สมุดประจำตัวสำหรับผู้เข้าค่ายคุณธรรม

Page 1

สมุดประจำตัว สำหรับผู้เข้าค่ายคุณธรรม

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม


สมุดประจำตัว สำหรับผู้เข้าค่ายคุณธรรม

m สมุดของหนูค่ะ

m สมุดของผมครับ

ข้อมูลส่วนตัว ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................

ชั้น.............................................กลุ่ม..................................................

อาจารย์ประจำกลุ่ม.......................................................................

ที่อยู่.....................................................................................................

............................................................................................................... โทรศัพท์......................................... กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม


สมุดประจำตัวสำหรับผู้เข้าค่ายคุณธรรม ผู้จัดพิมพ์ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ปีที่พิมพ์ พ.ศ. ๒๕๕๓ จำนวนพิมพ์ ๓,๐๐๐ เล่ม ที่ปรึกษา ๑. นายสด แดงเอียด ๒. นายกฤษศญพงษ์ ศิริ ๓. นายพิสิทธิ์ นิรัตติวงศกรณ์ ๔. นางสาวภัคสุจิ์ภรณ์ จิปิภพ

อธิบดีกรมการศาสนา รองอธิบดีกรมการศาสนา ผู้อำนวยการกองศาสนูปถัมภ์ เลขานุการกรมการศาสนา

คณะทำงาน ๑. นางศรีนวล ลัภกิตโร นักวิชาการศาสนาชำนาญการพิเศษ ๒. นายสำรวย นักการเรียน นักวิชาการศาสนาชำนาญการ ๓. นางสาวอมรา ไหมพิมพ์ นักวิชาการศาสนาชำนาญการ ๔. นางสาววิภารัตน์ กอพยัคฆินทร์ นักวิชาการศาสนาชำนาญการ ๕. นางสาวรักชนก ษมาสิริ นักวิชาการศาสนาชำนาญการ ๖. นายชนะกิจ คชชี นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ ๗. นางสาวภคภรณ์ อมรรัตน์ นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ ๘. นายธนพล พรมสุวงษ์ นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ ๙. นายยอดชาย แสงศิริ นักวิชาการศาสนา ๑๐. นายวีระพงษ์ ฉัตรเวทิน นักวิชาการศาสนา ๑๑. นางสาวนันทิยา อายุวัฒนะ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ๑๒. นางสาวนภัสวรรณ เกตุสร้อย เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล รูปภาพประกอบ นางสาวรักษิณา ษมาสิริ

โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์

สำนักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม โทร. ๐-๒๔๒๒-๘๘๑๖ พิมพ์ที่

โรงพิมพ์ชุมนุม หกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด ๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทร าร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นายโชคดี ออ ุวรรณ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา พ.ศ. ๒๕๕๓


“...นึกถึงคุณธรรมซึ่งเป็นที่ตั้งของความรักความสามัคคี

ที่ทำให้คนไทยเราสามารถร่วมมือร่วมใจกันรักษาและพัฒนา

ชาติ บ้ า นเมื อ งให้ เ จริ ญ รุ่ ง เรื อ งสื บ ต่ อ กั น มาได้ ต ลอดรอดฝั่ ง ประการแรก คือการที่ทุกคนคิด พูด ทำ ด้วยความเมตตามุ่งดี มุ่งเจริญต่อกัน ประการที่สอง คือการที่แต่ละคนต่างช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน ประสานงาน ประสานประโยชน์กัน ให้งานที่ทำ สำเร็จผล ทั้งแก่ตน แก่ผู้อื่น และแก่ประเทศชาติ ประการ

ที่ ส าม คื อ การที่ ทุ ก คนประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต นอยู่ ใ นความสุ จ ริ ต

ในกฎกติ ก าและในระเบี ย บแบบแผนโดยเท่ า เที ย มเสมอกั น ประการที่สี่ คือการที่ต่างคนต่างพยายามทำความคิดความเห็น ของตนให้ ถู ก ต้ อ งเที่ ย งตรง และมั่ น คงอยู่ ใ นเหตุ ใ นผล

หากความคิดจิตใจและการประพฤติปฏิบัติที่ลงรอยเดียวกัน

ในทางที่ดีที่เจริญนี้ ยังมีพร้อมมูลอยู่ ในกายในใจของคนไทย

ก็มั่นใจได้ว่าประเทศชาติไทยจะดำรงมั่นคงอยู่ตลอดไปได้...” พระราชดำรัส ในการเสด็จออกมหาสมาคม ในงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม วันศุกร์ ที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙


รักพ่อ ทำตามคำสอนพ่อ

คุณธรรม ๔ ประการ

๑. เมตตาธรรม - การคิด พูด ทำ ด้วยความเมตตา

มุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน ๒. สามัคคีธรรม - การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ประสานงาน

ประสานประโยชน์กัน ให้งานที่ทำ

สำเร็จผล ทั้งแก่ตน แก่ผู้อื่น และ

แก่ประเทศชาติ ๓. สุจริตธรรม - การประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในความ

สุจริต ในกฎกติกาและในระเบียบ

แบบแผนโดยเท่าเทียมเสมอกัน ๔. เที่ยงธรรม - ทำความคิ ด ความเห็ น ของตน

ให้ ถู ก ต้ อ งเที่ ย งตรง และมั่ น คง

อยู่ในเหตุในผล


ข้อปฏิบัติ ในการอยู่ค่ายคุณธรรม ๑. ทำใจให้ ส งบ ทำ พู ด คิ ด ในสิ่ ง ที่ ดี ง าม

มีประโยชน์ ๒. รักษากาย วาจา ใจ ให้สงบ สุภาพ เรียบร้อย ๓. รั ก ษากฎระเบี ย บ และรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม

