2
(Executive Summary)
กก ก 2555
กกก
3
บทสรุปสําหรับผูบ ริหาร กระทรวงอุตสาหกรรมไดตระหนักถึงความสําคัญของการเพิ่มผลิตภาพ (Productivity) โดยเฉพาะใน ภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากเปนปจจัยสําคัญที่จะนําไปสูการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไดอยางมั่นคง จึงไดรวมกับภาคเอกชนจัดทําแผนแมบทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม พ.ศ. 25512555 และจัดทําแผนแมบทโครงสรางพื้นฐานทางปญญา พ.ศ.2551-2555 เพื่อมุงเนนการพัฒนาโครงสราง พื้นฐานทางปญญาในดานการเพิ่มความสามารถในการสรางและการใชประโยชนความรู เพื่อนําไปสูการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน โดยสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ไดรับมอบหมายจากกระทรวง อุตสาหกรรมในการนําทั้ง 2 แผนแมบทฯ ไปสูการปฏิบัติเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค โดยดําเนินการในชวง ป 2551 – 2555 ดวยการรวมมือกับสถาบันอิสระภายใตกระทรวงอุตสาหกรรม และหนวยงานตาง ๆ ในการ ดําเนินโครงการที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของทั้ง 2 แผนแมบท
1. สรุปการดําเนินการ 1.1 แผนแมบทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม พ.ศ. 2551-2555 ในชวง 5 ป สศอ. ไดรบั งบประมาณจํานวน 1,252.205 ลานบาท เฉลีย่ ปละ 250 ลานบาท เพือ่ ดําเนินโครงการทีส่ อดคลองกับยุทธศาสตรและวัตถุประสงคของแผนแมบทฯ จํานวน 125 โครงการ โดยสวนใหญ เปนโครงการภายใตยทุ ธศาสตรการยกระดับความสามารถดานการบริหารจัดการ (Management) (จํานวน 78 โครงการ หรือรอยละ 62.4) และยุทธศาสตรการยกระดับความสามารถทักษะแรงงาน (Human Skill) ทัง้ แรงงาน ทีม่ อี ยูเ ดิมและแรงงานทีก่ าํ ลังเขาสูภ าคอุตสาหกรรม (จํานวน 29 โครงการ หรือรอยละ 23.2) ในขณะทีอ่ กี 3 ยุทธศาสตรภายใตแผนแมบทฯ มีการดําเนินโครงการคอนขางนอย ไดแก ยุทธศาสตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ เครือ่ งจักร (8 โครงการ หรือรอยละ 6.4) ยุทธศาสตรการสรางเครือขายพันธมิตรธุรกิจและ Supply Chain (9 โครงการ หรือรอยละ 7.2) และยุทธศาสตรการพัฒนาระบบ Logistics ภายในกลุม อุตสาหกรรม (1 โครงการ หรือรอยละ 0.8) แสดงใหเห็นวาในการคัดเลือกโครงการเพือ่ ดําเนินการนัน้ ไมไดคาํ นึงถึงการขับเคลือ่ นแผนฯ อยางสมดุลในทุกยุทธศาสตร ซึง่ ลวนแตเปนยุทธศาสตรทส่ี าํ คัญและมีผลตอการเพิม่ ประสิทธิภาพและผลิตภาพ ของภาคการผลิต 4
ในจํานวน 125 โครงการที่ดําเนินการนั้นหากจําแนกจํานวนโครงการโดยใหโครงการที่มีรูปแบบและขอบเขต การดําเนินการที่เหมือนหรือคลายคลึงกันเปนโครงการเดียวกัน พบวาสามารถแบงออก 60 โครงการ โดย โครงการสวนใหญ เปนโครงการที่ดําเนินการเพียงปเดียว (27 โครงการ หรือรอยละ 45.0) รองลงมา เปน โครงการที่ดําเนินการตอเนื่อง 2 ป (15 โครงการ หรือรอยละ 25.0) โดยมีโครงการที่ดําเนินการตอเนื่อง 3 – 5 ป เพียงสวนนอย (18 โครงการ หรือรอยละ 30.0) สงผลใหการพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพในดานตาง ๆ ของภาคอุตสาหกรรมขาดความตอเนื่อง โครงการที่ ดํ า เนิ น การส ว น ใหญจะกระจุกตัวในบางอุตสาหกรรม โดย เมื่ อ พิ จ ารณาจากการใช ง บประมาณพบ วากระจุกตัวอยูกับโครงการที่ดําเนินการ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพใน 5 อุตสาหกรรมหลัก ไดแก ยานยนตและ ชิ้นสวนยานยนต (รอยละ 22.9) ไฟฟา อิเล็กทรอนิกส (รอยละ 17.4) อาหาร (รอย ละ 15.5) อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่อง นุงหม (รอยละ 11.9) เหล็กและโลหะการ (รอยละ 8.8) สวนอุตสาหกรรมอื่นๆ อีก 24 อุตสาหกรรม ไดรับงบประมาณสนับสนุน เพียง รอยละ 23.6 เทานั้น จากการดําเนินโครงการในชวง 5 ป มีสถานประกอบการเขารวมโครงการจํานวน 3,522 แหง ตํา กวาเปาหมายซึ่งกําหนดไว 9,000 แหง เมื่อสิ้นสุดโครงการ เนื่องจากขอจํากัดดานงบประมาณ โดยสามารถ ครอบคลุม 29 กลุมอุตสาหกรรม สูงกวาเปาหมายซึ่งกําหนดไวเมื่อสิ้นสุดโครงการไมนอยกวา 25 กลุม อุตสาหกรรม อยางไรก็ตามแมจะสามารถกระจายไดครอบคลุมถึง 29 กลุมอุตสาหกรรม แตสถานประกอบ การสวนใหญกระจุกตัวอยางใน 5 อุตสาหกรรม ไดแก อาหาร (จํานวน 941 แหง รอยละ 26.7) ไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกส (จํานวน 572 แหง รอยละ 16.2) ยานยนตและชิ้นสวนยานยนต (จํานวน 539 แหง หรือรอยละ 15.3) สิ่งทอและเครื่องนุงหม (จํานวน 471 แหง หรือรอยละ 13.4) บรรจุภัณฑและกระดาษ (จํานวน 163 แหง หรือรอยละ 4.6) รวม 5 กลุมอุตสาหกรรมเทากับจํานวน 2,686 แหง รอยละ 76.2 ของสถานประกอบการที่เขา รวมโครงการทั้งหมด ในขณะที่อีก 24 กลุมอุตสาหกรรมรวมกันเทากับ 836 แหง หรือรอยละ 23.8 ของสถาน ประกอบการที่เขารวมโครงการทั้งหมด ทําใหกลุมอุตสาหกรรมไมไดรับโอกาสการพัฒนาที่เทาเทียมกัน ทั้งนี้ สถานประกอบการที่ไดรับการพัฒนาสวนใหญ (จํานวน 2,926 แหง คิดเปนรอยละ 83.1) อยูภายใตยุทธศาสตร การยกระดับความสามารถดานการบริหารจัดการ (Management) สวนที่เหลืออีก 596 แหง คิดเปนรอยละ 15.9 อยูภายใตอีก 4 ยุทธศาสตรนอกจากนี้ จากการดําเนินโครงการในชวง 5 ป มีบุคลากรของสถานประกอบ การ/นักศึกษาจบใหมหรือกําลังจะจบการศึกษาไดรับการอบรม/ถายทอดความรู จํานวน 95,931 คน ซึ่งจาก การประเมินผล พบวา สามารถชวยใหผูเขารับการฝกอบรมเพิ่มระดับความรูในประเด็นที่ 5
