สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

Page 1

ISBN : 978-616-11-0638-6

สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยงโรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนภูมิปญญาการแพทยแผนไทย

โรคเบาหวาน

ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สำนักการแพทยพื้นบานไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สมุนไพรพื้นบ้าน ลดความเสี่ยง

โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สำนักการแพทยพื้นบานไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนจากกองทุนภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ISBN : 978-616-11-0638-6

1


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยงโรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน ที่ปรึกษา นายแพทยสุพรรณ ศรีธรรมมา แพทยหญิงวิลาวัณย จึงประเสริฐ นายแพทยประพจน เภตรากาศ นายแพทยปภัสสร เจียมบุญศรี นางเสาวณีย กุลสมบูรณ

อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก อธิบดีกรมการแพทย นายแพทยทรงคุณวุฒิ (ดานสาธารณสุขสาขาพัฒนาระบบบริการทางการแพทย) รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ผูอำนวยการสำนักการแพทยพื้นบานไทย

บรรณาธิการ เรือตรีหญิงธนิดา ขุนบุญจันทร

นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

ผูชวยบรรณาธิการ นางฉันทนา กระภูฤทธิ์ นางสาวสิริลดา พิมพา

นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

กองบรรณาธิการ ผศ.ดร.สุนีย จันทรสกาว ศ.เกียรติคุณ ดร.ไมตรี สุทธจิตต นายสุธน พรบัณฑิตยปท มา พันโทหญิงสุวิไล วงศธีระสุต นางสาวอรจิรา ทองสุกมาก นางสาวกมลทิพย สุวรรณเดช นางสาวณฤดี ไชยายงค นางสาวรวิวรรณ นาคะอุไร

คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คณะวิทยาศาสตรการแพทย มหาวิทยาลัยพะเยา นักวิชาการอิสระ ผูท รงคุณวุฒดิ า นภูมปิ ญ ญาการแพทยพนื้ บานไทย นางสาวอรพินท ครุฑจับนาค นายอาทิตย กระออมแกว นางสาวอัญชัน พรมธิมา นางสาววราภรณ ดอนแกว นางสาวจันทรา แทนกระโทก

พิมพครั้งที่ 1

โดยสำนักการแพทยพื้นบานไทย สงวนสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 เดือน กันยายน 2554 จำนวน 5,000 เลม ถายภาพ นายคำผล แกวภูงา นางสาวภราดร สามสูงเนิน นางสาวสิริรักษ อารทรากร นางสาววรรณนรี เจริญทรัพย ออกแบบ บานสวนศิลป โทร 0 2921 5052 พิมพที่ โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพมหานคร

2


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

คำนำ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ป 2550-2554 ไดเนนใหมีการใชภูมิปญญา การแพทยแผนไทยและสมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น ซึ่งสอดคลองกับนโยบายรัฐมนตรีวาการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่องการสงเสริมและสนับสนุนการใชภูมิปญญาการแพทยพื้นบานไทยใหประชาชนใช เปนทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพเพื่อพึ่งตนเอง ควบคูไปกับการแพทยแผนปจจุบัน โดยเนนในดานการ สงเสริมสุขภาพและฟนฟูสภาพเปนหลักสำคัญ กรมพั ฒ นาการแพทย แ ผนไทยและการแพทย ท างเลื อ ก จึ ง ได จั ด ทำสื่ อ เผยแพร ส มุ น ไพรพื้ น บ า น ลดความเสี่ยงโรคเบาหวานตามภูมิปญญาของหมอพื้นบานขึ้น ซึ่ ง เนื้ อ หาในหนั ง สื อ ฉบั บ นี้ กรมพั ฒ นาการแพทย แ ผนไทยและการแพทย ท างเลื อ ก โดยสำนั ก การแพทยพื้นบานไทยไดรวบรวมเนื้อหาองคความรูจาก 2 สวนที่สำคัญ คือ เนื้อหาวิชาการ ซึ่งไดมาจากการ รวบรวมโดยศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร. ไมตรี สุทธจิตต และคณะ และเนื้อหาดานภูมิปญญาของหมอ พื้นบาน ที่ไดมาจากการรวบรวมและจัดระบบองคความรูจากหมอพื้นบานทั้ง 4 ภาค ซึ่งเปนภูมิปญญาดั้งเดิม ที่มีการนำมาใชในการดูแลสุขภาพคนในชุมชนตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน แตองคความรูเหลานี้ยังไมเคยมีการ ศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตรมากอน จึงเปนการรวบรวมองคความรูที่สั่งสมมานานและยังคงนำมาใชกันจนถึง ปจจุบัน ใหเปนทางเลือกในการดูแลสุขภาพของคนไทย ซึ่งเลมนี้ เปนหนึ่งในจำนวน 7 เลม ที่ไดนำขอมูลทั้ง 2 สวน มาจัดทำสื่อเผยแพรจนเสร็จสมบูรณ เพื่อใหผูที่สนใจไดนำไปปรับใชในวิถีชีวิตของตนเอง คณะผูจัดทำหวังวาหนังสือเลมนี้ จะเปนประโยชนสำหรับผูสนใจ รวมทั้งเปนความรูเบื้องตนเพื่อให นักวิชาการ นักวิจัย ผูสนใจ ไดนำไปศึกษาและพัฒนาตอยอด สำหรับวงการแพทยและสาธารณสุขของไทย ตอไป และหากพบขอบกพรองประการใดหรือมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับสื่อเผยแพรเลมนี้ ขอไดโปรดแจงสำนัก การแพทยพื้นบานไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก เพื่อปรับปรุงแกไขในโอกาสตอไป (นายแพทยสุพรรณ ศรีธรรมมา) อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

3


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

4


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สารบัญ คำนำ บทนำ 1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับโรคเบาหวาน 1.1 ชนิดของโรคเบาหวาน 1.2 ระบาดวิทยา 1.3 มีอาการอยางไร จึงจะเรียกวาโรคเบาหวาน 1.4 ปจจัยเสี่ยงที่ทำใหเปนเบาหวาน 2. สมุนไพรพื้นบานตามภูมิปญญาของหมอพื้นบาน 2.1 ความหมายสมุนไพรพื้นบาน 2.2 กลุมสมุนไพรพื้นบานที่มีเสนใยอาหารและลดน้ำตาลได - วานหางจระเข - เทียนเกล็ดหอย - แมงลัก - ลูกสำรอง - บุก - ขาวกลอง - ปญจขันธ - มะระ - อบเชย - ผักเชียงดา

5

3 9 9 10 11 11 12 13 13 14 16 19 22 26 30 35 38 41 44 47


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

- ลูกซัด - ตำลึง - กระเทียม - อินทนิลน้ำ 2.3 กลุมสมุนไพรพื้นบานที่ใชเปนสารใหความหวาน - หญาหวาน - มะกล่ำตาหนู - ชะเอมเทศ 2.4 กลุมสมุนไพรพื้นบานตานอนุมูลอิสระ - มะขามปอม - สมอไทย - มะเมา - มะเกี๋ยง - ชาเลือด - บัวบก - ผักติ้ว - พลูคาว - มะรุม - มะละกอ - ยอ - ชะพลู - ผักหวาน - โสน

6

51 54 58 60 63 63 66 69 72 74 77 80 83 86 89 92 95 99 103 106 111 116 121


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

- ผักปลัง - ชะมวง - ผักไผ - มะกอก - กระถิน - ยานาง - เทา - กระเจี๊ยบแดง - หมอน - อัญชัน 2.5 กลุมสมุนไพรอื่นๆ ที่แนะนำสำหรับการดูแลสุขภาพผูปวยเบาหวาน - มะเขือพวง

125 129 132 135 139 142 146 150 154 159 162 163 บทสรุป 167 เอกสารอางอิง 168 ภาคผนวก 169 1. ความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบาน 170 1.1 ชนิดของตนไม 170 1.2 ศัพทเฉพาะ 171 1.3 หนวยตวงวัด 171 2. คณะทำงานจัดทำเนื้อหาสมุนไพรพื้นบานลดความเสี่ยงโรคเบาหวาน ตามภูมิปญญา 173 ของหมอพื้นบาน

7


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

8


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

บทนำ 1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับโรคเบาหวาน โรคเบาหวาน เป น โรคที่ มี ค วามผิ ด ปกติ ข องร า งกายในการนำน้ ำ ตาลไปใช เ ป น พลั ง งาน ซึ่งโรคเบาหวานเปนสาเหตุสำคัญอันดับแรกที่ทำใหเกิดโรคไตวายเรื้อรัง เปนปจจัยสำคัญที่ทำให เกิดโรคของหลอดเลือดตีบตันไดในทุกสวนของรางกาย โรคอัมพฤกษอัมพาตจากเสนโลหิตสมองตีบ โรคหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงปลายมือปลายเทาอุดตัน และยังเปนสาเหตุของตาบอดจากทั้งเบาหวาน ขึ้นตา และโรคตอกระจกไดอีกดวย โรคเบาหวานจะทำใหเกิดอาการหลายโรคในคนเดียวกัน การดูแล รักษาสุขภาพแบบองครวม จะชวยชะลอความเสื่อมของรางกาย ลดการเกิดอาการโรคแทรกซอน ในผูปวยเบาหวานได

ภาพแสดงผูปวยเบาหวานเทาเปนแผลเนา อาจถูกตัดขาในไมชา

9


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

1.1 ชนิดของโรคเบาหวาน โรคเบาหวาน เปนภาวะที่รางกายขาดอินซูลินหรือนำอินซูลินไปใชไมได มีผลทำใหเกิดภาวะ ผิดปกติของการเผาผลาญคารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ทำใหน้ำตาลในเลือดสูงกวาปกติ ซึ่งกอให เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบตางๆ ของรางกาย คือ เกิดภาวะแทรกซอนเฉียบพลัน และเกิดภาวะ แทรกซอนเรื้อรัง โรคเบาหวานแบงเปน 4 ประเภท คือ 1) โรคเบาหวานชนิดที่ 1 หรือ โรคเบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน เกิดจากการที่ภูมิตานทานของ รางกายทำลายเซลลที่สรางอินซูลินในตับออน ทำใหรางกายไมสามารถสรางอินซูลิน ผูปวยในกลุมนี้ สวนใหญมักเปนในเด็กและจะไมอวน 2) โรคเบาหวานชนิดที่ 2 หรือ โรคเบาหวานชนิดไมพึ่งอินซูลิน สาเหตุที่แทจริงยังไมทราบ ชัดเจน แตมีสวนเกี่ยวของกับพันธุกรรม นอกจากนี้ยังมีความสัมพันธกับภาวะอวน การรับประทาน อาหารที่มีไขมันสูง มีน้ำหนักรางกายมากเกิน การขาดการออกกำลังกาย และวัยที่เพิ่มขึ้น เซลลตับ ออนของผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ยังคงมีการสรางอินซูลิน แตทำงานไมเปนปกติเนื่องจากมีภาวะ ดื้อตออินซูลิน 3) โรคเบาหวานชนิ ด อื่ น ๆ เปนภาวะเบาหวานที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆ โดยทราบสาเหตุที่ แนนอน เชน เกิดจากการใชยา ภาวะโรคบางอยาง เปนตน - ยาที่ทำใหระดับน้ำตาลในเลือดสูง ไดแก ยาในกลุมสเตียรอยด ยาขับปสสาวะบางชนิด - ภาวะโรคบางอย า ง เช น โรคของตั บ อ อ น ที่ ท ำให เ กิ ด การทำลายของตั บ อ อ น ได แ ก การอักเสบของตับออน มะเร็งตับออน 4) โรคเบาหวานในระยะตั้งครรภ เปนภาวะความผิดปกติที่รางกายไมสามารถใชกลูโคสได อยางปกติ หรือมีความทนตอการใชกลูโคส ซึ่งจะไดรับการวินิจฉัยครั้งแรกขณะตั้งครรภ พอคลอดแลว ความผิดปกติจะหายเองได แตก็อาจเปนโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ไดหากไมดูแลสุขภาพ

10


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภาพแสดงจอเรตินาของดวงตามีเลือดออกและ คั่งในจอภาพตา อาจทำใหตามัว และตาบอด 1.2 ระบาดวิทยา องคการอนามัยโลกไดรายงานวา ในป พ.ศ. 2548 ทั่วโลกมีคนเปนโรคเบาหวานประมาณ 246 ลานคน อัตราเกิดโรคจะเพิ่มขึ้นทุกป และคาดการณวาภายในป พ.ศ. 2568 จำนวนผูปวยเอเชีย จะเพิ่มขึ้น 170% ในประเทศไทยพบผูปวยโรคเบาหวานประมาณ 1.4 ลานคนจากประชากรทั้งหมด 62 ลานคน และสวนใหญประมาณ 95 % เปนโรคเบาหวานชนิดที่ 2 1.3 มีอาการอยางไรจึงจะเรียกวาโรคเบาหวาน องคการอนามัยโลกไดประกาศเกณฑของการวินิจฉัยเบาหวานในป พ.ศ.2541 โดยมีราย ละเอียดดังนี้ 1. มีอาการแสดงของเบาหวาน รวมกับคาของน้ำตาลในเลือดเวลาใดก็ได มากกวาหรือ เทากับ 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (1 เดซิลิตร =100 ซีซี) 2. มีน้ำตาลในเลือดหลังงดอาหารและน้ำทางปากเปนเวลา 8 ชั่วโมง โดยมีคาน้ำตาลในเลือด มากกวาหรือเทากับ 126 มิลลิกรัม/เดซิลิตร 3. การตรวจสอบความทนทานต อ กลู โ คส (glucose tolerance test) มี ค า สู ง คื อ หลั ง รับประทานกลูโคสแลว 2 ชั่วโมงจะพบวามีระดับน้ำตาลในเลือดมากกวาหรือเทากับ 200 มิลลิกรัม/ เดซิลิตร

11


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

1.4 ปจจัยเสี่ยงที่ทำใหเปนเบาหวาน แมวาเบาหวานเปนโรคจากพันธุกรรม แตผูที่มีประวัติครอบครัวเปนโรคเบาหวาน ก็ไม จำเปนตองเปนโรคเบาหวานกันทุกคน ซึ่งปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคเบาหวานมีหลายปจจัย ไดแก การมีน้ำหนักตัวเกินหรือเปนโรคอวนและการไมออกกำลังกาย ทำใหมีไขมันสะสมมาก ในเซลล เปนอุปสรรคตอการทำงานของอินซูลิน จึงเกิดภาวะดื้อตออินซูลินไดงาย การรับประทานอาหารไมถูกสัดสวน หรือการรับประทานอาหารที่มีไขมันและน้ำตาล มากกวาที่รางกายตองการใช จะมีผลทำใหอวัยวะตางๆ ในรางกายตองทำงานหนักใน การเผาผลาญ พอนานเขาจึงเกิดความเสื่อม การสูบบุหรี่ มีผลตอการทำงานของอวัยวะตางๆ ในรางกายและทำใหการเผาผลาญ พลังงานผิดปกติ ความดันโลหิตสูง และ/หรือการมีไขมันในเลือดผิดปกติ โรคของตับออน การตั้งครรภ การสังเคราะหฮอรโมนชวงตั้งครรภมีมาก อาจสงผลตอการทำงานของ อินซูลิน ทำใหเปนเบาหวานขณะตั้งครรภได ยาบางชนิด เชน ยาขับปสสาวะ ยาคุมกำเนิดบางชนิด ความเครียด ทำใหการทำงานของรางกายแปรปรวน จึงทำใหระดับน้ำตาลในเลือดสูงได การรักษาโรคเบาหวานจะตองอาศัยการควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และการใชยา ควบคูไปดวย ในปจจุบันการใชสมุนไพร หรือผลิตภัณฑเสริมสุขภาพ หลายๆ ชนิดสงผลตอระดับ น้ำตาลในเลือด ในขณะที่พืชสมุนไพรและผักพื้นบานอีกหลายชนิดสามารถชวยลดการเกิดภาวะ แทรกซอนของโรคเบาหวานได แตก็ตองระมัดระวังในการใชรวมกับการรักษาดวยยาแผนปจจุบัน

12


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน บาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้​้าน

2. สมุนไพรพื้นบานตามภูมิปญญาของหมอพื้นบาน สำหรับเนื้อหาภูมิปญญาของหมอพื้นบานเกี่ยวกับ สมุ น ไพรพื้ น บ า นลดความเสี่ ย งโรคเบาหวานเล ม นี้ ได ร วบรวมองค ค วามรู จ ากประสบการณ จ ริ ง ของ หมอพื้นบาน 4 ภาค ซึ่งไดสืบทอดความรูจากบรรพบุรุรุษ โดยวิธีการศึกษา จากคัมภีรและตำราตางๆ ในอดีต ซึ่งคั งคัมภีรและตำราเลมนี้ในแตละภาค มี จำนวนและปริมาณการใชคลายคลึงกัน จะแตกตางกันบางในเรื่องเทคนิคการปรุงยาและวิธีการ ใช เปนตน ตัวอยางเชน ภาคเหนือ มีการใชคัมภีรเภชังค เปนตำราที่มีตำรับยาใชรักษาโรคแทบ ทุกชนิดตั้งแตเด็กอยูในทองจนถึงคนชราในการดูแลผูปวยโรคเรื้อรัง คัมภีรวิจัยโรคายะ เปน ตำราที่ใชในการวินิจฉัยโรคแทบทุกชนิดของไทยใหญทางภาคเหนือ สวนทางภาคอีสาน ใช คัมภีรของพอดวง แสนแกว เปนตำรับยารักษาโรคติดตอเรื้อรังเปนหลัก ภาคกลาง ใชคัมภีรสมุด ขอยบรรพบุรุษของหมอบุญยืน ผองแผว เนนตำรับยาบำบัดโรคแทบทุกชนิด คัมภีรภูมิปญญา แพทยพื้นบานของหมอนอย เนนตำรับยารักษามะเร็งทุกชนิดเปนหลัก ภาคใต ใชคัมภีรพระ มานพ กิตติรณโณ (วัดโพธิ์ทับมณี อ.เมือง จ.เพชรบุรี) เปนตำราเกี่ยวกับยารักษาโรคมะเร็งและ โรคเรื้อรังอื่นๆ เชน อัมพฤกษ เหน็บชา เปนตน 2.1 ความหมายของสมุนไพรพื้นบาน สมุนไพรพื้นบาน หมายถึง พืชผักพื้นบาน หรือพรรณไมพื้นเมืองในทองถิ่นที่ชาวบานนำ มาบริโภคเปนผักตามวัฒนธรรมการบริโภคของทองถิ่น จากแหลงธรรมชาติ สวนนาไร หรือชาวบานนำ มาปลูกไวใกลบานเพื่อสะดวกในการเก็บมาบริโภค สมุนไพรพื้นบานนอกจากจะเปนแหลงธรรมชาติของวิตามินและเกลือแรที่สำคัญแลว ยังมี คุณคาทางดานยาสมุนไพรที่หมอพื้นบานนำมาใชรักษาโรคได

13


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ในการเลื อ กใช พื ช ผั ก และสมุ น ไพรในการดู แ ลสุ ข ภาพนั้ น ควรเป น สมุ น ไพรที่ มี ข อ มู ล สนับสนุน หรือมีประวัติการใชตอเนื่องกันมา เนื่องจากองคประกอบสำคัญที่พบในพืชผักและสมุนไพร นั้นเปนสารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ ประกอบกับในแตละสวนของพืช อายุพืช และฤดูกาลในการเก็บเกี่ยว ที่แตกตางกันมีผลทำใหปริมาณสารสำคัญแตกตางกันดวย ดังนั้นการนำพืชผักและสมุนไพรมาใช ประโยชนควรมีหลักเกณฑ คือ ใชใหถูกตน ถูกสวน เก็บถูกฤดูกาล ใชใหถูกขนาด ใชถูกวิธี จึงจะทำให ไดรับประโยชนจากการใชพืชผักและสมุนไพรนั้นตามสรรพคุณโดยไมเกิดการเปนพิษ นอกจากนี้แหลง ที่มาของพืชผักและสมุนไพร ควรเปนแหลงปลูกที่มีมาตรฐาน เชน เกษตรอินทรีย เพื่อปองกันการปน เปอ นของยาฆาแมลงและโลหะหนัก 2.2 กลุมสมุนไพรพื้นบานที่มีเสนใยอาหารและลดน้ำตาลได พืชผักและสมุนไพรที่เปนเสนใยอาหารหรือ ไฟเบอร เปนกลุมหนึ่งที่มีคุณสมบัติในการลด น้ำตาลในเลือด

ส ว นวิ ธี ก ารรวบรวมเนื้ อ หาเล ม นี้ ซึ่ ง เป น หนึ่ ง ในจำนวน7เล ม ได ม าจากการจั ด เวที แลกเปลี่ยนความรูและประสบการณหมอพื้นบานในชุมชนแตละภาค จากตัวแทนหมอพื้นบาน ทั้ง 4 ภาค โดยมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ทั้งสิ้น 5 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 เปนการแบงกลุม หมอพื้นบาน 4 ภาค ตามความถนัดของการใชสมุนไพรในการดูแลผูปวย นำสูตรตำรับยาที่ใช จริงในชุมชน มาประกอบในขอมูลทางวิทยาศาสตรของ ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.ไมตรี สุทธจิตต และคณะ ครั้งที่ 2 – 4 ใหหมอพื้นบานทั้งหมดจาก 4 ภาค รวมพิจารณาสูตร/ตำรับยา ในเชิงเหตุและผล โดยเนนประเด็นสำคัญ เชน กลุมผูปวยที่ตองการใชสมุนไพรในการดูแล สุขภาพ สรรพคุณการใชกับผูปวย สวนประกอบของสมุนไพรในสัดสวนที่เหมาะสมกับผูปวย วิธีการปรุงยา การรับประทาน รวมทั้งขอควรระวังในการใช เปนตน ซึ่งสูตรตำรับใดเห็นวาไม 14


