CONTENTs
19
3 6 14
03 Word Power
Office of Knowledge Management and Development ที่ปรึกษา ดร.อธิปัตย์ บำ�รุง ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ บรรณาธิการบริหาร ดร.ปรียา ผาติชล รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ หัวหน้ากองบรรณาธิการ ดร.อภิชาติ ประเสริฐ ผู้อำ�นวยการสำ�นักโครงการและจัดการความรู้
การจัดการความรู้ : จับต้องยาก แต่จด ั การได้
12 Nextpert
กระดูกสั นหลัง 4.0
19 Inside okmd
06 One of a kiNd
14 DigitOnomy
20 5ive
ฝ่ายศิลปกรรมและภาพถ่าย บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด 32 ซอยโชคชัย 4 ซอย 84 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร 10230 โทรศัพท์ 0 2116 9959 และ 087 718 7324
08 The Knowledge
16 Next
22 whaT's goiNg oN
อนาคตของการจัดการ ความรู้
กิจกรรมน่าสนใจในแวดวง การจัดการความรู้
10 Decode
18
Talk tO ZiNe
จัดทำ�โดย สำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) 69 อาคารวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ชั้น 18-19 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0 2105 6500 โทรสาร 0 2105 6556 อีเมล theknowledge@okmd.or.th เว็บไซต์ www.okmd.or.th
ถอดรหัสกระบวนการจัดการ ความรูใ้ นชุมชนเกษตรกร
ผลิตภัณฑ์แก้ปัญหา
รูท ้ น ั โลกเทคโนโลยี พลิกธุรกิจ รับโอกาสใหม่
Knowledge Management A-Z
จัดการความรู.้ .. สู่ ชม ุ ชน
รวมมิตรข้อมูลสถิติ ด้านการเกษตร
ความรู้กินได้
OKMD กับการถ่ายทอดทักษะ KM สู่ ชม ุ ชน
5 แพลตฟอร์มจัดการ องค์ความรูท ้ อ ้ งถิน ิ ล ั ่ ในยุคดิจท
23 Special FeaTure
Man of the Match
อนุญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา-ไม่ใช้ เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย จัดทำ�ขึ้นภายใต้โครงการเผยแพร่กิจกรรมองค์ความรู้โดยสำ�นักงาน บริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจ ในการนำ�องค์ความรูม้ าผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์ เพือ่ ประโยชน์ ด้านการเรียนรู้ ต่อยอดธุรกิจ เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจของประเทศ
ผู้สนใจรับนิตยสารโปรดติดต่อ 0 2105 6520 หรือดาวน์โหลดที่เว็บไซต์ www.okmd.or.th/knowledge/okmd-magazine
WORD POWER
knowledge management
การจัดการความรู้ : จับต้องยาก แต่จัดการได้ “ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด” เป็นสุภาษิตไทย
โบราณที่สะท้อนให้เห็นถึงการมีความรู้แต่ไม่สามารถจัดการกับ องค์ความรู้ท่ี มี อ ยู ่ หรื อ ไม่ ส ามารถดึ ง ความรู ้ ที่ มี ไ ปใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ ที่ จ ะท� ำ ให้ ต นเองอยู ่ ร อดในสั ง คม เรี ย กได้ ว ่ า ขาดการ “จัดการความรู้” ที่มีประสิทธิภาพ ในความเป็นจริงการจัดการความรูม้ อี ยูค่ สู่ งั คมไทยมาช้านาน แต่อาจไม่มีการบัญญัติศัพท์เพื่อเรียกกระบวนการเรียนรู้ที่มี การถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นว่าเป็น “การจัดการความรู้” ตัวอย่างที่ เห็นได้ชัดคือ การถ่ายทอดต�ำรับขนมไทยโบราณ ประเพณี และ วั ฒ นธรรมดั้ ง เดิ ม ของท้ อ งถิ่ น มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น หากขาด กระบวนการจัดการความรู้แล้ว สิ่งที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือ องค์ ค วามรู ้ ดั้ ง เดิ ม ของบรรพบุ รุ ษ จะสามารถถ่ า ยทอดและ ตกทอดมาสู่รุ่นลูก หลาน เหลนได้หรือ?
SCAN เพื่อชมคลิป สรุปจบใน 1 นาที
W
3
Word 4 WPower WORD POWER
ค� ำ ว่ า “การจั ด การความรู ้ (Knowledge Management)” มี ก ารรั บ รู ้ กั น อย่ า งแพร่ ห ลาย มากขึ้ น ในประเทศไทยพร้ อ มๆ กั บ ค� ำ ว่ า “เศรษฐกิ จ ฐานความรู ้ (Knowledge-based Economy)” และน่ า จะพร้ อ มกั บ การจั ด ตั้ ง ส� ำ นั ก ง า น บ ริ ห า ร แ ล ะ พั ฒ น า องค์ความรู้ (Office of Knowledge Management and Development: OKMD) ทีม่ คี ำ� ว่า “การจัดการความรู้
(Knowledge Management)” อยูใ่ นชือ่ ส�ำนักงาน นอกจากนีต้ วั ชีว้ ดั เกณฑ์ คุ ณ ภาพการบริ ห ารจั ด การ ภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA) ของ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นา ระบบราชการ (ก.พ.ร.) ยังก�ำหนด ให้ ก ารจั ด การความรู ้ เ ป็ น ตั ว ชี้ วั ด หนึ่ ง ในการประเมิ น ผลคุ ณ ภาพ การบริ ห ารจั ด การองค์ ก รด้ ว ย โดยพิจารณาจากข้อทีว่ า่ ส่วนราชการ
มีวิธีการอย่างไรในการรวบรวมและ ถ่ายทอดความรู้ของบุคลากรรวมถึง การถ่ า ยทอดความรู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ระหว่างส่วนราชการกับผู้รับบริการ และผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสีย เครือข่า ย ผู ้ ส่ ง ม อ บ พั น ธ มิ ต ร แ ล ะ ผู ้ ใ ห ้ ความร่วมมือ ไปจนถึงส่วนราชการ มีวิธีการอย่างไรในการใช้องค์ความรู้ และทรัพยากรต่าง ๆ เพือ่ ให้การเรียนรู้ ฝั ง ลึ ก ลงไปในวิ ถี ก ารปฏิ บั ติ ง าน ของส่วนราชการ เป็นต้น
ความรู้จับต้องยาก?
หากพูดถึงการจัดการทรัพย์สินขององค์กร เช่น เครื่องจักร อุปกรณ์ หรือเงินสดให้เกิดประโยชน์คุ้มค่าที่สุด แก่องค์กร หลายคนสามารถมองเห็นภาพอย่างชัดเจนว่า มีกระบวนการจัดการอย่างไร ในทางกลับกันเมื่อกล่าวถึง “การจัดการความรู้” คนส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจที่ถ่องแท้ เนื่องจาก “ความรู้” เป็นสิ่งที่จับต้องยาก อย่างไรก็ดี ความรู ้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในองค์ ก รถื อ เป็ น ทรั พ ย์ สิ น อั น มี ค ่ า อย่ า งหนึ่ ง ขององค์ ก ร ดั ง สุ ภ าษิ ต ไทยที่ ว ่ า “มี วิ ช าเหมื อ น มีทรัพย์อยู่นับแสน” โดยเชื่อกันต่อมาว่าความรู้สามารถสร้างเงินได้ การบริหารธุรกิจปัจจุบันจึงให้ความส�ำคัญ กับการบริหารจัดการความรู้ และมีการบรรจุวิชาการจัดการความรู้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรบริหารธุรกิจด้วย โดยทั่วไปมีการจัดประเภทของความรู้ออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
01
02 ความรู้แบบชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)
เป็นความรู้ที่สามารถนำ�มาถ่ายทอดได้ชัดเจน เช่น ความรู้ที่จัดทำ�เป็นหนังสือ สื่อต่างๆ เป็นต้น
ความรู้แฝงหรือความรู้โดยนัย (Tacit Knowledge)
เป็นความรูท้ เ่ี กิดขึน้ จากประสบการณ์ของแต่ละบุคคล ติดอยูก่ บั ตัวคน อาจจะเรียกว่าเป็นทักษะ (Skill) เฉพาะตัวของบุคคลนัน้ ๆ
นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งประเภทออกเป็นความรู้เฉพาะด้าน เช่น ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ ความรู้ดา้ นกฎหมาย และความรูด้ า้ นวิศวกรรม เป็นต้น หรือแบ่งเป็นความรูส้ ว่ นบุคคลและความรูข้ ององค์กร ไปจนถึงความรูใ้ นองค์กรและ ความรู้นอกองค์กร กล่าวได้ว่าการจัดประเภทของความรู้สามารถท�ำได้หลากหลายแนวทางขึ้นอยู่กับความต้องการ น�ำความรู้ในมุมมองหรือมิติใดไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตัวบุคคลหรือองค์กร แม้ว่าความรู้ไม่สามารถตีมูลค่าได้อย่างชัดเจนเหมือนทรัพย์สินทั่วไป แต่ในทางเศรษฐศาสตร์สามารถวัดความรู้ ออกมาเป็นตัวเงินในลักษณะของทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) หรือ ทุนมนุษย์ (Human Capital) ซึ่งเมื่อใช้ ค�ำว่า “ทุน” ก็ย่อมสื่อถึงทรัพย์สินอันมีค่าที่แปลงเป็นมูลค่าได้ โดยการแปลงค่าของความรู้ออกมาเป็น “ทรัพย์สินทาง ปัญญา” ในรูปของสิทธิบัตรหรือลิขสิทธิ์ที่เป็นทรัพย์สินของผู้ที่มีองค์ความรู้ด้านใดด้านหนึ่งที่มีการคิดค้นขึ้นมาเพื่อ ต่อยอดเชิงพาณิชย์ ความรูจ้ งึ เป็นทรัพย์สนิ อย่างหนึง่ ทีม่ กี ารจัดการได้ และการจัดการความรูท้ ดี่ จี ะก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม
Word W Power WORD POWER 5
แนวคิ ด การจัดการความรู้ ในบทความเรื่อง “The Knowledge Management Spectrum - Understanding the KM Landscape” โดย Binney D. (2544) ซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร Journal of Knowledge Management สรุปว่า การจัดการความรูแ้ บ่งได้เป็น 6 ลักษณะ
3.
Asset Management
การให้ ค วามสำ�คั ญ กั บ ความรู้ ใ นฐานะ สิ น ทรั พ ย์ ข ององค์ ก รที่ ส ามารถก่ อ ให้ เกิ ด ประโยชน์ แ ละผลตอบแทน เช่ น การบริ ห ารสิ น ทรั พ ย์ จ ากความรู้ ใ น รู ป ของสิ ทธิ บ ั ต รและลิขสิท ธิ์
6.
