นางใน สถานภาพ พฤติกรรม และสัญลักษณ์ ในวิถีชีวิตของสตรี ฝ่ายในสมัย ร.5
รวบรวมโดย นางสาวเบญจมาศ อุดสว่าง รหัสนักศึกษา 5414101337 เลขที่ 15 กลุ่มเรี ยนที่ 2 คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ
นาเสนอ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ลัดดา จิตตคุตตานนท์
ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
คานา จากการศึกษาในหนังสื อเรื่ อง “นางใน สถานภาพ พฤติกรรม และสัญลักษณ์ ในวิถีชีวติ ของสตรี ฝ่าย ในสมัย ร.5” ที่มีผแู ้ ต่งคือ พรศิริ บูรณเขตต์ ทาให้เข้าใจเกี่ยวกับชีวติ ในวังของสตรี แห่งราชสานัก เนื้อหาของรายงานเล่มนี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา นศ213 สื่ อมวลชนกับบทบาทหญิงชาย ที่ กล่าวถึงสตรี ที่มีบทบาททางสังคมมาอย่างช้านาน ในเล่มนี้ได้กล่าวถึงในสมัยรัชกาลที่ 5 แก่งกรุ ง รัตนโกสิ นทร์ ที่มีสตรี อยูก่ ลุ่มหนึ่งที่เหมือนจะเป็ นส่ วนน้อย แต่กลับทรงอิทธิ พลเป็ นอย่างมาก มีส่วนในการ ขับเคลื่อนพลวัตทางสังคมได้อย่างไม่น่าเชื่อ ฉะนั้นเราจึงเรี ยกสตรี กลุ่มนั้นว่า “นางใน” โดยที่สตรี กลุ่มนี้ เอง ที่เข้าใกล้พระมหากษัตริ ยม์ ากที่สุด ในยุคสมัยนั้นพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นผูท้ ี่มีสิทธิ์ มากที่สุดในแผ่นดิน กลุ่มขุน นางจึงนิยมส่ งลูกสาวหลานสาวเข้าถวายตัว เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีกบั พระมหากษัตริ ย ์ แต่การกระทา เช่นนี้ก็เพราะหวังผลประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่สามารถเกื้อหนุนกันของตระกูลที่มีอิทธิ พลเพื่อให้เห็น ผลประโยชน์น้ ีได้ในอนาคต การดาเนิ นชีวติ ของนางในก็มีความน่าสนใจ เพราะไม่ใช่การดารงชี วติ แบบคนธรรมดาทัว่ ไป แต่ เป็ นชีวติ ของคนที่ต้ งั อยูร่ ะหว่างกลุ่มอานาจ การดาเนินชีวิตจึงแตกต่างกับสามัญชนในสมัยนั้นอย่างสิ้ นเชิง เรื่ องราวของฝ่ ายในนั้นค่อยข้างที่จะปิ ด ไม่ค่อยมีผคู ้ นรู ้เรื่ องราวข้างในรั้วราชสานักมาก แม้วา่ กาลเวลาจะ ผ่านมาเพียงไหนก็ตาม ผูห้ ญิงหรื อนางในต้องมีสังกัดอยูต่ ลอดเวลา เป็ นบุตรหลานในครอบครัวขุนนาง เป็ นคนของสานัก เป็ นผูห้ ญิงของกษัตริ ย ์ นางในในฐานะเครื่ องราชบรรณาการ นางในเป็ นสื่ อสร้างความสัมพันธ์นอกระบบ ราชการระหว่างกลุ่มอานาจคือตระกูลขุนนางกับกษัตริ ย ์ โดยที่ตระกูลนั้นเป็ นเพียงใบเบิกทางที่เกื้อหนุนให้ นางในมีตาแหน่ง มีสังกัด และมีโอกาสมากขึ้น ผูร้ วบรวมได้จาแนกประเด็นบทบาท สถานภาพของชายหญิงที่ได้ปรากฏในหนังสื อเรื่ องนี้ไว้ ท้ายสุ ดเพื่อเป็ นการจาแนกที่ชดั เจนถึงยุคสมัยที่แตกต่างจากปั จจุบนั นี้ ทั้งนี้ ผรู ้ วบรวมคาดหวังไว้วา่ รายงาน เล่มนี้จะสามารถให้ความรู ้แก่ผทู ้ ี่สนใจศึกษาไม่มากก็นอ้ ย หากเกิดข้อผิดพลาดประการใดทางผูร้ วบรวมต้อง ขออภัยไว ณ ที่น้ ีดว้ ย
ผูร้ วบรวม
สารบัญ เรื่ อง
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
ภูมิหลังและความสัมพันธ์ของโครงสร้างทางสังคมศักดินา สมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น -พระมหากษัตริ ยใ์ นมโนทัศน์ทางสังคม
2
-พระมหากษัตริ ยก์ บั การควบคุมมูลนาย
3
-ความสัมพันธ์ของกลุ่มอานาจสังคมไทยสมัยรัชกาลที่ 5
5
ภูมิหลัง และสถานภาพของสตรี ในสังคมไทย -ชีวติ ทางสังคมของสตรี ในบริ บทสังคมไทย
8
-สตรี ในราชสานัก
9
-ฝ่ ายในกับการควบคุมพฤติกรรมราชสานัก
10
โครงสร้างของสมาชิกฝ่ ายในในราชสานักรัชกาลที่ 5 -กลุ่มสตรี ที่ไม่อยูใ่ นฐานะภรรยาของพระมหากษัตริ ย ์
11
-กลุ่มพระบรมวงศ์
11
-กลุ่มบริ วาร
12
-กลุ่มสตรี ที่มีฐานะเป็ นภรรยาของพระมหากษัตริ ย ์
13
-ขั้นตอนการเข้าสู่ ฐานะนางใน
14
-การเกาะกลุ่มของสตรี ในรู ปสานัก
15
-ลักษณะบทบาทหน้าที่ของสานัก
16
สารบัญ (ต่อ) เรื่ อง
หน้า
สานักในรัชกาลที่ 5 -สมเด็จบน
17
-สานักสมเด็จพระตาหนัก
18
-สานักพระนางเจ้าพระราชเทวี
18
-สานักท่านองค์เล็ก
18
-ตาหนักเจ้าลาว
19
-สานักคุณจอมแพ หรื อท่านที่ตาหนัก
19
นางใน ในฐานะสื่ อสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มผูน้ ากับกษัตริ ย ์ -ฐานะของผูห้ ญิงในตระกูลกับชีวติ ฝ่ ายในในราชสานัก
21
-บทบาทของนางในกับการเจริ ญชีวติ ของเครื อญาติในวงศ์ตระกูล
26
-สถานภาพขรัวตาขรัวยายกับการเลื่อนชั้นทางสังคม
27
สถานภาพ พฤติกรรม และสัญลักษณ์ในวิถีชีวติ ของนางใน -กระบวนการเลื่อนสถานภาพของนางใน
28
สรุ ป
31
สรุ ปบทบาทของชายหญิงที่ปรากฏ
33
บรรณานุกรม
ง
นางใน สถานภาพ พฤติกรรม และสัญลักษณ์ ในวิถีชีวติ ของสตรี ฝ่ายในสมัย ร.5 ภูมิหลังและความสั มพันธ์ ของโครงสร้ างทางสั งคมศักดินา สมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้ น โครงสร้างทางสังคมต้นรัตนโกสิ นทร์ ได้แบ่งกลุ่มในสังคมจากการถือศักดินาเป็ น 2 กลุ่มคือ 1. กลุ่มชนชั้นปกครอง หรื อมูลนาย ได้แก่ กษัตริ ย ์ เชื้อพระวงศ์ และขุนนางศักดินามากกว่า 400 ไร่ 2. กลุ่มผูถ้ ูกปกครอง หรื อไพร่ ได้แก่ ข้าราชการที่มีศกั ดินาน้อยกว่า 400 ไร่ และทาส นอกจากนี้ ยงั มีบุคคลนอกระบบไพร่ ดว้ ยคือ ชาวต่างชาติ สมณะชี พราหมณ์ เป็ นต้น ทาให้ท้ งั สอง กลุ่มนี้ไม่มีความเท่าเทียบกันทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม โครงสร้างส่ วนรวมมีจุดยอดความสัมพันธ์อยู่ที่กษัตริ ย ์ โดยความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นปกครอง ด้วยกันเอง เป็ นความสัมพันธ์ตามสายบังคับบัญชา กษัตริ ยม์ ีอานาจสู งสุ ด ส่ วนความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้น ปกครองกับผูถ้ ู กปกครองหรื อนายกับไพร่ น้ นั คล้ายกับความสัมพันธ์ ระหว่างกษัตริ ยก์ บั ขุนนางคือ เป็ น ความสัมพันธ์ที่เกิดจากคู่สัมพันธ์ที่มีความไม่เท่าเทียมทางสังคม ในลักษณะที่เกิดจากคู่สัมพันธ์ที่มีความไม่ เท่าเทียมทางสังคม ในลักษณะผูใ้ หญ่-ผูน้ อ้ ย แสดงให้เห็นว่าสมาชิกในสังคมต้องพึ่งพาอาศัยกัน การจะเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนายกับไพร่ ต้องรู ้จกั ไพร่ เสี ยก่อน ไพร่ เป็ นสมาชิ กส่ วนใหญ่ใน สังคม มีความสาคัญในฐานะแรงงานคน แบ่งเป็ น ไพร่ หลวงและไพร่ สม ไพร่ สม คือ ชายฉกรรจ์ที่เข้าทะเบียนเป็ นไพร่ สมเมื่ออายุ 18 ปี จามสังกัดกรมกองของพ่อ ก่อนที่จะ ถูกปลดเป็ นไพร่ หลวงเมื่ออายุ 20 ปี โดยจะมีอายุราชการจนถึง 60 ปี นอกจากนี้ ยงั มีกรณี ที่ไพร่ ส่งลูกชาย 3 คนมาใช้แรงงานแทนพ่อของตน หรื อส่ งส่ วยสิ่ งของต่างๆ มาแทนการใช้แรงงาน ซึ่ งกรณี น้ ีเรี ยกว่าไพร่ ส่วย การเป็ นไพร่ หลวงนั้นต้องทางานหนัก เพราะขึ้นตรงหับทางการ ซึ่ งนอกจากจะเป็ นกาลังรบยาม สงครามแล้ว ยังเป็ นแรงงานสาธารณประโยชน์อีก ส่ วนไพร่ สมจะมีมูลนายปกครองโดยตรง มีอิสระในการ ดาเนิ นชี วิตมากกว่า ทาให้ไพร่ หลวงหาวิธีจะเป็ นไพร่ สมมากขึ้นเพราะการไม่มีสังกัดจะทาให้ไพร่ ลาบาก หากต้องการขอความช่ วยเหลื อจากหลวง การเรี ยกร้ องต่างๆ ต้องผ่านมูลนายทั้งสิ้ น โดยสิ่ งที่ไพร่ จะตอบ
แทนให้มูลนายได้น้ นั คือ แรงงาน บริ การ หรื อของกานัล ไพร่ หลวงต้องการย้ายไปเป็ นไพร่ สมมากขึ้น ทาให้ กษัตริ ยต์ อ้ งสร้างกฎเกณฑ์เพื่อควบคุมมูลนายอย่างเข้มงวด และมีเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ที่แสดงให้เห็น ถึงการกระทบกระทัง่ กันระหว่างกษัตริ ยก์ บั มูลนายอยูเ่ สมอ พระมหากษัตริ ยใ์ นมโนทัศน์ทางสังคม การที่ บุคคลมี ฐานะแตกต่างกันในสังคมนั้นเนื่ องจากทากรรมไว้ต่างกัน และถื อว่าคนเรามี ฐานะ เท่ากันไม่ได้ ผูท้ ี่ เกิ ดมาในตระกูลขุนนางที่ มงั่ คัง่ หรื อมี ตาแหน่ งสู ง ก็เป็ นเพราะผลบุ ญที่ผูน้ ้ นั สร้ างสมไว้ สาหรับตาแหน่งสู งสุ ดในราชอาณาจักรคือพระมหากษัตริ ยน์ ้ นั เป็ นฐานะสาหรับบุคคลที่สร้างสมบุญบารมี ในอดีตอย่างมาก บ้านเมืองจะดีหรื อร้ายขึ้นอยูก่ บั การสะสมบุญของกษัตริ ย ์ สถาบันกษัตริ ยแ์ ละศาสนาเป็ น สิ่ งที่เกาะเกี่ยวกันอย่างเหนียวแน่น ความสัมพันธ์ทางสังคมจึงเกี่ยวพันกับแนวคิดรากฐานสาคัญของการจัดระเบียบสังคมไทยว่า ทุกคน จะต้องมีบุคคลใดบุคคลหนึ่งคุม้ ครองดูแลเสมอ โดยกษัตริ ยเ์ ป็ นผูค้ ุม้ ครองสู งสุ ด ละมีการลาดับชั้นบุคคลขึ้น อย่างกว้างขวาง ในแต่ละยุคสมัยกษัตริ ยม์ ีสถานภาพแตกต่างกันไปตามขอบเขตหลักธรรม เช่น หลักธรรมปิ ตุราชา คือการปกครองแบบพ่อปกครองลูก มีความใกล้ชิดกับราษฎร มาสู่ หลักธรรมเทวราชา ซึ่ งเป็ นอิทธิ พลทาง ศาสนาพราหมณ์ ได้เปลี่ ยนความสัมพันธ์จากพ่อกับลูกให้พระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นเทพ ความสัมพันธ์ระหว่าง กษัต ริ ย ์ก ับ ราษฎร จาต้องผ่า นนายของราษฎรจนกลายมาเป็ นหลัก ธรรมราชา ที่ ก ษัตริ ย ์ต้อ งเป็ นผูท้ รง คุณธรรม กษัตริ ยต์ อ้ งทรงใช้ตามหลักจริ ยธรรมในพระพุทธศาสนา กษัตริ ยจ์ ึงเป็ นที่รวมของกฎหมาย และ เป็ นหลักประกันว่ากษัตริ ยจ์ ะไม่ทรงกระทาการใดๆ อันเป็ นการละเมิดกฎหมาย หลักจริ ยธรรมในพระพุทธศาสนาเป็ นแบบสาหรับใช้อานาจปกครองสมัยต้นกรุ งรัตนโกสิ นทร์ เช่น การเปลี่ยนแปลงพิธีถือน้ าพระพิพฒั น์สัตยาในสมัยรัชกาลที่ 1 โดยให้ขา้ ราชการเคารพพระพุทธรู ป แทนการ เคารพพระมหากษัตริ ยด์ งั แต่ก่อน รัชกาลที่ 2 ทรงห้ามยิงนัยน์ตาคนที่เงยหน้าขึ้นมองพระมหากษัตริ ยด์ งั แต่ ก่อน รัชกาลที่ 3 ทรงจัดกลองใบใหญ่ไว้ให้ราษฎรที่ตอ้ งการถวายฎีกาได้มาตี รัชกาลที่ 4 โปรดให้ประชาชน ออกมาเฝ้ าแหนได้ดว้ ยความเคารพมีพระราชกระแสรับสัง่ ถึงทุกข์-สุ ขของราษฎร ทรงรับฎีกาจากราษฎรด้วย พระองค์เอง