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

เหมาะสม เกรงวาจะไมปลอดภัยตอผูปวยหรือผูนำไปใชจากการอานหนังสือเลมนี้ ก็จะคัดออก ไป โดยในแตละประเด็นหมอพื้นบานแตละทานไดแสดงความคิดเห็นจนเปนที่ยอมรับของ ทุ ก คนจึ ง จะนำมารวบรวมองค ค วามรู เ ป น ฐานข อ มู ล ในครั้ ง สุ ด ท า ย ได เ ชิ ญ ผู บ ริ ห ารใน กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก หมอพื้นบานและนักวิชาการที่เกี่ยวของ กับสมุนไพร มารวมพิจารณาใหขอเสนอแนะในดานการไดมาซึ่งขอมูลที่มีหลักฐานใชในการ อางอิงได จึงถือไดวาเนื้อหาของขอมูลที่ไดรวบรวมในเลมนี้ เปนขอมูลที่นาเชื่อถือ และเปน ประโยชนตอผูที่สนใจ ทั้งอาจารยจากสถาบันการศึกษา นักวิชาการ นักศึกษา และเจาหนาที่ ผูเกี่ยวของ สามารถที่จะนำองคความรูดังกลาวไปใชในการศึกษาวิจัยเพื่อพิสูจนประสิทธิผลของ ตำรับยาเหลานี้วาไดผลจริงหรือไม อยางไรจึงถือไดวาเปนฐานขอมูลที่สำคัญ และเปนจุดเริ่มตน ที่ดีในการพัฒนาตอยอดองคความรูของหมอพื้นบานเหลานี้ใหเปนที่นาเชื่อถือและยอมรับของ ประชาชนในอนาคตมากขึ้นและอาจเปนทางเลือกหนึ่งที่การแพทยแผนปจจุบันสามารถนำมา ประยุกตใชในการดูแลผูปวยโรคเรื้อรังไมติดตอไดอีกทางหนึ่ง ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับสมุนไพร ดังตอไปนี้

15


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ว่านหางจระเข้ ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น วานไฟไหม หางตะเข

16


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ว่านหางจระเข้ แหลงที่พบ สวนที่ใช

ในประเทศไทยพบปลูกทั่วไป ปลูกมากที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ วุนจากใบ

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน เปนสมุนไพรรสจืดเย็น ในสมัยโบราณใชวุนของวาน หางจระเขทาปูนแดงแลวปดลงบนขมับแกปวดศีรษะ

ตัวอยางตำรับอาหาร ในประเทศไทยมีการนำวุนจากวานหางจระเขมาทำเปน ลอยแกว หรือวุนแชอิ่ม นอกจากนั้นยัง มีเครื่องดื่มน้ำวานหางจระเข ซึ่งมีการทำเปนอุตสาหกรรมบรรจุกระปอง สวนผสมในการเตรียมน้ำวานหางจระเข ใบวานหางจระเขที่มีขนาดใหญ โตเต็มที่ 1 ใบ (250 กรัม) น้ำสะอาด 3 ถวยตวง ใบเตยสด 2-3 ใบ สารใหความหวาน เชน หญาหวาน วิธีปรุง 1. นำใบเตย 2-3 ใบ และหญาหวานพอประมาณ ตมในน้ำสะอาด พอเดือด กรองเอากากออก ทิ้งไวใหเย็น 2. นำใบวานหางจระเขมาปอกเปลือก ลางน้ำใหยางสีเหลืองออกใหหมด ใสเครื่องปน เติม น้ำใบเตยที่เตรียมไว ปนใหละเอียด กรองดวยผาขาวบาง 3. ใสขวดเก็บไวในตูเย็น ควรดื่มภายใน 2 วัน

17


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ วุนวานหางจระเขชวยลดระดับน้ำตาลในเลือด โดยพบวา หลังจากรับประทานวุนวานหางจระเข ครั้งละ 15 ซีซี วันละสอง ครั้งเชาและกอนนอนเปนเวลา 6 สัปดาห สามารถชวยลดระดับ น้ำตาลในเลือดได

ขอควรระวัง ในการนำวุนวานหางจระเขมารับประทาน เมื่อปอกเปลือก แลว จะตองลางยางสีเหลืองออกใหหมด เพราะในน้ำยางมีสารที่ ทำใหแพ และอาจเกิดอาการทองเสียได

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ มีฤทธิ์ลอมตับดับพิษ บำรุงตับ แกตับพิการ สวนประกอบ 1. วุนวานหางจระเข 1 ถวย 2. น้ำตาลทรายแดงพอประมาณครึ่งถวย วิธีทำ ลางปอกเปลือกวานหางจระเข และลางเอายางสีเหลืองที่มีพิษออก หั่นเปนชิ้นเล็กๆ วิธีรับประทาน รับประทานพรอมน้ำตาลทรายแดงเล็กนอย รับประทานเฉพาะมื้อกลางวัน เปน อาหารหวาน รับประทานติดตอกัน 5 วัน ขอควรระวัง ไมควรรับประทานในมื้อเย็น เพราะมีรสเย็นอาจทำใหเปนตะคริวได

18


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

เทียนเกล็ดหอย ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น

-

19


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

เทียนเกล็ดหอย แหลงที่พบ สวนที่ใช

ตนกำเนิดอยูที่อินเดียและปากีสถาน เมล็ด

วิธีการใช นำเมล็ดเทียนเกล็ดหอย 1-2 ชอนชา ผสมน้ำ 1 แกว แชน้ำใหพองเต็มที่ รับประทาน ตอนเชาหรือตอนเย็น

คุณคาตอสุขภาพ องคประกอบสำคัญที่พบคือเสนใยอาหารที่ละลายน้ำ ชวยลดระดับน้ำตาลในเลือดหลังมื้อ อาหาร และชวยชะลอการดูดซึมน้ำตาลที่ลำไส พบวาเทียนเกล็ดหอยสามารถลดระดับน้ำตาลหลังมื้อ อาหารได 14% - 20% ในผูปวยเบาหวานประเภทที่ 2 ปริมาณที่กำหนด

15 กรัม/วัน โดยรับประทานพรอมอาหาร

ขอควรระวัง หลีกเหลี่ยงในผูปวยที่มีปญหาเกี่ยวกับทางเดินอาหาร เชน โรคลำไสอุดตัน และปญหาเกี่ยวกับ การกลืน และตองดื่มน้ำอยางเพียงพอ

20


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ ขับลม บำรุงธาตุ ชวยทำใหเลือดเย็น ลดน้ำตาลในเลือด สวนประกอบ 1. เทียนเกล็ดหอย หนัก 5 บาท 2. บอระเพ็ด หนัก 10 บาท 3. หัวแหวหมู หนัก 5 บาท วิธีทำ ตำหรือบดทั้งหมดรวมกัน ใหเปนผง แลวตักมา 1 ชอนกาแฟ ผสมน้ำรอน ครึ่งแกวกาแฟ วิธีรับประทาน รับประทานครั้งละ ครึ่งแกวกาแฟ วันละ 3 เวลา กอนอาหาร เชา-กลางวัน-เย็น รับประทานไดทกุ วัน

21


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

แมงลัก ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น กอมกอขาว มังลัก อีตู

22


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

แมงลัก แหลงที่พบ สวนที่ใช

ในประเทศไทยพบปลูกทั่วไป เมล็ด

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน ใชเปนยาระบาย

ตัวอยางตำรับอาหาร น้ำเม็ดแมงลัก สวนผสม เม็ดแมงลัก 5 กรัม (1 ชอนชา) น้ำสะอาด 1 แกว หญาหวาน พอประมาณ (ทดแทนน้ำตาล) วิธีปรุง 1. นำหญาหวานพอประมาณ ใสในภาชนะที่ทนความรอน เติมน้ำสะอาด นำไปตั้งไฟ ตมพอเดือด จากนั้นกรองกากออก 2. นำเม็ดแมงลักที่เลือกเอาเศษผงออกใสในน้ำหญาหวานที่เตรียมไว คนใหเขากัน 3. ปลอยใหเม็ดแมงลักพองตัว จนมีลักษณะเปนเมือกขาวใส ตรงกลางจะมีสีดำ

23


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ เม็ดแมงลักประกอบดวยสารคารโบไฮเดรตหลายชนิด ซึ่งสามารถพองตัวได 45 เทา และพบวา เม็ดแมงลักมีสรรพคุณเปนยาระบายชนิดเพิ่มกากอาหาร นอกจากนี้ เมือกยังสามารถชวยหลอลื่นให อุจจาระออนตัว สามารถขับถายไดสะดวกยิ่งขึ้น ปริมาณที่กำหนด 1-2 ชอนชา แชน้ำ 1 แกว รับประทานกอนอาหาร ขอควรระวัง ถาใชเมล็ดแมงลักที่ยังพองตัวไมเต็มที่ โดยเฉพาะที่บดเปนผงแลว จะทำใหมีการดูด น้ำจากลำไสจนเกิดอาการขาดน้ำ และอาจเกิดอาการลำไสอุดตันได

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ ใชเปนยาระบาย ชวยลดน้ำตาลในเลือด สวนประกอบ 1. เม็ดแมงลัก 1 ชอนโตะ 2. น้ำ 1 แกว วิธีทำ ใชเม็ดแมงลัก 1 ชอนโตะ แชในน้ำ 1 แกว คนจนกวา เม็ดจะพองแลวดื่ม วิธีรับประทาน ดื่มกอนอาหารกลางวัน ดื่มไดทุกวัน ประมาณ 1 เดือน

24


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี ลดคควาามเ มเสีสีส่ย่ง โโรคเบาหวาน รคเบาหวาน ตามภูมปัิปญ ั ญาขอ ญา ญาของหมอพื าขอ ของห งหมอ งหมอ มอพื อพื พื้นบ้บ้าานน

สูตร 2 สรรพคุณ ชวยลดน้ำตาลในเลือด ขับลมบำรุงธาตุ แกไข แกรอนในกระหายน้ำ(เด็กกินดี) สวนประกอบ 1. แมงลั ก ทั้ ง 5 (ราก ลำต น ใบ ดอก และผล) 1 กำมือ หรือ 30 กรัม 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมพอเดือดนาน 15-20 นาที วิธีรับประทาน ดื่มแทนน้ำ ดื่มนาน 7 วัน สูตร 3 สรรพคุณ ตำรับอาหารปองกันเบาหวาน สวนประกอบ ใบแมงลัก 1 กำมือ วิธีทำ กินเปนผักสด วิธีรับประทาน รับประทานเปนอาหาร ครั้งละ 1 กำมือ

2255


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ลูกสำรอง ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น พุงทะลาย ตนจอง

26


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ลูกสำรอง แหลงที่พบ พบหนาแน น ในทุ ก อำเภอของจั ง หวั ด จั น ทบุ รี ระยอง และตราด และพบมากที่ ป า เชิ ง เขาในอำเภอคิ ช ฌกู ฎ ของ จังหวัดจันทบุรี สวนที่ใช เนื้อหุมเมล็ด

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน ผล (เนื้อหุมเมล็ด) แกรอนในกระหายน้ำ

27


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ตัวอยางตำรับอาหาร น้ำลูกสำรอง สวนผสม ลูกสำรอง ใบเตย น้ำสะอาด หญาหวาน

30 เมล็ด 3 ใบ 2 ถวยตวง พอประมาณ

วิธีปรุง 1. นำใบเตย 3 ใบ และหญาหวานพอประมาณ ตมใน น้ำสะอาด พอเดือด กรองเอากากออก 2. นำลูกสำรองไปลางน้ำเอาเศษผงที่ติดมากับเปลือก ออก0ตั ด บริ เ วณขั้ ว ออกเพื่ อ ให แ ช น้ ำ แล ว ลอก เปลือกออกไดงาย 3. นำลูกสำรองไปแชน้ำไวจนกระทั่งเริ่มพองตัว แลวคอยๆ ลอกเปลือกออก 4. แชลูกสำรองที่ลอกเปลือกแลวในน้ำรอนประมาณ 1 ชั่วโมง เพื่อใหพองตัวงาย จากนั้น คอยๆ ลอกใยและเมล็ดออก นำเมือกจากลูกสำรองที่ไดใสตะแกรง เปดน้ำจากกอกผานจน สีของน้ำใส 5. นำเมือกจากลูกสำรองที่ไดลงไปตมในน้ำใบเตยและหญาหวานที่เตรียมไว ตมจนกระทั่งเปน วุนใสสามารถรับประทานไดทั้งแบบรอนและแบบเย็น นอกจากนั้นอาจเตรียมไดหลากหลาย เมนู เชน ผสมแปะกวย ผสมน้ำผลไม หรือ รับประทานกับน้ำลำไย เตาทึง

28


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ

เมื อ กสำรอง สามารถพองตั ว ได 10 เท า และพบว า มี ส รรพคุ ณ เป น ยาระบายชนิ ด เพิ่ ม กากอาหาร เมือกยังสามารถชวยหลอลื่นใหอุจจาระออนตัว ขับถายสะดวก หากรับประทานกอน อาหาร ชวยในการควบคุมน้ำหนัก จะเปนผลดีตอผูปวยเบาหวานประเภทที่ 2 ซึ่งมักมีภาวะอวน รวมดวย

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ แกรอนใน บำรุงตับ สวนประกอบ ลูกสำรอง และน้ำตาลทรายแดง วิ ธี ท ำ ตั ด หั ว ท า ย แช น้ ำ นำเอาเนื้ อ แยกออกจากเม็ ด แล ว ผสมน้ ำ พร อ มดื่ ม 1 แก ว ใส น้ ำ ตาล ทรายแดง 1 ชอนกาแฟ วิธีรับประทาน ดื่มกอนอาหารเที่ยง วันละ 1 แกว ติดตอกัน 7 วัน

29


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

บุก ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น กะบุก (อีสาน)

30


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

บุก แหลงที่พบ บุกเปนพืชปาลมลุกที่พบทั่วไปทุกภาคของประเทศ ขึ้นอยูตามชายปา บางทีพบตามที่นา เชน ปทุมธานี และนนทบุรี เปนตน สำหรับ บุกไข พบมากที่จังหวัดลำปาง พะเยา ตาก เชียงใหม แมฮองสอน กาญจนบุรี และ ประจวบคีรีขันธ สวนที่ใช ลำตนใตดิน

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน คนไทยมีการนำบุกมาใชเปนอาหารมาเปนเวลาชานาน โดยใชตน ใบ และหัวบุกมาทำขนม เชน ขนมบุก แกงบวชมันบุก แกงอีสาน (แกงลาว) ซึ่งการนำบุ นำบุกมาประกอบอาหารจะ แตกต า งกั น ในแต ล ะภู มิ ภ าค เช น ภาคตะวั น ออก จั ง หวั ด จั น ทบุ รี มักฝานหัวบุกเปนแผนบางๆ แลวนำมานึ่งรับประทานกับบขขาว ชาวเขาทางภาคเหนื อ มั ก นำมาป ง ก อ นรั บ ประทาน ภาคกลางมักนำหัวบุกที่ฝานเปนชิ้นบางๆ มาแชน้ำปูน กอนลางแชน้ำหลายๆ ครั้งแลวจึงนำไปทำเปนอาหาร หวาน

31


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ตัวอยางตำรับอาหาร

ยำเสนบุก สวนผสม เสนบุก 150 กรัม เห็ดฟางหั่นชิ้นเล็ก 1 ถวย เห็ดหูหนูดำหั่นชิ้นเล็ก 1/2 ถวย เห็ดหูหนูขาวแชน้ำจนนุมหั่นชิ้นเล็ก 1 ถวย เกลือสมุทร 1/2 ชอนชา มะเขือเทศหั่นชิ้นสี่เหลี่ยมเล็ก 1 ลูก มะละกอหามหั่นเสน 1/4 ถวย แครอทหั่นชิ้นสี่เหลี่ยมเล็ก 1/2 ถวย ซีอิ๊วขาว 1 ชอนชา น้ำตาลทรายแดง 1 ชอนชา ผักติ้วหรือยอดมะดันสับหยาบ 1 ชอนชา ผักสด : ผักกาดหอม ผักกาดแกว เสลดพังพอนตัวเมีย วิธีปรุง 1. ใสน้ำลงในกระทะ ใชไฟกลาง ใสเห็ดฟาง เห็ดหูหนูดำ เห็ดหูหนูขาวผัดพอสุก ใสเกลือผัด พอทั่ว ปดไฟ ใสเสนบุก คนพอเขากันทั่ว ใสมะเขือเทศ มะละกอหาม แครอท แลวปรุงรส ดวยซีอิ๊วขาว น้ำตาลทรายแดง ใสผักติ้วหรือยอดมะดัน เคลาพอทั่ว ชิมรสเค็มหวานเล็กนอย 2. ตักใสจาน โรยดวยตนหอม ผักชี หั่นฝอย พรอมรับประทานกับผักสด อาหารจานนี้ จ ะมี ร สกลมกล อ มของเห็ ด เปรี้ ย วจากผั ก ติ้ ว และใบมะดั น ซึ่ ง นอกจากจะได กลูโคแมนแนน ซึ่งเปนสารประกอบคารโบไฮเดรต ซึ่งชวยใหอิ่มและสามารถลดน้ำตาลในเลือดแลว ยังประกอบดวยสารอาหารจากผักหลายชนิดที่ใหฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ

32


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ สารสำคั ญ ในพื ช สกุ ล บุ ก คื อ กลู โ คแมนแนน ซึ่ ง เป น สารประกอบคาร โ บไฮเดรต พบว า เมื่ อ ให ค นไข โ รคเบาหวาน รับประทาน จะทำใหปริมาณน้ำตาลในเลือดลดลง

ขอควรระวัง กลูโคแมนแนนมีผลทำใหการดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมัน เชน วิตามินอี ลดลง จึงตองระวังการใชในระยะเวลานาน และในรูป แบบผงจะตองแชนำ้ ใหอิ่มตัวกอนดืม่ หรือแคปซูลตองดืม่ น้ำตามให มากพอ เนื่องจากผงบุกจะทำใหมีการดูดน้ำจากลำไสอาจทำใหขาดน้ำ และอาจเกิดอาการลำไสอุดตันได

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ ลดน้ำตาล ลดไขมัน ชวยระบาย บำรุงตับออน สวนประกอบ หัวบุกรอ หรือใบออน หรือตนออน วิธที ำ นำหัวบุกรอตมกินเหมือนเผือกมัน หรือทำเปนขนมหวาน วิธีรับประทาน รับประทานเปนอาหารคาว หวาน หรือใชใบออน ยอดออน ตนออนตมใหเปอยแลว เติมมะขามเปยกพอเปรี้ยว นำไปรับประทานกับน้ำพริก ขอควรระวัง บุกหางวัวและบุกควายไมควรนำมาใชรับประทานเพราะมีพิษคัน

33


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สูตร 2 สรรพคุณ รักษาแผลเบาหวาน หรือแผลเรื้อรังทุกชนิด สวนประกอบ 1. หัวบุกรอ หนัก 20 บาท 2. น้ำมันมะพราว 1 กิโลกรัม 3. บอระเพ็ด หนัก 20 บาท วิธีทำ นำหัวบุกรอมาปอกเปลือก นำมาหั่น แลวตำหยาบๆ ใสกระทะ เคี่ยวกับน้ำมันมะพราว ใสบอระเพ็ด (ที่ตำแหลก) ลงไปรวมกับหัวบุก เคี่ยวใหไดน้ำมันสีเหลือง (การเคี่ยว น้ำมันจะเคี่ยวจนกวาเนื้อบอระเพ็ด หรือหัวบุกแหงกรอบ) เก็บใสภาชนะแกวไว วิธีใช ทาแผลเบาหวาน (เอาผงขมิ้นผสมลงไปดวย)

สูตร 3 สรรพคุ ณ ช ว ยลดน้ ำ ตาลและไขมั น ส ว นเกิ น ในกระแสเลื อ ด เหมาะกับผูที่เปนเบาหวาน หรือผูที่ตองการลดน้ำหนัก สวนประกอบ 1. หัวบุกรอฝาน ตากแหง 1 กิโลกรัม 2. เถาบอระเพ็ดฝาน ตากแหง 1 กิโลกรัม วิธีทำ นำสวนประกอบทั้งหมดบดเปนผง อัดใสแคปซูลเบอรศูนย วิธีรับประทาน ครั้งละ 2-3 แคปซูล วันละ 3 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น และกอนนอน 34


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ข้าวกล้อง ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น -

ขาวในประเทศไทยแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ขาวเจา และขาวเหนียว ซึ่งมีลักษณะเหมือนกัน เกือบทุกอยาง แตตางกันที่เนื้อในเมล็ด ซึ่งขาวเจาประกอบดวยแปงอมิโลส ประมาณรอยละ 15-30 ใน ขณะทีข่ า วเหนียวประกอบดวยแปงอมิโลเพคตินเปนสวนใหญและมีแปงอมิโลส ประมาณรอยละ 5-7 ขาวกลอง คือ ขาวที่สีเอาเปลือก (แกลบ) ออก โดยที่ยังมีจมูกขาว และเยื่อหุมเมล็ดขาว (รำ) อยู ขาวกลองจะมีสีน้ำตาลออน