เปนระดับความรูคอนขางมาก (คะแนนเฉลี่ย 4.10) ภายหลังการฝกอบรม โดยผูเขารับการฝกอบรมสามารถ นําความรูจากการฝกอบรมไปใชและกอใหเกิดประโยชนในการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตเชน การยกระดับฝมือแรงงาน/ความรูความสามารถ/ทักษะ การเพิ่มคุณภาพผลผลิต การเพิ่มปริมาณผลผลิตจาก ปจจัยการผลิตเทาเดิม การลดลงของของเสีย การเพิ่มความปลอดภัยในการทํางาน ทัศนคติเชิงบวกในการ ปฏิบัติงาน เปนตน อยางไรก็ตาม บุคลากรที่ไดรับการฝกอบรมฯ กระจุกตัวใน 4 อุตสาหกรรม ไดแก ไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส (จํานวน 55,010 คน หรือ รอยละ 57.3) ยานยนตและชิ้นสวนยานยนต (จํานวน 9,359 คน หรือรอยละ 9.8) สิ่งทอและเครื่องนุงหม (จํานวน 5,002 คน หรือรอยละ 5.2) คอมโพสิท (จํานวน 3,181 คน หรือรอยละ 3.3) รวม 72,552 คน หรือ รอยละ 75.6 สวนที่เหลืออีก รอยละ 24.4 อยูในอุตสาหกรรมอื่นๆ ทําใหบุคลากรในอุตสาหกรรมอื่นๆ ไมไดรับโอกาสการพัฒนาที่เทาเทียมกัน จากการดําเนินโครงการ ในชวง 5 ป มีสถานประกอบการ ที่ ไ ด เข า ร ว มโครงการจั ด ทํ า ระบบ มาตรฐานจํานวน 795 แหง ใน จํานวนนี้ 687 แหง หรือ รอยละ 86.42 ไดรับการรับรองมาตรฐาน ทั้ ง นี้ ส ว นใหญ อ ยู ใ นอุ ต สาหกรรม อาหารนอกจากนี้ภายใตแผนแมบท ยั ง ได ดํ า เนิ น โครงการด า นการส ง เสริมและสนับสนุนใหผปู ระกอบการ ที่เข าร วมโครงการวิจัย และพัฒนา ผลิตภัณฑ โดยมีผลงานการวิจยั และ พัฒนาผลิตภัณฑจาํ นวน 271 รายการ และมีการออกแบบผลิตภัณฑ 21 รายการ อยางไรก็ตามการดําเนินการดัง กลาวกระจุกตัวอยูใ นบางอุตสาหกรรมเทานัน้ ในดานผลกระทบ (Impact) จากการดําเนินโครงการนั้นมีผลการดําเนินการที่สําคัญ ๆ ดังนี้ (1) ประสิทธิภาพการเพิ่มผลผลิต ประสิทธิภาพการเพิ่มผลผลิตของ สถานประกอบการที่เขารวม โครงการเพิ่มขึ้นรอยละ 6.3 ตอป โดยผูประกอบการใน 5 อันดับแรกของอุตสาหกรรมที่ประสิทธิภาพการเพิ่ม ผลผลิตเพิ่มขึ้นสูงสุด ไดแก เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (รอยละ 8.4) ชิ้นสวนทองเหลือง (รอยละ 7.4) เครื่องจักรกล (รอยละ 7.3) สิ่งทอและเครื่องนุงหม (รอยละ 7.0) และสี (รอยละ 6.6) ตามลําดับ (2) เพิม่ ผลิต ภาพแรงงาน (Labour Productivity) ผลิตภาพแรงงานของสถานประกอบการทีเ่ ขารวมโครงการเพิม่ ขึน้ รอยละ 5.4 ตอป โดยผูป ระกอบการใน 5 อันดับแรกของอุตสาหกรรมทีผ่ ลิตภาพแรงงานเพิม่ ขึน้ สูงสุด ไดแก เซรามิก (รอย ละ 9.7) ตอเรือ (รอยละ 9.0) เหล็กและเหล็กกลา
6
(รอยละ 8.9) ของเลน (รอยละ 8.9) และอาหาร (รอยละ 8.5) ตามลําดับ อยางไรก็ตามผลจากการ เขารวมโครงการสามารถชวยเพิ่มผลิตภาพแรงงานในระบบเศรษฐกิจเพียง รอยละ 0.04 ตอป เทานั้น ทั้งนี้ เปนผลจากขอจํากัดดานงบประมาณทําใหจํานวนผูประกอบการที่ไดรับการพัฒนาดานการเพิ่มผลิตภาพ แรงงานมีคอนขางนอย (3) ประสิทธิภาพการลดตนทุน สถานประกอบการที่เขารวมโครงการ สามารถลดตนทุนการ ผลิต โดยเฉลี่ยรอยละ 7.31 โดยผูประกอบการใน 5 อันดับแรกของอุตสาหกรรมที่สามารถลดตนทุนสูงสุด ไดแก เซรามิก (รอยละ 18.00) ยานยนตและชิ้นสวนยานยนต (รอยละ 16.07) สิ่งทอและเครื่องนุงหม (รอย ละ 11.75) เกษตรแปรรูป (รอยละ 10.94) และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส (รอยละ 10.89) อยางไรก็ตาม หากพิจารณาผลการลดตนทุนตอระบบเศรษฐกิจโดยรวมพบวามีเพียงรอยละ 0.06 ซึ่งนอยมาก เนื่องจากขอ จํากัดดานงบประมาณ (4) ความเขมขนการใชพลังงาน สถานประกอบการที่เขารวมโครงการสามารถประหยัด พลังงานโดยเฉลี่ย รอยละ 5.49 ในปที่เขารวมโครงการ โดยผูประกอบการใน 5 อันดับแรกของอุตสาหกรรม ที่สามารถประหยัดพลังงานสูงสุด ไดแก ยา (รอยละ 21.37) ยานยนตและชิ้นสวนยานยนต (รอยละ 10.85) เซรมิก (รอยละ 10.00) ตอเรือและซอมเรือ (รอยละ 10.00) อาหาร (รอยละ 7.74) และอุตสาหกรรมไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส (รอยละ 7.44) อยางไรก็ตามผลจากการเขารวมโครงการสามารถชวยลดการใชพลังงานใน ระบบเศรษฐกิจเพียงรอยละ 0.02 เทานั้น ทั้งนี้เปนผลจากขอจํากัดดานงบประมาณทําใหจํานวนผูประกอบ การที่ไดรับการพัฒนาดานการลดการใชพลังงานมีคอนขางนอย
(5) ความเขมขนการปลอยกาซคารบอนไดอ็อกไซด สถานประกอบการที่เขารวมโครงการ สามารถลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) โดยเฉลี่ย รอยละ 3.53 โดยผูประกอบการใน 5 อันดับ แรกของอุตสาหกรรมที่สามารถลดการปลอยกาซ CO2 สูงสุด ไดแก อาหาร (รอยละ 17.68) สิ่งทอและเครื่อง นุงหม (รอยละ 10.00) เหล็กและโลหะการ (รอยละ 7.14) ยานยนตและชิ้นสวนยานยนต (รอยละ 8.20) และ บรรจุภัณฑ (รอยละ 6.38) อยางไรก็ตามผลจากการเขารวมโครงการสามารถชวยลดการปลอยกาซ CO2 ใน ระบบเศรษฐกิจเพียง รอยละ 0.03 เทานั้น ทั้งนี้เปนผลจากขอจํากัดดานงบประมาณทําใหจํานวนผูประกอบ การที่ไดรับการพัฒนาดานการลดการปลอยกาซ CO2 มีคอนขางนอย (6) การเพิ่มยอดขาย ผลจากการเขารวมโครงการสามารถสงผลให รอยละ 61.6 ของสถานประกอบการ ที่เขารวมโครงการ สามารถเพิ่มยอดขายโดยเฉลี่ย รอยละ 6.72 ตอป โดยอุตสาหกรรมที่อัตราการเพิ่มของ ยอดขายสูงสุด 5 อันดับแรก ไดแก ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (รอยละ 14.09) ยานยนตและชิ้นสวนยานยนต (รอยละ 13.52) เกษตรแปรรูป (รอยละ 13.05) เหล็กและโลหะการ (รอยละ 12.67) และสิ่งทอและเครื่องนุง หม (รอยละ 12.62) 7
