ทำเนียบอุตสาหกรรม 1

Page 1

ทําเนียบอุตสาหกรรม1

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)

1



สารบัญ อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมไมและเครื่องเรือน อุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑยาง อุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเทา อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ

4 15 28 45 56 70 83

3


อุตสาหกรรมยา


อุตสาหกรรมยา 1. ภาพรวมของอุตสาหกรรม ยารักษาโรคเกี่ยวของกับชีวิตและสุขภาพของมนุษย การพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตยาภายในประเทศ จึงเปนการ เสริมสรางความมั่นคงดานสุขอนามัยและความปลอดภัยของ ประชากร ซึ่งจะสงผลตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศในระยะยาวป จ จุ บั น ตลาดยาแผนป จ จุ บั น ใน ประเทศมีมูลคาไมตํากวา 1 แสนลานบาท โดยสัดสวนระหวาง มู ล ค า การผลิ ต และมู ล ค า การนํ า เข า อยู ที่ ป ระมาณร อ ยละ 30:70 ซึ่งสวนใหญเปนการผลิตยาชื่อสามัญ (Generic drugs) และนําเขายาตนตํารับ (Original drugs)

 นิยามของอุตสาหกรรม “ยาแผนปจจุบัน” คือ ยาที่มุงหมายสําหรับใชในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม การประกอบโรคศิลปะแผนปจจุบัน หรือการ บําบัดโรคสัตว1 “ยาตนตํารับ” (Original drugs) คือ ยาใหมที่ผูผลิตคนควาวิจัยขึ้นและไดรับสิทธิบัตรคุมครองไมใหผูอื่นทํายาลอก เลียนแบบในชวงระยะเวลาหนึ่ง2

“ยาชื่อสามัญ” (Generic drugs) คือ ยาที่ผลิตจากผูผลิตที่ไมไดคนควาวิจัยยาชนิดนั้นๆ ขึ้นมาเอง แตเปนการผลิต ยาที่เลียนแบบยาตนตํารับเมื่อหมดอายุของการคุมครองสิทธิบัตรแลว3 โครงสร้างอุตสาหกรรม 1. โครงสร้างการผลิต โครงสรางการผลิตยาแบงเปน 3 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 วิจัยและพัฒนายาใหม (การคนหาสารออกฤทธิ์ทางยา การ ประเมินสารออกฤทธิ์ทางยาในสัตวทดลอง และการประเมินสารออกฤทธิ์ทางยาในมนุษย) ขั้นที่ 2 ผลิตวัตถุดิบ และขั้นที่ 3 ผลิต ยาสําเร็จรูป ซึ่งอุตสาหกรรมการผลิตยาแผนปจจุบันในประเทศไทยสวนใหญอยูในขั้นที่ 3 โดยนําเขาวัตถุดิบมาผสมตํารับเปนยา สําเร็จรูป สวนการผลิตวัตถุดิบ มีบางแตนอย โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) อุตสาหกรรมการผลิตวัตถุดิบ วัตถุดิบที่ใชในการผลิตยา ไดแก ตัวยาสําคัญ (Active Ingredient) หรือสารออกฤทธิ์ทางยา เชน พาราเซตามอล และแอสไพริน เปนตน และตัวยาชวย (Inert Substance) เชน สารชวยใหผงยาตอกเปนเม็ดยาได สารชวยใหเม็ดยามีการกระจายตัวดีเมื่อรับประทานไปแลว สารแตงสี เปนตน ซึ่งการผลิตวัตถุดิบในประเทศเปนการผลิตวัตถุดิบที่มีผูคนพบอยูแลว ทั้งนี้ การผลิตวัตถุดิบจําเปนตองใชเทคโนโลยีสูง และเงินทุนมาก สวน ใหญจึงเปนการรวมทุนจากตางประเทศ โดยผูผลิตแตละรายจะมีการผลิตผลิตภัณฑที่ไมซําชนิดกัน หรือหากซําจะเปนการผลิตใหเพียงพอเพื่อใชใน การผลิตยาสําเร็จรูปของตนเอง และมีการจําหนายใหแกบริษัทอื่นนอยมาก สงผลใหปริมาณวัตถุดิบที่ผลิตไดในประเทศไมเพียงพอตอความตองการ ทําใหตองมีการนําเขาวัตถุดิบปริมาณมากมาผสมตํารับเปนยาสําเร็จรูป โดยวัตถุดิบนําเขามีสัดสวนสูงถึงประมาณ รอยละ 90 ของปริมาณวัตถุดิบที่ ใชในการผลิตยาสําเร็จรูป4 1 2 3 4

พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 หมอชาวบาน, คุณภาพของยาจากแหลงผลิตตางกัน [online], 15 มีนาคม 2556. แหลงที่มา http://www.doctor.or.th/article/detail/4534. แหลงเดิม แผนยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมยา, 2553

5


2) อุตสาหกรรมผลิตยาชื่อสามัญ (Generic Drugs) ยาแผนปจจุบันสวนใหญเปนยาที่ไดรับการวิจัยและพัฒนาจากผูผลิตยาชั้นนําในตางประเทศและนําเขามา จําหนาย ทําใหยามีราคาแพง ยาเหลานี้ คือ ยาตนตํารับ (Original Drugs) สวนยาที่ผลิตในประเทศ เปนยาชื่อสามัญ (Generic Drugs) ซึ่งจะตองรอจนกวายาตัวนั้นหมดสิทธิบัตรกอน จึงจะสามารถทําการผลิตออกมาจําหนายได ซึ่งยาชื่อสามัญเปนยาที่ผู ผลิตยาในประเทศสวนใหญทําการผลิต โดยผูผลิตจะนําเขาตัวยาสําคัญจากตางประเทศมาพัฒนาตํารับ (Formulation) แลวผสม และบรรจุเปนยาสําเร็จรูปในรูปแบบตางๆ เชน ยาเม็ด ยาแคปซูล และยานํา เพื่อนําไปใชในการรักษา

2. โครงสรางการจําหนาย ยาที่ผลิตในประเทศและนําเขามีชอง ทางการจําหนายหลัก คือ โรงพยาบาลและรานขายยา ซึ่ง มีสัดสวน รอยละ 80:20 โดยในสวนของโรงพยาบาล จะแบงเปนโรงพยาบาลรัฐบาล และโรงพยาบาลเอกชน (รอยละ 80:20) อยางไรก็ตาม การจําหนายในโรงพยาบาลของ รัฐบาล ผูผลิตจะตองทําการประมูลเพื่อจําหนายยา ทําใหเกิด การแขงขันสูงดานราคาระหวางผูผลิตดวยกัน ผูผลิตและผูนํา เขาจึงเริ่มมีแผนที่จะวางจําหนายสินคาในชองทางรานขายยา มากขึ้น เนื่องจากเปนตลาดที่มีการเติบโตดี โดยจะวางจําหนาย ผลิตภัณฑใหมในรานขายยาอยางตอเนื่อง เพื่อเปนทางเลือกให กับผูบริโภค รวมถึงการหาลูกคารานขายยาใหมๆ ดวย ทําให สัดสวนการจําหนายระหวางโรงพยาบาลและรานขายยา มีแนว โนมปรับเปน รอยละ 70:30

3. จํานวนผูผลิต

ปจจุบันมีสถานที่ผลิตยาแผนปจจุบันทั้งสิ้น 166 แหง เปนสถานที่ผลิตยาที่ไดรับรองมาตรฐานการผลิตยา (Good Manufacturing Practice: GMP) จํานวน 158 แหง (ตารางที่ 1) และจากสถานที่ผลิตยาที่ไดรับรองมาตรฐาน GMP มีเพียง 7 แหงเทานั้นที่ผลิตวัตถุดิบทางยาที่เปนตัวยา สําคัญ ทั้งนี้ สถานที่ผลิตยาแผนปจจุบัน รอยละ 90 มีแหลง ที่ตั้งอยูในกรุงเทพและปริมณฑล (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 1 จํานวนสถานที่ผลิตยาแผนปจจุบันที่ไดรับรองมาตรฐานการผลิตยา (GMP) ระหวางป 2551-2555 ยาแผนปจจุบัน พ.ศ. ทั้งหมด ไดรับรอง GMP 2551 168 158 2552 167 157 2553 169 158 2554 169 156 2555 166 158 ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, มกราคม 2556


ตารางที่ 2 การกระจายตัวของสถานที่ผลิตยาแผนปจจุบัน ป 2556 จํานวน จังหวัด ทั้งหมด ไดรับรอง GMP 1. กรุงเทพมหานคร 93 91 2. ฉะเชิงเทรา 3 3 3. ชลบุรี 2 2 4. นครปฐม 10 8 5. นครราชสีมา 1 6. นนทบุรี 8 8 7. ปทุมธานี 18 15 8. พระนครศรีอยุธยา 6 6 9. ราชบุรี 2 2 10. ลพบุรี 2 2 11. สมุทรปราการ 17 17 12. สมุทรสาคร 4 4 รวม 166 158 ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, มกราคม 2556

สถานที่ผลิตยาแผนปจจุบันสวนใหญมีขนาดกลางและขนาดยอม สวนสถานที่ผลิตยาแผนปจจุบันขนาดใหญมี ประมาณ รอยละ 10 ของสถานที่ผลิตยาแผนปจจุบันทั้งหมดเทานั้น ซึ่งรายนามและสถานที่ตั้งของสถานที่ผลิตยาแผนปจจุบัน ขนาดใหญ ปรากฏตามตารางที่ 3 ชื่อ

ตารางที่ 3 สถานที่ผลิตยาแผนปจจุบันขนาดใหญ สถานที่ตั้ง

บริษัท โรงงานเภสัชกรรม เกรทเตอร ฟารมา จํากัด บริษัท แคพซูลเจล (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ชุมชนเภสัชกรรม จํากัด (มหาชน) บริษัท ที.พี.ดรัก แลบบอราทอรี่ส (1969) จํากัด บริษัท ที.โอ.เคมีคอลส (1979) จํากัด บริษัท ไทยนครพัฒนา จํากัด บริษัท ไทยเมจิฟารมาซิวติคัล จํากัด บริษัท ไทยโอซูกา จํากัด บริษัท ไบโอแลป จํากัด บริษัท เภสัชกรรมศรีประสิทธิ์ จํากัด บริษัท ยูนีซัน จํากัด บริษัท สยามเภสัช จํากัด บริษัท สีลมการแพทย จํากัด องคการเภสัชกรรม บริษัท โอลิค (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท โอสถสภา จํากัด

55/2 ถนนบางเตย-วัดสุวรรณ หมู 1 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล นครปฐม 73170 1/82 สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ถนนโรจนะ หมู 5 ตําบลคานหาม อําเภออุทัย พระนครศรีอยุธยา 13210 1 ซอยคูบอน 11 ถนนคูบอน แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพฯ 10230 98 ซอยสุขุมวิท 62 แยก 1 ถนนสุขุมวิท แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10250 53 ถนนเลียบคลอง 7 หมู 4 ตําบลบึงคําพรอย อําเภอลําลูกกา ปทุมธานี 12150 94/7 ซอยยิ้มประกอบ ถนนงามวงศวาน หมู 9 ตําบลบางเขน อําเภอ เมืองนนทบุรี นนทบุรี 11000 37 ซอยฉลองกรุง 31 นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง แขวงลําปลาทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 50 ถนนเศรษฐกิจ 1 หมู 8 ตําบลคลองมะเดื่อ อําเภอกระทุมแบน สมุทรสาคร 74110 625 ซอย 7 เอ นิคมอุตสาหกรรมบางปู ถนนสุขุมวิท หมู 4 ตําบลแพรกษา อําเภอเมือง สมุทรปราการ 10280 216 หมู 6 ตําบลสวนหลวง อําเภอกระทุมแบน สมุทรสาคร 74110 30 ถนนลาดกระบัง แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 123 ซอยโชคชัยรวมมิตร ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เชตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 89 ซอยนิคมอุตสาหกรรมโรจนะ 2 ถนนโรจนะ หมู 1 ตําบลบานชาง อําเภออุทัย พระนครศรีอยุธยา 13210 75/1 ถนนพระราม 6 แขวงทุงพญาไท เชตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 166 นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ถนนอุดมสรยุทธ หมู 16 ตําบลบางกระสั้น อําเภอบางปะอิน พระนครศรีอยุธยา 13130 348 ถนนรามคําแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะป กรุงเทพฯ 10240