35


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ข้าวกล้อง แหลงที่พบ ในประเทศพบทั่ ว ไป โดยมี ก าร ปลูกแตกตางกันตามลักษณะพื้นที่ สวนที่ใช เมล็ด

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ ขาวกลองประกอบดวยคารโบไฮเดรตเชิงซอนแบบสมบูรณ มีเสนใยมากกวาขาวขาวถึง 15 เทา นอกจากนี้ยังเปนแหลงสารอาหาร มีวิตามินกวา 20 ชนิด และยังมีสารอาหารอื่นๆ รวมทั้งสารตาน อนุมูลอิสระอีกดวย

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ มีกากใยอาหารมาก ทำใหรา งกายดูดซึมน้ำตาลเขากระแสเลือดชา และลดอาการเหน็บชาได วิธีทำ หุงรับประทาน วิธีรับประทาน รับประทานเปนอาหาร ขอควรระวัง ควรเก็บในที่เย็นและแหง เพื่อปองกันการเกิดเชื้อรา ซึ่งอาจเปนสาเหตุหนึ่งของมะเร็ง

36


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

นอกจากพืชผักสมุนไพรที่กลาวมา ยังพบพืชผักสมุนไพรอีกหลายชนิดที่มีเสนใยอาหารใน ปริมาณมาก เชน แอปเปล กลวยสุก มะละกอสุก ซึ่งมีเพกตินมาก เมล็ดธัญพืชที่ไมขัดขาว เชน ขาวโอต รำขาวสาลี ขาวโพด เมล็ดถั่วตางๆ เชน ถั่วแดงหลวง ถั่วขาว ถั่วเขียว และผักหลากหลายชนิด เชน ผักปลัง กระเจี๊ยบ ผักกูด มะเขือพวง มะแวง พืชผักสมุนไพรบางชนิด มีสารสำคัญที่ใหฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดดวยกลไกที่แตกตางกันไป และบางชนิดแมวาจะยังไมมีขอมูลถึงกลไกการออกฤทธิ์ แตจากผลการทดลองทางคลินิกหรือในสัตว ทดลอง พบวา ชวยลดน้ำตาลในเลือดได ซึ่งนาจะเปนกลุมพืชผักสมุนไพรที่สามารถนำมาใชเพื่อการ ดูแลสุขภาพผูปวยเบาหวานดวยเชนกัน

37


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ปัญจขันธ์ ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ชาสตูลเบญจขันธ เจียวกูหลาน (จีน)

ที่มา: การพัฒนาสมุนไพรบูรณาการ

38


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ปัญจขันธ์ แหลงที่พบ

สวนที่ใช

พื ช พื้ น เมื อ งในภู มิ ภ าคเขตร อ นและเขต อบอุ น ของเอเซี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต และ กระจายพันธุไปในเขตรอนและเขตอบอุน ของโลก เจริ ญ เติ บ โตได ดี ทั้ ง ในที่ ชุ ม ชื้ น ที่โลงแจง และที่รม รวมถึงที่ราบต่ำจนถึงที่สูงจากระดับน้ำทะเล สวนเหนือดิน

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน ในประเทศจีนใชเปนยาตานการอักเสบ แกไอ ขับเสมหะ และแกหลอดลมอักเสบชนิดเรื้อรัง

ผลิตภัณฑที่มีจำหนาย ชาชง เครื่องดื่มสมุนไพรเจียวกูหลาน

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ องคป ระกอบสำคั ญเป นสารที่มี โครงสรางคลายกั บสารที่พบในโสม มีสรรพคุณช วยบำรุง ร า งกาย ช ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการสั่ ง งานของสมอง มี ฤ ทธิ์ ต า นความเสื่ อ มของร า งกายที่ มี ประสิทธิภาพสูง มีขอมูลวาเจียวกูหลานจะกระตุนใหตับออนหลั่งอินซูลิน และยับยั้งการดูดซึมกลูโคส ในทางเดินอาหาร

39


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ ลดน้ำตาล ลดความดัน และลดไขมันในเลือด สวนประกอบ ตน ยอด ใบปญจขันธ ตามตองการ วิธีทำ นำเอาตน ยอด ใบ เอามาผึ่งลมใหแหงสนิทแลว อบกรอบ(คั่วไฟออนๆ) แลวบดผงใสแคปซูลเบอรศูนย วิ ธี รั บ ประทาน รั บ ประทานครั้ ง ละ 3 แคปชู ล ก อ น อาหาร 1 ชั่วโมง เชา-กลางวัน-เย็น รับประทานไดทุกวัน ติดตอกันประมาณ 1 เดือน จะเห็นผลเปนที่พอใจ

40


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะระขี้นก ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ผักไห มะไห มะนอย มะหวย bitter gourd

41


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะระขี้นก แหลงที่พบ สวนที่ใช

เปนผักพื้นบานที่พบไดทั่วไป ใบ และผล

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน น้ำตมรากมะระขี้นกใชดื่มเปนยาลดไข บำรุงธาตุ เปนยาฝาดสมาน แกริดสีดวงทวาร แกบาดแผลอักเสบ ใบชวยเจริญอาหาร ชวยระบาย ผลกินเปน ยาขม ชวยเจริญอาหาร บำรุงรางกาย ขับพยาธิ แกตับและมามอักเสบ หรือจะคั้นน้ำมะระดื่มสัปดาห ละไมเกิน 1 แกว เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด และเปนยาระบาย

ตัวอยางตำรับอาหาร มะระขี้นกผัดไข สวนผสม มะระขี้นก น้ำมันพืช ไขไก กระเทียมสับ เกลือปน พริกไทยปน

15 2 2 2 1/2 1/2

ผล ชอนโตะ ฟอง ชอนโตะ ชอนชา ชอนชา

42


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

วิธีปรุง 1. ล า งมะระ ผ า ครึ่ ง เอาเมล็ ด ออก หั่ น บางๆ แช ใ น น้ ำ เกลื อ (น้ ำ 2 ถ ว ย ผสมเกลื อ ป น 2 ช อ นชา) เพื่อลดความขม 2. นำมะระขึ้นจากน้ำ บีบน้ำออกใหหมด 3. ใสน้ำมันพืชลงในกระทะ 1 ชอนโตะ เจียวกระเทียม พอหอม ใสมะระ ผัดพอสุก กันไวขางกระทะ 4. ใส น้ ำ มั น ที่ เ หลื อ ในกระทะ ตอกไข ใ ส ช าม เทใส กระทะ เจียวไขพอสุก คนมะระกับไขเขาดวยกัน ปรุงรสดวยเกลือและพริกไทย ตักใสจาน

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ พบวามะระมีฤทธิ์เหมือนอินซูลินและกระตุนการหลั่งอินซูลินจากเบตาเซลล เพิ่มการใชน้ำตาล กลูโคสในเนื้อเยื่อตางๆ มีรายงานการทดลองทางคลินิกในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 โดยทำการศึกษา ในอาสาสมัครจำนวน 18 และ 9 คนตามลำดับพบวาการดื่มน้ำสกัดของมะระสามารถลดระดับน้ำตาล ในเลือดไดเทียบเทากับการฉีดสารสกัดเขาใตผิวหนัง ปริมาณที่กำหนด ยังไมมีการศึกษาทางคลินิกเกี่ยวกับปริมาณที่แนะนำตอวัน

ขอควรระวัง อาจทำใหเกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำเมื่อใชรวมกับยาลดระดับน้ำตาล และหลีกเหลี่ ย ง การใชในคนที่แพพืชในวงศแตง (melon family)

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน ไมมี

43


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

อบเชย ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น -

44


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

อบเชย แหลงที่พบ อบเชยเปนไมตนพื้นเมืองในเขตรอน ของทวีปเอเชีย มีหลายชนิด เชน อบเชยเทศหรืออบเชยศรี ลังกา อบเชยจีน อบเชยญวน และอบเชยชวา เปนตน สวนที่ใช เปลือก ลำตน

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน ใชสวนของเปลือกลำตนผสมในยาหอมตางๆ แกจุกเสียด แนนทอง หรือใชทำยานัตถุเพื่อสูดดม เพิ่มความสดชื่น ลดอาการออนเพลีย แกโรคทองรวง ขับปสสาวะ ชวยในการยอยอาหาร

ผลิตภัณฑที่มีจำหนาย แคปซูล ขนาด 125 มิลลิกรัม/แคปซูล

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ ความสนใจอบเชยเพื่อใชบำบัดเบาหวานชนิดที่ 2 เริ่มตนเมื่อ 20 ปที่แลว เนื่องจากมีการคนพบ คุณสมบัติของอบเชยในการกระตุนอินซูลิน โดยมีการศึกษาทั้งในหลอดทดลองและในรางกาย ผลการ ศึกษาพบวา การใชอบเชยยังไมพบอาการไมพึงประสงค และการรับประทานอบเชยจะไดประโยชน มากที่สุดในอาสาสมัครที่มีการควบคุมระดับน้ำตาลไดไมดี ปริมาณที่กำหนด 1-6 กรัมตอวัน โดย 1 ชอนชาเทากับ 4.75 กรัม

45


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ ลดน้ำตาลในกระแสเลือด แกลม ลดไขมัน สวนประกอบ เปลือกอบเชย ตามตองการ วิธีทำ นำเปลือกมาบดเปนผง ใชเปนเครื่องเทศ หรือ อัดแคปซูล วิธีรับประทาน ใชเปนเครื่องเทศในการปรุงอาหาร หรือรับประทานแคปซูล ครั้งละ 3 แคปซูล 2 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น สูตร 2 สรรพคุณ ลดน้ำตาลในเลือด สวนประกอบ ยอดออนอบเชย วิธีรับประทาน รับประทานเปนอาหาร ใชยอดออน สีแดง รับประทานสดจิ้มน้ำพริก

46


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ผักเชียงดา ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ผักเซง

47


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ผักเชียงดา แหลงที่พบ ผักพื้นบานทางเหนือของไทย พบ ไดในประเทศอื่นเชนกัน เชน อินเดีย ศรีลังกา มาเลเซีย เวียดนาม จีน ญี่ปุน และแอฟริกา สวนที่ใช ใบ

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน ทางภาคเหนือใชใบผักเชียงดามาพอกกระหมอมรักษาไขและอาการหวัด หรือนำไปประกอบใน ตำรับยาแกไข

ตัวอยางตำรับอาหาร สวนผสม ผักเชียงดา วุนเสน ปลายาง พริกแหง หอมแดง กระเทียม เกลือ ปลารา กะป

5-7 1 5 1/2 1 1/2

เม็ด หัว กลีบ ชอนชา ชอนโตะ ชอนโตะ

48


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

วิธีปรุง 1. 2. 3. 4.

เด็ดผักเชียงดาเตรียมไว วุนเสนแชน้ำไวแลวตัดใหพอดี โขลกพริกแหง เกลือ หอม กระเทียม ปลารา กะป รวมกันใหละเอียด ตั้งหมอแกงใสน้ำพอควร ใสน้ำพริกที่โขลกไว พอน้ำเดือดใสปลายางซึ่งบิเปนชิ้นๆ ตมทิ้งไว จนน้ำขุน ใสผักเชียงดา พอเดือดอีกครั้งใสวุนเสน ชิมรสจนไดที่ แลวยกลง หากไมมีปลายาง ใชเนื้อหมูหรือกระดูกหมูแทน หากชอบมะเขือเทศก็สามารถใสลงไปได

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ ผักเชียงดาใชเปนยารักษาเบาหวานในอินเดียและประเทศในแถบเอเชียมานานกวา 2,000 ป แลว ผักเชียงดาสามารถชวยคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผูปวยเบาหวาน ทั้งชนิดพึ่งอินซูลิน และไม พึ่งอินซูลินได ผักเชียงดาคั้นน้ำสดมีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ โดยสามารถปองกันการทำลายดีเอ็นเอในเซลล เม็ดเลือดขาว ผักเชียงดามีคุณคาทางโภชนาการสูง ในยอดออนและใบออนมีวิตามินซี เบตาแคโรทีน และ สารตานอนุมูลอิสระในปริมาณสูง

ขอควรระวัง อาจทำใหเกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำเมื่อใช ร ว มกั บ ยาลดระดั บ น้ ำ ตาล ควรแจ ง ให แ พทย ผู รั ก ษา ทราบเมื่อใชรวมในการรักษา

49


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ บำรุงตับ บำรุงน้ำดี ลดน้ำตาลในเลือดไดดี สวนประกอบ 1. ใชผักเชียงดาทั้ง 5 (ราก ใบ ลำตน ผล ดอก) หนัก 30 กรัม 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมใหเดือด หลังจากน้ำเดือดแลว 15 นาที แลวนำ น้ำมาดื่ม วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกว กอนอาหาร วันละ 3 เวลา เชา-กลางวัน-เย็น รับประทาน 1 เดือน สูตร 2 สรรพคุณ ลดน้ำตาลในเลือด บำรุงน้ำดี สวนประกอบ นำทั้งตนมาผึ่งลมใหแหงแลวอบกรอบ วิธีทำ บดเปนผงใสแคปซูลเบอรศูนย (500 มิลลิกรัม) วิธีรับประทาน รับประทานครั้งละ 3 เม็ด กอนอาหาร วันละ 2 เวลา เชา-เย็น สูตร 3 สรรพคุณ ลดน้ำตาลในเลือด บำรุงน้ำดี สวนประกอบ ยอดออน ดอกออน ใบออน วิธีทำ ใชยอดออน ดอกออน ใบออนลวก จิ้มน้ำพริก วันละพอประมาณ (1 กำมือ) วิธีรับประทาน รับประทานเปนอาหารกินไดทุกวัน

50


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ลูกซัด ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น -

51


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ลูกซัด แหลงที่พบ พบมากในแถบอิ น เดี ย อเมริ ก าเหนื อ และเมดิเตอรเรเนียน สวนที่ใช เมล็ด

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน ลูกซัดถูกใชเปนสมุนไพรรักษาโรคในตำราอายุรเวทของอินเดีย ใบของตนลูกซัดนำมาใชเปนผัก ในประเทศอินเดีย ในประเทศไทยนำมาใชเพื่ออบร่ำเสื้อผา

ตัวอยางผลิตภัณฑที่มีจำหนาย แคปซูล เครื่องเทศ

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ ชะลอการดูดซึมคารโบไฮเดรต ยับยั้งการกระจายกลูโคส และอาจกระตุนการหลั่งอินซูลิน ทำให ลดน้ำตาลในเลือด ปริมาณที่กำหนด 10-15 กรัมตอวัน อาการขางเคียง ไมสบายทอง

ขอควรระมัดระวัง อาจทำใหเกิดการแพไดในผูปวยที่แพถั่วลิสง ถั่วเขียว

52


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ ชวยลดน้ำตาลในกระแสเลือด สวนประกอบ 1. ผลลูกซัด (สดหรือแหงก็ได) 3 ชอนโตะ 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมใหเดือดนาน 15-20 นาที วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 ถวยชา วันละ 2 ครั้ง กอนอาหาร เชา-เย็น เพื่อควบคุมระดับน้ำตาล ขอควรระวัง 1) ถ า ดื่ ม แล ว มี อ าการวิ ง เวี ย นให ห ยุ ด ดื่ ม ถ า หายวิ ง เวี ย นแล ว กลั บ มาลองดื่ ม อี ก ครั้ ง แลวควรสังเกตตัวเองดวย 2) ผูท มี่ อี าการทองผูก ไมควรรับประทานเพราะรสฝาดของลูกซัดอาจทำใหมอี าการทองผูกมากขึ้น

53


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ตำลึง ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ผักแคบ ผักตำนิน ผักหมลึง

54


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ตำลึง แหลงที่พบ สวนที่ใช

พบทั่วไป ใบและยอดออน

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน ตำราอายุรเวทในอินเดีย ตำลึงเปนพืชที่ใชรักษา เบาหวาน ใบใชลดอาการคัน อาการอักเสบเนื่องจากแมลงกัดตอยและพืชมีพิษ

55


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ตัวอยางตำรับอาหาร น้ำตำลึง สวนผสม ใบตำลึง น้ำมะนาว น้ำสะอาด เกลือปน หญาหวาน

20 กรัม 10 กรัม 200 กรัม 1 กรัม พอประมาณ

วิธีปรุง 1. นำหญาหวานพอประมาณ ใสในภาชนะที่ทนความรอน เติมน้ำสะอาด นำไปตั้งไฟ ตมพอเดือด จากนั้นกรองกาก ออก 2. นำใบตำลึงมาลางใหสะอาด แลวหั่นใสเครื่องปน ใสน้ำ ตมหญาหวานครึ่งหนึ่ง ปนใหละเอียด นำไปกรอง ใสน้ำ ที่เหลือคั้นเอาแตน้ำ ปรุงรสดวยเกลือ น้ำมะนาว ชิมรส ตามชอบใบและยอดอ อ นตำลึ ง นิ ย มนำไปประกอบ อาหารหลายชนิด เชน ตมจืด แกงเลียง ลวกจิ้มน้ำพริก

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ ในใบตำลึงมีกรดอะมิโน แคลเซียม ฟอสฟอรัส และพบวามีเบตาแคโรทีนสูง แมไมทราบวาสาร ชนิดใดออกฤทธิ์และกลไกเปนเชนไร แตมีขอมูลวาเปนสมุนไพรที่กระตุนการหลั่งอินซูลิน

56


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ รั ก ษาเบาหวาน ช ว ยขั บ พิ ษ และดู แ ลตั บ ใหดีขึ้น สวนประกอบ 1. เถาตำลึงแก 1 ตน (ขนาดเส น ผ า ศู น ย ก ลาง 1 นิ้ ว ขึ้ น ไป ขนาดยาว 1 คืบ) 2. น้ำ 2 ลิตร วิธีทำ สับเปนแวนๆ ตมกับน้ำ 2 ลิตร เดือดนาน 15 นาที (จับเวลาหลังน้ำเดือด) แลวใหดื่มแทนน้ำ วิธีรับประทาน ดื่มแทนน้ำไดบอยครั้ง ไมมีผลขางเคียง สูตร 2 สรรพคุณ ชวยบำรุงตับ ไต แกเบาหวาน วิธีทำ ใชสวนใบเปนผักตมจิ้มน้ำพริก หรือใสแกงเลียง หรือตมจืด ใสเห็ดหูหนูดำ วิธีรับประทาน รับประทานเปนอาหาร

57


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

กระเทียม ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น หอมเตียม กระเทียมขาว หัวเทียม

58


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

กระเทียม แหลงที่พบ สวนที่ใช

ในประเทศไทยมีการปลูกมากที่จังหวัด ศรีสะเกษ เชียงใหม ลำพูน ลำตนใตดิน หรือที่เรียกวา หัว

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน เปนสมุนไพรรสเผ็ดรอน ใชเปนยาขับลมในลำไส และใชในการรักษากลากเกลื้อน แกไอ ขับ เสมหะ ชวยยอยอาหาร

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ สารสำคัญที่ออกฤทธิ์คือ อัลลิซิน โดยจะไปกระตุนใหมีการหลั่งอินซูลินมากขึ้น หรือไปทำให อิ น ซู ลิ น อยู ใ นรู ป อิ ส ระ จึ ง ส ง เสริ ม ให มี ก ารใช น้ ำ ตาลได ม ากขึ้ น รั บ ประทานในรู ป อาหารหรื อ รับประทานหัวกระเทียมสด ครั้งละประมาณ 5 กรัม วันละ 3 ครั้ง พรอมอาหารหรือ หลังอาหาร

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ ชวยยอยอาหาร ลดไขมัน ลดความดัน ขับลม บำรุงธาตุ ชวยสมานแผลในลำไส สวนประกอบ ตนกระเทียมสด 3-5 ตน หรือหัวกระเทียมไทยสด 7 กลีบ วิธีทำ นำมารับประทานเปนเครื่องเคียงหรือนำมาผัดกับเห็ดสามอยาง (เห็ดอะไรก็ได) อยาใหรสจัด วิธีรับประทาน รับประทานเปนอาหารไดทุกวัน

59


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

อินทนิลน้ำ ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ตะแบกดำ อินทนิล Banaba

60


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

อินทนิลน้ำ แหลงที่พบ เปนพืชสมุนไพรที่ถูกใชกันมาเปนเวลานับศตวรรษแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในรูปชาชงจากใบ หรือรูปสารสกัดจากใบ เปนยารักษาโรคเบาหวาน และโรคอวน สวนที่ใช ใบ

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน ใบ รสจืด ขมฝาดเย็น ตมหรือชงน้ำรอนดื่มแกโรคเบาหวาน ขับปสสาวะ เมล็ด รสขม แกโรคเบาหวาน แกนอนไมหลับ

ผลิตภัณฑที่มีจำหนาย ชาชง ยาแบบแคปซู ล นิ่ ม ที่ มี ส ารสกั ด จากใบอิ น ทนิ ล น้ ำ เที ย บเท า 1% และมี น้ ำ มั น รำขาว เปนสวนประกอบ โดยรับประทานครั้งละ 1 เม็ด กอนอาหาร เชา และเย็น โดยรับประทานกอน อาหาร 1 ชั่วโมงครึ่ง

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ สารที่มีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดในใบของอินทนิลคือ โคโรโซลิค แอซิด (corosolic acid) มีผล ทำใหลดปริมาณน้ำตาลในเลือดได นอกจากนี้ ยังพบวา มีฤทธิ์ตานออกซิเดชั่นที่ดี และสามารถลด ความดัน และปรับการทำงานของไตโดยการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและปองกันการดื้ออินซูลิน อีกดวย