(7) การเพิ่มขีดความสามารถการแขงขัน ผลจากการเขารวมโครงการสามารถสงผลให รอยละ 86.1 ของสถานประกอบการที่เขารวมโครงการ สามารถเพิ่มศักยภาพการแขงขัน ซึ่งถือวาอยูในสัดสวนสูง โดย เปนการเพิ่มขึ้นในระดับคอนขางมาก นอกจากนี้จากการสํารวจยัง พบวา รอยละ 86.1 ของสถานประกอบการ ที่เขารวมโครงการมีศักยภาพการแขงขันเพิ่มขึ้น ในระดับคอนขางมาก (คะแนนเฉลี่ย 3.53) เชน เกษตรแปรรูป (คะแนนเฉลี่ย 3.39) เซรามิก (คะแนนเฉลี่ย 3.67) ถุงมือยาง (คะแนนเฉลี่ย 3.33) เปนตน กล า วโดยสรุ ป การดํ า เนิ น โครงการภายใตแผนแมบทสามารถกอให เกิดผลผลิตและผลกระทบ (Impact) ที่ เปนประโยชนตอการเพิ่มประสิทธิภาพ และผลิตภาพการผลิตไดเปนอยางดี แต จะปรากฏกั บ สถานประกอบการที่ เข า รวมโครงการเทานั้น และหากพิจารณา ผลกระทบในเชิง มหภาคพบวา คอนขาง นอย เนื่องจากขอจํากัดดานงบประมาณ ทํ า ให จํ า นวนสถานประกอบการและ แรงงานที่ไดรับการพัฒนาคอนขางจํากัด สงผลใหผลจากการดําเนินการตามแผน แมบทฯ ไมสามารถยกระดับประสิทธิภาพและผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรมการผลิตไดเทาที่ควร นอกจากนี้ ยังพบจุดออนหลายประการในการนําแผนแมบทไปสูการปฏิบัติ เชน (1) การดําเนินโครงการคอนขางกระจัดกระจาย และขาดความตอเนื่อง สวนใหญดําเนินการใน ระยะสั้น ๆ เพียง 1 – 2 ป เทานั้น (2) สถานประกอบการที่เขารวมโครงการสวนใหญกระจุกตัวอยูในโครงการที่อยูภายใตยุทธศาสตร การยกระดับความสามารถดานการบริหารจัดการ (รอยละ 83.1) ในขณะที่อีก 4 ยุทธศาสตรซึ่งลวนแตมีความ สําคัญและมีผลตอการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตมีจํานวนสถานประกอบการที่อยูภายใตโครงการ ของทั้ง 4 ยุทธศาสตรเพียงรอยละ 16.9 เทานั้น (3) กลุมอุตสาหกรรมที่เขารวมโครงการแมจะมีมากถึง 29 กลุมอุตสาหกรรม แตคอนขางกระจุกตัว โดย 5 อุตสาหกรรมแรก ไดแก อาหาร ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ยานยนตและชิ้นสวนยานยนต สิ่งทอและเครื่อง นุงหม บรรจุภัณฑและกระดาษ มีสัดสวนรอยละ 76.2 ของสถานประกอบการที่เขารวมโครงการทั้งหมด ในขณะ ที่อีกรอยละ 23.8 ของสถานประกอบการที่เขารวมโครงการทั้งหมด ครอบคลุมอีก 24 กลุมอุตสาหกรรม (4) บุคลากรที่ไดรับการฝกอบรม/ถายทอดองคความรูกระจุกตัวใน 3 อุตสาหกรรม ไดแก ไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส ยานยนตและชิ้นสวนยานยนต และสิ่งทอและเครื่องนุงหม มีสัดสวนรอยละ 76.2 ของ บุคลากรที่เขารับการฝกอบรม/ถายทอดความรูทั้งหมด 8
เมื่อเปรียบเทียบผลการดําเนินการและผลกระทบจากการดําเนินโครงการกับตัวชี้วัดของแผนแมบทฯ พบวาจาก ทั้งหมด 4 ตัวชี้วัด สามารถบรรลุเปาหมายได 3 ตัวชี้วัด ไดแก ตัวชี้วัดดานการเพิ่มขึ้นของผลิตภาพแรงงาน การ ลดตนทุนการผลิต และจํานวนอุตสาหกรรมที่เขารวมโครงการ และมี 1 ตัวชี้วัดที่ไมบรรลุเปาหมาย ไดแก ตัวชี้ วัดดานจํานวนสถานประกอบการที่เขารวมโครงการ 1.2 แผนแมบทโครงสรางพื้นฐานทางปญญาพ.ศ. 2551-2555 แผนแมบทโครงสรางพื้นฐานทางปญญา พ.ศ.2551-2555 เปนแผนแมบทที่มีหนวยงานรับผิดชอบ จํานวนมาก ไดแก กรมสงเสริมอุตสาหกรรม สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน สถาบันมาตรวิทยา แหงชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย กรมวิทยาศาสตรบริการ สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เปนตน การดําเนินการของ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมจึงเปนการ ดํ า เนิ น การเพี ย งบางส ว นของแผนแม บ ทฯ เทานั้น ในชวง 5 ปที่นําแผนแมบทฯ ไปสู ปฏิบัติ สศอ. ไดรับงบประมาณจํานวน 284.0 ลานบาท โดยมีจํานวนโครงการที่ดําเนินการ ทั้งสิ้นเพียง 24 โครงการ โดยเปนโครงการ ภายใตยุทธศาสตรการเพิ่มความสามารถทาง เทคโนโลยีและนวัตกรรมของภาคการผลิต และบริการ มากที่สุด จํานวน 17 โครงการ รองลงมา ไดแก ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งของแหลงผลิต ความรู (6 โครงการ) และยุทธศาสตรการสรางความเชือ่ มโยงระหวางแหลงผลิตความรู ผูใ ชความรู และการพัฒนาการ เรียนการสอน (1 โครงการ) โดยโครงการเกือบทัง้ หมดเปนโครงการทีด่ าํ เนินการเพียงปเดียว จากการดําเนินโครงการในชวง 5 ป มีผูประกอบการเขารวมโครงการทั้งสิ้นเพียง 176 ราย มี บุคลากรไดรับการอบรม/ถายทอดความรู 1,569 ราย โดยมีผลงานดานผลิตภัณฑที่วิจัยพัฒนาใหม จํานวน 172 รายการ และผลิตภัณฑที่ออกแบบจํานวน 5 ผลิตภัณฑ ซึ่งคอนขางนอย และบางสวนยังไมไดนําไปสูการ ผลิตในเชิงพาณิชย จึงไมสามารถบรรลุเปาหมายดานการสงเสริมใหสถานประกอบการในอุตสาหกรรมการผลิต มีนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ทั้งนี้เปนผลมาจากจํานวนโครงการที่ดําเนินการและจํานวนผูประกอบการที่เขารวม โครงการมีนอย อันเนื่องมาจากขอจํากัดดานงบประมาณ และการดําเนินโครงการมีลักษณะกระจัดกระจาย ไมไดมุงในดานใดดานหนึ่งที่สําคัญเปนการเฉพาะหรือการสรางระบบเพื่อเอื้อใหผูประกอบการสามารถดําเนิน การวิจัยและพัฒนาดวยตนเอง และโครงการที่ดําเนินการมีลักษณะปตอป ขาดการบูรณาการระหวางหนวย งาน อยางไรก็ตาม โครงการที่ดําเนินการในชวงป 2551-2555 ภายใตแผนแมบทฯ กอใหเกิดประโยชน เชน การประหยัดพลังงาน และการเพิ่มขีดความสามารถการแขงขันไดในระดับหนึ่ง
9
การดําเนินโครงการฯ ภายใตแผนแมบทฯ สวนใหญมีลักษณะการจัดจางใหสถาบันใดสถาบัน หนึ่งเปนผูรับผิดชอบโครงการ และสถาบันจะมอบหมายใหที่ปรึกษาของสถาบันหรือที่ปรึกษาอิสระเขาไป ดําเนินการ ซึ่งสวนใหญไมใชสถาบันการศึกษา ลักษณะของการดําเนินการยังไมสามารถสะทอนใหเห็นถึง ความรวมมืออยางใกลชิดระหวางภาคธุรกิจ สถาบันการศึกษา การวิจัย และการเรียนการสอน จึงไมบรรลุ เปาหมายดานความรวมมืออยางใกลชิดระหวางภาคธุรกิจ สถาบันการศึกษา การวิจัย และการเรียนการสอน จากผลการจัดอันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศไทย ในดานบุคลากรวิจยั และพัฒนา และสิทธิบตั ร (Scientific Infrastructure) ทีจ่ ดั ทําโดย International Institute for Management Development (IMD) ปรากฏวาในป ค.