย ยอดตัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน ภูกระดึง และภูหลวง จ.เลย ทีร่ ะดับความสูงระหวาง 1,000–1,500 เมตร พืน้ ทีล่ าดเล็กนอย สวนใหญ เปนชัน้ ดินทรายตืน้ ๆ มีหนิ ทรายกอนใหญนอ ยโผลระเกะระกะทัว่ ไปสภาพ ปาโลง มีไฟปารบกวนเปนครัง้ คราว ไมตน มีความสูงจํากัด ตนไมมลี กั ษณะ แคระแกร็น สูงระหวาง 2–8 เมตร สลับกับไมพุมเตี้ยนานาพรรณ ความ สูงระหวาง 0.30–3 เมตร ปาไดรับแสงแดดตลอดเวลาที่ไมมีเมฆหมอก ปกคลุมและไดรับอิทธิพลจากกระแสลมแรงพัดผานเปนเนืองนิจ พรรณไมที่พบทั่วไป เชน กอเตี้ย หรือกอดํา Lithocarpus recurvatus, กอพวง L. fenestratus (Fagaceae), กุหลาบขาว Rhododendron lyi, กุหลาบแดง R. simsii, ชอไขมุก Vaccinium eberhardtii var. pubescens, สมป V. sprengelii, สมแปะ Lyonia foliosa, เหงาน้ําทิพย Agapetes saxicola, สะเม็ก A. lobbii (Ericaceae), สายฝน Ilex triflora (Aquifoliaceae), กุหลาบหิน Rhamnus crenata (Rhamnaceae), สารภีดอย Anneslea fragrans, ทะโล Schima wallichii, ไกแดง Ternstroemia gymnanthera (Theaceae), ชมพูภูพาน Wightia speciosissima (Scrophulariaceae), พวงตุมหู Ardisia pilosa (Myrsinaceae), เข็มเขา Tarenna sp. (Rubiaceae), เหมือดคนตัวผู Hilicia nilagirica (Proteaceae), สนทราย Baeckea frutescens (Myrtaceae), อาหลวง Melastoma sanguineum, เอ็นอา M. malabathricum var. normale, เอ็นอานอย Osbeckia stellata (Melastomataceae), มือพระนารายณ Schefflera subintegra (Araliaceae), งวนภู Viburnum foetidum (Caprifoliaceae), ปดเขา Sorbus granulosa (Rosaceae), อินทวา Persea gamblei (Lauraceae), กูดเกี๊ยะ Pteridium aquilinum subsp. aquilinum var. wightianum (Dennstaedtiaceae)
50
ปาละเมาะเขาต่ํา เขต รักษาพันธุสัตวปาเขา บรรทัด จังหวัดตรัง ระดับความสูงประมาณ 1,200 เมตร
ปาละเมาะเขาต่ําบนภูเขา หินทราย เขตรักษาพันธุ สัตวปาภูหลวง จังหวัดเลย
ปาละเมาะเขาต่าํ พบบางตามพืน้ ทีเ่ ปนหินปูนระหวาง 1,000–1,700 เมตร มักจะพบเปนหยอมเล็กๆ ตามภูเขา หินปูนที่ไมปรากฏชั้นดินชัดเจน มีแคโขดหินระเกะระกะ พรรณไมขึ้นอยูไดตามซอกหรือแองหินปูนที่มีการทับถม ของ ซากอินทรียวัตถุ พรรณไมสวนใหญมีใบหนาอุมน้ํา หรือลําตนและกิ่งกานมีหนามแหลม เชน สลัดไดปา Euphorbia spp. (Euphorbiaceae), จันทนผา หรือจันทนแดง Dracaena spp. (Dracaenaceae)
51
ปาละเมาะเขาต่ํา บนภูเขาหินปูน ดอยตุง จังหวัด เชียงราย ระดับ ความสูงประมาณ 1,300 เมตร
ปาละเมาะเขาต่ํา บนภูเขาหินปูน ดอยหัวหมด อําเภออุมผาง จังหวัดตาก ระดับ ความสูงประมาณ 1,000 เมตร
ปาละเมาะเขาต่ํา เขตรักษาพันธุ สัตวปาภูหลวง ระดับความสูง ประมาณ 1,300 เมตร
52
สารภีดอย Anneslea fragrans ในปาไมกอ-ไมสน วานแมยับ Iris colletii ในปาไมกอ-ไมสน
หนาดดอย Anaphalis margaritacea พบตามปาไมกอ และปาไมกอ-ไมสน
กุหลาบแดง Rhododendron simsii พบเปนกลุมในปาละเมาะเขาต่ําบนภูหลวง
เตามด Debregeasia wallichiana ในปาละเมาะเขาต่ํา
ตาเหินไหว Hedychium ellipticum ในปาละเมาะเขาต่ํา
หัวยาขาวเย็น Smilax micro-china ในปาละเมาะเขาต่ํา 53
8
»†Ò´Ôºà¢ÒÊÙ§ËÃ×Í»†ÒàÁ¦
(upper montane rain forest ËÃ×Í cloud forest) ปาดิบเขาสูงขึ้นปกคลุมตามสันเขาและยอดเขา ที่สูงกวา 1,900 เมตร ขึน้ ไป สวนใหญจะมีเมฆ/หมอกปกคลุมเปนประจํา เรียกอีกชือ่ หนึง่ วา “ปาเมฆ” ปาดิบเขาสูงตามธรรมชาติทส่ี มบูรณ พบขึน้ ปกคลุมสันเขาและยอดดอยอินทนนท เปนผืนใหญ ปาดิบเขาสูงมีลักษณะเดนของเรือนยอดชั้นบนระหวาง 16–23 เมตร แนนทึบ เรือนยอดของไมชนั้ บนแตละตนจดกันตอเนือ่ งเปนลอนสม่าํ เสมอ ชัน้ ไมในปาเกือบจะเปนชัน้ เดียว ไดแกชนั้ เรือนยอดเทานัน้ เนือ่ งจากเรือนยอดที่ แนนทึบมากและการปกคลุมของเมฆ/หมอก ทําใหพน้ื ลางของปารมครึม้ ตลอด วัน ไมชนั้ รองลงมา จึงมีขนาดเล็กมากและขึน้ หางๆ อยูต ามบริเวณทีม่ แี สงสวาง บางในปา เนื่องจากอากาศอันหนาวเย็นและความชุมชื้นในปาที่สูงมาก ตาม ลําตนและกิง่ ของไมตน จึงปกคลุมดวยพืชอิงอาศัยจําพวกมอสและไลเคนหนาแนน โดยเฉพาะมอสชนิดตางๆ จะปกคลุมลงมาถึงโคนตนและคลุมพื้นดินออกไป โดยรอบ ตามชายปาดิบเขาสูงจะปรากฏชัน้ ของไมพมุ สูง 1–2 เมตร ไดแก ฮอมดง Strobilanthes involucratuss (Acanthaceae) พรรณพืชจําพวกเฟนพบขึน้ ตาม พื้นปา (terrestrial fern) และอิงอาศัย (epiphytic fern) ตามลําตน และกิ่งไม หนาแนน บางครั้งเรียกปาดิบเขาสูงอีกชื่อหนึ่งวา mossy forest องคประกอบของพรรณไมในปาดิบเขาสูงจะแตกตางจากพรรณไมในปาดิบเขาต่าํ พรรณ ไมที่ชอบขึ้นในที่ต่ํา (lowland species) ซึ่งพบขึ้นปะปนอยูในปาดิบเขาต่ํา แทบจะไมปรากฏ อยูเลยในปาดิบเขาสูง เชน ยางนอง Antiaris toxicaria, ไทร-มะเดื่อ Ficus spp. (Moraceae), มะกอกเลื่อม Canarium spp. (Burseraceae), โพบาย Balakata spp. (Euphorbiaceae), สมอ Terminalia spp. (Combretaceae), คางคาว Aglaia spp., ยมหอม Toona spp. (Meliaceae), ขนาน Pterospermum spp. (Sterculaiceae) ฯลฯ พรรณไมเดนหลายชนิดของ ปาดิบเขาต่ํา เชน จําปหลวง Michelia rajaniana, มณฑาดอย Manglietia garrettii, ตองแข็ง Magnolia hodgsonii (Magnoliaceae), และไมกออีกหลายชนิดจะไมพบในปาดิบเขาสูง เชน กอเดือย Castanopsis acuminatissima, กอใบเลื่อม C. tribuloides, กอหมน Lithocarpus grandifolius, กอแอบหลวง Quercus helferiana, กอแดง Q. kingiana เปนตน 54
ปาเมฆ (cloud forest) หรือปาดิบเขาสูง (upper montane rain forest) หรือปาละเมาะเขาสูง (upper montane scrub) บริเวณ กิว่ แมปาน อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท แสดงการปกคลุมของเมฆ/หมอก ตามผังภาพบน ตัง้ แตระดับ ประมาณ 1,900 – 2,565 เมตร พื้นที่เขตภูเขา (montane) ระดับสูงในประเทศไทย จะอยูในแนวเขตการปกคลุมของเมฆ/หมอก (cloud belt) เกือบทั้งป 55
สกุลพรรณไมเขตอบอุน (temperate genera) ที่รูจักกันทั่วไป และชนิดพรรณไมเขตอบอุน (temperate species) ที่พบในประเทศไทยเชน สกุลพรรณไมเขตอบอุน
ตัวอยางชนิดที่พบในประเทศไทย
Acerr (maple) Aesculuss (horse chestnut) Asterr (daisy)
Acer laurinum m (กวมขาว)) Aesculus assamicaa (มะเนียงน้ํา) Aster ageratoidess ssp. alato-petiolata (หนาดดอยเชียงดาว) Betula alnoidess (กําลังเสือโครง) Carpinus vimineaa (กอสรอย) Castanopsis acuminatissimaa ((กอเดือย) Clematis smilacifoliaa (พวงแกวกุุดั่น) Fraxinus floribundaa (จันทรทอง) Gentiana hesseliana var. lakshnakarae (ดอกหรีด) Hedera himalaicaa (กระจับเขา) Iris collettiii (วานแมยับ) Lilium primulinum m var. burmanicum m (แตรวง) Pinus kesiyaa (สนสามใบ) Pinus merkusiii (สนสองใบ) Primula siamensiss (ดอกหรีดอินทนนท) Prunus cerasoides (นางพญาเสือโครง, ชมพูภูพิงค) Quercus kerriii (กอแพะ) Rhododendron lyii (กุหลาบขาว) Rhododendron simsiii (กุหลาบแดง) Rosa odorata var. giganteaa (จีดง) Salix tetraspermaa (สนุนุ ) Ulmus lanceifolia (ดูชางยอย) Vaccinium sprengeliii (สมแปะ) Viola betonicifoliaa (ใบพาย)
Betulaa (birch) Carpinuss (hornbeam) Castanopsiss (chestnut) Clematiss (clematis) Fraxinuss (ash) Gentianaa (gentian) Hederaa (ivy) Iriss (iris) Lilium m (lily) Pinuss (pine) Primulaa (primrose) Prunuss (cherry, peach, apricot, nectarine) Quercuss (oak) Rhododendronn (azalea & rhododendron) Rosaa (rose) Salixx (willow) Ulmuss (elm) Vaccinium m (heather) Violaa (violet)
ไมตนที่พบทั่วไปในปาดิบเขาสูงเชน กอตลับ Quercus rex, กอจุก Lithocarpus aggregatus, กอดาน Castanopsis purpurea (Fagaceae), ทะโล Schima wallichii, แมงเมานก Eurya nitida var. nitida, ขี้ผึ้ง Gordonia dalglieshiana (Theaceae), เอียน Neolitsea foliosa, เมียดตน Litsea martabanica, มะเขือขืน่ Beilschmiedia spp., แกง Cinnamomum tamala, จวงหอม Neocinnamomum caudatum (Lauraceae), พันชุลี Mastixia euonymoides (Cornaceae), เอี้ยบวย Myrica esulenta (Myricaceae), เหมือดคนดง Helicia formosana var. oblanceolata, เหมือดคน Heliciopsis terminalis (Proteaceae), กวมขาว Acer laurinum, กวมแดง A. calcaratum (Aceraceae), โพสามหาง Symingtonia populnea (Hamamelidaceae), เหมือดดอย Myrsine semiserrata (Myrsinaceae), เข็ม ดอย Osmanthus fragrans (Oleaceae), เหมือดเงิน Symplocos dryophila (Symplocaceae), ตาง Macropanax dispermus (Araliaceae), มะกอม Turpinia cochinchinensis (Staphyleaceae) ตามชายปาดิบเขาสูง ที่เปนทุงโลง บนไหลเขาที่ลาดชันจะพบกลุมไมขนาดเล็ก ไดแก คําแดง Rhododendron arboreum ssp. delavayi (Ericaceae) และไมพุมจําพวกชามะยมดอย Gaultheria crenulata (Ericaceae) ไมพุมอิงอาศัยที่พบมาก เชน สะเภาลม Agapetes hosseana, กายอม Rhododendron veitchianum (Ericaceae) และโพอาศัย Neohymenopogon parasiticus (Rubiaceae) 56
ปาดิบเขาที่แคระแกร็น บริเวณกิ่ว แมปาน อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท บริเวณทุงหญามักจะถูกไฟปารบกวน เปนครั้งคราว
ปาดิบเขาสูง บริเวณ ยอดดอย อุทยาน แหงชาติดอยอินทนนท ระดับความสูง 2,400– 2,500 เมตร
57
ปาละเมาะเขาสูง ดอย เชียงดาว จังหวัด เชียงใหม
กุหลาบขาว เชียงดาว Rhododendron ludwigianum
ปาละเมาะเขาสูง ตามสันเขาและ ยอดเขาดอยเชียงดาว จังหวัด เชียงใหม ระดับความสูง 1,900– 2,200 เมตร
58
9
»†ÒÅÐàÁÒÐà¢ÒÊÙ§ (upper montane scrub)
ปาละเมาะเขาสูง เปนสังคมพืชที่เปนเอกลักษณ พบเฉพาะบนพืน้ ที่โลง ตามสันเขาและยอดเขาของภูเขาหินปูน ดอยเชียงดาว จ.เชียงใหม ทีร่ ะดับความ สูงประมาณ 1,900–2,200 เมตร สภาพปาสวนใหญประกอบดวยไมพุมเตี้ย และพืชลมลุก ขึน้ ตามซอกหรือแองหินปูนทีม่ กี ารสะสมของอินทรียว ตั ถุ พืน้ ที่ ทั้งหมดประกอบดวยแทงและกอนหินปูน ที่แหลมคมขนาดตางๆ ไมปรากฏ ชั้นดิน สภาพปาตามธรรมชาติดูคลายสวนหินที่ประดิษฐขึ้น ไมมีไมตนที่เดน ชัด นอกจาก คอเชียงดาว Trachycarpus oreophiluss (Palmae) สูงประมาณ 3–10 เมตร ขึ้นกระจัดกระจายหางๆ องคประกอบ พรรณไมของปาละเมาะ เขาสูง สวนใหญเปนพรรณไมเขตอบอุน หลายชนิดเปนพรรณไมถิ่นเดียวของ ประเทศไทย (endemic species) กลุมไมพุม เชน กุหลาบเวียงเหนือ Rosa helenae, ไขแดง Cotoneaster franchetii (Rosaceae), พิมพใจ Luculia gratissima var. glabra (Rubiaceae), เข็มเชียงดาว Viburnum atro-cyaneum (Caprifoliaceae), มะแขน Zanthoxylum acanthopodium (Rutaceae), ขมิ้นดอย Mahonia siamensis (Berberidaceae), เปรมนา Premna interrupta var. smitinandii (Labiatae), กุหลาบขาวเชียงดาว Rhododendron ludwigianum (Ericaceae), อูนตน Cornus oblonga (Cornaceae), ครามดอย Indigofera dosua, ครามเชียงดาว Lespedeza harmsii, ถั่วพุมดอย Sophora dispar (Leguminosae-Papilionoideae), ฮอม ดอย Strobilanthes chiangdaoensis (Acanthaceae) ไมพุมเกาะอาศัยตามซอกหินและกิ่ง ไม ไดแก โพอาศัย Neohymenopogon parasiticus และสะเภาลม Agapetes hosseana พืชลมลุกสวนใหญเปนพรรณไมเขตอบอุน เชน แอสเตอรเชียงดาว Aster ageratoides ssp. alato-petiolata, Camchaya calcarea, ไขขาง Senecio craibianus (Compositae), ฟอง หินเหลือง Sedum susanae (Crassulaceae), พวงแกวเชียงดาว Delphinium siamense,
59
พวงหิน Thalictrum calcicola (Ranunculaceae), ขาวปน Pterocephalodes siamensis (Dipsacaceae), ดอก หรีดเชียงดาว Gentiana australis (Gentianaceae), แสงแดง Colquhounia coccinea, ปน สินไชย Leucosceptrum canum (Labiatae), บัวทอง Hypericum uralum (Guttiferae), ชมพูเชียงดาว Pedicularis siamensis (Scrophulariaceae), สรอยไทรทอง Silene burmanica (Caryophyllaceae), พิมสาย Primula siamensis (Primulaceae), ผักชี หอม Geranium lambertii subsp. siamense (Geraniaceae), ฟองหินดอย Saxifraga gemmipara var. siamensis (Saxifragaceae), วานหอม Veratrum chiangdaoense (Melanthiaceae) เปนตน
กุหลาบขาวเชียงดาว Rhododendron ludwigianum พบตามปาละเมาะเขาสูง ดอย เชียงดาว
พิมพใจ Luculia gratissima var. glabra พบตามปาละเมาะเขาสูง ดอยเชียงดาว 60
คําแดง Rhododendron arboreum subsp. delavayi ตามชายปาดิบเขาสูงและปาละเมาะเขาสูง
กุหลาบเวียงเหนือ Rosa helenae
โพสามหาง Symingtonia populnea ในปาดิบ เขาสูง ไขขาง Senecio craibiana
61
10
áÍ‹§¾ÃØÀÙà¢Ò
(montane peat bog ËÃ×Í sphagnum bog) แองพรุภเู ขามีลกั ษณะเปนแองหรือทีล่ มุ บนยอดเขา หรือบนทีร่ าบสูงกวา ระดับน้ําทะเลตั้งแตประมาณ 1,200 เมตรขึ้นไป เชน แองพรุบนยอดดอยอิน ทนนท จ.เชียงใหม แองพรุบนสันเขาที่ราบของปาบาลาฮาลาทางภาคใตตอน ลาง ซึ่งเปนแองขนาดเล็ก และแองพรุขนาดใหญบนภูเขาหินทราย ภูกระดึง และภูหลวง จังหวัดเลย ที่มีสภาพอากาศหนาวเย็นและความชุมชื้นสูงตลอด ป สภาพของแองทีช่ มุ แฉะเปนเนืองนิจ มีการทับถมของซากอินทรียว ตั ถุทไี่ มผุ สลาย ดินชั้นอินทรียปกคลุมดวยขาวตอกฤๅษี (sphagnum mosses) คลาย ผืนพรมคลุมผิวดินตอเนือ่ ง บนพืน้ ทีเ่ ปนทุง โลง จะพบไมตน ขนาดเล็กขึน้ นอย มาก บริเวณแองพรุทเี่ ปนพืน้ ทีด่ อนขึน้ มา เชน พืน้ ทีต่ ามขอบแอง จะพบไมพมุ หรือไมตนขนาดเล็ก ขึ้นอยูประปราย สวนใหญเปนพรรณไมของวงศ กุหลาบ ดอย (Ericaceae) เชน กุหลาบขาว-กุหลาบแดง Rhododendronn spp., สม แปะ Lyoniaa spp., ชอไขมกุ Vaccinium m spp., ชามะยมดอย Gaultheriaa spp.