61


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ขอควรระวังในการใช ระวังการใชผลิตภัณฑที่มี โคโรโซลิค แอซิด ในเด็ก สตรี มี ค รรภ มารดาที่ ใ ห น มบุ ต รผู มี ภ าวะน้ ำ ตาลในเลื อ ดต่ ำ อยู กอนแลว

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ ขับน้ำตาล ลดไขมันในเสนเลือด สวนประกอบ 1. เปลือก ใบ เนื้อไม สามอยางรวมแลว 1 กำมือ (หรือประมาณ 30 กรัม) ยาว 1 คืบ มัดตอกสามเปาะ 2. น้ำ 2 ลิตร วิธีทำ ตมใหเดือด 30 นาที (จับเวลาหลังน้ำเดือด) วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกว วันละ 2 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น เพื่อควบคุมระดับน้ำตาล

62


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

2.3 กลุ่มสมุนไพรพื้นบ้านกลุ่มนี้ใช้แทนความหวานของน้ำตาล ในการประกอบอาหาร

หญ้าหวาน ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น -

63


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

หญ้าหวาน แหลงที่พบ หญ า หวานมี ต น กำเนิ ด ที่ ป ระเทศ ปารากวั ย หญ า หวานเริ่ ม เข า มาในประเทศไทย เมื่ อ ป พ.ศ. 2550 และปลู ก กั น มากในภาคเหนื อ โดยเฉพาะที่ จังหวัดเชียงใหม ลำพูนและเชียงราย สวนที่ใช ใบ

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ มีขอมูลวาสารสำคัญในหญาหวานอาจเพิ่มการตอบสนองตอฮอรโมนอินซูลิน หรือลดการดูดซึม กลูโคสในทางเดินอาหาร สารสกัดจากหญาหวานสามารถลดระดับน้ำตาลหลังมื้ออาหารไดประมาณ 18% ในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 สวนผลระยะยาวของหญาหวานตอผูปวยเบาหวานยังไมชัดเจน หญาหวานเปนพืชที่มีความหวานมากกวาน้ำตาล 10-15 เทา สารสกัดจากหญาหวาน “สตีวิโอ ไซด” มีความหวานกวาน้ำตาล 100-300 เทา แตไมถูกยอยใหเกิดพลังงาน สามารถใชแทนน้ำตาลใน ผูปวยโรคเบาหวาน

64


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ขอควรระวังในการใช หญาหวานเปนพืชในวงศ Asteraceae/Compositae ซึ่งเปนวงศเดียวกับ Ragweed (วัชพืชที่ ทำใหเกิดไขละอองฟาง), Marigolds (ตนไมประเภทดาวเรือง) และ Daisies (พืชไมดอกสีเหลือง ประเภทจำพวกเบญจมาศ) ผูปวยที่แพพืชเหลานี้ควรหลีกเหลี่ยงการใชหญาหวาน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ ใชแทนความหวานจากน้ำตาล สวนประกอบ ใบหญาหวาน วิธีทำ ขยี้ใบหญาหวานใสน้ำ หรือชงกับเครื่องดื่ม ในปริมาณไมเกิน 2-3 ใบ ตอครั้ง วิธีรับประทาน ใชแทนความหวานของน้ำตาลในการประกอบอาหารของผูปวยเบาหวาน

65


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะกล่ำตาหนู ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น กล่ำเครือ กล่ำตาไก มะกล่ำเครือ มะกล่ำแดง มะแดก ชะเอมเทศ

66


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะกล่ำตาหนู แหลงที่พบ เป น พื ช ที่ ขึ้ น ได ทั่ ว ไปในประเทศไทย และมักพบในที่ที่มีอากาศรอน แถบเสนศูนยสูตร สวนที่ใช ใบ

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน ราก ขับเสมหะ แกเสียงแหง ชงดื่มแกไอและหวัด

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ ใบมีสารหวานชื่ออะบรูโซไซด ซึ่งมีความหวานมากกวา น้ำตาลทราย 30 – 100 เทา และไมมีพิษ สารหวานจากใบ มะกล่ำตาหนู สามารถทนความรอนไดดี

ขอควรระวังในการใช เมล็ดและรากเปนพิษ เมล็ดมะกล่ำตาหนูเปนพืชที่มีเมล็ด สีสัน งดงามสะดุดตา เมล็ดมีพิษที่ รุนแรงมาก ถาเด็กกินเขาไปโดยรูเทาไมถึงการณก็อาจเสียชีวิตได

67


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน - รากใชตมกินบำรุงตับ - ยอด รสหวานเอียน ใชแตงรสหวานแทนน้ำตาล แตถาใสมากอาจมีฤทธิ์ เมา สูตร 1 สรรพคุณ แกตับพิการ ดับพิษภายใน บำรุงตับ ลดน้ำตาลในกระแสเลือด สวนประกอบ 1. ใชใบ เปลือก เนื้อไม ราก รวมกัน 1 กำมือ 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมกับน้ำเดือด 15-20 นาที วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 ถวยกาแฟ วันละ 2 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น

ขอควรระวัง เมล็ดมีพิษรับประทานแลวอาจทำใหตายได

68


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ชะเอมเทศ ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ชะเอมจีน กำเฉา

69


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ชะเอมเทศ แหลงที่พบ มักพบในเขตอบอุน เปนพรรณไมของจีน ใน ประเทศไทยขณะนี้ มีการปลูกจนโตบางแลว ที่จังหวัดชัยภูมิ ขอนแกน กาฬสินธุ และอุดรธานี สวนที่ใช ราก

การใชประโยชนตามภูมิปญญาพื้นบาน ชะเอมเทศมีรสหวาน สุขุม และคุณสมบัติคอนขางเย็นเล็ก น อ ย ช ว ยระบายความร อ น ขั บ พิ ษ ป อ งกั น และรั ก ษาแผลใน กระเพาะอาหาร ช ว ยย อ ยอาหาร แก ไ อ ขั บ เสมหะ ทำให ชุ ม คอ แกอาการใจสั่น แกลมชัก หมอจีนทั่วไปมักใชชะเอมเทศเขาใน ตำรับยาแกอาการไอมีเสมหะมาก คอบวมอักเสบ พิษจากฝ แผล หรือพิษจากยาและอาหาร โดยสามารถชวยระบายความรอนและขับพิษได ในสรรพคุณตำรายาไทย กลาวไวคลายกันวา ชะเอมเทศมีรสหวาน ชุมคอ แกไอ ขับเสมหะ ขับเลือดเนาเสีย บำรุงหัวใจใหชุมชื่น แกกำเดาใหเปนปกติ ใชสำหรับปรุงแตงรสยาใหกินงาย และเปน ยาระบายออนๆ รากของชะเอมมีแปงและหวานมาก ตองเก็บรักษาอยาใหแมลงมารบกวน เนื่องจากมอดและ แมลงชอบกิน ทำใหเสื่อมคุณภาพ นอกจากนี้ยังใชรากผสมยาตางๆ ชวยกลบรสยา หรือแตงยาให หวานอีกดวย

70


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ ใชเปนสารใหรสหวานทดแทนน้ำตาล ไมมีผลทำใหน้ำตาลในเลือดสูง

ขอควรระวังในการใช ชะเอมเทศมีสารที่ใหฤทธิ์คลายฮอรโมนเพศหญิงอยางออน จึงควรระวังในผูปวยที่เปนมะเร็งใน ระบบอวัยวะสืบพันธุเพศหญิง เชน มะเร็งรังไข มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเตานม

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน ไมมี

71


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

2.4 กลุมสมุนไพรพื้นบานตานอนุมูลอิสระ ในปจจุบันพบวาโรคเบาหวาน คือโรคแกกอนวัย เนื่องจากขบวนการที่ทำใหชราภาพ และ ขบวนการที่เบาหวานทำลายเซลล มีสิ่งที่เหมือนกันประการหนึ่งคือ ภาวะไกลเคชั่น เปนภาวะที่ โมเลกุลของกลูโคส เขาไปจับยึดกับโปรตีนและไขมัน เมื่อมีน้ำตาลในรางกายของเรามากเกินไป น้ำตาลจะถูกเปลี่ยนเปนสารที่เรียกวา 3-ดีออกซี-กลูโคโซน (3DG) ที่จะเขาไปจับกับโปรตีน และทำให โมเลกุลนั้นเสื่อมสภาพ ทำงานตอไปไมได หากเกิดในอวัยวะใดยอมเกิดความเสื่อมในอวัยวะนั้นๆ จึง เปนผลใหผูปวยเบาหวาน พบอาการของโรคแทรกซอนตางๆ ไดแกเสนประสาทเสื่อม โรคหัวใจวาย เฉียบพลัน ไตวาย เสนเลือดอุดตันและตาบอด เปนตน ดังนั้นในปจจุบันอนุมูลอิสระจึงนาจะเปนตัวกลางที่สำคัญของการเปลี่ยนแปลงของขบวนการ หลายๆ ขบวนการในรางกาย ภายหลังจากเกิดภาวะน้ำตาลกลูโคสในเลือดสูง ซึ่งหากระบบของการตอ ตานตออนุมูลอิสระของรางกายมีประสิทธิภาพลดลงของเซลลตางๆ ในรางกายจะถูกทำลายไดเร็วขึ้น ดังนั้นการรับประทานอาหารเพื่อเสริมสุขภาพในกลุมผูปวยเบาหวานนั้น พืชผัก สมุนไพรพื้นบานที่ให ฤทธิ์ ต า นอนุ มู ล อิ ส ระ น า จะเป น ประโยชน ใ นการช ว ยชะลอความเสื่ อ มของเซลล ลดการเกิ ด โรค แทรกซอน

72


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สารจากธรรมชาติที่มีคุณสมบัติเปนสารตานอนุมูลอิสระที่พบในพืชผักและสมุนไพรพื้นบาน ไดแก สารกลุมโพลีฟนอล ซึ่งสารในกลุมนี้นอกจากจะมีคุณสมบัติความเปนสารตานอนุมูลอิสระที่เดน ชัด โดยมีกลไกสำคัญคือการเปลี่ยนอนุมูลอิสระในรูปแบบที่มีความสามารถทำลายเซลลใหอยูในรูปที่ ไมทำใหเกิดพิษตอเซลลแลว สารในกลุมนี้ยังมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาอีกหลายประการไมวาจะเปนฤทธิ์ ในการยับยั้งเอนไซมไดหลายชนิดหรือฤทธิ์ตานการอักเสบ นอกจากสารกลุมโพลีฟนอลแลว สาร สำคัญอีกหลายๆ ชนิดในพืช ไมวาจะเปน เบตาแคโรทีน ไลโคปน วิตามินซี วิตามินอี ซีลีเนียม ที่พบใน พืชผักสมุนไพรไทยก็ลวนใหฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ ตัวอยางพืชผักสมุนไพรไทย ที่มีรายงานวามีสารตาน อนุมูลอิสระในปริมาณสูง หรือพบวามีปริมาณของสารสำคัญ วิตามิน เกลือแร ที่ใหฤทธิ์ตานอนุมูล อิสระ ดังตอไปนี้

73


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะขามป้อม ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น กำทวด กันโตด

74


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะขามป้อม สวนที่ใช

ผล

สรรพคุณทางยา ผลมะขามป อ มสด ใช รั บ ประทานเป น ผลไมแกกระหายน้ำไดเปนอยางดี นอกจากนั้น ยังเปนยาบำรุง แกหวัด แกไอ ละลายเสมหะ ขั บ ป ส สาวะ เป น ยาระบาย รั ก ษาเลื อ ดออกตามไรฟ น หรื อ จะนำมาตำให ล ะเอี ย ดผสมกั บ น้ ำ ผึ้ ง รับประทานเปนยาถายพยาธิ นอกจากนี้ มะขามปอมยังเปนสวนผสมของสูตรยาตรีผลาตามตำรับยาไทยโบราณ ซึ่งประกอบ ดวยสมอไทย สมอพิเภก และมะขามปอม

ตัวอยางตำรับอาหาร น้ำมะขามปอม สวนผสม มะขามปอม เกลือ หญาหวาน น้ำสะอาด

1 ¼ ½ 2

ถวย ชอนชา กำมือ แกว

75


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

วิธีปรุง 1. นำหญาหวานพอประมาณ ใสในภาชนะที่ทนความรอน เติมน้ำสะอาด นำไปตั้งไฟ ตมพอ เดือด จากนั้นกรองกากออก 2. นำมะขามปอมมาลางน้ำใหสะอาด แกะเมล็ดออก ใสเครื่องปน เติมน้ำหญาหวานที่เตรียม ไว ปนใหละเอียด กรองเอากากออก เติมเกลือ ตั้งไฟใหเดือด 3. สวนนี้จะไดน้ำมะขามปอมประมาณ 2 ถวย ลักษณะเปนน้ำสีนวลๆ ขุน รสหวาน เปรี้ยว เค็ม และฝาดเล็กนอย ดื่มแลวชุมคอ 4. ดื่มในรูปแบบเครื่องดื่มรอนหรือเย็นก็ได

สรรพคุณทางอาหาร ในมะขามปอม มีวิตามินซีสูงมาก และมีสาร ในกลุ ม โพลี ฟ น อล0ให ฤ ทธิ์ ต า นอนุ มู ล อิ ส ระที่ ดี นอกจากนั้น ยังพบวา มีแคลเซียมสูงดวย

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ ชวยลดน้ำตาลในกระแสเลือดและลดความดันโลหิตสูง สวนประกอบ 1. แกนมะขามปอม 1 กำมือ 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมกับน้ำ ใหเดือดนาน 15-20 นาที วิธรี บั ประทาน ดืม่ ครัง้ ละ 1 แกว วันละ 2 ครัง้ กอนอาหาร เชา-เย็น สามารถดืม่ ติดตอกันไดตลอด

76


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สมอไทย ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น สมออัพยา มะนะ

77


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สมอไทย สวนที่ใช

ผล

สรรพคุณทางยา ผล มี ร สฝาดติ ด เปรี้ ย ว0มี ส รรพคุ ณ เป น ยาระบายออนๆ แกลมปวง แกพิษรอนภายใน คุมธาตุ แก ล มจุ ก เสี ย ด0ถ า ยพิ ษ ไข 0 แก ไ ข เ พื่ อ ขั บ เสมหะ นอกจากนี้ สมอไทยยังเปนสวนผสมของสูตรยาตรีผลาตามตำรับยาไทยโบราณ ซึ่งประกอบดวยสมอ ไทย สมอพิเภก และมะขามปอม

ตัวอยางตำรับอาหาร

ผลสด รับประทานเปนผักสดกับพริกเกลือ น้ำพริกปลารา ผัดกับน้ำมัน ผัดกุง แกงคั่ว ยำผล สมอไทย หรือนำมาดองกับน้ำเกลือไวรับประทาน

คุณคาทางอาหารตอสุขภาพ สมอไทยใหฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระที่ดี

78


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุ ณ ลดน้ ำ ตาลได นิ ย มใช เ ป น ยาระบายอ อ นๆ บรรเทาอาการปวดเมื่อย ลดความดันโลหิตสูง ลดไขมัน แก รอนใน ชวยกระจายเลือด สูตร 2 สวนประกอบ 1) สมอไทย 3 กิโลกรัม 2) น้ำสะอาด 3 ลิตร 3) น้ำตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม 4) นมเปรี้ยว 200 ซีซี วิธีทำ ใชสมอไทยสด คลุกเคลากับน้ำตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม และนมเปรี้ยว 1 ขวด (ประมาณ 200 ซีซี) หมักทิ้งไว 15 วัน แลวเติมน้ำตมสุกเพิ่ม 3 ลิตร แลวจึงหมักตออีก 30 วัน แลวกรองเอาแต น้ำมาดื่ม วิธีรับประทาน ดื่มวันละ2 ชอนโตะ วันละ 3 เวลา หลังอาหาร เชา-กลางวัน-เย็น (กากที่เหลือก็ สามารถรับประทานได)

79


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะเม่า ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น เมาไขปลา

80


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะเม่า สวนที่ใช

ยอด ผล

สรรพคุณทางยา ผลมี ส รรพคุ ณ เป น ยาระบายและบำรุ ง สายตา ใบสดนำมาอังไฟเพื่อใชประคบแกอาการฟกช้ำดำเขียว เปลือกตนเมาใชเปนสวนประกอบของลูกประคบ

ตัวอยางตำรับอาหาร ใบออนและยอดออนนำมาใสแกงเพื่อใหมีรสเปรี้ยว หรือลวก ตม เปนผักจิ้ม ผลดิบสีเขียวออน ประกอบอาหารคลายสมตำ ผลแกสีแดงมีรสเปรี้ยว สวนผลแกจัดสีดำมวง มีรสหวานอมเปรี้ยว รับ ประทานเปนผลไมสด หรือนำมาทำเครื่องดื่ม รวมทั้งนำมาหมักเพื่อทำไวน

สรรพคุณทางอาหาร ในผลมะเมา มีสารอาหารที่มีคุณคาหลายชนิด ไดแก แคลเซียม เหล็ก วิตามินอี วิตามินบี 1 และบี 2 มีกรดอะมิโม และสารแอนโธไซยานิน ซึ่งใหสีมวงแดง มีฤทธิ์ทำใหเสนเลือดยืดหยุนดี โดย เฉพาะเสนเลือดที่ไปหลอเลี้ยงสายตา และยังมีคุณสมบัติเปนสารตอตานอนุมูลอิสระ ปองกันการแก ชราของเซลลและเพิ่มภูมิคุมกันอีกดวย

81


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน รสฝาด เปรี้ยว หวาน - ผลสุกกินสด เปนอาหาร - ยอดมีรสมันกินสด ชวยลดน้ำตาลไดดี จิ้มน้ำพริกหรือ แกงสมเห็ดโคน สูตร 1 สรรพคุ ณ รักษาเบาหวาน ตานมะเร็ง บำรุงไต ขับปสสาวะ แกปสสาวะพิการ(กะปริดกะปรอย) สวนประกอบ 1) มะเมา 3 กิโลกรัม 2) น้ำสะอาด 3 ลิตร 3) น้ำตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม 4) นมเปรี้ยว 200 ซีซี วิธีทำ มะเมาสะอาด 3 กิโลกรัม คุกเคลากับน้ำตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม กับนมเปรี้ยว 1 ขวด (200 ซีซี) แลวหมักทิ้งไว 15 วัน แลวเติมน้ำ 3 ลิตร (น้ำตมสุกเย็นแลว) หมักตออีก 30 วัน แลวกรองเอาแตน้ำมาดื่ม วิธีรับประทาน ดื่มวันละ1 แกวเปก (30 ซีซี) 3 เวลาหลังอาหาร เชา-กลางวัน-เย็น (กากสามารถ รับประทานได) ติดตอกัน 5-7 วัน

82


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะเกี๋ยง ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น -

83


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะเกี๋ยง สวนที่ใช

ผลสุก

สรรพคุณทางยา เปลื อ กต น และผลสุ ก นำมาใช เ พื่ อ แก ป าก เปอย คอเปอยเปนเม็ดโดยนำเปลือกตนมาตมกับ น้ำ ใชอม

ตัวอยางตำรับอาหาร ผลสุกของมะเกี๋ยงใชรับประทานเปนผลไม หรือทำเปนน้ำมะเกี๋ยง

สรรพคุณทางอาหาร พบวามีวิตามิน และกรดอะมิโนตางๆ หลายชนิด รวมถึงมีสารตานอนุมูลอิสระจำพวกโพลีฟนอล และแทนนิน นอกจากนี้ยังพบสารจำพวกฟลาโวนอยด ซึ่งใหผลในการทำใหผนังหลอดเลือดแข็งแรง จากการศึกษาในหลอดทดลอง พบวา สารสำคัญในมะเกี๋ยงชวยเสริมภูมิคุมกันแกรางกายไดดี

84


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน มะเมา มะเกี๋ยง ชมพู ลูกหวา ใชกินไดเหมือนกัน สรรพคุณเดียวกัน สรรพคุณ รักษาเบาหวาน ตานมะเร็ง บำรุงไต ขับปสสาวะ แกปสสาวะพิการ(กะปริดกะปรอย) สูตร 1 สรรพคุณ ควบคุมน้ำตาลในเลือด สวนประกอบ 1. ใบมะเกี๋ยง 3-7 ใบ 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมในน้ำเดือดนาน 15 - 20 นาที วิธรี บั ประทาน ดืม่ ครัง้ ละ 1 แกว วันละ 2 เวลา กอนอาหาร เชา - เย็น ติดตอกันเปนเวลา 3-5 วัน

สรรพคุณทางอาหาร มีสารตานความเสื่อมสภาพของรางกาย ทำใหผนังหลอดเลือดแข็งแรง ชวยเสริมภูมิคุมกัน

85


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ช้าเลือด ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ผักปูยา หนามปูยา

86


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ช้าเลือด สวนที่ใช

ยอด

สรรพคุณทางยา ใชเพื่อบำรุงเลือด แกวิงเวียน ในการปรุ ง อาหารพื้ น บ า นทาง ภาคเหนือที่ใชหนอไมเปนสวนประกอบ มั ก รั บ ประทานช า เลื อ ดเป น ผั ก แนม น้ำพริกดวยเสมอ ซึ่งในหนอไมนั้นมีกรดยูริก ซึ่งเปนสาเหตุทำใหเกิดการอักเสบ และอาการปวดตาม ขอตางๆ ของรางกาย เนื่องจากชาเลือดมีผลในการลดอาการอักเสบ จึงมักรับประทานคูกัน