ที่มา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม, มีนาคม 2556

7


4. การจางงาน อุตสาหกรรมการผลิตยาแผนปจจุบันในประเทศ มีการจางงานในปจจุบันกวา 16,000 คน1 และจากผลการ ศึกษาตามแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขายา)2 พบวา การจางงานในอุตสาหกรรมการผลิตยา บุคลากรกวาครึ่งจะอยู ในฝายผลิต รองลงมา คือ ฝายการตลาด แตบุคลากรในฝายวิเคราะห และวิจัยและพัฒนา มีสัดสวนนอยที่สุด ซึ่งการขาดแคลน บุคลากรในการวิจัยและพัฒนา สงผลตอการพัฒนาอุตสาหกรรมในระยะยาว  กระบวนการผลิต 1. ยาเม็ด ยาเม็ด คือ ยาที่อยูในรูปแบบของยาเตรียมเปนเม็ดแข็ง มีรูปรางและขนาดตางๆ กัน การผลิตยาเม็ดสวนใหญ จะผลิตโดยกระบวนการที่เรียกวา Wet Granulation Process หรือการทําแกรนูลแบบเปยก เริ่มจากการชั่งตัวยา นํามาแรง ผสมผงยาใหเขากันดี สวนผสมที่ไดนี้เรียกวา Wet mass หรือ Dump Mass หลังจากนั้นนําไปอบแหง นําผงที่อบแหงแลวมาแรง ใหไดขนาดของแกรนูล3ตามที่กําหนด แลวนําไปผสมกับตัวชวยหลอลื่น และสารอื่นๆ เมื่อผสมใหเขากันไดดีแลว จึงนําไปตอก เปนเม็ดโดยเครื่องอัดเม็ด ถาเปนยาเคลือบก็จะนําไปเคลือบตอ ยาเม็ดที่ผลิตเสร็จเมื่อผานขั้นตอนการตรวจสอบและทดสอบ แลว จะถูกนําไปบรรจุลงภาชนะบรรจุตอไป 2. ยานํา ยานํา คือ ยาเตรียมรูปแบบของเหลว โดยมีตัวยาหนึ่งชนิดหรือมากกวาละลายอยูในตัวทําละลายที่เปน ของเหลว การผลิตยานําเริ่มจากการละลายตัวยาตางๆ ลงในสารทําละลาย ตามลําดับการเติมตัวยา ผสมใหตัวยาละลายหรือเขา กันดี โดยอาศัยเครื่องกวน แลวกรองผานเครื่องกรองเขาสูถังเก็บ และสูกระบวนการบรรจุ ปดฉลาก ลงหีบหอ ตามลําดับ 3. ยาครีม ยาครีม คือ รูปแบบยาอิมัลชั่น4ชนิดกึ่งแข็ง ตัวยาสําคัญละลายอยูในนําหรือนํามัน เนื้อยาครีมมีลักษณะขุนขาว ออนนุม การผลิต ยาครีมเริ่มจากการเตรียม Oil phase และ Water phase5 โดยนําตัวยาที่ เขากันไดกับนํามันผสมกันใน Oil phase และตัวยาที่ เขากันไดกับนําใน Water phase ทําใหทั้งสอง phase อุณหภูมิสูงขึ้นเทากัน (ประมาณ 70 องศาเซลเซียส) และถายเทผสมกัน ใหเขากันดีโดยอาศัยเครื่องกวน เมื่อเขากันดีแลวคอยๆ ลดอุณหภูมิลงมาถึงประมาณ 40 องศาเซลเซียส แลวเติมตัวยาหลักและ สารแตงกลิ่น ผสมใหเขากันดีและเมื่อเย็นลง ถายยาออกใสเครื่องสําหรับบรรจุยาลงหลอด

4. ยาผง ยาผง คือ เภสัชภัณฑที่มีลักษณะเปนผงแหง ประกอบดวยตัวยาตั้งแต 1 ชนิดขึ้นไป การผลิตยาผงคลายกับ การผลิตยาเม็ด ตางกันตรงขั้นตอนสุดทายเมื่อไดแกรนูลออ กมาแลว การผลิตยาผงจะนําแกรนูลนี้ไปลงบรรจุขวดหรือใส ซอง โดยไมตองไปตอกอัดเปนเม็ด 1 รวบรวมขอมูลจาก TSIC 21001 กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2 โครงการจัดทําแผนแมบทรายสาขา (สาขายา), 2544 3 การทําแกรนูล (Granulation) เปนขั้นตอนในเชิงเคมีในการสราง forming หรือ crystallizing 4 อิมัลชั่น (Emulsion) หมายถึง ผลิตภัณฑรูปแบบหนึ่งที่ประกอบดวยของเหลวอยางนอย 2 ชนิด ซึ่งไมเขากันหรือไมละลายในกันและกัน เชน นํากับนํามัน ถูกนํามาไวดวยกันในลักษณะที่ผสมผสานเขาเปนเนื้อเดียวกันไดโดยอาศัยตัวทําอิมัลชั่น (Emulsifying agents เปนสารที่ทําหนาที่ในการผสมผสานสารที่ละลายในนํา และสารที่ละลายในนํามันใหเขาเปนเนื้อเดียวกันจนเกิดผลิตภัณฑอิมัลชั่นขึ้นมา) ซึ่งหากมองดวยตาเปลาจะเห็นเปนเนื้อเดียวกัน แตหากสองดวยกลองจุลทรรศนจะเห็น เปน 2 ชนิด ชนิดหนึ่งจะกระจายตัวแทรกอยูในของเหลวอีกชนิดหนึ่ง 5 Oil phase ไดแก นํามันตางๆ ไขมัน ไขแข็ง เปนตน สวน Water phase ไดแก นําและสารตางๆ ซึ่งอาจเปนของแข็งหรือของเหลวที่ละลายไดในนํา


5. ยาแคปซูล ยาแคปซูล คือ รูปแบบยาเตรียมชนิดแข็งที่ มีตัวยาบรรจุอยูในปลอก ซึ่งเตรียมจากเจลาติน การผลิตยา แคปซูลเริ่มจากการเตรียมผงยา โดยการผานเครื่องแรงผง ยาเพื่อใหไดขนาดผงตามที่ตองการแลวนําผงยาที่ผานเครื่อง แรงแลวไปผสมใหเขากันดีในเครื่องผสมผงยา โดยมีการเติม สารหลอลื่นและสารชวยการไหลของผงยา เพื่อใหการบรรจุ ลงแคปซูลไดนําหนักดี จากนั้นนําผงยาไปบรรจุลงแคปซูล โดยอาศั ย เครื่ อ งบรรจุผานการขจัดฝุนตรวจสอบนํา หนั ก และบรรจุลงขวดหรือภาชนะ  ศักยภาพการผลิต 1. สถานภาพการผลิตและการนําเขา ปริมาณการผลิตยาชื่อสามัญมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง ในชวงป 2551-2555 จาก 25,780.82 ตัน ในป 2551 เปน 29,764.18 ตัน ในป 2555 หรือมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยรอยละ 3.12 ตอป ยกเวนในป 2554 ซึ่งยาบางรายการซึ่งเคยมีความ ตองการสูง ถูกควบคุมการจําหนาย ตลอดจนปญหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นในหลายพื้นที่ชวงปลายป ทําใหการผลิตลดลง การผลิตที่มี ขยายตัวอยางตอเนื่อง หลังจากป 2551 เนื่องจากสถานการณเศรษฐกิจโลกและปญหาการเมืองในประเทศไดปรับตัวดีขึ้น ทําให กําลังซื้อของผูบริโภคสูงขึ้น คําสั่งซื้อทั้งในประเทศและประเทศคูคาจึงเริ่มกลับมา นอกจากนี้ผูผลิตยังไดปรับปรุงคุณภาพของ สินคาใหเปนที่ยอมรับของตลาดและผูวาจางผลิตดวย รวมทั้งมาตรการควบคุมการเบิกจายคารักษาพยาบาลของภาครัฐ ที่ใหใช ยาในประเทศทดแทนมากขึ้น ตลอดจนโครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนาที่ยังดําเนินอยางตอเนื่อง และการที่คนไทยหันมา ใสใจตอสุขภาพมากขึ้นลวนเปนปจจัยในการสรางโอกาสใหเกิดความตองการยาชื่อสามัญในประเทศเพิ่มขึ้น สงผลตอปริมาณการ ผลิตใหเกิดการขยายตัวมากขึ้น

ตารางที่ 4 ปริมาณการผลิตยาและผลิตภัณฑเภสัชกรรมในประเทศแยกตามรายผลิตภัณฑ ประเภท 2551 2552 2553 2554 ยาเม็ด 5,882.06 6,080.75 6,042.16 6,355.19

2555 6,924.17

ยานํา

% ∆ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน

1.01

3.38

-0.63

5.18

หนวย : ตัน 8.95

13,384.38

15,569.49

17,332.67

14,913.62

14,655.00

ยาแคปซูล

725.16

699.54

680.21

729.01

874.84

ยาฉีด

485.29

428.32

422.98

485.42

551.07

ยาแดงทิงเจอรไอโอดีน

112.84

126.03

141.37

169.26

183.83

ยาครีม

2,071.86

2,143.10

2,387.10

2,413.25

2,714.49

ยาผง

3,119.23

3,001.58

3,550.14

3,627.03

3,860.78

รวม

25,780.82

28,048.81

30,556.63

28,692.78

29,764.18

% ∆ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน % ∆ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน % ∆ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน % ∆ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน % ∆ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน % ∆ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน % ∆ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน

7.46

11.13 12.43 -4.15

-11.20 -20.15 0.24

16.33 -3.53

-11.74 11.69 3.44

-3.77 8.80

11.32 -2.76 -1.25

12.17 11.39 18.28 8.94

-13.96 7.17

14.76

19.73 1.10 2.17

-6.10

ที่มา : ศูนยสารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม หมายเหตุ : จํานวนโรงงานที่สํารวจรวมทั้งสิ้น 30 โรงงาน (ยาเม็ด 28 โรงงาน ยานํา 26 โรงงาน ยาแคปซูล 23 โรงงาน ยาฉีด 8 โรงงาน ยาแดงทิงเจอรไอโอดีน 4 โรงงาน ยาครีม 14 โรงงาน และยาผง 15 โรงงาน)

-1.73

20.00

13.52 8.61

12.48 6.44

3.73

9


แมประเทศไทยจะสามารถผลิตยาเพื่อใชในประเทศได แตยังมีการพึ่งพิงยานําเขาสูง โดยในชวงป 2551-2555 มูลคาการนําเขายารักษาโรคขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จาก 1,008.71 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2551 เปน 1,448.51 ลาน เหรียญสหรัฐฯ ในป 2555 มีอตั ราการเติบโตเฉลีย่ รอยละ 13.02 ตอป ยาทีน่ าํ เขาสวนใหญเปนยาตนตํารับทีไ่ มสามารถผลิตไดใน ประเทศ เนือ่ งจากเปนยาสิทธิบตั รของผูผลิตเวชภัณฑชั้นนําของโลก ทั้งนี้ กลุมยาที่มีมูลคาการนําเขาสูง ไดแก กลุมยาสรางเม็ด เลือด กลุมยาปฏิชีวนะ และกลุมยาลดไขมันในเลือด1 โดยมีแหลงนําเขาสําคัญ คือ สหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา การนําเขายา รักษาโรคมีมูลคาเพิ่มขึ้นทุกป เพราะธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนยังคงมีแนวโนมขยายตัวที่ดี สงผลใหผูปวยที่มีรายไดสูงมีความ ตองการยาที่เปนที่ยอมรับจากตางประเทศเพิ่มขึ้น รวมทั้งกลุมผูสูงอายุเริ่มใหความใสใจสุขภาพของตนเองมากขึ้น นอกจากนี้ การนําเขายาชื่อสามัญ ที่เปนคูแขงกับผูผลิตในประเทศมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเชนกัน เนื่องจากโรงพยาบาลของรัฐมีแนวโนมที่จะใช ยาชื่อสามัญมากขึ้น เพื่อควบคุมการใชยาใหมีความเหมาะสมและลดคาใชจายฟุมเฟอยลง ทําใหมลู คาการนําเขายาชือ่ สามัญจาก อินเดีย และจีน มีมลู คาเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ซึง่ ทัง้ 2 ประเทศมีความไดเปรียบดานตนทุน เพราะสามารถผลิตวัตถุดบิ ตัวยาไดเอง ตารางที่ 5 มูลคาการนําเขายารักษาโรค 2551 การนําเขา 1,008.71 % ∆ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ที่มา : กรมศุลกากร

27.16

2552 1,072.98 6.37

2553 1,191.41

หนวย: ลานเหรียญสหรัฐฯ

2554 1,299.31

2555 1,448.51

11.04 9.06 11.48 หมายเหตุ : รวมจากพิกัดภาษีศุลกากร 3003 และ 3004

2. จุดแข็งและจุดออน การผลิตยาชือ่ สามัญในประเทศไทยมีจดุ แข็งทีส่ าํ คัญ คือ ผลิตภัณฑทผ่ี ลิตไดสว นใหญมคี วามนาเชือ่ ถือในดาน คุณภาพ มาตรฐาน ความปลอดภัย และประสิทธิผลของการรักษา และผูผ ลิตมีความพรอมในการเขาถึงเทคโนโลยีเครือ่ งจักรพืน้ ฐานในการผลิตยา รวมทัง้ มีทกั ษะและประสบการณบริหารการผลิต ใหมคี วามยืดหยุน และรองรับความตองการของตลาด อยางไร ก็ตาม การผลิตยาชือ่ สามัญในประเทศมีจดุ ออนทีส่ าํ คัญ คือ ตองพึง่ พิงการนําเขาวัตถุดบิ ตัวยาจากตางประเทศ ทําใหไมสามารถ ควบคุมราคาตนทุนทีเ่ หมาะสม และปองกันการ ขาดแคลนได นอกจากนีย้ งั ขาดการวิจยั และพัฒนา ตลอดจนการวิจัยและพัฒนาของอุตสาหกรรมยา ยังมีขอจํากัดในการพัฒนาไปสูระดับอุตสาหกรรม รวมทัง้ ตองใชเงินลงทุนสูง เพื่อพัฒนาสถานที่และ เครื่องจั ก รให ไ ด มาตรฐานการผลิตตามที่ภาครัฐ กําหนด จากสถานภาพการผลิต/การนําเขาและ การประเมินสภาพแวดลอมภายในประเทศ จะเห็น ไดวา การผลิตยาในประเทศ ซึง่ สวนใหญเปนยาชือ่ สามัญ สามารถทดแทนการนําเขาไดในระดับหนึง่ แตยาที่ตองรักษาโรคอยางตอเนื่องโดยมากยังเปน ยาทีม่ สี ทิ ธิบตั ร ไมสามารถผลิตไดในประเทศ จําเปน ตองนําเขาจากผูผ ลิตเวชภัณฑชน้ั นําของโลก นอกจากนีใ้ นการผลิตยังตองพึง่ พาการนําเขาวัตถุดบิ ตัวยาจากตางประเทศดวย รวม ทัง้ การวิจยั และพัฒนายังเปนเพือ่ ใหไดยาชือ่ สามัญใหม ไมใชเปนการคนหายาใหม ดังนัน้ อาจกลาวไดวา อุตสาหกรรมการผลิตยาใน ประเทศไทยมีศกั ยภาพในการผลิตระดับปานกลาง 1

โครงการจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมยา, 2553.