หน้าที่ของพระมหากษัตริ ยใ์ นสมัยต้นรัตนโกสิ นทร์ เป็ นการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญ โดยเฉพาะใน สมัยรัชกาลที่ 4 ที่ฉายภาพกษัตริ ยน์ กั แก้ปัญหาและทรงเป็ นผูป้ กป้ องคุม้ ครองราษฎรอย่างแท้จริ งหน้าที่ของ ราษฎรคื อการยอมรั บพระราชบัญชา แต่ก็สามารถตัดสิ นการกระทาอันเป็ นการละเมิดต่อหลักธรรมของ พระมหากษัตริ ย ์
พระมหากษัตริ ย์กบั การควบคุมมูลนาย ความสั ม พัน ธ์ ใ นสั ง คมศัก ดิ น า เป็ นความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งคนที่ มี ฐ านทรั พ ยากรต่ า งกัน เป็ น ความสัมพันธ์ที่แสดงฐานะตามศักดิ์ และอานาจหน้าที่ที่แผ่นดิ นเป็ นผูก้ าหนด หมายถึ ง ยิ่งใกล้ศูนย์กลาง อานาจ การควบคุมจะเป็ นไปอย่างเคร่ งครัด เพราะมูลนายเป็ นกลุ่มที่มีความสัมพันธ์กบั ไพร่ ในฐานะแรงงาน อย่างใกล้ชิดกว่ากษัตริ ย ์ กษัตริ ยจ์ ึงต้องสร้างกฎหรื อวิธีการต่างๆ เพื่อควบคุมเจ้านายและขุนนาง เมื่อกาลังคนมีประโยชน์กว่าทรัพย์สิน มูลนายจึงพยายามเก็บไพร่ สมเอาไว้กบั ตัวเอง มูลนายบางคน มีไพร่ สมครบตามที่ทางการกาหนดแล้ว ก็ไม่ยอมปลดไปเป็ นไพร่ หลวงซึ่ งเป็ นการขัดผลประโยชน์ระหว่าง มูลนายกับทางราชการ การที่ไพร่ สมสบายกว่าไร่ หลวงนั้นทาให้มูลนายเป็ นตัวแทนอานาจรัฐกับไพร่ ดูจะมี ประโยชน์ร่วมกันในการฝ่ าฝื นกฎหมายของทางการ รู ปแบบหนึ่งในการตอบโต้เชิงอานาจระหว่างกษัตริ ยก์ บั มูลนาย คือการแสดงอานาจด้วยสัญลักษณ์ ในพิธีกรรม ด้วยการทาให้ประจักษ์ต่อหน้าสาธารณชน เพื่อให้เกิดการสนับสนุ นเพิ่มขึ้น จานวนผูร้ ่ วมงาน และช่วยงาน ความหรู หรายิง่ ใหญ่ในพิธี ล้วนบอกถึงฐานะทางเศรษฐกิจการเมืองของเจ้าภาพ ศ.ดร.นิ ธิ เอียวศรี วงศ์ กล่าวว่า สัญลักษณ์ที่สถาบันกษัตริ ยใ์ ช้แสดงอานาจบารมีให้ชาวบ้านดูน้ นั ก็ ไม่ต่างกับสิ่ งที่มูลนายใช้ เพียงแต่มีความหรู หรากว่า มโหฬารพันลึกกว่าก็เท่านั้น โครงสร้ า งทางสัง คมการเมื องไทยยุค ก่ อนสมัย ใหม่ จึ ง เป็ นการคานอานาจกันระหว่า งกษัตริ ย ์ เจ้านาย และขุนนาง แม้กษัตริ ยจ์ ะมีสถานภาพสู งล้น แต่ในความเป็ นจริ งทางการเมือง กษัตริ ยจ์ าต้องควบคุม กลุ่ มเจ้านายและขุนนางอย่างใกล้ชิด เราจะเห็ นได้จากเหตุ การณ์ ทางประวัติศาสตร์ หลายเหตุ การณ์ ที่เมื่ อ กษัตริ ยล์ ดอานาจฝ่ ายหนึ่ง แต่กลับกลายเป็ นเพิ่มอานาจให้อีกฝ่ ายหนึ่ง
ความพยายามของกษัตริ ยใ์ นการคานอานาจกับขุนนางไม่เคยหยุดอยูก่ บั ที่ กษัตริ ยจ์ ึงพยายามสร้าง กรอบเกณฑ์ทางสั งคมและดาเนิ นกุ ศโลบายหลายรู ปแบบ วิธีการสาคัญที่ ควรกล่ าวถึ ง คื อ วิธีกลื นนายสู่ ระบบราชการ โดยในช่วงต้นรัตนโกสิ นทร์ รัฐจะใช้คนจีนเป็ นผูเ้ ก็บภาษีเข้าหลวงแทนการให้มูลนายจัดการ ซึ่ งระบบราชการแบบนี้ทาให้รัฐเข้มแข็งขึ้น และระบบราชการยังมีขอ้ ได้เปรี ยบมากกว่าข้าหลวงแบบเดิมคือ ระบบราชการสามารถตรวจสอบได้ อาจด้วยวิธีการสอดแนมหรื อรายงานบัญชี มีการแบ่งแยกหน้าที่กนั พบ สมควรในระบบ ทาให้บุคคลต้องมีความชานาญเฉพาะด้านเปิ ดโอกาสให้คนนอกเข้าสู่ ระบบ ในสมัยต้นกรุ งศรี อยุธยาตอนปลาย มีการแก้ปัญหาโดยการไม่ส่งเจ้านายไปปกครองหัวเมือง เพราะ เป็ นการเปิ ดโอกาสให้เจ้านายได้รวบรวมไพร่ พลจนท้าทายอานาจกษัตริ ย ์ และเป็ นปั ญหาเรื่ องการแย่งชิ งราช บัล ลัง ก์เมื่ อสิ้ นราชการ จึ ง มี ก ารสร้ า งวัง ให้เจ้า นายได้ป ระทับ ในเมื องหลวง แต่ หลัง รั ช การสมเด็ จพระ นารายณ์ มหาราช มีการตั้งกรมสาหรับเจ้านายขึ้น ซึ่ งเป็ นช่ องทางในการเพิ่มไพร่ พลให้กบั เจ้านายอีกทาง หนึ่ง การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจส่ งผลต่อรายได้ของข้าราชการด้วย เพราะมีบางหน่วยงานเท่านั้นที่มี รายได้เ พิ่ ม ขึ้ น ส่ ว นใหญ่ เป็ นหน่ ว ยงานเกี่ ย วกับ การค้า ระหว่า งประเทศ แรงงานอพยพชาวจี นก็ ท าให้ ความสาคัญของการเกณฑ์แรงงานไพร่ ลดลง รัฐเองก็ตอ้ งการให้ไพร่ จ่ายส่ วยแทนมากกว่า การเปลี่ยนแปลง เช่ นนี้ ทาให้เกิ ดเงื่ อนไขใหม่ คื อ ในส่ วนของการจัดเก็บภาษี แบบใหม่ ทาให้ขา้ ราชการในตาแหน่ งสู ง มี รายได้เพิ่มขึ้ น ในขณะที่ ขา้ ราชการชั้นผูน้ ้อยถูกตัดทอนรายได้ลง ทาให้ไพร่ เริ่ มห่ างเหิ นจากมูลนาย เป็ น ความห่ างเหิ นที่ เกิ ดขึ้ นในระยะเวลาที่ มูลนายต้องการเงิ น ของกานัล และแรงงานจากไพร่ เพิ่มขึ้ น ความ แตกต่ า งระหว่า งไพร่ หลวงกับ ไพร่ ส มจึ ง เบาบางลง ก่ อให้เกิ ดรู ป แบบใหม่ คือการอุ ป ถัม ภ์อย่า งไม่ เป็ น ทางการขึ้น ขุนนางจึงกลายเป็ นกลุ่มอานาจใหม่ที่สั่นคลอนอานาจกษัตริ ยใ์ นสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น และ เจ้านายเปลี่ยนบทบาทเป็ นกลุ่มฐานอานาจของกษัตริ ยแ์ ทน ตระกูลขุนนางที่ได้รับผลประโยชน์จากการขยายตัวทางเศรษฐกิ จมีอยู่หลายตระกูล เช่ น บุนนาค บุณยรัตพันธุ์ สนธิ รัตน์ ณ ปางช้าง กัลยาณมิตร ไกรฤกษ์ สิ งหเสนี เป็ นต้น แต่ตระกูลบุนนาคเป็ นต้นตระกูล ที่เด่นและทรงอิทธิ พลที่สุดด้วยเหตุผลส่ งเสริ มหลายประการ
นอกจากตระกูลบุ นนาคจะมี ตาแหน่ งในหน่ วยงานด้า นเศรษฐกิ จการค้าแล้ว ตระกูล บุนนาคยัง สามารถสามารถควบคุ มลาดับชั้นของการอุปถัมภ์ และผูอ้ ุปถัมภ์อย่างไม่เป็ นทางการหลายกลุ่ม รวมทั้งมี ความสัมพันธ์กบั กษัตริ ยใ์ นฐานะญาติมิตร
ความสั มพันธ์ ของกลุ่มอานาจสั งคมไทยสมัยรั ชกาลที่ 5 กลุ่มที่มีบทบาททางสังคมการเมืองได้โดยใช้ตระกูลบุนนาคเป็ นสาคัญ เนื่องจากการเห็น รู ปแบบได้ ชัดเจนกว่าตระกูลอื่น ความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริ ยก์ บั ตระกูลบุนนาคเป็ นพันธกรณี ที่สะท้อนความสัมพันธ์ ระหว่างกษัตริ ยก์ บั ตระกูลขุนนางซึ่ งถื อครองทรั พยากรสาคัญในสังคมอย่างชัดเจน ตระกูลบุนนาคมีสาย สัมพันธ์ทางสังคมกว้างขวาง ทั้งจากการแต่งงานและการเป็ นสมาชิ กอุปถัมภ์ ที่สาคัญตระกูลบุนนาคยังมี ความสัมพันธ์กบั ฝ่ ายในมาตั้งแต่สมัยสถาปนากรุ งรัตนโกสิ นทร์ และยังคงสานสัมพันธ์เรื่ อยมาในทุกรัชสมัย ในสมัยรัชกาลที่ 2 ทรงวางนโยบายทางการเมืองการปกครอง โดยทรงเลื อกที่จะให้อานาจแก่ขุน นางตระกูลบุนนาคมากกว่า ในฐานะพระญาติผไู ้ ม่ได้เป็ นพระเจ้า แต่การเป็ นพระญาติ บุคคลเหล่านี้ จะเป็ นที่ ไว้วา่ งพระราชหฤทัยมากกว่าขุนนางกลุ่มอื่นที่ไม่ใช่ญาติ นโยบายทางการเมืองการปกครองของรัชการที่ 2 ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในเวลาต่อมา ขุนนางเริ่ มเติบโตขึ้นอย่างเห็นได้ชดั โดยเฉพาะขุนนางตระกูลบุนนาค ที่มีสมาชิ กในตระกูลดารงตาแหน่ ง อันเกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจการค้ามาอย่างต่อเนื่ อง ตระกูลบุนนาคเป็ นตระกูลเดียวที่บุตรชายสามารถสื บต่อตาแหน่งเจ้าพระยาจากบิดาได้โดยตรง ทั้ง ยังเป็ นตระกูลที่ดูแลกลาโหมและกรมคลังมาตั้งแต่ พ.ศ.2325-2429 จะมีเว้นไปบ้างในสมัยรัชกาลที่ 4 การสร้างสมความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมของตระกูลบุนนาค ทาให้พวกบุนนาคมี โอกาสหรื อบทบาททางสัง คมเหนื อตระกูล ขุนนางอื่ นๆ งานสาคัญของเสนาบดี ตระกูลบุ นนาคคือ การ ดาเนิ นการสื บสันตติวงศ์แห้งพระราชวงศ์จกั รี ต้ งั แต่สมัยรัชกาลที่ 3-5 ให้เป็ นไปโดยเรี ยบร้ อย ไม่มีวิกฤต แทรกแซง ซึ่ งบทบาทด้านนี้ทาให้เสนาบดีตระกูลบุนนาคมีอิทธิ พลสู งสุ ด และได้ชื่อว่าเป็ น King Maker บทบาทของเสนาบดีตระกูลบุนนาค ส่ งผลต่อสถานภาพกษัตริ ยข์ องรัชกาลที่ 5 ที่ขดั แย้งกับตระกูล บุนนาค ในขณะที่เป็ นยุวกษัตริ ย ์