ให้สะอาดอยู่เสมอ ๔. มีความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย ประหยัด ๕. รู้ จั ก แสวงหาความรู้ ใช้ เ วลาว่ า งให้ เ กิ ด ประโยชน์ ๖. รู้จักเคารพในสิทธิ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น

ให้เกียรติซึ่งกันและกัน ๗. พยายามสร้ า งความดี งดเว้ น สร้ า งบาป

ละอบายมุขทั้งปวง ๘. มี น้ ำ ใจ ไม่ เ ห็ น แก่ ตั ว เสี ย สละช่ ว ยเหลื อ

งานต่าง ๆ ของส่วนรวม ๙. ปฏิบัติตามกฎระเบียบของวัดและโรงเรียน


กติกาสัญญาใจ ๑. กำหนดในใจว่า “เรามาฝึกอบรมเพื่อพัฒนา ตนเองให้เป็นคนดี” จึงควรพยายามละเว้นเรื่องต่าง ๆ ที่ทำให้จิตเศร้าหมอง ประคองจิตให้ถึงธรรม ๒. พยายามสำรวจตัวเอง ทั้งกาย วาจา และใจ ๓. พยายามงดการพูดคุย พูดเฉพาะความจำเป็น เท่านั้น ๔. มี ส ติ ทุ ก อิ ริ ย าบถ ให้ รู้ ตั ว ว่ า ขณะนี้ ก ำลั ง

ทำอะไรอยู่ ๕. ลดทิ ฏ ฐิ ม านะ อั ต ตา ตั้ ง ใจรั ก ษาศี ล

เจริญจิตภาวนา และใช้เมตตาให้มาก ๖. อดทนต่อความยากลำบากทุกกรณี ๗. เมื่อมีปัญหา สงสัยสิ่งใด ให้ถามพระวิทยากร หรือคณะครู ๘. แต่ ง กายสุ ภ าพเรี ย บร้ อ ย เก็ บ รองเท้ า ให้

เป็นระเบียบในที่ที่กำหนด ๙. ช่วยกันรักษาความสะอาดที่พักทุกคน และ รักษาความสะอาดสถานที่ รวมถึงการใช้ห้องน้ำ ๑๐. ห้ามสมาชิกชาย หญิง อยู่ในที่ลับสองต่อสอง


๑๑. มีมารยาทในการรับประทานอาหาร สุภาพ เรียบร้อยต่อสมาชิกร่วมค่ายและบุคคลทั่วไป ๑๒. ตรงต่อเวลา และไม่ลุกออกจากห้องประชุม หรือห้องเรียนก่อนเวลา ๑๓. ขณะสวดมนต์ ไหว้พระ ฝึกสมาธิ ฟังบรรยายธรรม

ห้ามส่งเสียงดังเป็นอันขาด ๑๔. ห้ามนำอาหาร ขนม หรือสิ่งเสพติดต่าง ๆ เข้าไปรับประทานหรือเก็บไว้ในห้อง ๑๕. ห้ามออกนอกบริเวณวัด หรือโรงเรียนที่จัดค่าย ๑๖. ห้ามนำของมีค่า โทรศัพท์มือถือ และอื่น ๆ ๑๗. ข้อวัตรปฏิบัติอื่น ๆ นอกจากนี้ ให้พิจารณา ตามความเหมาะสมแก่กาลเทศะ เพศ และวัย


ประโยชน์ของการสวดมนต์ การสวดมนต์ เป็นกิจที่จำเป็นและสำคัญสำหรับ พุ ท ธศาสนิ ก ชน เป็ น ประเพณี นิ ย มที่ ป ฏิ บั ติ สื บ ทอด

กันมาเป็นเวลาช้านาน เป็นหลักปฏิบัติเบื้องต้น อันจะ นำไปสู่การเรียนรู้และปฏิบัติตามหลักคำสอนในระดับ

ที่สูงขึ้นไป อย่างไรก็ดี การสวดมนต์มีอานิสงส์และ

มีคุณประโยชน์มาก ซึ่งพอสรุปได้ ดังนี้ ๑. ชื่ อ ว่ า ได้ เ ข้ า เฝ้ า พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า เพราะขณะสวดมนต์ อ ยู่ นั้ น จิ ต รำลึ ก ถึ ง พระคุ ณ

ของพระพุทธเจ้า พระธรรมคำสอน และคุณความดี ของพระสงฆ์สาวก ๒. ขณะที่ ส วดมนต์ อ ยู่ นั้ น จิ ต ใจจะสงบ

ปราศจากความโลภ ความโกรธ ความหลง ๓. จิตเป็นสมาธิ เข้มแข็ง อดทน ๔. ได้ปัญญารู้แจ้งเห็นจริงถึงสัจธรรมในการ ดำรงชีวิต ๕. การสวดมนต์ ภ าวนา เป็ น การสั่ ง สม