 ขีดความสามารถในการแขงขัน 1. สถานภาพการสงออก ในชวงป 2551-2555 มูลคาการสงออกยารักษาโรคขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จาก 164.67 ลานเหรียญสหรัฐฯ ใน ป 2551 เปน 254.31 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2555 มีอตั ราการเติบโตเฉลีย่ รอยละ 12.86 ตอป โดยยารักษาโรคที่สงออกเปน ยาสําเร็จรูปประเภทยาชื่อสามัญ ซึ่งการขยายตัวของการสงออกยา เนื่องมาจากผูผลิตไดพัฒนาสินคาใหมีคุณภาพเปนที่เชื่อมั่น ของประเทศคูคา รวมทั้งผูผลิตไทยไดใหความสําคัญกับตลาดเดิม คือ อาเซียน โดยแสวงหาพันธมิตรทําหนาที่เปนตัวแทนการ จําหนายในประเทศดังกลาวเพื่อรองรับการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งผลิตภัณฑยาของไทยไดรับการยอมรับในตลาด อาเซียน ตลอดจนสามารถขยายการสงออกไปยังตลาดใหมๆ เชน ตลาดตะวันออกกลาง และอเมริกาใต เปนตน นอกจากนี้ภาย หลังจากการชะลอตัวของภาวะเศรษฐกิจในชวงป 2551 ไดสงผลใหผูบริโภคในตลาดโลกหันมาซื้อยาสามัญที่ผลิตเลียนแบบยาตน ตํารับมากขึ้น เพราะมีราคาถูกกวา จึงเปนการสรางโอกาสทําใหการสงออกยาชื่อสามัญที่ผลิตในประเทศ ตลอดจนผูผลิตยาของ ไทยเริ่มไดรับความเชื่อถือจากผูผลิตเวชภัณฑชั้นนําของโลก ใหทําการผลิตยาเพื่อปอนตลาดทั้งในประเทศและกลุมอาเซียน สงผล ใหมูลคาการสงออกยาเพิ่มสูงขึ้น สําหรับคูแ ขงของ ไทยทีส่ าํ คัญในตลาดสงออกหลัก ไดแก มาเลเซีย ซึง่ เปนประเทศในอาเซียนทีม่ กี าร ผลิตยาไดมาตรฐาน PIC/S (Pharmaceutical Inspection Co-operation Scheme) อันเปนมาตรฐานการผลิตระดับสากลแลว ตารางที่ 6 มูลคาการสงออกยารักษาโรค การสงออก

% ∆ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ที่มา : กรมศุลกากร

2551 164.67 16.92

หนวย: ลานเหรียญสหรัฐฯ

2552 164.50 -0.10

2553 202.06

2554 215.83

2555 254.31

22.83 6.82 17.83 หมายเหตุ : รวมจากพิกัดภาษีศุลกากร 3003 และ 3004

2. แนวโนมอุตสาหกรรม 1) แนวโนมอุตสาหกรรมยาในตลาดโลก คาใชจายดานยาของตลาดโลกในป 2558 คาดวา จะมีมูลคาสูงถึง 1,100 พันลานเหรียญสหรัฐฯ เติบโตเฉลี่ย ตอปที่ รอยละ 3–6 โดยสหรัฐอเมริกาจะมีสวนแบงคาใชจายดานยา ประมาณ รอยละ 31 ลดลงจาก รอยละ 41 ในป 2548 และ ประเทศผูนําของสหภาพยุโรป 5 ประเทศ ไดแก สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี สเปน และอิตาลี จะมีสวนแบงคาใชจาย ดานยา รอยละ 13 ลดลงจากรอยละ 20 ในป 2548 สวนญี่ปุน ประเทศในสหภาพยุโรปที่เหลือ และแคนาดา ยังคงมีสวนแบงคา ใชจายดานยาคงที่ คือ รอยละ 11 6-7 และ 2-3 ตามลําดับ ในขณะที่ตลาดเกิดใหม (Emerging Market) ใน 17 ประเทศ ไดแก จีน อินเดีย บราซิล รัสเซีย เวเนซุเอลา โปแลนด อารเจนตินา ตุรกี เม็กซิโก เวียดนาม แอฟริกาใต ไทย อินโดนีเซีย โรมาเนีย อียิปต ปากีสถาน และยูเครน จะ มีสวนแบงคาใชจายดานยาเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 28 จาก รอยละ 12 ในป 2548 ซึ่งการเติบโตอยางรวดเร็วของ คาใชจายดานยาในตลาดเกิดใหม เปนผลจากคาใช จายในยาชื่อสามัญ ทําใหคาดวา คาใชจายดานยาชื่อ สามัญในตลาดโลกจะมีสวนแบงเพิ่มขึ้นเปน รอยละ 39 จากรอยละ 20 ในป 2548 หรือคิดเปนมูลคา 400-430 พันลานเหรียญสหรัฐฯ โดยรอยละ 70 ของมูลคา คา ใชจายดาน ยาชื่อสามัญ มาจากตลาดเกิดใหม สําหรับยาที่มีสิทธิบัตร จะเริ่มทยอยหมดอายุสิทธิบัตร ลงในประเทศที่พัฒนาแลว ทําใหสวนแบงคาใชจายของยาที่มีสิทธิบัตร ลดลงเหลือ รอยละ 53 จากรอยละ 64 ในป 2548 ดังนั้น บริษัทผูผลิตเวชภัณฑชั้นนําของโลกจึงใหความสําคัญกับตลาดเกิดใหม และยาชื่อสามัญมากขึ้น

11


2) แนวโนมอุตสาหกรรมยาในประเทศ อุตสาหกรรมยาของไทย คาดวา ปริมาณการผลิตจะขยายตัว จากการที่ภาครัฐควบคุมการเบิกจายคา ยาในสวัสดิการขาราชการ โดยใหความสําคัญกับการสั่งจายยาเกินความจําเปน ดวยการดูแล การเบิกจายใหมีความเหมาะ สม และใชยาสามัญในประเทศทดแทน รวมทั้งการดําเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนาอยางตอเนื่อง ดานมูลคา การนําเขา คาดวา ยังคงขยายตัว จากจํานวนผูสูงอายุที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม การเบิกจายคารักษาพยาบาล ของภาครัฐที่รัดกุม อาจทําใหอัตราการเติบโตของการนําเขาไมสูงมากนัก สวนมูลคาการสงออก คาดวา จะขยายตัวเพิ่ม ขึ้น เนื่องจากผูผลิตขยายตลาดใหมไดอยางตอเนื่อง รวมทั้งสามารถพัฒนาการผลิตจนไดคุณภาพเปนที่ยอมรับในระดับสากล ทําใหผูผลิตเวชภัณฑชั้นนําของโลก วาจางบริษัทของ ไทยผลิ ต สิ น ค า เพื่ อ จํ า หน า ยทั้ ง ตลาดในประเทศ กลุมอาเซียน และขยายไปสูกลุมยุโรปในลําดับตอไป

3. โอกาสและอุปสรรค อุตสาหกรรมการผลิตยาชื่อสามัญ ของประเทศไทยมีโอกาสเติบโต เนื่องจากความ ต อ งการยาชื่ อ สามั ญ ทั้ ง ในและต า งประเทศสู ง ขึ้น จากการที่ยาตนตํารับเริ่มทยอยหมดอายุการ คุมครองดานสิทธิบัตร นอกจากนี้ ประเทศไทย ยังเปนศูนยกลางในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งทําใหมีนัก ลงทุนตางชาติไดแก สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุน ใหความสนใจที่จะเปนพันธมิตรกับผูผลิตไทย เพื่อใชประเทศไทยเปนฐานการผลิตและการตลาดยาในภูมิภาค รองรับ การเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอนาคตอันใกลนี้ อยางไรก็ตาม การคาโลกที่เปดเสรีขึ้น ทําใหมีแนวโนมการนําเขายา ชื่อสามัญมาแขงขันกับผูผลิตในประเทศมากขึ้น ทั้งจากผูผลิตยาชื่อสามัญ และผูผลิตเวชภัณฑชั้นนําที่เริ่มใหความสําคัญกับยา ประเภทนี้ ตามความตองการของตลาดโลก จากสถานภาพการสงออก/การนําเขา แนวโนม และการประเมินสภาพแวดลอมภายนอก จะเห็นไดวา อุตสาหกรรม การผลิตยาชือ่ สามัญของไทยถือวามีขดี ความสามารถในการแขงขันทัง้ ในตลาดสงออกและตลาดในประเทศ โดยในตลาดสง ออกหลัก ผลิตภัณฑยาของไทยแมจะมีมลู คาการสงออกไปยังอาเซียนไมมากเทากับมาเลเซีย หรืออินโดนีเซีย เพราะขณะนีย้ งั มีผสู ง ออกไมกร่ี าย แตสนิ คาของไทยไดรบั การยอมรับในคุณภาพจากคูค า ในอาเซียน ตลอดจนมีผผู ลิตทีไ่ ดความไวใจจากผูผ ลิต เวชภัณฑชน้ั นําของโลกวาจางผลิตสินคาเพือ่ สงออกอีกดวย สําหรับตลาดในประเทศ ยาชือ่ สามัญของไทยมีคณ ุ ภาพไมดอ ยกวา ยาทีน่ าํ เขาจากจีนหรืออินเดีย เพียงแตเสียเปรียบเรือ่ งตนทุนการผลิต เนือ่ งจากตองนําเขาวัตถุดบิ ตัวยาเพือ่ นํามาใชในการผลิต 2. หนวยงานที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมยามีการดําเนินกิจกรรมสําคัญหลายดาน เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมทั้งระบบใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีตัวอยาง หนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน ตามตารางที่ 7


ตารางที่ 7 หนวยงานที่เกี่ยวของ กิจกรรม

การวิจัยและพัฒนา

การควบคุมระบบยา

การผลิตยา

การสงเสริมสนับสนุน อุตสาหกรรมยา

หนวยงาน

- ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติ - กลุมวิจัยและพัฒนาดานอุตสาหกรรมชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ประเทศไทย - กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข - คณะเภสัชศาสตรของมหาวิทยาลัยตางๆ - สถาบันวิจัยและพัฒนา องคการเภสัชกรรม การควบคุมคุณภาพ มาตรฐาน - กองควบคุมยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา การควบคุมการนําเขา-สงออก - กองงานดานอาหารและยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา การควบคุมดานทรัพยสินทางปญญา - กรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย หนวยงานภาครัฐ - องคการเภสัชกรรม - โรงงานเภสัชกรรมทหาร กระทรวงกลาโหม - สถานเสาวภา สภากาชาดไทย - ศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย - โรงพยาบาลรัฐบาล หนวยงานภาคเอกชน - สมาคมไทยอุตสาหกรรมผลิตยาแผนปจจุบนั (Thai Pharmaceutical Manufacturers Association: TPMA) - สมาคมผูว จิ ยั และผลิตเภสัชภัณฑ (Pharmaceutical Research and Manufacturers Association: PReMa) - กลุม อุตสาหกรรมยา สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย - สมาคมการคากลุมยาและเวชภัณฑ สภาหอการคาแหงประเทศไทย - สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน - กระทรวงพาณิชย - กรมศุลกากร .............................................................

13


สถานที่ผลิตยาแผนปจจุบันขนาดใหญ ชื่อ บริษัท โรงงานเภสัชกรรม เกรทเตอร ฟารมา จํากัด

บริษัท แคพซูลเจล (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท ชุมชนเภสัชกรรม จํากัด (มหาชน)

บริษัท ที.พี.ดรัก แลบบอราทอรี่ส (1969) จํากัด

บริษัท ที.โอ.เคมีคอลส (1979) จํากัด

สถานที่ตั้ง 55/2 ถนนบางเตย-วัดสุวรรณ หมู 1 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล นครปฐม 73170 โทรศัพท: 0 2800 2970-6 โทรสาร: 0 2800 2977 email: greater@greaterpharma.com website: www.greaterpharma.com 1/82 สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ถนนโรจนะ หมู 5 ตําบลคานหาม อําเภออุทัย พระนครศรีอยุธยา 13210 โทรศัพท: 0 3533 4000 โทรสาร: 0 3522 7088 website: capsugel.com 1 ซอยคูบอน 11 ถนนคูบอน แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพฯ 10230 โทรศัพท: 0 2943 0935-7, 0 2946 4442 โทรสาร: 0 2510 7874, 0 2946 4303 email: compharm@chumchon.co.th website: www.chumchon.co.th 98 ซอยสุขุมวิท 62 แยก 1 ถนนสุขุมวิท แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท: 0 2311 1911-3 โทรสาร: 0 2741 5628 email: ta_udomchai@tpdrug.com (Plant Manager) ta_somporn@tpdrug.com (Sales Manager) ra_rusamee@tpdrug.com (Sales Supervisor) de_nicharee@tpdrug.com (HR department) ak_attapol@tpdrug.com (QA Manager) fa_darunee@tpdrug.com (Secretary Plant Manager) ta_varisa@tpdurg.com (General Manager) website: www.tpdrug.com 280 ซอยสบายใจ ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กทม. 10310 โทรศัพท: 0 2275 6053-9, 0 2693 1687-90 โทรสาร: 0 2277 7350, 0 2693 1686 website: www.togroupthailand.com