ทาให้เห็ นว่ารัชกาลที่ 5 ต้องต่อสู ้กบั กลุ่มอานาจเก่าโดยลาพังตั้งแต่ยงั พระเยาว์ หนาซ้ ายังมีปัญหา จากมหาอานาจตะวันตกซึ่ งเป็ นปั ญหาภายนอกอีก โดยกลุ่มอานาจนี้ ประกอบไปด้วย สมเด็จเจ้าพระยาบรม มหาศรี สุริยวงศ์กรมพระราชวังบวรมหาวิไชยชาญ และ นายโทมัส ยอร์ ช น็อกซ์ กงสุ ลใหญ่ของอังกฤษ ต่อมาในช่วง พ.ศ.2417-2418 เกิดวิกฤติวงั หน้า เนื่องจากมีผทู ้ ิง้ หนังสื อว่าจะมีการลอบปลงพระชนม์ วังหน้า กรมพระราชวังบวรมหาวิไชยชาญ จึงเสด็จไปขอความคุม้ ครองจากอังกฤษ รัชกาลที่ 5 ทรงชี้ แจงว่า เป็ นเรื่ องพิพาทกันในตระกูล สามารถตกลงกันได้เอง ประกอบกับอังกฤษยังมีนโยบายแทรกแซงกิ จการ ภายในของไทยด้วย ต่อมาคือ วิกฤติ ร.ศ.112 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศส เป็ นผลให้สยามต้องเสี ยค่าปรับและเสี ยดินแดน ไปไม่นอ้ ย และเริ่ มมีวกิ ฤติอื่นๆ ในยุโรปพอดี ทางด้านปั ญหากับอังกฤษนั้น สยามเสี ยหัวเมืองทางตะวันตกของแม่น้ าสาละวิน ใน พ.ศ.2435 และ หัวเมืองมลายูใน พ.ศ.2452 ส่ วนท่าทีของอังกฤษที่สยามเห็นว่าจะสามารถคานอานาจกันกับฝรั่งเศสได้น้ นั อังกฤษเห็นว่าสิ่ งที่ฝรั่งเศสเรี ยกร้องไม่กระทบกับตัวเองก็ปล่อยไป ทั้งยังแนะนาให้สยามอ่อนต่อข้อเรี ยกร้อง ของฝรั่งเศสอีกด้วย การประสบปั ญหาทั้งภายในและภายนอก ทาให้รัชกาลที่ 5 ต้องค่อยๆ พลิกฟื้ นอานาจกษัตริ ยอ์ ย่าง ค่อยเป็ นค่อยไป ทรงรอจนกว่ากลุ่มอานาจเก่าที่เป็ นผูส้ ู งอายุค่อยๆ ล้มหายตายจากไป และทรงเตรี ยมสร้าง กลุ่ มอานาจของพระองค์มาตลอด โดยทรงรั บงานด้านการปกครองมาทาเองที ละน้อย ก่ อนจะมี พระราช อานาจอย่างเต็มพระองค์ในทศวรรษหลัง พ.ศ.2423 ทรงตั้งสภาสาหรับการปกครองประเทศ 2 สภาคือ สภา ที่ปรึ กษา และสภาองคมนตรี หลังการสิ้ นชีพตักษัยของสมเด็จพระยาบรมมหาศรี สุริยวงศ์ รัชกาลที่ 5 ทรงปรับปรุ งระบบราชการ โดยแบ่งส่ วนราชการออกให้ชดั เจน เพราะทรงเห็ นว่าบางหน่ วยงานมีงานล้น บางหน่ วยงานมานน้อย บาง หน่วยงานมีผลประโยชน์มหาศาล บางหน่ วยงานไม่มีผลประโยชน์เพียงพอ เป็ นการลดบทบาทหน้าที่ของ กลุ่มอานาจเก่าไปโดยปริ ยาย ทรงแก้ไขเปลี่ ยนแปลงเรื่ องแรงงาน โดยการออกพระราชดารัสลดค่าตัวทาส เมื่อ พ.ศ.2417 โดย ทาสที่ เกิ ด พ.ศ.2411 ค่าตัวจะลดลงเรื่ อยๆ จนไม่มีราคาเลยเมื่ อถึ ง พ.ศ.2432 ทาให้เมื่ ออายุ 21 ปี ทาสจะ กลายเป็ นอิสระ โดยนัยทางการเมืองของกฎหมายนี้กระทบกระเทือนบรรดาเจ้านายขุนนางเป็ นอย่างมาก
เมื่อกลุ่มขุนนางอานาจเก่าหมดบทบาทลง รัชกาลที่ 5 จึงต้องอาศัยบรรดาพระอนุ ชาและพระราช โอรสเป็ นกาลังสาคัญในการบริ หารราชการแผ่นดิน โดยข้าราชการรุ่ นใหม่เหล่านี้ จะเป็ นผูม้ ีการศึกษา เช่ น ด้านการทหาร การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม หลังจากปั ญหารุ มเร้ารัชกาลที่ 5 ตั้งแต่ตน้ รัชกาลคลี่ คลายลง ด้วยพระราชอานาจที่มีอย่างเต็มที่ ทา ให้สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ โดยทรัพยากรสาคัญก็จะเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย
ภูมิหลัง และสถานภาพของสตรีในสั งคมไทย ชีวิตทางสังคมของสตรีในบริ บทสังคมไทย กฎหมายผัวเมียชาระใหม่ พ.ศ.2347 แบ่งสตรี ออกเป็ น ประเภท คือ 1. หญิงซึ่งมารดารักษา 2. หญิงซึ่งบิดารักษา 3. หญิงซึ่งบิดามารดารักษา 4. หญิงซึ่งโคตรรักษา 5. หญิงซึ่งพี่ชายพี่สาวรักษา 6. หญิงซึ่งญาติรักษา 7. หญิงซึ่งมีผใู้ ดผูห้ นึ่งรักษา ว่ากันตามกฎหมายแล้วสตรี ในสังคมไทย จะเป็ นฐานะที่ตอ้ งอ้างอิงบุคคลในครอบครัวตลอดเวลา มี ฐานะเป็ นผูถ้ ูกรักษาอยูต่ ลอดชี วิต ผูร้ ักษาส่ วนใหญ่น้ นั จะเป็ นญาติหรื อผูท้ ี่อาวุโสกว่า ทาให้สตรี ตอ้ งดาเนิ น ชีวติ โดยเกี่ยวข้องกับญาติและบุคคลใกล้ชิดตลอดเวลา การตัดสิ นใจใดๆ ต้องได้รับการยอมรับจากผูร้ ักษา สถานภาพของสตรี ก็มีเส้นแบ่งเช่ นกัน โดยสตรี ชาวบ้านนั้นจะต้องทางานอย่างหนัก เพราะมีภาระ ปากท้องเป็ นสาคัญ ในขณะที่สตรี ช้ นั สู งไม่ตอ้ งรับภาระจากปั ญหาปากท้อง ทาให้มีสันทนาการในชี วิตมาก สตรี ช้ นั สู งจะเป็ นกลุ่มที่ทาหน้าที่สร้างมิตรและญาติจากการแต่งงาน โดยใช้ประโยชน์จากการสมาคม สตรี น้ นั ก็เหมือนกับบุรุษ ดารงอยูห่ ลายฐานะ เช่น ลูก เมีย และแม่ ในฐานะที่เป็ นลูก จะถูกพ่อหรื อ แม่นามาขายเมื่อไหร่ ก็ได้ตามกฎหมายเก่า ส่ วนใหญ่ขายเพื่อใช้หนี้ การพนัน ต่อมาในรัชกาลที่ 4 มีพระบรม ราชโองการประกาศ พระราชบัญญัติเรื่ องผัวขายเมีย บิดามารดาขายบุตร ทาให้สตรี ในฐานะลูกและเมียจะ ไม่ใช่ทรัพย์สินอีกต่อไป แต่ก็ยงั อยูใ่ นปกครองของผูร้ ักษาอยูด่ ี สตรี ยงั มีบทบาทในฐานะภรรยา โดยตามกฎหมายยังมี การแบ่งภรรยาเป็ นระดับชั้นต่างๆ กันไป เพราะค่านิ ยมในอดี ตของไทย บรรดาเจ้าขุนมูลนายทั้งหลายต้องมีภรรยาหลายคน เพื่อแสดงถึ งฐานะทาง
สังคม ทาให้เมียหลวงเป็ นใหญ่ที่สุดในบรรดาเมียทั้งหลาย และต้องคอยควบคุมดูแลเมียอื่นๆ รวมทั้งลูกของ เมียอื่นๆ ในบ้านด้วย นอกจากสถานภาพในครั วเรื อนแล้ว สตรี ย งั มี ส ถานภาพทางสังคมจากความสัมพั นธ์แบบสามี ภรรยาด้วย พระโอรสและพระราชธิ ดา หรื อบุ ตรและธิ ดา ก็จะมี ฐานะสู งต่ าต่างกันตามฐานะของสตรี ที่เป็ น ภรรยาเช่นกัน ทาให้เราได้เห็นว่าความสัมพันธ์ในครอบครัวที่มีภรรยาหลายคน โดยเฉพาะครอบครัวกษัตริ ย ์ พระมเหสี มีฐานะเป็ นประมุขฝ่ ายในทั้งหมด โดยในสมัยรัชกาลที่ 5 มีพระภรรยาเจ้าหลายพระองค์ ซึ่ งส่ วน ใหญ่มีบารมีมากพอที่ จะเป็ นเจ้าสานักได้ แต่ทุกสานักก็อยู่ภายใต้การปกครองของประมุขฝ่ ายในคือ พระ มเหสี นนั่ เอง สตรีในราชสานัก สตรี คือสัญลักษณ์ เชิ งคุ ณค่าของกษัตริ ย ์ เป็ นสิ่ งที่คู่ควรสาหรับกษัตริ ยผ์ ูท้ รงคุ ณธรรมและอานาจ โดยกษัตริ ยผ์ ทู ้ รงคุณธรรมจะมีแก้ว 7 ประการได้แก่ จักรแก้ว ช้างแก้ว ม้าแก้ว แก้วมณี นางแก้ว ขุนคลังแก้ว และขุนพลแก้ว สตรี อยูใ่ นฐานะนางแก้ว ดังนั้น จานวนของนางแก้วจึงเป็ นเครื่ องหมายแสดงการเป็ นกษัตริ ย ์ ผูท้ รงคุณธรรมและอานาจ สตรี ผมู้ ีความงาม มีทรัพย์ และชาติตระกูล หรื อที่ เรี ยกว่า อันเตปุริกราชนารี จึงเป็ นสิ่ งคู่ควรสาหรับ กษัตริ ย ์ คติการเลี้ ยงดูภรรยาได้หลายคนเพื่อแสดงถึงอานาจจึงกลายเป็ นคติที่ถ่ายทอดลงไปยังเจ้านายและ ขุนนางด้วย แต่การมีหญิงที่เพียบพร้อมมากเกินไปอาจเป็ นการไม่ควร จนเป็ นการท้าทายอานาจกษัตริ ย ์ ยัง มี ธ รรมเนี ย มการถวายสตรี ให้ ก ษัต ริ ย์ โ ดยขุ น นางด้ ว ยนั ย ว่ า เป็ นการหวัง ผลเพื่ อ พัฒ นา ความสัมพันธ์กบั กษัตริ ย ์ หรื อหากมีคนของตัวเองอยูใ่ นฝ่ ายในอยูแ่ ล้ว การถวายคนเข้าไปอีกก็เป็ นการสร้าง กานัลของตระกูลของตัวเอง สะท้อนให้เห็ นว่าธรรมเนี ยมการถวายตัวสตรี ตอ้ งมีบทบาทอย่างมากต่อการ เจริ ญชีวติ ในระบบราชการ เห็นได้ชดั ว่าฝ่ ายในไม่ได้ปกครองแค่ภรรยาและบุตรเท่านั้น แต่ยงั ต้องรวมถึงญาติวงศ์ของนางในที่ ฝากตัวไว้เป็ นพวกหรื อบริ วารด้วย
ฝ่ ายในกับการควบคุมพฤติกรรมราชสานัก ระเบียบราชสานักที่เกี่ยวกับฝ่ ายใน เป็ นระเบียบที่เข้มงวด เพื่อสร้างหรื อควบคุมคุณสมบัติของฝ่ าย ในให้มี เอกลัก ษณ์ เฉพาะของราชส านัก โดยจุ ดประสงค์หลัก ในการควบคุ มพฤติ ก รรมคื อ การควบคุ ม พฤติกรรมทางเพศ และการแสดงออกให้สมฐานะ ทาให้ฝ่ายในและฝ่ ายหน้าต้องมีการติดต่อโดยผ่านคนกลาง การรับส่ งเสด็จพระเจ้าลูกเธอก็เช่นกัน ห้ามมหาดเล็กรับส่ งต่อพระพี่เลี้ ยงนางนมและข้าหลวงข้างในโดยตรง ต้องรับจากเถ้าแก่และส่ งจากเถ้าแก่ และห้ามมหาดเล็กพูดจากับฝ่ ายในเป็ นอันขาด ทั้งนี้เพื่อการป้ องกันความสันพันธ์ชูส้ าวระหว่างมหาดเล็กกับนางในโดยคนกลางหรื อที่ในแบบข้อ ราชการมหาดเล็กเรี ยกว่าเถ้าแก่ น้ นั จะเป็ นนางในที่ แก่ เนื่ องจากมีคุณวุฒิและวัย วุฒิ เป็ นคุ ณสมบัติที่ราช สานักไว้วางใจ นางในต้องดาเนิ นชี วิตโดยการควบคุ มทั้งความรู ้ สึกและพฤติกรรมโดนเคร่ งครัด ใช้ชีวิตในกรอบ เพื่อให้เป็ นแบบฉบับเฉพาะราชสานัก และโทษของการฝ่ าฝื นกฎนั้นรุ นแรงนัก โทษที่แรงที่สุดคือ โทษจาก การมี ค วามสั ม พันธ์ ท างเพศกับ ฝ่ ายหน้า ราชส านัก จึ ง หาทางป้ องกันความสั ม พันธ์ โดยโทษของการมี ความสัมพันธ์กบั นางในที่ระบุไว้ในกฎหมายตราสามดวงคือ ประหารชีวติ
โครงสร้ างของสมาชิกฝ่ ายในในราชสานักรัชกาลที่ 5 สมาชิ ก ฝ่ ายในสมัย รั ช กาลที่ 5 มี ป ระมาณ 3000 คน แต่ ล ะคนมี ส ถานภาพลดหลั่น กั น มี ความสัมพันธ์ทางสังคมจากตาแหน่งหน้าที่อย่างเป็ นทางการ การเป็ นญาติ การช่วยเหลือเกื้อกูล หรื อการฝาก ตัวเป็ นบริ วาร เป็ นต้น ชั้นของหญิงสาวชาววังแบ่งเป็ น 3 ชั้นคือ 1. ชั้นสู ง ได้แก่ กลุ่มพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่ งเป็ นชาววังโดยกาเนิด 2. ชั้นกลาง ได้แก่ กลุ่มที่มีความสัมพันธ์แบบบริ วาร พวกลูกผูด้ ี มีตระกูล ราชนิ กุลหม่อมราชวงศ์ หม่อมหลวง กลุ่มนี้ไม่มีหน้าที่เข้าใกล้กษัตริ ยเ์ หมือนพวกชั้นสู งเพียงแต่ปรนนิ บตั ิเจ้านายหรื อเจ้าจอมมารดา เท่านั้น 3. ชั้นต่า ได้แก่ โขลนที่เป็ นผูร้ ักษาประตูวงั รวมทั้งเป็ นกรรมกรในงานต่างๆ พวกนี้มีสามีและลูกได้ เราจะเห็นว่าความสัมพันธ์ของฝ่ ายเป็ นไปอย่างซับซ้อน จึงต้องมีการจัดสมาชิ กฝ่ ายในออกเป็ นกลุ่ม โดยเรี ยงจากความสัมพันธ์ที่มีต่อรัชกาลที่ 5 ซึ่ งแบ่งกว้างๆ ได้เป็ นกลุ่มที่มีฐานะภรรยาและกลุ่มที่ไม่ได้เป็ น ภรรยา