ศ.2012 ประเทศไทยอยูใ นอันดับ 40 จากทัง้ หมด 59 ประเทศ ดังนัน้ ผลการดําเนินโครงการจึง ไมสามารถบรรลุเปาหมายดานการยกระดับความสามารถในการแขงขันของประเทศไทย ในดานบุคลากรวิจยั และ พัฒนา และสิทธิบตั ร ซึง่ ตามเปาหมายของแผนแมบทกําหนดใหอยูใ นตําแหนงไมตาํ กวาจุดกึง่ กลาง กลาวโดยสรุป การดําเนินโครงการภายใตแผนแมบทโครงสรางพื้นฐานทางปญญา ไมบรรลุเป หมาย โดยมีสาเหตุหลักมาจากการขาดการบูรณาการระหวางหนวยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวของภายใตแผนแม บทฯ และภาคธุรกิจ และไดรับงบประมาณสนับสนุนนอยมาก สําหรับปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จของการเขารวมโครงการ ภายใตทั้ง 2 แผนแมบทฯ นั้นมี 4 ปจจัย เรียงลําดับความสําคัญไดดังนี้ 1) ความพรอมของผูประกอบการ 2) ความรูความสามารถของทที่ปรึกษา/วิทยากร 3) ระยะเวลาของโครงการ และ 4) การติดตามการทํางานของที่ปรึกษาโดยสถาบัน ดังนั้น ในการดําเนินโครงการภายใตแผนแมบทฯ ในระยะตอไปจึงควรพิจารณาใหความสําคัญ กับทั้ง 4 ปจจัย จากผลการดําเนินการของ 2 แผนแมบท แสดงใหเห็นวาการดําเนินการตามโครงการภาย ใตแผนแมบทสามารถกอใหเกิดผลตอการพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาตการผลิตตอสถานประกอบ การที่เขารวมโครงการไดอยางเดนชัด แตดวยขอจํากัดของงบประมาณทําใหไมสามารถสรางผลกระทบตอ ประสิทธิภาพและผลิตภาพของอุตสาหกรรมโดยรวมไดมากนัก ประกอบกับปจจุบันสถานการณการแขงขัน มีแนวโนมรุนแรงมากขึ้น ในขณะที่ขอจํากัดดานงบประมาณก็จะยังคงมีอยูตอไป ดังนั้น การดําเนินการแผน แมบทฯ ในระยะตอไปจึงจําเปนตองปรับเปลี่ยนรูปแบบใหเหมาะสมกับสถานการณและขอจํากัดของงบ ประมาณ โดยควรมุงเนนการพัฒนาระบบที่เอื้อใหผูประกอบการและบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมสามารถ พัฒนาตนเอง การดําเนินโครงการในลักษณะการใหคําปรึกษาแนะนําจะตองมุงเนนกลุมที่มีศักยภาพแต
10
ไมทราบวิธีการพัฒนาตนเอง และควรเลือกใชวิธีการที่ชวยเหลือที่เหมาะสม ควรใหความสําคัญกับโครงการ ดานสิ่งแวดลอม การสรางเครือขายผูประกอบการ การเชื่อมโยงระหวางหนวยงานภาครัฐและภาคธุรกิจ รวม ทั้งควรมุงเนนในอุตสาหกรรมที่สามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับวัตถุดิบที่ผลิตไดในประเทศ และอุตสาหกรรมที่ ถูกละเลยการพัฒนาในแผนแมบทฯ ระยะแรก โดยมีขอแสนอแนะดานยุทธศาสตร ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 การยกระดับความสามารถทักษะแรงงาน (Human Skill) ทั้งแรงงาน ที่มีอยู เดิมและแรงงานที่กําลังเขาสูภาคอุตสาหกรรม มีแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้ (1) ยกระดับความรู ทักษะแรงงานใหม และทักษะแรงงานเดิมที่มีอยูใหมีความสามารถ เพื่อ รองรับและทันตอความเปลี่ยนแปลง (2) สนับสนุนใหมีการกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงานทั้งในและนอกระบบ โดยเชื่อมโยงกับคา ตอบแทน เชน ใหมีองคกรหรือหนวยงานรับรองมาตรฐาน (Certification Authority) สําหรับทดสอบฝมือ แรงงาน (3) ฝกอบรมบุคลากรของสถานประกอบการทีเ่ ขารวมโครงการใหเปนวิทยากรในดานตาง ๆ (Train the Trainers) เพือ่ ใหบคุ ลากรเหลานีเ้ ปนวิทยากรฝกอบรมแกบคุ ลากรในสถานประกอบการ (4) ฝกอบรมวิทยากรดานการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและผลิตภาพการผลิต เพื่อรองรับความ ตองการฝกอบรมดวยตนเองของสถานประกอบการในการฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรดวยตนเอง (5) จัดทําระบบฐานขอมูลวิทยากร(Trainers)ดานการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิต เพื่อใหผูประกอบการสามารถเลือกใชบริการตามความตองการดวยอัตราคาบริการที่เหมาะสม ทั้งนี้วิทยากร ในระบบฐานขอมูลจะตองผานการตรวจสอบประวัติและรับรองโดย สศอ. เพื่อสรางความมั่นใจแกผูประกอบ การ (6) จัดทําสื่อสําหรับการฝกอบรมในดานการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยผูประกอบการหรือ วิทยากรที่สนใจสามารถ Download ผานทาง Website (7) จัดทําWebsiteศูนยกลางการสงเสริมการฝกอบรมดวยตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและผลิต ภาพการผลิต เพื่อเปนศูนยกลางในการเผยแพรขอมูล สื่อ และวิทยากร แลกเปลี่ยนเรียนรูของผูสนใจ ติดตาม ความรูใหม ๆ ดานการพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิต รวมทั้งกระตุนใหผูประกอบการสนใจที่จะ พัฒนาบุคลากรดวยตนเอง
11
(8) พัฒนาระบบการศึกษา/ฝกอบรมดวยตนเอง (e-Learning) เพื่อใหบุคลากรของสถาประกอบ การหรือผูสนใจทั่วไปสามารถฝกอบรม/เรียนรูดวยตนเอง (9) สนับสนุนการฝกอบรมดวยการจัดหาวิทยากรเพื่อใหสถานประกอบการฝกอบรมบุคลากรดวย ตนเอง โดยภาครัฐออกคาใชจายใหทั้งหมดหรือออกใหบางสวน เพื่อลดภาระคาใชจาย และกระตุนใหเห็นความ สําคัญดานการฝกอบรม (10) สรางความรวมมืออยางจริงจังระหวางสถาบันการศึกษา ผูประกอบการ โดยมี สศอ. เปน ตัวกลาง ในการผลิตนักศึกษาที่ตรงตามความตองการของสถานประกอบการ ยุทธศาสตรที่ 2 การยกระดับความสามารถดานการพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพ มี แนวทางในการดําเนินการ ดังนี้ (1) สงเสริมและสนับสนุนการนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) มาใชในกระบวนการเพิ่ม ประสิทธิภาพและผลิตภาพ (2) สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนือ่ ง (Continual Quality Improvement) โดยการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิต (3) สงเสริมและสนับสนุนการทํา Benchmarking & Best Practices เพื่อเปนแนวทางในการ เพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพของกลุมอุตสาหกรรม (4) สรางจิตสํานึกและแรงจูงใจ (Awareness & Incentives) ในการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิต ภาพแกผูประกอบการ (5) จัดทําระบบฐานขอมูลที่ปรึกษาที่เชี่ยวชาญในดานตาง ๆ เพื่อใหผูประกอบการสามารถเลือก ใชบริการตามความตองการ โดยที่ปรึกษาในระบบฐานขอมูลจะตองผาน การตรวจสอบประวัติและรับรองโดย สศอ. เพื่อสรางความมั่นใจแกผูประกอบการ และมีอัตราคาบริการที่ เหมาะสม (6) สรางระบบฐานขอมูลดานการพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพในลักษณะ Knowledge Outlet ที่รวบรวมองคความรูและเทคนิคการแกปญหาและการพัฒนาประสิทธิภาพในอุตสาหกรรมทุก ประเภทจากประสบการณจริง เพื่อใหผูประกอบการศึกษาและเรียนรูดวยตนเอง (7) จัดทําสื่อหลากหลายประเภทที่สะดวกตอการเรียนรูดวยตนเอง เพื่อใหผูประกอบการสามารถ เรียนรูและนําไปใชในการพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพดวยตนเอง (8) จัดจางที่ปรึกษาเพื่อใหคําปรึกษาแนะนําการนําระบบที่ สศอ. พัฒนาขึ้นไปใชประโยชนและ สรางความคุนเคยในการใชระบบและทราบถึงแนวทางการพัฒนาดวยตนเอง 12