Innovation and Knowledge Creation
การสร้ า งความรู ้ แ ละผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด ผลลั พ ธ์ ใ นเชิ ง นวั ต กรรมที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด การเรี ย นรู ้ แ ละความคิ ด สร้ า งสรรค์ ใ น การพั ฒ นาสิ น ค้ า และบริ ก าร หรื อ กระบวนการใหม่ๆ เช่น การวิจยั และพัฒนา เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ สิ่งประดิษฐ์ สินค้า บริการ และเทคโนโลยีใหม่ๆ
บทบาทของ OKMD กับ
การจัดการ
ความรู้
1.
Transactional Knowledge Management
การจั ด การความรู ้ ที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศ (IT) เป็นเครื่องมือสนับสนุน เช่ น Frequently Asked Questions (FAQs) หรือ ค�ำถามทีพ่ บบ่อย ซึง่ รวบรวม ค�ำถาม/ค�ำตอบที่คาดว่ากลุ่มเป้าหมาย ส่วนใหญ่ต้องการรู้ เพื่อให้ผู้ที่ต้องการ ใช้ข้อมูลสามารถสืบค้นด้วยตัวเอง
4.
Process Based Management
การจั ด การความรู้ ที่ ใ ห้ ค วามสำ�คั ญ กั บ การเรี ย นรู้ จ ากกระบวนการต่ า งๆ เช่ น กระบวนการปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพการผลิ ต และการปรับกระบวนการธุรกิจ (Business Process Reengineering)
2.
Analytical Knowledge Management
การสร้างองค์ความรูใ้ หม่จากการวิเคราะห์ ข้อมูลและความรูท้ มี่ อี ยูเ่ ดิม โดยการจัดกลุม่ และเชือ่ มโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลทีม่ อี ยู่ เป็นจ�ำนวนมากแล้วสังเคราะห์เป็นองค์ ความรูใ้ หม่ เช่น การวิเคราะห์พฤติกรรมของ ลูกค้าจากประวัติการซื้อสินค้า เพื่อน�ำมา ท�ำโปรแกรมส่งเสริมการขาย
5.
Developmental Knowledge Management
การจัดการความรูท้ เี่ น้นกระบวนการเรียนรู้ การพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นรู ้ และ การพัฒนาบุคลากร เช่น การสร้างชุมชน การเรี ย นรู ้ และการสร้ า งสื่ อ ส่ง เสริ ม การเรียนรู้ที่เข้าใจง่าย
จะเห็ น ว่ า การจั ด การความรู ้ ส ามารถท� ำ ได้ ใ นหลายมิ ติ แ ละหลายรู ป แบบ เช่น การรวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้ที่มีอยู่ให้เป็นระบบ การวิเคราะห์เพื่อถ่ายทอด และน� ำ เสนอองค์ ค วามรู ้ การสร้ า งกระบวนการเรี ย นรู ้ ใ นรู ป แบบของการประชุ ม การระดมความคิ ด เห็ น หรื อ การให้ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญมาถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ เป็ น ต้ น ในความเป็นจริงหลายองค์กรมีการด�ำเนินกิจกรรมในลักษณะของการจัดการความรู้ อยู่แล้ว เพียงแต่ยังไม่แน่ใจว่าเป็นการจัดการความรู้หรือไม่ ทั้งนี้จุดเน้นของการจัดการ ความรู ้ อ ยู ่ ที่ “การสามารถน� ำ ความรู ้ ม าใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ ต ามเป้ า หมายหรื อ วัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาศักยภาพมนุษย์เป็นส�ำคัญ”
จากชื่ อ ของ OKMD ที่ ป ระกอบขึ้ น จากค� ำ ว่ า Knowledge Management (การจัดการความรู)้ and Development (การพัฒนา) ได้ชี้ถึงบทบาทของ หน่ ว ยงานที่ ท� ำ งานด้ า นการจั ด การความรู ้ แ ละ พั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ เ ป็ น หลั ก ที่ ผ ่ า นมา OKMD มีผลงานด้านการจัดการความรู้มากมาย ไม่ว่าจะ ผ่านทางการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบ ของห้ อ งสมุ ด มี ชี วิ ต ซึ่ ง เป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น ในชื่ อ อุทยานการเรียนรู้ (ทีเคพาร์ค) หรือสถาบันพิพธิ ภัณฑ์ การเรียนรู้แห่งชาติ (มิวเซียมสยาม) เป็นการจัดการ ความรู ้ แ ละการน� ำ เสนอองค์ ค วามรู ้ ผ ่ า นสิ่ ง ที่ ปรากฏทางกายภาพ คือ หนังสือ สื่อองค์ความรู้ นิ ท รรศการและกิ จ กรรมถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ รู ป แบบต่ า งๆ นอกจากนี้ OKMD ยังมีบทบาทใน การสร้างกระบวนการเรียนรูใ้ ห้แก่กลุม่ เป้าหมายต่างๆ
ทัง้ ในรูปแบบของการจัดอบรม สัมมนา และการลงพืน้ ที่ ท�ำงานร่วมกับหน่วยงานด้านการศึกษา ท้องถิ่น และ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ฯลฯ เพื่ อ ถ่ า ยทอดกระบวนการ เรียนรู้ที่เป็นความรู้เฉพาะของ OKMD อันได้แก่ ศูนย์ความรูก้ นิ ได้ และการเรียนรูต้ ามหลักการพัฒนา สมอง (Brain-based Learning) ส�ำหรับทิศทางของการจัดการความรู้ในมิติใหม่ ที่ OKMD ให้ ค วามสนใจ และจะน� ำ มาใช้ ใ น การจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ และลดความเหลื่อมล�้ำของการเข้าถึงองค์ความรู้ คือ แพลตฟอร์มออนไลน์ หรือ แพลตฟอร์มดิจิทัล โดยให้ความส�ำคัญกับนวัตกรรมการจัดการความรู้ ที่ ทั น ยุ ค ทั น สมั ย เข้ า ถึ ง ง่ า ยและเป็ น เทคโนโลยี ที่เหมาะกับคนยุคดิจิทัลที่สามารถใช้ประโยชน์จาก องค์ความรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา SCAN QR CODE
เพือ� รับฟั ง audio text
6
O
One of a kiNd
A-Z
ActioN LearniNg
ก า ร เ รี ย น รู ้ จ า ก ก า ร ล ง มื อ ปฏิ บั ติ จ ริ ง เพื่ อ ให้ เ ข้ า ใจถึ ง สาเหตุ น�ำไปสู่การแก้ไขปัญหา และพัฒนาวิธีการท�ำงานให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
knowledge management
Best Practice
CoachiNg
Dialogue
การจัดกลุ่มพูดคุยหรือเสวนา เพื่ อ แบ่ ง ปั น ข้ อ มู ล ความรู ้ ที่ แต่ ล ะคนมี อ ยู ่ มี เ ป้ า หมาย เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ และ การเรียนรู้ร่วมกัน
ผูเ้ ชีย่ วชาญจากภายนอกหน่วยงาน ซึง่ ท�ำหน้าทีใ่ ห้คำ� ปรึกษา ให้แนวทาง และแนะน�ำเครื่องมือการท�ำงาน ที่เหมาะสมกับแต่ละหน่วยงาน
FoNluang+
Guru
Helpman
Intranet
Job RotaTioN
Knowledge plus
LessoN Learned
Museums Pool
การสับเปลีย่ นบุคลากรไปท�ำงาน ในหน่ ว ยงานอื่ น ภายในสาย งานเดียวกันหรือข้ามสายงาน เพื่ อ ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย น ความรู้และประสบการณ์ของ ทั้งสองฝ่าย
แ อ ป พ ลิ เ ค ชั น โดย OKMD ซึ่ ง น� ำ เสนอความรู ้ สร้ า งแรง บันดาลใจ และกระตุ้นความ คิ ด สร้ า งสรรค์ ที่ ต ่ อ ยอดเป็ น อาชีพได้ให้แก่เด็กและเยาวชน
การเรียนรู้จากความส�ำเร็จและ ความผิดพลาดจากการด�ำเนิน งานที่ผ่านมา เพื่อหาแนวทาง ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด และมี ข้อผิดพลาดน้อยที่สุดส�ำหรับ งานถัดไป
ระบบจัดการข้อมูลพิพิธภัณฑ์ ที่ ใ ห้ ผู ้ ใ ช้ ง า นสา มารถใช้ แอปพลิ เ คชั น เดี ย วในการ เข้ า ชมข้ อ มู ล ของพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ทุกแห่งในเครือข่าย
การเรียนรู้จากตัวอย่างหรือวิธี ทีด่ ที สี่ ดุ ในเรือ่ งนัน้ ๆ เพือ่ ประยุกต์ ใช้ ใ นการท� ำ งานอื่ น ให้ บ รรลุ เป้าหมายในระดับสูงสุด
แอปพลิเคชันที่รวบรวมข้อมูล สภาพอากาศ อุ ณ หภู มิ และ พืน้ ทีฝ่ นตกในประเทศไทย รวมถึง แจ้งข้อมูลการออกปฏิบัติการ ฝนหลวงส�ำหรับเกษตรกร
การให้ ผู ้ ที่ มี ป ระสบการณ์ มากกว่าหรือผู้ที่มีผลงานดีเด่น เป็นพี่เลี้ยงให้แก่ผู้เริ่มต้นใหม่ หรือผู้ที่ต้องการปรับปรุงวิธีการ ท�ำงานให้ดีขึ้น
เครื่ อ งมื อ จั ด การความรู ้ ใ น หน่วยงานซึง่ ช่วยรวบรวมข้อมูล ทีจ่ ำ� เป็นให้พร้อมใช้ง าน ช่ ว ย ค้ น หาข้ อ มู ล /ไฟล์ ง าน และ แสดงสถิติการใช้อ งค์ค วามรู้ ของหน่วยงาน
ซอฟต์แวร์จัดการความรู้ซึ่งเน้น การรวบรวมค�ำถาม/ค�ำตอบที่ พบบ่อย และวิธีการแก้ปัญหา ให้แก่ลูกค้าของหน่วยงานเป็น หลัก
External CoNsultant
ระบบเครือข่ายสื่อสารภายใน หน่วยงาน รองรับการแบ่งปัน จัดเก็บ และเข้าถึงองค์ความรู้ ได้สะดวกจากทุกที่ ในทุกเวลา
One of a kiNd
Nuance Power PDF Advanced
เครื่องมือจัดการแหล่งความรู้ที่เป็นเอกสาร/ ไฟล์เอกสาร โดยการจัดเก็บในรูปแบบไฟล์ PDF พร้อมตัวช่วยค้นหาเอกสารและแก้ไข ข้อมูลในเอกสาร
Retrospect
OAE RCMO
Peer Assist
Q Restaurant
“กระดานเศรษฐี : เกษตรกร มี โ อกาส” แอปพลิ เ คชั น ที่ ช่ ว ยค� ำ นวณต้ น ทุ นการผลิต สิ น ค้ า เกษตร และให้ข้อมูล ตลาดสิ น ค้ า เกษตรในแต่ ล ะ พื้นที่
“เพื่อนช่วยเพื่อน” การให้หรือ ขอรับค�ำแนะน�ำจากบุคคลหรือ หน่วยงานทีป่ ระสบความส�ำเร็จ ในเรื่องนั้นๆ เพื่อน�ำไปประยุกต์ ใช้ในหน่วยงาน
แอปพลิ เ คชั น รวบรวมข้ อ มู ล ร้านอาหารที่ได้รับการรับรอง มาตรฐานจากกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ รวมถึงแสดงวิธกี าร เดินทางไปยังร้านที่ต้องการ