บุญบารมี จิตใจสงบ นอนหลับสบาย ไม่ฝันร้าย


๖. การสวดมนต์ เป็ น การบริ ห ารร่ า งกาย

อย่างหนึ่ง เช่น การยกมือ การประนมมือ การก้มกราบ

การเปล่ ง ออกเสี ย งทำให้ ป อดขยาย ระบบทางเดิ น หายใจดีขึ้น สร้างภูมิคุ้มกันโรคภัยแก่ร่างกาย ๗. การสวดมนต์ เ ป็ น หมู่ ค ณะ ต้ อ งมี ค วาม พร้ อ มเพรี ย งกั น เริ่ ม พิ ธี พ ร้ อ มกั น กราบพร้ อ มกั น

สวดพร้ อ มกั น เลิ ก พร้อมกัน เป็นการสร้างระเบีย บ

และความสามัคคีในหมู่คณะ


10

บทสวดมนต์ประจำวัน ๑. บทนมั ส การพระรั ต นตรั ย จะสวดแต่ บ าลี ห รื อ

มีคำแปลด้วยก็ ได้ ดังนี้ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ พระผู้มีพระภาคเจ้า, ภะคะวา, เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้ โดยพระองค์เอง พุทธัง ภะคะวันตัง ข้าพเจ้าขออภิวาท อะภิวาเทมิ. พระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา พระธรรม เป็นธรรมที่ ธัมโม, พระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว; ธัมมัง นะมัสสามิ. ข้าพเจ้าขอนมัสการ พระธรรม (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต พระสงฆ์สาวกของ สาวะกะสังโฆ พระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว;


11

สังฆัง นะมามิ. ข้าพเจ้าขอนอบน้อม พระสงฆ์ (กราบ) ๒. บทนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า ดังนี้ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบน้อมแด่ พระผู้มีพระภาคเจ้า, พระองค์นั้น; อะระหะโต, ซึ่งเป็นผู้ ไกลจากกิเลส; สัมมาสัมพุทธัสสะ. ตรัสรู้ชอบได้ โดยพระองค์เอง. (๓ ครั้ง) ๓. บทไตรสรณคมน์ (การขอถึ ง พระรั ต นตรั ย เป็ น สรณะที่ระลึกนับถือ) ดังนี้ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า เป็นสรณะ ที่ระลึกนับถือ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม เป็นสรณะ ที่ระลึกนับถือ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ เป็นสรณะ ที่ระลึกนับถือ


12

ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า คัจฉามิ, เป็นสรณะ ที่ระลึกนับถือ แม้ครั้งที่สอง ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม คัจฉามิ, เป็นสรณะ ที่ระลึกนับถือ แม้ครั้งที่สอง ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ คัจฉามิ, เป็นสรณะ ที่ระลึกนับถือ แม้ครั้งที่สอง ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า คัจฉามิ, เป็นสรณะ ที่ระลึกนับถือ แม้ครั้งที่สาม ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม คัจฉามิ, เป็นสรณะ ที่ระลึกนับถือ แม้ครั้งที่สาม ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ คัจฉามิ, เป็นสรณะ ที่ระลึกนับถือ แม้ครั้งที่สาม


13

๔. บทสรรเสริญพระพุทธคุณ ๙ ประการ ดังนี้ อิติปิ โส ภะคะวา เพราะเหตุอย่างนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น; ๑. อะระหัง เป็นผู้ ไกลจากกิเลส ๒. สัมมาสัมพุทโธ, เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้ โดยพระองค์เอง; ๓. วิชชาจะระณะ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชา สัมปันโน, และจรณะ; ๔. สุคะโต, เป็นผู้เสด็จไปแล้วด้วยดี; ๕. โลกะวิทู, เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง; ๖. อะนุตตะโร เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษ ปุริสะทัมมะ ที่สมควรฝึกได้ สาระถิ, อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า; ๗. สัตถา เป็นครูผู้สอนของเทวดา เทวะมะนุสสานัง, และมนุษย์ทั้งหลาย; ๘. พุทโธ, เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วยธรรม; ๙. ภะคะวาติ. เป็นผู้มีความจำเริญ จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ ดังนี้.


14

๕. บทสรรเสริญพระธรรมคุณ ๖ ประการ ดังนี้ ๑. สวากขาโต พระธรรม เป็นธรรมที่ ภะคะวะตา ธัมโม, พระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว; ๒. สันทิฏฐิโก, เป็นธรรมที่พึงเห็นได้ ด้วยตนเอง; ๓. อะกาลิโก, เป็นธรรมที่ให้ผลได้ ไม่จำกัดกาล; ๔. เอหิปัสสิโก, เป็นธรรมที่ควรกล่าว กะผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด; ๕. โอปะนะยิโก, เป็นธรรมที่ควรน้อม เข้ามาใส่ตัว; ๖. ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ เป็นธรรมที่ผู้รู้ก็รู้ ได้ วิญญูหีติ. เฉพาะตน; ดังนี้. ๖. บทสรรเสริญพระสังฆคุณ ๙ ประการ ดังนี้ ๑. สุปะฏิปันโน พระสงฆ์สาวกของ ภะคะวะโต พระผู้มีพระภาคเจ้า, สาวะกะสังโฆ, ปฏิบัติดีแล้ว; ๒. อุชุปะฏิปันโน พระสงฆ์สาวกของ ภะคะวะโต พระผู้มีพระภาคเจ้า, สาวะกะสังโฆ, ปฏิบัติตรงแล้ว;


