Magazine

Page 1

วัดพระธาตุหริ ภญ ุ ชัย วรมหาวิหาร ข้ อมูลทัว่ ไป วัดพระธาตุหริ ภญ ุ ชัยวรมหาวิหาร ตังอยู ้ ใ่ จกลางเมืองลำพูน ห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ 150 เมตร มีถนนล้อมรอบ สี่ด้าน คือ ถนนอัฏฐารสทางทิศเหนือ ถนนชัยมงคลทางทิศใต้ ถนนรอบเมืองทาง ทิศตะวันออก และถนนอินทยงยศทางทิศ ตะวันตก สร้ างขึ น้ เมื่ อ พ.ศ. 1651 ในรั ชสมัยพระเจ้ าอาทิ ตยราช ต่อมาได้ รับการบูรณะต่อเติ มมาเป็ นลำดับภายในบริ เวณ วัดพระธาตุหริภญ ุ ไชย ยังมีสงิ่ ที่นา่ สนใจ คือ ซุ้มประตู ก่อนทีจ่ ะเข้ าไปในบริเวณวัด ต้ องผ่านซุ้มประตูกอ่ อิฐ ถือปูนประดับลวดลายวิจติ รพิสดาร เป็ นฝี มอื โบราณสมัยศรีวชิ ยั ประกอบด้ วยซุ้มยอดเป็ นชันๆ ้ เบื ้องหน้ าซุ้มประตูมีสงิ ห์ใหญ่ คูห่ นึง่ ยืนเป็ นสง่า บนแท่น สูงประมาณ 1 เมตร สิงห์คนู่ ี ้ปั น้ ขึ ้นใน สมัยพระเจ้ าอาทิตยราช เมื่อทรงถวายวังให้ เป็ นสังฆาราม วิหารหลวง เมือ่ ผ่านซุ้มประตูเข้ าไปแล้วจะเห็นวิหารหลังใหญ่ เรียกว่า “วิหารหลวง” เป็ นวิหารหลังใหญ่มพี ระระเบียงรอบด้ าน และมีมขุ ออกทังด้ ้ านหน้ าและด้ านหลัง เป็ นวิหารทีส่ ร้ างขึ ้นใหม่ แทนวิหารหลังเก่า ซึง่ ถูกพายุพดั พังทลายไปเมื่อ พ.ศ. 2466 วิหารหลวงใช้เป็ นทีบ่ ำเพ็ญกุศล และประกอบศาสนากิจทุกวันพระ ภายในวิหารประดิษฐานพระปฏิมาใหญ่ ก่ออิฐถือปูน ลงรักปิ ดทอง บนแท่นแก้ วรวม 3 องค์ และพระพุทธ ปฏิมาหล่อโลหะขนาดก ลางสมัยเชียงแสนชันต้ ้ น และชันกลางอี ้ กหลายองค์ พระบรมธาตุหริภญ ุ ไชย เป็ นพระเกศบรมธาตุบรรจุในโกศทองคำ ประดิษฐานในพระเจดีย์ (ตังอยู ้ ่ หลังวิหารหลวง) เป็ นเจดียแ์ บบ ล้ านนาไทยแท้ๆ ทีล่ งตัวสวยงาม ประกอบด้วยฐานปัทม์ แบบฐาน บัวลูกแก้ ว ย่อเก็จ ต่อจากฐานบัวลูกแก้ วเป็ นฐานเขียงกลมสามชัน้ ตังรั้ บองค์ ระฆังกลม บัลลังก์ยอ่ เหลี่ยม เจดี ย์ มี ลักษณะ ใกล้ เคี ยงกับ