การเรียนรูร้ ว่ มกันหลังงานส�ำเร็จ เป็ น กิ จ กรรมที่ ส มาชิ ก ในที ม ประชุ ม /พู ด คุ ย กั น หลั ง จาก ท�ำงานส�ำเร็จไปแล้วระยะหนึ่ง เพื่อทบทวนย้อนหลังเกี่ยวกับ งานนั้นๆ
StOrytelliNg
Trip NorthErn
Unity
Virtual Team
การถอดความรู ้ ที่ ฝ ั ง ลึ ก ใน ตั ว บุคคล โดยให้ผู้ที่มีความรู้ หรือมีประสบการณ์เป็นผู้เล่า เรื่อง และมีการบันทึกเก็บไว้ อย่ างเป็นระบบ
แอปพลิ เ คชั น น� ำ เที่ ย วจั ง หวั ด ในกลุ่มภาคเหนือตอนบน ซึ่ง รวบรวมข้อมูลสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ร้ า นอาหาร ที่ พั ก โรงแรม กิจกรรมที่น่าสนใจ และวิธีการ เดินทาง
ซอฟต์ แ วร์ ที่ ช ่ ว ยให้ ก ารเก็ บ รวบรวมและแบ่งปันความรู้ใน หน่วยงานเป็นเรือ่ งง่ายและสนุก ใช้งานง่าย และรองรับไฟล์งาน หลากหลายรูปแบบ
WMSC
XML
YoNyx
Zoho CoNNect
แหล่ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารด้ า น การบริ ห ารจั ด การน�้ ำ เช่ น ปริมาณน�้ำฝน ปริมาณน�้ำท่า และปริมาณน�้ำในอ่างเก็บน�้ำ เ พื่ อ เ ต รี ย ม ก า ร รั บ มื อ ภั ย ธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้น
ภาษาที่ ใ ช้ ใ นการเก็ บ ข้ อ มู ล และแสดงผลข้ อ มู ล เหมาะ ส�ำหรับการดูข้อมูลหรือเรียกใช้ ข้อมูลในฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เช่น ระบบเครือข่ายในองค์กร เพื่อจัดการเรียนรู้
แพลตฟอร์ ม ส� ำ หรั บ สร้ า ง Decision Tree ซึง่ เป็นเครือ่ งมือ ให้ ข ้ อ มู ล /ค� ำ แนะน� ำ แบบ โต้ ต อบกั น ได้ (Interactive Guide) เพื่อช่วยแก้ปัญหาด้าน เทคนิคให้แก่ลูกค้า
โซเชียลมีเดียแบบเฉพาะกลุ่ม ส�ำหรับสมาชิกใช้แบ่งปันความรู้ ประชุมออนไลน์ ติดตามความ คื บ หน้ า ของแผนงาน เก็ บ รวบรวมองค์ความรู้ส่วนบุคคล และอื่นๆ
คณะท� ำ งานซึ่ ง ไม่ ไ ด้ อ ยู ่ ใ นที่ เดียวกัน แต่มีการแลกเปลี่ยน ข้ อ มู ล หารื อ และตั ด สิ น ใจ ร่ ว มกั น ผ่ า นเครื อ ข่ า ยและ แพลตฟอร์ ม ต่ า งๆ โดยไม่ มี ข้อจ�ำกัดด้านสถานที่และเวลา
O
7
8
T
The Knowledge
จัดการความรู้ ... สู่ชุมชน ห ล า ย ป ร ะ เ ท ศ ทั่ ว โ ล ก ร ว ม ทั้ ง ประเทศไทยรู้ดีว่าต้นทุนของท้องถิ่น เช่น ทรั พ ยากรธรรมชาติ วิ ถี ชี วิ ต และ ภู มิ ป ั ญ ญาชาวบ้ า นหรื อ ภู มิ ป ั ญ ญา ท้องถิ่น (Local Wisdom) สามารถน�ำมา สร้างมูลค่าเพิ่มและขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของชุมชนได้อย่างยัง่ ยืน แต่เคยสงสัยไหม ว่าภูมิปัญญาและความรู้ที่ถูกส่งต่อจาก คนรุ่นก่อนมาถึงเราครบถ้วนและถูกต้อง ไหม?
ความรูท้ งั้ หลายในโลกนีม้ อี ยู่ 2 รูปแบบ คื อ ความรู ้ ชั ด แจ้ ง จ� ำ พวกความรู ้ ในหนังสือ บันทึก หรือเอกสารต่างๆ และ ความรู้แฝง หรือ ความรู้โดยนัย ซึ่งเป็น ความรู้ที่อยู่ในคน เป็นความรู้เฉพาะตัว และเฉพาะเรือ่ ง ดังนัน้ กระบวนการจัดการ ความรู้ หรือ Knowledge Management Process: KM Process จึงเป็นตัวช่วยให้ เกิดการถ่ายเทความรู้ที่ถูกน�ำมาใช้อย่าง แพร่หลาย
ส� ำ นั ก ง า น บ ริ ห า ร แ ล ะ พั ฒ น า องค์ความรู้ (องค์การมหาชน) หรือ OKMD มี ก ารท� ำ งานร่ว มกั บ ภาคี เ ครื อ ข่ายใน หลายพื้ น ที่ ข องประเทศไทย เพื่ อ ใช้ กระบวนการจัดการความรู้เปลี่ยนต้นทุน ท้ อ งถิ่ น ให้ ก ลายเป็ น องค์ ค วามรู ้ ที่ พร้ อ มส� ำ หรั บ การน� ำ ไปท� ำ มาหากิ น ทีส่ อดคล้องกับบริบทของแต่ละพืน้ ที่ โดยมี ขั้นตอน 6 ขั้นตอน ดังนี้
The Knowledge
ขั้นตอนที่ 1 : ชุ ม ชนรู้ จั ก ตนเอง
ขั้นตอนที่ 2 : เสาะหาความรู้
้ ตอนที่ 3 : ขัน เปลี่ ย นความรู้ เ ป็ น องค์ ค วามรู้
ศู น ย์ ค วามรู ้ กิ น ได้ แ ละคนในท้ อ งถิ่ น ร่ ว มกั น วิ เ คราะห์ แ ละคั ด เลื อ กต้ น ทุ น ท้ อ งถิ่ น ที่ อ ยู ่ ใ นรู ป แบบต่ า งๆ เช่ น ทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น ประเพณี หรื อ ภู มิ ป ั ญ ญาที่ มี ศั ก ยภาพในการท� ำ เงิ น ของแต่ ล ะท้ อ งที่ โดยโจทย์ ที่ ถู ก เลื อ ก มาจั ด ท� ำ เป็ น องค์ ค วามรู ้ มั ก จะเป็ น Product Champion หรือ สินค้าโดดเด่น ของแต่ละพื้นที่ ตัวอย่าง ประเพณีแห่เทียนพรรษา จ. อุบลราชธานี ผ้าทอกะเหรี่ยง จ. แม่ฮ่องสอน ข้าวหอมมะลิ จ. สุรินทร์
ชุ ม ชนรวบรวมความรู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งซึ่ ง กระจั ด กระจายอยู่ ใ นแหล่ ง ต่ า งๆ ใน รูปแบบที่หลากหลาย ตัวอย่าง - การจดบันทึก บันทึกเสียง หรือบันทึก ภาพการถ่ายทอดภูมคิ วามรูจ้ ากปราชญ์ ชาวบ้านและคนทำ�อาชีพ การถ่ายเอกสารจากหนังสือหรือแผ่นพับ
ขั้นตอนที่ 4 : ตรวจสอบความพร้อม
ขั้นตอนที่ 5 : องค์ ค วามรู้ สู่ อ าชี พ
ขั้นตอนที่ 6 : กลั บ มาเล่ า สู่ กั น ฟั ง
นำ � องค์ ค วามรู้ ที่ จั ด ทำ � มาตรวจสอบ ความสมบู ร ณ์ แ ละความถู ก ต้ อ งกั บ เจ้ า ของความรู้ แ ละผู้ เ ชี่ ย วชาญ ก่ อ น จะแปลงร่ า งองค์ ค วามรู้ ทำ � มาหากิ น ให้ เ ป็ น “กล่ อ งความรู้ กิ น ได้ ” โดยเพิ่ ม ตัวอย่างวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ ตัวอย่าง บรรจุ ภั ณ ฑ์ และสื่ อ ความรู้ เ พิ่ ม เติ ม เช่ น หนั ง สื อ แผ่ น พั บ คลิ ป วิ ดี โ อ เพื่ อ ให้ เ ป็ น สื่ อ องค์ ค วามรู้ แ บบเบ็ ด เสร็ จ (One-Stop Service Knowledge) ที่ พร้อมสำ�หรับการนำ�ไปศึกษาด้วยตนเอง ตัวอย่าง - การเลี้ยงปลาในนาข้าว - งานปักลูกเดือย ภูมิปัญญาบนผ้าทอ กะเหรี่ยง - การท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ� - เครื่องจักสานล้านนาเสริมมงคล - ธุรกิจ Catering ขนมไทย
นำ � องค์ ค วามรู้ ไ ปเผยแพร่ ใ ห้ ค นใน ท้องถิ่นนำ�ไปใช้ในการทำ�มาหากิน ตัวอย่าง - ชั้ น หนั ง สื อ ทำ � มาหากิ น และกล่ อ ง ความรูก้ นิ ได้ ในศูนย์ความรูก้ นิ ได้ - เว็ บ ไซต์ www.okmd.or.th/knowledge-box-set/articles - นิทรรศการหมุนเวียน - Workshop สร้างอาชีพ - งานมหกรรมความรู้สร้างอาชีพ
เชิญคนที่นำ�องค์ความรู้ไปใช้ให้กลับมา แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน เพื่ อ เปิ ด รั บ ความรู้ ใ หม่ นำ � ข้ อ มู ล ไป สร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ รวมถึงนำ�ไป พั ฒ นาต่ อ ยอด และสร้ า งวั ฏ จั ก รแห่ ง การเรียนรู้ให้กลายเป็นวิถีชีวิตของผู้คน ตัวอย่าง - กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบ ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) - การเสวนาและประชุมกลุ่มย่อย
นำ�ความรูท้ ไ่ี ด้มาเรียบเรียงและจัดหมวดหมู่ เพื่อให้ตอบโจทย์คนที่จะนำ�องค์ความรู้ ไปประกอบอาชีพ ตัวอย่าง - ความเป็นมาของอาชีพ - ความรู้/ทักษะที่ต้องใช้ - เงินลงทุนที่ต้องเตรียม - แรงงาน/อุปกรณ์/วัตถุดิบที่ต้องใช้ - ขั้นตอนการลงมือทำ� - การตั้งราคาและการตลาด
OKMD มุ่งหวังว่าการจัดการความรู้สู่ชุมชนจะเกิดผลในการพัฒนางาน พัฒนา คน และพัฒนาชุมชนให้เติบโต พร้อมทัง้ ช่วยสร้างงานในท้องถิน่ และเพิ่มความ สามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะยาวและยั่งยืน
T
9
10
D
DECODE
ถอดรหัสกระบวนการจัดการความรู้ ในชุมชนเกษตรกร
ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจดังเช่น ปัจจุบนั กลุม่ คนและกลุม่ อาชีพทีไ่ ม่อาจปรับตัวได้ทนั โดยเฉพาะ กลุม่ เกษตรกร ย่อมต้องเผชิญกับปัญหามากมาย เช่น ต้นทุนทีเ่ พิม่ สู ง ขึ้ น การแข่งขันรุนแรงทางการตลาด หนีน้ อกระบบ ฯลฯ จึงจ�ำเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องเร่งพัฒนาให้กลุ่มอาชีพเหล่านี้มีความรู้และ ทักษะที่จ�ำเป็นต่อการประกอบอาชีพ และสามารถแก้ปัญหา ด้วยตนเอง โดยไม่ตอ้ งรอความช่วยเหลือจากภาครัฐเพียงอย่างเดียว
ภายใต้ แ นวคิ ด ข้ า งต้ น OKMD ได้ ด� ำ เนิ น โครงการ ศู น ย์ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารบริ ห ารและจั ด การองค์ ค วามรู ้ ชุ ม ชน ร่วมกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เพื่อยกระดับสมรรถนะวิสาหกิจชุมชนขนาดกลางและขนาดย่อม ภาคเกษตรให้ เ ป็ น วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนต้ น แบบด้ า นการจั ด การ กระบวนการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ โดยมีลูกค้าของ ธ.ก.ส. เป็นกลุ่มน�ำร่อง
ภารกิจของศูนย์ยุทธศาสตร์ฯ OKMD เเละ ธ.ก.ส. ร่วมสนับสนุนเกษตรกร แหล่งความรู้ (OKMD) เกษตรกร
เน้นกระบวนการท�ำงาน ใกล้ชด ิ พันธมิตร
เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของชุมชนเกษตรกร
แหล่งเงินทุน (ธ.ก.ส.)