15

๓. ญายะปะฏิปันโน พระสงฆ์สาวกของ ภะคะวะโต พระผู้มีพระภาคเจ้า, สาวะกะสังโฆ, ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรม เป็นเครื่องออกจาก ทุกข์แล้ว; ๔. สามีจิปะฏิปันโน พระสงฆ์สาวกของ ภะคะวะโต พระผู้มีพระภาคเจ้า, สาวะกะสังโฆ, ปฏิบัติตามสมควรแล้ว; ยะทิทัง, ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ : จัตตาริ ปุริสะยุคานิ คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ อัฏฐะ นับเป็นรายบุคคล ปุริสะปุคคะลา, ได้ ๘ บุรุษ; เอสะ ภะคะวะโต นั้นแหละ พระสงฆ์สาวกของ สาวะกะสังโฆ, พระผู้มีพระภาคเจ้า; ๕. อาหุเนยโย, เป็นผู้ควรแก่สักการะ ที่เขานำมาบูชา; ๖. ปาหุเนยโย, เป็นผู้ควรแก่สักการะ ที่เขาจัดไว้ต้อนรับ; ๗. ทักขิเณยโย, เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน; ๘. อัญชะลีกะระณีโย, เป็นผู้ควรทำอัญชลี; ๙. อะนุตตะรัง เป็นเนื้อนาบุญของโลก ปุญญักเขตตัง ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า; โลกัสสาติ. ดังนี้.


16

๗. บทแผ่เมตตา การแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ทั้งหลาย มี ห ลายแบบ จะใช้ แ บบใดก็ ไ ด้ ข อเพี ย งให้ มี จิ ต สงบ

เปี่ ย มด้ ว ยความเมตตาแล้ ว แผ่ ไ ปก็ ใ ช้ ไ ด้ สำหรั บ บท

แผ่เมตตา มีดังนี้ บทแผ่เมตตา สัพเพ สัตตา, สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์, เกิด แก่ เจ็บ ตาย, ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น; อะเวรา, จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด, อย่าได้มีเวรแก่กัน และกันเลย; อัพยาปัชฌา, จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด, อย่าได้พยาบาท เบียดเบียน ซึ่งกันและกันเลย; อะนีฆา, จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด, อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย; สุขี อัตตานัง จงมีความสุขกาย สุขใจ, ปะริหะรันตุ. รักษาตนให้ พ้นจากทุกข์ภัย, ทั้งสิ้นเถิด.


17

๘. การน้อมรำลึกถึงผู้มีพระคุณ เมื่อแผ่เมตตาแล้ว พึงตั้งใจระลึกถึงพระคุณของบิดามารดา แล้วกราบ

ตั้งมือ ๑ ครั้ง จากนั้นระลึกถึงพระคุณของครูบาอาจารย์ และผู้มีพระคุณทั้งหลาย แล้วกราบอีกครั้งหนึ่ง ครั้นแล้วกราบพระรัตนตรัยแบบเบญจางคประดิษฐ์

(ตามเพศ ๓ ครั้ ง ) ขณะหมอบกราบพึ ง ระลึ ก ถึ ง

คุณพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งดังกล่าวแล้ว เป็นอันเสร็จ

พิธีสวดมนต์ประจำวันและก่อนนอน การสวดมนต์ก่อนนอนนี้ ชาวพุทธผู้เคร่งครัด

ในพระศาสนาจะสั่ ง สอนบุ ต รหลานของตนให้ ป ฏิ บั ติ

เป็นนิสัยในกิจวัตรประจำวัน เพราะจะเป็นผลให้ลูกหลาน ของตนเป็นคนดี มีอารมณ์เยือกเย็นและกตัญญูรู้คุณ เนื่องจากมีหลักยึดเหนี่ยวจิตใจนั่นเอง ชาวพุ ท ธนอกจากจะสวดมนต์ ป ระจำวั น และ

ก่อนนอนแล้ว บางคนอาจจะบูชาพระและสวดมนต์

เป็นกรณีพิเศษ เช่น ในขณะเกิดความไม่สบายใจหรือ ก่อนจะตัดสินใจแก้ปัญหาสำคัญ ๆ ทั้งนี้เพื่อให้จิตสงบ ความไม่สบายใจจะหายไป ทำให้มีสติสามารถตัดสินใจ ได้ดี


18

คำอาราธนาศีล ๕ มยํ ภนฺเต วิสุํ วิสุํ รกฺขณตฺถาย, ติสรเณน สห, ปญฺจ สีลานิ ยาจาม. มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ, ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ. ข้ า แต่ ท่ า นผู้ เ จริ ญ ข้ า พเจ้ า ทั้ ง หลาย, ขอศี ล ๕

พร้อมด้วยไตรสรณคมน์ เพื่อต้องการรักษาเป็นข้อ ๆ ทุติยมฺปิ มยํ ภนฺเต วิสุํ วิสุํ รกฺขณตฺถาย, ติสรเณน สห, ปญฺจ สีลานิ ยาจาม. ทุ ติ ยั ม ปิ มะยั ง ภั น เต วิ สุ ง วิ สุ ง รั ก ขะณั ต ถายะ

ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ. ข้ า แต่ ท่ า นผู้ เ จริ ญ ข้ า พเจ้ า ทั้ ง หลาย ขอศี ล ๕

พร้อมด้วยไตรสรณคมน์ เพื่อต้องการรักษาเป็นข้อ ๆ แม้ครั้งที่ ๒ ฯ ตติยมฺปิ มยํ ภนฺเต วิสุํ วิสุํ รกฺขณตฺถาย, ติสรเณน สห, ปญฺจ สีลานิ ยาจาม. ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ,

ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ. ข้ า แต่ ท่ า นผู้ เ จริ ญ ข้ า พเจ้ า ทั้ ง หลาย ขอศี ล ๕

พร้อมด้วยไตรสรณคมน์ เพื่อต้องการรักษาเป็นข้อ ๆ แม้ครั้งที่ ๓ ฯ


19

คำอาราธนาพระปริตร วิ ป ตฺ ติ ป ฏิ พ าหาย สพฺ พ สมฺ ป ตฺ ติ สิ ท ธิ ย า, สพฺ พ ทุ ก ข

วินาสาย ปริตฺตํ พฺรูถ มงฺคลํ. วิ ปั ต ติ ป ะฏิ พ าหายะ สั พ พะสั ม ปั ต ติ สิ ท ธิ ย า, สั พ พะ ทุกขะวินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง. ขอพระคุณเจ้าทั้งหลาย จงสวดพระปริตรอันเป็นมงคล เพื่ อ ป้ อ งกั น ความวิ บั ติ , เพื่ อ ความสำเร็ จ แห่ ง สมบั ติ

ทั้งปวง, เพื่อความพินาศไปแห่งทุกข์ทั้งปวง ฯ วิ ป ตฺ ติ ป ฏิ พ าหาย สพฺ พ สมฺ ป ตฺ ติ สิ ท ธิ ย า, สพฺ พ ภย

วินาสาย ปริตฺตํ พรูถ มงฺคลํ. วิ ปั ต ติ ป ะฏิ พ าหายะ สั พ พะสั ม ปั ต ติ สิ ท ธิ ย า, สั พ พะ

ภะยะวินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง. ขอพระคุณเจ้าทั้งหลาย จงสวดพระปริตรอันเป็นมงคล เพื่ อ ป้ อ งกั น ความวิ บั ติ , เพื่ อ ความสำเร็ จ แก่ ส มบั ติ

ทั้งปวง, เพื่อความพินาศไปแห่งภัยทั้งปวง ฯ


20

วิ ป ตฺ ติ ป ฏิ พ าหาย สพฺ พ สมฺ ป ตฺ ติ สิ ท ธิ ย า, สพฺ พ โรค

วินาสาย ปริตฺตํ พรูถ มงฺคลํ. วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา, สัพพะโรคะ

วินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง. ขอพระคุณเจ้าทั้งหลาย จงสวดพระปริตรอันเป็นมงคล เพื่ อ ป้ อ งกั น ความวิ บั ติ , เพื่ อ ความสำเร็ จ แห่ ง สมบั ติ

ทั้งปวง, เพื่อความพินาศไปแห่งโรคทั้งปวง ฯ


21

คำอาราธนาธรรม พฺรหฺมา จ โลกาธิปตี สหมฺปติ, กตฺอญฺชลี อนฺธิวรํ อยาจถ, สนฺตีธ สตฺตาปฺปรชกฺขชาติกา, เทเสตุ, ธมฺมํ อนุกมฺปิมํ ปชํ. พรัหมา จะ โลกาธิปะตี สะหัมปะติ, กัตอัญชะลี อันธิวะรัง อะยาจะถะ, สันตีธะ สัตตาปปะระชักขะชาติกา, เทเสตุ, ธัมมัง อะนุกัมปิมัง ปะชัง. ท้าวสหัมบดีพรหม ผู้เป็นใหญ่แห่งโลก ได้กระทำอัญชลี ทู ล อาราธนาพระผู้ มี พ ระภาคเจ้ า ผู้ ป ระเสริ ฐ ว่ า

สัตว์ทั้งหลายผู้มีกิเลสเบาบางมีอยู่ในโลกนี้ ขอพระองค์

ทรงแสดงธรรมอนุเคราะห์หมู่ชนนี้เถิด ฯ


22

หลักธรรมในชีวิตประจำวัน ๑. รั ก ษาศี ล คื อ ความประพฤติ ดี หรื อ ประพฤติชอบทางกายและวาจา การรักษากายวาจา

ให้เรียบร้อย เป็นพื้นฐานของการทำความดีทุกอย่าง บุ ค คลควรได้ มี ก ารปฏิ บั ติ ค วบคู่ กั บ การรั ก ษาศี ล

ด้วยเหตุว่าผู้มีศีลย่อมเป็นบ่อเกิดของคุณธรรมต่าง ๆ จะนำพาและเป็ น แนวทางแห่ ง การทำความดี และ จรรโลงชีวิต ส่งเสริมให้เกิดความสงบสุข การประพฤติ ปฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น คุ ณ งามความดี เพื่ อ ความสงบสุ ข ของ ตนเองและสั ง คม ได้ แ ก่ ศี ล ๕ (เบญจศี ล ) และ

ธรรม ๕ (เบญจธรรม) ศีลข้อที่ เบญจศีล เบญจธรรม ๑. ปาณาติปาตา เว้นจาก เมตตา การปลงชีวิต และกรุณา เวรมณี ฆ่า ประทุษร้าย ความรัก ปรารถนาให้มี ความสุข ๒. อทินฺนาทานา เว้นจาก สัมมาอาชีวะ เวรมณี การถือเอาของ การหาเลี้ยงชีพ ที่เขามิได้ ให้ ทางสุจริต ลัก โกง ละเมิด