ตัวอยางตำรับอาหาร รับประทานเปนผักแนมกับน้ำพริก ปน ลาบ แกงคั่ว หอหมก อาหารรสจัดตางๆ หรือแมกระทั่ง จิ้มกับปลาราสดก็ได

สรรพคุณทางอาหาร มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระสูง ฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย และใหฤทธิ์บรรเทาอาการอักเสบ

87


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตรที่ 1 สรรพคุณ ลดไขมันในเสนเลือด กระจายเลือด บำรุงเลือด บำรุงน้ำดี ทำใหนำ้ ตาลในเลือดลดลง สวนประกอบ 1. ชาเลือดทั้งหา 1 กำมือ (มัด 3 เปาะ) 2. น้ำ 3 ลิตร วิธีทำ ตมในน้ำเดือด 15-20 นาที วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกว วันละ 2 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น ดื่มติดตอกันเปนระยะเวลา 5-7 วัน สูตร 2 สรรพคุณ บำรุงตับ บำรุงน้ำดี วิธีรับประทาน ยอดออนรับประทานเปนผักกับน้ำพริก ติดตอกัน 3 วัน สูตร 3 สรรพคุณ ชวยลดน้ำตาลในเลือด สวนประกอบ 1. ชาเลือดทั้งหา 3 เปาะ (มัดกวางประมาณ 1 คืบ) 2. น้ำ 20 ลิตร วิธีทำ ตมในน้ำเดือด 15-20 นาที วิธีรับประทาน ใหดื่ม 3 กลืน (หรือ 3 อึก) แลวใชแชอาบ (นั่งในอางแลวตักอาบตอนอุนๆ) เปนเวลา 10-15 นาที ในระยะเวลา 7 วัน หรือจนกวาจะหาย (ลักษณะคลายการเขากระโจมอบ)

88


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

บัวบก ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ผักหนอก

89


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

บัวบก สวนที่ใช

ใบ

สรรพคุณทางยา ในตำรายาไทยกล า วว า บั ว บกมี ร สเฝ อ น ขมเย็น แกออนเพลีย เมื่อยลา บำรุงธาตุ บำรุงหัวใจ ขับปสสาวะ ขับโลหิตเสีย ใชรักษาแผลไฟไหม น้ำรอนลวก คนจีนเชื่อวาน้ำใบบัวบกเปนยาแกช้ำใน ชวยลดการกระหายน้ำ บำรุงกำลัง

ตัวอยางตำรับอาหาร น้ำใบบัวบก สวนผสม บัวบก น้ำสะอาด

80 กรัม 2 ถวย

วิธีปรุง ลางใบบัวบกใหสะอาด พักใหสะเด็ดน้ำ หั่นเปนชิ้นๆ ใสลงในโถปน ใสน้ำ ปนพอละเอียด กรองเอาเฉพาะน้ำ รินใสแกว ดื่มทันที จะไดคุณคา มากกวา

90


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สรรพคุณทางอาหาร ใบและเถา รสกรอบมัน รับประทานเปนผักแกลม เชน รับประทานกับกวยเตี๋ยวผัดไทยหรือใช เปนผักแกลมกับแกงเผ็ดของภาคใต และนำมาเตรียมเปนเครื่องดื่ม ในบัวบกประกอบดวยสารอาหาร ที่มีคุณคา ไดแก แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามิน เอ บี 1 บี 2 ไนอาซีน และวิตามินซี และยังพบวาบัวบก ใหฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระที่ดี ฤทธิ์ตานอาการอักเสบ ฤทธิ์ตานเชื้อจุลชีพ

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ แกรอนในกระหายน้ำ เปนยาระบายออนๆ ลดน้ำตาลในเลือดได สวนประกอบ 1. บัวบกทั้งหา 1 กำมือ (ลางใหสะอาด) 2. น้ำ 1 แกว วิธีทำ ปนรับประทาน สวนน้ำใสน้ำตาลทรายแดงเล็กนอยเพื่อใหมีรสชาติดีขึ้น (ไมควรใชน้ำตาล ทรายขาว เนื่องจากมีฤทธิ์รอน) วิธีรับประทาน ดื่มวันละ 1 แกว กอนอาหารกลางวัน (ผูปวยเบาหวานดื่มไดทุกวัน) ขอควรระวัง ดืมน้ำบัวบกติดตอกันมากเกินไป (เกินวันละ2 ลิตร) อาจมีอาการตัวเหลือง ถายกะปริด กะปรอย หายใจกระชั้น ใหหยุดรับประทานทันที สูตร 2 สรรพคุณ บำรุงตับ บำรุงปอด วิธีรับประทาน รับประทานใบ สด จิ้มน้ำพริก ติดตอกัน 3 วัน

91


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ติ้ว ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ติ้วขาว ติ้วสม ติ้วหอม

92


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ติ้ว สวนที่ใช

ยอด

สรรพคุณทางยา รากและใบใชตมกินแกปวดทอง เปลือกและใบตำผสมกับน้ำมันมะพราว ทาแกโรคผิวหนัง น้ำยางจากลำตนใชรักษาบาดแผลและทาแกฝาเทาแตก

ตัวอยางตำรับอาหาร ใบและดอกออน มีรสเปรี้ยวฝาด รับประทานเปนอาหาร โดยนำมาจิ้มน้ำพริก แจว ซุบหนอไม ลาบ กอย หมี่กะทิ หรือนำไปใสแกงเพื่อใหอาหารออกรสเปรี้ยว ดอกนำไปตมหรือแกง เชน แกงเลียง ผัก ชาวอีสานชอบผักชนิดนี้มาก

สรรพคุณทางอาหาร มีวิตามิน เกลือแร ติ้วขาวมีสารเบตาแคโรทีนสูง สามารถตานอนุมูลอิสระไดดี

93


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน รสขมจัด ฝาดจัด เปรี้ยวจัด ออกหวานเล็กนอย ยอดนำมากินเปนผักสด แกงแค แกงปา ตนเขาตำรับยา สูตร 1 สรรพคุณ ขับเสมหะ ชวยบำรุงตับ ชวยใหผูปวย เบาหวานดีขึ้น ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง สวนประกอบ 1. ใบติ้ว (เพสลาด) ประมาณ 7 ใบ 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมนาน 15-30 นาที หรือตมใหงวดเหลือประมาณครึ่งหนึ่ง วิธีรับประทาน รับประทานประมาณ 1 ถวยชา วันละ 3 เวลา กอนอาหาร เชา-กลางวัน-เย็น

94


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

พลูคาว ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ผักกานตอง คาวตอง

95


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

พลูคาว สวนที่ใช

ใบและกาน

สรรพคุณทางยา ตน : ใชรักษาโรคติดเชื้อและทางเดินหายใจ ฝหนองในปอด ปอดบวม ปอดอักเสบ หลอดลม อักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ แกไอ ติดเชื้อในทางเดินปสสาวะ ไขมาลาเรีย แกบดิ ขับปสสาวะ ลดอาการ บวมน้ำ นิว่ ขับระดูขาว ริดสีดวงทวาร แกโรคผิวหนัง ผืน่ คัน ฝฝก บัว แผลเปอย ราก : ใชเปนยาขับปสสาวะ ใบใชแกโรคบิด โรคผิวหนัง โรคหัด ริดสีดวงทวาร หนองใน ใบ : ใชรักษาโรคบิด หัด โรคผิวหนัง ริดสีดวงทวาร หนองใน ใชปรุงเปนยาแกกามโรค ทำให แผลแหงเร็ว แกโรคขอ และโรคผิวหนังทุกชนิด พลูคาวนิยมนำมารับประทานเปนผักแกลมลาบ กอย ใสซปุ หนอไม ตมไก ตมปลา แจวกุง ลาบเทา

96


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ตัวอยางตำรับอาหาร ยำพลูคาว สวนผสม พลูคาว 1 กำมือ ยอดมะกอก 1 กำมือ ยอดมะมวง 1 กำมือ กวางตุงตนเล็ก 1 กำมือ พริกชี้ฟา 5 เม็ด หอมแดง 4-5 หัว กระเทียม 1 หัว กะป 1 ชอนชา เนื้อปลาชอน 150 กรัม ตนหอม ผักชี น้ำปลา วิธีปรุง 1. หั่นผักทุกอยางเตรียมไว 2. เผาพริก หอม กระเทียม ลอกเอาเปลือกที่ไหมไฟออก 3. หอกะปดวยใบตอง เผาใหสุกมีกลิ่นหอม แลวโขลกพริก หอม กระเทียม กะป เขาดวยกัน 4. ตมปลาชอนในน้ำขลุกขลิกจนสุก แกะกางออก 5. คลุกทุกอยางเขาดวยกัน แลวปรุงรสดวยน้ำปลา โรยตนหอม ผักชี

97


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สรรพคุณทางอาหาร ตานเชื้อแบคทีเรียไดหลายชนิด กระตุนภูมิคุมกัน และ ตานอนุมูลอิสระไดดี

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุ ณ แกพุพอง น้ำเหลืองเสีย ชวยใหน้ำเหลืองแหง และแผลหายเร็ว ลดน้ำตาลในเลือด รักษากามโรค รักษาอาการหอบหืด และโรคมะเร็ง สวนประกอบ 1. ใชทั้งตน 1 กำมือ(ลางใหสะอาด) 2. น้ำ 1 แกว วิธีทำ ใชทั้งตน 1 กำมือ นำมาปนกับน้ำ 1 แกว วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกว วันละ 1 เวลา กอนอาหารเชา หรือ 1 กำมือ รับประทานเปนผักสด กับน้ำพริก รับประทานติดตอกัน 7 วัน

98


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะรุม ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ผักอีฮุม ผักอีฮึม มะคอนกอม

99


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะรุม สวนที่ใช

ใบ ฝกออนและเปลือกตน

สรรพคุณทางยา ตำรายาพื้ น บ า นใช ใ บมะรุ ม พอกแผล ช ว ยห า มเลื อ ด ทำให น อนหลั บ เป น ยาระบาย ขับปสสาวะ และชวยแกไข สวนดอกและผลใชเปนยาบำรุง ขับปสสาวะ และแกไข สวนเมล็ด ใชบดพอกแกปวดตามขอ และแกไข ฝกใชปรุงอาหารรับประทานแกไขหัวลม ตัวอยางตำรับอาหาร ยอดมะรุม ใบออน ชอดอก และฝกออนนำมาลวกหรือตมใหสุก จิ้มกับน้ำพริกปลารา น้ำพริกแจวบอง เปนผักเคียงกับลาบ กอย แจว ชอดอกทำเปนแกงสมหรือแกงออมได นอกจาก นี้ ชอดอกและยอดออนยังนำไปดอง รับประทานกับน้ำพริกไดดวย แกงสมมะรุมปลาชอน สวนผสม มะรุมฝกออน ปลาชอน น้ำพริกแกงสม น้ำปลา น้ำ

500 500 3 1 2

กรัม กรัม ชอนโตะ ชอนโตะ ถวย

100


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

วิธีปรุง 1. ปอกเปลือกแข็งของมะรุมออก ลางหั่นเปนทอน ยาว 2 นิ้ว พักไว 2. ขอดเกล็ดปลาชอน ผาทองควักดีออก เคลาเกลือ 1 ช อ นโต ะ ให ทั่ ว เพื่ อ ดั บ กลิ่ น คาว ล า งหั่ น แว น หนา 1/2 นิ้ว และชวงหางปลาหั่นยาว 3 นิ้ว ตม หางปลาในน้ ำ เดื อ ดพอสุ ก แกะเอาแต เ นื้ อ ปลา โขลกรวมกับน้ำพริกแกงสมใหเขากันดี 3. ต ม น้ ำ ด ว ยไฟแรงให เ ดื อ ด ใส น้ ำ พริ ก แกงส ม ลง แลวคนใหทั่ว พอเดือดอีกครั้งใสมะรุมเคี่ยวจนเนื้อ มะรุมนุม ปรุงรสดวยน้ำมะขามเปยก น้ำปลา 4. พอน้ำแกงเดือดจึงใสปลาชอนที่หั่นไว รอใหเดือด อีกครั้ง จนปลาสุก ตักใสชาม

สรรพคุณทางอาหาร ใบและฝกมะรุมมีวิตามินเอ ซี แคลเซียม โพแตสเซียม ในปริมาณสูงและประกอบดวยเสนใยอาหารจำนวนมาก นอกจากนั้นยังพบวาสามารถลดน้ำตาลในเลือด ตานการ อักเสบ ลดความดันโลหิต ลดระดับคอเลสเตอรอล ตานการ เกิ ด แผลในกระเพาะอาหาร ป อ งกั น ตั บ อั ก เสบ ในสั ต ว ทดลอง (หนู) และตานอนุมูลอิสระ ตานเชื้อแบคทีเรีย

101


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน - ยอดออนลวก (ไมควรกินสด) จิ้มน้ำพริก แกงสม ชวยบำรุงตับ น้ำดี - ฝก มีกากใยสูง - ดอกสีขาว บำรุงกระดูก - เมล็ดมีน้ำมัน บำรุงไขขอ - ใบลวกเปนผักจิ้ม สรรพคุณลดน้ำตาลในเลือด สูตร 1 สรรพคุณ ลดไขมันและน้ำตาลในเลือด สวนประกอบ 1. เปลือกตนมะรุม 1 กำมือ 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมเดือด 15-20 นาที วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกว วันละ 2 ครั้ง กอนอาหาร เชา-เย็น ดื่มไดทุกวัน

ขอควรระวัง ทุกสวนของมะรุมหากรับประทานสดจะมีพิษ ทำใหปวดทอง และถายอยางแรง

102


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะละกอ ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น มะกวยเตด หมักหุง ลอกอ

103


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะละกอ สวนที่ใช

ผล

สรรพคุณทางยา ผลสุก แกโรคเลือดออกตามไรฟน เปนยาระบาย ยางจากผลดิบ เปนยาชวยยอย ฆาพยาธิ ราก ขับปสสาวะ

ตัวอยางตำรับอาหาร มะละกอสุกเปนผลไมที่มีคุณคาทางอาหารครบถวน มีวิตามินเอปริมาณสูง ชวยบำรุงสายตา และยังประกอบดวย วิตามินบี 1 และบี 2 วิตามินซี เกลือแรตางๆ เชน แคลเซียม ฟอสฟอรัส รวมทั้งมี กากหรือเสนใยอาหารมาก จึงชวยระบายไดดีในคนที่ทองผูก มะละกอดิบมีน้ำยอย “พาเพน” ชวยยอยอาหารประเภทเนื้อไดดี นิยมใชทำเปนอาหารหลาย ชนิด เชน สมตำ แกงสม ผัดกับไขก็ได

104


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สรรพคุณทางอาหาร มะละกอสุก มีเบตาแคโรทีนสูง และยังประกอบดวย วิตามินบี 1 และบี 2 วิตามินซี เกลือแร ตางๆ เชน แคลเซียม ฟอสฟอรัส รวมทั้งมีเสนใยอาหารมาก แตทั้งนี้มะละกอสุกก็มีปริมาณน้ำตาล มากดวย ดังนั้น ผูที่เปนเบาหวาน ไมควรรับประทานในปริมาณมาก หรืออาจรับประทานมะละกอหาม แทน ซึ่งจะมีปริมาณน้ำตาลนอยกวา โดยนำมาประกอบอาหาร เชน ยำ หรือสมตำ นอกจากนั้นการ รับประทานมะละกอทั้งมะละกอดิบและสุก ยังชวยลดปริมาณอาหารและชวยควบคุมน้ำหนักไดอีก ดวย เนื่องจากมีเสนใยอาหารมากทำใหอิ่ม

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน - ลูกสดทั้งเปลือกขูดใสลงน้ำ เพื่อลางยางและทำใหกรอบนำมาปรุงอาหาร สรรพคุณชวยยอย ไขมันและโปรตีนสวนเกินในรางกาย - ลดความอวน ชวยยอยอาหาร - ผลมะละกอดิบ ตมน้ำดื่ม เพื่อขับสารพิษในรางกาย - ยอด เปนผักจิ้มน้ำพริก ลดน้ำตาลในเลือด ลดความดันโลหิต สูตร 1 สรรพคุณ ขับปสสาวะ ลางตับไต แกทางเดินปสสาวะอักเสบ ในโรคเบาหวาน และขับไขขาวในปสสาวะ ปองกันเบาหวานได สวนประกอบ 1. รากสด 3 ราก 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมเดือด 15-20 นาที วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกว กอนอาหาร วันละ 2 เวลา เชา-เย็น ดื่มไดทุกวัน

105


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ยอ ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น มะตาเสือ ยอบาน แยใหญ

106


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ยอ สรรพคุณทางยา ราก ใบ

ผล

เปนยาระบาย แกกษัย แกทองรวง แกปวดตามนิ้วมือนิ้วเทา แก โ รคเก า ท ขั บ ประจำเดื อ น แก ไ ข แก ไ อ ลดกรดในกระเพาะอาหาร แกคลื่นเหียน บำรุงธาตุ แก อ าเจี ย น แก ร อ นใน ขั บ ลมในกระเพาะอาหาร แก ไ ข ใ นกองลมและเสมหะ บำรุงธาตุ ชวยเจริญอาหาร รักษาเบาหวาน แกไอ

107


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ตัวอยางตำรับอาหาร ใบยอมีการนำมาใชปรุงอาหารในทุกภาค เชน ภาคกลางใชเปนผักรองกระทงหอหมก ภาค อีสาน นำไปทำแกงออมใบยอ และภาคใตนำไปทำแกงเผ็ดปลาใสขมิ้น เมี่ยงใบยอ สวนผสม ใบยอออน มะนาวเปลือกเขียวหั่นชิ้นเล็ก หอมแดงหั่นสี่เหลี่ยมเล็ก พริกขี้หนูเขียว แดง ซอย ขิงออนหั่นสี่เหลี่ยมลูกเตา เนื้อปลาทูทอดหั่นชิ้นเล็ก กุงแหง เม็ดมะมวงหิมพานตทอด สวนผสมน้ำเมี่ยง น้ำตาลปบ น้ำปลา น้ำมะนาว

20 1 5 10 ¼ ½ ¼ ¼

ใบ ลูก หัว เม็ด ถวย ถวย ถวย ถวย

½ ถวย 1 ถวย ¼ ถวย

108


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

วิธีปรุง 1. ลางใบยอใหสะอาด ผึ่งใหสะเด็ดน้ำ พักไว 2. เคี่ยวน้ำเมี่ยง โดยผสมน้ำตาลกับน้ำปลา ตั้งไฟเคี่ยวใหเหนียว ใสน้ำมะนาว คนให เขากัน ยกลง 3. เมื่ อ จะรั บ ประทานวางใบยอ ใส เ ครื่ อ ง เมี่ ย งอย า งละเล็ ก น อ ย ตั ก น้ ำ เมี่ ย งราด (ควรใช ป ริ ม าณน อ ยๆ เนื่ อ งจากมี ส ว น ประกอบของน้ำตาล) รับประทานเปนคำๆ หมายเหตุ อาจลดปริมาณของน้ำตาลลง โดยเติมสารใหความหวานที่ใชทดแทนน้ำตาล เชน ใบหญา หวาน หรือหากใชน้ำตาลปบตามสูตร ควรราดน้ำเมี่ยงในปริมาณนอย เพื่อชวยปรุงรสเทานั้น

สรรพคุณทางอาหาร ใบยอมีเบตาแคโรทีนและแคลเซียมในปริมาณสูง ซึ่งเบตาแคโรทีนชวยในการตานอนุมูลอิสระ ไดดี

109


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน - ใบ มีรสขมเย็น ชวยลดน้ำตาล บำรุงตับ บำรุง น้ำดี บำรุงกระดูก บำรุงสายตา ลดกรดในกระเพาะอาหาร ชวยยอยได นำมาทำแกง หอหมก ลวกจิ้ม มีวิตามินเอ และมีแคลเซียมสูง ชวยตานมะเร็งได - ผลสุก จิ้มเกลือ ขับลม บำรุงธาตุ นำมาหมัก เกลือ 2 วัน แลว รับประทานมื้อละ 1-2 ลูก ขับพยาธิได (ยกเวนพยาธิใบไมในตับ) เนื่องจากผลสุกมีรสรอน - ราก และเนื้อไม อยางละ 1 กำมือ ตมกับน้ำ 1 ลิตร ดื่มกอนอาหาร เชา – เย็น ครั้งละ 1 แกว บำรุงไต แกกษัย (กษัย คือ ความเสื่อมโทรม และความชราภาพของรางกาย) โรคผอมแหง กิน 7-10 วัน แลวใหหยุด สูตร 1 สรรพคุณ ผลดิบชวยลดน้ำตาลในกระแสเลือด ปองกันเบาหวานขึ้นตา สวนประกอบ ผลดิบ 3-5 ผล วิธีทำ ผลดิบ นำมาตม แกง หรือปง หรือทำสมตำใสกลวยดิบ ซึ่งตองมีสวนประกอบรสฝาดแทรก เพื่อฆาพิษของผลดิบ โดยอาจใชกลวยน้ำวาดิบ หรือเปลือกแค หรือเปลือกนนทรี วิธีรับประทาน รับประทานเปนอาหาร ขอควรระวัง เปนไขตัวรอนไมควรรับประทาน ขอเพิ่มเติม คนทั่วไป ที่มีการอาเจียน หรือหญิงตั้งครรภ ที่มีอาการคลื่นไสอยางรุนแรง ใชผลยอ 3-5 ผล ปงไฟ ใสน้ำตม ดื่มแกอาเจียน