SMAEs
แหล่งความรู้ (OKMD)
SMAEs SMAEs
EXPRESS DELIVERY
ขายภายในประเทศ
ผู้ซื้อต่างประเทศ แหล่งเงินทุน (ธ.ก.ส.)
ศูนย์ยุทธศาสตร์การบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ชุมชน
แผนยุทธศาสตร์และ กลยุทธ์การจัดการความรู้ การเกษตรชุมชน
DECODE
KM เกษตรกร
• ขั้นตอนที่ 5 พัฒนาต้นแบบการ พัฒนากลยุทธ์การบริหารและ จัดการองค์ความรู้ชุมชน
• ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาความต้องการเฉพาะของชุมชน กลุ่มเป้าหมายและบูรณาการ กรอบแนวคิดทางวิชาการแกนกลาง เข้ากับความต้องการเฉพาะของชุมชน กลุ่มเป้าหมาย โดยใช้กระบวนการ มีส่วนร่วมระหว่าง ธ.ก.ส. และตัวแทนชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
• ขั้นตอนที่ 4 จัดให้มีการวิพากษ์กลยุทธ์ การบริหารและจัดการองค์ความรู้ ชุมชน โดยผู้เชี่ยวชาญและ ผู้ทรงคุณวุฒิ
• ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบองค์ประกอบและกระบวนการ พัฒนายุทธศาสตร์การบริหาร และจัดการองค์ความรู้ชุมชน
• ขั้นตอนที่ 3 จัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร (Workshop) เพื่อก�ำหนดกลยุทธ์ การบริหารและจัดการองค์ความรู้ ชุมชน
ผลทีไ่ ด้รับจากการถอดรหัส บูรณาการการท�ำงานร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานภาครัฐในการ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และ การจัดการแหล่งเรียนรู้ ให้แก่ วิสาหกิจชุมชน
เกิดวิสาหกิจชุมชน ต้นแบบด้านการจัดการ กระบวนการเรียนรู้และ แหล่งเรียนรู้
เกิดแนวทางการพัฒนา เกิดเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจชุมชนต้นแบบด้าน ด้านการจัดการกระบวนการ การจัดการกระบวนการเรียนรู้ เรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกพื้นที่
ไขเคม ็ ไชยา community
ไขเคม ็
ดเีดน
D
11
12
N
Nextpert
กระดูกสันหลัง 4.0 อาชีพเกษตรกร โดยเฉพาะชาวนา จัดเป็นวิชาชีพเก่าแก่คบู่ า้ นคูเ่ มือง มาตัง้ แต่สมัยโบราณ ด้วยความทีไ่ ทยหรือสยามเป็นประเทศอูข่ า้ วอูน่ ำ�้ ตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ราบลุ่มและมีทรัพยากรดินอุดมสมบูรณ์ เอื้อต่อ การเพาะปลูก ดังทีย่ งยุทธ แฉล้มวงษ์ (2558) ได้กล่าวว่า เกษตรกรรม คือแหล่งจ้างงานที่ใหญ่ที่สุดของประเทศคือเกือบ 1.5 ล้านคน หรือ มากกว่าร้อยละ 35 ของการจ้างงานทั้งหมด ทว่าในความเป็นจริง ชาวนาไทยถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้า คนกลางที่กดราคาพืชผลมายาวนาน ประกอบกับตัวเกษตรกรขาด ความรู้ในการเพิ่มผลผลิต มีอัตราการใช้เทคโนโลยีต�่ำ แต่ใช้สารเคมี อันตรายจ�ำนวนมากทั้งปุ๋ยและยาฆ่าแมลง ส่งผลให้ดินเสื่อมสภาพ เพาะปลูกไม่ได้ผล อีกทัง้ นโยบายรัฐหลายยุคสมัยไม่เอือ้ ต่อเกษตรกร ท�ำให้เกษตรกรตกอยูใ่ นวังวนความยากจน คุณภาพชีวติ ต�ำ่ และกลาย เป็ น ภาคการผลิ ต ที่ แ รงงานรุ ่ น ใหม่ ไ ม่ ส นใจ น� ำ มาสู ่ ป ั ญ หาการ ขาดแคลนแรงงานในภาคการเกษตรดังเช่นปัจจุบัน
จากชาวนา 1.0 ถึง Smart Farmer
หากเริ่มนับกันที่ 1.0 ซึ่งหมายถึงยุคเกษตรกรรม 2.0 คือยุคอุตสาหกรรม และ 3.0 คือยุคเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ยุค IT) ยุค 4.0 ก็คือ โลกหลังยุค IT หรือยุคนวัตกรรม ทิศทางที่โลกเคลื่อน ไปนี้ ไ ด้ ผ ลั ก ดั น ให้ ทุ ก วงการต้ อ งเคลื่ อ นไหวตาม ไม่เว้นแม้แต่ภาคการเกษตรทีด่ เู หมือนจะเกีย่ วข้องกับ IT น้อยที่สุดก็ยังจ�ำเป็นต้องปรับตัว โดยการพัฒนา องค์ความรูท้ จี่ ะช่วยเปลีย่ นชาวนา 1.0 ให้เดินหน้าไปสู่ Smart Farmer หรือชาวนา 4.0
โลก 4 ยุคของ Alvin Toffler
ยุค 1.0 (First Wave) คลื่นลูกที่หนึ่ง
ยุค 3.0 (Third Wave) คลื่นลูกที่สาม
เป็ น คลื่ น ลู ก แรกของมนุ ษ ยชาติ มีจุ ด เริ่ ม ต้ น จากวั น ที่ ม นุ ษ ย์ เ ริ่ ม หยุ ด ออกเดินทางเพื่อล่าสัตว์หันมาลงหลัก ปักฐานท�ำการเพาะปลูกและ การปศุสตั ว์ ท�ำให้เกิดการรวมกลุม่ ก่อก�ำเนิดสังคม พั ฒ นาสู ่ ก ารสร้ า งวั ฒ นธรรมและ การสัง่ สมองค์ความรู้
เป็นยุคของการเชื่อมโยงและเข้าถึง ระบบ IT ได้ ทุ ก ที่ โดยมี เ ทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และระบบโทรคมนาคม เข้ า มารองรั บ เกิ ด เป็ น ชุ ม ชนและ เครือข่ายซึ่งนำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลง ทางสังคมและเศรษฐกิจรูปแบบใหม่
เป็น ยุคหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งมีการน�ำเครื่องจักรมาใช้ในการผลิต สินค้าจ�ำนวนมากส�ำหรับตลาดขนาดใหญ่ เป็นช่วงเปลีย่ นผ่านจากสังคมเกษตรกรรม สู่สังคมอุตสาหกรรม ยุค 2.0 (Second Wave) คลื่นลูกที่สอง
เป็นยุคของการสร้างและขับเคลื่อน สังคมด้วยนวัตกรรม
ยุค 4.0 (Forth Wave) คลื่นลูกที่สี่ SCAN QR CODE เพื่อชมไฟล GIF
Nextpert
การจัดการความรู้ มุ่งสู่ Farmer 4.0 เราลองมาเรียนรูจ้ ากแนวทางการจัดการความรูแ้ ละการใช้เครือ่ งมือต่างๆ ที่นำ�ไปสู่การสร้าง Smart Agriculture ในเกษตรกรญี่ปุ่น ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 รูปแบบ ดังนี้ Support Solutions: 01 Cultivation แนวทางสนับสนุนการเพาะปลูก
การบริห ารจัดการข้อมูลการเกษตร ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบควบคุ ม สภาพแวดล้ อ มทาง การเกษตร เช่น อุณหภูมิ แสงสว่าง และความชืน้ รวมถึงการบริหารจัดการ ก๊าซเรือนกระจก การลดต้นทุนทางการเกษตรโดยใช้ ระบบ IT
Support Solutions: 02 Sales แนวทางสนับสนุนทางการตลาด
ระบบคาดการณ์ ผ ลผลิ ต ที่ จ ะออกสู ่ ตลาด ระบบประมาณการราคาตลาด ระบบลดภาระแรงงานในฟาร์ม
Support Solutions: 03 Operational แนวทางสนับสนุนการด�ำเนินการ
การใช้โปรแกรมการจัดการด้านงาน บัญชี การเชือ่ มโยงฐานข้อมูลกับกรมอุตุนิยม วิทยาด้านสภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ และแมลงศั ต รู พื ช เพื่อบริหารจัดการ ด้านการประกันภัย
04
Precision Farming: การเกษตรกรรมความแม่นย�ำสูง การใช้ ร ะบบภู มิ ส ารสนเทศ (GPS) ในการติดตามความเคลือ่ นไหวในฟาร์ม
Robots: 05 Agricultural การใช้ ร ะบบหุ ่ น ยนต์ ท างการเกษตร
เต็มรูปแบบ การน�ำระบบควบคุมเครือ่ งจักรอัตโนมัติ (Autopilot) หรือโดรนมาใช้ในฟาร์ม การใช้ระบบหุ่นยนต์พาหนะในฟาร์ม ตั้งแต่การเพาะปลูกถึงเก็บเกี่ยว
เกษตรกรไทย ใน Digital Society แม้ชาวนารุ่นใหม่ต้องเผชิญกับปัญหา มากมายและหลากหลายกว่าเมื่อเทียบกับ ชาวนาสมั ย ก่ อ น ไม่ ว ่ า จะเป็ น สภาพ ภูมอิ ากาศเปลีย่ นแปลง แมลงศัตรูพชื ดือ้ ยา หรื อ ดิ น เสื่ อ มสภาพ ทว่ า ชาวนา 4.0 มีข้อได้เปรียบตรงที่มีชีวิตอยู่ในโลกยุค 4.0 ทีเ่ ครือ่ งไม้เครือ่ งมืออ�ำนวยความสะดวกได้รบั การพัฒนาถึงขีดสุด อีกทัง้ ยาปราบศัตรูพชื และปุ๋ยชีวภาพก็ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น กว่ายุคปุ๋ยเคมี ที่ส�ำคัญระบบ IT ท�ำให้ ชาวนา 4.0 สามารถน�ำเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ประโยชน์ในการจัดการความรู้ ซึ่ง แตกต่างจากชาวนา 1.0 2.0 และ 3.0 ที่ การถ่ายทอดองค์ความรูย้ งั ไม่มปี ระสิทธิภาพ เทียบเท่าปัจจุบัน ปั ญ หาหลั ก มี เ พี ย งประการเดี ย ว คื อ ชาวนาจะมี ก ลยุ ท ธ์ ใ ดเพื่ อ เข้ า ถึ ง องค์ค วามรู้ดัง กล่า ว ซึ่ง หากท�ำได้อย่าง เต็ ม รู ป แบบประเทศไทยก็ จ ะสามารถ เข้าสู่ยุคชาวนา 4.0 หรือ Smart Farmer เหมือนนานาอารยะประเทศได้ในที่สุด
N
13
D
DigitOnomy
รวมมิตรข้อมูลสถิติ ด้านการเกษตร
GDP นอกภาค การเกษตร
90%
มูลค่าภาคการเกษตรต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศ (GDP) 10,935,442
12,480,180
8,227,614 5,267,853
501,725
GDP ภาค การเกษตร
1,421,961
848,689
1,192,671
2545
2550
2555
GDP 5,769,577
GDP 9,076,303
GDP 12,357,403
10%
2558
GDP 13,672,851
นอกภาคเกษตร
ภาคเกษตร
ลักษณะการถือครองที่ดินทางการเกษตร พ.ศ. 2549-2558 (หน่วย : ล้านไร่)