23

๓. กาเมสุ เว้นจาก กามสังวร มิจฺฉาจารา ประพฤติผิด สำรวมระวัง เวรมณี ในกาม รู้จักยับยั้ง ควบคุมตนใน ทางกามารมณ์ ๔. มุสาวาทา เว้นจาก สัจจะ เวรมณี การพูดเท็จ มีความซื่อสัตย์ โกหก หลอกลวง ซื่อตรง ๕. สุราเมรยมชฺช เว้นจาก สติสัมปชัญญะ ปมาทฏฺฐฺานา การดื่มน้ำเมา คือ ระลึกได้และ เวรมณี สุรา และเมรัย รู้ตัวอยู่เสมอ ๒. ปฏิบัติตนอยู่ในศีล ๕ คุณธรรม ๔ ประการ พระบรมราโชวาท ๔ ประการ น้ อ มนำปรั ช ญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เพื่ อ ถวายเป็ น พุ ท ธบู ช า และ

ถวายเป็นราชสักการะแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา

๕ ธันวาคม


24

บันทึกประจำวัน

วันที่.............เดือน....................................พ.ศ. .............. ๑. สิ่งที่ ได้เรียนรู้ ในวันนี้ ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ๒. ความประทับใจในวันนี้ ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ๓. ข้อคิดที่เราได้รับในวันนี้ ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................


25

๔. ความผิ ด , ข้ อ บกพร่ อ งของตนเองที่ ไ ด้ ส ารภาพ

ในวันนี้ ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ๕. มโนปณิธาน (ความตั้งใจที่จะทำในวันนี้) ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ๖. อื่น ๆ ที่ควรบันทึก ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................


26

บันทึกประจำวัน

วันที่.............เดือน....................................พ.ศ. .............. ๑. สิ่งที่ ได้เรียนรู้ ในวันนี้ ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ๒. ความประทับใจในวันนี้ ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ๓. ข้อคิดที่เราได้รับในวันนี้ ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................


27

๔. ความผิ ด , ข้ อ บกพร่ อ งของตนเองที่ ไ ด้ ส ารภาพ

ในวันนี้ ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ๕. มโนปณิธาน (ความตั้งใจที่จะทำในวันนี้) ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ๖. อื่น ๆ ที่ควรบันทึก ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................


28

บันทึกประจำวัน

วันที่.............เดือน....................................พ.ศ. .............. ๑. สิ่งที่ ได้เรียนรู้ ในวันนี้ ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ๒. ความประทับใจในวันนี้ ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ๓. ข้อคิดที่เราได้รับในวันนี้ ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................


29

๔. ความผิ ด , ข้ อ บกพร่ อ งของตนเองที่ ไ ด้ ส ารภาพ

ในวันนี้ ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ๕. มโนปณิธาน (ความตั้งใจที่จะทำในวันนี้) ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ๖. อื่น ๆ ที่ควรบันทึก ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................


30

บันทึกฐานที่ ๑ เรื่อง.................................................................................

บรรยายโดย....................................................................

ข้อคิดที่ ได้คือ…………………………………………………………......

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................


31

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................


32

บันทึกฐานที่ ๒ เรื่อง.................................................................................

บรรยายโดย....................................................................

ข้อคิดที่ ได้คือ…………………………………………………………......

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................


33

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................


34

บันทึกฐานที่ ๓ เรื่อง.................................................................................

บรรยายโดย....................................................................

ข้อคิดที่ ได้คือ…………………………………………………………......

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................


35

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................


36

บันทึกฐานที่ ๔ เรื่อง.................................................................................

บรรยายโดย....................................................................

ข้อคิดที่ ได้คือ…………………………………………………………......

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................


37

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................


38

ความประทับใจในการเข้าค่าย ส่งเสริมจริยธรรมที่อยากจะบอก ก่อนเข้าค่าย มีความรู้สึกว่า.......................................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................

ระหว่างเข้าค่าย มีความรู้สึกว่า................................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................

หลังจากเข้าค่ายแล้ว มีความรู้สึกว่า......................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................


39

บันทึกจากพระอาจารย์/อาจารย์ประจำกลุ่ม ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………............................................... ……………………………………………………………...............................................

……………………………………………………………...............................................

ลงชื่อ......................................................ลายเซ็น พระอาจารย์/อาจารย์ประจำกลุ่ม


40

เพื่อนธรรม..... ที่เข้าร่วมค่ายคุณธรรม ชื่อ-สกุล..............................................................................................

โรงเรียน.............................................................................................

ที่อยู่.....................................................................................................

...............................................................................................................

โทรศัพท์.............................................................................................

ชื่อ-สกุล..............................................................................................

โรงเรียน.............................................................................................

ที่อยู่.....................................................................................................

...............................................................................................................

โทรศัพท์.............................................................................................

ชื่อ-สกุล..............................................................................................

โรงเรียน.............................................................................................

ที่อยู่.....................................................................................................

...............................................................................................................

โทรศัพท์.............................................................................................


41

ชื่อ-สกุล..............................................................................................

โรงเรียน.............................................................................................

ที่อยู่.....................................................................................................

...............................................................................................................

โทรศัพท์.............................................................................................

ชื่อ-สกุล..............................................................................................

โรงเรียน.............................................................................................

ที่อยู่.....................................................................................................

...............................................................................................................

โทรศัพท์.............................................................................................

ชื่อ-สกุล..............................................................................................

โรงเรียน.............................................................................................