อุตสาหกรรมไมและเครื่องเรือน

15


อุตสาหกรรมไมและเครื่องเรือน

1. ภาพรวมของอุตสาหกรรม นิยามของอุตสาหกรรม

อุตสาหกรรมไมและเครื่องเรือนเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญตอเศรษฐกิจของประเทศ เพราะเปน อุตสาหกรรมที่ใชวัตถุดิบในประเทศและใชแรงงานเขมขน เปนอุตสาหกรรมที่สรางมูลคาเพิ่มและเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมเครื่อง ตกแตงบานและอุตสาหกรรมบริการโรงแรม ผลิตเพื่อสงออกเปนหลัก โดยผูผลิตไมและเครื่องเรือนสวนใหญเปนผูผลิตขนาดกลาง และขนาดเล็ก โดยสวนใหญเปนผูประกอบการไทย การผลิตไมและเครื่องเรือนรอยละ 80 เปนการรับจางผลิตตามแบบที่ลูกคา กําหนด (Original Equipment Manufacturing: OEM) โดยลูกคาเปนผูนําตัวอยางมาให รองลงมา เปนการผลิตโดยโรงงานเปน ผูออกแบบเอง (Original Design Manufacturing: ODM) แตอาจมีการปรับปรุงตามแบบที่ลูกคาเสนอบาง และมีโรงงานนอยราย ที่สามารถผลิตภายใตแบบหรือตราสินคาของตนเอง (Original Brand Manufacturing: OBM) แตยังไมเปนที่ยอมรับอยางแพร หลายในตลาดโลกมากนัก อุตสาหกรรมไมและเครื่องเรือนมีวัตถุดิบหลักแบงเปน 2 ประเภทใหญๆ ดังนี้ 1) ไมเนื้อแข็ง ไดแก ไมสัก ไม ประดู ไมชิงชัน และไมพยุง ในอดีต วัตถุดิบ ประเภทไมเนื้อแข็งเหลานี้ จัดเปนวัตถุดิบ สําคัญสําหรับการผลิตเครื่องเรือนประเภทตางๆ เนื่องจากหาไดงาย เนื้อไมมีความสวยงาม คงทน ตอการใชงาน เปนที่นิยมของผูบริโภคเปนอยางสูง แตภายหลังปริมาณพื้นที่ปาไมไดลดลงเปนจํานวน มาก ประกอบกับกระแสอนุรักษธรรมชาติทวี ความเขมขนขึ้น ทําใหเกิดนโยบายปดปาของไทย ในป 2532 โดยรัฐบาลมีคําสั่งใหยกเลิกสัมปทาน การทําไมทั่วประเทศ สงผลใหไมเนื้อแข็งเหลานี้ หายากและมีราคาสูงขึ้น ทําใหผูประกอบการสวน หนึ่ง โดยเฉพาะผูผลิตเครื่องเรือนไมตองปรับเปลี่ยนการใชไมเนื้อแข็งมาเปนการใชไมเนื้อออนทดแทน ซึ่งสวนใหญคือ ไมยางพารา 2) ไมเนื้อออน ไดแก ไมยางพารา ซึ่งไทยเปนผูผลิตรายใหญของโลก ทั้งนี้ เครื่องเรือนไมยางพาราผลิตเพื่อการสง ออกเปนหลัก เนื่องจากไมยางพารามีคุณภาพดี มีการอบไมยางพาราเพื่อถนอมไมใหแข็งแรง ทนทาน อีกทั้งคุณลักษณะเฉพาะของ ไมยางพารามีสีขาวนวล เนื้อไมมีลวดลายสวยงาม ถือเปนไมสักขาว (White Teak) นอกจากนี้ ในปจจุบัน มีการพัฒนารูปแบบการ ผลิต โดยนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาใช ทําใหเปนที่ยอมรับของตลาดตางประเทศ โดยเฉพาะในญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และยุโรป - เครื่องเรือนไม แบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ ตามลักษณะการใชงาน ดังนี้ เครื่องเรือนชนิดถอดประกอบไมได (Finished Furniture) เปนเครื่องเรือนที่ผูผลิตผลิตและประกอบขึ้น หรือสานเขาดวยกันเปน เครื่องเรือน โดยไมสามารถถอดหรือแกะ ประกอบได จึงเปนเครื่องเรือนที่นําไปใชประโยชนไดทันที สวนใหญผลิตเพื่อตอบสนอง ความตองการภายในประเทศ - เครื่องเรือนชนิดถอดประกอบได (Knocked down Furniture) เปนเครื่องเรือนที่ถอดชิ้นสวนแยกเปนสวนๆ ได เพื่อใหผูซื้อสามารถประกอบเองได ดวยการใชน็อต ตะปูหรือสกรู สวนใหญผลิตเพื่อการสงออก เนื่องจากประหยัดเนื้อที่ใน การขนสง ทําใหตนทุนการขนสงลดลง อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน เครื่องเรือนชนิดถอดประกอบได เริ่มเปนที่นิยมของตลาดภายใน ประเทศมากขึ้น


 โครงสรางการผลิต ตั้งแตตนนํา กลางนํา ปลายนํา อุตสาหกรรมไมและเครื่องเรือนสามารถแบงการผลิตไดเปน 2 กลุมใหญ ดังนี้ 1) กลุมผูผลิตไมแปรรูป ผลิตภัณฑหลัก ไดแก ไมแปรรูป แผนใยไมอัด (ไฟเบอรบอรด) แผนชิ้นไมอัด (ปารติ เกิลบอรด) ไมวีเนียร และไมอัดสลับชั้นจากไมยางพารา ไมพื้นปารเก วงกบ และบานประตู-หนาตาง ในกลุมนี้มีโรงงาน 6,001 โรง มีการจางงาน 122,587 คน มีมูลคาการลงทุน 74,913.85 ลานบาท พื้นที่ที่มีจํานวนโรงงานแปรรูปไมหนาแนนที่สุด ไดแก กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และภาคใต 2) กลุมผูผลิตผลิตภัณฑไมและเครื่องเรือน ผลิตภัณฑหลัก ไดแก เครื่องเรือนไม กรอบรูปไม และเครื่องใชจาก ไม ในกลุมนี้มีโรงงาน 6,841 โรง มีการจางงาน 173,830 คน มีมูลคาการลงทุน 44,894.80 ลานบาท พื้นที่ที่มีจํานวนโรงงานผลิต ผลิตภัณฑจากไมและเครื่องเรือนหนาแนนที่สุด ไดแก กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคตะวันออก ภาคเหนือตอนบน และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1. กระบวนการผลิตไมแปรรูป กระบวนการผลิตไมแปรรูป เริ่มจากการโคนตนยางที่หมดอายุการใชนํายางจากสวนยาง เพือ่ ขนสงไปแปรรูปตอในโรงเลือ่ ย ทัง้ ในละแวกใกลเคียงหรือในพืน้ ทีอ่ น่ื ขึน้ กับเงือ่ นไขการซือ้ ขายไม โรงเลือ่ ยจะทําการ ซอยไมยางใหไดขนาดตามตองการ กอนนําไปอัดนาํ ยาถนอมไม และอบเพือ่ ไลความชืน้ จากนัน้ จะนําไมทไ่ี ดมาจัดวาง เรียงบนพาเลท เพือ่ สงมอบใหกบั ลูกคาในสายโซการผลิตในลําดับตอไป กระบวนการผลิตไมแปรรูป เตรียมไมซุง เลื่อย/แปรรูป

อาบ/อัดน้ํายา

อบแหง

สต็อก

จําหนาย

2. กระบวนการผลิตเครื่องเรือนและผลิตภัณฑไม ไมที่นําเขาสูสายการผลิตผลิตภัณฑ เปนไมทผ่ี า นการอบแหงและอาบนาํ ยาถนอมเนือ้ ไมเบือ้ งตนมาแลว โดยการผลิต สวนใหญตอ งอาศัยการไสไมโดยเครือ่ งไสไมเพือ่ ใหมผี วิ เรียบ ตัดไมโดยเลือ่ ยไฟฟาใหไดขนาดตามตองการ กลึงโดย เครือ่ งกลึง เซาะขึน้ รูปโดยเครือ่ งกัดเซาะรองไม และขัดผิวหนาดวยเครือ่ งขัดกระดาษทราย ในบางกรณี อาจมีการดัด ไมโดยใชความรอนเพือ่ ใหไดชน้ิ สวนทีโ่ คงรับกับสัดสวนทีต่ อ งการ จากนัน้ เปนการประกอบชิน้ สวน โดยการใชเทคนิคที่ หลากหลาย เชน การใชสกรูหรือตะปู การใชลน้ิ และเดือยไม การตอแบบเขาลิม่ และอัดกาว และการตอแบบผสมผสาน วัตถุประสงคหลัก คือ การทําใหชน้ิ สวนตางๆ ประกอบเขารูปกันไดลงตัว ไดขนาดและรูปลักษณตามทีต่ อ งการ มีความ แข็งแรงไดตามมาตรฐาน และมีความคงทน สามารถนําไปใชงานไดโดยไมกอ อันตรายตอผูใ ช ตอไปเปนการตกแตงผิว หนาและปดรองรอย ตามดวยขัน้ ตอนการยอมสี การขัดเคลือบเงา และการตกแตงผิว จากนัน้ เปนการลงสี ซึง่ สวนใหญ ใชวธิ กี ารพน ซึง่ สีทพ่ี น เสร็จ จําเปนตองมีการผึง่ หรืออบใหแหง กอนนําไปบรรจุหบี หอตอไป

17


กระบวนการผลิตเครื่องเรือนและผลิตภัณฑไม ไมแปรรูป ไสเรียบ ตัด/ตอ ขนาดและความยาว ตัด/เซาะ/ขึ้นรูป ชิ้นสวน/ ผลิตภัณฑไม ประกอบ ตกแตงผิว ผลิตภัณฑ

 ศักยภาพในการผลิต การผลิตเครื่องเรือนทําดวยไมเติบโตตามภาวะเศรษฐกิจและการขยายตัวของธุรกิจอสังหาริมทรัพย ทั้งในประเทศและ ในตลาดโลก ตัง้ แตป 2550 เปนตนมา อุตสาหกรรมเครือ่ งเรือนทําดวยไมไดรบั ผลกระทบจากปญหาตางๆ ไดแก การขาดแคลน วัตถุดบิ ไมยางพารา ตนทุนการผลิตทีป่ รับตัวสูงขึน้ ทัง้ ราคาไมยางพารา ราคานาํ มัน คาขนสง และคาแรงงาน รวมทัง้ ปญหาความ ไมสงบทางการเมือง สงผลใหเศรษฐกิจในประเทศ และภาวะอสังหาริมทรัพยในประเทศชะลอตัว รวมทัง้ ในชวงปลายป 2554 เกิด ปญหาภาวะนาํ ทวมหนักในหลายพืน้ ที่ ทําใหการผลิตชะงักงัน นอกจากนี้ ผูผ ลิตเพือ่ สงออกยังไดรบั ผลกระทบจากการแข็งคาของ เงินบาท และวิกฤตเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ในสหรัฐอเมริกาและลุกลามไปยังประเทศตางๆ ทําใหภาพรวมการผลิตเครือ่ งเรือนทําดวยไม มีปริมาณลดลง อยางไรก็ตาม การผลิตเพื่อสงออกยังขยายตัวได จากศักยภาพของตลาดรองของไทย โดยในป 2555 การผลิต เครื่องเรือนทําดวยไม มีปริมาณ 8.92 ลานชิน้ เพิม่ ขึน้ จากปกอ นรอยละ 1.48 ปริมาณการผลิตเครื่องเรือนทําดวยไม ป เครื่องเรือนทําดวยไม อัตราการขยายตัว (%)

2551 10.12 -39.18

2552 10.40 2.77

2553 9.71 -6.63

ที่มา : ศูนยสารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม หมายเหตุ : จากการสํารวจโรงงาน 43 โรงงาน

หนวย : ลานชิ้น 2554 2555 8.70 8.92 -10.40 1.48


การจําหนายเครื่องเรือนทําดวยไมในประเทศ ในป 2551 ไดรับผลกระทบอยางตอเนื่องจาก การชะลอ ตัวของอสังหาริมทรัพยในประเทศ และเริ่มปรับตัวดีขึ้น ตั้งแตป 2552 – ป 2554 จากมาตรการกระตุนอสังหาริมทรัพย และ ความตองการสินคาของผูบริโภคในตลาดกลางและตลาดบนเพิ่มขึ้น สําหรับในป 2554 การจําหนายเครื่องเรือนทําดวยไมลดลง เนื่องจากไดรับผลกระทบจากภาวะนําทวมหนักในหลายพื้นที่ ในป 2555 การจําหนายในประเทศ 4.55 ลานชิ้น เพิ่มขึ้นจากป กอนรอยละ 0.44 เพื่อทดแทนเครื่องเรือนที่เสียหายในชวงนําทวมใหญ ปริมาณการจําหนายเครื่องเรือนทําดวยไมในประเทศ ป เครื่องเรือนทําดวยไม อัตราการขยายตัว (%)

2551 3.52 49.15

2552 3.90 10.80

ที่มา : ศูนยสารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม หมายเหตุ : จากการสํารวจโรงงาน 43 โรงงาน

2553 3.91 0.26

หนวย : ลานชิ้น 2554 2555 3.84 4.55 -1.79 0.44

 ขีดความสามารถในการแขงขัน จุดแข็ง - มีพื้นที่และสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการเพาะปลูกไมยาง - วัตถุดิบไมยางพารามีปริมาณการเพาะปลูกมากเพียงพอ - ผูประกอบการสามารถผลิตเครื่องเริอนที่มีคําสั่งซื้อจํานวนนอยในแตละคําสั่งซื้อได - แรงงานไทยมีทักษะสูง ปญหาและอุปสรรค - ขาดแคลนวัตถุดิบไมเนื้อแข็ง เนื่องจากนโยบายปดปาสัมปทานทั่วประเทศ ป 2532 มีผลใหไมสามารถนําไมเนื้อแข็ง ที่มีอยูตามธรรมชาติมาใชเปนวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑตางๆ ปจจุบัน จึงตองนําเขาวัตถุดิบจากตางประเทศ นอกจากนี้ ยัง ขาดแคลนไมยางพารา เนื่องจาก เกษตรกรชาวสวนยางตองการยืดอายุการกรีดยางออกไป จึงไมโคนไมยางพาราที่หมดอายุ - ขาดวัตถุดิบที่มีคุณภาพ เนื่องจากไมที่เขาสูอุตสาหกรรม มีคุณภาพไมตรงกับความตองการ นอกจากนี้ ยังมีการแยง พื้นที่เพาะปลูกกับอุตสาหกรรมอื่น ทั้งอุตสาหกรรมพลังงาน และอุตสาหกรรมอาหาร - ขาดความเชื่อมโยงระหวางอุตสาหกรรม โดยกลุมผูผลิตวัตถุดิบไมจะเนนการสงออกแทนการจําหนายใหผูผลิตใน ประเทศ เนื่องจากราคาสงออกไมสูงกวาราคาจําหนายในประเทศ - อุตสาหกรรมแปรรูปไมยางพารา ตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. 2484 เชน การขอตอใบอนุญาตโรงงาน แปรรูปไมยางพาราทุกป การจัดทําบัญชีไม การไมอนุญาตเดินเครื่องจักรในเวลากลางคืน การแจงและการขอใบเบิกทางในการนํา ไมเคลื่อนที่ ทําใหอุตสาหกรรมแปรรูปไมยางพาราที่มีมูลคาทางเศรษฐกิจสูงถูกควบคุมและตรวจสอบอยางเขมงวดจากหนวยงาน ภาครัฐ จึงขาดความคลองตัวในการดําเนินธุรกิจ - ขาดแคลนแรงงานทั่วไป และแรงงานฝมือที่มีความสามารถในการวิจัย พัฒนา และออกแบบ นอกจากนี้ ยังมีการ หมุนเวียนของแรงงานสูง