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
เนื้อที่ถือครองทางการเกษตร
151
151
151
151
152
152
149
149
149
149
เนื้อที่ของตนเอง
107
91
76
72
72
73
71
71
71
71
เนื้อที่ของคนอื่น (เช่าผู้อื่น รับขายฝาก ได้ทำฟรี)
43
60
75
79
79
79
77
77
77
77
รายได้ รายจ่าย และหนี้สินของครัวเรือนการเกษตร (หน่วย : บาท/ครัวเรือน) รายได้ทาง การเกษตร
รายได้นอก การเกษตร
2554
142,039
100,326
2556
148,240
2558
157,373
รายจ่ายทาง การเกษตร
รายจ่ายนอก การเกษตร
ขนาดหนี้สิ้น
84,190
113,258
59,808
120,063
99,770
130,185
82,572
143,192
100,281
146,805
117,346
ะเบียนเกษตรกร ผูล้ งท นวน ำ จ ั ธ์ พ.ศ. 2559 พน ม ุก ภา
2 ครวั เรอื น 2,58 4 9
7,
14
อ้างอิง : กรมส่งเสริมการเกษตร (2560)
จังหวัดที่มีครัวเรือน การเกษตรมากที่สุด
DigitOnomy
D
15
3. 2.
1.
แกน่ ขอน ,309 า ชสีม า ร ร นค 445
323ครัวเรอื น
, 364ครวั เรอื น
านี ุ ลราชธ อบ 0
,57น 39 0 ครัวเรือ
อาหาร
2,246 รายการ
เครื่องดื่ม รายการ สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
244
420 รายการ
ของใช้ ของประดับ ของที่ระลึก
6,046 รายการ
952 รายการ
2. ร้อยเอ็ด
4,069 แห่ง
5. ศรีสะเกษ
2,839 แห่ง
2,914
3,071 แห่ง
3. เชียงราย
3,000
2559 2560
4. มหาสารคาม แห่ง
1. อุบลราชธานี
4,000
4,085 แห่ง
อันดับจังหวัดที่มีการจดทะเบียนวิสาหกิจ ชุมชนมากที่สุด
ผ้าทอและ เครื่องแต่งกาย
2,184 รายการ ยอดจำหน่ายสินค้า OTOP แสนล้านบาท สร้างมูลค่า
1.252 คาดว่ามีมูลค่า 1.377 แสนล้านบาท
เพิ่มขึ้นร้อยละ 10
ประเภทวิสาหกิจที่ขอจดทะเบียนมากที่สุด กสิกรรม
24,675 แห่ง
2,000 การผลิตปศุสัตว์
0 อ้างอิง : กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2560
19,771 แห่ง
การแปรรูปอาหาร
10,874
แห่ง
ปัจจัยการผลิต
10,046
แห่ง
8,892
แห่ง
สถิติวิสาหกิจชุมชนในประเทศไทย จำนวนวิสาหกิจชุมชน
83,613 แห่ง
จำนวนสมาชิกวิสาหกิจ
1,438,936 ราย
อ้างอิง : กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2560 (ไม่รวมเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน)
ผลิตภัณฑ์ผ้าทอ/ เสื้อผ้า
อ้างอิง : www.otoptoday.com และ กรมพัฒนาชุมชน
อ้างอิง : กรมพัฒนาชุมชน
ประเภทผลิตภัณฑ์ OTOP รวมทั้งสิ้น
16
N
Next
อนาคต ของการจัดการ ค ว า ม รู้ การจั ด การความรู้ หรื อ Knowledge Management (KM) มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ องค์กรอย่างไร? ท�ำไมต้องจัดการความรู้? ค� ำ ถามนี้ ค งจะไม่ จ บสิ้ น หากไม่ ส ามารถ อธิบายให้บุคลากรในองค์กรเข้าใจว่า KM เป็นเรือ ่ งใกล้ตัวมากกว่าทีค ่ ิด
ลองนึกถึงสถานการณ์ที่พนักงานคนหนึ่งลาออกกะทันหัน ความรู ้ ใ นงานที่ บุ ค คลนั้ น มี อ ยู ่ ย ่ อ มติ ด ตามเจ้ า ของไปด้ ว ย หากคุณต้องเข้ามารับหน้าทีแ่ ทน คุณจะสานต่องานในต�ำแหน่งนัน้ ได้อย่างไร หรือกรณีที่บริษัทส่งพนักงานคนหนึ่งไปเข้ารับการ อบรมหรือเข้าร่วมการสัมมนา ท�ำอย่างไรคุณจึงจะได้รับความรู้ นัน้ ด้วย คงพอมองเห็นภาพแล้วว่า การจัดการความรูม้ คี วามส�ำคัญกับ ทุกคนในทุกภาคส่วน ความรู้ในองค์กร รวมไปถึง ความรู้ที่ อยู่ในตัวบุคลากรขององค์กรหากไม่มีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ และไม่มีการแบ่งปันข้อมูลย่อมไม่สามารถน�ำความรู้นั้นมาใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและไม่สามารถสร้างองค์ความรู้ ใหม่อย่างที่ควรจะเป็น ทั่ ว โลกจึ ง หั น มาให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การจั ด การความรู ้ ใ นฐานะเครื่องมือพัฒนาคน พัฒนางาน และยกระดับองค์กรสู่การเป็นองค์กรการเรียนรู้ ปัจจุบันจึงมี แนวคิ ด ทฤษฎี งานวิ จั ย วิ ช าชี พ ใหม่ ๆ รวมถึ ง นวั ต กรรมที่ เกีย่ วข้องกับการจัดการความรูเ้ กิดขึน้ มากมายเพือ่ รองรับแนวโน้ม ความต้องการที่เพิ่มขึ้น
CKO ต�ำแหน่งใหม่น่าจับตา องค์กรภาคเอกชนในปัจจุบันให้ความส�ำคัญกับการจัดการ ความรู ้ เ พิ่ ม ขึ้ น มาก เห็ น ได้ จ ากการเพิ่ ม ต� ำ แหน่ ง งานด้ า น การบริหารจัดการองค์ความรูแ้ ยกเป็นหน่วยงานเฉพาะเพือ่ ให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดในการจัดการความรู้ขององค์กร ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายความรู้ (Chief Knowledge Officer: CKO) คื อ ต� ำ แหน่ ง งานดั ง กล่ า ว ซึ่ ง แตกยอดออกมาจาก ต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (Chief Executive Officer:
CEO) ท�ำหน้าทีบ่ ริหารจัดการระบบการจัดการความรูข้ ององค์กร โดยการรวบรวมองค์ความรู้ที่กระจัดกระจายอยู่ตามแหล่งต่างๆ ทัง้ ในรูปเอกสารและทีอ่ ยูใ่ นตัวบุคลากรแต่ละคน น�ำมาจัดระเบียบ จัดเก็บ พัฒนา ให้บริการ รวมถึงบ�ำรุงรักษาระบบ เพือ่ ให้บคุ ลากร ขององค์กรสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ได้โดยสะดวก
Data Scientist อาชีพมาแรง Bernard Marr (2558) ได้ให้ค�ำนิยามของ Data Scientist หรือนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลว่าต้องเป็นผู้ที่หลอมรวมคุณสมบัติ ของนักจัดการข้อมูล (Data Manipulation) นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) นักเขียนโปรแกรม (Programmer) นวัตกร (Innovator) และนักสื่อสารชั้นยอด (Best Communication) ทั้งหมดเข้าด้วยกันเพื่อการจัดการความรู้ที่สมบูรณ์แบบ ผูท้ อี่ ยากเป็น Data Scientist ต้องเริม่ จากทักษะด้านโปรแกรม คอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล ร่วมกับทักษะ ด้ า นการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล และทั ก ษะด้ า นการสื่ อ สารเพื่ อ การน�ำเสนอข้อมูล อีกทั้งยังต้องมีวิสัยทัศน์แบบนวัตกรเพื่อน�ำ สิ่งใหม่เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการข้อมูล Semantic Search Engine การจัดการความรู้แห่งอนาคต สิบกว่าปีมานี้ การพิมพ์คำ� ส�ำคัญ (Keyword) บนเสิรช์ เอนจิน (Search Engine) หรือเครื่องมือค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต เช่น กูเกิล (Google) และ ยาฮู (Yahoo) จัดว่าเป็นวิธีการที่ดีที่สุดใน การค้นพบสิ่งที่ต้องการบนโลกออนไลน์ แต่ในยุคเครือข่ายสังคม ออนไลน์ที่ผู้ใช้งานแบ่งปันข้อมูลจ�ำนวนมหาศาลอยู่ตลอดเวลา ท�ำให้แนวคิดเรื่อง Semantic Search ซึ่งเป็นการสืบค้นข้อมูลที่
Next
อิงตามความหมายและค้นหาสิง่ ทีส่ มั พันธ์กนั กลายเป็น ทีจ่ บั ตามองและคาดว่าจะมีผลต่อพฤติกรรมการใช้งาน อินเทอร์เน็ตของเรามากขึ้น ไกรศักดิ์ เกษร (2554) กล่าวว่า ปัญหาส�ำคัญของ เสิร์ชเอนจินแบบเดิมอยู่ที่การท�ำตัวเป็นระบบค้นหา ข้อมูลเพียงอย่างเดียว โดยการดูวา่ มีคำ� ส�ำคัญปรากฏอยู่ ในเอกสารที่ค้นหาหรือไม่ ถ้าไม่พบข้อมูล เสิร์ชเอนจิน จะถือว่าเอกสารนัน้ ไม่เกีย่ วข้อง ทัง้ ทีเ่ อกสารบางรายการ อาจมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่ก�ำลังค้นหาแม้จะไม่มี ค�ำส�ำคัญร่วมกันเลยก็ตาม เรียกว่า ความสัมพันธ์เชิง ความหมาย (Semantic Relationships) จึงเป็นที่มา ของการพัฒนา Semantic Search Engine หรือเครือ่ งมือ ค้นหาข้อมูลเชิงความหมายเพื่อเติมเต็มจุดบกพร่อง ดังกล่าว โดยอาศั ย แนวทาง Semantic-Based Knowledge Management หรือการจัดการความรู้ เชิ ง ความหมาย ซึ่ ง เป็ น การจั ด การความรู ้ ใ นเชิ ง ลึ ก เพื่อน�ำองค์ความรู้เฉพาะด้านไปใช้งาน รวมทั้งอาศัย เทคโนโลยีชว่ ยท�ำความเข้าใจเจตนาของผูส้ บื ค้นแต่ละคน และช่วยตีความความหมายตามบริบท (Contextual Meaning) ของค�ำส�ำคัญ ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั หลายองค์ประกอบ เช่น เวลาและสถานที่ ภูมหิ ลัง และเหตุการณ์ทเี่ กีย่ วข้อง กับค�ำนั้นๆ เพื่อปรับปรุงผลการค้นหาให้แม่นย�ำยิ่งขึ้น
GOOD TO SHARE
17
ฉันคือเสิร์ชเอนจินอัจฉริยะ..ลองเลย!