110


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ช้าพลู ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ปูลิงนก ผักแค ผักปูลิง นมวา ผักอีเลิด

111


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ช้าพลู สวนที่ใช

ใบ

สรรพคุณทางยา ราก ใบ ดอก ทั้ง 5

ใชขับเสมหะ บำรุงธาตุ ขับลม ขับเสมหะ ทำใหเจริญอาหาร ขับเสมหะ ชวยขับลมในลำไส ลดน้ำตาลในเลือด ตมดื่ม

ตัวอยางตำรับอาหาร ยำชาพลู สวนผสม ใบชาพลูหั่นฝอย กุงขนาดกลางลวกพอสุก หมูรวนใหสุก หอมแดงซอย มะพราวคั่วเหลือง

2 4 1/2 2 1/2

ถวย ตัว ถวย ชอนโตะ ถวย

112


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สวนผสมน้ำยำ น้ำปลา น้ำตาลทราย น้ำมะนาว พริกขี้หนูสวนบุพอแตก

3 1/2 3 4-5

ชอนโตะ ชอนโตะ ชอนโตะ เม็ด

วิธีปรุง 1. ผสมน้ำปลา น้ำตาล น้ำมะนาว ในชาม คนให เขากันใสพริกขี้หนู 2. นำใบชาพลู หมูสับ มะพราวคั่ว มารวมกัน ราดดวยน้ำยำที่เตรียมไวใหทั่ว โรยหนาดวย หอมซอย กุงลวก ตักใสจาน

สรรพคุณทางอาหาร ใบช า พลู มี เบต า แคโรที น วิ ต ามิ น ซี ในปริ ม าณสู ง มาก ซึ่งทั้งสองชนิดใหฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระไดดี และยังพบแคลเซียม และฟอสฟอรั ส สู ง มี ข อ มู ล การศึ ก ษาการใช ย าต ม ช า พลู ต าม ตำรับยาพื้นบานไทย ในกระตายปกติและกระตายที่ทำใหเกิด อาการเบาหวาน พบวาน้ำตมชาพลูใหฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดได ดีในกระตายที่เปนเบาหวาน แตไมลดน้ำตาลในเลือดในกระตาย ปกติ ดังนั้นแมวายังไมมีผลการศึกษาในคน แตสามารถแนะนำ ใหผูปวยเบาหวานรับประทานชาพลูเพื่อเปนการดูแลสุขภาพ

113


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ขอควรระวัง ไม ค วรรั บ ประทานใบช า พลู ใ นปริ ม าณมากเกิ น ไป เพราะมี ส ารออกซาเลต ซึ่ ง หากสะสมในร า งกายมากๆ จะทำใหเกิดนิ่วในไตได แตหากรับประทานในจำนวนพอ เหมาะ เว น ระยะบ า ง เชื่ อ กั น ว า ชาพลู จ ะช ว ยปรั บ ธาตุ ใ น รางกายใหสมดุล

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 เมี่ยงคำ สรรพคุณ อาหารฟนฟูผูปวยเบาหวาน ชวยลดไขมัน บำรุงธาตุ ลดน้ำตาลในเลือด สวนประกอบ 1. กระชาย 1 สวน 2. ขิงแก 1 สวน 3. ขาออน 1 สวน 4. ตะไคร 1 สวน 5. ผลตะลิงปลิง 1 สวน 6. หอมแดง 1 สวน 7. เตาเจี้ยว 1 สวน 8. พริกขี้หนู เล็กนอย วิธปี รุง นำสวนประกอบตางๆ มาซอยใหละเอียด ผสมกับเกลือปน พริกปน น้ำตาลทรายแดง ถัว่ ลิสงปน เล็กนอย คลุกเคลาใหเขากัน หรืออาจเพิม่ กระเทียมดวยเพือ่ ขับลม บำรุงธาตุ วิธีรับประทาน ใชใบชาพลูหอสวนประกอบตางๆ รับประทานเปนอาหาร

114


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สูตร 2 สรรพคุณ ชวยลดน้ำตาลในเลือดไดเร็วมาก สวนประกอบ 1. ใชทั้ง 5 ประมาณ 1 กำมือ (ใชตอกไมไผมัด 3 เปาะ) 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีปรุง ตมใหเดือดนาน 15-20 นาที วิ ธี รั บ ประทาน ดื่มครั้งละ 1-2 ถวยชา วันละ 2 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น ติดตอกันเปนเวลา 3 วัน (ใชควบคุมน้ำตาลในเลือด)

ขอควรระวัง ผูที่มีความดันโลหิตต่ำ ไมควรรับประทานมาก เพราะอาจหนามืดได ถารับประทานเกิน 3 วัน อาจมีอาการหนามืด ใจสั่น เปนลม เนื่องจากน้ำตาลในเลือดต่ำมาก

115


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ผักหวาน ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น -

116


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ผักหวาน สวนที่ใช

ใบและยอด

สรรพคุณทางยา ราก เปนยาถอนพิษรอน พิษไข พิษซาง ถอนพิษสำแดง แกขัดเบา แกไอ ใบ ปรุงเปนยาเขียวกระทุงพิษ เปนยาประสระน้ำนม ชวยมดลูกเขาอูเร็ว แกแผลฝ ดอก ใชขับโลหิต

ตัวอยางตำรับอาหาร แกงผักหวานไขมดแดง สวนผสม ใบผักหวานและยอดออน ไขมดแดง น้ำมะขามเปยก น้ำปลาราตม น้ำปลา น้ำ

500 200 2 5 2 4

117

กรัม กรัม ชอนโตะ ชอนโตะ ชอนโตะ ถวย


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

เครื่องแกง พริกขี้หนูแหง หอมแดง เกลือปน เนื้อปลายางฉีกฝอย

8-10 6 1/2 3

เม็ด หัว ชอนชา ชอนโตะ

วิธีปรุง 1. ทำน้ำพริกแกงโดยโขลกพริกแหงกับเกลือเขา ด ว ยกั น ให ล ะเอี ย ด จากนั้ น ใส เ นื้ อ ปลาย า ง หอมแดง โขลกตอจนละเอียดดี 2. ตมน้ำดวยไฟกลางใหเดือด ใสน้ำพริกแกงที่โขลกไว พอเดือดใสน้ำปลารา น้ำมะขามเปยก ตมสักครูใสน้ำปลา ผักหวาน ไขมดแดง คนเบาๆ ระวังอยาใหไขมดแดงแตก พอเดือดอีกครั้ง ยกลง ตักใสชาม หมายเหตุ อาจใชปลายางแทนไขมดแดง

สรรพคุณทางอาหาร ผั ก หวานบ า นมี โ ปรตี น คาร โ บไฮเดรต ไขมั น และแร ธ าตุ ที่ มี ป ระโยชน ต อ ร า งกาย ได แ ก แคลเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม และยังพบเบตาแคโรทีนในปริมาณสูง

118


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน (ผักหวานปา ผักหวานบาน กานตรงหรือคันทรง ใชไดเหมือนกัน) - แกงเลียง (ใสมะยมดวยจะดี ฝาดมัน) สรรพคุณ บำรุงตับ - รากผักหวานปาและผักหวานบาน แกไขได สูตร 1 สรรพคุณ ลดระดับน้ำตาลในเลือด บำรุงตับ แกไข สวนประกอบ 1. รากผักหวานปา 3 ชิ้น (ขนาดยาวประมาณ 7 เซนติเมตร) 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมเดือด 5-10 นาที วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกวน้ำ กอนอาหาร วันละ 3-4 ครั้ง ติดตอกันนานประมาณ 1 เดือน

119


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สูตร 2 สรรพคุณ ลดน้ำตาลในเลือด ลดความดันโลหิต และลดไขมัน สวนประกอบ 1. รากผักหวานปา 1 กำมือ 2. เนื้อไม (ของตนผักหวาน) 1 กำมือ 3. น้ำ 2 ลิตร วิธีทำ ตมใหเดือดนาน 15-20 นาที วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกว วันละ 2 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น ดื่มติดตอกันนานไมเกิน 15 วัน

ขอควรระวัง 1) ใบผักหวานที่มีพิษ จะสังเกตเห็นสารสีดำบนแผนใบ ไมควรนำมารับประทาน และไมควรรับประทานผักหวาน ในฤดูฝน 2) ผูที่เปนโรคเกาท หรือมีการทำงานของไตผิดปกติ ไมควร รับประทานมาก หรือไมควรรับประทานผักหวานดิบ เพราะ ผักหวานดิบจะมีรสเมาและกรดยูริคสูง

120


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

โสน ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น โสนกินดอก ผักฮองแฮง

121


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

โสน สวนที่ใช

ยอดออนและดอก

สรรพคุณทางยา ราก แกรอนใน กระหายน้ำ ทั้งตน ชวยขับปสสาวะ ใบ มีรสจืดเย็น แกปวดฝ ถอนพิษ โดยนำมาตำกับดินประสิวและดินสอพอง ทาบริเวณที่ เกิดอาการ ดอก รสหวาน ชวยสมานลำไส ดอกโสนมีรสหวานชวนรับประทาน สามารถนำมาประกอบอาหารไดหลายชนิด เชน นำมาชุบ แปงทอดกรอบ หรือรับประทานกับขนมจีนน้ำพริก

122


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ตัวอยางตำรับอาหาร ดอกโสนผัดน้ำมันหอย สวนผสม ดอกโสน น้ำมันหอย กระเทียม น้ำมันพืช เกลือ

2 1 3-4 2 ½

ถวย ชอนโตะ กลีบ ชอนโตะ ชอนชา

วิธีปรุง เด็ดดอกโสนแลวลางใหสะอาด เอาน้ำมันใสกระทะ เมื่อน้ำมันรอน เจียวกระเทียม จากนั้นใส ดอกโสนลงผัด ใสน้ำมันหอย ปรุงรส แลวยกลง

สรรพคุณทางอาหาร ดอกโสนมีธาตุเหล็ก วิตามินเอ บี 1 บี 2 ไนอะซินสูง และยังมีแคลเซียม และฟอสฟอรัสซึ่งเปน ประโยชนตอสุขภาพ

123


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน ยอด ลวก เปนผักจิ้ม ดอกใชทำทั้งอาหารหวานคาว เชน ทอดใสไข แกงเลียง แกงสม ขนมดอกโสน สรรพคุณบำรุงตับ สมอง ประสาท สายตา สูตร 1 สรรพคุ ณ ช ว ยขั บ ป ส สาวะ ขั บ ไขขาวของผู ที่ เ ป น เบาหวาน (ไขขาว คือ ลักษณะปสสาวะขุนขน ขาวเปนแปง) สวนประกอบ 1. ไสในของตนโสน 1 กำมือ 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมใหเดือดนาน 15-20 นาที วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกว วันละ 2 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น ดื่มติดตอกันไมเกิน 15 วัน

124


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ผักปลัง ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ผักปง

125


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ผักปลัง สวนที่ใช

ใบ ยอด และดอกออน

สรรพคุณทางยา ใบ ใชบดพอกแผล เปนยาขับปสสาวะ น้ำคั้น จากใบแก ผื่ น คั น ดอกใช แ ก เ กลื้ อ น รากใช แ ก รั ง แค แกมือเทาดาง น้ำคั้นจากผลใชแตงสีอาหารใหสีมวง

ตัวอยางตำรับอาหาร ผักปลังเปนผักที่มีจำหนายในตลาดทุกภาคของประเทศโดยเฉพาะภาคเหนือและภาคอีสาน ชาวเหนือและชาวอีสาน นิยมรับประทานผักปลังจิ้มกับน้ำพริก และยังนำยอดออน มาปรุงแกงสม แกงแค แกงปลา ผัดกับแหนม หรือใสแกงออมหอยอีกดวย

126


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

แกงผักปลังใสแหนม สวนผสม ยอดผักปลังและดอก แหนมยีใหกระจาย พริกหนุมผาตามยาว หอมแดง กระเทียม ตนหอมซอย ผักชีซอย ปลาราปลาชอนสับ เกลือปน น้ำมะนาว กะป น้ำหรือน้ำสตอกหมู

3 1/2 2 4 1 1/2 1/2 1 1 1 1 2

ถวย ถวย เม็ด หัว หัว ถวย ถวย ชอนชา ชอนชา ชอนโตะ ชอนชา ถวย

วิธีปรุง 1. โขลกหอมแดง กระเทียม เกลือ กะป และปลาราเขาดวยกันใหละเอียด 2. ตมน้ำหรือน้ำสตอกหมูดวยไฟแรงใหเดือด ใสเครื่องที่โขลก คนใหทั่ว 3. พอเดื อ ดอี ก ครั้ ง ใส ผั ก ปลั ง พริ ก หนุ ม ต ม พอสุ ก ตามด ว ยแหนม ปรุ ง รสด ว ยมะนาว ใสตนหอม ผักชี ตักใสถวย พรอมรับประทานรอนๆ

127


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สรรพคุณทางอาหาร ผั ก ปลั ง มี เ กลื อ แร วิ ต ามิ น เอ ซี แคลเซี ย ม ฟอสฟอรัส และเบตาแคโรทีนสูง นอกจากนั้นผักปลังยังมี ลั ก ษณะที่ เ ป น เมื อ กลื่ น ช ว ยเพิ่ ม กากอาหาร จึ ง ช ว ยใน การระบายอีกดวยเหมาะสำหรับผูสูงอายุที่มีปญหาในเรื่อง การขับถาย

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน เปนยาเย็น ยอด ผลอ อ น และใบ รั บ ประทานเป น อาหาร ชวยบำรุงตับ บำรุงลำไส ชวยใหระบบขับถายดี ใบ แกงเลี ย ง แกงแค แกงส ม รั ก ษากระเพาะ ริดสีดวงทวารหนัก และระบบขับถาย สูตร 1 สรรพคุณ ลดระดับน้ำตาลในเลือดได สวนประกอบ 1. ตน (สีแดง) 1 กำมือ (หรือหนัก 30 กรัม) 2. น้ำ 2 ลิตร วิ ธี ท ำ สั บ ส ว นลำต น พอหยาบแล ว ต ม กั บ น้ ำ ให เ ดื อ ด ประมาณ 15-20 นาที วิธรี บั ประทาน ดืม่ ครัง้ ละ 1 แกว กอนอาหาร วันละ 2 เวลา เชา-เย็น ดืม่ ประมาณ 7 วัน (ตอ 1 หมอ)

128


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ชะมวง ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น กะมวง สมมวง มวงสม หมากโมก

129


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ชะมวง สวนที่ใช

ราก ใบ ยอดออนและผล

สรรพคุณทางยา รากแกไข แกรอนในกระหายน้ำ ถอนพิษไข แก บิ ด ต น ให ย างสี เ หลื อ งใช ย อ มผ า ใบและผล เปนยาระบาย กัดฟอกเสมหะ แกธาตุพิการ แกไอ ฟอกโลหิต ใบออนสีแดง มีรสเปรี้ยวกินได ใบแก ชวยลดไขมันหนาทอง

ตัวอยางตำรับอาหาร นิยมรับประทานยอดออนสีแดงเปนผักสด นำมาปนกับลาบ แจว หรือปรุงอาหาร เชน แกงหมู ใบชะมวง ตมยำไกบานใสใบชะมวง ตมสม หรือ แกงออม ผลรับประทานเปนผลไมได แตมีรสเปรี้ยว ชาวใตใชปรุงแกงสมเชนเดียวกับใบ

สรรพคุณทางอาหาร ใบชะมวงมีวิตามิน เอ และบี 1 คอนขางสูง และยังพบแคลเซียม ฟอสฟอรัส

130


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน - ใบชะมวงซอยใส ย ำผั ก โดยใช ใ บชะมวง ประมาณครึ่ ง หนึ่ ง ร ว มกั บ ผั ก อื่ น (อะไรก็ ไ ด ) เติ ม น้ำตาลทรายแดง เกลือ พริก เพื่อปรุงรส สูตร 1 สรรพคุณ เปนอาหารฟนฟูผูปวยเบาหวาน และชวย ลดระดับน้ำตาลในเลือด วิธีรับประทาน ยอดออนและผล รับประทานดิบ หรือ ใสแกงสม มีรสเปรี้ยวสามารถใชแทนตะลิงปลิงได สูตร 2 สรรพคุณ บำรุงตับ ลดไขมัน และลดระดับน้ำตาลในเลือด สวนประกอบ 1. ราก 1 กำมือ (หรือหนักประมาณ 30 กรัม) 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมใหเดือดประมาณ 15-20 นาที วิธรี บั ประทาน ดืม่ ครัง้ ละ 1 แกว วันละ 2 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น ดืม่ ไดทกุ วันติดตอกัน 7 วัน

ขอควรระวัง ใบมีรสเปรี้ยว ผูปวยเบาหวานที่มีแผลเปอย ไมควรรับประทานมากเพราะจะทำใหแผลแฉะ เกิดหนอง

131


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ผักไผ่ ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ผักแพว จันทรโฉม หอมจันทร พริกมา

132


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ผักไผ่ สวนที่ใช

ใบและยอด

สรรพคุณทางยา ราก ใชแกริดสีดวง แกปวดเมื่อยตาม รางกายและขอกระดูก รักษาหืด ไอ แกเจ็บ ทอง ทองเฟอ ดอก ใชขับเหงื่อ รักษาโรคปอด แกเจ็บทอง ทองขึ้น ทองเฟอ

ตัวอยางตำรับอาหาร ชาวเหนือนิยมเด็ดยอดใสในตมยำและลาบ ชวยใหอาหารมีรสกลมกลอม ภาคอีสานนิยม รับประทานเปนผักสดกับลาบ หรือใชเปนเครื่องปรุงในลาบ กอย ยำตางๆ ชวยดับกลิ่นคาวไดเปน อย า งดี ส ว นชาวใต นิ ย มนำผั ก ไผ ใ ส ใ นข า วยำ ในป จ จุ บั น มั ก คุ น เคยกั บ ผั ก ไผ ใ นการรั บ ประทาน รวมกับแหนมเนือง ยำไกบานผักแพว สวนผสม ไกบาน 1/2 ตัว ผักแพว 1 กำ เกลือปน 1/2 ชอนชา พริกไทยดำโขลกหยาบ 1 ชอนโตะ น้ำสตอกไก 1/4 ถวย

133


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

วิธีปรุง 1. ลางไก ควักเอาปอดและเลือดที่ติดกระดูกออก ลางน้ำใหสะอาด 2. ต ม ไก ทั้ ง ตั ว ในน้ ำ เดื อ ดสั ก ครู ลดไฟอ อ นเคี่ ย วจนไก สุ ก จะได น้ ำ สต อ กที่ ใ ส ตั ก ไก อ อก จากหมอ 3. ฉีกเนื้อไกเปนชิ้นๆ ขนาดพอคำ เคลาดวยเกลือ พริกไทย ยอดผักแพว และใสน้ำสตอกเคลา ใหทั่ว ตักใสจานรับประทานทันที

สรรพคุณทางอาหาร ใหเบตาแคโรทีน แคลเซียม และฟอสฟอรัสสูง ชวยใหเจริญอาหาร และขับลมในกระเพาะ อาหาร

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน ยอดเปนผักเคียงกินสด หรือใชแกงสม ตมยำ สูตร 1 สรรพคุณ ชวยขับลมบำรุงธาตุ ชวยลดไขมัน และระดับ น้ำตาลในเลือด สวนประกอบ 1. ตนทั้งหา 2. น้ำ

1 กำมือ 2 ลิตร

วิธีทำ ตมใหเดือดประมาณ 15-20 นาที วิธรี บั ประทาน ดืม่ ครัง้ ละ 1 แกว วันละ 2 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น ดืม่ ไดทกุ วันติดตอกัน 7 วัน

134


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะกอก ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น มะกอกดง กอกเขา

135


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะกอก สวนที่ใช

ใบ ยอดออน และผล

สรรพคุณทางยา เปลือกตน ใบ ผลสุก เมล็ด

ตมกินแกรอนใน ทองเสีย แกอาเจียน แกโรคบิด แกปวดในหู แกเลือดออกตามไรฟน ทำใหชุมคอ แกกระหายน้ำ และแกบิด นำมาสุมไฟใหเปนถาน และแชน้ำ กรองเศษถานและฝุนผงออก ดื่มแกรอนใน แกสะอึก

ตัวอยางตำรับอาหาร ใบออน ยอดออน รับประทานเปนผักสด กับอาหารประเภทลาบ น้ำตก ยำ สมตำ เนื้อหุมเมล็ด ใชตำน้ำพริก สมตำ และเพื่อปรุงรสอาหาร ในจังหวัดจันทบุรีและตราดนิยมใสในยำหอยแครง ยำไก ยำไกใบมะกอก สวนผสม เนื้ออกไกนึ่งสุกฉีกเปนเสน 1 อก ใบมะกอกหั่น 2 ถวย น้ำพริกยำ 3 ชอนโตะ มะพราวขูดคั่ว 3 ชอนโตะ น้ำปลา 1 1/2 ชอนโตะ

136


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สวนผสมน้ำพริกยำ: พริกแหงเม็ดใหญคั่ว 5 เม็ด หอมแดงเผา 8 หัว กระเทียมเผา 1 หัว ตะไครซอยคั่ว 1 ชอนโตะ วิธีปรุง 1. โขลกเครื่องปรุงน้ำพริกยำทั้งหมดเขาดวยกันใหละเอียด พักไว 2. ใสน้ำพริกยำกับน้ำปลาและเนื้ออกไกลงในอางผสม เคลาใหทั่ว ใสใบมะกอก มะพราวขูดคั่ว เคลาอีกครั้งใหทั่ว ตักใสจาน รับประทานทันที