(9) จัดทําโรงงานตนแบบสําหรับเปนแหลงการเรียนรูและเปนตนแบบใหสถานประกอบการอื่น ๆ ในการเรียนรูและพัฒนาตนเอง โดย สศอ. จางที่ปรึกษาเขาไปพัฒนาผูประกอบการที่สมัครเปนตนแบบในดาน ตาง ๆ อยางเขมขน รวมทั้งการถายทําวิธีการพัฒนาไวสําหรับเปนสื่อในการเรียนรูแกผูมาศึกษาดูงานในอนาคต ทั้งนี้โรงงานตนแบบจะตองทําขอตกลงกับ สศอ. ในการยินยอมใหเปนแหลงศึกษาดูงานของผูสนใจตามเงื่อนไข ขอตกลง เชน ตองใหผูสนใจสามารถเขาดูงานสัปดาหละ 2 วัน และตองจัดวิทยากรในการบรรยายหรือแนะนํา แนวทางในการปรับปรุงหรือแกไขปญหา (10) จัดทํา Website ที่ปรึกษาจิตอาสาที่มีประสบการณในการพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพ เพื่อคอยใหคําปรึกษาแนะนําผานทาง Website (11) จัดจางที่ปรึกษาเพื่อทําหนาที่วินิจฉัยและใหคําแนะนําแกผูประกอบการที่ขอคําปรึกษาแนะนํา แตผูประกอบการจะตองนําผลการวินิจฉัยและคําแนะนําไปแกไขปญหาเอง (12) จางที่ปรึกษาเพื่อเขาไปใหคําปรึกษาแนะนํา โดยเนนเฉพาะรายที่มีศักยภาพแตขาดความ พรอม จําเปนตองมีพี่เลี้ยงสนับสนุนในระยะแรก ยุทธศาสตรท่ี 3 การปรับปรุงประสิทธิภาพเครือ่ งจักร มีแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้ (1) ส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพเครื่ อ งจั ก รในแต ล ะกลุ ม อุตสาหกรรม เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพในการผลิต (2) ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ใ ห นํ า เ ค รื่ อ ง จั ก ร ที่ มี เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ทั น ส มั ย ส า ม า ร ถ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดตนทุนการผลิตมาทดแทนเครื่องจักรที่เทคโนโลยีลาสมัย (3) สงเสริมและสนับสนุนใหนําเทคโนโลยีใหม เทคโนโลยีเกาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิต
ๆ
ที่มีประสิทธิภาพมาทดแทนคนหรือระบบ
ยุทธศาสตรท่ี 4 ยกระดับความสามารถดานการวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑเชิงพาณิชย ทัง้ ทีเ่ ปน การพัฒนาผลิตภัณฑใหมและพัฒนาตอยอดผลิตภัณฑเดิม ทีส่ รางมูลคาเพิม่ สูง มีแนวทาง การดําเนินการ ดังนี้ (1) จัดทําระบบฐานขอมูลนักวิจัย/ผูเชี่ยวชาญ พัฒนาฯ สามารถดําเนินการดวยตนเอง
เพื่อสนับสนุนใหผูประกอบการที่สนใจวิจัยและ
2) จัดทําระบบฐานขอมูลผลงานการวิจัยที่เกี่ยวของกับดานอุตสาหกรรมทั้งในประเทศและ ตางประเทศจัดหมวดหมูใหอยูในรูปแบบที่สะดวกในการคนหาเพื่อใหผูประกอบการสามารถศึกษาและนําไปใช
ประโยชนในการวิจัยและพัฒนาฯ รวมทั้งการสรางความรวมมือกับเจาของผลงานวิจัยในการนําไปสูการผลิตเชิงพาณิชย
13
(3) จัดทํา Website เพื่อเปนศูนยกลางในการเผยแพรขอมูลขาวสารดานการวิจัยและพัฒนา และแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางนักวิจัยดวยกันเอง และกับผูประกอบการ กัน
(4) สงเสริมความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษากับสถานประกอบการในการศึกษาวิจัยรวม
(5) โครงการดานการวิจัยและพัฒนาที่จะดําเนินการตองมีการศึกษาเบื้องตนแลววามีความเปน ไปไดเชิงพาณิชย และจะตองดําเนินการจนสามารถนําไปสูการผลิตในเชิงพาณิชย (6) จัดตั้งกองทุนเพื่อสงเสริมและสนับสนุนดานการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมโดยกองทุน สามารถดําเนินการในหลากหลายวิธีตามความเหมาะสม เชน การรวมทุนวิจัยและพัฒนา การใหเงินกูเพื่อการ วิจัยและพัฒนาดวยอัตราดอกเบี้ยตํา การใหทุนสนับสนุนการวิจัย เปนตน ทั้งการวิจัยผลิตภัณฑและวิจัยเพื่อ พัฒนากระบวนการผลิตใหมีประสิทธิภาพ ขึ้น
(7) ใชมาตรการทางภาษีในการสงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อจูงใจใหมีการวิจัยและพัฒนามาก
(8) ร ะ ดั บ ก า ร ใ ห สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น ด า น ภ า ษี ผ า น ท า ง ก า ร ส ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น ค ว ร กํ า หนดให สั ม พั น ธ กั บ ด า นการวิ จั ย และพั ฒ นาและการถ า ยทอดองค ค วามรู ใ ห กั บ บุ ค ลากรที่ เ ป น คนไทยหรือผูประกอบการที่อยูใน Supply Chain (9) พัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมในระดับภูมิภาค โดยการใหสิทธิ พิเศษดานภาษีในระดับพิเศษที่สามารถสรางแรงจูงใจการลงทุน
ดังนี้
ยุทธศาสตรท่ี 5 การพัฒนาระบบ Logistics ภายในกลุม อุตสาหกรรม มีแนวทางในการดําเนินการ
สงเสริมและสนับสนุนใหภาคเอกชนพัฒนาระบบ Logistics ภายในกลุมอุตสาหกรรม เพื่อการ เพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพ ยุทธศาสตรที่ 6 การสรางเครือขายพันธมิตรธุรกิจ และ Supply Chain มีแนวทางในการ ดําเนินการ ดังนี้ (1) สนับสนุนการรวมกลุมธุรกิจในลักษณะเครือขายวิสาหกิจ (Cluster) และ Supply Chain เพื่อเชื่อมโยงการผลิต โดยเนนการเรียนรูซึ่งกันและกันระหวางกลุมที่อยูในระดับหัวแถวกับทายแถว รวมทั้ง กระตุนการมีสวนรวมอยางจริงจังจากภาคเอกชนและสรางจิตสํานึกของผูบริหาร / ผูประกอบการในการรวม กลุมเครือขายวิสาหกิจใหมีความเขมแข็ง 14
(2) ใหความสําคัญกับโครงการดานการพัฒนาระบบที่สามารถชวยเพิ่มประสิทธิภาพและผลิต ภาพการผลิตดวยการสรางรวมมือแบบเครือขาย (3) ใชกลไกของภาครัฐในการสงเสริมและสนับสนุนใหผูประกอบการไทยที่มีศักยภาพเปน ตัวกลางในการบริหารจัดการหวงโซการผลิตในระดับภูมิภาค
15