19


- สินคาไมและเครื่องเรือนของไทยเปนสินคาที่การออกแบบยังไมโดดเดน และถูกลอกเลียนแบบไดงาย ดังนั้น การแขงขัน สวนใหญจึงเปนการแขงขันดานราคา - ตนทุนการผลิต ทั้งราคาไมยางพารา คาแรงงาน ราคานํามัน และคาขนสง ปรับตัวสูงขึ้น ทําใหขีดความสามารถในการ แขงขันของอุตสาหกรรมลดลง - การออกกฎระเบียบขอบังคับดานสิ่งแวดลอมในอุตสาหกรรมไมและเครื่องเรือน ของประเทศคูคา ทั้งสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน ไดแก กฎเกณฑดานการจัดการปาไมและการควบคุมการคาไมเถื่อน กฎเกณฑดานสารอันตรายในสินคา และกฎเกณฑการออกแบบความปลอดภัย อาจสงผลกระทบตอการสงออกของผูผลิตไทยในอนาคต ขอเสนอแนะ - กําหนดนโยบายและการบริหารจัดการวัตถุดิบไมอยางยั่งยืนและเปนระบบ - ปรับปรุงกฎระเบียบขอบังคับที่เกี่ยวของและเปนอุปสรรคตอการบริหารจัดการปาไมและวัตถุดิบ รวมถึงการยืนยันแหลงที่มาของไมถูกกฎหมาย โดยเฉพาะไมยางพาราซึ่งจัดเปนพืชสวน - เรงผลักดันใหเกิดความรวมมือแบบทวิภาคีกับสหภาพยุโรป โดยเฉพาะ FLEGT VPA เพื่อสราง ความเชื่อมั่นใหกับคูคาในตางประเทศ และทําใหผูสงออกไทยไมเสียโอกาสในการสงสินคาไมและเครื่องเรือนไปยังตลาดตาง ประเทศ - พัฒนาความสามารถของแรงงานและผูผลิตไทย ดวยการปรับปรุงรูปแบบและกระบวนการผลิตให มีประสิทธิภาพ เพื่อลดการพึ่งพาแรงงาน ลดของเสีย ควบคุมคุณภาพใหสมําเสมอ รวมทั้ง เพิ่มการพัฒนาเทคโนโลยีการออกแบบ และการผลิตผลิตภัณฑ เพื่อสรางความโดดเดนใหกับสินคา และทําใหยากตอการลอกเลียนแบบ พัฒนาเทคโนโลยีการปรับปรุง คุณสมบัติทางวิศวกรรม โดยเนนความทนทานตอสภาวะการใชงานของไมเศรษฐกิจ การนําเขา-การสงออก การนําเขา การนําเขาไมและเครื่องเรือน สวนใหญเปนการนําเขาวัตถุดิบไม ไดแก ไมแปรรูป ไมอัดและไมวีเนียร และไม ซุง เพื่อมาผลิตเปนสินคาตอเนื่องในอุตสาหกรรมเครื่องเรือน โดยผลิตภัณฑที่มีการนําเขา มากเปนอันดับหนึ่ง ไดแก ไมแปรรูป สวนใหญนําเขาจากประเทศมาเลเซีย ลาว และนิวซีแลนด รองลงมา คือ ไมอัดและไมวีเนียร สวนใหญนําเขาจากประเทศจีน มาเลเซีย และอินโดนีเซีย และไมซุงสวนใหญนําเขา จากประเทศเมียนมาร มาเลเซีย และนิวซีแลนด โดยในป 2555 การนําเขาไม และเครื่องเรือนมีมูลคารวม 693.75 ลานเหรียญสหรัฐฯ เมื่อเทียบกับปกอนเพิ่มขึ้นรอยละ 10.45

ผลิตภัณฑ

ไมซุง ไมแปรรูป ไมอัด และไมวีเนียร ผลิตภัณฑไมอื่นๆ มูลคานําเขารวม อัตราการขยายตัว (%)

มูลคาการนําเขาไมและเครื่องเรือน มูลคา : ลานเหรียญสหรัฐฯ ป 2551 ป 2552 ป 2553 115.21 50.42 62.82 363.24 281.99 323.42 122.09 100.79 136.14 57.12 49.47 49.24 657.66 482.67 571.62 8.06 -26.61 18.43

ป 2554 55.04 342.97 166.18 63.32 627.51 9.78

ป 2555 65.65 381.36 178.55 68.19 693.75 10.45

ที่มา : ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร


การสงออก

การสงออกไมและเครื่องเรือนจะเติบโตตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจของประเทศคูคา หลัก ไดแก สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และสหราชอาณาจักร ซึ่งภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกาและสหภาพ ยุโรป ในปจจุบัน สงผลกระทบอยางมากตอการสงออกของอุตสาหกรรมนี้ โดยในป 2555 ไมและเครื่องเรือนมีมูลคาสงออกรวม 2,976.36 ลานเหรียญสหรัฐฯ เมือ่ เทียบกับปกอ น ลดลงรอยละ 1.79 อยางไรก็ตาม การสงออกไมและเครื่องเรือนยังสามารถขยาย ตัวไดดีในตลาดรองของไทย ไดแก ประเทศแถบเอเซียใต แถบตะวันออกกลาง และประเทศสมาชิกอาเซียน สําหรับรายละเอียดการสงออกไมและเครื่องเรือน แบงเปน 3 กลุมสินคา ดังนี้ 1) กลุมเครื่องเรือนและชิ้นสวน ประกอบดวย เครื่องเรือนไม เครื่องเรือนอื่นๆ และชิ้นสวนเครื่องเรือน ตลาด สงออกที่สําคัญของกลุมนี้ คือ ประเทศญี่ปุน สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย การสงออกสินคากลุมนี้ ในป 2555 มีมูลคารวม 978.15 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งมูลคาสงออก คิดเปนสัดสวนรอยละ 33 ของมูลคาสงออกไมและเครื่องเรือน ทั้งหมด โดยผลิตภัณฑที่มีสัดสวนการสงออกมากที่สุดในกลุมนี้ คือ เครื่องเรือนไม รองลงมาคือ ชิ้นสวนเครื่องเรือน และเครื่อง เรือนอื่นๆ ตามลําดับ 2) กลุมผลิตภัณฑไม ประกอบดวย เครื่องใชทําดวยไม อุปกรณกอสรางไม กรอบรูปไม และรูปแกะสลัก ไม ตลาดสงออกที่สําคัญของกลุมนี้ คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุน สหราชอาณาจักร และ สวิตเซอรเเลนด การสงออกสินคา กลุมนี้ ในป 2555 มีมูลคารวม 221.96 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งมูลคาสงออกคิดเปนสัดสวนรอยละ 7 ของมูลคาสงออกไมและ เครื่องเรือนทั้งหมด โดยผลิตภัณฑที่มีสัดสวนการสงออกมากที่สุดในกลุมนี้ คือ รูปแกะสลักไม รองลงมาคือ เครื่องใชทําดวยไม กรอบรูปไม และอุปกรณกอสรางไม ตามลําดับ 3) กลุมไมและผลิตภัณฑไมแผน ประกอบดวย ไมแปรรูป แผนไมวีเนียร ไมอัด ไฟเบอรบอรด (Fiber Board) และผลิตภัณฑไมอื่นๆ ตลาดสงออกที่สําคัญของกลุมนี้ คือ ประเทศจีน มาเลเซีย และเวียดนาม การสงออกสินคากลุมนี้ ในป 2555 มีมูลคารวม 1,776.25 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งมูลคาสงออกคิดเปนสัดสวนรอยละ 60 ของมูลคาสงออกไมและเครื่องเรือน ทั้งหมด โดยผลิตภัณฑที่มีสัดสวนการสงออกมากที่สุดในกลุมนี้ คือ ไมแปรรูป รองลงมาคือ ผลิตภัณฑไมอื่นๆ ไฟเบอรบอรด ไมอัด และแผนไมวีเนียร ตามลําดับ

21


มูลคา : ลานเหรียญสหรัฐฯ ผลิตภัณฑ เครื่องเรือนและชิ้นสวน เครื่องเรือนไม เครื่องเรือนอื่นๆ ชิ้นสวนเครื่องเรือน ผลิตภัณฑไม เครื่องใชทําดวยไม อุปกรณกอสรางไม กรอบรูปไม รูปแกะสลักไม ไมและผลิตภัณฑแผนไม ไมแปรรูป ไมแผนวีเนียร ไมอัด ไฟเบอรบอรด ผลิตภัณฑไมอื่นๆ มูลคาการสงออกรวม อัตราการขยายตัว (%)

มูลคาการสงออกไมและเครื่องเรือน ป 2551 1,078.51 554.52 241.58 282.41 345.17 88.69 112.31 82.56 61.61 916.40 269.17 5.70 261.76 245.71 134.06 2,340.08 -0.02

ป 2552 890.69 500.11 196.74 193.84 260.74 66.76 71.66 77.30 45.02 959.03 345.84 2.56 227.07 244.76 138.80 2,110.46 -9.81

ป 2553 1,038.35 552.51 201.92 283.92 240.97 63.70 62.44 61.36 53.47 1,409.34 539.42 2.81 275.04 347.94 244.13 2,688.66 27.40

ป 2554 1,008.93 525.10 211.74 272.09 244.65 63.67 60.50 59.19 61.29 1,775.94 724.76 2.23 302.44 401.65 344.86 3,029.52 12.68

ป 2555 978.15 462.67 206.38 309.10 221.96 61.88 46.85 51.05 62.18 1,776.25 703.66 3.64 282.29 392.96 393.70 2,976.36 -1.79

ที่มา : ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร

แนวโนมอุตสาหกรรม การผลิตเครื่องเรือนทําดวยไม ไตรมาสที่ 1 ป 2556 คาดวาจะทรงตัว จากตนทุนการผลิตที่สูงขึ้น และการ จําหนายเครื่องเรือนทําดวยไม ไตรมาสที่ 1 ป 2556 คาดวาจะทรงตัวเชนกัน จากคาครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้น ทําใหผูบริโภคคง การระมัดระวังการใชจาย สําหรับการสงออกผลิตภัณฑไมและเครื่องเรือน ไตรมาสที่ 1 ป 2556 คาดวาจะขยายตัวไมมากนัก เนื่องจากความตองการไมและเครื่องเรือนในตลาดหลัก ไดแก สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ยังมีแนวโนมลดลง อยางไรก็ตาม การสงออกยังขยายตัวไดดีในตลาดใหมแถบเอเชียที่มีกําลังซื้อสูง ในขณะที่การนําเขาไมและเครื่องเรือน ไตรมาส ที่ 1 ป 2556 คาดวาจะเพิ่มขึ้นจากการนําเขาวัตถุดิบไม นอกจากนี้ การปรับคาแรงงาน 300 บาทตอวันทั่วประเทศ ที่มีผลตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2556 จะสงผลก ระทบตอตนทุนการผลิตในอุตสาหกรรมไมและเครื่องเรือนที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากเปนอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานเขมขน ประกอบกับ ปญหาวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องในสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป ก็สงผลใหการสงออกไมและเครื่องเรือนของไทย ลดลงเชนกัน นอกจากนี้ การบังคับใชกฎหมายปาไม ธรรมาภิบาล และการคา (Forest Law Enforcement, Governance and Trade: FLEGT) ของสหภาพยุโรป ที่เพิ่งมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2556 โดยตองแสดงแหลงที่มาของไมตลอดหวง โซการผลิต จะเปนอุปสรรคตอการสงออกไมและเครื่องเรือนของไทยไปยังสหภาพยุโรป อยางไรก็ตาม ในคราวประชุมรัฐสภา ของไทย เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2556 ไดลงมติใหความเห็นชอบกรอบการเจรจาการจัดทําขอตกลงเปนหุนสวนดวยความสมัคร ใจ (Voluntary Partnership Agreement: VPA) ในการบังคับใชกฎหมาย FLEGT ระหวางไทยกับสหภาพยุโรปแลว ซึ่งหากไทย บรรลุขอตกลงภายใตกรอบการเจรจาดังกลาว จะชวยใหไทยสงสินคาไมและผลิตภัณฑไมไปยังสหภาพยุโรปไดสะดวกยิ่งขึ้น