สรรพคุณทางอาหาร ทั้งยอดและผลมีตลอดป ใหแคลเซียม ฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก วิตามิน บี 1 เบตาแคโรทีน และ เสนใยอาหารสูง ถาตองการรสเปรี้ยวมากใหเลือกยอดที่มีสีเขียวออน สวนยอดแดงมักมีรสฝาดปนอยู เนื่ อ งจากมี ส ารในกลุ ม โพลี ฟ น อล จึ ง ต า นอนุ มู ล อิ ส ระที่ ดี ส ว นผลควรเลื อ กผลที่ ไ ม สุ ก มาก ผิ ว มี จุดประสีเหลือง ไมมีจุดดำหรือตกกระมาก เนื้อมีสีน้ำตาลออนและไมเละ

137


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน รสเปรี้ยว ฝาด หวาน รักษาเบาหวาน ฟอกเลือด ขับเสมหะ - ใบเปรี้ยว นำมาปงไฟ หรือกินสด คลายใบชะมวง ใชเปนผักเคียงรับประทานกับน้ำพริก ลาบ พลา เปนตน - ผล เอาเนื้อสุกใสยำ (เมล็ดในมีรสเย็น) สูตร 1 สรรพคุณ ชวยลดไขมัน ขับเหงื่อ ขับปสสาวะ ลดระดับน้ำตาลในเลือด และฟนฟูผูปวยเบาหวานได สวนประกอบ 1. เปลือกตน (รสหวาน ฝาด) 1 กำมือ หรือประมาณ 3 เปลือกยาวประมาณ 3 คืบ 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ สับแลวตมกับน้ำเดือด 15-20 นาที วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกว วันละ 2 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น ดื่มติดตอกัน 7 วัน

ขอควรระวัง ผูที่มีความดันต่ำหรือเปนโรคหัวใจไมควรรับประทาน เพราะจะทำใหหนามืด เปนลม เบื่ออาหารได

138


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

กระถิน ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น ผักหนองบก ผักกานถิน สะตอเทศ กระเฉด

139


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

กระถิน สวนที่ใช

ใบและยอด ฝกออน

สรรพคุณทางยา ยอดออนและฝกออน รับประทานเปนผักได เมล็ดนำมาทำเครื่องประดับ เปนอาหารของสัตว เปลือกใหเสนใยและทำกระดาษได ดอกบำรุงตับ รากชวย ขับลม ขับระดูขาว

ตัวอยางตำรับอาหาร กระถินใชรับประทานเปนผักสดกับน้ำพริกชนิดตางๆ โดยเฉพาะน้ำพริกกะป น้ำพริกปลาทู และเปนผักที่รับประทานรวมกับหอยนางรมสด หอมแดงเจียว เมื่อเคี้ยวจะเกิดรสหวาน สำหรับฝกออน กับเมล็ดออน รับประทานรวมกับสมตำ ขนมจีนน้ำยาชนิดตางๆ และเปนผักที่ชาวใตจัดรวมในตะกรา ผักเคียงสำหรับรับประทานรวมกับอาหารใต

สรรพคุณทางอาหาร กระถินมีวิตามินเอสูงมาก และยังพบแคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก และวิตามินซีดวย

140


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สูตร 1 สรรพคุณ บำรุงตับ แกตับพิการ วิธีทำ ดอกตูมสดๆ ฝกออน เมล็ดแก รับประทานเปน ผักสด วิธีรับประทาน รับประทานเปนอาหาร สูตร 2 สรรพคุณ บำรุงไต ตับ บำรุงธาตุ เปนยาอายุวัฒนะ วิธีทำ ราก 1 กำมือ ตมน้ำ 1 ลิตร นาน 15-20 นาที วิธีรับประทาน ดื่มกอนอาหาร เชา-เย็น ครั้งละ 1 ถวยชา ไมควรดื่มติดตอกันมากกวา 7 วัน

ขอควรระวัง ยอดกระถินและฝกออนมียูริกสูง ผูที่เปนเกาทไมควรรับประทานมาก และอาจทำใหโลหิตจางได

141


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ย่านาง ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น จอยนาง เถาวัลยเขียว ยาดนาง

142


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ย่านาง สวนที่ใช

ใบ เถา ราก

สรรพคุณทางยา ราก มีรสจืด แกไขไดทุกชนิด น้ำคั้นจากใบใช ถอนพิษสุรา ชวยดับพิษรอนถอนพิษไข แกอีสุกอีใส

ตัวอยางตำรับอาหาร ใบออนและใบแกนำมาคั้นน้ำใชตมกับหนอไม เพื่อลดความขื่น รสขม ชวยใหหนอไมอรอยขึ้น บางคนใสน้ำคั้นใบยานางในแกงขี้เหล็ก เพื่อชวยลดความขม หรือใสในแกงขนุน แกงออม รสชาติจะ กลมกลอมขึ้น น้ำยานาง สวนผสม ใบยานาง ใบออมแซบ (เบญจรงคหรือตำลึงหวาน) ใบบัวบก ใบเตย น้ำ

30 กรัม 50 กรัม 50 กรัม 2 ใบ 6 ถวย

143


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

วิธีปรุง 1. ลางผักทั้งหมดใหสะอาด พักใหสะเด็ดน้ำ หั่นเปนชิ้นๆ ใสลงในโถปน ใสน้ำ ปนพอละเอียด กรองเอาแตน้ำ 2. เทใสแกว เสิรฟทันที หมายเหตุ : อาจเติมน้ำมะพราวเพื่อเพิ่มรสหวานได

สรรพคุณทางอาหาร ยานางมีแคลเซียม ธาตุเหล็ก เบตาแคโรทีน วิตามินเอ และซีสูง

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน - ใบสด 1 กำมือ น้ำ 1 แกว คั้นหรือปนใสผาขาวบางกรอง วิตามินเอสูง บำรุงตับ ลอมตับ ดับพิษภายใน - น้ำคั้นดื่มมื้อกลางวัน 1 แกว เทานั้น เพราะเปนยาเย็น ดับพิษรอนภายใน แกรอนใน ลดเกาท ได ไมควรรับประทานตอนเย็น เพราะจะเปนตะคริว สูตร 1 สรรพคุณ ชวยลดแกสในกระเพาะอาหาร ลดความดัน ลดไขมัน ลดระดับน้ำตาลในเลือด ดับพิษ ในตับ แกผิดสำแดง สวนประกอบ 1. เถายานาง 1 กำมือ 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมกับน้ำเดือด 15-20 นาที วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกว วันละ 2 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น หรือสามารถดื่มแทนน้ำได แต ไมควรดื่มติดตอกันนานเกิน 7 วัน เพราะทำใหเลือดเย็น หนามืด ใจสั่นและไมมีแรง

144


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สูตร 2 สรรพคุณ ลดระดับน้ำตาลในเลือด สวนประกอบ 1. ใบยานาง 1 กำมือ 2. มะระขี้นกออน 5 ลูก 3. น้ำครึ่งแกว วิธีทำ ใสสวนผสมทั้งหมดแลวปนหรือโขลกใหละเอียด ใชผาขาวบางกรองเอาแตน้ำดื่มสดๆ วิธีรับประทาน ดื่ม 1 แกว กอนอาหาร วันละ 1 ครั้งในชวง เชา ติดตอกันประมาณ 30 วัน สูตร 3 สรรพคุณ ลดระดับน้ำตาลในเลือด สวนประกอบ 1. ใบยานาง 7 ใบ 2. น้ำครึ่งแกว วิธีทำ ใสสวนผสมทั้งหมดแลวปนหรือโขลกใหละเอียด ใชผาขาวบางกรองเอาแตน้ำดื่มสดๆ วิธีรับประทาน ดื่มวันละ 1 แกว กอนอาหาร ตอนเชาครั้งเดียว ติดตอกันประมาณ 3 เดือน ขอ มู ล เพิ่ ม เติ ม สูตรรักษาชิคุนกุนยา ใบยานาง 7 ใบ ขมิ้นออย 7 แวน รากหมาก รากมะพราว ใบหมากผูหมากเมีย อยางละ 1 กำมือ เอามาโขลกรวมกัน แลวคั้นน้ำดื่มวันตอวัน วันละ 2 เวลา เชา-เย็น นานประมาณ 3-4 วัน จะทำใหหายเปนปกติ

145


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

เทา ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น เตา / สาหรายน้ำจืด

ที่มา: งานวิจัยพื้นบาน

146


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

เทา สวนที่ใช

ตนออน

สรรพคุณทางยา -

ตัวอยางตำรับอาหาร เทาที่นำมารับประทานจะเปนเทาที่ยังออนเปนสี เขี ย วอยู ใ นน้ ำ ถ า เป น เทาที่ ล อยเหนื อ ผิ ว น้ ำ มี สี อ ม ที่มา: ภูมิปญญาสุขภาพ เหลือง จะไมนำมารับประทาน คนเหนือกับคนอีสานมีวิธีที่รับประทานเทาที่ตางกัน คนเหนือนิยมนำมายำใสปูนา เรียกวา ยำเขี ย ว ด ว ยการนำปู น าไปต ม กั บ น้ ำ ปลาร า หรื อ กะป ใ ห เ ข า กั น ก อ นที่ จ ะนำไปโขลกกั บ พริ ก หอม กระเทียมเผา แลวผสมกับเทาที่หั่นไว สวนคนอีสานนิยมเอาเทามาลาบกับมะเขือขื่นและน้ำปลารา นอกจากนี้เทายังนำมารับประทานสดจิ้มน้ำพริกไดดวย

147


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ลาบเทา สวนผสม เทาบีบน้ำแลว ถั่วฝกยาวซอย ถั่วพูซอย หอมแดงซอย มะเขื่อขื่นหรือมะเขือเหลืองหั่น ผักชีซอย ผักแพวซอย ตนหอมซอย พริกปน ขาวคั่ว น้ำปลารา น้ำมะนาว

2 1/4 1/4 2 1 1 1/4 1 1 1 1/2 2

ถวย ถวย ถวย ชอนโตะ ลูก ชอนโตะ ถวย ชอนโตะ ชอนโตะ ชอนโตะ ถวย ชอนโตะ

วิธีปรุง 1. ลางเทาใหสะอาด สงขึ้นใสตะแกรงใหสะเด็ดน้ำ 2. ตมน้ำปลาราดวยไฟกลางใหเดือด ใสเทาลงคนใหทั่ว พอเทาสุก ยกลง ใสถั่วฝกยาว ถั่วพู หอมแดง มะเขือขื่น ผักแพว และตนหอม เคลาเบา ๆ ใหเขากัน 3. ปรุงรสดวยพริกปนและน้ำมะนาว ใสขาวคั่ว ผักชี เคลาใหทั่ว ตักใสถวย

สรรพคุณทางอาหาร มีแคลเซียมและเบตาแคโรทีนสูงมาก

148


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน สาหรายน้ำจืด อีสานเรียก ผักเขียว รสมัน เย็น ตองเก็บตอนขางขึ้น 5-14 ค่ำ ขอมูลเพิ่มเติม เทาผสมน้ำสมสายชูแท ขนาดพอประมาณ ปดแผลแกบาดทะยัก สรรพคุณ บำรุงตับ แกตับพิการ วิธีทำ ลาบ ยำ ชวยดับพิษ สามารถรับประทานสดไดเลย หรือจิ้มน้ำพริก ชวยบำรุงตับ วิธีรับประทาน รับประทานเปนอาหาร

149


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

กระเจี๊ยบแดง ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น กระเจี๊ยบเปรี้ยว ผักเก็งเค็ง สมเก็งเค็ง สมปู สมพอดี

150


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

กระเจี๊ยบแดง สวนที่ใช

กลีบรองดอก หรือที่เรียกวา ดอกกระเจี๊ยบ

สรรพคุณทางยา ใบ

ละลายเสมหะ แก ไ อ ขั บ เมื อ กมั น ในลำไส ทำให โ ลหิ ต ไหลเวี ย นดี ช ว ยย อ ยอาหาร หลอลื่นลำไส ขับปสสาวะ เปนยาระบายและบำรุงธาตุ ตมชะลางแผล หรือตำฟอกฝ แกพยาธิตัวจี๊ด ดอก ลดไขมันในเลือด ละลายเสมหะ ขับเมือกในลำไสใหลงสูทวารหนัก ขับปสสาวะ แกนิ่ว แกไอ ทำใหสดชื่น ลดไข ขับน้ำดี แกพยาธิตัวจี๊ด ผล แกความดันโลหิตสูง ลดไขมันในเสนเลือด แกกระหายน้ำ แกนิ่วในไตและในกระเพาะ ปสสาวะ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร สมานแผลในกระเพาะอาหาร แกออนเพลีย บำรุงกำลัง บำรุงธาตุ แกดีพิการ แกปสสาวะพิการ แกเสนเลือดตีบตัน แกพยาธิตัวจี๊ด

151


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ตัวอยางตำรับอาหาร น้ำกระเจี๊ยบแดง สวนผสม ดอกกระเจี๊ยบแดงแหง 1 1/2 ขีด น้ำตาลทรายแดง หรือใบหญาหวาน พอประมาณ เกลือปน 2 ชอนชา น้ำสะอาด 1 ลิตร วิธีปรุง นำดอกกระเจี๊ยบแหงลางน้ำทำความสะอาด ใสหมอตม จนเดือด เคี่ยวจนน้ำเปนสีแดงขน กรองเอากากออก ปลอยให เดือดสักครู ยกลงเติมน้ำตาล (หรือใบหญาหวาน) และเกลือลงไป (หากใชหญาหวาน ใหกรองเอากากออก) แบงใสแกว เติมน้ำแข็ง ดื่มไดทันที หากตองการทำเก็บไว ใหกรอกใสขวด แชตูเย็น หรือนำกระเจี๊ยบแดงมาทำใหแหง บดเปนผง ใชปริมาณครั้งละ 1 ชอนชา ชงในน้ำเดือด 1 ถวย ดื่มไดสะดวกเชนกัน

สรรพคุณทางอาหาร กลีบรองดอกมีสารสีแดงจำพวกแอนโธไซยานิน จึงทำใหมีสีมวงแดง และยังพบโพลีฟนอล จึงตานอนุมูลอิสระไดดี โดยพบวา กระเจี๊ยบแดงสามารถตานอนุมูลอิสระไดดีใกลเคียงกับบลูเบอรรี่ เชอรรี่และแครนเบอรรี่ และในกระเจี๊ยบแดงมีกรดอินทรียหลายชนิด เชน กรดแอสคอรบิค กรดซิตริก กรดมาลิค และ กรดทารทาริค กรดเหลานี้ทำใหกระเจี๊ยบมีรสเปรี้ยว และยังพบมีวิตามินเอ เพคติน (ซึ่งเปนเสนใยอาหารชนิดละลายน้ำ) และแรธาตุอื่นๆ ไดแก แคลเซียมในปริมาณสูง ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม เปนตน ใบและยอดออนมีวิตามินเอ แคลเซียมและฟอสฟอรัสในปริมาณสูง

152


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ขอควรระวัง กระเจี๊ยบแดงอาจทำใหเกิดอาการทองเสียไดในบางราย เนื่องจากมีฤทธิ์เปนยาระบายดวย

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน - ใบ ยอด ใชประกอบอาหาร มีรสเปรี้ยว แกงสม ตมยำ แกงเลียง - ผล เปนยาขับปสสาวะ ลดความดันโลหิต ลดน้ำตาลในเลือดได สรรพคุณ ลดไขมัน ละลายไขมัน ฟอกเลือด ขับปสสาวะ ชวยบำรุงตับ แกพยาธิตัวจี๊ด แกอาการปวด หัวขางเดียว สูตร 1 สวนประกอบ 1. กลีบเลี้ยงประมาณ 5 ดอก 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมกับน้ำเดือด 15-20 นาที (ไมใสน้ำตาล) วิธีรับประทาน ดื่มแทนน้ำไดเรื่อยๆ ติดตอกัน 7 วัน สูตร 2 สวนประกอบ 1. ตนกระเจี๊ยบ 1 กำมือ 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมกับน้ำเดือด 15-20 นาที (ไมใสน้ำตาล) วิธีรับประทาน ดื่มกอนอาหาร เชา-เย็น ครั้งละ 1 แกว

153


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

หม่อน ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น -

154


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

หม่อน สวนที่ใช

ใบ และผลสุก

สรรพคุณทางยา ใบ เปนยาขับเหงื่อ แกเจ็บคอ แกไอ แกไข แกรอนใน กระหายน้ำ ผล เปนยาระบายออนๆ ทำใหชุมคอ บำรุงไต แกผมหงอกกอนวัย และชวยใหหลับสบาย

ตัวอยางตำรับอาหาร ชาวอีสานนิยมนำยอดออนและใบมาตมกับเนื้อ แกงเนื้อ กวยเตี๋ยวเนื้อ ชวยใหน้ำแกงมีรส หวานอรอย สวนผลรับประทานเปนผลไมพื้นบาน รสเปรี้ยวอมหวาน มีวิตามินซีสูง ชาใบหมอน สวนผสม ชาหมอน 10 กรัม น้ำตาล 75-150 กรัม (ควรใชสารใหความหวานทดแทนน้ำตาล เชน หญาหวาน) น้ำรอน 850 ซีซี เกลือปน 5 กรัม น้ำมะนาว 15 ซีซี

155


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

วิธีปรุง 1. ชั่งชาหมอนหนัก 10 กรัม (ประมาณ 4 ชอนโตะ หรือ 15 ชอนชา) ใสภาชนะที่ทนรอนได 2. ใชน้ำรอนตมเดือดหรือน้ำรอนจากกระติกน้ำรอน เทลงในภาชนะที่ ใ ส ช าหม อ นไว แ ล ว ทิ้ ง ไว อ ย า ง นอยนาน 6 นาที กรองเอากากออก 3. ใสน้ำตาลทราย 150 กรัม (ประมาณ 1 ชอนโตะ) หรือสารใหความหวานทดแทนน้ำตาล เชน หญาหวาน และเกลือ คนจนละลายหมด ทิ้งไว ใหเย็น 4. ใสน้ำมะนาว 15 ซีซี (ประมาณ 1 ชอนโตะ) คนใหทั่วนำไปใสน้ำแข็งบีบมะนาวสดลงเล็กนอย จะทำใหรสชาติกลมกลอมมากยิ่งขึ้น

สรรพคุณทางอาหาร ใบ มี ส ารจำพวกฟลาโวนอยด ไฟโตสเตี ย รอล ไตรเทอร ป น แอลคาลอยด เซราไมด และน้ ำ มั น หอม ระเหย นอกจากนี้ยังมี สารอาหารตางๆในปริมาณสูง เชน คารโบไฮเดรต เพคติน โปรตีน เสนใยอาหาร รวมทั้งวิตามินบี ซี และเบต า แคโรที น ด ว ย ผล มี น้ ำ มั น หอมระเหย ฟลาโวนอยด น้ำตาลและวิตามินซี

156


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สารสกัดหรือสารสำคัญของหมอนมีฤทธิ์ทางยาหลายประการ ดังนี้ 1. ฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ น้ำคั้นและสารสกัดจากใบมีสารตานอนุมูลอิสระหลายชนิด 2. ฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด สารสกัดดวยน้ำจากใบหมอน มีฤทธิ์ลดน้ำตาลในสัตวทดลองที่เปน เบาหวาน และสาร 1-deoxynojirimycin ใหฤทธิ์แรงในการยับยั้งเอนไซมเบตา-กลูโคสิเดส ของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม จึงชวยยับยั้งการยอยแปงในอาหาร ชวยลดระดับน้ำตาลในเลือด ทำใหใบหมอนมีศักยภาพในการนำมาใชในผูปวยเบาหวาน หรือใชควบคุมน้ำหนัก ฤทธิ์ ล ดระดั บ น้ ำ ตาลในเลื อ ด เมื่ อ ให ย าชงซึ่ ง มี ส ว นผสมของใบหม อ น ร ว มกั บ ถั่ ว ขาว (Phaseolus vulgaris) และใบ Vaccinium myrtillus L. ขนาด 150 มิลลิกรัม / คน แกผูปวยเบาหวาน จำนวน 82 คน วันละ 3 เวลา เปนเวลา 2 เดือน พบวาผูปวย 74 ราย มีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงถึง 24% ของระดับกอนใหยา และจากการศึกษาที่โรงพยาบาลสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี ใหผูปวย เบาหวานชนิดที่ 2 ที่รับยาไกลเบนคลาไมด พบวา เมื่อใหแคปซูลหมอนรวมดวยการใหยาในขนาด 20 กรัม ตอวัน นาน 8 สัปดาหมีผลชวยลดระดับน้ำตาลในเลือดกอนอาหารเชา และระดับฮีโมโกลบิน เอวันซี (HbA1c) อยางมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับเมื่อกอนรับประทานหมอน ขณะที่กลุมที่ไดรับยา หลอกไมมีการเปลี่ยนแปลง การนำใบหมอนในรูปแบบของชาชงหรือสารสกัดมาใชในการควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือด ยังตองศึกษาวิจัยทางคลินิกเพิ่มเติม