กลุ่มสตรี ทไี่ ม่ อยู่ในฐานะภรรยาของพระมหากษัตริ ย์ กลุ่มพระบรมวงศ์ กลุ่มนี้ เป็ นพระญาติพระมหากษัตริ ย ์ ประกอบด้วยพระญาติช้ นั ผูใ้ หญ่ ชั้นผูน้ ้อย และผูส้ ื บสายราช ตระกูลเป็ นกลุ่มหรื อเจ้านายที่มีสกุลยศหรื อยศติดตัวแต่กาเนิ ด มีลาดับขั้นต่างๆ ดังนี้ ชั้นเจ้าฟ้ า ได้แก่ เจ้านายที่เป็ นลูกกษัตริ ย ์ ประสู ติแต่พระราชมารดาที่เป็ นเจ้านาย เจ้านายฝ่ ายใน ชั้นพระองค์เจ้า แบ่งเป็ น 3 ชั้น ชั้นที่ 1 คือ ลูกกษัตริ ยท์ ี่ประสู ติแต่พระสนม หรื อเจ้าจอมมารดา ซึ่ งเป็ นสามัญชน ชั้นที่ 2 คือ หลานกษัตริ ยท์ ี่พระบิดาเป็ นเจ้าฟ้ า และพระมารดาเป็ นเจ้า
ชั้นที่ 3 คื อ หลานที่พระบิดาและพระมารดาเป็ นพระองค์เจ้าด้วยกัน หรื อพระบิ ดาเจ้าฟ้ า แต่พระ มารดาเป็ นสามัญชน ชั้นหม่อมเจ้า เป็ นสกุลยศต่าสุ ดของเจ้านายในพระราชวงศ์ ได้แก่ ลูกของเจ้านายชั้นพระองค์เจ้า ซึ่ ง ในกรณี ที่รับราชการเป็ นที่โปรดปราน จะได้สถาปนาเป็ นพระองค์เจ้าตั้ง แต่เป็ นการยกย่องเฉพาะบุคคล กลุ่มบริวาร กลุ่มบริ วารของฝ่ ายใน กลุ่มบริ วารฝ่ ายใน คือ พระญาติ ญาติ หรื อสตรี จากตระกูลขุนนางส่ งเข้ามาศึกษาอบรมคุณสมบัติ แบบชาววัง มักถูกส่ งเข้ามาตั้งแต่ยงั เล็กเพื่อรับใช้ฝ่ายในลาดับต่างๆ ตามความสัมพันธ์ที่ตระกูลมีต่อฝ่ ายใน เป็ นกลุ่มที่ไม่มีสัมพันธ์อย่างเป็ นทางการกับราชสานัก แต่อยูใ่ นปกครองของเจ้าสานักต่างๆ เมื่อได้เรี ยนรู ้ การใช้ชีวติ แบบฝ่ ายในแล้ว สตรี กลุ่มหนึ่งอาจจะขอลาออกไปใช้ชีวติ ในสังคมภายนอก อีกกลุ่มอาจยังรับใช้ เจ้านายของตนอยู่ หากมีความรู ้ความสามารถก็จะได้เป็ นข้าราชการหรื อพนักงานอย่างเป็ นทางการ เด็กหญิงคนใดที่ผอู ้ ุปการะเห็นว่ามีแววในทางใดทางหนึ่ง ก็จะนาขึ้นถวายตัวทาราชการฝ่ ายใน ได้รับพระราชทานเครื่ องนุ่งห่ม เบี้ยหวัดตามฐานะราชการ ซึ่ งหญิงกลุ่มนี้มีภาษาพูดอย่างไม่เป็ นทางการว่า “เจ้าของท่านยกขึ้นถวาย” โดยเฉพาะหญิงที่มีแววทางมโหรี หรื อฟ้ อนรานั้น จะได้รับการฝึ กหัดเป็ นละครฝ่ ายในตั้งแต่อายุยงั น้อย เพราะต้องใช้เวลาในการฝึ ก โดยกลุ่มนี้จะได้รับเบี้ยหวัด แต่ไม่มีตาแหน่งอย่างเป็ นทางการ ลักษณะ คล้ายลูกจ้างประจาในปัจจุบนั กลุ่มข้าราชการในราชสานัก กลุ่มนี้คือกลุ่มเจ้าของท่านยกขึ้นถวาย แบ่งเป็ นกลุ่มนางอยูง่ านและนางพนักงาน - กลุ่มนางอยูง่ าน คือ สตรี สาหรับกษัตริ ยท์ รงใช้สอย กลุ่มนี้จะใกล้ชิดพระองค์ และมี โอกาสเลื่อนขั้นเป็ นเจ้าจอมมากกว่ากลุ่มอื่น - กลุ่มนางพนักงาน มักเป็ นหม่อมเจ้าและผูส้ ื บสายราชตระกูล หรื อไม่ก็เป็ นผูด้ ีที่เคยรับ ราชการมาก่อน ซึ่ งมีอายุมากแล้ว
กลุ่มสตรี ทมี่ ีฐานะเป็ นภรรยาของพระมหากษัตริ ย์ ภรรยาในที่ น้ ี หมายถึ ง หญิ ง ที่ มี เ จ้า ของ โดยกลุ่ ม พระภรรยานั้ น จะมี ค วามส านึ ก ระหว่ า ง ความสัมพันธ์กบั กษัตริ ยว์ า่ เป็ นคู่สามีภรรยากัน แต่ในกลุ่มนางในชั้นล่างจะมีความสานึกว่าเป็ นข้าช่วงใช้ รัชกาลที่ 5 มีพระสนมและพระราชธิ ดาตั้งแต่ก่อนขึ้นครองราชย์ แน่นอนว่ามีผนู ้ าสตรี มาถวายเป็ น เจ้าจอมอย่างมากมาย ตามธรรมเนียมต้องรับไว้ แต่นางในชั้นพระมเหสี เทวี ล้วนเป็ นพระน้องนางต่างมารดา ทั้งนั้น เพื่อให้พระโลหิ ตเจ้านายปนกับโลหิ ตสามัญชนให้นอ้ ยที่สุด เพื่อประโยชน์ในการสื บสันติวงศ์ นางในผูเ้ ป็ นภรรยาในรัชกาลที่ 5 จึงแบ่งได้ดงั นี้ กลุ่มพระมเหสี หรื อพระภรรยาเจ้า มี 5 ลาดับขั้น 1. พระบรมราชินีนาถ 2. พระบรมราชเทวี 3. พระราชเทวี 4. พระอัครชายาเธอ 5. พระราชชายา กลุ่มสตรี สามัญชน เรี ยกว่า เจ้าจอม ถ้าให้กาเนิ ดพระเจ้าลูกเธอ จะเรี ยกว่า “เจ้าจอมมารดา” สาหรับ เจ้าจอมทรงโปรดหรื อเจ้าจอมมารดามักจะได้เลื่อนขั้นเป็ นสนมเอก การมีลูกจึงเป็ นสิ่ งสาคัญสาหรับการเลื่อนชั้นทั้งกลุ่มพระมเหสี เทวี และกลุ่มของเจ้าจอม
ขั้นตอนการเข้ าสู่ ฐานะนางใน ยังไม่มีหลักฐานเอกสารที่บรรยายขั้นตอนการเข้าสู่ ฐานะนางในโดยละเอียด แต่จากตัวอย่างชี วิต ของนางในบางท่านจึ งสามารถตั้งข้อสังเกตได้ว่า การจะได้เลื่ อนฐานะเป็ นภรรยาของกษัตริ ยน์ ้ นั เกิ ดขึ้ น ภายหลังจากที่กษัตริ ยเ์ คยทรงพบเห็นและพอพระราชหฤทัยในสตรี ผนู ้ ้ นั มาก่อน
ในขณะที่ชีวประวัติของเจ้าจอม ม.ร.ว.สดับ ลดาวัลย์ อธิ บายขั้นตอนการถวายตัวว่า มีการทพิธีถวาย ดอกไม้ธูปเทียนเป็ นการถวายตัว โดยมีคุณท้าววรจันทร์ เป็ นผูน้ าถวาย และกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้รับราชการ ต่อมา นางในจะได้รับหี บหมากกะไหล่ทองและเงิน ซึ่ งเป็ นสัญลักษณ์วา่ เป็ นบุคคลของกษัตริ ยอ์ ย่างเป็ น ทางการ นางในบางรายอาจยังไม่ได้ถวายตัวในช่วงนี้ ทั้งนี้อาจต้องฝึ กกริ ยามารยาทเพิ่มเติม บางรายยังอาจได้ ขึ้นเฝ้ าโมงยาม อันแสดงว่าเป็ นช่ วงที่กาลังโปรดใช้สอย หรื อจะมีเครื่ องหมายที่แสดงว่ากาลังโปรดปราน อย่างเด่นชัด เครื่ องยศที่พระราชทานฝ่ ายในนั้นนางในนักสนม จะเป็ นภาชนะสาหรั บกิ นหมาก ซึ่ งกาหนดมา ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 มีลาดับขั้นดังนี้ ชั้นพิเศษ สาหรับพระมเหสี เทวี หรื อพระภรรยาเจ้า จะได้พระราชทานหีบและพานหมากเสวย ชั้นที่ 1 เรี ยกว่า “พระสนมเอก” ได้พระราชทานพานทอง เพิม่ หี บหมากลงยา เป็ นพานหมากมีเครื่ อง ในทองคากับกระโถนทองคาใบหนึ่ง ชั้นที่ 2 พระราชทานหี บหมากทองคาลงยาราชาวดี สาหรับเจ้าจอมมารดาหรื อเจ้าจอมอยูง่ านซึ่ งทรง เมตตา เรี ยกว่า “พระสนม” ชั้นที่ 3 พระราชทานหี บหมากทองคาสาหรับนางอยูง่ านใกล้ชิดพระองค์ ใครอยูช่ ้ นั นี้ จะเรี ยกว่าเจ้า จอมทุกคน เข้าใจว่าชั้นนี้เรี ยกว่า “เจ้าจอมอยูง่ าน” ชั้นที่ 4 ขั้นต่าสุ ด พระราชทานหี บเงินกะไหล่ทอง เรี ยกว่า “นางอยูง่ าน” รัชกาลที่ 5 โปรดให้ทาเครื่ องยศนางในนักสนมขึ้นเฉพาะสาหรับพระราชทานนางในที่รับราชการ มานานด้วย โดยมี 3 ชั้นคื อ หี บ หมาก 10 ปี 20 ปี และ 30ปี ตามล าดับ และใน พ.ศ.2516 โปรดเกล้า ฯ สถาปนาเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์จุลจอมเกล้า พระราชทานทั้งฝ่ ายหน้าและฝ่ ายใน โดยแบ่งเป็ น 3 ชั้นเมื่อแรก สถาปนาคือ ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า เป็ นหีบหมากทองคาสลัก พระราชทานพระภรรยาเจ้า ชั้นทุติยจุลจอมเจ้า เป็ นหี บหมากทองคา พระราชทานเจ้าจอมมารดาที่มกั มีลูกชาย เจ้าจอมที่มีลูก หลายคน และเจ้าจอมที่ไม่มีลูกแต่โปรดยิง่
ชั้นตติยจุลจอมเจ้า เป็ นหีบหมากสลักเงิน สาหรับการถวายบังคมลาจากฝ่ ายในนั้น สามารถลาได้ ยกเว้นเจ้าจอมที่มีลูก กับเจ้าจอมที่ ได้รับ เครื่ องยศเป็ นทองคาแล้ว เครื่ องยศเป็ นวัตถุเกียรติยศแสดงสถานภาพทางสังคม ซึ่ งต่างจากการพระราชทานสิ่ งมีค่าหรื อสิ่ งที่มี ความหมายทางใจ ว่ากาลังเป็ นคนโปรดในขณะนั้น การได้รับเกียรติยศและความโปรดปราน เป็ นการแสดง ความเจริ ญของสตรี ในฐานะภรรยา แต่ก็ไม่แน่นอนว่านางในทุกคนจะได้รับเกียรติน้ ี เสมอไป
การเกาะกลุ่มของสตรี ในรู ปสานัก สานักหรื อสานักหลักแหล่ง แสดงอาณาเขตปกครองของหัวหน้ากลุ่มที่มีบารมีเฉพาะตัว บารมีที่วา่ คือการมีสัมพันธ์กบั กษัตริ ย ์ อาจเป็ นพระประยูรวงศ์ พระมเหสี เทวี ความโปรดปรานเป็ นแรงผลักดัน ผูใ้ หญ่ คอยควบคุมสมาชิกในสานักเรี ยกว่า “เจ้าสานัก” ด้วยสถานภาพยุวกษัตริ ย ์ เมื่อครั้งรัชกาลที่ 5 ขึ้นครองราชย์ใหม่ๆ เจ้าสานักจึงมักเป็ นพระบรมวงศ์ ผูใ้ หญ่ และพระบรมวงศ์ช้ นั สู งผูส้ นิท ต่อมาเมื่อทรงพระเจริ ญและมีภรรยาเพิ่มขึ้น พระภรรยาเดิมที่เป็ นเจ้าก็ มีอานาจบารมีสูงขึ้นเรื่ อยๆ ยังมีสานักที่เป็ นนางในสามัญชนด้วย
ลักษณะบทบาทหน้ าที่ของสานัก อาราเขตปกครองของสานัก ประกอบด้วยอาณาเขตพื้นที่ซ่ ึ งเป็ นที่อยู่อาศัย และจานวนสมาชิ กใน ปกครอง โดยที่อยูข่ องฝ่ ายในจะเป็ นตาหนัก เจ้าจอมไม่มีลูกก็จะอยูเ่ รื อน การที่เจ้าสานักมีผมู ้ าขอพึ่งพาและ คุม้ ครองเป็ นการให้ที่พกั พิง ซึ่งอธิบายบารมีของเจ้าสานักได้ โดยเจ้าสานักมักมีชื่อเรี ยกจากตาหนักที่ประทับ แหล่งพักพิง หรื อสมญานาม โดยชื่ อที่ตาหนักที่ชาวราชสานักเรี ยกกัน มักเป็ นชื่ อสาหรับเจ้านายที่มีอานาจ สู ง เช่ น ตาหนักตึ ก ในกรมสมเด็จพระศรี สุลาไลย พระบรมราชชนนี ในรั ชกาลที่ 3 หรื อตาหนักแดง ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ ากรมพระศรี สุดารักษ์ และตาหนักเขียว ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้า ฟ้ ากรมพระเทพสุ ดาวดี