 การจางงาน ณ สิ้นป 2555 อุตสาหกรรมแปรรูปไม จางงาน 69,100 คน อุตสาหกรรมทําวงกบ ขอบประตู/หนาตาง บาน ประตู/หนาตาง จางงาน 44,876 คน อุตสาหกรรมไมวีเนียร หรือไมอัดทุกชนิด จางงาน 8,611 คน อุตสาหกรรมเครื่อง ใชจากไม การแกะสลักไม การทํากรอบรูปไม จางงาน 40,711 คน และอุตสาหกรรมเครื่องเรือน จางงาน 133,119 คน รวมจางงานทั้งสิ้น 296,417 คน 2. หนวยงานที่เกี่ยวของ  ภาครัฐ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ - กระทรวงพาณิชย - กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ - สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน - สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม - กรมสงเสริมอุตสาหกรรม - กรมโรงงานอุตสาหกรรม  ภาคเอกชน - กลุมอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย - กลุมไมอัด ไมบางและวัสดุแผน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย - กลุมโรงเลื่อยและโรงอบไม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย - สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไทย - สมาคมธุรกิจไมยางพาราไทย - สมาคมธุรกิจไม 3. จํานวนผูประกอบการ ณ สิ้นป 2555 มีผูประกอบการอุตสาหกรรมแปรรูปไม จํานวน 2,708 โรง อุตสาหกรรมทําวงกบ ขอบประตู/ หนาตาง บานประตู/หนาตาง จํานวน 3,202 โรง อุตสาหกรรมไมวีเนียรหรือไมอัดทุกชนิด จํานวน 91 โรง อุตสาหกรรมเครื่อง ใชทําดวยไม การแกะสลักไม การทํากรอบรูปไม มี 1,581 โรง และอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไมมี 5,260 โรง รวมโรงงานทั้งสิ้น 12,842 โรง 4. ชื่อ – ที่อยูของผูประกอบการ กลุมอุตสาหกรรมโรงเลื่อยและโรงอบไม - บริษัท เขามหาชัยพาราวูด จํากัด 13/3 หมูที่ 5 ต.นาทราย อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80280 โทรศัพท 0-7537-7507-10 โทรสาร 0-7537-7511-2 - บริษัท แปลนครีเอชั่นส จํากด

23


- บริษัท แปลนครีเอชั่นส จํากด - บริษัท ระยอง ปารติเคิลบอรด จํากัด 8 หมูที่ 8 ถนนตรัง-ปะเหลียน 2/1 หมู 1 ถนนบานบึง-แกลง ต.ทุงกระบือ อ.ยานตาขาว ต.ทางเกวียน อ.แกลง จ.ตรัง 92140 จ.ระยอง 21110 โทรศัพท 0-7528-0200-4 โทรศัพท 0-3888-6318-20 โทรสาร 0-3861โทรสาร 0-7528-0200-4 ตอ 132 7216 - บริษัท ชูศักดิ์พระแสงพาราวูด จํากัด - บริษัท กรีนพาเนล จํากัด 48 หมูที่ 2 ต.สาคู อ.พระแสง 80 หมู 6 ต.หนองชุมพล อ.เขายอย จ.สุราษฎรธานี 84210 จ.เพชรบุรี 76140 โทรศัพท 0-7791-5050, 08-1271-1138 โทร.0-3256-5071-4 โทรสาร 0-3256-5071 โทรสาร 0-7791-5099 - บริษัท ปารติเกิ้ล แพลนเนอร จํากัด - บริษัท ทุงหลวงวูด อินดัสตรี้ส จํากัด 22/2 หมู 1 ถนนหนองซาก-เนินโมก 199 หมูที่ 8 ถ.บานสอง – พระแสง ต.หนองอิรุณ อ.บานบึง ต.ทุงหลวง อ.เวียงสระ จ.ชลบุรี 20220 จ.สุราษฎรธานี 84190 โทร. 0-3829-7322-30 โทรศัพท 0-7727-8400-49 โทรสาร 0-7727-8448-9 - บริษัท วูดเวอรค ยูไนเต็ด จํากัด กลุมอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร 105 หมูที่ 3 ต.หนองชางแลน อ.หวยยอด - บริษัท อุตสาหกรรมดีสวัสดิ์ จํากัด จ.ตรัง 92130 71/9 หมู 3 ถนนแจงวัฒนะ ตลาดบางเขน หลักสี่ โทร.0-7557-7260-4 โทรสาร 0-7557-7265 กรุงเทพฯ 10210 - บริษัท อันวารพาราวูด จํากัด โทร. 0-2521-1341, 0-2521-1027 โทรสาร 101 หมูที่ 3 ต.สํานักขาม อ.สะเดา 0-2551-1503 จ.สงขลา 90120 - บริษัท คุณากิจอุตสาหกรรม เฟอรนิเจอร จํากัด โทร. 0-7441-2756-8 โทรสาร 0-7441-2758 1 ซอยประชาอุทิศ 37 แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพฯ 10140 กลุมไมอัด ไมบางและวัสดุแผน โทร. 0-2872-5690-3 โทรสาร 0-2427-2272 - บริษัท เมโทร ปารติเคิล จํากัด - บริษัท โมเดอรนฟอรมกรุป จํากัด (มหาชน) 39/5 หมู 9 ฤชุพันธ ต.ไทยใหญ อ.ไทรนอย 699 อาคารโมเดอรนฟอรมทาวเวอร ถนนศรีนคริ จ.นนทบุรี 11150 นท สวนหลวง โทร. 0-2985-5433-42 กรุงเทพฯ 10250 - บริษัท วนชัย พาเนล อินดัสทรีส จํากัด โทร. 0-2722-8100 โทรสาร 0-2722-8184 8/8 หมู 1 สุราษฎรธานี-ทุงสง - บริษัท เอส.บี. อุตสาหกรรม เครื่องเรือน จํากัด ต.เขานิพันธ อ.เวียงสระ 126/150 หมู 1 ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 จ.สุราษฎรธานี 84190 โทร. 0-2789-9919 โทรสาร 0-2962-9990 โทร. 0-7727-8500, 0-7730-1103-29, - บริษัท รอกเวิธ จํากัด (มหาชน) 0-7730-1131 โทรสาร 0-7730-1130 294-300 ถนนอโศก-ดินแดง หวยขวาง - บริษัท พาเนล พลัส จํากัด กรุงเทพฯ 10310 417/14 ถนนกาญจนวนิช โทร. 0-2246-8888 โทรสาร 0-2247-8899 ต.พะตง อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90230 โทร. 0-7429-1130-4


- บริษัท เอส.พี.เอส. โคออพเพอเรท จํากัด 99 หมู 2 ถนนสุวินทวงศ ต.คลองนครเนื่องเขต อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 โทร. 0-3884-7730-40 โทรสาร 0-3884-7748 - บริษัท พิโคที อินทีเรีย เซนเตอร จํากัด 912-918 ถนนสุขุมวิท 40 พระโขนง คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2712-1341-4 โทรสาร 0-2712-3711 - บริษัท โพเดียม โฮลดิ้ง กรุป จํากัด 16 หมู 11 ถนนสัตหีบ-กบินทบุรี ต.หมอนนาง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี 20140 โทร. 0-3820-8000-4 โทรสาร 0-3820-9451 - บริษัท อุตสาหกรรม แอคมิ จํากัด 99 หมู 4 ถนนบางนา-ตราด กม.35 ต.บางพลีนอย อ.บางบอ จ.สมุทรปราการ 10560 โทร. 0-2337-6156 โทรสาร 0-2708-7381 - บริษัท ฮาวายเอกซปอรต จํากัด 2991/59-60 ถนนลาดพราว คลองจั่น บางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทร. 0-2376-0100-3 โทรสาร 0-2376-0112 5. การกระจุกตัว/การกระจายตัวของอุตสาหกรรมในประเทศไทย โรงงานอุตสาหกรรมการแปรรูปไมสวนใหญตั้งอยูในพื้นที่ภาคใต รวมทั้งเขตชั้นนอกของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โรงงานผลิตเครื่องเรือนและผลิตภัณฑไมสวนใหญตั้งอยูในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคตะวันออก ภาคเหนือตอน บน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

----------------------------------------------------------------

25


3. ชื่อ - ที่อยูผูประกอบการรายใหญ 1) ผูประกอบการผลิตภัณฑยางลอ บริษัท ที่อยู โทรศัพท เว็บไซต 57 หมู 6 ถนนหนองปลากระดี่ บริษัทสยามมิชลิน ต.หนองปลาหมอ 0 3637 3276 - 86 www.michelin.co.th จํากัด อ.หนองแค จ.สระบุรี 18140 14/3 ถ.พหลโยธิน กม.33 บริษัทไทยบริดจสโตน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง 0 2516 8721-5 www.bridgestone.co.th จํากัด จ.ปทุมธานี 12120 50/9 ถ.พหลโยธิน บริษัทกูดเยียร ต.คลองหนึ่ง 0 2909 8080 www.goodyear.co.th (ประเทศไทย) จํากัด อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 4 หมู 7 ถนนสายบางเลนบริษัทดีสโตนอินเตอร เกาะแรด ต.บางปลา 0 3423 4801 www.deestone.com เนชั่นแนล จํากัด อ.บางเลน 0 3423 4838-40 จ.นครปฐม 55 หมู 7 ถนนเพชรเกษม 0 3422 2739 บริษัทยางโอตานิ www.otanitire.com ต.คลองใหม อ.สามพราน 0 3422 2741-6 จํากัด จ.นครปฐม หางหุนสวนจํากัด 9 หมู 3 ถนนเศรษฐกิจ 1 www.siamrubber.co.th ป.สยามอุตสาหกรรม ต.ออมนอย อ.กระทุมแบน 0 2810 9381 ยาง จ.สมุทรสาคร 74130 2) ผูป ระกอบการผลิตภัณฑถงุ มือยาง บริษัท ที่อยู โทรศัพท เว็บไซต 110 หมู 4 นิคมอุตสาหกรรม บริษัท แอนเซลล ลาดกระบัง ฉลองกรุง 0 2326 0660-9 (ประเทศไทย) จํากัด แขวงลําปลาทิว ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 บริษัททอปโกลฟ 188 หมู 5 ถ.กาญจนวนิช เมดิคอล (ไทยแลนด) ต.สํานักขาม อ.สะเดา 0 7441 2910-2 www.topglove.com จํากัด จ.สงขลา 90320 บริษัทซันไทย 9 หมู 4 ต.กะเฉด อ.เมือง 0 3863 4072-3 อุตสาหกรรมถุงมือ www.shunthais.com จ.ระยอง 21100 0 3863 4481-6 ยาง จํากัด (มหาชน) 662/1-4 หมู 3 ถนนบางคลาบริษัทดอกเตอรบู อูตะเภา ต.เขาคันทรง 0 3829 0246-7 www.drboo.co.th จํากัด อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20110 67/1 หมู 4 ถนนบายพาส บริษัท วัฒนชัยรับ ต.หนองไมแดง อ.เมือง 0 3828 7160 www.warubbermate.co.th เบอรเมท จํากัด จ.ชลบุรี 20000


4) ผูป ระกอบการอุตสาหกรรมยางวิศวกรรม บริษัท ที่อยู บริษัทแสงไทยผลิต 252 หมู 1 ถ.ปูเจาสมิงพราย ยาง จํากัด ต.สําโรงใต อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ 10130

โทรศัพท 0 2384 1693-8 0 2394 1205-6 0 2394 1821-2

www.saengthairubber.com

27


อุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑยาง


อุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑยาง อุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑยาง เปนอุตสาหกรรมทีม่ คี วามสําคัญตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ มีบทบาทสําคัญทั้งในแงของการจางงาน ทั้งแรงงานในภาคอุตสาหกรรม และเกษตรกรชาวสวนยางในสวนของอุตสาหกรรม ตนนํา รวมทั้งสรางรายไดจากการสงออกใหกบั ประเทศอยูใ นลําดับตนๆ โดยในป 2555 มีรายไดจากการสงออกยางและผลิตภัณฑ ยางรวมกันมูลคา 17,157.40 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือ 529,976 ลานบาท

1. ภาพรวมของอุตสาหกรรม  นิยาม อุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑยาง หมายถึง การนํานํายางดิบจากตนยางพารา มาผานกระบวนการแปรรูปในระดับ ตนนํา กลางนํา และปลายนําเปนผลิตภัณฑจากยางที่ใชในชีวิตประจําวัน เชน ยางลอ ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ยางยืด ทอยาง สายพานฯลฯ  โครงสรางอุตสาหกรรม 1. โครงสรางการผลิต ระบบโครงสรางการผลิตอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑยาง ประกอบดวย 3 สวน ไดแก 1) อุตสาหกรรมตนนํา คือ การผลิตยางที่แปรรูปจากนํายางสด มาเปนยางแปรรูปขั้นตน ไดแก ยางแผน ยาง แทง ยางเครป นํายางขน และยางแทงคุณภาพอื่นๆ 2) อุตสาหกรรมยางกลางนาํ คือ การผลิตยางผสม (ยางคอมปาวด ยางมาสเตอรแบทซ) ผลิตภัณฑกลุม นีไ้ มได ผลิตเพือ่ เปนผลิตภัณฑสดุ ทายสําหรับใชโดยผูบ ริโภคทัว่ ไป แตผลิตเพือ่ ทําเปนวัตถุดบิ สําหรับอุตสาหกรรมอืน่ ๆ 3) อุตสาหกรรมยางปลายนาํ คือ อุตสาหกรรมทีม่ กี ารนําผลิตภัณฑยางขัน้ ตนและขัน้ กลางมาเปนวัตถุดบิ เพือ่ ผลิต ผลิตภัณฑยางขัน้ สุดทาย โดยผลิตภัณฑขั้นปลาย จําแนกออกเปน 4 ประเภท คือ - ผลิตภัณฑยางยานพาหนะ เชน ยางลอเครือ่ งบิน ยางลอรถยนต ยางจักรยานยนต ยางจักรยาน - ผลิตภัณฑยางใชในงานวิศวกรรมหรือใชในอุตสาหกรรม ไดแก สายพานตางๆ ยางรองคอสะพาน ยางกัน กระแทก และยางรองพื้น - ผลิตภัณฑยางจากนํ้ายาง ไดแก ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ลูกโปง ที่นอนฟองนํา และอุปกรณทางการแพทย โดยถุงมือยางไดแบงออกเปน ถุงมือยางสําหรับใชในทางการแพทย ซึ่งมีทั้งถุงมือผาตัด ถุงมือตรวจโรค ถุงมือยางสําหรับใชใน โรงงานอุตสาหกรรม ถุงมือยางสําหรับใชในครัวเรือน - ผลิตภัณฑยางอืน่ ๆ ไดแก พืน้ รองเทา ยางรัดของ ลูกกอลฟ กาว จุกขวด 2. ผูประกอบการอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง 1) จํานวนผูประกอบการ จํานวนผูประกอบการเฉพาะอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางปลายนํา มีจํานวน 370 โรงงาน แยกตามประเภทของอุตสาหกรรมไดดังนี้