Executive Summary Project to Manage the Master Plan to Increase Industrial Efficiency and Productivity Office of Industrial Economics
Executive Summary
Project to Manage the Master Plan to Increase Industrial Efficiency and Productivity for the Fiscal Year 2012
Presented to Office of Industrial Economics
By Excellent Business Management Co., Ltd. 16
Executive Summary The Ministry of Industry (MOI) realizes the importance of productivity, especially in the industrial sector, as it is a major factor contributing to the country’s strong economic growth. MOI thus entered into cooperation with the private sector to set up the Master Plan to Increase Industrial Efficiency and Productivity between 2008-2012 and the Master Plan of Intellectual Infrastructure between 2008-2012 that centered on development of intellectual infrastructure in view of increasing the ability to create and make use of knowledge, leading to sustainable economic growth. The Office of Industrial Economics (OIE) was assigned by MOI to implement the two Master Plans to achieve the objectives between 2008-2012, cooperating with MOI’s independent institutes and various agencies to implement the projects that conformed to the strategies of the two Master Plans. 1. Summary of implementation 1.1 Master Plan to Increase Industrial Efficiency and Productivity 2008-2012 For the period of five years, OIE was allocated the budget of 1,252.205 million baht or the average of 250 million baht a year to implement 125 projects that were in accordance with the strategies and objectives of the Master Plan. Mostly they were projects under the strategy to upgrade management ability (78 projects or 62.4 percent) and the strategy to upgrade human skill both for the existing labor force and the labor force entering the industrial sector (29 projects or 23.2 percent). The other three strategies under the Master Plan were little implemented. They were: the strategy to improve machine efficiency (8 projects or 6.4 percent), the strategy to create business partnership network and supply chain (9 projects or 7.2 percent), the strategy to develop logistics system within industrial groups (1 project or 0.8 percent), and the strategy to increase technology and innovation in the manufacturing and service sectors (1 project or 0.8 percent). It can be seen that the selection of the projects to implement did not take into account the balanced drive of the Master 17
Plan through all strategies - the strategies of which were important and had impact on the industrial efficiency and productivity. Of the implemented 125 projects, the projects with similar modality and scope were considered the same projects and could be divided into 60 projects. Most projects were implemented within one year (27 projects or 45.0 percent), followed by the projects with continuous activities for two years (15 projects or 25.0 percent). The projects with continuous activities between three to five years were little implemented (18 projects or 30.0 percent). This resulted in the lack of continuity to develop efficiency and productivity in the industrial sector. Most of the implemented projects were concentrated in a few industries. In considering the budget utilization, it was found that the projects to increase industrial efficiency and productivity were concentrated in five major industries namely automotive and parts (22.9 percent), electrical and electronics (17.4 percent), food (15.5 percent), textile and garment (11.9 percent), and iron and metallurgy (8.8 percent). The other 24 industries received only 23.6 percent of the budget. According to the project implementation during the five years, 3,522 establishments participated in the projects, lower than the expected 9,000 establishments at the end of the projects, due to budget limitation. However, they covered 29 industrial groups, higher than the expected 25 industrial groups at the end of the projects. Although they could cover the diversified 29 industrial groups, most establishments were concentrated in five industries namely food (941 establishments or 26.7 percent), electrical and electronics (572 establishments or 16.2 percent), automotive and parts (539 establishments or 15.3 percent), textile and garment (471 establishments or 13.4 percent), packaging and wrapping (163 establishments or 4.6 percent), with the total of 2,686 establishments or 76.2 percent. The rest constituted 24 industrial groups with 836 establishments or 23.8 percent, resulting in the lack of equal development of the industrial groups. Most of the developed establishments (2,926 establishments or 83.1 percent) were under the strategy to upgrade management ability. The remaining 596 establishments or 15.9 percent were under the other four strategies.