สภาพแองพรุภูเขา บน ภูกระดึง พื้นลางปกคลุมดวย Sphagnum mosses ดอก สามสี Rhododendron lyi และหมอขาวหมอแกงลิง Nepenthes thorelli
62
แองพรุภูเขาปาบาลาฮาลา อําเภอเบตง จังหวัดยะลา ปกคลุมหนาแนนดวยเฟน บัวฺแฉก Dipteris conjugata
แองพรุภูเขา Sphagnum mosses ภูหลวง จังหวัดเลย จะมีกลุมไมขนาดเล็กของสกุล Vaccinium spp. ขึ้น กระจัดกระจาย
แองพรุภูเขาบนยอดดอยอินทนนท พื้นลาง ปกคลุมไปดวย Sphagnum mosses แวดลอม ดวยปาดิบเขาสูง หรือปาเมฆ
63
11
»†ÒªÒÂàŹËÃ×Í»†Ò⡧¡Ò§ (mangrove forest)
ปาชายเลนหรือปาโกงกางเนือ่ งจากมีไมโกงกางเปนพรรณไมเดน ขึน้ ตามฝง ทะเลทีเ่ ปนดินเลน พบมากตามปากแมนา้ํ ลําคลองใหญทไี่ หลออกสู ทะเล และรองน้ําริมทะเลทัง้ ฝงอาวไทยและทะเลอันดามันตามเกาะตางๆ พรรณไมปาชายเลน ขึ้นไดตามฝงแมนํ้าลําคลองที่มีนํ้าเค็มจนถึงน้ํากรอย ทวมถึง ปาชายเลนฝงทะเลอันดามันมีไมขนาดใหญ และอุดมสมบูรณกวา ฝง อาวไทย ปาชายเลนมีลกั ษณะโครงสรางของปาและองคประกอบของพรรณ ไมโดยเฉพาะ ตนไมบางชนิด เชน โกงกาง Rhizophoraa spp. มีรากค้ํายัน (buttress root หรือ stilt root) ออกมาจากโคนตน บางชนิด เชน แสม Avicenniaa spp., ลําพู Sonneratiaa spp., ประสัก Bruguieraa spp. มีราก อากาศโผลพนพื้นดินเลน เรียกวา รากหายใจ (pneumatophore)
64
ปาชายเลน เกาะพระทอง จังหวัดพังงา
ชะคราม Suaeda maritima บนพื้นที่โลงที่มีดิน เค็มและแข็ง ดานหลังปาชายเลน
โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata ที่มีระบบรากค้ํายัน (buttress roots)
65
พรรณไมในปาชายเลนจะขึ้นในแนวเขตที่แบงแยกกันชัดเจนแตกตางกันไปตามสภาพพื้นที่ที่น้ําทะเลทวมถึง มากหรือนอย ในแตละวันอัตราความเค็มของน้ําทะเลและลักษณะของดินเลนเขตปาชายเลนดานนอกติดทะเลจะ ไดรับอิทธิพลของคลื่นลมเสมอ จะพบแสมทะเล Avicennia marina, แสมขาว A. alba (Avicenniaceae), ลําแพน Sonneratia alba (Sonneratiaceae) ขึ้นเปนกลุมหนาแนน ถัดเขามาดานในจะพบโกงกางใบใหญ Rhizophora mucronata, โกงกางใบเล็ก R. apiculata ปะปนกับกลุมของประสัก, รุย ถั่วขาวหรือถั่วดํา Bruguiera spp. และ โปรง Ceriops spp. (Rhizophoraceae) ตะบูนขาว Xylocarpus granatum (Meliaceae) ขึ้นแทรกหางๆ อยูในแนว เขตนี้ ปาชายเลนดานใน ติดฝงมีดินเลนคอนขางแข็ง น้ํากรอย ตลิ่งสูงขึ้น จะพบตะบูนดํา Xylocarpus moluccensis (Meliaceae), หงอนไกทะเล Heritiera littoralis (Sterculiaceae), หลุมพอทะเล Intsia bijuga (LeguminosaeCaesalpinioideae), ฝาด Lumnitzera spp. (Combretaceae), ลําพู Sonneratia caseolaris, ลําแพนหิน S. griffithii (Sonneratiaceae), ตาตุมทะเล Excoecaria agallocha (Euphorbiaceae), แคทะเล Dolichandrone spathacea (Bignoniaceae) บริเวณพืน้ ลางของปาชายเลนดานในมี เฟนหรือปรงทะเล Acrostichum spp. (Pteridaceae), เหงือก ปลาหมอ Acanthus spp. (Acanthaceae), จาก Nypa fruticans, เปงทะเล Phoenix paludosa (Palmae) ขึ้นทั่วไป
winding buttresses
ตะบูนขาว Xylocarpus granatum ในปาชายเลน
buttresses
pneum matophores
ตะบูนดํา Xylocarpus moluccensis ในปาชายเลน
ตะบัน Xylocarpus rumphii ในสังคมพืชชายหาด
ภาพแสดงลักษณะลําตน เปลือก พูพอน (buttresses) และรากหายใจ (pneumatophores) ของ พรรณไมสกุล Xylocarpus วงศ Meliaceae ในปาชายเลนและสังคมพืชชายหาด 67
ปาชายเลน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง
ถั่วดํา Bruguiera parviflora
โกงกางใบใหญ Rhizophora mucronata
สมอทะเล Shirakiopsis indica ในแนวเขตดานหลังปาชายเลน เปงทะเล Phoenix paludosa แนวเขตดานหลังปาชายเลน 68
แสมทะเล Avicennia marina
ลําแพน Sonneratia alba ที่ปรากฏระบบรากหายใจ (pneumatophores) ชวงน้ําลด
ตะบูนดํา Xylocarpus moluccensis
69
12 »†Ò¾ÃØ
(peat swamp forest ËÃ×Í coastal peat swamp forest)
ปาพรุเกิดในภูมิประเทศใกลฝง ทะเล (coastal) ทางภาคใตตอนลาง (เชน นราธิวาส) ทีม่ ฝี นชุกและ เปนพืน้ ทีล่ มุ ต่าํ อาจจะต่าํ กวาระดับน้าํ ทะเล ปานกลางหรือเปนทีด่ อนสูงขึน้ เหนือระดับน้าํ ทะเลถึงประมาณ 30 เมตร มี สภาพเปนแองน้าํ จืดขังติดตอกันชั่วนาตาป มีการสะสมของชัน้ อินทรียว ัตถุ หรือดินอินทรียท หี่ นามากหรือนอย อยูเ หนือชัน้ ดินแทๆ การสะสมของซาก พืชและอินทรียวัตถุเกิดขึ้นตอเนื่องกันในสภาวะน้ําทวมขังที่ไดจากฝนใน แตละป พืชพรรณสวนใหญจึงมีโครงสรางพิเศษเพื่อดํารงชีพในสภาพสิ่ง แวดลอมเชนนี้ได เชน โคนตนมีพูพอน ระบบรากแกวสั้น แตมีรากแขนง แผกวางแข็งแรง มีระบบรากพิเศษหรือระบบรากเสริม ไดแก รากค้ํายัน (buttress root หรือ stilt root) ออกตามโคนตน รากสวนบนจะโผลเหนือ ขึน้ ดินอินทรียท มี่ นี า้ํ หลออยูเ ปนเนืองนิจ ชวยระบายอากาศ ปลายรากหยัง่ ลงไปในดิน ชวยในการพยุงลําตน พบในไมขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ เชน ตังหน Calophyllum teysmannii, ยากา Blumeodendron kurziii ฯลฯ ไม ตนหลายชนิดมีรากหายใจ (pneumatophore) แตกตัง้ ฉากกับรากแขนงใน ชั้นดินอินทรีย สงปลายรากขึ้นเหนือชั้นดิน ชวยในการหายใจ เชน หลุมพี Eleiodoxa conferta, ชางไห Neesia malayanaa ฯลฯ ลักษณะโครงสรางของปาพรุที่สมบูรณไมถูกรบกวนดูคลายปาดิบชื้น แตชนิด พรรณไมจะแตกตางกันอยางมาก มีตนไมหลายขนาดและเรือนยอดชิดกันตอเนื่อง เรือน ยอดชั้นบนสูงถึง 24–37 เมตร เชน ชางไห Neesia malayana (Bombacaceae), ตัง หนใบใหญ Calophyllum teysmannii (Guttiferae), ชันรูจี Parishia insignis, ขี้หนอน พรุ Campnosperma coriaceum (Anacardiaceae), กาบออย Dacryodes incurvata (Burseraceae), สะเตียว Madhuca motleyana (Sapotaceae), เลือดควายใบใหญ 70
ปาพรุโต็ะแดงจังหวัดนราธิวาส
เงาะปา Nephelium maingayi
กลวยไม Polyalthia sclerophylla
71
Horsfieldia crassifolia, จันทนปา Myristica iners (Myristicaceae), ตันหยงปา Elaeocarpus macrocerus (Elaeocarpaceae), ชมพู เสม็ด Aglaia rubiginosa, สะทอนนก Sandoricum beccarianum (Meliaceae), อายบาว Stemonurus secundiflorus (Icacinaceae), กาแดะ Dialium patens (Leguminosae-Caesalpinioideae), ชมพูป า และหวาชนิดตางๆ Syzygium spp. (Myrtaceae) ฯลฯ ไม ต น ชั้ น รองลงมา เช น จั น ทน ม ว ง Myristica elliptica (Myristicaceae) ปาหนั น แดง Polyalthia lateriflora, กล้ ว ยไม้ P. sclerophylla, ทุเรียนนก Xylopia ferruginea (Annonaceae), ยากา Blumeodendron kurzii, ระไมปา Baccaurea bracteata (Euphorbiaceae), ซางจีน Nageia motleyi (Podocarpaceae), เข็ม ปา Ixora grandifolia (Rubiaceae), สังเครียด Chisocheton patens (Meliaceae) พื ช ล ม ลุ ก และปาล ม ที่ พ บทั่ ว ไป เช น รั ศ มี เ งิ น , ลิ้ น กะทิ ง Aglaonema spp., เอาะ Alocasia spp., บอน Homalomena spp., ผักหนาม Lasia spinosa (Araceae), หมากแดง Cyrtostachys renda, หลุมพี Eleiodoxa conferta, กะพอแดง Licaula longecalyculata, รอก Livistona saribus, หมากงาชาง Nenga pumila, หมากลิง Pinanga riparia, หวายสะเดาน้ํา Korthalsia laciniosa, หวายตะคา ทอง Calamus caesius (Palmae) บริเวณชายปาพรุหรือปาพรุที่ถูกรบกวนใหมๆ จะพบพรรณไม เบิกนํา (pioneer species) จําพวก มะฮังใหญ Macaranga pruinosa (Euphorbiaceae) ขึ้นเปนกลุมๆ บริเวณพื้นที่โลงมีไมขนาดเล็ก ไดแก เที้ยะ Alstonia spathulata (Apocynaceae) ขึ้นกระจัดกระจาย ปา พรุที่ถูกแผวถางและถูกรบกวนซ้ําซากมีไฟไหมเปนประจํา ในชวง ฤดูแลง เสม็ด Melaleuca cajuputi (Myrtaceae) จะขึ้นปกคลุม พื้นที่เกือบเปนกลุมเดียวลวนๆ พื้นที่เปนที่ดอนบางตอน จะพบสน ทราย Baeckea frutescens, เมา Syzygium grande และเสม็ดแดง S. gratum (Myrtaceae) ขึ้นแทรกหางๆ
72
ปารุนสองของปาพรุที่ถูก ไฟปารบกวนเปนประจํา มีไมเสม็ด Melaleuca cajuputi ขึ้นเกือบเปน กลุมเดียวลวนๆ เรียกวา “ปาเสม็ด” หมายถึง ปา พรุที่เสื่อมสภาพ
ปาพรุ หลังไฟปา หมากแดง Cyrtostachys renda เหลืออยูบาง แตจะลมตายลงในระยะเวลาตอมา 73
13
»†ÒºÖ§¹éӨ״ËÃ×Í»†ÒºØ‹§-·ÒÁ (freshwater swamp forest)
ปาบึงน้ําจืดหรือปาบุง-ทาม แตกตางจากปาพรุอยางสําคัญ กลาวคือ ปาพรุเกิดบนพื้นที่เปนแองรูปกระทะ ที่มีการสะสมอยางถาวรของซากพืช หรืออินทรียวัตถุที่ไมผุสลาย แชอยูในน้ําจืดที่ไดรับจากฝนเปนสวนใหญ ในฤดูน้ําหลากปริมาณน้ําสวนเกินในพรุจะเออลนไหลลงสูทะเลหรือแมน้ํา ลําคลอง โดยที่ช้นั อินทรียวัตถุ ไมไดรับความกระทบกระเทือน สวนปาบึง น้าํ จืดเกิดตามบริเวณทีร่ าบสองฝง แมนา้ํ และลําน้าํ สายใหญทางภาคใต เชน แมน้ําตาป, ภาคกลาง เชน แมน้ําเจาพระยา แมน้ําสะแกกรัง, ปาบึงน้ําจืด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน แมนา้ํ มูล ชี เรียกวา ปาบุง -ทาม พืน้ ทีเ่ ปน แองมีน้ําขังเรียกวาบุง พื้นที่ดอนมีตนไมใหญนอยเรียกทาม ปาบึงน้ําจืดได รับน้ําจืด ที่เออลนตลิ่งลําน้ําในฤดูน้ําหลาก บนพื้นปาไมมีการสะสมของ อินทรียว ตั ถุอยางถาวร เนือ่ งจากซากพืชถูกน้าํ พัดพาไปกับกระแสน้าํ หลาก ที่แปรปรวนอยูเสมอ ปจจุบันปาบึงน้ําจืดไดถูกทําลายไปมากเพื่อเปลี่ยน เปนพื้นที่ตั้งชุมชน พื้นที่เกษตรกรรม เชน สวนยางพารา สวนปาลมน้ํามัน สวนผลไม นาขาว ฯลฯ นอกจากนีย้ ังพบปาบึงน้ําจืดขนาดเล็ก ในบริเวณที่ มีตาน้าํ ใตดนิ หรือแหลงน้าํ ซับ ตามพืน้ ทีเ่ ขาหินปูนทางภาคกลางและภาคใต ลักษณะโครงสรางของปาบึงน้ําจืดในแตละทองที่จะแตกตางกันไปอยางมากขึ้น อยูกับภูมิประเทศริมฝงแมน้ํา ปริมาณน้ําในฤดูน้ําหลากและสภาพของดิน ปาบึงน้ําจืด บนฝงที่เปนที่ราบในฤดูน้ําหลากระดับน้ําคอนขางสูง จะมีตน ไมปกคลุม พื้นที่เปนกลุมๆ กระจัดกระจายและตนไมมีความสูงไมมากนัก พื้นลางเปนพืชจําพวกหญาและกก สวน พื้นที่ดอนที่น้ําทวมถึงเปนครั้งคราวในระยะเวลาสั้นๆ จะพบกลุมไมตนขนาดกลาง-ใหญ ปกคลุมพื้นที่หนาแนน ติดตอกันเปนผืนใหญ ไมตนที่พบทั่วไปในปาบึงน้ําจืด เชน กรวยสวน Horsfieldia irya (Myristicaceae), 74