ส่ วนสมญานาม เป็ นชื่ อสมมติที่ต้ งั เพื่อเฉลิมพระเกียรติ ยกย่อง หรื อแสดงคุณลักษณะเฉพาะของผู ้ นั้น เพราะในสมัยนั้นมีพระนามของกษัตริ ย ์ พระนามของพระมเหสี และเจ้าจอมอยูม่ าก ต่างมีพระอิสริ ยยศ ตาแหน่ งและพระนามยาว ยากที่จะกล่าวให้ครบถ้วนถูกต้อง ที่สาคัญยังเลี้ ยงการออกชื่ อโดยตรงเพื่อไม่ให้ ละเมิดพระบารมีอีกด้วย นอกจากนี้ ย งั มี สมญานามสาหรั บสตรี ผูด้ ี ที่มีอานาจและมี ผูค้ นยาเกรงด้วย ส่ วนใหญ่อยู่ใ นสกุ ล บุนนาค ชูโต และ ณ ปางช้าง การครอบครองอาณาบริ เวณ การมีบทบาทเด่นชัดในราชสานัก และความสัมพันธ์กบั กษัตริ ย ์ เป็ น การสะท้อนว่าเจ้าสานักมีเครื อข่ายอานาจสัมพันธ์กบั อาณาเขตปกครอง หน้าที่รับผิดชอบ และการยอมรับ ทางสังคม การฝากตัวไว้ในสังกัดต่างๆ ถือเป็ นจุดเปลี่ยนของชี วิตเพราะต้องมีผปู ้ กครอง แม้จะไม่ใช่ผถู ้ ือสิ ทธิ์ อย่างเป็ นทางการ โดยในสมัยรัชกาลที่ 5 นั้น มีผนู ้ ิยมวิง่ เต้นถวายบุตรหลานเข้าไปอยูใ่ นวังกันเป็ นจานวนมาก แล้วแต่ ช่องทางว่าคุน้ เคยกับใคร ก็หาทางชักชวนกันถวายตัวเป็ นข้าหลวงตามบรรดาเจ้านายพระบรมวงศ์ พระมเหสี หรื อเจ้าจอมชั้นผูใ้ หญ่เพื่อจะได้รับการฝึ กขนบธรรมเนียม จรรยามารยาท และวิชาสาหรับกุลสตรี ต่างๆ สตรี ที่เข้าไปฝากตัวจะมีจุดเปลี่ยนอยู่ 2 ระดับ ระดับแรกคือ การเป็ นสมาชิ กฝ่ ายใน หรื อสตรี ชาววัง อีกระดับหนึ่ งจะเกิดเฉพาะบางคนคือ การกลายเป็ นภรรยากษัตริ ย ์ โดยทั้งสองระดับนี้ ต่างได้รับโอกาสทาง สังคมจากเจ้าสานัก ทาให้การเป็ นเจ้าส านักที่ มีนางในในปกครอง หมายถึ ง การเป็ นเจ้าของบุคคล 2 ฐานะ คือ เป็ น เจ้าของบุคคลที่เป็ นสมาชิกฝ่ ายใน และเป็ นเจ้าของภรรยากษัตริ ย ์ เป็ นเครื่ องหมายแสดงสถานะของอานาจ ได้ชดั เจนที่สุด และอานาจของเจ้าสานักจะเพิ่มขึ้นเมื่อนางในในปกครองมีลูก กลุ่มบุคคลที่เป็ นเครื่ องหมายแสดงอานาจของเจ้าสานักได้ดีอีกกลุ่มหนึ่ งคือ กลุ่มลูกหลานในราช ตระกูล โดยเฉพาะลูกหลานฝ่ ายหน้าที่กษัตริ ยโ์ ปรด การเลี้ยงบุตรหลานราชนิกลู เป็ นความสัมพันธ์เกื้อกูลกัน ในวงศาคณาญาติ มีท้ งั เจ้านายส่ งเข้ามาเองโดยให้อยูก่ บั สานักที่ใกล้ชิดที่สุด สานักในรัชกาลที่ 5
สานักสมเด็จบน สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชิ นีนาถ มีสมญานามว่า “สมเด็จที่บน” เพราะเสด็จ ประทับ ณ พระที่นงั่ ศุทธาศรี อภิรมย์ อันเป็ นส่ วนหนึ่ งของที่บน หรื อพระที่นงั่ จักรี มหาปราสาท เป็ นพระ มเหสี พระองค์เดียวที่มีห้องบรรทมติดกับห้องพระเจ้าอยูห่ วั ยังเป็ นประมุขฝ่ ายในและพระมเหสี ทรงโปรด อีกด้วย เพราะเป็ นพระมเหสี ทรงโปรด สานักสมเด็จที่บนจึงเป็ นสานัก ใหญ่สุดประกอบด้วยพระบรมวงศ์ เธอชั้นสู ง พระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 4 บางพระองค์ พระเจ้าลูกเธอในพระองค์ พระเจ้าลูกเธอบุญธรรม ท้าว นาง นางพนักงานจากตระกูลต่างๆ ครอบคลุมหลายสาย เมื่อแรกเจ้าดารารัศมีถวายตัว สมเด็จที่บนยังเป็ นองค์อภิบาลและองค์อุปถัมภ์ ภายหลังเจ้าดารารัศมี จึงมีสานักในพระองค์เอง เรี ยกว่า ตาหนักเจ้าลาว
สานักสมเด็จพระตาหนัก สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี มีสมญานามว่า สมเด็จพระตาหนัก สมเด็จสวน หงส์ หรื อสมเด็จวังสระประทุม ทรงอภิบาลบารุ งพระโอรส และพระธิ ดาอันประสู ติจากเจ้าจอมมารดาและเจ้านายหลายพระองค์ ส่ วนข้าราชสานักในสานัก มักเป็ นสมาชิ กจากตระกูลใกล้ชิด โดยเฉพาะตระกูลสิ จริ ตกุล ที่มีสัมพันธ์สนิ ท เนื่องมาแต่พระมารดา และยังทรงอุปถัมภ์คนในตระกูลสุ จริ ตกุลที่อยูฝ่ ่ ายหน้าอีกด้วย
สานักพระนางเจ้าพระราชเทวี ส านัก พระนางเจ้า สุ ขุม าลมารศรี พระราชเทวี ประกอบด้วยข้าส านัก จากตระกูล ปากข้า งโน้น (บุนนาค) เป็ นสาคัญ เพราะมีศกั ดิ์ เป็ นหลานตาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ มี ความสัมพันธ์ ใกล้ชิดกับสานักคุณจอมแพ ซึ่ งเป็ นสายของสมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่ ในฐานะญาติสกุลบุนนาค
เจ้า นายและเยาวสตรี ใ นส านัก นี้ ไม่ เคยเข้า ศึ ก ษาในโรงเรี ย น แต่ มี ก ารนาครู เ ข้า มาสอยวิ ช าทั้ง ภาษาไทย ภาษาอัง กฤษ และภาษาฝรั่ ง เศส ซึ่ ง แตกต่ า งจากการเล่ าเรี ย นของกุ ล บุ ตรี อื่น จนมี ก ารพากัน ล้อเลียนว่าเป็ น บางขุนพรหมยูนิเวอร์ ซิต้ ี
สานักท่านองค์เล็ก พระอัครชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมสุ ทธาสิ นีนาฎ หรื อ ท่านองค์เล็ก เป็ นเจ้าสานักใน กลุ่มพระภรรยาเจ้าราชกุลลดาวัลย์คราวรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 ทรงได้รับพระราชทานความ ห่วงใยและพระราชทานของฝากเสมอ บ้าสานักส่ วนใหญ่มาจากราชสกุลลดาวัลย์และสิ งหรา สานักพระองค์เล็กมี โรงดลี้ บงเด็กซึ่ งเจ้า สานักทรงตั้งขึ้นภายหลังกานประชวรและสิ้ นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ านภาจรจารัสศรี พระ ราชธิดาในพระองค์ ตาหนักเจ้าลาว พระราชชายา เจ้าดารารัศมี เมื่อแรกรับราชการฝ่ ายใน ทรงอยูใ่ นพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระนางเจ้า เสาวภาผ่องศรี พระบรมราชิ นีนาถ ต่อมาจึงมี การรับพระวงศ์และข้าราชบริ พารจากเชี ยงใหม่เข้ามาอยู่ใน สังกัดเพิ่มขึ้น พ.ศ.2451 ทรงได้รับพระราชทานตาหนักที่ประทับใหม่ร่วมกับเจ้าจอมอีกสองท่านซึ่ งสนิ ทสนมกัน คือ เจ้าจอมมารดาอาด และเจ้าจอมมารดาแหม
สานักคุณจอมแพ หรื อท่านที่ตาหนัก เจ้า คุ ณ จอมมารดาแพ เป็ นนางในทรงโปรดที่ รัชกาลที่ 5 มี พ ระราชปฏิ พ ทั ธ์ และพระราชทาน เกี ยรติยศมาก ไม่ทรงใช้คาว่า “นาง” นาหน้าชื่ อเรี ยกเหมือนเจ้าจอมท่านอื่น ถ้าตรัสกับพระองค์จะเรี ยกว่า “แม่แพ” และถ้าตรัสแก่ผอู ้ ื่นก็ตรัสว่า “คุณแพ” ทั้งยังโปรดให้เปลี่ยนเครื่ องในพานทอง เครื่ องยศของเจ้าคุณ ฯ เป็ นลงยาราชาวดี ท่านจึงมียศสู งกว่าสนมกานัลทั้งปวง
ฝ่ ายในทุกคนต้องอ้างอิงความสัมพันธ์กบั สมาชิ กเดิ ม เพื่อเป็ นคุ ณสมบัติพ้ืนฐานในการใช้ชีวิตใน ราชสานัก สถานภาพของบุคคลอ้างอิงจะเป็ นสิ่ งกาหนดฐานะของสมาชิ กใหม่ บุคคลที่ถูกอ้างอิงส่ วนใหญ่ จะเป็ นเจ้าสานัก เพราะมีเครื อข่ายอานาจมาก เจ้าสานักจึงเป็ นสื่ อกลางระหว่างตระกูลข้างนอกกับกษัตริ ย ์
นางใน ในฐานะสื่ อสะท้ อนความสั มพันธ์ ระหว่ างกลุ่มผู้นากับกษัตริย์ เหล่ าขุนนางต่ างถวายบุตรี ปะที่เป็ นหมันบุตรกันดาร ทั้งจีนแขกลาวพวนญวนทวาย เขมรมอญชาวชุมพรไชยา
ที่มีแต่ บุตรชายถวายหลาน คิดอ่ านไกล่ เกลี่ยน้ องเมียมา ต่ างถวายลูกเต้ าเอาหน้ า ทุกภาษามาพึ่งพระบารมี
(จากบทละครนอกไกรทอง พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย) บทพระราชนิ พนธ์ที่ยกมานี้ เป็ นภาพสะท้อนความสัมพันธ์ทางสังคมจากการฝากตัวหรื อถวายตัว สตรี ฝ่ายในมีบทบาทเป็ นผูเ้ ชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอานาจในสังคมไทย เป็ นจุดเริ่ มต้นให้เราพิจารณา ถึงบทบาทของสตรี ช้ นั สู งในประวัติศาสตร์ สังคมไทย โดยหญิงสาวที่ผนู ้ ากลุ่มได้ถวายแก่กษัตริ ย ์ แสดงให้ เห็ นถึ งความคาดหวังว่าการแต่งงานจะมีประสิ ทธิ ผลต่อการสร้ างและพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างกัน ซึ่ ง สถานภาพของฝ่ ายในจะผกผันตามการขึ้นลงของตระกูลภายนอกราชสานัก ผูท้ ี่อยู่อาศัยในฐานะภรรยากษัตริ ยห์ รื อเป็ นทรัพยากรบุคคลของกษัตริ ยค์ ือ นางใน สนม เจ้าจอม หม่อมห้าม บาทบริ จาริ กา คาว่านางในและบาทบริ จาริ กา เป็ นคารวมๆ ที่ใช้เรี ยกทั้งภรรยากษัตริ ยท์ ี่เป็ นเจ้าและสามัญชน คาว่า สนมและเจ้าจอม ใช้เรี ยกภรรยากษัตริ ยท์ ี่เป็ นสามัญชน คาว่าพระภรรยาเจ้า ใช้เรี ยกภรรยากษัตริ ยท์ ี่มีฐานะ เดิมเป็ นเจ้านายในพระราชวงศ์ คาว่าหม่อมห้าม ใช้เรี ยกภรรยาของพระบรมวงศานุ วงศ์ คาว่าสตรี ฝ่ายใน คือ คาเรี ยกสตรี ในราชสานักโดยรวมทั้งที่เป็ นภรรยากษัตริ ยแ์ ละไม่ได้เป็ นภรรยากษัตริ ย ์
ฐานะของผู้หญิงในตระกูลกับชี วิตฝ่ ายในในราชสานัก ตระกูลสาคัญทางสั งคมและการเมือง บุนนาค ตระกู ล บุ น นาคมี บุ ค คลที่ รั บ ราชการฝ่ ายในของราชส านั ก มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งตั้ง แต่ ต้ น กรุ ง รัตนโกสิ นทร์ โดยเป็ นสตรี ที่มีสถานภาพสู งศักดิ์เหนื อกว่าฝ่ ายในในตระกูลอื่น หลายท่านเป็ นนางใน ท้าว นาง และมีสมญานาม ตระกูลบุนนาคเป็ นตัวอย่างของตระกูลที่ประสมความสาเร็ จอันเนื่ องมาจากการส่ งเสริ มเกื้อกูลกัน ระหว่างฝ่ ายหน้าและฝ่ ายใน เพราะตระกูลบุนนาคมักจะสร้างสัมพันธ์ข้ นั แรกกับกษัตริ ยโ์ ดยการสมรส ทั้ง ฝ่ ายหน้าก็ยงั ได้ดารงตาแหน่งสาคัญทางเศรษฐกิจและการเมืองมาตลอกตั้งแต่ตน้ รัตนโกสิ นทร์ แต่การนา สตรี ถวายตัวเป็ นนางในของตระกูลนี้ก็เป็ นไปอย่างต่อเนื่อง มีเหตุการณ์หนึ่ งที่สะท้อนสถานภาพทางสังคมของตระกูลบุนนาคได้เป็ นอย่างดีคือ กรณี พระสุ ริยภักดี บุตรชายคนโตของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ ถูกกล่าวโทษว่าเขียนเพลงยาวรักใคร่ กบั เจ้า จอมอิ่มในรัชกาลที่ 3 ตุลาการ คณะลูกขุนสอบสวนแล้วผิดจริ ง ซึ่ งมีโทษประหารชี วิต รัชกาลที่ 3 จึงมีพระ กระแสรับสั่งให้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติเข้าเฝ้ าและพระราชประทานโทษให้แก่บุตรชายคนโต การที่พระสุ ริยภักดี ได้รับพระราชทานกรุ ณาครั้งนี้ สะท้อนให้เห็นถึงบทบาทสาคัญทางสังคมการเมืองของ ระกูลบุนนาคในขณะนั้นได้เป็ นอย่างดี การรวมกลุ่มของเจ้าสายบุ นนาคนี้ จะนับจากการสื บสายฝ่ ายบิ ดาเป็ นหลัก ซึ่ งเจ้าจอมต่างรุ่ นมักมี ความสัมพันธ์แบบป้ ากับหลาน และอากับหลาน ซึ่ งสะท้อนว่ากลุ่มชนชั้นปกครองให้ความสาคัญกับการ สื บสายตระกูลฝ่ ายชายเป็ นสาคัญ และจะทาให้เจ้าจอมสกุลบุ นนาครุ่ นหลังได้รับการยอมรับบทบาททาง สังคมฝ่ ายในมากขึ้นด้วย บทบาทของนางในตระกูลบุนนาคที่มีต่อตระกูลนั้น ปรากฏในกรณี เจ้าคุ ณจอมมารดาแพว่าเป็ นผู ้ สื่ อสารพระราชธุ ระหรื อข่าวสารระหว่างราชสานักกับญาติฝ่ายหน้า การเป็ นลูกภรรยาหลวงหรื อภรรยาน้อยของขุนนางผูใ้ หญ่ก็เป็ นสิ่ งสาคัญ ขุนนางบางท่านได้ท้ งั พี่ท้ งั น้องเป็ นภรรยา ก็อาจยกฐานะภรรยาให้เท่าเทียมกันทั้งคู่ บุตรสาวอันเกิดจากภรรยา ก็อาจยกฐานะภรรยาให้