18
Moreover, during the five-year project implementation, there were 95,931 employees from the establishments/newly graduated students/nearly graduated students who received training/knowledge transfer. The assessment revealed that the trainees with medium level of knowledge before training (average marks of 2.65) were upgraded to high level of knowledge after the training (average marks 4.10). They used their acquired knowledge to increase efficiency and productivity such as upgrading labor/ability/skill, increased product quality, increased yield by the same input, waste reduction, increased work safety, positive work attitude etc. However, the trainees were concentrated in four industries namely electrical and electronics (55,010 trainees or 57.3 percent), automotive and parts (9,359 trainees or 9.8 percent), textile and garment (5,002 trainees or 5.2 percent), and composite (3,181 trainees or 3.3 percent), total 72,552 trainees or 75.6 percent. The rest made up of 24.4 percent in other industries. Thus, the personnel in other industries have not been exposed to equal development. During the five-year project implementation, there were 795 establishments that took part in the projects to set up standards. Out of these, 687 establishments or 86.42 percent received standards certification, mostly food industry. Moreover, under the Master Plan, there were projects which promoted and supported entrepreneurs to participate in product research and development. According to the results, they came up with 271 items of product research and development and 21 items of product design. However, the implementation of the projects was concentrated in a few industries only. The main impacts of the implementation of the projects were as follows: (1) Productivity The productivity of the participating establishments increased 6.3 percent a year. The first top five industries with the most increased productivity were electrical and electronics (8.4 percent), brass parts (7.4 percent), machinery (7.3 percent), textile and garment (7.0 percent), and paints (6.6 percent), respectively. 19
(2) Labor Productivity The labor productivity of the participating establishments increased 5.4 percent a year. The first top five industries with the most increased labor productivity were ceramics (9.7 percent), shipbuilding (9.0 percent), iron and steel (8.9 percent), toys (8.9 percent), and food (8.5 percent). However, the projects contributed to the increase of only 0.04 percent a year of labor productivity in the economic system. This was due to budget limitation so there were few entrepreneurs who were developed in labor productivity. (3) Reduction of Production Costs The establishments managed to reduce production costs at the average of 7.31 percent during the year of implementation. The top five industries with the most reduction of production costs were ceramics (18.00 percent), automotive and parts (16.07 percent), textile and garment (11.75 percent), agricultural processing (10.94 percent) and electronics (10.89 percent). However, the impact of the reduction costs on the economic system was very little at only 0.06 percent due to budget constraint. (4) Reduction of energy use The establishments participated in projects involving direct and indirect reduction of energy use at the average of 5.49 percent during the year of implementation. The top five industries with the most reduction of energy use were medicine (21.37 percent), automotive and parts (10.85 percent), ceramics (10.0 percent), shipbuilding and ship maintenance (10.0 percent), food (7.74 percent), and electrical and electronics (7.44 percent). However, the impact of reduction of energy use on the economic system was very little at only 0.02 percent due to budget constraint.
20
(5) Reduction of carbon dioxide emission The establishments that participated in activities involving direct and indirect reduction of carbon dioxide emission at the average of 3.53 percent during the year of implementation. The top ďŹ ve industries that managed to reduce most carbon dioxide emission were food (17.68 percent), textile and garment (10.00 percent), iron and metallurgy (7.14 percent), automotive and parts (8.20 percent), and packaging (6.38 percent). However, the impact of reduction of carbon dioxide emission on the economic system was very little at only 0.03 percent due to budget limitation. (6) Increase of sale There were 61.6 percent of the participating establishments that managed to increase sale at the average of 6.72 percent a year. The top ďŹ ve industries with the highest increase of sale were electrical and electronics (14.09 percent), automotive and parts (13.52 percent), agricultural processing (13.05 percent), iron and metallurgy (12.67 percent), and textile and garment (12.62 percent). (7) Increase of competitiveness There were 86.1 percent of the participating establishments that managed to increase their competitiveness which was very high with the high level increase. Moreover, the survey revealed that 86.1 percent of the participating establishments increased their potential to compete at the high level (average marks 3.53) such as agricultural processing (average marks 3.39), ceramics (average marks 3.67), and rubber gloves (average marks 3.33) etc.
21
As a summary, the implementation of the projects under the Master Plan resulted in the output and impact that increased industrial efficiency and productivity but benefited only the participating establishments. The impact on the macro level was little due to budget limitation. The development of the establishments and labor was thus limited as well. As a result, the implementation of the Master Plan could not upgrade industrial efficiency and productivity according to the objectives. Moreover, there were many weaknesses in the implementation of the Master Plan as follows: (1) The implementation of the projects was quite dispersed and lacked continuity. Most projects were implemented during a short period of time such as 1-2 years only. (2) Most of the participating establishments were concentrated in the projects under the strategy to upgrade management ability (83.1 percent). As for the other four strategies which were very important and had impact on the increase of industrial efficiency and productivity, there were only 16.9 percent of the establishments participating in the projects under these four strategies. (3) Although there were 29 industrial groups taking part in the projects, they were quite concentrated. The first five concentrated industries were food, electrical and electronics, automotive and parts, textile and garment, packaging and paper. They constituted 76.2 percent of the participating establishments whereas 23.8 percent of the participating establishments covered the remaining 24 industrial groups. (4) Those who received training/knowledge transfer were concentrated in three industries namely electrical and electronics, automotive and parts, and textile and garment. They constituted 72.3 percent of all the personnel who received training/knowledge transfer. When comparing the results and impacts of the implementation of the projects with the indicators of the Master Plan, it was revealed that out of four indicators, only three indicators achieved the objectives namely increase of labor productivity, reduction of production costs, and the number of the participating industries. The indicator that missed the objective was the number of participating establishments.
22
1.2 Master Plan of Intellectual Infrastructure 2008-2012 The Master Plan of Intellectual Infrastructure 2008-2012 was under the responsibility of many agencies namely Department of Industrial Promotion, Office of the Board of Investment, National Institute of Metrology, Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Department of Science Service, Thailand Research Fund, Office of the Higher Education Commission etc. The implementation under Office of Industrial Economics formed only a part of the Master Plan. During the five years that OIE implemented the Master Plan, it was allocated the budget of 284.0 million baht with only 24 implemented projects. Most of the projects (17 projects) were under the strategy to increase technology and innovation in the manufacturing and service sectors. They were followed by the strategy to strengthen knowledge sources (6 projects), and the strategy to create linkage between knowledge sources, knowledge users, and development of learning (1 project). Almost all projects were implemented for a period of one year only. During the implementation of the projects for the period of five years, there were only 176 participating entrepreneurs and there were 1,569 persons who were trained/ transferred knowledge. As results, they came up with 172 items of the new product research and development and 5 products of the product design. The results were quite few and some have not yet been commercially viable. The objective of promoting the establishments in the manufacturing sector to have technological innovation has thus not been met. This was the result of a small number of the implementing projects and the participating entrepreneurs due to budget limitation. The implementation of the projects was also dispersed, without focusing on any particular field or providing a system that would facilitate the entrepreneurs to undertake research and development by themselves. The projects were implemented on a year to year basis and lacked integration among related agencies. However, the projects that were implemented between 2008-2012 proved useful such as energy saving and increased competitiveness at a certain level.