29


ผลิตภัณฑ ยางลอรถยนต ยางลอรถบรรทุก ถุงมือยาง ยางยืด ยางลอจักรยานยนต ยางรัดของ ถุงยางอนามัย สายพาน ยางหลอดอก ชิ้นสวนยานยนต ทอยาง ยางที่ใชในงานวิศวกรรม หัวนมยาง ผลิตภัณฑยางอื่นๆ รวม

จํานวน 15 5 57 16 24 18 10 24 72 49 17 9 8 46 370

ที่มา : ศูนยวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยางไทย ขอมูล ณ วันที่ 31 มกราคม 2555

2) การกระจายตัวของที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง โรงงานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง มีจํานวนทั้งสิ้น 370 โรงงาน รอยละ 24.56 ตั้งอยูในเขตกรุงเทพฯ รอยละ 43.52 ตั้งอยูในเขตปริมณฑล รอยละ15.84 ตั้งอยูในภาคตะวันออก รอยละ 4.99 ตั้งอยูในภาคใต และที่เหลือจะกระจายตัวอยู ใน ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคเหนือ รอยละ 4.86 3.62 2.12 และ 0.5 ตามลําดับ การกระจายตัวของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง เมื่อแยกตามประเภทของอุตสาหกรรมที่สําคัญแลว สามารถ แบงได ดังนี้ - โรงงานผลิตภัณฑยางลอ กระจายอยูในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล รวมทั้งจังหวัดสระบุรี - โรงงานผลิตถุงมือยาง สวนใหญตั้งอยูในสงขลา นอกจากนี้ยังกระจายตัวอยูในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระยอง และชลบุรี - โรงงานผลิตยางยืด กระจายตัวอยูในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระยอง และชลบุรี - โรงงานผลิตชิ้นสวนยานยนต จะอยูในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระยอง และชลบุรี

รูปที่ 1 การกระจายตัวของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางในภูมิภาคตางๆ


3) การจางงาน จํานวนแรงงานในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางมีประมาณ 82,730 คน ซึ่งยังไมเพียงพอ ทั้งบุคลากรในดานการวิจัย และแรงงานในภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากงานในโรงงานผลิตภัณฑยาง มีลักษณะงานที่สกปรก รอน ทําใหแรงงานนิยมไปทํางานในอุตสาหกรรมอื่น เชน อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็คทรอนิกส  กระบวนการผลิต กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑยาง ประกอบดวย 3 สวน 1. อุตสาหกรรมตนนํา คือ การผลิตยางที่แปรรูปจากนํายางสด มาเปนยางแปรรูปขั้นตน ไดแก นํายางขน และยาง แหงชนิดตางๆ โดยขัน้ ตอนในการผลิตนาํ ยางขน และยางแหง มีดงั นี้ 1) การผลิตนํายางขน (Concentrated latex) การผลิตนํายางขนสวนใหญใชวิธีการปน ซึ่งจะไดนํายางแบงออกเปน 2 สวน คือ นํายางขน (Concentrated latex) ซึ่งมีความเขมขนของเนื้อยางประมาณรอยละ 60 สําหรับนาํ ยางขน นํามาผลิตผลิตภัณฑขน้ั ปลาย ไดแก ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ลูกโปง ทีน่ อนฟองนาํ และอุปกรณทางการแพทย อีกสวนหนึ่ง คือ หาง นํายาง (Skim latex) มีเนื้อยางอยูไมเกิน 8 เติมกรดซัลฟุริกลงไป ผานกระบวนการเพื่อใหยางจับตัวเปนกอน ลาง นําไปรีดเปน แผนแลวนําเขาเตาอบ เปนยางสกิม นําไปเปนวัตถุดิบในการผลิต พื้นรองเทา ยางรถจักรยาน งานที่ไมตองการคุณสมบัติทนทาน มากนัก 2) การผลิตยางแหง แบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ - การผลิตยางแผน นํานํายางสดมากรองสิ่งสกปรกออกแลวทําใหจับตัวดวยกรดฟอรมิคหรืออะซิติค นวด และรีดดวยเครื่องรีดยางใหหนาประมาณ 2-3 มิลลิเมตร นําไปผึ่งในที่รมจะไดยางแผนดิบ ถานําไปอบดวยลมรอน 45-65 องศาเซลเซียส 3-5 วัน จะไดยางแผนผึ่งแหง ถานําไปรมควันอุณหภูมิประมาณ 50-60 องศา เซลเซียส ใชเวลาประมาณ 4-10 วัน จะไดยางแผนรมควัน โดยยางแผนสามารถนําไปเปนวัตถุดิบในการผลิตยางลอ ชิ้นสวน ยานยนต สายพาน ทุนยางลอยนํา ทอยาง ยางกันกระแทก - การผลิตยางแทง ผลิตไดจากวัตถุดบิ หลายชนิด เชน นาํ ยางสด ยางแผนดิบ และเศษยาง มีขั้นตอนการผลิต แตกตางกัน คือ การใชนํายางสด ทําไดโดยการนํานํายางสดมาเทรวมในถังรวมยาง ทําใหยางจับตัวแลวตัดเปนกอน นํามารีด ในเครือ่ งเครป (Creping Machine) จากนั้นยอยยางเปนเม็ดเล็กๆ แลวจึงอบยางใหแหงและอัดเปนแทง หรือการใชยางแผนดิบ หรือเศษยางตองนํามาตัดเปนชิน้ เล็กๆ. สําหรับยางแผนดิบสามารถนํามาตัด อบแลวอัดเปนแทงไดเลย สวนเศษยางตองมารวม ในถังรวมยาง ตัดทําความสะอาด แลวบรรจุใสถังรวมอีกครั้งกอนนํามารีดในเครือ่ งเครป ยอยยางเปนชิ้นเล็กๆ จึงอบใหแหงแลว อัดเปนแทง ยางแทง สามารถนําไปผลิต ยางลอเครือ่ งบิน ยางเรเดียลทุกชนิด พืน้ รองเทา ยางรัดของ และลูกกอลฟ ยางลอรถยนต สายพานตางๆ ยางรองพืน้ ยางรองคอสะพาน และยางกันกระแทก แลวแตเกรดของยาง 2. อุตสาหกรรมยางกลางนาํ คือ การผลิตยางผสม (ยางคอมปาวด ยางมาสเตอรแบทซ) ผลิตภัณฑกลุม นีไ้ มไดผลิตเพือ่ เปนผลิตภัณฑสดุ ทายสําหรับใชโดยผูบ ริโภคทัว่ ไป แตผลิตเพือ่ ทําเปนวัตถุดบิ สําหรับ อุตสาหกรรมอืน่ ๆ 1) ยางคอมปาวด คือ ยางทีน่ าํ ไปผสมสารเคมีพรอมทีจ่ ะนําไปแปรรูปเปนผลิตภัณฑ แบงออกได 2 ชนิด คือ ยาง คอมปาวดในรูปนาํ ยาง ยางคอมปาวดในรูปยางแหง โดยกระบวนการผลิต คือ นํานาํ ยางขน ยางแผน หรือยางแทง ผสมกับสารเคมี เพือ่ ใหไดสมบัตทิ างกายภาพและทางเคมีทเ่ี หมาะสมพรอมทีจ่ ะนําไปผลิตผลิตภัณฑยาง

31


2) ยางมาสเตอรแบทซ เปนการผสมยางกับสารอื่นในลักษณะที่มีความเขมขนมากเพื่อสะดวกในการนํายางยาง มาสเตอรแบทซไปผสมกับยางธรรมชาติ หรือยางสังเคราะหเพือ่ ลดขัน้ ตอนการบดผสมยางกับสารเคมี หลีกเลีย่ งการกระจายของ สารเคมีบางชนิด ซึง่ มีกระบวนการผลิตเชนเดียวกับยางคอมปาวด ความแตกตางของยางคอมปาวด และยางมาสเตอรแบทซ ยางคอมปาวดเปนยางทีพ่ รอมจะนําไปผลิตผลิตภัณฑ ยางไดทนั ที เนือ่ งจากมีการผสมสารเคมีเกือบทุกตัว สวนยางมาสเตอรแบทซเปนการผลิตมาเพือ่ ใหมคี วามเขมขนของสารใดสาร หนึง่ โดยเฉพาะ เพือ่ ลดขัน้ ตอนในการผสมกับสารเคมีหรือลดการฟุง กระจายของเขมาดํา กอนการผลิตตองผสมกับยางหรือสารเคมี ชนิดอืน่ ๆ ทีย่ งั ไมไดเติม 3. อุตสาหกรรมยางปลายนํา กระบวนการผลิตอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง แบงตามลักษณะวัตถุดิบที่ใช ซึ่งแบงได 2 กลุม คือ ผลิตภัณฑจาก ยางแหง และผลิตภัณฑจากนํายางขน 1) ผลิตภัณฑจากยางแหง - เทคนิคการขึ้นรูปผลิตภัณฑจากยางแหง (1) การใชเบาพิมพ (Moulding) เปนวิธีการทําใหยางเกิดรูปรางพรอมกับการเกิดปฏิกิริยาคงรูปตามแบบ พิมพ โดยอาศัยความรอนและแรงอัดยางที่อยูในสถานะออนตัวและไหลได (2) การอัดผานดาย (extrusion) เปนการอัดยางใหมีรูปรางตางๆ ตามลักษณะของผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑยาง ที่ขึ้นรูปโดยใชเทคนิคนี้ไดแก ทอยาง ยางหุมสายเคเบิ้ล และยางรัดของ เปนตน (3) การใชเครื่องรีดยาง (calender) ปกติจะใชเครื่อง calendar ในการขึ้นรูปผลิตภัณฑที่เปนแผนเรียบ มี ความหนาและความกวางสมําเสมอ หรือเพื่อการฉาบยางบางๆ ลงบนผาหรือแผนใยลวด (coating) ผลิตภัณฑเหลานี้ ไดแก สายพานลําเลียง ยางแผนเรียบใชในงานปูพื้นตางๆ เชน ยางแผนปูอางนํา ยางบุถัง - ตัวอยางการผลิตผลิตภัณฑจากยางแหง การผลิตยางลอยานยนต เมื่อแบงตามโครงสรางของยาง สามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ ประเภทยางเรเดียล (Radial Tyre) และยางผาใบ (Bias Tyre) วัตถุดิบสําคัญที่ใชในการผลิตยางยานพาหนะ ประกอบดวย ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห ผงเขมาดํา ผาใบไนลอน เสนลวด สารเคมีอน่ื ๆ อาทิ กํามะถัน โดยกระบวนการผลิตยางลอยานยนต มีรายละเอียด ดังนี้ (1) นํายางธรรมชาติ ยางสังเคราะห และสารเคมีไปบดผสมกัน ภายในหองผสมที่มีการควบคุมอุณหภูมิ ความดัน และเวลาตามที่สูตรกําหนดไว (2) นํามาผานเครื่องบด เพื่อใหไดยางแผนยาว กดอัดใหเรียบ โดยใชเครื่องฉาบผาใบ แผนยางที่ไดจากการ กดคลึง และแทรกผาบุรองแผนยาง (Liner) แลว จะถูกนํามามวนใสวงลอ (Drum) (3) เขาสูกระบวนการขึ้นรูปยาง ตองใชกระบวนการที่อาศัยเครื่องจักรอัตโนมัติที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง ทั้งนี้ สวนประกอบตางๆ ของยางจะถูกนํามาประกอบกันตามลําดับทีละชิ้น ตรงตําแหนงตางๆ ที่ไดมีการออกแบบไวอยางเที่ยงตรง (4) เขาสูการอบยาง และขบวนการวัลคาไนซ (Curing and Vulcanizing) ในขั้นตอนนี้คนงานจะเปนผูนํา โครงยางดิบ (Green Tyre) เขาสูเครื่องอบยาง (Curing Press) ซึ่งจะทําใหยางที่เหนียวและมีความยืดหยุนมากเกินไป เปลี่ยน เปนยางที่มีความแข็งลดความยืดหยุนใหนอยลง เพื่อใหมีความทนทานและมีอายุการใชงานที่ยาวนาน (5) การตรวจสอบทุกเสน กอนที่จะสงเขาคลังสินคา


2) ผลิตภัณฑจากนํายางขน - เทคนิคการขึ้นรูปผลิตภัณฑจากนํายาง (1) การจุม ผลิตภัณฑยางจากกระบวนการจุม (Dipping) เชน ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ถุงมือแพทย ลูกโปง ซึ่งตองใชแมพิมพจุมลงในสารชวยใหยางจับตัว และจุมลงในนํายางผสมสารเคมี เพื่อใหไดแผนฟลมที่มีความสมําเสมอ เมื่อนํา ยางเกาะพิมพดีแลว ลางดวยนําอุน กอนนําไปทําใหคงรูปดวยลมรอน และถอดจากแมพิมพ (2) การหลอแบบ (Casting) การหลอแบบเปนการทําใหนํายางฉาบเบาพิมพ เมื่อนํายางเคลือบแมพิมพ ดีแลว จึงลอกออกจากเบาพิมพ เชน ของเลน ลูกบอล ตุกตา หนากาก (3) การตีฟอง (Foamimg) เปนการทําของใชที่ตองการความนุมรองรับแรงกระแทก เชน ที่นอน หมอน หุน จําลอง ฟองนํารองพรม โดยการทําใหเกิดฟองดวยการใชเครื่องตีฟอง ใชสบูลางสารเคมีสวนเกิน ทําใหคงรูปโดยการนึ่งดวยไอนํา หรืออบในตูอบลมรอน (4) การอัดผานหัวแมแบบ (Extrusion) เปนการขึ้นรูปโดยใหนํายางผสมสารเคมีไหลผานแมแบบลงในสาร ชวยใหยางจับตัว นําเสนดายยางไปลาง และทําใหคงรูปดวยลมรอน