ปาบุง-ทาม ในฤดูแลง ทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือ
ปาบุง-ทาม ลุมน้ํามูล
ปาบึงน้ําจืด ธารโบกขรณี อําเภออาวลึก จังหวัด กระบี่ ในชวงฤดูน้ําหลาก
75
ปาบึงน้ําจืด ที่มีกลุมไมจันทนกะพอ (Vatica diospyroides) เขตหามลาสัตวปาหนองทุงทอง อ.เคียนซา จ.สุราษฎรธานี
ปาบึงน้ําจืด ริมฝงแมน้ําตาป อําเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎรธานี
76
ปาบุง-ทาม ลุมน้ํามูล ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แฟบน้ํา Hymenocardia wallichii ไมพุมพบทั่วไป ในปาบึงน้ําจืดหรือปาบุง-ทาม
ชอดอกจันทนกะพอ Vatica diospyroides สักน้ํา Vatica pauciflora
จันทนกะพอ Vatica diospyroides ในปาบึงน้ําจืด จ.สุราษฎรธานี 77
กระเบาใหญ Hydnocarpus anthelminthicus ขึ้นตามปาบึงน้ําจืดหรือปาบุง-ทาม และริมธารในปาดิบแลง
กระทุมน้ํา Nauclea orientalis พบมากในปาบึงน้ําจืดหรือปาบุง-ทาม
มะมวงปาน Mangifera gedebe
สนุน Salix tetrasperma พบในปาบึงน้ําจืด และริม ลําธารในปาไมกอ
78
กันเกรา Fagraea fragrans (Gentianaceae), สีเสื้อน้ํา Homalium foetidum, กระเบาใหญ Hydnocarpus anthelminthicus, ตะขบน้ํา Scolopia macrophylla (Flacourtiaceae), จิกสวน Barringtonia racemosa (Lecythidaceae), สักน้ํา Vatica pauciflora (Dipterocarpaceae), ชุมแสง Xanthophyllum lanceatum (Xanthophyllaceae), สะแก Combretum quadrangulare (Combretaceae), มะมวงปาน Mangifera gedebe (Anacardiaceae), กระทุมบก Anthocephalus chinensis, กระทุมหรือ กระทุมน้ํา Nauclea orientalis, เงาะหนู N. subdita, กระทุมนา Mitragyna diversifolia, กระทุมน้ํา Ochreinauclea maingayi (Rubiaceae), เฉียงพรา นางแอ Carallia brachiata (Rhizophoraceae), อินทนิลน้าํ Lagerstroemia speciosa (Lythraceae), พิกลุ พรุ Elaeocarpus griffithii (Elaeocarpaceae), นาวน้ํ า Artabotrys spinosus, กลึ ง กล อ ม Polyalthia suberosa (Annonaceae), ชะมวงกวาง Ploiarium alternifolium (Guttiferae), ส า นน้ํ า Dillenia pulchella (Dilleniaceae), ระกํ า ป า Cathormion umbellatum, คาง Albizia lebbekoides (Leguminosae-Mimosoideae), หวา Syzygium cumini (Myrtaceae), แฟบน้ํา Hymenocardia wallichii, สําเภา Chaetocarpus castanocarpus (Euphorbiaceae), ตังหนใบเล็ก Calophyllum pisiferum, มะดัน Garcinia schomburgkiana (Guttiferae), ขอย Streblus asper (Moraceae), บริเวณพื้นที่โลงเปนที่ดอนมีไมพุมออก เปนกอหนาแนน ไดแก กางปลาขาว Phyllanthus reticulatus, เสียวนอย P. taxodiifolius, เสียวใหญ P. polyphyllus var. siamensis (Euphorbiaceae) ไผที่พบมากออกเปนกอใหญ ไดแก ไผปา หรือไผหนาม Bambusa bambos (Gramineae)
79
14
Êѧ¤Á¾×ªªÒÂËÒ´ (strand vegetation)
สังคมพืชชายหาด พบตามชายฝ งทะเลที่เป นหาดทราย (sand strand), แนวสันทราย (sand dune) หรือโขดหิน (rock strand) พืช พรรณไมขึ้นเปนแนวแคบๆ หรือเปนหยอมๆ เลาะไปตามแนวหาดทราย ที่ราบหรือชายฝงที่คอนขางชัน ทางฝงทะเลภาคตะวันออกเฉียงใต ภาค กลาง และภาคใต สังคมพืชมีตง้ั แตทงุ โลงปกคลุมดวยหญาลอยลม Spinifex littoreuss และผักบุง ทะเล Ipomoea pes-capraee หากสภาพเปนปาจะโปรง สวนใหญเปนตนไมขนาดเล็ก ไมตนที่มีขนาดใหญ มักจะแตกกิ่งต่ําระเกะ ระกะ เรือนยอดแผกวาง ตนคอนขางเตี้ย ไมตนขนาดใหญในปาชายหาดที่ มีขนาดสูงตรง ไดแก สนทะเล Casuarina equisetifoliaa (Casuarinaceae) พบขึ้นเปนกลุมตามชายหาดที่ไมถูกรบกวนมากนัก ไมตนชนิดอื่น เชน กระทิงหรือสารภีทะเล Calophyllum inophyllum m (Guttiferae), ปอทะเล Hibiscus tiliaceus, โพทะเล Thespesia populneaa (Malvaceae), หูกวาง Terminalia catappaa (Combretaceae), เทียนทะเล Pemphis acidula (Lythraceae), โกงกางหูชาง Guettarda speciosaa (Rubiaceae), ตีน เปดทราย Cerbera manghass (Apocynaceae), เมา Syzygium grande (Myrtaceae), จิกทะเล Barringtonia asiaticaa (Lecythidaceae), งาไซ Pouteria obovataa (Sapotaceae), หมันทะเล Cordia subcordata (Boraginaceae), ตะบัน Xylocarpus rumphiii (Meliaceae), โพกริ่ง Hernandia nymphaeifoliaa (Hernandiaceae), หยีทะเล Derris indica (Leguminosae-Papilionoideae) 80
ไม พุ ม ที่ พ บทั่ ว ไป เช น รั ก ทะเล Scaevola taccada (Goodeniaceae), สํามะงา Clerodendrum inerme, ชาเลือด Premna obtusifolia, คนทิสอทะเล Vitex trifolia (Labiatae), หนามพุงดอ Azima sarmentosa (Salvadoraceae), เตยทะเล Pandanus tectorius (Pandanaceae), หนามพรม Carissa spinarum (Apocynaceae) ไมเถาที่พบทั่วไป เชน ผักบุงทะเล Ipomoea pes-caprae (Convolvulaceae), ถั่วคลา Canavalia rosea (Leguminosae-Papilionoideae), ดองดึง Gloriosa superba (Colchicaceae), จั่นดิน Asparagus acerosus (Asparagaceae)
สังคมพืชชายหาด(ทราย) บริเวณเนิน ทราย บานบางเบิด จังหวัดชุมพร มี เมา Syzygium grande และมะคาแต Sindora siamensis var. siamensis เปนไมเดน
81
หญาลอยลม Spinifex littoreus
ดองดึง Gloriosa superba
82
งวงชางทะเล Argusia argentea
จิกทะเล Barringtonia asiatica พบในสังคมพืชชายหาดที่เปนโขดหิน
ผักบุงทะเล Impomoea pes-caprae หมันทะเล Cordia subcordata
83
ปาผลัดใบ
(deciduous forest) ปาผลัดใบ เปนปาไมที่ผลัดใบตามฤดูกาล (seasonal) พบทั่วไปทุก ภาคที่มีชวงฤดูแลงยาวนานชัดเจน ระหวาง 4–7 เดือน ยกเวนภาคใตและ ภาคตะวันออกเฉียงใต (จันทบุรี-ตราด) เมื่อถึงฤดูแลงที่มีปริมาณความชุม ชื้นในดินและบรรยากาศลดลงอยางมาก ตนไมในปาประเภทนี้จะผลัดใบ รวงลงสูพ น้ื ดินและเตรียมผลิใบออนขึน้ มาใหม เมือ่ ถึงตนฤดูฝนหรือเมือ่ ปา มีความชุมชืน้ มากขึน้ พืชพรรณในปาผลัดใบสวนใหญเปนพรรณไมผลัดใบ (deciduous species) แทบทัง้ สิน้ ปาผลัดใบในชวงฤดูฝนมีเรือนยอดเขียว ชอุมเชนเดียวกับปาไมผลัดใบในฤดูแลง (มกราคม–มีนาคม) ใบไมแหงจะ กองทับถมบนพื้นปาทําใหเกิดไฟปาลุกลามในปาผลัดใบไดงายแทบทุกป ปาผลัดใบขึ้นทั่วไปบนที่ราบเชิงเขา และบนภูเขาสูงที่ไมเกินระดับ 1,000 เมตร (ยกเวนปาเต็งรัง-ไมสน) จําแนกออกเปน 3 ชนิด ดังนี้ 1. ปาเบญจพรรณหรือปาผสมผลัดใบ (mixed deciduous forest) 2. ปาเต็งรัง (deciduous dipterocarp forest หรือ dry dipterocarp forest) 3. ปาเต็งรัง-ไมสน (pine-deciduous dipterocarp forest)
84
15
»†ÒàºÞ¨¾Ãó ËÃ×Í»†Ò¼ÊÁ¼ÅѴ㺠(mixed deciduous forest)
ปาเบญจพรรณหรือปาผสมผลัดใบมีอยูมากทางภาคเหนือ ภาคกลางและ พบกระจัดกระจาย เปนหยอมเล็กๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนทาง ภาคใตไมพบปาชนิดนี้เลย ปาเบญจพรรณมีลักษณะเปนปาโปรงมากหรือนอย ประกอบดวยไมตนขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็กปนกันหลากชนิดโดย เฉพาะ พรรณไมของวงศ Leguminosae, Combretaceae และ Labiatae แต จะไมปรากฏพรรณไมกลุมยาง-เต็ง-รัง ที่ผลัดใบ (deciduous dipterocarp) บาง แหงมีไมไผชนิดตางๆ ขึน้ เปนกอสูงๆ แนนหรือกระจัดกระจาย พืน้ ดินมักเปนดิน รวนปนทราย มีความชุมชื้นในดินปานกลาง หากเปนดินที่สลายมาจากหินปูน หรือดินตะกอนทีอ่ ุดมสมบูรณตามฝง แมนา้ํ มักจะพบไมสักขึน้ เปนกลุม ๆ เชน ปา เบญจพรรณในภาคเหนือลงมาถึงภาคตะวันตกเฉียงใต ในเขตจังหวัดกาญจนบุรี ซึง่ ประกอบดวยภูเขาหินปูนเปนสวนใหญ ในชวงฤดูแลง (มกราคม–มีนาคม) ตนไม สวนใหญ จะผลัดใบทําใหเรือนยอดของปาดูโปรงมาก เมื่อเขาฤดูฝนตนไมจึงผลิ ใบเต็มตนและปาจะกลับเขียวชอุมเชนเดิม ปาเบญจพรรณในทองที่มีดินตื้นหรือดินเปนกรวดทราย คอนขางแหงแลง (xeric) และมี ไฟปาในฤดูแลง เปนประจํา ตนไมจะมีลักษณะแคระแกร็น เรือนยอดเปนพุมเตี้ยๆ ตามลําตน และกิ่งมักจะมีหนามแหลม เชน กระถินพิมาน Acacia tomentosa, A. harmandiana, แฉลบ แดง A. leucophloea (Leguminosae-Mimosoideae), สีฟนคนฑา Harrisonia perforata (Simaroubaceae), มะสัง Feroniella lucida, กระแจะ Naringi crenulata (Rutaceae), แจง Maerua siamensis (Capparaceae), ตะขบปา Flacourtia indica (Flacourtiaceae) เปนตน 85
ปาเบญจพรรณที่มีพรรณไม หลากชนิด บริเวณเขตรักษา พันธุสัตวปาหวยขาแขง จังหวัดอุทัยธานี (ภาพบน) และปาเบญจพรรณ ที่มีกลุม ไมไผหนาแนน อุทยานแหง ชาติขุนแจ จังหวัดเชียงราย (ภาพลาง)
86
ปาเบญจพรรณบนภูเขาหินปูน อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
วานหาวนอน Kaempferia rotunda ขึ้นตามพื้นลางของปาเบญจพรรณ
ไผหก Dendrocalamus hamiltonii มีลําขนาดใหญ ขึ้นในปาเบญจพรรณ ระดับสูง ปาเบญจพรรณบนพื้นที่แหงแลงลักษณะเปนปาหนาม ตนไมแคระเกร็นมักจะมีหนาม 87
ปาเบญจพรรณที่มีไมสักในชวงฤดูฝน อําเภอแมสะเรียง จังหวัดแมฮองสอน
ปาเบญจพรรณที่มีกลุมไมสัก ขึ้นเปนไมเดน ในชวงฤดู ผลัดใบ อําเภอแมสะเรียง จังหวัดแมฮองสอน
88
ปาเบญจพรรณหลังไฟปาในฤดูรอน เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง
แนวรอยตอ (ecotone) ที่ชัดเจนระหวางปา เบญจพรรณ (หลังไฟปา) และปาดิบแลงริมลําธาร (gallery forest) เขต รักษาพันธุสัตวปาทุงใหญ นเรศวร
89
ตนไมผลิใบใหมเต็มตนใน ปาเบญจพรรณ อุทยาน แหงชาติออบหลวง
ปรู Alangium salviifolium ssp. hexapetalum พบทั่วไปในปาเบญจพรรณ พฤกษ Albizia lebbeck พบทั่วไปในปาเต็งรังและปา เบญจพรรณ
คูน Colocasia gigantea พบทั่วไปในปาเบญจพรรณ 90
กระโดนหรือปุย Careya sphaerica พบทั่วไปในปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ
ยมหิน Chukrasia tabularis พบทั่วไปในปาเบญจพรรณ