ที่อยู่.....................................................................................................

...............................................................................................................

โทรศัพท์.............................................................................................

ชื่อ-สกุล..............................................................................................

โรงเรียน.............................................................................................

ที่อยู่.....................................................................................................

...............................................................................................................

โทรศัพท์.............................................................................................


42

ชื่อ-สกุล..............................................................................................

โรงเรียน.............................................................................................

ที่อยู่.....................................................................................................

...............................................................................................................

โทรศัพท์.............................................................................................

ชื่อ-สกุล..............................................................................................

โรงเรียน.............................................................................................

ที่อยู่.....................................................................................................

...............................................................................................................

โทรศัพท์.............................................................................................

ชื่อ-สกุล..............................................................................................

โรงเรียน.............................................................................................

ที่อยู่.....................................................................................................

...............................................................................................................

โทรศัพท์.............................................................................................

ชื่อ-สกุล..............................................................................................

โรงเรียน.............................................................................................

ที่อยู่.....................................................................................................

...............................................................................................................

โทรศัพท์.............................................................................................


43

แผนการพัฒนาคุณภาพชีวิต หลังผ่านกิจกรรมแล้ว ๑. ดำรงตนตามกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ (ทาง ทำความดี ๑๐ ประการ) ซึ่งมีหัวข้อดังนี้ ๑.๑ ปาณาติ ป าตา เวระมณี คื อ เว้ น จาก

การปลงชีวิต ไม่ฆ่าหรือทรมานทั้งคนและสัตว์ ๑.๒ อะทินนาทานา เวระมณี คือ เว้นจาก การลักขโมย หรือถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ ได้ให้ ๑.๓ กาเมสุ มิจฉาจารา เวระมณี คือ เว้นจาก การประพฤติ ผิ ด ในกาม เว้ น ไม่ ยุ่ ง เกี่ ย วเชิ ง ชู้ ส าว

กั บ หญิ ง ชายที่ มี ส ามี ภรรยา พ่ อ แม่ ผู้ ป กครอง

คอยเลี้ยงดูอยู่ ๑.๔ มุสาวาทา เวระมณี คือ เว้นจากพูดเท็จ เว้นพูดผิดจากความเป็นจริง ๑.๕ ปิสุณายะ วาจายะ เวระมณี คือ เว้นจาก การพูดยุยงให้คนแตกสามัคคี ๑.๖ ผะรุสายะ วาจายะ เวระมณี คือ เว้นจาก พูดคำหยาบ เว้นพูดคำไม่สุภาพ ๑.๗ สัมผัปปะลาปา เวระมณี คือ เว้นจาก พู ด เพ้ อ เจ้ อ เว้ น พู ด ถ้ อ ยคำอั น หาประโยชน์ ไม่ ได้

เว้นพูดพล่ามไร้สาระ


44

๑.๘ อะนะภิ ช ฌา คื อ ความไม่ คิ ด เพ่ ง เล็ ง อยากได้ของของคนอื่นเขา ๑.๙ อะพะยาบาท คือ ความไม่คิดร้ายผู้อื่น ไม่คิดผูกจองเวรจ้องจะทำร้ายหรือหาเรื่องผู้อื่น ๑.๑๐ สัมมาทิฏฐิ คือ มีความคิดความเห็นชอบ ถูกต้องตามคลองธรรม เชื่อในสิ่งที่ถูก รู้จักดี รู้จักชั่ว รู้จักแยกแยะถูกผิด มีความคิดอยู่ในกรอบของศีลธรรม ข้ า พเจ้ า มี ก ารวางแผนในการดำเนิ น ชี วิ ต

ตามหลักกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการข้างต้น ดังนี้ ๑. นั บ ตั้ ง แต่ ข้ า พเจ้ า ผ่ า นกิ จ กรรมครั้ ง นี้ แ ล้ ว ข้าพเจ้าจะขอปฏิบัติตามหลักกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ ข้อที่......................................รวมทั้งหมด..........ข้อ ทุกวัน

โดยไม่มีขาด ขอความสุขความเจริญจงมีแก่ข้าพเจ้า และครอบครัว ๒. นั บ ตั้ ง แต่ ข้ า พเจ้ า ผ่ า นกิ จ กรรมครั้ ง นี้ แ ล้ ว ภายในระยะเวลา ๑ เดื อ น ข้ า พเจ้ า ตั้ ง ใจที่ จ ะขอ

ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก กุ ศ ลกรรมบถ ๑๐ ประการ

ข้อที่......................................รวมทั้งหมด..........ข้อ ทุกวัน

โดยไม่มีขาด ขอความสุขความเจริญจงมีแก่ข้าพเจ้า และครอบครัว


45

๓. นั บ ตั้ ง แต่ ข้ า พเจ้ า ผ่ า นกิ จ กรรมครั้ ง นี้ แ ล้ ว ภายในระยะเวลา ๖ เดื อ น ข้ า พเจ้ า ตั้ ง ใจที่ จ ะขอ

ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก กุ ศ ลกรรมบถ ๑๐ ประการ

ข้อที่......................................รวมทั้งหมด..........ข้อ ทุกวัน

โดยไม่มีขาด ขอความสุขความเจริญจงมีแก่ข้าพเจ้า และครอบครัว ๔. นั บ ตั้ ง แต่ ข้ า พเจ้ า ผ่ า นกิ จ กรรมครั้ ง นี้ แ ล้ ว ภายในระยะเวลา ๑ ปี ข้ า พเจ้ า ตั้ ง ใจที่ จ ะขอ

ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก กุ ศ ลกรรมบถ ๑๐ ประการ

ข้อที่......................................รวมทั้งหมด..........ข้อ ทุกวัน

โดยไม่มีขาด ขอความสุขความเจริญจงมีแก่ข้าพเจ้า และครอบครัว ๕. นั บ ตั้ ง แต่ ข้ า พเจ้ า ผ่ า นกิ จ กรรมครั้ ง นี้ แ ล้ ว ภายในระยะเวลา ๒ ปี ข้ า พเจ้ า ตั้ ง ใจที่ จ ะขอ

ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก กุ ศ ลกรรมบถ ๑๐ ประการ

ข้อที่......................................รวมทั้งหมด..........ข้อ ทุกวัน

โดยไม่มีขาด ขอความสุขความเจริญจงมีแก่ข้าพเจ้า และครอบครัว ๖. นั บ ตั้ ง แต่ ข้ า พเจ้ า ผ่ า นกิ จ กรรมครั้ ง นี้ แ ล้ ว ภายในระยะเวลา ๓ ปี ข้ า พเจ้ า ตั้ ง ใจที่ จ ะขอ

ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก กุ ศ ลกรรมบถ ๑๐ ประการ

ข้อที่......................................รวมทั้งหมด..........ข้อ ทุกวัน


46

โดยไม่มีขาด ขอความสุขความเจริญจงมีแก่ข้าพเจ้า และครอบครัว ๗. นั บ ตั้ ง แต่ ข้ า พเจ้ า ผ่ า นกิ จ กรรมครั้ ง นี้ แ ล้ ว ภายในระยะเวลา ๑๐ ปี ข้ า พเจ้ า ตั้ ง ใจที่ จ ะขอ

ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก กุ ศ ลกรรมบถ ๑๐ ประการ

ข้อที่......................................รวมทั้งหมด..........ข้อ ทุกวัน

โดยไม่มีขาด ขอความสุขความเจริญจงมีแก่ข้าพเจ้า และครอบครัว ๒. ดำรงตนงดเว้ น จากการเกี่ ย วข้ อ งกั บ อบายมุ ข

๖ ประการ (เหตุ แ ห่ ง ความฉิ บ หาย ๖ ประการ)

ซึ่งมีหัวข้อดังนี้ ๒.๑ เป็นนักเลงสุรา เป็นนักดื่ม ๒.๒ ชอบเที่ยวกลางคืน คือ เป็นนักเลงหญิง นักเที่ยวผู้หญิง ๒.๓ ชอบเที่ ย วดู ฟั ง ร้ อ ง ในการละเล่ น

จนไม่สนใจการงาน ๒.๔ เป็นนักการพนัน ๒.๕ คบหาคนชั่ว สมาคมกับคนใจบาปหยาบช้า ๒.๖ เกียจคร้านการทำงาน


47

นั บ ตั้ ง แต่ ข้ า พเจ้ า ผ่ า นกิ จ กรรมครั้ ง นี้ แ ล้ ว

ภายในระยะเวลา..................วัน..................เดือน....................ปี ข้ า พเจ้ า ตั้ ง ใจที่ จ ะขอปฏิ บั ติ ต นงดเว้ น จากอบายมุ ข

๖ ประการทุ ก ข้ อ ทุ ก วั น โดยไม่ มี ข าด ขอความสุ ข

ความเจริญจงมีแก่ข้าพเจ้าและครอบครัว ๓. ดำรงตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ๓.๑ ช่วยพ่อแม่ทำงานบ้านอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ ครั้ง o ข้าพเจ้าได้ทำแล้ว o ยังไม่ ได้ทำ แต่จะขอแก้ ไขปรับปรุงตัวเอง ๓.๒ ช่วยงานคุณครูและทางโรงเรียนอย่างน้อย สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง o ข้าพเจ้าได้ทำแล้ว o ยังไม่ ได้ทำ แต่จะขอแก้ ไขปรับปรุงตัวเอง ๓.๓ ช่ ว ยงานในชุ ม ชน/หมู่ บ้ า นของตนเอง อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง o ข้าพเจ้าได้ทำแล้ว o ยังไม่ ได้ทำ แต่จะขอแก้ ไขปรับปรุงตัวเอง ๓.๔ ช่วยเหลือเพื่อนในยามที่เดือดร้อน ในสิ่งที่ ถูกต้อง o ข้าพเจ้าได้ทำแล้ว o ยังไม่ ได้ทำ แต่จะขอแก้ ไขปรับปรุงตัวเอง


48

๓.๕ ปฏิ บั ติ ต นตามหลั ก มารยาทชาวพุ ท ธ

และมารยาทไทย o ข้าพเจ้าได้ทำแล้ว o ยังไม่ ได้ทำ แต่จะขอแก้ ไขปรับปรุงตัวเอง ๓.๖ ปฏิบัติตนตามหลักประชาธิปไตย o ข้าพเจ้าได้ทำแล้ว o ยังไม่ ได้ทำ แต่จะขอแก้ ไขปรับปรุงตัวเอง


ค่ายคุณธรรมนำทางสร้างชีวิต ช่วยลิขิตหนทางสว่างไสว ทั้งชี้นำเยาวชนให้ก้าวไกล มีศีลธรรมกำกับใจให้ ใฝ่ด ี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.