พระธาตุ ด อยสุ เ ทพที ่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ สู ง 25 วา 2 ศอก ฐานกว้าง 12 วา 2 ศอก 1 คืบ มีสัตติ - บัญชร (รัวเหล็ ้ กและทองเหลือง) 2 ชัน้ สำเภาทองประดิษฐานอยูป่ ระจำรัว้ ชันนอกทั ้ งทิ ้ ศเหนือ และทิศใต้ มีซ้ ุมกุมภัณฑ์ และฉั ตรประจำสี่ มุม และหอคอย ประจำทุกด้ านรวม 4 หอ บรรจุพระพุทธรูปนัง่ ทุกหอ นอกจากนี ย้ ังมีโคมประทีป และแท่นบูชาก่อประจำไว้ เพื่อ เป็ นที่สกั การะบูชาของพุทธศาสนิกชนทัว่ ไป พระบรมธาตุนี ้นับเป็ นปูชนียสถานอันสำคัญยิ่งในล้ านนา ไทยมาตังแต่ ้ สมัยโบราณ ในวันเพ็ญ เดือน 6 จะมีงานนมัสการ และสรงน้ ำพระธาตุทุกปี ตามประวัตกิ ล่าวเมื่อ พ. ศ. 1440 พระเจ้ าอาทิตยราชกษัตริ ย์วงศ์รามัญผู้ครองนคร ลำพูนได้สร้ าง มณฑปครอบโกศทองคำบรรจุพระบรมธาตุไว้ ภายในและมีการ สร้ างเสริ มกันต่อมาอีกหลาย สมัยต่อมาในปี พ.ศ. 1986 พระเจ้าติโลกราช กษัตริยค์ รองนคร เชียงใหม่ได้ ทรงกระทำการปฏิสงั ขรณ์บรู ณะ เสริมองค์พระเจดีย์ ขึ ้นใหม่ การสร้ างคราวนี ้ได้ สร้ างโครงขึ ้นใหม่เป็ นรูปแบบลังกา ซึง่ ปรากฏอยูใ่ นปั จจุบนั นี ้ ทังนี ้ ้เพราะในสมัยพระเจ้ าติโลกราช ได้ มีความสัมพันธ์กบั ลังกาอยูม่ าก พระสุ ว รรณเจดี ย์ สร้ างขึ น้ ในสมั ย พุ ท ธศตวรรษที ่ 17 ตังอยู ้ ท่ างขวาของพระบรมธาตุ สร้ างขึ ้น โดยพระนางปทุมวดี อัครมเหสีของพระเจ้ าอาทิตยราช ภายหลังเมื่อสร้ างพระธาตุฯ เสร็ จแล้วได้ 4 ปี พระสุวรรณเจดีย์องค์นี ้เป็ นรูปแบบพระปรางค์ 4 เหลี่ยม ฝี มือช่างละโว้ มีพระพุทธรูปประจำซุ้ม ฝี มอื และแบบข อมหลงเหลือให้เห็นอยูบ่ ้าง ยอดพระเจดี ย์ มี ทองเหลื องหุ้ มอยู่ ภายใต้ฐานชันล่ ้ างเป็ นกรุบรรจุพระเปิ ม ซึง่ เป็ นพระเครือ่ งชนิดหนึง่ เรื่ องราวในจารึกได้ กล่าวถึงพระเมืองแก้ วกับพระราช มารดา ของพระองค์ได้ ร่วมกันบำเพ็ญพระราชกุศลอันยิง่ ใหญ่สถาปนา หอไตรปิ ฎกหรือหอพระธรรมมณเฑียร เป็ นสถานทีเ่ ก็บรักษาคัมภีร์ พระไตรปิ ฎกครบทัง้ 85,000 พระธรรมขันธ์ พร้อมทังอรรถกถาฎี ้ กา และอนุฎกี ารวมทังสิ ้ นเป็ ้ นคัมภีร์ 420 พระคัมภีรซ์ ง่ึ เป็ นพระคัมภีรใ์ บ ลานทังหมด ้ ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของหอไตรหลังนีมี้ ลกั ษณะ เช่นเดียวกับหอไตรของวัดพระสิงห์ และวัดเชียงมัน่ จังหวัดเชียงใหม่ ซึง่ ถือว่าเป็ นแบบทีน่ ยิ มสร้ างกันทัว่ ไปในดินแดนล้ านนาสำหรับ หอไตรวัดพระธาตุหริภญ ุ ชัยหลังนี สร้ ้ างเป็ น อาคารสองชัน้ ชันล่ ้ าง ก่ออิฐถือปูน ชันบนเป็ ้ น อาคารเครือ่ งไม้ ตัวอาคารหอไตร ตังอยู ้ บ่ นฐานขนาดใหญ่ซง่ึ มีบนั ไดขึนทางด้ ้ านหน้า สองข้างบันได