1
Platypus Wiki เจอข้อมูลดี ถ่ายเก็บไว้ก่อน 2
เลือกช่องทางการแชร์
DuckDuckGo
3
Kngin
e
ได้รับเรื่องราวดีๆ อย่าลืมส่ งต่อนะจ๊ะ
คุยกับเสิร์ชเอนจินผ่านผู้ช่วยอัจฉริยะ ขณะนีโ้ ลกเดินทางมาถึงยุค Web 3.0 (พ.ศ. 2553 - 2563) หรือ Semantic Web ซึ่งเป็นเว็บหรือเครือข่ายเชิงความหมายหรือความเกี่ยวข้อง (Semantic Network) ที่มี Semantic Search Engine เป็นพระเอก เว็บเชิงความหมาย ที่ รู ้ จั ก กั น ดี นอกเหนือ จากกูเ กิล ได้แก่ เฟซบุ๊กและอินสตาแกรม ซึ่ง เน้น แสดงเนื้อหาที่ “โดนใจ” หรือมีความส�ำคัญต่อผู้ใช้เป็นล�ำดับแรกๆ บนหน้า News Feed โดยอาศั ย การวิ เ คราะห์ ฐ านข้ อ มู ล ที่ ผู ้ ใ ช้ ส ร้ า งขึ้ น จาก การกด “ไลค์” และ “แชร์” อีกไม่นานเราจะก้าวเข้าสู่ยุค Web 4.0 (พ.ศ. 2563 - 2573) หรือ Symbiotic Web ซึ่งเป็นเว็บไซต์ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ที่ ท� ำ งานด้ ว ยตั ว เอง เมื่ อ ยุ ค นั้ น มาถึ ง การใช้ แ ป้ น พิ ม พ์ ใ นการค้ น หา อาจกลายเป็ น เรื่ อ งล้ า สมั ย ในเมื่ อ ผู ้ ใ ช้ ง านสามารถออกค� ำ สั่ ง ด้ ว ยเสี ย งอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพผ่ า นผู ้ ช ่ ว ยอั จ ฉริ ย ะ ไม่ ว ่ า จะเป็ น Siri บนผลิตภัณฑ์ Apple หรือ Alexa ของ Amazon ไปจนถึง Google Home ที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถสื่อสารกับบ้านของตัวเองด้วยเสียง อาจดูเหมือนชีวิตจะง่ายขึ้น แต่การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้มีแนวโน้มท�ำให้เรา ต้องเปลี่ยนวิธีการค้นหาจากเดิมที่ใช้ค�ำส�ำคัญไปเป็นรูปแบบประโยคสนทนา มากขึ้น เช่น ขอข้อมูลจังหวัดล�ำปาง หรือ พี่ตูนวิ่งถึงไหนแล้ว เสิร์ชเอนจิน ในยุ ค หน้ า จึ ง ต้ อ งสามารถวิ เ คราะห์ ทั้ ง ค� ำ และประโยคเพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลลั พ ธ์ ทีแ่ ม่นย�ำ ส่วนผูใ้ ช้งานก็ตอ้ งรูจ้ กั สร้างประโยคทีบ่ รรดา AI จะเข้าใจและท�ำตาม ค�ำสั่งได้โดยง่าย เรียกว่าต้องปรับตัวทั้งสองฝ่ายเพื่อชีวิตที่ง่ายขึ้น อ้างอิง : Bits to Blog (2557)
N
ตัว อย่า ง Semantic Search ของค�ำว่า "การ จัดการความรู้" จะเห็นค�ำที่เป็นตัวหนาสีน�้ำเงิน ซึง่ ไม่ตรงกับ ค�ำส�ำคัญ แต่ระบบสามารถเข้าใจได้ ว่าค�ำเหล่านีเ้ กีย่ วข้องกับค�ำส�ำคัญจึงน�ำมาแสดงผล ด้วย นอกจากนี้ยังมีการแสดงหัวข้อที่บุคคลอื่น เคยค้นหา (People also search for) ซึง่ ระบบเชือ่ ว่า จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สืบค้นไว้ให้ด้วย
18
ค ความรู้กินได้
2. Define
1. Empathize
3. Ideate
4. Prototype
ผลิตภัณฑ์ แก้ปัญหา
5. Test ที่มา : Design Thinking Process ของ d. school of Scotland University
จากการส�ำรวจโดยกรมการข้าวพบว่า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เคยมีพนั ธุข์ า้ วพืน้ บ้านอยูถ่ งึ 1,564 สายพันธุ*์ แต่ปจั จุบนั พันธุข์ า้ ว พื้ น บ้ า นได้ สู ญ หายไปเป็ น จ� ำ นวนมาก เหลื อ เพี ย งพั น ธุ ์ ข ้ า ว เชิงพาณิชย์เพียงไม่กี่สายพันธุ์ เนื่องจากการขาดเทคโนโลยี ในการพัฒนาสายพันธุ์ข้าวและการปลูกข้าวที่เน้นการค้าและ การส่งออกเป็นหลัก จากปัญหาดังกล่าว วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารจึงท�ำการศึกษา วิ จั ย เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ แ ละฟื ้ น ฟู พั น ธุ ์ ข ้ า วพื้ น บ้ า น และจั ด เก็ บ เป็ น ฐานทรัพยากรพันธุกรรมข้าวท้องถิ่น โดยมีเป้าหมายส�ำคัญคือ การสร้างความต้องการทางการตลาด (Demand) ของพันธุ์ข้าว พื้นบ้านด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ส� ำรวจตลาด
ศึ ก ษาว่ า ลู ก ค้ า เป้ า หมายนิ ย มซื้ อ เครื่ อ งดื่ ม รูปแบบใด ราคาประมาณเท่าไร และควรน�ำ สินค้าไปวางขายที่ไหน
วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารใช้ “การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่” มาเป็นโจทย์ในการพัฒนาองค์ความรูเ้ พือ่ การท�ำมาหากินร่วมกับ OKMD และได้ผลลัพธ์เป็นองค์ความรู้เพื่อการท�ำมาหากินเรื่อง “ชาข้ า วพื้ น บ้ า น” เพื่ อ น� ำ ไปเผยแพร่ ใ ห้ ค นในพื้ น ที่ น� ำ ไป ท� ำ มาหากิ น ต่ อ ไป แต่ เ นื่ อ งจากองค์ ค วามรู ้ ดั ง กล่ า วเป็ น องค์ความรู้ใหม่ที่เกิดจากกระบวนการวิจัยทดลองของวิทยาลัย ชุมชนมุกดาหารที่ยังขาดข้อมูลส�ำคัญที่จะสร้างความมั่นใจใน การน� ำ ไปประกอบอาชี พ OKMD วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนมุ ก ดาหาร และคนในพื้ น ที่ จึ ง ร่ ว มกั น น� ำ องค์ ค วามรู ้ ดั ง กล่ า วมาต่ อ ยอด พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่คาดว่าจะมีอนาคตไกลในตลาด โดยมีขั้นตอนดังนี้
ระดมความคิด
หาแนวทางการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ้ น แบบ “เครือ่ งดืม่ ชาข้าวพืน้ บ้าน” โดยใช้กระบวนการ คิดเชิงออกแบบ หรื อ Design Thinking Process
ทดสอบตลาด
น�ำเครือ่ งดืม่ ชาข้าวพืน้ บ้านต้นแบบไปให้ลกู ค้า เป้าหมายทดลองชิม และขอความเห็นเพื่อน�ำ มาปรับปรุง
จัดท�ำต้นแบบ
ทดลองท�ำต้นแบบ “เครือ่ งดืม่ ชาข้าวพืน้ บ้าน” ด้วยการน�ำข้าวหลายสายพันธุ์มาผสมกันเพื่อ ให้ได้ประโยชน์ รสชาติ และสีสันที่ต้องการ แล้วจดสูตรไว้เพื่อท�ำครั้งต่อไปให้เหมือนเดิม จากนัน้ ออกแบบฉลากและบรรจุภณ ั ฑ์ทเี่ หมาะสม
น�ำสิ นค้าวางตลาด
ผลิ ต สิ น ค้ า และน� ำ ไปจ� ำ หน่ า ยในจุ ด ขายที่ เหมาะสมและลูกค้าเป้าหมายเข้าถึงได้งา่ ย เก็บ รวบรวมผลตอบรับจากลูกค้าและน�ำมาปรับปรุง พัฒนาสินค้าอย่างต่อเนื่อง
จากปัญหาการสูญหายของพันธุ์ข้าวพื้นบ้าน เมื่อน�ำมาพัฒนาเป็นองค์ความรู้เพื่อการท�ำมาหากินและต่อยอดด้วยกระบวนการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ก็ท�ำให้ชาวบ้าน 3 รายในชุมชนบ้านบุ่งอุทัย จังหวัดมุกดาหาร สามารถน�ำข้าวพันธุ์เนียงกวง ข้าวพันธุ์มะลิด�ำ และ ข้าวพันธุ์ดอกดู่มาพัฒนาเป็นสินค้าใหม่ของชุมชนและสร้างรายได้ให้กับครอบครัวอย่างน่าภูมิใจ *อ้างอิง : ผลการส�ำรวจพันธุ์ข้าวพื้นเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของกรมการข้าว พ.ศ. 2557
Inside okmd