กัลปพฤกษ Cassia bakeriana ในปาเบญจพรรณและชายปาดิบแลง
ซอ Gmelina arborea ขึ้นปะปนกับไมสักในปาเบญจพรรณ
สมปอย Acacia concinna ไมเถามีหนามพบมากตามปาเบญจพรรณและ ชายปาดิบแลง
วานนกคุม Gomphostemma strobilinum var. acaulis พบทั่วไปในปาเบญจพรรณ
91
สานใบเล็ก Dillenia ovata พบตามปา เบญจพรรณ
สานใหญ Dillenia obovata ในปาเบญจพรรณ
สานชาง Dillenia pentagyna ในปาเบญจพรรณ ทุงใหญนเรศวร
ชอผลของไมสัก Tectona grandis ในปาเบญจพรรณ 92
มะกอก Spondias pinnata พบทัว่ ไปในปาเบญจพรรณ
อินทนิลบก Lagerstroemia macrocarpa พบมากในปาเบญจพรรณและปาเต็งรังทางภาคเหนือ
ขวาว Haldina cordifolia ไมเดนในปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ
ปอลมปม Thespesia lampas ไมพุมที่พบทั่วไปในปาเบญจพรรณ
แคหิน Stereospermum colais
ไผผากมัน Gigantochloa hasskarliana ในปาเบญจพรรณ
พะยอม Shorea roxburghii พบทั่วไปในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณและชายปาดิบแลง
แจง Maerua siamemsis พบทั่วไปในปาเบญจพรรณที่แหงแลง 93
ไมตน ทีพ่ บทัว่ ไป เชน พฤกษ Albizia lebbeck, คาง A. odoratissima, ปนแถ A. lucidior, ถอน A. procera (Leguminosae-Mimosoideae), มะคาโมง Afzelia xylocarpa, สมเสี้ยว Bauhinia malabarica (Leguminosae-Caesalpinioideae), ทองกวาว Butea monosperma (Leguminosae-Papilionoideae), ราชพฤกษ Cassia fistula, แสมสาร Senna garrettiana (Leguminosae-Caesalpinioideae), กระพี้เขาควาย, เก็ดแดง, เก็ดดํา Dalbergia spp., ขะเจาะ, สาธรหรือปจั่น Millettia spp., ประดูปา Pterocarpus macrocarpus (LeguminosaePapilionoideae), แดง Xylia xylocarpa var. kerrii (Leguminosae-Mimosoideae), ปรู Alangium salviifolium ssp. hexapetalum (Alangiaceae), ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata var. lanceolata, สมอพิเภก Terminalia bellirica, สมอไทย T. chebula, ตะแบกเลือด T. mucronata, รกฟา T. alata, ปูเจา T. triptera (Combretaceae), แคหิน Stereospermum colais, แคทราย S. neuranthum, แคทุง Dolichandrone serrulata, ปป Millingtonia hortensis (Bignoniaceae), กระโดนหรือปุย Careya sphaerica (Lecythidaceae) เลียงมัน Berrya cordifolia, ปอเลียง B. mollis (Tiliaceae), คํามอก, ชันยอด Gardenia spp., กวาว Haldina cordifolia, อุโลก Hymenodictyon orixense, ตุมกวาว Mitragyna rotundifolia, ตุม M. hirsuta, ยอปา Morinda pubescens (Rubiaceae), ยมหิน Chukrasia tabularis, สะเดา Azadirachta indica var. siamensis, มะขามปอม Phyllanthus emblica, เลี่ยน Melia azedarach (Meliaceae), เปลาหลวง Croton roxburghii, ขันทองพยาบาท Suregada multiflora (Euphorbiaceae), สานใหญ Dillenia obovata, สานแข็ง D. aurea, สานนา D. pentagyna (Dilleniaceae), ถานไฟผี Diospyros montana, ตับเตา D. ehretioides, พลับดํา D. variegata (Ebenaceae), ตะคร้ํา Garuga pinnata, มะกอกเลื่อม Canarium subulatum, มะแฟน Protium serratum (Burseraceae), ตะครอไข Schleichera oleosa, ตะครอหนาม Sisyrolepis muricata (Sapindaceae), มะกอก Spondias pinnata, มะกัก S. bipinnata, มะมวงปา Mangifera spp., ออยชาง, กุก Lannea coromandelica (Anacardiaceae), ปอคาว Firmiana colorata, สําโรง Sterculia foetida, ปอขาว S. pexa, ปอตูบ S. villosa (Sterculiaceae), โมก ใหญ Holarrhena pubescens, โมกมัน Wrightia arborea (Apocynaceae), ตะแบกเกรียบ Lagerstroemia balansae, อินทนิลบก L. macrocarpa, เสลาดอกขาว L. tomentosa, เสลา ดํา L. venusta, เสามื่น L. villosa (Lythraceae), งิ้ว Bombax ceiba, งิ้วดอกขาว B. anceps (Bombacaceae), เลียงฝาย Kydia calycina (Malvaceae), ยาบใบยาว Colona flagrocarpa (Tiliaceae), สัก Tectona grandis, สักขี้ไก Premna tomentosa, ซอ Gmelina arborea, ผา เสีย้ น Vitex canescens, สวอง V. limonifolia, กาสามปก V. peduncularis, ตีนนก V. pinnata, หมากเล็กหมากนอย V. quinata (Labiatae), ขางหัวหมู Miliusa velutina, สะแกแสง Cananga latifolia (Annonaceae), มะดูก Siphonodon celastrineus (Celastraceae), พะยอม Shorea roxburghii (Dipterocarpaceae) ไมไผทพ่ี บทัว่ ไป เชน ไผปา Bambusa bambos, ไผหอม B. polymorpha, ไผบงดํา B. tulda, ไผหลวง B. vulgaris var. vulgaris, ไผขา วหลาม Cephalostachyum pergracile, ไผ หก Dendrocalamus hamiltonii, ไผซางนวล Bambusa membranacea, ไผซาง D. strictus, ไผรวก Thyrsostachys siamensis, ไผไร Gigantochloa albociliata, ไผไลลอ G. nigrociliata (Gramineae) 94
16
»†Òàμç§Ãѧ »†Òá¾Ð »†Òá´§ ËÃ×Í»†Ò⤡ (deciduous dipterocarp forest ËÃ×Í dry dipterocarp forest)
ปาเต็งรัง ปาแพะ ปาแดงหรือปาโคก พบมากทีส่ ดุ ในภาคตะวันออกเฉียง เหนือประมาณรอยละ 80 ของปาชนิดตางๆ ทีม่ อี ยูใ นภาคนีท้ ง้ั หมด นอกจาก นี้ยังพบทั่วไปในภาคเหนือ และคอนขางกระจัดกระจายลงมาทางภาคกลาง พบทั้งในที่ราบและเขาที่ต่ํากวา 1,000 เมตรลงมาขึ้นไดในที่ดินตื้น คอนขาง แหงแลงเปนดินทรายหรือดินลูกรัง ถาเปนดินทรายก็มคี วามรวนลึกระบายน้าํ ไดดี แตไมสามารถจะเก็บรักษาความชุม ชืน้ ไวไดเพียงพอในฤดูแลง ถาเปนดิน ลูกรัง ดินจะตื้นมีสีคอนไปทางแดงคล้ํา บางแหงจึงเรียกปาชนิดนี้วา “ปาแดง” ลักษณะของปาเต็งรัง เปนปาโปรง ประกอบดวยตนไมผลัดใบขนาดกลางและขนาด เล็กขึ้นหางๆ กระจัดกระจายไมคอยแนนทึบ พื้นปามีหญาและไผแคระจําพวกไผเพ็ก ไผโจด Vietnamosasa spp. ขึ้นทั่วไป มีลูกไม คอนขางหนาแนน ทุกปจะมีไฟปาเกิดขึ้นเปนประจํา ทําใหลูกไมบางสวนถูกไฟไหมตายทุกป จนกวาลูกไมนั้นๆ จะสะสมอาหารไวในรากไดเพียง พอ จึงจะเติบโตขึ้นสูงพนอันตรายจากไฟปาได บางพื้นที่ที่เปนที่ราบมีดินทรายคอนขางลึก ตนไมมักจะมีขนาดสูงและใหญขึ้นเปนกลุมๆ แนนคลายปาเบญจพรรณ เชน ปาเต็งรัง บน ที่ราบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บางแหงมักจะพบกลุม ไมทมี่ ลี ักษณะสมบูรณ ไดแก ยาง กราด Dipterocarpus intricatus, เหียง D. obtusifolius และพลวง D. tuberculatus ปา เต็งรังทีค่ อ นขางแคระแกร็น พบบนภูเขาภาคเหนือทีม่ ดี นิ ตืน้ ตามไหลเขาและสันเขา บริเวณที่ แหงแลงมากที่สุดจะพบรัง Shorea siamensis ขึ้นเกือบเปนกลุมเดียวกันลวนๆ สวนเต็งจะ พบขึ้นปะปนกับ พรรณไม ทั้ง 4 ชนิดดังกลาว พรรณไมทั้ง 5 ชนิดเปนกลุมไมยาง-เต็ง-รัง ที่ ผลัดใบ (deciduous dipterocarp) พบเฉพาะในปาเต็งรังเทานั้น และไมในชั้นเรือนยอดจะ ประกอบดวยพรรณไมกลุมนี้ไมต่ํากวารอยละ 70 สวนยางกราด D. intricatus พบเฉพาะใน ปาเต็งรังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สภาพปาเต็งรัง บริเวณเขานางรํา เขตรักษาพันธุสัตวปา หวยขาแขง จังหวัดอุทัยธานี
96
เหียง Dipterocarpus obtusifolius ไมเดนในปาเต็งรัง
ยางกราด Dipterocarpus intricatus พบเฉพาะในปาเต็งรังภาคตะวันออก เฉียงเหนือ
หูใบและใบออนของพลวง Dipterocarpus tuberculatus ไมเดนในปาเต็งรัง
ปาเต็งรัง สะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา หลังจากไฟปา ตนกําลังผลิใบออน 97
ปาเต็งรังชวงฤดูฝน
และปาเต็งรัง เปลี่ยนเปนสีอิฐระหวางปลายเดือนธันวาคม ถึงตนเดือนมกราคม อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท 98
ทุงดอกไมปา (มณีเทวา Eriocaulon smitinandii)
สรอยสุวรรณา Utricularia bifida
กลุมพืชลมลุกประเภทพืชดักแมลง
สรัสจันทร Burmannia coelestis
หญาไฟตะกาด Drosera peltata
ทุงดอกไมปา (สรอยสุวรรณา)
สังคมพืชชื้นแฉะแบบผืนแผนบนพลาญหินในปาเต็งรัง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 99
กลุมไมรัง Shorea siamensis ชวงผลิใบออนในปาเต็งรัง เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง
กลุมไมรัง Shorea siamensis อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท เปลี่ยนสีในชวงผลัดใบ ปลายเดือนธันวาคม–มกราคม 100
ชอดอกและใบออนของรัง Shorea siamensis ไมเดนในปาเต็งรัง
เกล็ดมังกร Dischidia nummularia ในปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง
รักใหญ Gluta usitata
เต็ง Shorea obtusa ไมเดนในปาเต็งรัง
101