มีสงิ ห์โตหินประดับทีห่ วั เสา ตัวอาคารหอ ไตรชันล่ ้ างทีก่ อ่ ด้วยอิฐถือปูนมีประตูทาง เข้าทางเดียว ส่วนชันบน ้ เป็นเครือ่ งไม้ทำเป็นบันไดนาค เล็กๆ ตังอยู ้ ด่ ้านหน้าบนประตูทางเข้ าชัน้ ล่างตัวอาคารมีการประดับด้วยไม้แกะสลัก ปิ ดทองประดับกระจก อย่างสวยงาม มีมขุ ทังด้​้ านหน้าและด้ านหลัง หลัง คาลดชัน้ ประดับด้ วยช่ อฟ้ าใบระกา หางหงส์ หลังคามุงด้วยแผ่นดีบกุ พระธาตุประจำปี เกิด ตามความเชือ่ ของชาวล้านนานัน้ เชือ่ กันว่า มีพระธาตุประจำปี เกิดตามนักษัตร รวมทังหมด ้ 12 แห่ง มีพระธาตุประจำปี เกิดตามนักษัตร รวมทังหมด ้ 12 แห่ง วัดพระธาตุหริภญ ุ ชัยก็เป็ นวัดประจำปี ของ คนเกิดปี ระกา (ปี ไก่) ชื่อของวัดพระธาตุหริ ภญ ุ ชัย ชื่อของวัดพระธาตุหริ ภญ ุ ชัยมาจาก ชือ่ ของเมืองหริภญ ุ ชัย ตามทีพ่ ระพุทธองค์ ได้ทรงพยากรณ์ไว้เมือ่ ครังเสด็ ้ จมาบิณฑบาต ในสมัยพระพุทธกาล ได้แวะรับ และฉันลูก สมอที่ชาวลัว๊ ะนำมาถวาย โดยได้ ทรง พยากรณ์ไว้ตอนนันว่ ้ า สถานทีแ่ ห่งนี ้จะมี ผู้มาสร้างเมืองและตังชื้ อ่ ว่า“หริ ภญ ุ ชัยนคร” และในกาลต่อมาก็มี ฤาษี 2 องค์ ชือ่ ว่า วาสุเทพ และ สุกกทันตะ ได้รว่ มกันสร้างเมือง ณ สถานที่ แห่ งนี ้ และให้ ชื่ อเมื องว่ า หริ ภญ ุ ชัยนคร ในปี พ.ศ. 1204 สมจริ ง ตามคำพยากรณ์ของพระพุทธองค์ทกุ ประการ หริภญ ุ ชัยนคร แปลว่าเมืองทีพ่ ระพุทธเจ้า เคยเสวยลูกสมอ (หริ แปลว่ า สมอ, ภุญชัย แปลว่า เสวย, นคร แปลว่า เมือง) ส่วนพระบรมธาตุนนั ้ แต่เดิมเก็บรักษา ไว้ ในกระบอกไม้ รวกและใส่ ไว้ ในโกศ แก้ วอีกชันหนึ ้ ง่ ต่อมากษัตริยผ์ ้คู รองนคร ลำพูนทุกพระองค์กไ็ ด้ บรู ณะและพัฒนา