23
Most of the projects implemented under the Master Plan were undertaken by hiring any of MOI’s independent institutes to be responsible for the projects. The independent institutes would in turn assign their own consultants or independent consultants, most of whom were not academics. The implementation did not yet reflect the close cooperation between the business sector, the academic institutes, research, and learning. Thus, the objective of close cooperation between the business sector, the academic institutes, research, and learning had not been met. According to the ranking of Scientific Infrastructure (personnel in research and development and patent) undertaken by International Institute for Management Development (IMD), in 2012 Thailand ranked 40th from 59 countries. Thus, the implementation of the projects did not meet the objective of upgrading Thailand’s competitiveness in the field of personnel in research and development and patent. In fact, the objective of the Master Plan set the position of not lower than the median. In summary, the implementation of the projects under the Master Plan of Intellectual Infrastructure did not meet the objective. The main reasons were the lack of integration among related government agencies and with the private sector, as well as budget constraint. Key Success Factors of participation in the projects Under the two Master Plans, there were four key success factors, from highest to lowest priorities, namely 1) Readiness of the entrepreneurs 2) Knowledge and ability of consultants/lecturers 3) Period of project implementation and 4) Follow-up of consultants’ performance by independent institutes. The project implementation under the Master Plan at the later phase should take these four factors into consideration.
24
The results of the implementation of the two Master Plans revealed that the implementation clearly had a positive impact on the development of the participating establishments to increase their industrial efficiency and productivity.
However, with budget constraint, it did not have great impact on the overall industrial efficiency and productivity. Moreover, the present competition became fiercer and the budget constraint continued. Thus, the implementation of the Master Plans at the later phase needs to modify its modality to suit current situations and limited budget. The focus should be on developing the system that will facilitate entrepreneurs and personnel in the industrial sector to develop themselves. The project with consultation activities should focus on the entrepreneurs with potential but cannot develop themselves in the beginning, with appropriate assistance methods. Priority should also be given to projects on the environment, networking creation, linkage between the public and the private sectors, industries that increase value added to the raw materials produced in the country, and industries that were ignored during the first phase of the Master Plans. Strategic recommendations are put forward as follows: Strategy 1: Upgrading human skill for both the existing labor force and the labor force entering the industrial sector with the following implementing guidelines: (1) Upgrade knowledge of new skilled labor and existing labor to provide them with the ability to sustain changes. (2) Promote the skill standards both in and outside the system by linking them with compensations such as provision of a Certification Authority to test skill standards. (3) Train the trainers of the participating establishments so that they may transfer knowledge to their colleagues. (4) Train the trainers in the field of increasing industrial efficiency and productivity to sustain the training needs of the establishments themselves. (5) Set up database of trainers in the field of increasing industrial efficiency and productivity so that the entrepreneurs may have their selection, with appropriate service charge.
25
(1) Prepare communication channel aimed at training in the field of increasing industrial efficiency and productivity. Interested entrepreneurs or trainers may download the content through website. (2) Set up website of the center for training by oneself to increase industrial efficiency and productivity. The center will be the venue for the dissemination of information, media, and trainers, the exchange of knowledge, the follow-up of new knowledge, as well as stimulation for interested entrepreneurs to undertake human resource development by themselves. (3) Develop education system/e-Learning so that the interested personnel in establishments or general public may train/learn by themselves. (4) Support training by providing trainers so that establishments may train their personnel themselves. The government may cover all expenses or part of the expenses to reduce cost and raise the awareness of the importance of training. (5) Forge concrete cooperation between academic institutes and the entrepreneurs with OIE as a focal point in order to produce students that meet the needs of the private sector. Strategy 2: Upgrading the ability to increase industrial efficiency and productivity with the following implementing guidelines: (1) Encourage the use of IT in the process of increasing industrial efficiency and productivity. (2) Encourage continual quality improvement through development and improvement of production process. (3) Encourage undertaking Benchmarking and Best Practices as a guideline to increase efficiency and productivity of industrial groups. (4) Raise awareness and motivation to increase industrial efficiency and productivity for entrepreneurs.
26
(1) Prepare database of consultants in various fields so that the entrepreneurs may make selection as needed, with appropriate service charge. The consultants figured in the database must have their resumes screened and approved by OIE to give confidence to the entrepreneurs. (2) Prepare database in the field of the development of efficiency and productivity as Knowledge Outlet which compiles knowledge, techniques to solve problems, development of efficiency in every industry from experience so that entrepreneurs may learn by themselves. (3) Prepare various channels of communication that facilitate self-learning so that entrepreneurs may learn and apply to increase industrial efficiency and productivity by themselves. (4) Hire consultants to familiarize the entrepreneurs with the OIE developed system and the guideline of self-development so that the entrepreneurs may benefit from it. (5) Set up a pilot plant as a center of knowledge and a model for other establishments to learn and develop by themselves. OIE will hire consultants to develop the entrepreneurs who apply as pilots with intensive activities, including filming the training session as a knowledge media to those who may make study visit in the future. The pilot plant must enter into agreement with OIE that it will consent to be a source of study visit to the interested parties according to the agreed conditions such as permit to the interested parties to make study visit for two days a week and provision of lecturers who will explain or suggest guideline to solve problems. (6) Set up website for volunteer consultants with experience in the development of efficiency and productivity to give consultation through the website. (7) Hire consultants who will give analysis and consultation as requested but the entrepreneurs must use the findings of the analysis and consultation to solve problems by themselves. (8) Hire consultants to give consultation by focusing on the entrepreneurs who have potential but lack readiness and need a coach in the beginning.
27
Strategy 3: Improve machinery efficiency with the following implementing guidelines: (1)Promote and support the development and improvement of machinery efficiency in each industrial group to increase industrial efficiency and productivity. (2)Promote and support the replacement of old machinery with advanced machinery to increase industrial efficiency and productivity. (3)Promote and support the replacement of personnel or old IT system with new technology to increase industrial efficiency and productivity. Strategy 4: Upgrade ability of research and development of commercially viable products, whether new products or extension of the existing products to create high value added with the following implementing guidelines: (1)Set up database of researchers/experts to support the interested entrepreneurs in their effort to undertake research and development by themselves. (2) Set up database of results of domestic and foreign research relating to industries. Compile and group the information to accommodate the search so that entrepreneurs can study and make use of the research and development, as well as cooperation with the researchers for commercially viable products. (3)Set up website as a center of dissemination of information, news on research and development, and exchange of knowledge among researchers themselves and with entrepreneurs. (4)Promote cooperation between academic institutes and business establishments in joint research and development.
28
(1)The project of research and development must have a preliminary study to be commercially viable and must be implemented until it is commercially viable. (2)Set up a fund to promote and support industrial research and development. The fund may operate through various methods as appropriate such as joint fund for research and development, soft loan for research and development, grant for research and development etc. The fund will cover both research of products and research to improve production process. (3)Use tax incentives to promote research and development and to stimulate more research and development. (4)Balance the tax incentives under the investment promotion schemes with research and development and knowledge transfer to Thai personnel or entrepreneurs in the supply chain. (5)Promote Thailand as a regional center of industrial research and development by granting special tax incentives to encourage investment. Strategy 5: Develop logistics system within industrial groups with the following implementing guidelines: Promote and support the private sector to develop logistics system within industrial groups to increase industrial efďŹ ciency and productivity. Strategy 6: Create business partnership network and supply chain with the following implementing guidelines: (1)Promote business grouping through cluster and supply chain to link productions, by focusing on shared knowledge among those at the forefront and those far behind, stimulating concrete participation from the private sector, and raising awareness of executives/entrepreneurs to form strong cluster. (2)Focus on the project relating to system development to increase industrial efďŹ ciency and productivity through cooperation by cluster.
(3) Use the public sector’s mechanism to promote and support potential Thai entrepreneurs to be focal point in managing regional supply chain.
29