157


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน รสจืด มัน ติดหวาน ใบ โปรตีนสูง ไมมียูริค ชวยกลอมประสาท คลายเครียด บำรุงตับ ขับปสสาวะ แกงสม ตมจืด หรือใช ไขเจียวใบหมอนแตงรสอาหารใหอรอย ลูกสุกเคี้ยวกินเปนผลไมใหได 1 ถวยกาแฟตอวัน ชวยบำรุงไต แกไตพิการ หรือกินจิ้มเกลือ แกผมหงอก - ผลมีรสเปรี้ยว ชวยดูแลไต บำรุงรากผม รับประทานใหไดวันละ 1 ถวย ทุกวัน - ใบออนลดไขมัน ใชทำชาใบหมอน นำใบหมอนมาลางใหสะอาด แลวฉีก เปนชิ้น ใชมือคั่วใน กระทะ (จะไดควบคุมอุณหภูมิประมาณ 50-55 องศา หรือใชไฟออนๆ) จนกรอบ แลวเก็บไว ชงชา กินแทนน้ำไดเลย -

สูตร 1 สรรพคุณ บำรุงไต ชวยขับปสสาวะ ลดน้ำตาลในเลือด สวนประกอบ 1. กิ่งตนหมอน 1 กำมือ 2. เนื้อไมตนหมอน 1 กำมือ 3. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมกับน้ำเดือดนาน 15-20 นาที วิธีรับประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกว วันละ 2 เวลา กอนอาหาร เชา-เย็น ดื่มประมาณ 7 วัน แลวเปลี่ยน ตัวยา ตมหมอใหม แลวดื่มติดตอกันไปอีกประมาณ 1 เดือน นอกจากนี้ ยังพบวา กาฝากหมอนมีสรรพคุณชวยบำรุงไต บำรุงตับ บำรุงธาตุไดดี โดยนำมาสับ แลวตากแหง ตมน้ำดื่ม เปนชาชง ได

158


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

อัญชัน ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น แดงชัน เอื้องชัน

159


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

อัญชัน สวนที่ใช

ดอก

สรรพคุณทางยา ราก รสเย็นจืด บำรุงดวงตา ทำใหตาสวาง ขับปสสาวะ แกปสสาวะพิการ แกปวดฟน ทำให ฟนแข็งแรง น้ำคั้นจากดอกใชทาคิ้ว ทาศีรษะ เปนยาปลูกผม (ขน) ทำให ผมดกดำเงางาม

ตัวอยางตำรับอาหาร สีจากดอกอัญชัน ใชทำประโยชนไดหลายอยาง นิยมใชดอกสีน้ำเงินซึ่งมีสารแอนโธไซยานิน ทำสี ข นม เช น ขนมดอกอั ญ ชั น ขนมช อ ม ว ง ทำเครื่ อ งดื่ ม สมุ น ไพร ได น้ ำ สี ม ว งสวย เพราะสี ข อง ดอกอัญชันละลายน้ำไดดีมาก รวมทั้งสีเปลี่ยนไปตามความเปนกรดดาง คลาย กระดาษลิตมัสที่ใช ตรวจสอบความเป น กรดด า งของสารละลาย และดอกอั ญ ชั น กิ น เป น ผั ก สดๆ จิ้ ม น้ ำ พริ ก หรื อ ชุบแปงทอด ชาดอกอัญชัน สวนผสม ดอกอัญชันตากแหงประมาณ 25 ดอก น้ำเดือด 1 ถวย วิธีปรุง นำดอกอัญชันตากแหงประมาณ 25 ดอก ชงในน้ำเดือด 1 ถวย ดื่มแทนชา ควรดื่มทันทีเมื่อเตรียมเสร็จ

160


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

สรรพคุณทางอาหาร มีสารแอนโธไซยานิน ตานอนุมูลอิสระไดดี

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน ดอกมวง ไมเถา อยูในกลุมดอกสลิด ขจร ขาวสาร มีสรรพคุณเสมอกัน - รั บ ประทานดอกเป น ผั ก สด ไม เ กิ น 10 ดอก (ประมาณ 7 ดอก) บำรุงตับ บำรุงสายตา ขอควรระวัง ไมควรรับประทานดอกมากเกินไป เพราะมี กรดยูริคสูง ไมเกิน 10 ดอกตอวัน สูตร 1 สรรพคุณ ขับปสสาวะ ลางไต ลดน้ำตาลในเลือด สวนประกอบ 1. ราก 1 กำมือ 2. น้ำ 1 ลิตร วิธีทำ ตมกับน้ำเดือดนาน 15-20 นาที วิ ธี รั บ ประทาน ดื่มครั้งละ 1 แกว วันละ 2 เวลา กอน อาหาร เชา-เย็น ดื่มติดตอกันไดเรื่อยๆ 7 วัน

161


คู่มสม สมุ ือสมุ นุไพรพื ไไพรพ ไพร ไพ นพไพรพื รรพ พนบ นื้ บบ้​้น้าบ้นล นนลดความเสี านลดความเสี ดคววาามมเเสีส่ย่ง่ยโโรคเบาหวาน ดค งรโรคเบาหวาน คเบาหวาน ตตาามภ ตามภู มภูมูิปัญญ ญา ญาของหมอพื าขอองงหหมอ หมอ ม พื พ้นบ้บาน ้าน าน

2.5 กลุมสมุนไพรอื่นๆ ที่แนะนำสำหรับการดูแลสุขภาพผูปวยเบาหวาน นอกจากพืชผักสมุนไพรที่ใหฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระไดดีแลว ยังพบวาพืชผัก พื้นบานอีกหลายๆ ชนิด ที่เปนแหลงของเสนใยอาหารที่ดี แนะนำใหรับประทาน เปนอาหารเพื่อชวยเสริมสุขภาพ เนื่องจากเสนใยอาหารจะชวยทำใหขับถาย สะดวก เหมาะในคนที่สูงอายุซึ่งมักมีปญหาในเรื่องนี้ และนอกจากนั้นการขับ ถายทุกวันยังชวยกำจัดสารพิษไมใหสะสมในรางกาย รวมทั้งเสนใยอาหารชนิด ละลายน้ำยังมีแนวโนมชวยลดน้ำตาลในเลือดไดอีกดวย ตัวอยาง กลุมสมุนไพร พื้นบาน ดังตอไปนี้

1162 62


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะเขือพวง ชื่อทองถิ่น/ชื่ออื่น มะแขวงกุลา หมากแขง เขือพวง มะแวงชาง

163


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

มะเขือพวง สวนที่ใช

ใบ ผล

สรรพคุณทางยา ตามตำราแพทยแผนไทย มะเขือพวง ชวยเจริญ อาหาร ย อ ยอาหาร ช ว ยระบบขั บ ถ า ย บำรุ ง ธาตุ ขั บ เสมหะ แกไอ ชวยใหโลหิตหมุนเวียนดี แกฟกช้ำ ไอเปน เลือด ฝบวมมีหนอง

ตัวอยางตำรับอาหาร ตำมะเขือพวง เปนอาหารพื้นบานทางเหนือ (ตำบาแควง) และทางอีสาน (เปาะตรอบจังกอม) สวนผสม มะเขือพวง 200 กรัม น้ำมันพืช 1 ชอนโตะ กระเทียม 10 กลีบ พริกหนุม 2-3 เม็ด กะป 1 ชอนชา เกลือเล็กนอย น้ำเล็กนอย

164


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

วิธีการปรุง แบบเดียวกับตำชนิดอื่นๆ นิยมใชพริกหนุม เปนเครื่องปรุง สวนที่แตกตางจากประเภทอื่น คือ ตมมะเขือพวงกอน แลวนำไปผัด หรือคั่วกับน้ำมันพืช เพื่อใหมี รสชาติดี แลวจึงนำมาโขลกรวมกับพริกหนุมและเครื่องปรุงอื่นๆ 1. ตมมะเขือพวง โดยใสน้ำเล็กนอย ตมใหเดือด 2. ตมจนกระทั่งน้ำแหง ใสน้ำมันประมาณ 1 ชอนโตะ ลงคั่วใหเขากัน เพื่อทำใหมีกลิ่นหอม แลวตั้งพักไว 3. โขลกกระเทียม พริกหนุมและกะป ใหละเอียด 4. ใสมะเขือพวงลงโขลกรวมกัน 5. ใสเกลือเล็กนอยคลุกเคลาใหเขากัน ชิมรส แลวนำไปรับประทานได หมายเหตุ : หากเตรียมเปนอาหารสำหรับผูปวยโรคมะเร็ง โรคไต และโรคความดันโลหิตสูง ควรงด ใสเกลือ

สรรพคุณทางอาหาร มะเขือพวงมีฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก แคลเซียม และไนอะซินสูง นอกจากนั้นยังพบเสนใยอาหาร ชนิดละลายน้ำในปริมาณสูง ทำใหอาหารเคลื่อนตัวชา ชวยใหลำไสดูดซึมแปงและน้ำตาลที่ยอยแลว ไดชาลง ระดับน้ำตาลในเลือดจึงไมสูงฉับพลัน เหมาะสำหรับการควบคุมโรคเบาหวาน และสารเสนใย นี้สามารถดึงน้ำไวไดเปนจำนวนมาก จึงชวยเพิ่มปริมาณอุจจาระ และกระตุนใหระบบขับถายทำงาน ไดเปนปกติ จากขอมูลการศึกษาพบวาน้ำสมุนไพรมะเขือพวงสามารถลดระดับอนุมูลอิสระซุปเปอรออกไซด หรืออนุมูลอิสระไนตริกออกไซดในเลือดหนูที่เปนเบาหวานได ซึ่งเปนอนุมูลอิสระที่กอใหเกิดกระบวนการ ทำลายเซลลในหนูทดลองที่มีอาการของโรคเบาหวาน สงผลตอกระบวนการทำลายอนุมูลอิสระใน เม็ดเลือดแดง นอกจากนี้ยังมีพืชผักสมุนไพรอีกหลายชนิดที่มีคุณสมบัติเชนนี้ เชน มะแวง กระเจี๊ยบมอญ

165


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภูมิปญญาหมอพื้นบาน - ผลออนมะเขือพวงสดๆ กินวันละ 10-20 ผล ทุกวัน เพราะมีวิตามินซีและวิตามินบีรวมสูง แคลเซียมสูง ฟอกเลือด บำรุงเลือด ยอยไขมัน แกเสมหะกำเริบ สูตร 1 สรรพคุณ ชวยลดระดับน้ำตาล สวนประกอบ ใบมะเขือพวง วิธีทำ ลางใบมะเขือพวงใหสะอาด หั่นตากแหง ชงเปนน้ำชา วิธีรับประทาน ดื่มตางน้ำไดบอยครั้ง ติดตอกัน 15 วัน

ขอควรระวัง หากรับประทานลูกแก จะแสบลิ้น หรืออาจทำใหอาเจียนได

166


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

บทสรุป โรคเบาหวาน เกิดจากภูมิตานทานของรางกายทำลายเซลลที่สรางอินซูลินใน ตับออน ทำใหไมสามารถสรางอินซูลินได จึงเกิดความผิดปกติ คือ รางกายไมสามารถ นำน้ำตาลไปใชเปนพลังงานไดหมด น้ำตาลในเลือดจึงสูงกวาปกติ กอใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงในระบบตางๆ ของรางกาย เกิดภาวะแทรกซอนเรื้อรัง เชน เกิดโรคไตวาย เรื้อรัง เปนปจจัยสำคัญทำใหเกิดโรคหลอดเลือดตีบตัน โรคอัมพฤกษ อัมพาต จากเสน โลหิตสมองตีบ เปนตน กลาวไดวา โรคเบาหวาน จะทำใหเกิดอาการหลายโรคในคน เดียวกัน พบวา คนไทยปวยเปนโรคเบาหวาน ประมาณ 1.4 ลานคน จากประชากรทั้ง ประเทศ 62 ลานคน โดยพบวา 95% เปนโรคเบาหวานชนิดไมทราบสาเหตุที่เกิด ซึ่ง อาจเกี่ยวของกับพันธุกรรม ภูมิปญญาของหมอพื้นบานไทยสวนใหญมักรักษาแบบองครวม โดยใชพืชผัก และสมุนไพรพื้นบานในการรักษา จากการรวบรวมมา พบวา มีพืชผักพื้นบานไทย หลายชนิดที่สามารถลดน้ำตาลในเลือด มีสารตานอนุมูลอิสระและลดกระบวนการ ทำลายเซลลของอนุมูลอิสระ และบรรเทาอาการในโรคเบาหวานได ที่สำคัญตองใชให ถูกตองชนิดของพืชสมุนไพร ถูกวิธีการปรุงและถูกตองตามสัดสวนที่ใช จึงจะใหผล การรักษาที่ดีผลที่ตามมา คือ ชวยชะลอความเสื่อมของรางกายและลดการเกิดอาการ โรคแทรกซอนในผูปวยเบาหวานได

167


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

เอกสารอ้างอิง ADA, 1997. Clinical practice recommendation 1997, Screening for diabetes. Diabetes care 20(1), 22-24. Faruk, M. J. A., Nahar, N., Aziz, M. A., Mosihuzzaman, M. and Rashid, M. A. 2002. Two new ellagic acids from Lagerstroemia speciosa Linn. plant. Journal of the Bangladesh Chemical Society. 15, 73-78. Geil P, Shane-McWhorter L. Dietary Supplements in the Management of Diabetes: Potential Risks and Benefits. Journal of the American Dietetic Association. 2008;108 (4, Supplement 1):S59-S65. Ines, U. and Federico, L. 2000. Plantt Polyphenol Antioxidants and Oxidative Stress. Biol. Res.33(2). McCarty MF. Nutraceutical resources for diabetes prevention - an update. Medical Hypotheses. 2005;64(1):151-8. Megalli S, Davies NM, Roufogalis BD. Anti-Hyperlipidemic and Hypoglycemic Effects of Gynostemma pentaphyllum in the Zucker Fatty Rat. J Pharm Pharmaceut Sci. 2006;9(3):281-91. Shapiro K. diabetes. Natural Product: A Case-Based Approach for Health Care Professionals. 2006:159-72. YEH GY, KAPTCHUK TJ, EISENBERG DM, PHILLIPS RS. Systematic Review of Herbs and Dietary Supplements for Glycemic Control in Diabetes. DIABETES CARE. 2003;26(4):1277-94.

168


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

ภาคผนวก

169


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

1. ความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมุนไพร 1.1 ชนิดตนไม เชน ตนไมใหญ ตนไมเล็ก ไมเต็ง หัว เหงา เปนตน 1) ตนไมใหญ เชน คูน ขี้เหล็ก เปนตน ประกอบดวย - เปลือก - กระพี้ - เนื้อไม - แกน 2) ตนไมเล็ก เชน กระเพรา โหรพา ยี่หรา เปนการรวมลำตนและใบ - ทั้งตน - ทั้ง 5 ประกอบดวย ราก ลำตน ผล ดอก ใบ (ลำตน ใชแตลำตน แตถาใชคำวาตน คือรวมลำตน และใบ) 3) ไมเถา เชน กวาวเครือแดง, หัวขาวเย็น - เถา - ใบ - ราก 4) หัว เชน บุก มัน, สัตฤๅษี - หัว - ใบ - ตน - เถา

170


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

5) เหงา/ แงง เชน ขิง ไมตระกูลวาน - เหงา - แงง (คือที่ตอจากเหงาลงไป) - ตน - ใบ - นม (ไข) 1.2 ศัพทเฉพาะ เชน 1) สะตุ หมายถึง การทำใหฤทธิ์ออนลง เปนการฆาเชื้อ ทำใหสารนั้นมีความสะอาด มากขึ้น เชน สารสม นำมาเคี่ยวจนแหง แลวนำมาทำเปนแผนเปนการฆาเชื้อทำใหสารสมสะอาด หมดจด เพื่อนำไปปรุงยา จะทำใหฤทธิ์ยาออนลง 2) ตัวกระสาย หมายถึง สารตัวหนึ่งที่ชวยตัวยาเสริมฤทธิ์ยาใหทำงานดีขึ้น 3) ทั้ง 5 หมายถึง ตนไมใหญ หมายถึง ราก แกน ผล ดอก ใบ ตนไมเล็ก หมายถึง ราก ลำตน ผล ดอก ใบ 4) ใบเพสลาด หมายถึง ใบกลางออน กลางแก 1.3 หนวยตวง วัด 1) กำมื อ คื อ ปริ ม าณของสมุ น ไพรที่ สั บ เป น ชิ้นเล็กๆ แลวหยิบมา 1 กำมือ หรือสมุนไพรที่ ผาเปนซีก ยาว 1 คืบแลวหยิบมา 1 กำมือ 2) กอน คือ ปริมาณของสมุนไพรที่จะนำไปใช เชน กอนขนาดเทาหัวแมมือผูปวย เปนตน

171


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

3) ชอนโตะ คือ ปริมาณของสมุนไพรที่จะนำไปใช เชน 1 ชอนโตะ เทากับ 2 ชอนชา หรือเทากับ 10 – 15 ซีซี 4) ชอนชา คือ ปริมาณของสมุนไพรที่จะนำไปใช เชน 1 ชอนชา 2 ชอนกาแฟ ตัวอยางคือ ชอนที่กินยาน้ำเด็ก 5 – 10 ซีซี 5) ชอนกาแฟ คือ ปริมาณของสมุนไพรที่จะนำไปใช เชน 1 ชอนกาแฟ เทากับ 3 กรัม หรือเทากับ 3 – 5 ซีซี หรือเทากับ ½ ชอนชา 6) หัว เชน หัวแหวหมู 7) ลูก เชน มะนาว 1 ลูก 8) ขีด/กรัม/กิโลกรัม คือ น้ำหนักของสมุนไพร เชน 1 กิโลกรัม เทากับ 1,000 กรัม หรือ 1 ขีด เทากับ 100 กรัม 9) ลิตร คือ ปริมาณของน้ำที่ใช เชน 1 ลิตร เทากับ 1,000 ซีซี 10) ซีซี เชน 1,000 ซีซี เทากับ 1 ลิตร 11) บาท คือ น้ำหนักของสมุนไพรที่จะนำไปใช เชน 1 บาท เทากับ 15 กรัม 12) หวี คือ ลักษณะนามของกลวย เชน กลวย 1 หวี

172


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

2. คณะทำงานจัดทำเนื้อหาสมุนไพรพื้นบานลดความเสี่ยงโรคเบาหวาน ตามภูมิปญญาของหมอพื้นบาน ผูเชี่ยวชาญ ศ.เกียรติคุณ ดร.ไมตรี สุทธจิตต ดร.อุษา กลิ่นหอม นายวินัย กลิ่นหอม ดร.อานนท เอื้อตระกูล ผศ.ดร.อำไพ พฤติวรพงศกุล ผศ.ดร.สุนีย จันทรสกาว ดร.ชลธิดา เทพหินลัพ ดร.พยุงศักดิ์ ตันติไพบูลยวงศ อาจารยธิดา ปญจพันธพงศ นายสุธน พรบัณฑิตยปทมา เจาหนาที่สำนักการแพทยพื้นบานไทย เรือตรีหญิงธนิดา ขุนบุญจันทร พันโทหญิงสุวิไล วงศธีระสุต นางฉันทนา กระภูฤทธิ์ นางสาวสิริลดา พิมพา นางสาวอรพินท ครุฑจับนาค นางสาวอรจิรา ทองสุกมาก นางสาวกมลทิพย สุวรรณเดช นางสาวภราดร สามสูงเนิน

คณะวิทยาศาสตรการแพทย มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นักวิชาการอิสระ ผูทรงคุณวุฒิดานเห็ด นักวิชาการอิสระ / ผูเชี่ยวชาญดานเห็ด องคการ สหประชาชาติ ป 2524-2548 คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คณะวิทยาศาสตรการแพทย มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิทยาศาสตรการแพทย มหาวิทยาลัยพะเยา สถาบันมะเร็งแหงชาติ นักวิชาการอิสระ ผูทรงคุณวุฒิดานภูมิปญญาการแพทยพื้นบานไทย นางสาวสิริรักษ อารทรากร นายอาทิตย กระออมแกว นางสาวณฤดี ไชยายงค นางสาวรวิวรรณ นาคะอุไร นางสาวอัญชัน พรมธิมา นางสาวจันทรา แทนกระโทก นางสาววราภรณ ดอนแกว

173


สมุนไพรพื้นบ้านลดความเสี่ยง โรคเบาหวาน ตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

หมอพื้นบาน 4 ภูมิภาค ภาคกลาง นายบุญยืน ผองแผว นายสายยน ใหญกระโทก นายสุนทร เชาวนะพานิช นายชาญวุฒิ พันธสายศรี นายสัมฤทธิ์ จำแนกวุฒิ นายฉลอง พันธุศุภผล

จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระแกว จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

นางสมบูรณ แสนแกว จังหวัดลพบุรี นายเปรมปรี รวยพินิจ จังหวัดสมุทรปราการ นายชาญ ดีอน จังหวัดชัยนาท นายชัยฤทธิ์ วรรณภักดี จังหวัดจันทบุรี นายประคองทรัพย ชาญเชิดศักด จังหวัดนนทบุรี

ภาคเหนือ นายประเดิม สางเสน นายสุนทร แกวทอง

จังหวัดเชียงใหม จังหวัดสุโขทัย

นายทูป จันเนย

จังหวัดสุโขทัย

นายคำผล แกวภูงา นายไข เหลาเคน

จังหวัดรอยเอ็ด จังหวัดอำนาจเจริญ

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นายโส พรบุญ จังหวัดรอยเอ็ด นายประสาสน รัตนปญญา จังหวัดมหาสารคาม ภาคใต นายอุเส็น วงคนิรัตน

จังหวัดสงขลา

174


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.