ขึนตามลำดั ้ บ โดยเปลี่ยนจากโกศแก้ ว เป็ นโกศทอง และเปลีย่ นเป็ นมณฑป ในทีส่ ดุ เป็ นเจดีย์ มีการขยายขนาดเจดียใ์ ห้ ใหญ่ขึ ้นเรื่อยๆ จนกระทัง่ สูงถึง 25 วาครึง่ กว้าง 12 วาครึง่ ดังปรากฏให้ เห็นอยู่ทุกวันนี แ้ ละเรี ยก ชื่อว่า “วัดพระธาตุหริ ภญ ุ ชัย” ประเพณีที่สำคัญของวัด 1.ประเพณีสรงนำ้พระธาตุ จะเริ่มจัดขึ ้นในวันขึ ้น 13 ค่ำ เดือน 6 ของทุกปี รวม 7 วัน 7 คืน โดยน้ำศักดิส์ ทิ ธิ์ ทีจ่ ะนำมาใช้สรงน้ำพระธาตุนนจะนำมา ั้ จากบ่อน้ำทิพย์บนยอดดอยขะม้ อ ซึง่ อยู่ นอกเมืองออกไปประมาณ 10 กิโลเมตร กลางคืน จะมีการจัดแข่งขันจุดบอกไม้ เพลิงเพื่อถวายเป็ นพุทธบูชา 2.ประเพณีตงธรรม ั้ งานประเพณีตงธรรมนี ั้ ้จะจัดขึ ้นในวิหาร หลวงโดยปกติจะเริ่มจัดในวันขึ ้น 11 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี รวม 5 วัน 5 คืน 3.ประเพณีสงกรานต์ งานนีเป็้ นงานประเพณีมมี าแต่โบราณกาล ของภาคเหนือโดยจะจัดขึนในกลางเดื ้ อน เมษายนของทุกปี รวม 4 วัน ซึง่ ชาวพุทธ จะนิยมนำสิง่ ของไปทำบุญที่วดั นมัสการพระธาตุฯ และไปไหว้สถูป อัฐขิ องบรรพบุรษุ เพือ่ เป็ นศิรมิ งคล แก่ตนเอง 4 . ประเพณีกินสลาก เป็ นประเพณีเก่าแก่ ซึง่ จะจัดขึ ้น ในวั น เพ็ ญ เดื อ น 10 ของทุ ก ปี โดยจะนิมนต์พระมารับสลากภัตร มากกว่า 2,000 รูป เป็ นพิธีทำบุญ ถวายของอีกรูปแบบหนึง่ ที่ใช้ วิธี ให้ พระจับสลากเครื่ องไทยทาน เหล่านัน้ 5.ประเพณีทานข้ าวใหม่ เป็ นประเพณี สำคัญซึ่งทุกปี จะ จัดในวันเพ็ญเดือน 4 โดยชาวบ้ าน

จะนำข้ าวสารซึง่ เป็ นข้ าวใหม่เพิง่ จะเสร็จ จากการเก็บเกีย่ วจากทุง่ นามาถวายพระ เพื่อถวายเป็ นพุทธบูชา การเดินทาง ท่านสามารถขับรถส่วนตัวมาทางถนน สาย 114 แล้ วเข้ ามาทางตัวเมืองลำพูน เมือ่ เจอตัวเมืองให้เลียวขวาขั ้ บตรงไปเรือ่ ยๆ ก็จะเจอวัดพระธาตุอยูฝ่ ่งั ซ้ายมือของท่าน อีกนิดก่อนจาก เมือ่ ทุกท่านเข้ าไปถึงองค์พระธาตุแล้ว ต้ องทำพิ ธี เวี ยนเที ยนตอนกลางวัน โดยเดินเวียนเทียนรอบพระธาตุ 3 รอบ ด้วยกันเพือ่ เสริมสิรมิ งคล และให้พรทีข่ อนัน้ ประสบผลสำเร็จ ตอนกลางวันแดดร้อนมากๆ แต่พทุ ธศาสนิกชนทังหลายก็ ้ ไม่ท้อ พร้ อม เดินเวียนเทียนกันด้วยใจ และแรงศรัทธา ในพระพุทธศาสนาขอบอกว่าน่าเลือ่ มใส มากๆ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.