พรรณไมเดนในปาเต็งรัง ไดแก กลุม deciduous dipterocarp 5 ชนิด ยางกราด Dipterocarpus intricatus, เหียง D. obtusifolius, พลวง D. tuberculatus, เต็ง Shorea obtusa, และรัง S. siamensis (Dipterocarpaceae) สวนพะยอม Shorea roxburghii เปนไมกึ่งผลัดใบ พบทั้งในปาเต็งรัง ปาเบญจพรรณ และปาดิบแลง พรรณไมเดนอื่นๆ เชน คํามอกหลวง Gardenia sootepensis, คํามอกนอย G. obtusifolia, กวาว Haldina cordifolia, ตุมกวาว Mitragyna rotundifolia, ระเวียง Catunaregam tomentosa, ยอปา Morinda pubescens (Rubiaceae), คาง Albizia odoratissima (Leguminosae-Mimosoideae), ซาก Erythrophleum spp. (Leguminosae-Caesalpinioideae), ประดูปา Pterocarpus macrocarpus (Leguminosae-Papilionoideae), มะคาแต Sindora siamensis var. maritima (Leguminosae-Caesalpinioideae), แดง Xylia xylocarpa var. kerrii (Leguminosae-Mimosoideae), มะมวงหัวแมงวัน Buchanania lanzan, ลันไชย B. siamensis, รักใหญ Gluta usitata (Anacardiaceae), มะกอกเลือ่ ม Canarium subulatum (Burseraceae), กระโดนหรือปุย Careya sphaerica (Lecythidaceae), จะบก Irvingia malayana (Irvingiaceae), มะพอก Parinari anamense (Chrysobalanaceae), มะขามปอม Phyllanthus emblica, โลด Aporosa villosa (Euphorbiaceae), โมกใหญ Holarrhena pubescens (Apocynaceae), อินทนิลบก Lagerstroemia macrocarpa (Lythraceae), ติว้ , แตว Cratoxylum spp., (Guttiferae), ตะครอไข Schleichera oleosa, ตะครอหนาม Sisyrolepis muricata (Sapindaceae), มะตึ่ง, แสลงใจ Strychnos nux–vomica (Strychnaceae), สมอไทย Terminalia chebula, รกฟา T. alata, (Combretaceae), หวา Syzygium cumini (Myrtaceae), แคบิด Fernandoa adenophylla, แครกฟา Heterophragma sulfureum (Bignoniaceae), ชางนาว Ochna integerrima (Ochnaceae), ตับเตา Diospyros ehretioides, ถานไฟผี D. montana, ตะโก D. rhodocalyx (Ebenaceae), พลองใบเล็ก Memecylon scutellatum (Melastomataceae), มะกอกดอน Schrebera swietenioides (Oleaceae), ผักหวาน Melientha suavis (Opiliaceae), คํารอก Ellipanthus tomentosus var. tomentosus (Connaraceae) ไมพุมเดนที่พบทั่วไป ไดแก พุดผา Gardenia saxatilis (Rubiaceae), โคลงเคลง Melastoma spp., จุก นารี Osbeckia spp. (Melastomataceae), ตองหมอง Dendrolobium spp., ขางคันนา Desmodium spp., ชอย นางรํา Codariocalyx motorius, เกล็ดปลาชอน Phyllodium spp., ครามปา Indigofera spp., ไชหิน Droogmansia godefroyana (Leguminosae-Papilionoideae), ขีค้ รอก Urena lobata, ขีอ้ น Pavonia spp., หัวอีอกุ Decaschistia spp., ปอตอม Hibiscus spp., ครอบจักรวาล Abutilon spp., หญาขัด Sida spp. (Malvaceae) พืชพืน้ ลางทีส่ าํ คัญ เชน โจด หรือไผโจด Vietnamosasa ciliata, ไผเพ็ก หรือ หญาเพ็ก V. pusilla (Gramineae), ปรงปา Cycas siamensis (Cycadaceae)
102
ปาเต็งรังบนภูเขาหินทรายชวงปลายฤดูฝนตนฤดูหนาว พื้นลางของปาจะปกคลุมดวยสังคมพืชชุมน้ํา ตาม ฤดูกาล (seasonal wetland vegetation) ประเภทหนึ่ง เรียกวา สังคมพืชชื้นแฉะแบบผืนแผน (blanket marsh vegetation) ซึง่ เปนระบบนิเวศอันเปนเอกลักษณและเปราะบาง ขึน้ ปกคลุมพืน้ ทีโ่ ลงตามพลาญหินทรายทีค่ อ ยๆ ลาด ลงสูล าํ ธาร ประกอบดวยชัน้ อินทรียว ตั ถุทเี่ ปนผืนแผนบางๆ หลอเลีย้ งดวยนําท ไี่ หลรินลงสูล าํ ธาร ชวงตนฤดูหนาวจะ มีพชื ลมลุกประเภทพืชจับแมลง (insectivorous plant) นานาพรรณ ความสูงประมาณ 5–30 เซนติเมตร เชน พืชของ สกุลดุสิตา, สรอยสุวรรณา, ทิพเกสร Utricularia spp. (Lentibulariaceae), สกุลหยาดน้ําคาง, จอกบวาย Drosera spp. (Droseraceae), สกุลหมอขาวหมอแกงลิง Nepenthes spp. (Nepenthaceae), พืชกินซากของสกุลสรัสจันทร Burmannia spp. (Burmanniaceae) และพืชอืน่ ของสกุลหญารากหอม Salomonia spp. (Polygalaceae), สกุลมณี
เทวา Eriocaulon spp. (Eriocaulaceae), สกุลกระถินนา Xyris spp. (Xyridaceae) และดาวประดับ Oldenlandia arguta (Rubiaceae) ขึ้นปะปนกันเปนทุงดอกไมปาที่มีสีสัน จนถึงประมาณปลายเดือนพฤศจิกายน พืชลมลุกเหลา นี้จะยุบตัวหลังจากออกผล เหลือแตผืนแผนชั้นอินทรียวัตถุที่แหงกรอบ สังคมพืชประเภทนี้เปราะบาง ถูกทําลายจน สิ้นสภาพไดงายเมื่อถูกรบกวนจากชีวปจจัยและไฟปาที่เกิดขึ้นเปนประจํา ในชวงฤดูรอน ทําใหพื้นลางของปาเต็งรัง บนภูเขาหินทรายสวนใหญ เหลือแตพลาญหินอันโลงเตียน ดังปรากฏทั่วไปในผืนปาเต็งรังในปจจุบัน
ชอผลและใบออนของรัง Shorea siamensis ในปาเต็งรัง
รัง Shorea siamensis ในปาเต็งรัง จ.สกลนคร
103
17
»†Òàμç§Ãѧ-äÁŒÊ¹
(pine-deciduous dipterocarp forest)
ปา เต็ง รั ง ที่ อ ยู บ นภู เ ขาสู ง จากระดับ น้ํ า ทะเลตั้ ง แต 700 เมตร ถึง 1,350 เมตร มักจะพบสนสองใบ Pinus merkusiii และสนสามใบ P. kesiya ขึน้ ปะปนในชัน้ เรือนยอดและมีขนาดสูงเดนกวาเรือนยอดชัน้ บน ของปาเต็งรังทั่วไป นอกจากนี้ยังมีพรรณไมของปาดิบเขาขึ้นแทรกอยูดวย เรียกปาชนิดวา ปาเต็งรัง-ไมสน พบมากในปาเต็งรังบนภูเขาทางภาคเหนือ ซึ่งมีไฟปารบกวนอยูเสมอ สวนใหญจะพบปาเต็งรัง-ไมสน (โดยเฉพาะสน สองใบ) ที่ระดับระหวาง 700–1,200 เมตร สนสองใบในปาเต็งรังภาค เหนือขึ้นไดในระดับต่ําถึงประมาณ 500 เมตร และระดับสูงสุดในอุทยาน แหงชาติดอยอินทนนท ประมาณ 1,350 เมตร ปาเต็งรัง-ไมสนทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนบน) พบขึ้นบนภูเขาหินทราย ที่ระดับความสูง ประมาณ 750–900 เมตร สวนใหญจะเปนสนสามใบ เชน ในเขตรักษา พันธุสัตวปาภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ และอุทยานแหงชาติน้ําหนาว จังหวัด เพชรบูรณ ปาเต็งรัง-ไมสนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ตอนใต) ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี และสุรนิ ทร ขึน้ อยูใ นทีร่ าบประมาณ 120–250 เมตร จะพบแตสนสองใบขึน้ หางๆ ในปา เต็งรังบนพืน้ ทีเ่ ปนดินทราย ปาเต็งรัง-ไมสน (สนสองใบ) ในภาคกลางจะพบบนเขาและเชิง เขาที่ระดับต่ํากวา 500 เมตร ในเขตจังหวัดสุพรรณบุรีและเพชรบุรี ปาเต็งรัง-ไมสนที่ขึ้น ตามธรรมชาติบนพื้นที่ลุมต่ําใกลชายฝงชะอํา จังหวัดเพชรบุรี (ปาชุมชนเขาสน) มีระดับ ความสูงเพียง 70 เมตร แตปาอยูในสภาพทรุดโทรมอยางมากในปจจุบัน พรรณไมเดนในปาเต็งรัง-ไมสน เชน สนสองใบ Pinus merkusii, สนสามใบ P. kesiya (Pinaceae) นอกจากนี้มีพรรณไมเดนของปาเต็ง-รัง ทั่วไป และพรรณไมจากเขต ภูเขาสูงปะปนอยูดวย เชน เหียง Dipterocarpus obtusifolius, พลวง D. tuberculatus, 104
เต็ง Shorea obtusa, รัง S. siamensis (Dipterocarpaceae), สารภีดอย Anneslea fragrans, ทะโล Schima wallichii, ปลายสาน Eurya spp., ไก Ternstroemia gymnanthera (Theaceae), หนวยนกงุม Beilschmiedia spp., ทัง Litsea spp. (Lauraceae), มะยมภู Craibiodendron stellatum, สมป Vaccinium sprengelii (Ericaceae), กาว Tristsaniopsis burmanica var. rufescens, หวา Syzygium cumini (Myrtaceae), มะขามปอม Phyllanthus emblica, โลด Aporosa villosa (Euphorbiaceae), แคทราย Stereospermum neuranthum, แขงกวาง Wendlandia tinctoria (Rubiaceae), คาหด Engelhardtia spicata (Juglandaceae), เหมือดหอม Symplocos racemosa (Symplocaceae), คาง Albizia odoratissima (Leguminosae-Mimosoideae), เสี้ยวขาว Bauhinia variegata (Leguminosae-Caesalpinioideae), สานแข็ง Dillenia aurea (Dilleniaceae), กอหยุม Castanopsis argyrophylla, กอหรั่ง C. armata, กอแปน C. diversifolia, กอใบเลื่อม C. tribuloides, กอหมน Lithocarpus elegans, กอแงะ L. polystachyus, กอแพะ Quercus kerrii, กอแดง Q. kingiana, กอแงะ Q. mespilifolia (Fagaceae), กํายาน Styrax benzoides (Styracaceae), เหมือดคนตัวผู Helicia nilagirica (Proteaceae) พื้นลางของปาเต็งรัง-ไมสน บนภูเขาทางภาคเหนือจะพบ เปงดอย Phoenix loureiri var. loureiri (Palmae) ขึ้นกระจัดกระจายทั่วไป
ปาเต็งรัง-ไมสน (สามใบ) บานวัดจันทร จังหวัดเชียงใหม
105
ปาเต็งรัง-ไมสน (สามใบและสองใบ) อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม ระดับความสูงประมาณ 1,100-1,350 เมตร
ปาเต็งรัง-ไมสน (สองใบ) อุทยานแหงชาติดอย อินทนนท จังหวัด เชียงใหม
106
ปาเต็งรัง-ไมสน (สองใบ) ตามผาหินทราย ริมฝงโขง อุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี
ปาเต็งรัง-ไมสน (สองใบ) บนที่ราบต่ํา บริเวณศูนยบํารุง พันธุไมสน อ. โขงเจียม จ. อุบลราชธานี ระดับ ความสูงประมาณ 150 เมตร
107
ปาเต็งรัง-ไมสน (สามใบ) ทุงกะมัง เขตรักษาพันธุ สัตวปาภูเขียว จังหวัด ชัยภูมิ
108
บรรณานุกรม 1. กรมปาไม. 2493 & 2505. ชนิดของปาไมในประเทศไทย กรมปาไม, กรุงเทพฯ. 2. กรมอุตนุ ิยมวิทยา. 2525. ขอมูลสภาพดินฟาอากาศของประเทศไทยในชวง 30 ป (ระหวาง พ.ศ. 2494– 2523) กรมอุตุนิยมวิทยา. กรุงเทพฯ. 3. ธงชัย จารุพพัฒน. 2543. สถานการณปาไมของประเทศไทยในชวงระยะเวลา 37 ป (พ.ศ. 2504-2541). สวนวิเคราะหทรัพยากรปาไม สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม. 116 หนา. 4. ธวัชชัย สันติสุข. 2534. ปาพรุ. หนังสือโครงการอนุรักษพื้นที่ชายฝงทะเล มูลนิธิคุมครองสัตวปาและ พรรณพืชแหงประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ. 28 หนา. 5. . 2536. ปาเมฆ. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ฉบับผนวก สํานักวิทยาศาสตร เลม 1, เดือน สิงหาคม 2536. หนา 121–138. 6. . 2544. ชนิดของปาไมในประเทศไทย. หนังสือชุดพัฒนาสังคมตามแนว พระราชดําริ ชุดที่หนึ่ง ตอน 4 ความหลากหลายทางชีวภาพ หนา 38–68. 7. Bunyavejchewin, S. 1983. Canopy structure of the dry dipterocarp forest of Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 14: 1–132. 8. . 1985. Analysis of the tropical dry deciduous forest of Thailand II. Vegetation in relation to topographic and soil gradients. Natural History Bulletin Siam Society. 33: 3–20. 9. . 1986. Ecological studies of tropical semi-evergreen rain forest at Sakaerat, Nakhon Ratchasima, Northeast Thailand I. Vegetation patterns. Natural History Bulletin Siam Society 34: 35–57. 10. Champion, H.G. 1936. A preliminary survey of the forest types of India & Burma. Ind. For. Rec., Silvic. 1. 11. Credner, W. 1935. Siam, das Land der Thai. Stuttgart. 12. Ogawa, H., Yoda, K. & Kira, T. 1961. A preliminary survey on the vegetation of Thailand. Nature & Life SE Asia, Kyoto. 13. Santisuk, T. 1988. An account of the vegetation of Northern Thailand. Geoecological Res. 5. Stuttgart. 14. Walker, E.H. & Pendleton, R.L. 1957. A survey of the vegetation of SE Asia : The IndoChinese Province of the Pacific Basin. Proc. Pacific Basin. Proc. Pacif. Sci.-Congr. 8 (4): 99–114. 15. Whitmore, T.C. 1984. Tropical rain forests of the Far East 2nd ed. Oxford.