เท่าเทียมกันทั้งคู่ บุตรสาวอันเกิ ดจากภรรยาคู่พี่น้องนี้ จึงมีฐานะไม่ต่างกันแต่หากบุตรสาวที่ได้รับราชการ ฝ่ ายในจนเป็ นที่โปรดปราน ฐานะทางสังคมของมารดาก็อาจเลื่อนสู งขึ้นตามบทบาทของบุตรสาว รั ช กาลที่ 5 ทรงสถาปนาพี่ ส าวและน้องสาวต่ า งมารดาเป็ นภรรยาเจ้า 5 พระองค์ แต่ มี เพี ย ง 3 พระองค์เท่ า นั้นที่ ดารงชี วิตในฐานะพระมเหสี เทวีจนล่ วงรั ช สมัย คื อสมเด็จพระนางเจ้า เสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี และพระนางเจ้าสุ ขุมาลมารศรี พระราช เทวี สาหรั บการสถาปนารั บราชการในฐานะพระภรรยาเจ้านั้น พระนางเจ้าสุ ขุมาลมารศรี ได้รับการ สถาปนาเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2421 และได้รับสถาปนาเป็ นพระราชเทวีเมื่อ พ.ศ.2424 ส่ วนสมเด็จ พระนางเจ้าอีก 2 พระองค์น้ นั ได้รับสถาปนาครั้งแรกพร้อมกันเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2421 โดยสมเด็จ พระนางเจ้าสว่างวัฒนาได้รับสถาปนาเป็ นพระราชเทวีเมื่อ พ.ศ.2423 และสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี ได้รับสถาปนาเป็ นพระราชเทวีเมื่อ พ.ศ.2423 และเป็ นชนชั้นสมเด็จเมื่อ พ.ศ.2438 ตามลาดับ พระมเหสี ท้ งั สามพระองค์มีการเลื่อนสถานภาพใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะพระนางสุ ขุมาลมารศรี น้ นั จะได้รับโอกาสก่อนพระองค์อื่น นอกจากนี้พระญาติใกล้ชิดของพระองค์ก็เจริ ญรุ ดหน้าเช่นเดียวกัน เจ้าคุณจอมมารดาสาลี พระราชมารดาในพระนางเจ้าสุ ขุมาลมารศรี น้ นั เมื่ อได้รับสถาปนาไปได้ เพียงปี เดียวก็ถึงแก่พิราลัย รัชกาลที่ 5 ทรงนับเป็ นพระญาติ โปรดให้พระเจ้าลูกเธอพระภูษาขาวไว้ทุกข์ ตั้ง โกศในหอธรรมสังเวชในพระบรมมหาราชวัง แม้พระองค์จะเป็ นพระภรรยาพระองค์โปรด แต่พระนางเจ้าสุ ขุมาลมารศรี พระราชเทวี กลับไม่ได้ รับการสถาปนาเป็ นสมเด็จ ซึ่ งพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์เองก็เห็นว่าแปลก การไม่ได้รับการ สถาปนาขึ้นชั้นสมเด็จน่ าจะเป็ นเหตุให้พระองค์มีทุกข์ เพราะพระมารดาของพระองค์เป็ นสมาชิ กตระกูล บุนนาค และการเป็ นสมเด็จจะทาให้พระองค์มีสถานภาพเหนื อกว่าพระภรรยาเจ้าพระองค์อื่น เนื่ องจากมี พระราชโอรสที่ดารงพระชนม์เป็ นพระองค์แรก และพระองค์ก็ได้รับสถาปนาเป็ นพระราชเทวีก่อนพระ มเหสี บางพระองค์ หากมีการสถาปนาพระองค์ข้ ึนชั้นสมเด็จ พระราชโอรสจะเป็ นเจ้าฟ้ าชั้นสมเด็จหน่อพุทธ เจ้า มีสิทธิ์ ในฐานะรัชทายาท ซึ่ งพระราชโอรสพระองค์อื่นของพระมเหสี สายเจ้าจอมมารดาเปี่ ยมนั้นล้วน แล้วแต่มีพระชนมายุนอ้ ยกว่า
สภาพการณ์ เช่ นนี้ สอดคล้องกับ การที่ ทรงถู กระแวงในฐานะที่ มีความสั มพันธ์ ท างเครื อญาติ ก ับ ตระกูลบุนนาค อีกทั้งการจากัดสถานภาพของพระองค์ น่าจะเป็ นวิธีการที่รัชกาลที่ 5 เลื อกใช้เพื่อสกัดกั้น การกลับมาเรื องอานาจของตระกูลบุนนาค แม้น างในตระกู ล บุ น นาคจะเป็ นนางในกลุ่ ม ใหญ่ อยู่ ใ นฐานะภรรยาโปรด มี บ ทบาทยึ ด โยง ความสัมพันธ์ระหว่างรัชกาลที่ 5 กับฝ่ ายหน้าที่ของตระกูลได้ในระดับหนึ่ ง แม้ระยะหลังฝ่ ายหน้าจะไม่มี บทบาทสู งมานักในสังคม แต่ก็ไม่ได้ตกต่าลง อมาตยกุล คนในตระกูลอมาตยกุลก็รับราชการฝ่ ายในอยู่ไม่ขาด โดยเฉพาะท้าวทรงกันดาล ที่ถวายตัวตั้งแต่ รัชกาลที่ 3 นั้น จัดได้วา่ เจริ ญก้าวหน้าใยราชการมาโดยตลอด ท้าวทรงกันดาลจึงมีฐานะเป็ นท้าวนางผูใ้ หญ่ ฝ่ ายใน ทาให้ญาติๆ ที่มีศกั ดิ์ เป็ นหลานอา หรื อหลานย่า ได้รับราชการในสานักสมเด็จที่บนซึ่ งเป็ นโอกาส สาคัญต่อการเลื่อนสถานภาพเป็ นนางในในรัชกาลที่ 5 สาหรั บฝ่ ายหน้านั้น ตระกูลอมาตยกุลนับว่าเป็ นฝ่ ายหน้าทรงโปรดเช่ นกัน แต่ใน พ.ศ.2421 เกิ ด วิกฤติสาคัญของตระกูลคือ กรณี พระปรี ชากลการ บุตรของพระยากระสาปนกิจโกศลรับแฟนนี น็อกซ์ ธิ ดา ของโทมัส ยอร์ช น็อกซ์ กงสุ ลเยเนอราลประเทศอังกฤษ เป็ นภรรยา พระปรี ชากลการจึงมีศกั ดิ์เป็ นบุตรเขน กงสุ ลอังกฤษ ซึ่ งเป็ นฝ่ ายเดียวกับวังหน้าและตระกูลบุนนาคในขณะนั้น จุดแตกหักอยูท่ ี่พระปรี ชากลการถูก ฎีกาฟ้ องในข้อหาทารุ ณคนงานเหมืองทองที่กบินทร์ บุรีจนเสี ยชี วิต กงสุ ลน็อกซ์แสดงท่าทีปกป้ องบุตรเขย และคุกคามรัชกาลที่ 5 และเมื่อตัดสิ นโทษ ปรากฏว่าพระปรี ชากลการเป็ นกบฏ ต้องโทษประหารชี วิตและ ริ บราชบาตร ส่ วนฝ่ ายในนั้นในช่ วงที่เกิ ดวิกฤติ ของตระกูล ท้าวทรงกันดาลซึ่ งขณะนั้นยังเป็ นท้าวภัณฑสารนุ รักษ์อยู่ ก็ไม่ได้เลื่อนตาแหน่งใดๆ ซึ่ งกว่าจะได้เป็ นท้าวทรงกันดาลก็ พ.ศ.2430 เข้าไปแล้ว กระทัง่ หลายปี ต่อมา เจ้าจอมมารดาเหมจึงมีบทบาทอีกครั้ง เพราะให้กาเนิ ดพระเจ้าลูกเธอ พระองค์ เจ้าเหมวดี โดยทรงเป็ นพระราชธิ ดาองค์สุดท้องในรัชกาบที่ 5 และท่านยังถวายอยูง่ านนวดคู่กบั เจ้าจอมเอี่ยม จนเป็ นที่โปรดปราน
ความตกต่าของสมาชิกในตระกูลนับเป็ นโทษทางสังคม ที่นอกเหนื อจากการทาร้ายร่ างกายผูอ้ ื่น แต่ เป็ นอุทาหรณ์ให้ตระกูลอื่นต้องพิจารณาถึงการมีสัมพันธ์โดยการแต่งงานกับตระกูลอื่นที่มีปัญหากับผูน้ าใน สังคม กรณี ของพระปรี ชากลการทาให้เราเห็นความสัมพันธ์อีกลักษณะหนึ่ งระหว่างสมาชิ กในตระกูลฝ่ าย หน้ากับฝ่ ายใน คือ หากสมาชิกฝ่ ายหน้าผูห้ นึ่งต้องโทษรุ นแรง สมาชิกคนอื่นทั้งฝ่ ายหน้าและฝ่ ายในก็จะดูไม่ มีความก้าวหน้าไปด้วย คุณสมบัติดา้ นชาติตระกูลก็เป็ นสิ่ งสาคัญในการกาหนดสถานภาพบุคคล ความตกต่าของสมาชิ กใน ตระกูลคนหนึ่งย่อมส่ งผลกระทบต่อผูอ้ ื่นในตระกูล ตระกูลที่มีเส้นสายฝ่ ายใน ตระกูลที่มีเส้นสายฝ่ ายใน หมายถึง ตระกูลที่มีสมาชิกฝ่ ายในของตนรับราชการในราชสานัก หรื อ ตระกูล ที่ มี สายสัม พันธ์ กบั ฝ่ ายในต่ างตระกูล โดยเฉพาะระดับเข้า สานักหรื อสมาชิ ก คนสาคัญในส านัก สายใยโยงความสัมพันธ์จึงเป็ นปั จจัยสาคัญในการเปิ ดโอกาสให้บุคคลได้กา้ วเข้าสู่ ราชสานัก ทั้งฝ่ ายหน้า และฝ่ ายใน กัลยาณมิตร บุณยรัตพันธ์ และกุสุมลจันทร์ ตระกูลกัลยาณมิตรเป็ นตระกูลที่รับราชการฝ่ ายในสื บเนื่ องกันมาตั้งแต่ตน้ รัตนโกสิ นทร์ โดยเฉพาะ กรมหลวงวรเสรฐสุ ดานั้น ถือเป็ นเส้นสายฝ่ ายในของตระกูลกัลยาณมิตรที่มีบทบาทสาคัญในสมัยรัชกาลที่ 5 ในช่วงต้นรัชกาล และน่าจะมีบทบาทในการถวายตัวของเจ้าจอมมารดาแสง และเจ้าจอมมารดาแช่ม ต่อมา เจ้าจอมมารดาแสงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็ นนางในชั้นผูใ้ หญ่ ตระกูลบุณยรั ตพันธุ์ ก็เช่ นเดี ยวกับตระกูลกัลยาณมิตรที่มีฝ่ายหน้าและฝ่ ายในรับราชการมาอย่าง ต่อเนื่อง สาหรับตระกูลกุสุมลจันทร์ มีเจ้าจอมมารดาสุ ดและเจ้าจอมมารดาสายรับราชการฝ่ ายในสมัยรัชกาล ที่ 5 ส่ วนเจ้าจอมมารดาสุ่ นก็เป็ นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 4 ทั้งยังมีเจ้าจอมมารดาจัน ในรัชกาลที่ 5 ซึ่ งมีศกั ดิ์เป็ น ป้ าของเจ้าจอมทั้งสามอีกด้วย สายพระนมปริ ก