13 ปีของส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การ มหาชน) หรือ OKMD หน่วยงานในสังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ได้สงั่ สมองค์ความรูไ้ ว้มากมาย รวมถึงได้ดำ� เนินการในหลากหลาย ด้านเพื่อถ่ายทอดทักษะด้านการจัดการความรู้ หรือ KM สู่ชุมชน ในรายงานวิ จั ย เรื่ อ ง General Context of Science, Technology and Innovation in Thailand ของที่ ป ระชุ ม สหประชาชาติวา่ ด้วยการค้าและการพัฒนา หรือ United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD, 2557) ได้กล่าวถึงบทบาทของโครงการ BBL หรือ Brain-based Learning และ Training รวมถึงศูน ย์ความรู้กิน ได้ของ OKMD ในแง่ การเป็น Learning Method หรือกระบวนการเรียนรู้ที่ส�ำคัญ อันหนึ่งของเด็กและเยาวชนไทย โดยชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ข อง โครงการดังกล่าว และให้น�้ำหนักในแง่ของหลักสูตรเพื่อสร้าง บุ ค ลากรด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวั ต กรรมของ ประเทศไทย โครงการ BBL นั้ น เป็ น ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง OKMD กับกระทรวงศึกษาธิการในการเผยแพร่องค์ความรู้ให้แก่เด็ก และเยาวชนไทย ทั้งในระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชี ว ศึ ก ษา อุ ด มศึ ก ษา ไปจนถึ ง การศึ ก ษานอกโรงเรี ย น ส่ ว นการส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ ตลอดชีวิต OKMD และสถาบัน เพิ่ ม ผลผลิ ต แห่ ง ชาติ ร ่ ว มมื อ กั น จั ด การความรู ้ แ ละเผยแพร่ องค์ความรู้แก่คนวัยท�ำงาน รวมถึงมีการประสานความร่วมมือ กับวิทยาลัยชุมชนทั่วประเทศเพื่อสร้างศูนย์ความรู้กินได้ที่เ ป็ น แหล่งเรียนรู้ส�ำคัญด้านอาชีพของคนในชุมชน 13 ปีของ OKMD ได้มกี ารแบ่งปันองค์ความรูแ้ ละแลกเปลีย่ น เรี ย นรู ้ ต ามกระบวนการจั ด การความรู ้ กั บ ภาคี เ ครื อ ข่ายมา อย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะการน�ำ Tacit Knowledge ซึ่งเป็นความรู้ ทีอ่ ยูใ่ นตัวบุคลากรของ OKMD มาถ่ายทอดสูส่ าธารณะ และการน�ำ Explicit Knowledge ซึ่งได้มาจากการสังเคราะห์องค์ความรู้ ระหว่าง OKMD กับกระทรวงศึกษาธิการ มาเผยแพร่สู่บุคลากร ทางการศึกษาของไทย รวมถึงกลุ่มผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน
เข้าสู่ปีที่ 14 OKMD มีโครงการรวบรวมองค์ความรู้ 13 ปี ของ OKMD ทัง้ เรือ่ ง BBL ศูนย์ความรูก้ นิ ได้ และโครงการอืน่ ๆ อาทิ สะเต็มศึกษา และ วิทยาการหุน่ ยนต์ น�ำมาจัดท�ำเป็นสือ่ สารสนเทศ ดิ จิ ทั ล เพื่ อ มุ ่ ง สู ่ ขั้ น ตอนที่ 7 ของกระบวนการจั ด การความรู ้ คือ การเรียนรู้ให้กระจายสู่ชุม ชนในหลากหลายสาขาอาชีพ ประเด็นส�ำคัญก็คือ การน�ำ Explicit Knowledge และ Tacit Knowledge ในส่วนกระบวนการจัดการความรู้ ซึ่งเป็นทักษะ ทีโ่ ดดเด่นของ OKMD เผยแพร่สสู่ าธารณชนควบคูก่ นั ไป เพือ่ สร้าง สังคมแห่งการเรียนรู้อันไม่รู้จบ การแบ่งปั นและแลกเปลีย ่ นความรูข้ อง OKMD
ตามแนวทางของส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ (2548)
ความรูแ ้ บบชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)
• เอกสาร • ฐานความรู้ • เทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้โดยนัย (Tacit Knowledge)
• • • • •
ระบบพี่เลี้ยง ระบบทีมข้ามสายงาน การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ และนวัตกรรม • เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ • ชุมชนแห่งการเรียนรู้
I
19
20
5
5ive
5
แพลตฟอร์ ม จั ด การ องค์ ค วามรู้ ท้ อ งถิ่ น ในยุคดิจิทัล ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล ทำ � ให้ โ ลกเรามี ส่ื อการเรี ย นรู้ ท่ี ทั น สมั ย และ สนุ ก สนานเกิ ด ขึ้ นมากมาย แม้ แ ต่ เ นื้ อหา ่ บท้องถิน ่ ก็ยงั สามารถทำ�ออกมาได้อย่าง เกียวกั เก๋ไก๋น่าสนใจ ชวนให้เรียนรู้อย่างไม่รู้เบื่อ Application: FARMER INFO แอปพลิ เ คชั น ที่ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ข่าวสารและความเคลื่ อ นไหวด้ า นการเกษตร แบบวันต่อวัน ไม่ว่าจะเป็นการเช็คราคาสินค้าเกษตรจากแหล่งรับซื้อที่น่าเชื่อถือ ทัว่ ประเทศ ราคาสินค้าอาหารแห้งจาก 6 ตลาดสดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ตลาดสีม่ มุ เมือง ตลาดยิง่ เจริญ ตลาดสามย่าน ตลาดบางกะปิ ตลาดเยาวราช และ ตลาดคลองเตย นอกจากนีย้ งั มีบริการแหล่งช็อปปิง้ สินค้าออนไลน์ทรี่ วบรวมสินค้า คุ ณ ภาพดี จ ากท้ อ งถิ่ น ทั่ ว ประเทศ ข่าวสารและเกร็ ด ความรู ้ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ไปจนถึงระบบค�ำนวณต้นทุนที่ช่วยบริหารจัดการต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่างๆ www.rakbankerd.com/apps
Application: อาหารพื้นบ้านรสไทยแท้ แอปพลิเคชันของกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ที่รวบรวม ข้อมูล “อาหาร OTOP รสไทยแท้ประจ�ำหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว” ซึง่ แต่ละเมนูผา่ นการคัดเลือกจากชาวบ้านว่าเป็นอาหารท้องถิน่ อันมีเอกลักษณ์ และสืบทอดมายาวนานกว่า 50 ปี โดยนอกจากให้ข้อมูลเกี่ยวกับจุดเด่นของ อาหาร ความหมายของชือ่ อาหาร ส่วนผสม วิธกี ารปรุง และวิธกี ารรับประทาน ยังมีข้อมูลและประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน OTOP รวมถึงข้อมูลที่ตั้งของ หมู่บ้าน วิธีการเดินทาง หมายเลขโทรศัพท์ และพิกัดที่ตั้งบนแผนที่ออนไลน์ Google Play/ App Store: อาหารพื้นบ้านรสไทยแท้
5ive
5
Podcast / Radio: เกษตรบ้านเรา รายการทางวิทยุของไทยพีบเี อสทีน่ ำ� เสนอเรือ่ งราว ข่าวสาร นวัตกรรม และข้อมูลผลผลิตทางการเกษตร เพื่อเป็นข้อมูลให้ แก่เกษตรกร โดยมีองค์ความรูน้ า่ สนใจด้านต่างๆ เช่น การปลูก ผัก การดูแลสัตว์ กฎหมายน่ารู้ อาชีพเสริม และเทคโนโลยีดา้ น เกษตรกรรม เป็นต้น น�ำเสนอทุกสัปดาห์ผ่านทางสถานีวิทยุ ไทยพีบีเอส (www.thaipbsradio.com) และ Podcast ซึ่ง สามารถฟังออนไลน์หรือดาวน์โหลดไปไว้ฟงั ยามสะดวกได้ดว้ ย www.thaipbsradio.com/program/9/เกษตรบ้านเรา
ป้าย QR Code และ เว็บไซต์: Thailand Scan Me เพื่ อ ตอบโจทย์ ค นรุ ่ น ใหม่ ท่ี นิ ย มสื บ ค้ น ข้ อ มู ล การเดิ น ทาง ท่องเทีย่ วผ่านสมาร์ตโฟน กรมการท่องเทีย่ ว กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา จึงจัดโครงการ Thailand Scan Me ซึ่งรวบรวมข้อมูล แหล่งท่องเทีย่ ว การเดินทาง ค�ำแนะน�ำ และสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ต่างๆ เช่น ร้านค้า ร้านอาหาร โรงแรม และที่พักที่ได้รับการรับรอง มาตรฐานจากกรมการท่องเที่ยว ตลอดจนข้อมูลกิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นในแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ น�ำมาจัดท�ำเป็นป้าย QR Code ติดตั้งไว้ในพื้นที่และสามารถใช้สมาร์ตโฟนมาสแกนเพื่อดูข้อมูล ทั้งหมดได้ในทันที นอกจากนี้ยังมีข้อมูลในรูปแบบเสียงเพื่อเป็น ทางเลือกให้แก่ผบู้ กพร่องทางสายตาและผูท้ ไี่ ม่สามารถอ่านหนังสือ ได้อีกด้วย www.thailandscanme.com
Smart Farm Thailand เว็บไซต์และเฟซบุ๊กแฟนเพจที่รวบรวมองค์ความรู้ทางด้านเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farm) เทคโนโลยีการเกษตรต่างๆ รวมทั้งข้อมูล ข่าวสาร นวัตกรรม และ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งยังเป็นชุมชนออนไลน์ที่สมาชิกสามารถแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างผู้ที่มีความสนใจด้านการเกษตรในสาขาอาชีพต่างๆ www.facebook.com/smartfarmthailand www.smartfarmthailand.com