109
ดรรชนีชื่อพรรณไม (เครื่องหมาย * ใชช่อื วิทยาศาสตรตามระบบเกา เพื่อความสะดวกในการระบุชนิดพรรณไม) Abutilon spp. ครอบจักรวาล 102 Acacia harmandiana (Pierre) Gagnep. กระถินพิมาน 85 A. concinna (Willd.) DC. สมปอย 91 แฉลบแดง 85 A. leucophloea (Roxb.) Willd. A. tomentosa Willd. กระถินพิมาน 85 Acanthus spp. เหงือกปลาหมอ 66 Acer calcaratum Gagnep. กวมแดง 35, 37, 55 A. laurinum Hassk. กวมขาว 37, 55, 56 A. oblongum Wall. ex DC. กวม 37 Acrocarpus fraxinifolius Wight ex Arn. สะเดาชาง 20, 27 Acrostichum spp. ปรงทะเล 66 ตองลาด 37 Actinodaphne henryii Gamble Adenanthera pavonina L. มะกลํ่าตน 31 Adinandra integerrima T. Anderson ex Dyer y ตีนจําดง 37 Aesculus assamica Griff. มะเนียงนํ้า 26, 37, 56 Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib มะคาโมง 31, 94 Agapetes hosseana Diels สะเภาลม 56, 59 A. lobbii C.B. Clarke สะเม็ก 42, 50 A. saxicola Craib เหงานํ้าทิพย 50 Aglaia chittagonga Miq. ประสงค 37 A. rubiginosa (Hiern) Pannell ชมพูเู สม็ด 72 A. silvestris (M. Roem.) Merr. จันทนชะมด 16 Aglaia spp. คางคาว 16, 21, 54 Aglaonema spp. รัศมีเงิน ลิ้นกะทิง 72 Aidia parvifolia (King & Gamble) K.M. Wong เข็มปา 20, 48 ยมปา 26 Ailanthus triphysa (Dennst.) Alangium salviifolium (L.f.) Wangerin subsp. hexapetalum Wangerin ปรูู 90, 94 Albizia chinensis (Osbeck) Merr. คางฮุุง 43 A. lebbeckk (L.) Benth. พฤกษ 90, 94 A. lebbekoides (DC.) Benth. คาง 79 A. lucidior (Steud.) I.C. Nielsen ปนแถ 94 A. odoratissima (L.f.) Benth. คาง 94, 102, 105 A. procera (Roxb.) Benth. ถอน 94 Alocasia spp. เอาะ 72 Alstonia macrophylla Wall. ex G.Don ทุงฟา 16 A. rostrata C.E.C. Fisch. นองขาว 37 A. scholaris (L.) R. Br. สัตบรรณ 16 Altingia excelsa Noranha สบ 27 Anaphalis margaritacea (L.) Benth. & Hook.f. หนาดดอย 53 Anisoptera costata Korth. กะบาก 21, 25 A. curtisiii Dyer ex King กะบาก 14 A. scaphula (Roxb.) Kurz กะบากขาว 21 Anneslea fragrans Wall. สารภีดอย 43, 46, 50, 53, 105 Anogeissus acuminata (Roxb. ex. DC.) Guill. & Pers var. lanceolata C.B. Clarke ตะเคียนหนู 94 Anthocephalus chinensis (Lam.) A. Rich ex Walp. กระทุมบก 79 Antiaris toxicaria Lesch. ยางนอง 16, 21, 54 Antidesma acidum Retz. เมาสรอย 43
Aphanamixis polystachya (Wall.) R. Parker ตาเสือ Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. โลด Aquilaria malaccensis Lam. ไมหอม Archidendron jiringa (Jack) I.C. Nielsen เนียง A. quocense (Pierre) I.C. Nielsen หยอง Ardisia pilosa Fletcher พวงตุมหู Areca triandra Roxb. หมากลิง Arenga pinnata (Wrumb) Merr. ตาว A. westerhoutiii Griff. หลังกับ Arfeuillea arborescens Pierre คงคาเดือด Argusia argentea (L.f.)) Heine งวงชางทะเล Artabotrys spinosus Craib นาวนํ้า Artocarpus dadah Miq. หาดรุม A. elastricus Rienw. ex Blume เอาะ A. lacucha Roxb. มะหาด A. lanceifolius Roxb. ขนุนปาน A. rigidus Blume ขนุนุ ปา Asparagus acerosus Roxb. จันดิน Aster ageratoides Turcz. subsp. alato-petiolata Kitam.แอสเตอรเชียงดาว Atalantia monophylla (DC.) Correa มะนาวผี Avicennia alba Blume แสมขาว A. marina Forssk. แสมทะเล Avicennia spp. แสม Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton สะเดา Azima sarmentosa (Blume) Benth. หนามพุงุ ดอ Baccaurea bracteata Müll. Arg. ระไมปา B. ramiflora Lour. มะไฟปา Baeckea frutescens L. สนทราย Balakata baccata (Roxb.) Esser โพบาย โพบาย Balakata spp. Bambusa bambos (L.) Voss ไผปา B. membranacea (Munro) C.M.A Stapleton & N.H. Xia ไผซางนวล B. polymorpha Munro ไผหอม B. tulda Roxb. ไผบงดํา B. vulgaris Schard. ex H. Wendl. var. vulgaris ไผหลวง จิกทะเล Barringtonia asiatica (L.) Kurz B. racemosa (L.) Spreng. จิกสวน Bauhinia malabarica Roxb. สมเสี้ยว B. variegata L. เสี้ยวขาว Beilschmiedia ggammieana Kingg ex Hook.f. หนวยนกงุุม Beilschmiedia spp. มะเขื่อขื่น Berrya cordifolia (Willd.) Burret เลียงมัน B. mollis Wall. ex Kurz ปอเลียง Betula alnoides Buch.-Ham. ex G.Don กําลังเสือโครง Bischofia javanica Blume ประดูสม Blumeodendron kurziii (Hook.f.) Sm. ยากา Bombax anceps Pierre var. anceps งิ้วดอกขาว B. ceiba L. งิ้ว Borassodendron machadonis (Ridl.) Becc. ชางไห Bouea oppositifolia (Roxb.) Meisn. มะปริง Bruguiera parviflora (Roxb.) Wight & Arn. ex Griff. ถั่วดํา Bruguiera spp. ประสัก Buchanania lanzan Spreng. มะมวงหัวแมลงวัน
21 43, 102, 105 17 16 16 50 31 31 16, 17 21 82 79 16 16 16, 21 16 16 81 56, 59 31 66 66 64 94 81 72 21 50, 72 21 54 79, 94 94 94 94 94 80, 83 79 94 13, 105 43 55, 105 94 94 42, 43, 56 20 70, 72 94 94 16 31 68 66 102 111
Buchanania siamensis Miq. Burmannia coelestis D. Don Burmannia spp. Butea monosperma (Lam.) Taub. Calamus caesius Blume Calamus spp. Callerya atropurpurea (Wall.) A.M. Schot Calocedrus macrolepis Kurz Calophyllum inophyllum L. C. pisiferum Planch. & Triana C. teysmanniii Miq. Camchaya calcarea Kitam. Camellia connata (Craib) Craib C. oleifera Abel. var. confusa ((Craib)) Sealyy Campnosperma coriaceum (Jack) Hall.f. ex Steenis Cananga latifolia f (Hook.f. & Thomson) Finet & Gagnep. g p Canarium spp. Canarium subulatum Guillaumin Canavalia rosea (Sw.) DC. Carallia brachiata (Lour.) Merr. Careya sphaerica Roxb. Carissa spinarum L. Carpinus viminea Wall. ex Lindl. Caryota maxima Blume C. mitis Lour. C. obtusa Griff. Caryota spp. Cassia bakeriana Craib C. fistula L. Castanopsis acuminatissima (Blume) A. DC. C. argyrophylla y Kingg ex Hook.f. C. armata Spach C. calathiformis (Skan) Rehder & Wilson C. diversifolia (Kurz) King C. echidnocarpa A. DC. C. ferox (Roxb.) Spach C. fissa (Champ.) Rehder & Wilson C. hystrixx A. DC. C. indica (Roxb.) A. DC. C. piriformis Hickel & A.Camus C. purpurea Barnett C. rhamnifolia (Miq.) A. DC. C. tribuloides (Sm.) A. DC. C. wallichiii King ex Hook.f. Casuarina equisetifolia J.R. & G. Forst. Cathormion umbellatum (Vahl) Kosterm. Catunaregam tomentosa (Blume ex DC.) Tirveng. Cephalostachyum pergracile Munro Cephalotaxus manniii Hook.f. Cerbera manghas L. Ceriops spp. Chaetocarpus castanocarpus (Roxb.) Thwaites Chisocheton patens Blume 112
ลันไชย สรัสจันทร ทองกวาว หวายตะคาทอง หวาย แซะ แปกลม กระทิง สารภีทะเล ตังหนใบเล็ก ตังหนใบใหญ เมี่ยงอาม เหมือดเม็ก ขี้หนอนพรุ สะแกแสง มะกอกเลื่อม มะกอกเลื่อม ถั่วคลา เฉียงพรานางแอ กระโดน ปุย หนามพรหม กอสรอย เตาราง เตาราง เตารางภููคา เตาราง กัลปพฤกษ ราชพฤกษ กอเดือย กอหยุุม กอหรั่ง กอนํ้า กอแปน กอหนาม กอแหลม กอตาหมู กอผา กอตี กอหิน กอดาน กอขี้หมูู กอใบเลื่อม กอบาน สนทะเล ระกําปา ระเวียง ไผขาวหลาม มะขามปอมดง ตีนเปดทราย โปรง สําเภา สังเครียด
102 99 102 94 72 16 16 48, 49 80 79 70 59 37 37 70 31, 94 54 37, 94, 102 81 28, 31, 79 91, 94, 102 81 42, 43, 56 37 31 37 16 91 94 32, 38, 40, 56 38,, 105 32,, 38, 105 32, 38 32, 38, 105 32, 48 32 32, 38 38 32 37 37,, 38, 55 32,, 37 37, 38, 40, 105 19 80 79 102 94 37 80 66 27, 79 72
Chisocheton spp. Choerospondias axillaris (Roxb.) B.L. Burtt & Hill Chukrasia tabularis A. Juss. Cinnamomum bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet C. glaucescens (Nees) Drury C. iners Reinw. ex Blume C. ilicioides A. Chev. C. subavenium Miq. C. tamala (Hamilton) Nees & Eberm. Cleidion spiciflorum (Burm.f.) Merr. Clematis buchananiana DC. C. smilacifolia Wall. Clerodendrum inerme (L.) Gaertn. Codariocalyx motorius (Houtt.) Ohashi Colocasia gigantea Hook.f. Colona flagrocarpa (C.B. Clarke) Craib Colquhounia coccinea Wall. Combretum quadrangulare Kurz Cordia subcordata Lam. Cornus oblonga Wall. Cotoneaster franchetiii Bois Cotylelobium lanceolatum Craib Craibiodendron stellatum ((Pierre)) W.W. Sm. Cratoxylum spp. Croton roxburghiii N.P. Balakr. Crypteronia paniculata Blume Cyathea spp. Cyathocalyx martabanicus Hook.f. & Thomson var. harmandiii Finet & Gagnep. Cycas micholitziii Dyer var. simplicipinna Smitin. C. pectinata Griff. C. siamensis Miq. Cynometra malaccensis Meeuwen C. ramiflora L. Cyrtostachys renda Blume Dacrydium elatum (Roxb.) Wall. ex Hook. Dacryodes incurvata (Engl.) H.J. Lam Daemonorops spp. p Dalbergia cultrata Graham ex Benth. Dalbergia spp. Debregeasia wallichiana (Wedd.) Wedd. Decaschistia spp. Delphinium siamense (Craib) Munz Dendrocalamus hamiltoniii Nees & Arn. ex Munro D. strictus (Roxb.) Nees Dendrolobium spp. Derris indica Bennet Desmodium spp. Desmos spp. Dialium cochinchinense Pierre D. indum L. D. patens Baker D. platysepalum Baker
สังเครียด มะมือ ยมหิน อบเชย ขาตน เชียด ขาตน สุรามะริด แกง ดีหมี กําปองหลวง พวงแกวกุดั่น สํามะงา ชอยนางรํา คูนู ยาบใบยาว แสงแดง สะแก หมันทะเล อูนู ตน ไขแดง เคี่ยม มะยมภูู ติ้ว แตว เปลาหลวง สอม กูดตน เฟนตน
16, 21 20, 37 20, 91, 95 31 31 31 28 31 37, 55 21 42 56 81 102 90 94 60 79 80, 83 59 59 14 43,, 46, 105 102 94 21 37
สะบันงาดง มะพราวเตา ปรงเขา ปรงปา มะคะ แมงคะ หมากแดง สนสามพันป กาบออย
31 37 43, 46 102 16 16 72, 73 48, 49 70 16 43, 46 94 53 102 59 94 94 102 80 102 31 27, 31 16 72 16
กระพี้เขาควาย เก็ดแดง เก็ดดํา เตามด หัวอีอุก พวงแกวเชียงดาว ไผหก ไผซาง ตองหมอง หยีทะเล ขางคันนา สาเหลาตน เขลง ลูกู หยี หยี กาแดะ หยีทองบึ้ง
113
Dillenia aurea Sm. สานแข็ง D. obovata (Blume) Hoogland สานใหญ D. ovata Wall. ex Hook.f. & Thomson สานใบเล็ก D. pentagyna Roxb. สานนา D. pulchella (Jack) Gilg สานนํ้า Dimocarpus longan Lour. ลําไย Diospyros ehretioides Wall. ex G.Don ตั้บเตา กลวยษี D. glandulosa Lace D. malabarica (Desr.) Kostel. var. malabarica ตะโกสวน D. montana Roxb. ถานไฟผี D. rhodocalyx Kurz ตะโก D. variegata Kurz พลับดํา Dipteris conjugata Reinw. เฟนบัวแฉก Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don ยางนา D. baudii Korth. ยางขน D. chartaceus Symington ยางกวาด D. costatus C.F. Gaertn. ยางปาย D. dyerii Pierre ยางกลอง D. gracilis Blume ยางเสี้ยน D. grandiflorus ((Blanco)) Blanco ยางยงู D. hasseltiii Blume ยางเกลี้ยง D. intricatus Dyer ยางกราด D. kerriii King ยางมันหมูู D. obtusifolius Teijsm. ex Miq. เหียง Dipterocarpus spp. ยาง D. tuberculatus Roxb. พลวง D. turbinatus C.F. Gaertn. ยางแดง Dischidia nummularia R. Br. เกล็ดมังกร Dolichandrone serrulata (DC.) Seem แคทุง D. spathacea (L.f.) K. Schum. แคทะเล Dracaena spp. จันทนผา จันทนแดง Dracontomelon dao (Blanco) Merr. & Rolfe พระเจาหาพระองค Drosera peltata p Sm. หญ ญาไฟตะกาด Drosera spp. หยาดนํ้าคาง จอกบวาย Droogmansia godefroyana (Kuntze) Schindl. ไชหิน Drypetes roxburghiii (Wall.) Hurusawa ประคําไก ทุเุ รียนนก Durio griffithiii (Mast.) Bakh. D. lowianus Scort. ex King ทุเรียนดอน Dyera costulata (Miq.) Hook.f. เยลููตง คางคาวอีลิด Dysoxylum spp. Elaeocarpus braceanus Watt ex C.B. Clarke มุุนดอย E. floribundus Blume กุนเถื่อน E. griffithii (Wight) A. Gray พิกุลพรุ ตันหยงปา E. macrocerus (Turcz.) Merr. E. prunifolius Wall. ex C. Müll มุนดอย Elateriospermum tapos Blume ประ Eleiodoxa conferta (Griff.) Burret หลุมพี Ellipanthus tomentosus Kurz var. tomentosus คํารอก Engelhardtia spicata Blume var. spicata p คาหด Eriobotrya bengalensiss (Roxb.) Hook.f. forma bengalensisตะเกรานํ้า Eriocaulon spp. มณีเทวา ทองหลางปา Erythrina subumbrans (Hassk.) Merr. Erythrophleum spp. ซาก 114