ผูท้ ี่ จะเป็ นพระนมต้องมี ชาติ กาเนิ ดจากพ่อแม่ ของปู่ ย่าตายายเป็ นผูท้ ี่ มี สกุ ลทั้ง แปดสาย เรี ยกว่า ผู้ดี แ ปดสาแหรก หรื อ ผู้ดี แ ปดสายปรก ท าให้ ฐ านะของพระนมเป็ นฐานะที่ ค นในตระกู ล จะอ้า ง ความสัมพันธ์ได้ โดยบุรพชนที่เป็ นผูด้ ีแปดสายแรกของพระนมปริ กนั้น คือการสื บสายสกุลจากราชิ นิกุล รัชกาลที่ 3 และราชินิกุล รัชกาลที่ 5 การที่บุตรสาวสองคนของพระนมปริ กมีโอกาสเติบโตพร้อมกันกับรัชกาลที่ 5 จึงมีส่วนในการได้ ถวายตัวเป็ นนางในตั้งแต่ก่อนที่รัชกาลที่ 5 จะขึ้นครองราชย์ แสดงให้เห็นว่าการที่มารดาเป็ นพระนมในสังกัดสาคัญ ส่ งผลให้เจ้าจอมทั้งสองท่านนี้ สังกัดสานัก ทูลกระหม่อมแก้วไปโดยปริ ยาย ทาให้เห็นถึงโอกาสที่ฝ่ายในจะได้รับเลื่อนเป็ นนางในจากการสังกัดสานักที่ เจ้าสานักเคยเป็ นผูอ้ ภิบาลรัชกาลที่ 5 และความสัมพันธ์ใกล้ชิดในฐานะที่ดื่มน้ านมจากแม่เดียวกัน โรจนดิศ การขึ้นของเจ้าจอมมารดาเที่ยงส่ งผลต่อสถานภาพทางสังคมของเครื อญาติ โดยฝ่ ายในนั้นท่านได้ ถวายน้องสาวของท่านให้ร่วมรับราชการฝ่ ายในด้วยคือ เจ้าจอมช้อย เจ้าจอมมารดาชุ่ม และนางวัน สาหรับ ฝ่ ายหน้านั้น มีกรณี ที่รัชกาลที่ 4 จะโปรดให้พระยาอัพภันตริ กามาตย์ ขณะยังเป็ นพระยาบาเรอภักดิ์ ให้เป็ นที่ พระยาสี หราชเดโชชัยต้องปฏิบตั ิราชการในหัวเมือง แต่เจ้าจอมมารดาเที่ยงทูลขอให้อยูใ่ นกรมวัง ท่านจึงอยู่ ในตาแหน่ งพระยาบาเรอภักดิ์ มาตลอดรัชกาลที่ 4 แสดงให้เห็ นว่าการที่ลูกสาวเป็ นนางในที่โปรดปราน ก็ สามารถกาหนดโอกาสทางสังคมของบิดาได้ สะท้อนความเกื้อหนุ นกันระหว่างราชสานักกับตระกูลชนชั้นนา โดยเป็ นความผูกพันในฐานะบ่าว เดิม ซึ่ งความผูกพันแบบนี้มีผลต่อการเลื่อนสถานทางสังคมต่อสมาชิกในสายตระกูลรุ่ นต่อมาด้วย และอีกหลายตระกูลมากมายจะเห็ นว่าแบบแผนของราชสกุลฝ่ ายในกับกษัตริ ยน์ ้ นั มีฐานะใกล้ชิด ตามระยะห่ างลาดับฐานันดรศักดิ์ ถึงอย่างไรความสัมพันธ์ระหว่างราชสกุลฝ่ ายในกับกษัตริ ยก์ ็จะคล้ายกับ ความสัมพันธ์ระหว่างตระกูลขุนนางฝ่ ายในกับกษัตริ ย ์ ที่ต่างอาศัยความสัมพันธ์น้ ี ผกู ญาติกบั กษัตริ ย ์ แต่ตอ้ ง มีภูมิหลังที่กษัตริ ยพ์ ึงประสงค์ ผนวกกับกาลังของฝ่ ายหน้า รวมทั้งความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ ส่ วนตัวในฐานะสามีภรรยา
บทบาทของนางในกับการเจริญชีวิตของเครื อญาติในวงศ์ ตระกูล การให้ความสาคัญกับญาติของนางใน กษัตริ ยม์ กั จะกล่าวถึงเครื อญาติของนางใน โดยอิงกับฝ่ ายในเป็ นสาคัญ มีประกาศในรัชกาลที่ 4 ที่ แสดงให้เห็นว่ากษัตริ ยย์ อมรับความเป็ นญาติของนางในกับสมาชิกในตระกูล คือ ประกาศการพระราชพิธีลง โสกันต์พระเจ้าลูกเธอ ทาให้ญาติฝ่ายข้างเจ้าจอมมารดาต้องลาบากใจที่จะต้องหาของมาถวายพระเจ้าลูกเธอ เพื่อให้สมเกียรติ โดยไม่ทรงบังคับ แต่ให้ข้ ึนอยูก่ บั ความพึงพอใจ ทั้งยังมีประกาศในรัชกาลที่ 4 อีกฉบับคือ ประกาศห้ามไม่ให้กราบบังคมทูลทักอ้วนผอมขาวดา ได้ กล่าวถึงข้อควรหลีกเลี่ยงการเรี ยกแสดงสัณฐานรู ปพรรณ อ้วนผอมดาขาวของพระเจ้าแผ่นดิน โดยให้ใช้คา ว่าซูบพระองค์หรื อพ่วงพี ยังมีเหตุการณ์ที่กษัตริ ยเ์ ป็ นฝ่ ายต้องการสร้างสัมพันธ์ให้เป็ นที่เกี่ยวดองกับตระกูลขุนนาง ซึ่ งจะเกิด กับตระกูลใหญ่เท่านั้น โดยพระราชหัตถเลขาที่รัชกาลที่ 4 พระราชทานหมอบรัดเลย์ ส่ วนหนึ่ งมีความว่า “หวังจะให้พระราชโอรสสักพระองค์ได้เป็ นเขยของตระกูลบุนนาค โดยที่ฝ่ายบุนนาคก็ใคร่ ที่จะเกี่ยวดองกัน ทางพระราชวงศ์อยูด่ ว้ ย” เพราะตระกูลบุ นนาคในขณะนั้น มี บทบาทสาคัญในทางการเมื องสมาชิ กฝ่ ายหน้า ในตระกูลจึ ง ได้รับการยกย่องเหนือฝ่ ายหน้าตระกูลอื่น ทาให้สมาชิกตระกูลบุนนาคได้รับการยกย่องตามด้วย กษัตริ ยม์ ีแนวโน้มจะใช้คาเรี ยกกับตระกูลขุนนางที่มีอานาจหรื อมีบทบาทสู งทางสังคมและการเมือง ในขณะนั้น และการที่รัชกาลที่ 5 ผูกมิตรกับทางเมืองเชี ยงใหม่ โดยการหมั้นหมายเป็ นกรณี พิเศษ เหตุการณ์ เหล่านี้ ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยนัก เป็ นภาพสะท้อนบริ บททางสังคมว่ายังมีกลุ่มตระกูลที่นอกเหนื อจากกษัตริ ย ์ มี โอกาสถ่ายเทอานาจกันได้ สถานภาพขรัวตาขรัวยายกับการเลื่อนชั้นทางสังคม ขรั ว ตาขรั ว ยาย เป็ นค าที่ ใ ช้เ รี ย กชื่ อ บิ ด าและมารดาของเจ้า จอมมารดาในกษัต ริ ย ์แ ละวัง หน้า นอกจากนี้ ย งั มี ขรั วจาขรั วยายบางท่านที่ มีหลานเป็ นเจ้า ฟ้ า จะเรี ย กว่าขรั วยายเจ้า ฟ้ า ได้รับพระราชทาน เกียรติยศเป็ นกรณี พิเศษ โดยขรัวตาขรัวยายรุ่ นแรกๆ ของกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ส่วนใหญ่จะอยูใ่ นราชิ นิกุลบาง ช้าง
ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีขรัวตาขรัวยายจากหลายตระกูลขุนนาง แต่มีขรัวตาขรัวยายจากบางสายตระกูล เท่านั้นที่ มีปัจจัยครบถ้วน เอื้อต่อการส่ งเสริ มสถานภาพทางสังคมของขรั วตาขรัวยาย โดยส่ วนใหญ่สกุล ต่างๆมักจะเป็ นขรัวตาขรัวยายของพระเจ้าลูกเธอเพียง 1-2 พระองค์เท่านั้น สถานภาพของนางในผูเ้ ป็ นที่ไว้วางพระราชหฤทัย นางในทรงโปรด นางในผูใ้ ห้กาเนิ ดพระเจ้าลูก เธอ หรื อสถานภาพทางสังคมของพระเจ้าลูกเธอ มีขรัวตาขรัวยายหลายท่านได้รับเกียรติยศ ได้รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์โดยสอดคล้อง กับชีวติ ทางสังคมของเจ้าจอมที่เป็ นลูกสาวหรื อหลานสาว และพระเจ้าลูกเธอ เกียรติยศหรื อเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ จะพระราชทานแก่บิดามากกว่ามารดาของฝ่ ายใน แต่หากเป็ น ฝ่ ายในชั้นพระภรรยาเจ้า การพระราชทานแก่มารดาก็เด่ นชัดกว่าชั้นเจ้าจอม การพระราชทายเกี ยรติยศที่ สอดคล้องกันระหว่างพระเจ้าลูกเธอ นางในและญาติใกล้ชิด โดยเฉพาะขรัวตาขรัวยายสะท้อนให้เห็นถึงการ เลื่อนสถานภาพทางสังคมของสมาชิกร่ วมเครื อญาติ เป็ นสภาพที่เกิดจากฝ่ ายใน ในฐานะผูเ้ จือจานอานาจจาก ผูป้ กครองสู งสุ ดมาสู่ ผมู ้ ีฐานะต่ากว่าในสังคม กลุ่มเครื อญาติของชนชั้นสู งจะต้องมีสมาชิ กฝ่ ายชายรับราชการในตาแหน่งสาคัญ โดยกลุ่มเหล่านี้ จะมีสัมพันธ์กบั ราชวงศ์โดยการถวายผูห้ ญิงเพื่อแต่งงาน แม้กษัตริ ยจ์ ะไม่นบั ญาติใครอย่างเป็ นทางการ แต่ก็ มีความสัมพันธ์ที่เอื้อประโยชน์ต่อกัน
สถานภาพ พฤติกรรม และสั ญลักษณ์ในวิถีชีวติ ของนางใน เราได้เ ห็ น ถึ ง ภาพของสตรี ฝ่ ายในในฐานะตัว แทนกลุ่ ม ชนชั้ น ปกครองที่ ถู ก ส่ ง เข้า ไปเจริ ญ ความสัมพันธ์กบั กษัตริ ย ์ ถือเป็ นการสร้างพันธมิตรทางการเมืองโดยการแต่งงาน โดยนางในหลายๆ ท่านก็ มาจากตระกูลที่มีสถานะต่างกัน จากความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งตระกู ล ต้น สั ง กัด สตรี ฝ่ ายในและส านัก แสดงให้ เ ห็ น ว่ า การเลื่ อ น สถานภาพของฝ่ ายในต้อ งอาศัย ปั จ จัย ผลัก ดัน 2 ส่ ว นคื อ ความสั ม พัน ธ์ ข องตระกู ล กับ ส านั ก และ ความสัมพันธ์ส่วนตัวของสตรี กบั ฝ่ ายในกับเจ้าสานัก ซึ่ งเป็ นความสัมพันธ์เชิ งอุปถัมภ์ที่เจ้าสานักเปรี ยบ เหมือนผูใ้ หญ่ที่ให้ที่พกั พิง
ความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างเจ้าสานักกับนางในปกครอง อาจเป็ นจุดเปลี่ยนให้กบั นางในบางคนได้ ทั้งนี้เพราะความโปรดปราน ความมักคุน้ การเรี ยกใช้สอยอยูบ่ ่อยๆ อาจะเปลี่ยนสถานะนางในเหล่านี้ ให้เป็ น ภรรยากษัตริ ยไ์ ด้
กระบวนการเลื่อนสถานภาพของนางใน การเลื่อนสถานภาพที่ได้จากบทบาทการเป็ นภรรยา เราต่างทราบกันดี ว่าการเลื่ อนชั้นเป็ นนางในที่ ต่างกันนั้นมาจากปั จจัยพื้นฐานตัวหนึ่ งคือ ภูมิหลัง ทางสังคม ดังนั้น เราจะแสดงให้เห็ นว่าการมี ภูมิหลังทางสังคมที่แตกต่างกันจะส่ งผลต่อชี วิตของเจ้าจอม อย่างไรบ้าง ชี วิตของเจ้าจอมเพิ่มผูเ้ ป็ นธิ ดาของขุนนางชั้นผูน้ อ้ ย ตั้งแต่เริ่ มฝากตัวจนกระทัง่ เป็ นเจ้าจอมอยูง่ าน ต้องผ่านการฝึ กอบรมความรู ้ ความสามารถจากหลากหลายสานัก ทาให้ท่านไม่มีสังกัดถาวร และสานักที่ ท่านผ่านการฝึ กอบรมนั้น ก็ไม่ใช่สานักที่มีบทบาทสาคัญอย่างไรเลย ในขณะที่ชีวติ ทางสังคมของนางในที่มีบทบาทสาคัญอย่างเจ้าคุณจอมมารดาแพจะได้รับโอกาสทาง สังคมที่เหนือกว่า โดยเมื่อท่านโกนจุกแล้วในอายุ 13 ปี เจ้าคุณปู่ ปรารภกับบิดาของท่านอยากให้ลูกผูห้ ญิงใน ตระกูลนี้ได้ทางานราชการบ้าง จึงทาให้ท่านผูห้ ญิงอ่วมผูเ้ ป็ นป้ าพาไปฝากเจ้าจอมมารดาเที่ยง พระสนมเอก ในรัชกาลที่ 4 ก่อนจะไปอยูส่ ังกัดของพระองค์โสมทรงฝึ กสอนกิ ริยามารยาท และเมื่อเสด็จไปสู่ ที่สมาคม ฝ่ ายใน ก็ให้ถือพีบหมากเสวยตามเสด็จด้วย การถือหี บหมากเสวยตามเสด็จ เป็ นโอกาสให้รัชกาลที่ 5 เมื่อครั้งยังไม่ได้ครองราชย์ ทอดพระเนตร เห็นท่านที่วงั หน้า จึงตรัสขอพระองค์ใหญ่โสม พระองค์โสมใหญ่จึงชวนเจ้าคุณจอมมารดาแพไปดูงานพิธีวิ สาขบูชา ที่วดั พระศรี รัตนศาสดาราม ทาให้ท้ งั สองได้พบเจอ เมื่อรัชกาลที่ 5 ตรัสขออีกครั้งก็ไม่ทรงขัดขวาง แต่กลับบอกให้เจ้าตัวรู ้ดว้ ย พระองค์จึงนาของกานัลพระราชทานเจ้าคุณจอมมารดาแพอยูต่ ลอด เมื่อเจ้าคุณปู่ รู้จึงเรี ยกตัวเจ้าคุณจอมมารดาแพกลับไปอยูบ่ า้ น รัชกาลที่ 5 ทรงเศร้าโศกไม่เป็ นอันเสวยหรื อเข้าเฝ้ าแทน จึง มีการขอพระราชทานแต่ตอ้ งกาฤกษ์เตรี ยมการถวาตัว และคอยให้พระยาสุ รวงศ์ไวยวัฒน์ผเู ้ ป็ นบิดากลับมา จากยุโรปก่อน โดยพิธีการถวายตัวเป็ นไปอย่างสมเกียรติสมฐานะ