21
W
whaT's goiNg oN/ Talk tO ZiNe
DI
NG
PA S
S
WHAT'S GOING ON BO AR
22
27-28 JAN ณ อุทยานการเรียนรู้ TK park 2018 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ชัน้ 8
22 FEB 2018
นิทรรศการถาวร "ถอดรหัสไทย"
TK Café
นิทรรศการถาวรชุดใหม่ของมิวเซียมสยาม ทีจ่ ะพาทุกคนไปเรียนรูพ้ ฒ ั นาการความเป็น "ไทย" ตัง้ แต่อดีตถึงปัจจุบนั ผ่านนิทรรศการ ทีม่ ีรูปแบบการน�ำเสนอที่แปลกใหม่ อาทิ ห้องครัวมีชีวิต ที่จะพาไปเรียนรู้เรื่องราว ของอาหารไทยผ่ า นโมชั น กราฟิ ก และ ห้องเรียนเสมือนจริงทีพ่ าย้อนไปยังห้องเรียน ในยุคอดีต เปิดทุกวันยกเว้นวันจันทร์
TK park ชวนมาล้อมวงฟังเรือ่ งราวสบายๆ จากอาสาสมัครที่อาสามาแบ่งปันเรื่องราว ธรรมดาที่แสนมหัศจรรย์จากประสบการณ์ และการใช้ชวี ติ พร้อมเชื่อมโยงและชื่นชม มุมมองที่หลากหลายจากผู้ร่วมล้อมวงใน 13 ประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ ซึมไม่เศร้า ชี วิ ต ติ ด เน็ ต มนุ ษ ย์ ฟ รี แ ลนซ์ เลื อ กเพศ เมื่อพร้อม และฉลาดลงทุน
The Art of: Knowledge Management, Learning & Communication เวทีที่รวบรวมบรรดามันสมองและผู้น�ำใน แวดวงการจัดการความรู้จากทั่วโลกที่จะ มาแลกเปลี่ ย นแนวทาง กลยุ ท ธ์ และ ประสบการณ์ ใ นการผนวกการจั ด การ ความรู้ การเรียนรู้ และการสือ่ สารเข้าด้วยกัน เพื่อน�ำพาองค์กรสู่ความส�ำเร็จ โดยเน้นให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มได้ เ รี ย นรู ้ จ ากกรณี ศึ ก ษาและ เทคนิคที่ใช้ได้ผลจริงเป็นหลัก
www.museumsiam.org
www.tkpark.or.th
www.arkgroupaustralia.com.au
2 DEC 2017
มิวเซียม สยาม
เป็นต้นไป
TALK TO ZINE “รู้ทันโลกเทคโนโลยี พลิกธุรกิจรับโอกาสใหม่” กับ ไผท ผดุงถิ่น สตาร์ทอัพรุน่ บุกเบิกของไทย ผูก้ อ่ ตัง้ Builk.com และผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลัง เจ๊จูวัสดุก่อสร้างอันฮือฮาในโลกออนไลน์ “เราเกิดในยุคทีม่ อี นิ เทอร์เน็ต ขอแค่คณ ุ ตัง้ เป้าเรียนรูก้ จ็ ะได้รบั ทักษะ ใหม่ๆ เสมอ แต่ความรู้ที่ฟังมาอาจจะเป็นเพียงความรู้มือสองที่ฟัง จากคนอื่น ซึ่งจะไม่มีประโยชน์เลยหากคุณไม่ลงมือท�ำ เราต้อง เปลีย่ นความรูไ้ ปเป็นการปฏิบตั ิ แค่ฟงั ไม่พอทีจ่ ะเป็นความรูม้ อื หนึง่ ได้ แต่ตอ้ งลงมือท�ำจริง โอกาสเป็นของคุณแล้ว ขอเพียงคุณลงมือท�ำ” ไอทีคือโอกาส สมการความส�ำเร็จยุคไอที : ความรู้ + ความเร็ว = โอกาส ตัวอย่างธุรกิจที่ใช้ประโยชน์ของโลกออนไลน์ 3H สู่ การเป็น Dream Team : Hustler Hacker และ Hipster SCAN QR CODE เพื่อดูคลิปเพิ่มเติม
เมลเบิร์น ออสเตรเลีย
ma T c h
an of thE
Special FeaTure
s
ความแตกต่างระหว่าง กลุ่ม กับ ทีม กลุ่ม
ฺ• สมาชิกมีความรับผิดชอบและ เป้ า หมายส่ ว นบุ ค คล •ผู้จัดการก�ำหนดเป้าหมายและ แนวทางการท� ำ งาน •รวมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล และเครื่องมือการท�ำงาน •ท� ำ งานภายในขอบข่ า ยความ รับผิด ชอบของแต่ละคน •ผลิตผลงานแยกส่วนตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
ทีม
•สมาชิกมีความรับผิดชอบและ เป้าหมายส่วนบุคคลและร่วมกัน •ผูน้ ำ� ทีมและสมาชิกร่วมกันก�ำหนด เป้าหมายและแนวทางการท�ำงาน •รวมตัวกันเพือ่ อภิปราย วางแผน ตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาร่วมกัน •ท�ำงานร่วมกันและส่งเสริมกัน •ผลิตผลงานร่วม
ผลส�ำเร็จของทีมไม่ได้ขึ้นอยู่กับบทบาทและความรู้ที่ฝังลึก ของสมาชิกเท่านั้น แต่ยังเป็นเรื่องของพลวัตรภายในทีมด้วย โบราณว่า “หัวเดียวกระเทียมลีบ” แต่เหตุใด กล่าวคือ ทีมทีด่ จี ะต้องมีเป้าหมายทีท่ กุ คนเข้าใจ และผูน้ ำ� ทีท่ กุ คน ยอมรับ ดังนั้นเราจึงได้เห็นความล้มเหลวของ “ดรีมทีม” อย่าง คนไทยมักเก่งคนเดียว ดังคนเดียว? เรอัล มาดริด ฤดูกาลที่ 2003-2004 (พ.ศ. 2546-2547) ที่มี ในมหกรรมกีฬาโอลิมปิก ประเทศไทยได้เหรียญแต่ในกีฬา ทั้งเบคเเฮม ซีดาน และโรนัลโด ขณะที่ทีมทุนต�่ำกว่า นักเตะ ประเภทบุคคล ได้แก่ ยกน�้ำหนัก มวย และเทควั น โด หรื อ ว่ า ละอ่อนกว่า อาจแซงหน้าหากสามารถกระจายและบูรณาการ จุดอ่อนของคนไทยไม่ใช่ด้อยทักษะความรู้ แต่ขาดการท�ำงาน องค์ ค วามรู ้ ร ะหว่ า งผู ้ เ ล่ น ทุ ก คน จนเกิ ด เป็ น อาวุ ธ สมองหรื อ เป็ น ที ม รวมถึ ง การถ่ า ยทอดและใช้ ป ระโยชน์ จ ากความรู ้ “ปัญญาร่วม” (Collective Intelligence) ของทั้งองค์กร หัวใจของเกมฟุตบอลไม่ต่างจากการบริหารธุรกิจ ชุมชน ของแต่ละคนให้เกิดประโยชน์สูงสุด? ปัญหานี้ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในประเทศก�ำลังพัฒนา แม้แต่ หรือประเทศ คือต้องมีกระบวนการแปลงความรู้จาก Tacit เป็น สมาคมฟุตบอลญี่ปุ่นยังน�ำหลักการจัดการความรู้ (KM) มาใช้ Explicit… สนามหญ้า เป็นสมรภูมิเชือดเฉือนวิช า KM ของ ยกเครื่องทีม โดยเน้นให้ลูกทีมเรียนรู้แทคติกจากต้นแบบอย่าง ผู้จัดการทีมฉันใด เราจะแข่งขันในเวทีโลกได้ ยิ่งต้องฝึกปรือ ทีมสเปนและทีมบราซิล แล้วหันมาระบุและลองแก้ปญ ั หาภายใต้ วิชา KM ฉันนัน้ แต่วชิ านีไ้ ม่ได้เรียนด้วยตัวคนเดียว รีบไปหาเพือ่ น ร่วมเรียนรู้โดยพลัน! สถานการณ์ต่างๆ ขณะที่ ฟ รั น ซ์ เบคเคนเบาเออร์ (Franz Beckenbauer) “The players would then have kind of อดี ต กุ น ซื อ ฟุ ต บอลผู ้ ยิ่ ง ใหญ่ แ ห่ ง ที ม ชาติ เ ยอรมนี ใ ช้ ก ลยุ ท ธ์ “ลิเบโร” (Libero) ซึ่งแปลว่า “อิสระ” ในภาษาอิตาลี หมายถึง virtual database from which they could ให้กองหลังท�ำหน้าที่เป็น “ตัวกวาด” (Sweeper) ซึ่งต้องประมวล pick up a scenario, a picture of how they ข้อมูลแบบเวลาจริง (Real Time) และพร้อมรุกทุกเมื่อ would response to the newly emerging แม้แต่เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน (Alex Ferguson) ยังกล่าวถึง situation.” ความส�ำคัญของการบริหารจัดการข้อมูลในกีฬาลูกหนังว่า “หน้าที่ ของผมไม่ใช่ฝึกสอน แต่ท�ำให้ผู้เล่นทุกคนวาดภาพในหัวได้ว่า Sir Alex Ferguson เขาจะพลิกเกมได้อย่างไร พวกเขาจึงต้องมีฐานข้อมูลเสมือนจริง ทีช่ ว่ ยให้สามารถรับมือและตอบสนองต่อสถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ ใหม่ ได้” กระบวนการเหล่านี้ท�ำให้ความรู้โดยนัย (Tacit Knowledge) ที่ฝังลึกอยู่ในแต่ละบุคคลกลายเป็นความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ขององค์กร เพราะ “ทีม” ไม่ได้หมายถึงการมีสมาชิก มารวมกัน “ทีม” ต่างจากกลุม่ ตรงทีม่ ผี นู้ ำ� วิสยั ทัศน์ และจุดมุง่ หมาย ร่ ว มชั ด เจน ฉะนั้ น เวลาที่ นั ก เรี ย น พนั ก งาน หรื อ ใครก็ตามได้ SCAN QR CODE รับโจทย์ อย่าคิดว่าท�ำงานเป็นกลุ่ม แต่ต้องท�ำงานเป็นทีม เพือ� รับฟั ง audio text
23
50
ท่านแรก
ส� ำหรับผู้ทส ี่ มัครสมาชิก
รับฟรี
scan QR CODE แล้วสมัครสมาชิก
เสื้ อยืดจาก The knowledge E-mail: theknowledgeokmd@gmail.com