79, 105 92, 94 92 92, 94 79 21 94, 102 42 27 94, 102 102 94 37, 63 20, 21 16 14 21, 27 14, 16, 19 14 14 14 95, 97, 102 14 95, 97, 102, 104 25 95, 97, 102, 104 20, 21, 23 101 94 66 51 16, 19 99 102 102 21 16 16 16 16, 21 37 37 79 72 37 19 70, 72 102 43, 46, 105 37 103 20, 28 102
Euphorbia spp. สลัดไดปา Eurya acuminata DC. var. acuminata ปลายสาน E. nitida Korth. var. nitida แมงเมานก Eurya spp. ปลายสาน ตาตุมทะเล Excoecaria agallocha L. Fagraea fragrans Roxb. กันเกรา Falconeria insignis Benth. ตาตุมบก Fernandoa adenophylla (Wall. ex G. Don) Steenis แคบิด Feroniella lucida ((Scheff.)) Swingle g มะสัง Ficus albipila (Miq.) q Kingg เลียงผึ้ง F. racemosa L. มะเดื่ออุทุ ุมพร Ficus spp. ไทร มะเดื่อ Firmiana colorata (Roxb.) R. Br. ปอขาว Flacourtia indica (Burm.f.) Merr. ตะขบปา Fraxinus floribunda Wall. ex Roxb. จันทรทอง Garcinia hanburyii Hook.f. รง G. merguensis Wight กะนวน G. schomburgkiana Pierre มะดัน Gardenia obtusifolia Roxb. ex Kurz คํามอกนอย G. sootepensis Hutch. คํามอกหลวง G. saxatilis Geddes พุดผา Gardenia spp. คํามอก ชันยอด Garuga pinnata Roxb. ตะครํ้า Gaultheria crenulata Kurz ชามะยมดอย Gaultheria spp. ชามะยมดอย Gentiana australis Craib ดอกหรีดเชียงดาว G. hesseliana Hosseus var. lakshnakarae (Kerr) Toyok. ดอกหรีด Geranium lambertiii subsp. siamense ผักชีหอม Gigantochloa albociliata (Munro) Munro ไผไร G. hasskarliana (Kurz) Backer ex K. Heyne ไผผากมัน G. nigrociliata (Buse)) Kurz ไผไลลอ Gironniera nervosa Planch ขี้หนอนควาย Gloriosa superba L. ดองดึง Gluta usitata (Wall.) Ding Hou รักใหญ Gmelina arborea Roxb. ซอ Gomphostemma strobilinum Wall. ex Benth. var. acaulisวานนกคุุม Goniothalamus giganteus Hook.f. & Thomson ปาหนันชาง Goniothalamus spp. สะบันงาปา Gonocaryum lobbianum ((Miers)) Kurz กานเหลือง Gordonia dalglieshiana Craib ขี้ผึ้ง Guettarda speciosa L. โกงกางหูชู าง Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale กวาว Homalomena spp. บอน Harrisonia perforata (Blanco) Merr. สีฟนคนทา Hedera himalaica Tobler กระจับเขา Hedychium ellipticum Buch.-Ham. ex Sm. ตาเหินไหว Helicia formosana Hemsl. var. oblanceolata Sleumerเหมือดคนดง H. nilagirica Bedd. เหมือดคนตัวผูู H. vestita W.W. Sm. เหมือดคนแดง Heliciopsis terminalis (Kurz) Sleumer เหมือดคน Heritiera javanica (Blume) Kosterm. ทองสุุก H. littoralis Dryand. หงอนไกทะเล H. sumatrana (Miq.) Kosterm. เสียดชอ
51 46 55 105 66 79 21 102 85 30 21 54 94 31, 85 37, 43, 56 16 37 79 102 102 102 94 94 56 63 60 56 60 94 93 94 28 81, 82 101, 102 20, 91, 94 91 19 16, 31 21 37, 55 80 93, 94, 102 72 85 56 53 37, 55 43, 46, 50, 105 35 37, 41, 43, 55 16 66 16 115
Hernandia nymphaeifolia (C. Presl) Kubitzki โพกริ่ง Heterophragma sulfureum Kurz แครกฟา Hibiscus spp. ปอตอม Hibiscus tiliaceus L. ปอทะเล Holarrhena pubescens Wall. ex G. Don โมกใหญ Holoptelea integrifolia Planch. กะเชา Homalium ceylanicum (Gardner) Benth. สีเสื้อ H. foetidum (Roxb.) Benth. สีเสือนํ้า H. grandiflorum Benth. พิกุลปา H. tomentosum (Vent.) Benth. ขานาง Hopea ferrea Laness. ตะเคียนหิน H. latifolia Symington ตะเคียนราก H. odorata Roxb. ตะเคียนทอง H. pedicellata (Brandis) Symington ตะเคียนขาว H. pierrei Hance ตะเคียนราก H. recopei Pierrre ex Laness. ชันภูู H. sangal Korth ตะเคียนแกว Horsfieldia crassifolia (Hook.f. & Thomson) Warb. เลือดควายใบใหญ H. glabra (Blume) Warb. เลือดนก H. irya (Gaertn.) Warb. กรวยสวน Horsfieldia spp. มะพราวนกกก Hydnocarpus anthelminthicus Pierre ex Laness. กระเบาใหญ H. ilicifolia King กะเบากลัก Hymenocardia wallichiii Tul. แฟบนํ้า Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. อุโลก Hypericum uralum Buch.-Ham. ex D. Don บัวทอง Ilex triflora Blume สายฝน I. umbellulata Loes. เนาใน Indigofera dosua Buch.-Ham. ex D. Don ครามดอย Indigofera spp. ครามปา Intsia bijuga (Colebr.) Kuntze หลุมพอทะเล I. palembanica Miq. หลุมุ พอ Ipomoea pes-caprae (L.) R. Br. ผักบุงทะเล Iris collettiii Hook.f. วานแมยับ Irvingia malayana Oliv. ex A.W. Benn. กะบก Ixora grandifolia Zoll. & Moritzi เข็มปา Johannesteijsmannia altifronss (Rchb.f. & Zoll.) H.E. Mooreปาลมบังสูรย Kaempferia rotunda L. วานหาวนอน Knema spp. เลือดมา Koompassia excelsa ((Becc.)) Taub. ยวน K. malaccensis Maingay ex Benth. ยวนผึ้ง Korthalsia laciniosa (Griff.) Mart. หวายสะเดานํ้า Korthalsia spp. Kydia calycina Roxb. เลียงฝาย Lagerstroemia balansae Koehne ตะแบกเกรียบ L. calyculata Kurz ตะแบกใหญ L. macrocarpa p Wall. อินทนิลบก L. speciosa (L.) Pers. อินทนิลนํ้า L. tomentosa C. Presl เสลาดอกขาว L. venusta Wall. เสลาดํา L. villosa Wall. ex Kurz เสามื่น Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. ออยชาง กุก Lasia spinosa (L.) Thwaites ผักหนาม 116
80 102 102 80 94, 102 21 31 79 31 31 21 14 14, 20, 21 14 16 16 14 72 28 74 31 31, 78, 79 31 77, 79 94 60 50 41 59 102 66 16 80, 81, 83 53, 56 21, 102 72 16 87 31 16 16 72 16 94 21, 94 21, 23 93,, 94, 102 79, 86 21, 94 94 94 94 72
Lespedeza harmsiii Craib Leucosceptrum canum Sm. Licuala distans Ridl. L. elegans Blume Licuala longecalyculata Furtado Lilium primulinum Baker var. burmanicum Stearn Lindera pulcherrima (Nees) Benth. ex Hook.f. Lithocarpus aggregatus Barnett. L. auriculatus Barnett L. deablatus (Hook.f. & Thomson.) Rehder L. elegans (Blume) Hatus. ex Soepadmo L. fenestratus (Roxb.) Rehder L. garrettianus (Craib) A. Camus L. lindleyanus (Wall.) A. Camus L. polystachyus (A. DC.) Rehder L. recurvatus Barnett L. sootepensis (Craib) A. Camus L. thomsoniii (Miq.) Rehder L. trachycarpus (Hickel & A.Camus) A. Camus L. truncatus (King) Rehder & Wilson Litsea beusekomiii Kosterm. L. martabanica (Kurz) Hook.f. L. monopetala (Roxb.) Pers. L. semecarpifolia Hook.f. Litsea spp. Livistona saribus (Lour.) Merr. ex Chev. L. speciosa Kurz Luculia gratissima (Wall.) Sweet var. glabra Fukuoka Lumnitzera spp. Lyonia foliosa (Fletcher) Sleumer L. ovalifolia (Wall.) Drude Lyonia spp. Macaranga pruinosa (Miq.) Müll.Arg. Macropanax dispermus (Blume) Kuntze Madhuca motleyana (de Vriese) Baehni Maerua siamensis (Kurz) Pax Magnolia henryii Dunn M. hodgsoniii Hook.f. & Thomson M. liliifera (L.) Baill. Mahonia siamensis Takeda ex Craib Mallotus philippensis Müll.Arg. Mammea harmandii Kosterm. Mangifera gedebe Miq. q M. sylvatica Roxb. Mangifera spp. Manglietia garrettii Craib* Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard Markhamia stipulata Seem. var. kerriii Sprague Markhamia stipulata Seem. var. stipulata Mastixia euonymoides Prain Melaleuca cajuputi Powell Melastoma malabathricum L. subsp. normale (D. Don) F.K. Mey.
ครามเชียงดาว ปนสินไชย ชิง ปาลมเจาเมืองตรัง กะพอแดง แตรวง เชียดขาว กอจุุก กอหมี กอผัวะ กอหมน กอพวง กอเลือด กอดาง กอแงะ กอเตี้ย กอดํา กอหัวหมู กอหมน กอแดง กอดํา ทัง เมียดตน กะทัง หมี่บง ทัง รอก คอ พิมพใจ ฝาด สมแปะ เมาแดง สมแปะ มะฮังใหญ ตาง สะเตียว แจง จําปดง ตองแข็ง มณฑา ขมิ้นดอย มะคาย สารภีดง มะมวงปาน มะมวงขี้ใต มะมวงปา มณฑาดอย เกด แคหางคาง แคหัวหมูู พันชุลุ ี เสม็ด
59 60 16 16 72 56 37 55 37 37, 38 37, 38, 105 37, 40, 48, 50 37, 38 37, 38 37, 38, 105 50 37, 39 37 38 37, 38 37 37, 55 31, 37 37 105 72 16, 31, 37 59, 60 66 50 43, 46 63 72 55 70 85, 93 37 37 34 59 21 37 79 37 31, 94 34, 37 31 43 31 55 72, 73
เอ็นอา
50 117
Melastoma sanguineum Sims Melastoma spp. Melia azedarach L. Melientha suavis Pierre Meliosma pinnata Walp. Melodorum fruticosum Lour. Memecylon scutellatum Naudin Memecylon spp. Michelia baillonii (Pierre) Finet & Gagnep.* M. champaca L.* M. floribunda Finet & Gagnep.* M. rajaniana Craib* Miliusa velutina ((Dunal)) Hook.f. & Thomson Millettia spp. Millingtonia hortensis L.f. Mitragyna diversifolia (Wall. ex G. Don) Havil M. hirsuta Havil M. rotundifolia (Roxb.) Kuntze Mitrephora spp. Mitrephora vandaeflora Kurz M. winitiii Craib Morinda pubescens Sm. Myrica esculenta Buch.-Ham. ex G. Don Myristica elliptica Wall. ex Hook.f. & Thomson M. iners Blume Myrsine semiserrata Wall. Nageia wallichiana (C. Presl) Kuntze N. motleyii (C. Presl) de Laub. Naringi crenulata (Roxb.) Nicolson Nauclea orientalis (L.) L. N. subdita (Korth.) Steud. Neesia altissima (Blume) Blume N. malayana Bakh. Nenga pumila (Mart.) H. Wendl. Neobalanocarpus heimii (King) P.S. Ashton Neocinnamomum caudatum Kosterm. Neohymenopogon parasiticus Wall. Neolitsea foliosa Gamble Nepenthes spp. Nepenthes thorellii Lecomte Nephelium hypoleucum Kurz N. maingayi Hiern N. melliferum Gagnep. Nypa fruticans Wurmb. Nyssa javanica (Blume) Wangerin Ochna integerrima (Lour.)) Merr. Ochreinauclea maingayii (Hook.f.) Ridsdale Oldenlandia arguta Hook.f. Olea salicifolia Wall. ex G. Don Oncosperma horridum (Griff.) Scheff. O. tigillarium (Jack) Ridl. Orania sylvicola (Griff.) H.E. Moore Osbeckia stellata Buch.-Ham. ex Ker Gawl. 118
อาหลวง โคลงเคลง เลี่ยน ผักหวาน มะยมหิน ลําดวน พลองใบเล็ก พลอง จําปปา จําปาปา แกวมหาวัน จําปหลวง ขางหัวหมู ขะเจาะ สาธร ปจั่น ปป กระทุุมนา ตุมุ ตุมกวาว มหาพรหม มะปวน มหาพรหม ยอปา เอี้ยบวย จันทนมวง จันทนปา เหมือดดอย ขุนุ ไม ซางจีน กระแจะ กระทุม เงาะหนูู ชางแหก ชางไห หมากงาชาง ตะเคียนชันตาแมว จวงหอม โพอาศัย เอียน หมอขาวหมอแกงลิง หมอขาวหมอแกงลิง คอแลน เงาะปา เงาะปา จาก คางคาก ชางนาว กระทุมนํ้า ดาวประดับ มวกกอ หลาวชะโอนเขา หลาวชะโอน หมากพน เอ็นอานอย
50 102 94 102 37 29, 31 102 31 34,37 31 37 34, 37, 54 94 94 94 79 94 94, 102 31 29 29 94,, 102 43, 55 72 72 55 37, 42, 48 48, 72 85 78, 79 79 16 70 72 14, 18 55 56, 59 55 102 63 21 71 30 66 37 102 79 103 37 16 76 16 50
Osbeckia spp. Osmanthus fragrans Lour. Palaquium obovatum (Griff.) Engl. g Pandanus furcatus Roxb. Pandanus tectorius Blume Paranephelium xestophyllum Miq. Parashorea stellata Kurz Parinari anamense Hance Parishia insignis Hook.f. Parkia leiophylla Kurz P. speciosa Hassk. P. sumatrana Miq. subsp. sterptocarpa (Hance) H.C.F. Hopkins P. timoriana Merr. Pavonia spp. Pedicularis siamensis P.C. Tsoong Pemphis acidula J.R. & G. Forst. Pentaspadon velutinus Hook.f. Persea gambleii (Hook.f.) Kosterm. Phoebe lanceolata (Wall. ex Nees) Nees P. paniculata (Nees) Nees Phoebe spp. P. tavoyana (Meisn.) Hook.f. Phoenix loureiri Kunth var. loureirii P. paludosa Roxb. Phlogacanthus curviflorus Nees Phyllanthus emblica L. P. polyphyllus Willd. var. siamensis Airy Shaw P. reticulatus Poir. P. taxodiifolius Beille Phyllodium spp. Picrasma javanica Blume Pinanga riparia Ridl. Pinus kesiya Royle ex Gordon P. merkusiii Jungh. & de Vriese Pittosporopsis kerriii Craib Ploiarium alternifolium ((Vahl) Melchior P. neriifolius D. Don P. polystachyus R.Br. ex Endl. Polyalthia lateriflora (Blume) King P. sclerophylla Hook.f. & Thomson Polyalthia spp. P. suberosa (Roxb.) Thwaites Pometia pinnata J.R. & G. Forst. Pouteria obovata (R.Br.) Baehni Premna interrupta Wall. ex Schauer var. smitinandiii Moldenke P. obtusifolia R. Br. P. tomentosa Willd. Primula siamensis Craib Protium serratum Engl. Prunus cerasoides D. Don Pseuduvaria spp.