การเลื่อนสถานภาพจากการมีลูก -ลูกกับความมัน่ คงในชีวติ แม่ การให้กาเนิ ดพระเจ้าลู กเธอ มี ส่วนทาให้เกิ ดความมัน่ คงต่อชี วิตของนางใน ซึ่ งรั ชกาลที่ 5 ทรง ตระหนักถึ งตรงนี้ ดี พระราชหัตถเลขากล่ าวแสดงความคิดเห็ นของรัชกาลที่ 5 ที่มีต่อนางในทรงโปรด 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่มีลูกแล้ว เมื่อสิ้ นแผ่นดินก็จะมีลูกดูแล ฉะนั้นจึงไม่เป็ นห่ วง อีกกลุ่มหนึ่ งคือกลุ่มนางในที่ยงั ไม่มีลูก ทรงห่วงเพราะไม่แน่นอนว่าอนาคตจะเป็ นอย่างไรเมื่อถึงคราวผลัดเปลี่ยนรัชกาล นอกจากนี้ ยงั ทรง ยอมรับว่า คงมีเจ้าจอมลาออกไปมีสามีใหม่ หากเป็ นเจ้าจอมที่ทรงยกย่องมาก พระองค์เกรงว่าจะเสี ยพระ พักตร์ ที่ผคู ้ นทัว่ ไปจะรู ้สึกว่าไม่ทรงสามารถเลี้ยงดูไปได้ตลอดรอดฝั่ง ตกต่าจนต้องแต่งงานใหม่ การเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ แสดงว่าสถานภาพของนางในที่ไม่มีลูกนั้นตาแหน่งจะไม่คงทนถาวร แต่จะ เปลี่ยนไปตามฐานะของผูช้ ายคือกัตริ ย ์ -ลูกกับการเลื่อนสถานภาพของแม่ การเลื่ อนสถานภาพกับการมีลูกนั้น ปรากฏผลใน 2 ด้านคือ ลูกจะเป็ นหลักค้ าจุนของแม่ ทั้งแม่ที่ เป็ นเจ้าและแม่ที่เป็ นสามัญชน ในทางกลับกันฐานะเดิ มของแม่ก็จะมีผลต่อสถานภาพของลูก โดยเฉพาะ ระดับสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ จะมีระดับชั้นลดหลัน่ กันตามฐานะของพระภรรยาเจ้า การเลื่อนตาแหน่งตามลูกเป็ นการยกฐานะพระราชมารดา เพื่อให้สมเกียรติพระเจ้าลูกเธอ อาจเป็ น การยกย่องโดยเฉพาะพระราชทานสิ่ งของ เครื่ องประดับ หรื อเหรี ยญที่ระลึกในวาระต่างๆ แต่ที่ชดั เจนที่สุด คือ การพระราชทานเครื่ องอิสริ ยาภรณ์ ส่ วนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของพระภรรยาเจ้า ก็คล้ายคลึ งกันกับกรณี ของนางในสามัญชน มี การสถาปนาพระภรรยาเจ้าภายหลังมีการประสู ติกาลสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเช่นกัน ที่กล่าวว่าฐานะเดิ มของแม่มีผลต่อสถานภาพของลุ กนั้น เพราะในกลุ่มพระเจ้าลูกเธอที่ประสู ติแต่ นางในสามัญชน จะมีสกุลยศพระองค์เจ้า ในขณะที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอที่ประสู ติแต่พระภรรยาเจ้าจะมีสกุล ยศสู งกว่าคือเจ้าฟ้ า โดยกลุ่มเจ้าฟ้ าก็จะมีช้ นั ยศต่างกันตามสกุลยศเดิมและตาแหน่งมเหสี เทวีของพระมารดา ในรั ชสมัย นี้ มี พระเจ้าลู กเธอพระองค์โปรดอยู่หลายพระองค์ ซึ่ งเราสังเกตได้จากรายพระนาม เจ้านายทรงกรม ซึ่ งแต่ละพระองค์ตอ้ งมีคุณสมบัติและฐานะในด้านต่างๆ กันไป
สรุ ป ชีวติ ของนางในในฐานะตัวแทนที่กลุ่มตระกูลส่ งเข้าไปเจริ ญสัมพันธ์กบั พระมหากษัตริ ยไ์ ด้สะท้อน บริ บททางสังคมรัตนโกสิ นทร์ สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่ งการเลื่อนชั้นทางสังคมของนางในและญาติใกล้ชิดนางใน ทรงโปรด การขึ้ นและตกของสมาชิ ก คนใดคนหนึ่ งในตระกูล ที่ มี ผ ลกระทบต่อญาติ โดยรวม และพลัง ความสามารถของตระกูลที่มีผลกับการเผชิ ญวิกฤติการณ์ต่างๆ เป็ นตัวอย่างแสดงว่าความสัมพันธ์ทางเครื อ ญาติเป็ นเครื อข่ายที่เป็ นพื้นฐานที่สุดในสังคม ไม่เพียงเท่านั้น ยังแสดงถึ งการใช้ระบบเครื อญาติเพื่อสร้ าง ความสัมพันธ์ต่างกลุ่มโดยการแต่งงานอีกด้วยโดยเฉพาะกับกลุ่มที่มีฐานะอานาจเหนือกว่า กรณี การเลื่ อนสถานภาพของญาตินางในทรงโปรด แสดงให้เห็นว่าการสร้างญาติจากการแต่งงาน เป็ นวิถีสาคัญสาหรับชีวติ ทางสังคมของเจ้านายและขุนนาง ในสภาพสังคมที่การฝากเนื้อฝากตัวเพื่อพึ่งพาผูม้ ี ฐานะอานาจเหนือกว่ายังมีความจะเป็ นอยู่ จากการศึกษาตระกูลต่างๆ ปรากฏว่าแต่ละตระกูลจะบรรลุสู่เป้ าหมายอานาจต่างกัน สถานภาพของ กลุ่ มตระกูล แสดงให้เห็ นความสามารถของผูน้ ากลุ่ ม ซึ่ งต้องสร้ า งทั้งบุ คลากรฝ่ ายหน้า และฝ่ ายในให้มี คุณภาพ จะเห็นได้ชดั ว่าบางตระกูลได้รับความมัน่ คงในระดับต้น ความเจริ ญในชี วิตของฝ่ ายหน้าขึ้นอยู่กบั ความดี ความชอบในการปฏิ บตั ิ หน้าที่ราชการ ในขณะที่ ชี วิตของฝ่ ายในจะเปลี่ยนแปลงก็ดว้ ยการเป็ นภรรยากษัตริ ย ์ ซึ่ งจะมีผลต่อสถานภาพของตนเองและสมาชิ ก ในตระกูล ชีวติ ของนางในจึงมีลกั ษณะของการให้และรับระหว่างกลุ่มอานาจในสังคม และแม้วา่ กษัตริ ยจ์ ะ ไม่ นับ ญาติ ก ับ สามัญชน แต่ ค วามสั ม พันธ์ จากการแต่ ง งานระหว่า งกลุ่ ม จะเป็ นหลัก ประกันว่า จะมี ก าร แลกเปลี่ยนผลประโยชน์กนั ในอนาคต กรณี สาคัญคือการสถาปนาพระภรรยาเจ้าจากราชสกุลลดาวัลย์ ซึ่ งเป็ นราชสกุลในรัชกาลที่ 3 น่าจะ เป็ นการสานสัมพันธภาพครั้ งสาคัญระหว่างพระราชวงศ์สายรัชกลาที่ 3 และรั ชกาลที่ 4 ที่ เคยมี ความกิ น แหนงแคลงใจกันอยู่ การรับพี่นอ้ งต่างมารดาเป็ นภรรยา ถื อเป็ นการแต่งงานในกลุ่มญาติร่วมสายโลหิ ต ลูกที่เกิดมาจะมี สถานภาพเป็ นผูก้ าเนิดดีท้ งั สองฝ่ ายทั้งฝ่ ายชนกและชนนี ถือเป็ นสายเลือดบริ สุทธิ์ ในการสื บสันติวงศ์ แสดง ให้เห็นถึงการรักษาเผ่าพันธุ์ในวงศ์วาน
การแต่งงานในกลุ่มชนชั้นนาสมัยรัชกาลที่ 5 จึงเป็ นภาพของการดิ้นรนกันเป็ นกลุ่มเพื่อก้าวสู่ อานาจ ด้วยการสร้ างความสัมพันธ์ทางเครื อญาติอนั เป็ นระบบต่อรองเชิ งมิตรภาพระหว่างกลุ่ม ซึ่ งช่ วยผ่อนคลาย ความตึงเครี ยดในหลายสถานการณ์ มองจากสถานภาพของกษัตริ ย ์ จะเห็นว่าการให้ทางเศรษฐกิจและสังคมแก่นางในและญาติเป็ นการ ทาให้ได้รับกลุ่มรับใช้และจงรักภักดีเพิ่มขึ้น การรับลูกหลานของเจ้านายหรื อขุนนางผูใ้ หญ่มาอยูฝ่ ่ ายใน มีผล ให้ผถู ้ วายคาปรึ กษาลดบทบาทผูช้ ้ ีแนะลง รัชกาลที่ 5 จึงมีญาติที่เกี่ยวดองกันทางพฤตินยั รัชกาลที่ 5 จึงเป็ น กษัตริ ยท์ ี่ทรงอานาจมากที่สุดพระองค์หนึ่ ง อีกทั้งในกาลต่อมา ยังมีแรงสนับสนุ นจากบรรดาพระราชโอรส ที่เจริ ญพระชนม์และมีการสมรสกันในหมู่พระญาติใกล้ชิด พ.ศ.2453 ชี วิตนางในในฐานะลูกหลานตระกูล ฐานะผูม้ ีบทบาทในสานัก และการเป็ นภรรยาใน ลาดับต่างๆ ได้จบสิ้ นลง หลังการสวรรคตของรัชกาลที่ 5
สรุ ปบทบาทของชายหญิงที่ปรากฏในหนังสื อเรื่ อง “นางใน สถานภาพ พฤติกรรม และสัญลักษณ์ ในวิถีชีวติ ของสตรี ฝ่ายในสมัย ร.5” เพศชาย -เพศชายจะเป็ นไพร่ สมเมื่ออายุ 18 ปี ก่อนที่จะถู กปลดเป็ นไพร่ หลวงเมื่ ออายุ 20 ปี โดยจะมี อายุ ราชการจนถึง 60 ปี -เมื่อรับราชการเพศชายจะมีอนาคตทางราชการที่ดีกว่าเพศหญิง -เพศวิถีของพระมหากษัตริ ย ์ และขุนนางในสมัย ก่ อนนั้นมี ความเชื่ อ คื อ การมี ภรรยาในจานวน มากๆ ช่วยเสริ มสร้างบารมีให้แก่ตวั เอง -ความเชื่ อเรื่ องเก็บสะสมกาลังคน เพราะกาลังคนมีประโยชน์กว่าทรัพย์สิน มูลนายจึงพยายามเก็บ ไพร่ สมเอาไว้กบั ตัวเอง -ตระกูลบุนนาคเป็ นตระกูลเดียวที่บุตรชายสามารถสื บต่อตาแหน่งเจ้าพระยาจากบิดาได้โดยตรง -ผูท้ ี่มีสิทธิ์ ครองราชย์ในรัชกาลต่อไปสมควรที่จะเป็ นผูช้ ายตามที่ได้กาหนดเอาไว้ เพศหญิง -เพศหญิงหากเป็ นชาวบ้านจะได้ทางานที่หนักหนา แต่หากเข้าวังก็จะได้ทางานที่ชาววังเขาทากัน หากถูกพ่อหรื อแม่นาไปแลกกับเจ้าขุนมูลนายต่างๆ ก็จะเป็ นบ่าวไพร่ ให้เขา -เมื่อเข้าวังหากได้รับราชการจะถือว่าดี แต่หากได้เป็ นภรรยากษัตริ ยจ์ ะทาให้พ่อแม่และญาติมีเกียรติ มากขึ้น แต่หากเป็ นภรรยาที่ไม่โปรดปรานก็ยากที่จะทาให้พ่อแม่ละญาติอยู่ดีกว่าเดิ ม ในทางที่หญิงนั้นมี ตระกูลที่ดีสามารถทาให้คนในตระกูลนั้นเลื่อนขั้นก็เป็ นได้ -ความเชื่ อ ที่ ว่ า เพศหญิ ง เป็ นส่ ว นหนึ่ งที่ เ สริ ม บารมี ข องพระมหากษัต ริ ย ์ และขุ น นางในยุ ค รัตนโกสิ นทร์ -เมื่อมีลูกสาว ไม่วา่ จะเป็ นผูท้ ี่มียศถาบรรดาศักดิ์หรื อไม่มีก็พาลูกเข้าวังไปอยูใ่ นสังกัดที่ตนเองรู ้จกั ให้ได้ หากมีแววก็อาจได้รับราชการ
-การมีลูกชายเป็ นสิ่ งที่ภรรยากษัตริ ยต์ อ้ งการมีมากที่สุด หรื อการเป็ นคนที่ทรงโปรดปรานจะทาให้ มีฐานะทางตระกูล หรื อเสริ มบารมีให้กบั ตนเองมากขึ้น -การที่ภรรยากษัตริ ยม์ ีบุตร บุตรนั้นจะทาให้ผเู ้ ป็ นมารดาเลื่ อนสถานภาพ และทาให้ชีวิตของผูเ้ ป็ น มารดาเกิดความมัน่ คงได้เช่นกัน -การให้ลูกสาวของตนเองได้แตงงานกับกษัตริ ยก์ ็เพราะมีผลประโยชน์ที่เอื้อต่อกันระหว่างตระกูล ขุนนางและกษัตริ ยใ์ นอนาคตข้างหน้า -การที่เป็ นนางในหากมีตระกูลที่ดีจึงทาให้เข้าเฝ้ าพระมหากษัตริ ย ์ และมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันอย่าง รวดเร็ ว อาจจะเพราะมี ต ัว น าการสื่ อ สาร แต่ ห ากบุ ค คลนั้ น เป็ นเพี ย งสามัญ ชนธรรมดา การเข้า ถึ ง พระมหากษัตริ ยก์ ็ยาก หากใช้ความสามารถของตนเองก็ทาให้ง่ายได้เช่นกัน -ว่ากันตามกฎหมายแล้วสตรี ในสังคมไทย จะเป็ นฐานะที่ตอ้ งอ้างอิงบุคคลในครอบครัวตลอดเวลา ต้องมีผรู้ ักษาที่เป็ นญาติหรื อผูท้ ี่อาวุโสกว่า ตามที่กฎหมายได้ระบุเอาไว้ -สตรี อยูห่ ลายฐานะ เช่น ลูก เมีย และแม่ในฐานะที่เป็ นลูก จะถูกพ่อหรื อแม่นามาขายเมื่อไหร่ ก็ได้ ตามกฎหมายเก่า แม้จะมีการออกกฎหมายใหม่แต่สตรี ก็ยงั อยูใ่ นปกครองของผูร้ ักษาอยูด่ ี -สตรี ยงั มี บทบาทในฐานะภรรยา โดยตามกฎหมายยังมีการแบ่งภรรยาเป็ นระดับชั้นต่างๆ กันไป เพราะค่านิยมในอดีตของไทยนิยมมีภรรยาหลายคนเพื่อเสริ มฐานะทางการเมืองของบุคคลนั้นๆ -พระโอรสและพระราชธิ ดา หรื อบุ ตรและธิ ดา ก็จะมีฐานะสู งต่ าต่างกันตามฐานะของสตรี ที่เป็ น ภรรยาเช่นกัน
บรรณานุกรม พรศิริ บูรณเขตต์. สถานภาพ พฤติกรรม และสั ญลักษณ์ ในวิถีชีวติ ของสตรีฝ่ายในสมัย ร.5. กรุ งเทพฯ : ฐานบุค๊ ส์, 2552.