จุกุ นารี เข็มดอย ยางขนุุนนก มะเกี๋ยง เตยทะเล ลําไยปา ไขเขียว มะพอก กราตา สะตอปา สะตอ
102 55 16 37 81 21 14 102 16, 18, 70 29, 31 16
อีเฒา เหรียง ขี้อน ชมพููเชียงดาว เทียนทะเล เตยนะ อินทวา แหลบุก สะทิบ สะทิบ ทัน เปงดอย เปงทะเล ฮอมชาง มะขามปอม เสียวใหญ กางปลาขาว เสียวนอย เกล็ดปลาชอน กอมขม หมากลิง สนสามใบ สนสองใบ มะขม ชะมวงกวาง พญาไม สนใบพาย ปาหนันแดง กลวยไม ยางโอน กลึงกลอม สาย งาไซ
31 16 102 60 80 16 43, 50 31 31 43 37 43, 46, 105 66, 68 34 43, 46, 94, 102,105 79 79 79 102 31 72 56, 104 56, 104 43 79 37, 48, 49 42, 48 72 71, 72 16, 31 79 21 80
เปรมนา 59 ชาเลือด 81 สักขี้ไก 94 พิมสาย 56, 60 มะแฟน 94 นางพญาเสือโครง ชมพูภพู งิ ค41, 43, 56 ซังหยู 16, 31 119
Psydrax dicoccaa Gaertn. var. impolitum (Craib) K.M. Wongดูกคาง Pteridium aquilinum ((L.)) Kuhn subsp. p aquilinum q var. wightianum (J. Agardh) R.M. Trton กูดเกี๊ยะ Pterocarpus macrocarpus Kurz ประดููปา Pterocymbium tinctorium (Blanco) Merr. ปออีเกง Pterospermum spp. ขนาน Pterygota alata (Roxb.) R.Br. มะปน Pyrenaria cochinchinensis เมี่ยงอีอาม P. diospyricarpa Kurz เมี่ยงผี Quercus aliena Blume กอเตี้ย Q. brandisiana Kurz กอหนุนุ Q. franchetii Skan กอขาว Q. helferiana A.DC. กอแอบหลวง Q. kerriii Craib กอแพะ Q. kingiana Craib กอแดง Q. lamellosa Sm. กอแอบ Q. lanata Sm. กอขาว Q. lenticellata Barnett กอตาคลอย Q. lineata Blume กอขาว Q. mespilifolia Wall. กอแงะ Q. myrsinifolia Blume กอดาง Q. oidocarpa DC. กอหมวก Q. poilaneii Hick. & A. Camus กอสีเสียด Q. ramsbottomiii A. Camus กอตลับ Q. rex Hemsl. กอตลับ Q. semecarpifolia Sm. กอหิน Q. semiserrata Roxb. กอตาหมูหลวง Quercus spp. กอตลับ Q. vestita Rehder & Wills. กอแอบ Radermachera hainanensis Merr. ปปทอง R. ignea (Kurz) Steenis กาสะลองคํา Rhamnus crenata Siebold & Zucc. กุหุ ลาบหิน Rhizophora apiculata Blume โกงกางใบเล็ก R. mucronata Poir. โกงกางใบใหญ โกงกาง Rhizophora spp. Rhododendron arboreum Sm. subsp. delavayi (Franch.) Chamb. คําแดง R. ludwigianum Hoss. กุหลาบขาวเชียงดาว R. lyi H. Lev. กุหลาบขาว R. moulmeinense Hook.f. กุหลาบขาว R. simsiii Planch. กุหลาบแดง Rhododendron spp. กุหลาบขาว กุหลาบแดง R. veitchianum Hook. กายอม แกนมอ Rhus succedanea L. Rosa helenae Rehder กุหลาบเวียงเหนือ R. odorata (Andr.) Sweet var. gigantea (Crp.) Rehder & Wilson จีดง Salacca wallichiana C. Mart. ระกํา Salix tetrasperma Roxb. สนุนุ Salomonia spp. หญารากหอม Sandoricum beccarianum Baill. สะทอนนก S. koetjape (Burm.f.) Merr. กระทอน Sapindus rarakk DC. มะชัก 120
31 50 94, 102 20 54 21 37 34 43 37, 43, 46 43 43, 46, 55 56, 105 43, 46, 55, 105 43 43, 39 37 43 43, 46, 105 37 37 37 36 36, 37, 55 43, 39 36, 37, 43 48 37 29 31 50 65, 66 66, 68 64 56, 61 59, 60 50, 56, 63 40, 43 53, 56 63 34, 56 23, 37 59, 61 56 16 56, 58 102 72 21 37
Sapria himalayana Griff. Saraca declinata (Jack.) ( ) Miq. q S. indica L. Saraca thaipingensis Cantley ex Prain* Saurauia nepaulensis DC. S. roxburghiii Wall. Saxifraga gemmipara Flanch. var. siamensis Scabiosa siamensis Craib* Scaevola taccada (Gaertn.) Roxb. Scaphium linearicarpum (Mast.) Pierre S. scaphigerum (G. Don) Guib. & Planch. Schefflera subintegra (Craib) C.B. Shang Schima wallichiii (DC.) Korth. Schleichera oleosa (Lour.) Oken Schrebera swietenioides Roxb. Scleropyrum wallichianum ((Wight g & Arn.)) Arn. Scolopia macrophylla (Wight & Arn.) Clos Sedum susannae Raym.-Hamet Semecarpus cochinchinensis Engl. S. curtisii King Senecio craibianus Hosseus Senna garrettiana (Craib) Irwin & Barneby Shirakiopsis indica (Willd.) Esser Shorea curtisiii Dyer ex King S. dasyphylla Foxw. S. faguetiana F. Heim S. glauca King S. gratissima (Wall. ex Kurz) Dyer S. guiso (Blanco) Blume S. henryana Pierre S. hypochra Hance S. laevis Ridl. S. leprosula Miq. S. macroptera Dyer S. obtusa Wall. ex Blume S. parvifolia Dyer S. roxburghiii G. Don S. siamensis Miq.
กระโถนพระษี โสกเขา โสกนํ้า โสกเหลือง ชาสาน สานเห็บ ฟองหินดอย ขาวปน รักทะเล ทายเภาขาว พุงุ ทะลาย มือพระนารายณ ทะโล ตะครอไข มะกอกดอน ขี้หนอน ตะขบนํ้า ฟองหินเหลือง รักขาว รักปา ไขขาง แสมสาร สมอทะเล สยาเหลือง มารันตี กาลอ แอก ตะเคียนสามพอน ชันดํา เคีย่ มคะนอง กะบากหิน สยา สยาขาว ชันหอย เต็ง สยาเหลือง พะยอม รัง
S. singkawangg (Miq.) Miq. Sida spp. Silene burmanica Collett & Hemsl. Sindora echinocalyx Prain S. siamensis Teijsm. & Miq. var. siamensis S. siamensis Teijsm. & Miq. var. maritima (Pierre) K. & S.S. Larsen Siphonodon celastrineus Griff. Sisyrolepis muricata (Pierre) Leenh. Sloanea sigun (Blume) K. Schum. S. tomentosa (Benth.) Rehder & Wilson Smilax micro-china T. Koyama Sonneratia alba Sm. S. caseolaris (L.) Engl.
มารันตี-เสงวาง หญาขัด สรอยไทรทอง มะคะขานาง มะคาแต
36 30 31 16, 17 37 37 60 60 81 16 16 50 37 43, 46, 50, 55, 105 94, 102 102 30 79 59 18, 31 16 59, 61 94 68 14, 15 16 14 14 14 16 21 14, 16 14 16 16 101, 102, 105 16 21, 93, 94, 102 11, 95, 100, 101, 103, 102, 105 16 102 60 16 81
มะคาแต มะดููก ตะครอหนาม กอเรียน สตี หัวยาขาวเย็น ลําแพน ลําพู
102 31, 94 94, 102 37 37 53 66, 69 66 121
Sonneratia griffithiii Kurz ลําแพนหิน Sonneratia spp. ลําพูู ลําแพน Sophora disparr Craib ถั่วพุมดอย Sorbus granulosa (Bertol.) Rehder var. granulosa ปดเขา Spinifex littoreus Merr. หญาลอยลม Spondias bipinnata Airy Shaw & Forman มะกัก S. lakonensis Pierre มะหอ S. pinnata (L.f.) Kurz มะกอก Stemonurus secundiflorus Blume อายบาว Sterculia foetida L. สําโรง S. pexa Pierre ปอขาว S. villosa Roxb. ปอตูบ Stereospermum colais (Buch.-Ham. ex Dillwyn) Mabb.แคหิน S. fimbriatum (Wall. ex G. Don) A.DC. แคฝอย S. neuranthum Kurz แคทราย Streblus asperr Lour. ขอย S. ilicifolius (Vidal) Corner ขอยหนาม Strobilanthes chiangdaoensis H. Terao ฮอมดอย S. involucratus Blume ฮอมดง Strychnos nux-vomica L. มะตึ่ง แสลงใจ Styrax benzoides Craib กํายาน Suaeda maritima (L.) Dumort. ชะคราม Suregada multiflora (A. Juss.) Baill. ขันทองพยาบาท Swintonia floribunda Griff. เปรียง Symingtonia populnea (R. Br. ex Griff.) Steenis โพสามหาง Symplocos cochinchinensis (Lour.) S. Moore subsp. cochinchinensis เหมือดดง S. dryophila C.B. Clarke เหมือดเงิน S. racemosa Roxb. เหมือดหอม S. sumuntia Buch.-Ham. ex D. Don เหมือดปลาซิว Syzygium angkae (Craib) Chantar. & J. Parn. หวาเขา S. cuminii (L.) Skeels หวา S. grande (Wight) Walp. var. grande เมา S. gratum (Wight)) S.N. Mitra var. ggratum เสม็ดแดง S. megacarpum (Craib) Rathakr. & N.C. Nair ชมพูนํ้า S. oblatum (Roxb.) Wall. ex A.M. Cowan & Cowan var. oblatum มะหา S. ripicola (Craib) Merr. & L.M. Perry หวาขี้นก Syzygium spp. ชมพููปา หวาชนิดตาง ๆ Tarenna sp. เข็มเขา Tectona grandis L.f. สัก Terminalia alata Heyne ex Roth รกฟา T. bellirica (Gaertn.) Roxb. สมอพิเภก หูกู วาง T. catappa L. T. chebula Retz. var. chebula สมอไทย T. mucronata Craib & Hutch. ตะแบกเลือด T. pierreii Gagnep. ตะแบกกราย Terminalia spp. สมอ T. triptera Stapf แสนคํา Ternstroemia gymnathera (Wight & Arn.) Bedd. ไกแดง Tetrameles nudiflora R. Br. สมพง Thalictrum calcicola T. Shimizu พวงหิน Thespesia lampas (Cav.) Dalzell & A. Gibson ปอลมปม 122
66 64 59 50 81, 82 31, 94 31, 28 31, 92, 94 72 94 94 94 93, 94 19, 31 94, 105 79 31 59 54 102 42, 43, 46, 107 65 94 16, 18 55, 61 43 55 37, 43, 46, 105 37 37 46, 47, 102, 105 72, 80, 81 72 19 48 76 16, 72 50 92, 94 94, 102 94 80 94, 102 94 31 54 31, 94 43, 50, 105 20 60 93
Thespesia populnea (L.) Soland. ex Corr. โพทะเล Thyrsostachys siamensis Gamble ไผรวก Toona ciliata M. Roem. ยมหอม Toona spp. ยมหอม Trachycarpus oreophilus Gibbons & Spanner คอเชียงดาว Tristaniopsis burmanica (Griff.) Peter G. Wilson & J.T. Waterh var. rufescenss (Hance) J. Parn Nic Lughadha กาว Turpinia cochinchinensis (Lour.) Merr. มะกอม Ulmus lancifolia Roxb. ex Wall ลูบู ลีบ Urena lobata L. ขี้ครอก Usnea spp. ฝอยลม Utricularia bifida L. สรอยสุวรรณา Utricularia spp. ดุสุ ิตา Vaccinium eberhardtiii Dop var. pubescenss H.R. Fletcher ชอไขมุก Vaccinium spp. ชอไขมุก V. sprengeliii (G. Don) Sleumer สมป Vatica diospyroides Symington จันกะพอ V. harmandiana Pierre ซี เต็งดง V. lowiii King พันจําดง V. odorata (Griff.)) Symington y g ยางหนูู V. pauciflora (Korth.) Blume สักนํา Veratrum chiangdaoense K. Larsen วานหอม Viburnum atro-cyaneum C.B. Clarke & Diels เข็มเชียงดาว V. foetidum Wall. งวนภูู Vietnamosasa ciliata (A. Camus) Nguyen โจด ไผโจด V. pusilla (Chevalier & A. Camus) Nguyen ไผเพ็ก หญาเพ็ก Vietnamosasa spp. ไผเพ็ก ไผโจด Viola betonicifolia Sm. ใบพาย Vitex canescens Kurz ผาเสี้ยน V. limonifolia Wall. สวอง V. peduncularis Wall. ex Schauer กาสามปก V. pinnata L. ตีนนก V. quinata (Lour.) F.N. Williams หมากเล็กหมากนอย V. trifolia L. คนทิสอทะเล Wallichia caryotoides Roxb. เขือง Walsura robusta Roxb. ขี้อาย W. trichostemon Miq. กัดลิ้น Wendlandia tinctoria (Roxb.) DC. แขงกวาง Wightia speciosissima (D. Don) Merr. ชมพูภู ูพาน Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. โมกมัน Xanthophyllum lanceatum (Miq.) J.J. Sm. ชุมแสง X. virens Roxb. ขางขาว Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var. kerrii (Craib & Hutch) I.C. Nielsen แดง Xylocarpus granatum Koenig ตะบูนขาว X. moluccensis (Lam.) M. Roem. ตะบูนดํา X. rumphiii (Kostel.) Mabb. ตะบัน Xylopia ferruginea (Hook.f. & Thomson) Hook.f. & Thomson ทุเรียนนก Xyris spp. กระถินนา Zanthoxylum acanthopodium DC. มะแขน Zollingeria dongnaiensis Pierre ขี้หนอน ขี้มอด
80 94 20, 37 54 59 43, 46, 105 55 37,, 56 102 38 99 102 50 63 43, 46, 50, 56, 105 76, 77 21 16 16,, 21, 30 77, 79 60 59 50 102 102 95 56 94 94 94 94 94 81 37 37 21 43, 46, 105 35, 50 94 79 37 94, 102 66 66, 67, 69 67, 80 72 103 59 31 123
¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·Ó เรื่อง
ศาสตราจารยพิเศษ ดร. ธวัชชัย สันติสุข
บรรณาธิการ
ดร. ราชันย ภูมา
ภาพประกอบ
ศาสตราจารยพิเศษ ดร. ธวัชชัย สันติสุข ดร. ชวลิต นิยมธรรม นายปรีชา การะเกตุ นางสาวสุคนธทิพย ศิริมงคล นายธรรมรัตน พุทธไทย
ประสานงาน
นางสาวนันทนภัส ภัทรหิรญ ั ไตรสิน
ออกแบบรูปเลม
นายปรีชา การะเกตุ
จัดทํารูปเลม
นางสาวนารี ศิลปศร
จัดพิมพโดย
สํานักงานหอพรรณไม สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
พิมพครัง้ ที่ 3
จํานวนพิมพ 3,000 เลม สําหรับเผยแพร หามจําหนาย สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2555
พิมพที่ :
โรงพิมพสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ 314-316 ถนนบํารุงเมือง ปอมปราบศัตรูพาย กทม. 10100 โทร 0 2223 3351 โทรสาร 0 2621 2910
ดร. ราชันย ภูมา นางสาวนันทนภัส ภัทรหิรัญไตรสิน นายวิสูตร อยูคง นายมานพ ผูพัฒน
นางสาวเทพวลี คะนานทอง
สําหรับการอางอิง : ธวัชชัย สันติสุข. 2555. ปาของประเทศไทย. สํานักงานหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื . โรงพิมพสาํ นักงานพระพุทธศาสนา แหงชาติ, กรุงเทพฯ. 124 หนา. ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ ธวัชชัย สันติสุข. ปาของประเทศไทย.–– กรุงเทพฯ : กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื , 2555 124 หนา. 1. ปาไม––ไทย. I. ชื่อเรื่อง. 634.9 ISBN: 978-616-316-015-7