ผลิต ดังนี้

- ตัวอยางการผลิตผลิตภัณฑจากนํายางขน ถุงมือยาง วัตถุดิบที่สําคัญในการผลิตถุงมือยาง คือ นํายางขน และสารเคมีที่ชวยใหนํายางจับตัว โดยมีกระบวนการ

(1) นํานํายางขนผสมสารเคมีตางๆ เชน โปแตสเซียมไฮดรอกไซด โปแตสเซียมคลอเลต กํามะถัน สาร ปองกันยางเสื่อม ซิงคออกไซด เพื่อใหนํายางอยูในสภาพที่เหมาะสมในการขึ้นรูปเปนถุงมือยาง (2) นําพิมพที่ทําจากพลาสติก โลหะ หรือเซรามิค จุมลงในสารละลายที่ชวยใหนํายางจับตัวกอน เมื่อยก พิมพขึ้น สารละลายที่ชวยใหนํายางจับตัว จะเกิดเปนฟลมบางๆ จับตัวเกาะอยูที่พิมพ เมื่อนําพิมพไปจุมในนํายางที่ผสมสารเคมี ยกพิมพขึ้นชาๆ ฟลมยางจะเคลือบพิมพ (3) นําไปอบใหคงรูปในตูอบที่อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส เปนเวลาประมาณ 30 นาที ทําขอบ ลาง เคลือบฝุน และอบซํา แลวลอกออกจากพิมพ  ศักยภาพการผลิต สําหรับการผลิตผลิตภัณฑยางที่สําคัญ ในป 2555 ซึ่งประกอบดวย ผลิตภัณฑยางนอก รถยนตนั่ง/รถกระบะ ยางนอกรถบรรทุก/รถโดยสาร/รถแทรกเตอร ยางนอกและยางในรถจักรยานยนต/ จักรยาน ยางหลอดอก และถุงมือยางถุงมือตรวจ ขยายตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปกอน โดยเฉพาะยางนอก รถยนตนั่ง/รถกระบะ ซึ่งขยายตัวเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 18.42 ตามการขยายตัวอุตสาหกรรมรถยนตในประเทศ สําหรับในสวนของการจําหนายถุงมือยาง/ถุงมือตรวจ ขยายตัวไดดี เนื่องจากเปนสิ่งจําเปนที่ใชในทางการ แพทย และใชในอุตสาหกรรมอื่นๆ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารและบริการ ประเทศไทยผลิตยางธรรมชาติไดมากเปนอันดับ 1 ของโลก มีการผลิตเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตป 2551 โดย ในป 2554 สามารถผลิตยางธรรมชาติได 3.57 ลานตัน แตมีการนํามาใชในการผลิตผลิตภัณฑยางเพียงรอยละ 14 เทานั้น โดย อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางทีใ่ ชยางธรรมชาติมากทีส่ ดุ คือ ยางยานพาหนะ รองลงมาคือ ถุงมือยาง ยางยืด ตามลําดับ

33


สําหรับอุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑยางในประเทศ มีความไดเปรียบในดานวัตถุดิบ เนื่องจากประเทศไทย เปนแหลงผลิตวัตถุดิบอันดับ 1 ของโลก อุตสาหกรรมยางแปรรูปขั้นตนของไทยซึ่งเปนวัตถุดิบที่ใชในอุตสาหกรรมยางขั้นปลาย มีศักยภาพ อยางไรก็ตาม อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางในประเทศ ยังมีปญหาสําคัญที่ไมทําใหเกิดการพัฒนาเทาที่ควร โดยแบงได 3 ดาน ดังนี้ 1. ปญหาดานการผลิต 1) วัตถุดิบ ยางแผนดิบที่ผลิตไดมีคุณภาพตําและไมสมําเสมอ ทําใหสงผลตอราคาและคุณภาพของ ผลิตภัณฑยางขั้นปลาย 2) แรงงาน ขาดแคลนแรงงานในการกรีดยาง และแรงงานในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง เนื่องจากเปนงาน หนัก อยูในสภาพอากาศรอนและสกปรก เมื่อเทียบกับงานในอุตสาหกรรมอื่นๆ 3) กระบวนการผลิต ผูประกอบการอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางของไทยสวนใหญยังเปนผูผลิตขนาดกลาง และขนาดเล็ก มีประสิทธิภาพการผลิตตํา และยังมีเทคโนโลยีการผลิตที่ลาสมัย โดยเฉพาะเทคโนโลยีในเรื่องสูตรผสมยาง เครื่องจักร 4) ขาดเครื่องมือในการทดสอบผลิตภัณฑ ปจจุบันมีเครื่องมือทดสอบในระดับพื้นฐาน แตขาดเครื่องมือทดสอบในระดับสูง ทําใหยังตองสงไปทดสอบในตางประเทศ ทําใหเกิดความไมสะดวก เสียคาใชจายสูง สงผลใหการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ลาชาไมกาวหนาเทาที่ควร 5) อุตสาหกรรมสนับสนุน เชน อุตสาหกรรมแมพิมพ เสนลวด ผาใบสําหรับทํายางลอ เครื่องจักรผลิต ใน ประเทศยังมีไมเพียงพอ 2. ปญหาดานการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี

1) ผูประกอบการไทยซึ่งเปนผูประกอบการขนาดกลางและเล็กไมมีเงินทุนในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี จะตองอาศัย know how จาก

บริษัทตางชาติที่มีการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑอยางตอเนื่องเขามารวมทุน จึงเปนอุปสรรคสําคัญสําหรับผูประกอบการรายใหมที่จะเขาสูตลาด

2) ขาดการเชื่อมโยงระหวางภาคอุตสาหกรรมและหนวยงานวิจัยและพัฒนา ทําใหงานวิจัยไมสามารถนําไป ตอยอดในเชิงพาณิชยได 3) บุคลากรดานการวิจัยและพัฒนายังไมเพียงพอ จึงเปนขอจํากัดที่สําคัญในการวิจัย และพัฒนาตอยอดไปสูผลิตภัณฑใหมๆ รวมทั้งการสรางเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อปรับปรุงผลิตภัณฑ 4) หองทดสอบมาตรฐานผลิตภัณฑยางตามมาตรฐานสากลยังไมเพียงพอ 3. ดานสภาพแวดลอมทางธุรกิจของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง 1) หนวยงานในการพัฒนาดานยางพารามีหนวยงานรับผิดชอบหลายหนวยงาน ซึ่งในทางปฏิบัติจะเนน การพัฒนาเฉพาะตนนํา ยังขาดหนวยงานหลักในการดําเนินนโยบายการพัฒนาในดานปลายนํา ทําใหการพัฒนาอุตสาหกรรม ยางพาราไมมีความตอเนื่อง และไมมีการดําเนินงานอยางจริงจังเหมือนในตางประเทศ เชน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งรัฐบาลมาเลเซีย จัดตั้ง Malaysian Rubber Board มาชวยพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางขึ้นโดยเฉพาะ ทําใหอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางของ มาเลเซีย โดยเฉพาะถุงมือยาง ขยายตัวไดอยางตอเนื่อง 2) ระบบขอมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง หนวยงานที่เกี่ยวของในการดําเนินการพัฒนาอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑยางของภาครัฐยังขาดขอมูล ขาวสาร ความเคลื่อนไหว เกี่ยวกับอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางที่ถูกตอง และทันสมัย เพื่อ เปนกรอบในการกําหนดแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางของไทยใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบันทั้งในและตาง ประเทศ


3) ระบบการขนสง ปจจุบันไทยมีการสงออกยางพาราโดยทางเรือ แมวาไทยจะมีทาเรือแหลมฉบัง แตการ ขนสงยางทางภาคใตของไทยนิยมสงผานทาปนังของมาเลเซีย เนื่องจากอยูใกลมากกวา และมีคาขนสงที่ถูกกวา ในขณะที่ทาเรือ ที่ใกลที่สุดคือทาเรือสงขลา แตเปนทาเรือนําตื้น ทําใหเรือใหญไมสามารถเขาได จึงจําเปนตองไปขนถายตออีกทีหนึ่ง ทําใหตนทุน สูงขึ้น 4) ประเด็นสําคัญที่นากังวลตอการลงทุนในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง รวมทั้งการพัฒนาอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑยางของไทยในระยะตอไป คือ รางพระราชบัญญัตกิ ารยางแหงประเทศไทย พ.ศ. .... ปจจุบนั อยูใ นระหวางการพิจารณาของ วุฒสิ ภา ซึง่ รางพระราชบัญญัตฯิ นี้ เปดชองใหคณะกรรมการการยางแหงประเทศไทย สามารถประกาศเก็บเงินคาธรรมเนียมการสงออก จากผลิตภัณฑยางประเภทใดก็ได ซึ่งประเด็นนี้ จะสงผลกระทบตอความเชือ่ มัน่ ของผูป ระกอบการผลิตผลิตภัณฑยางพาราในประเทศไทย และจะสงผลตอการพิจารณาการยายการ ลงทุนของบริษทั ขามชาติจากประเทศไทยไปยังประเทศอืน่ เนือ่ งจากความไมแนนอนของกฎระเบียบภาครัฐจากรางพระราชบัญญัตฯิ ที่ มีผลตอสภาพแวดลอมในการลงทุนและประกอบกิจการในประเทศไทย ซึง่ จะสงผลใหความพยายามในการสงเสริมการเพิม่ การใชยางใน ประเทศ เพือ่ ผลิตเปนผลิตภัณฑยาง ไมสามารถประสบความสําเร็จได ตามความคาดหวังของรัฐบาล ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิตยางธรรมชาติ ผลิตภัณฑ ยางธรรมชาติ

2552 3.16

2553 3.25

2554 3.57

2552 16.90 -17.66 4.09

2553 21.81 29.05 4.61

2554 19.99 -8.37 3.68

2555

-20.12 46.03 4.98 56.59 -10.95 84,146 -4.79 11,835.02 4.05

7.14 50.34 9.36 58.91 4.10 97,062 15.35 12,017.37 1.54

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร หมายเหตุ : 2555* เปนตัวเลขประมาณการ

ตารางที่ 2 ปริมาณการผลิตผลิตภัณฑยาง ผลิตภัณฑ ยางนอกรถยนตนั่ง/รถกระบะ (ลานเสน) YOY (%) ยางนอกรถบรรทุก/รถโดยสาร/รถแทรกเตอร (ลานเสน) YOY (%) ยางนอกรถจักรยานยนต/จักรยาน (ลานเสน) YOY (%) ยางในรถจักรยานยนต/รถจักรยาน (ลานเสน) YOY (%) ยางหลอดอก (เสน) YOY (%) ถุงมือยาง/ถุงมือตรวจ(ลานชิ้น) YOY (%)

หนวย :ลานตัน 2555*

-6.84 39.41 -9.16 59.61 8.22 83,302 9.14 11,050.74 8.79

12.75 43.84 11.24 63.55 6.60 88,378 0.09 11,373.94 2.92

ที่มา : ศูนยสารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

3.53

23.67 18.42 3.94

 ความสามารถในการแขงขัน 1. การสงออก การสงออกยางแปรรูปขั้นตนของไทย ประกอบดวย ยางแผน ยางแทง นํายางขน และยางพาราอื่นๆ และสําหรับการสงออก ผลิตภัณฑยาง ประกอบดวย ยางยานพาหนะ ถุงมือยาง ยางรัดของ หลอดและทอ สายพานลําเลียงและสงกําลัง ผลิตภัณฑยางที่ ใชในทางเภสัชกรรม ยางวัลคาไนซ และผลิตภัณฑยางอื่นๆ โดยในป 2555 มูลคาการสงออกยางแปรรูปขั้นตนของไทยลดลงรอย ละ 33.62 เนื่องจากผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจในสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา และการชะลอการขยายตัวของเศรษฐกิจ ภายในประเทศจีน ประกอบกับไทยไดมีการจํากัดการสงออกยางแปรรูปขั้นตน เพื่อรักษาเสถียรภาพราคายางตามขอตกลงของ บริษัทรวมทุนยางพาราระหวางประเทศ จํากัด: (International Rubber Consortium Limited : IRCO)

35


สําหรับการสงออกผลิตภัณฑในภาพรวมเพิ่มขึ้น รอยละ 0.27 โดยเพิ่มขึ้นในสวนของถุงมือยาง ซึ่งถึงแมวาตลาด หลักที่สําคัญ เชน สหภาพยุโรปจะชะลอตัวลง แตความตองการในตลาดอาเซียนปรับตัวเพิ่มขึ้น ทําใหทดแทนการสงออกทีล่ ดลง ได รวมทัง้ ถุงมือยางยังคงไดรบั สิทธิ GSP ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งถือเปนตลาดสงออกหลักที่สําคัญเชนกัน สําหรับมูลคาการสงออกใน สวนของอุตสาหกรรมยางยานพาหนะปรับตัวลดลง สาเหตุหนึ่งเกิดจากสหรัฐอเมริกาซึ่งเปนตลาดสงออกหลักของไทย ไดตัดสิทธิ GSP ของกลุมผลิตภัณฑยางยานพาหนะ เนื่องจากไดรับการยกเวนภาษีนําเขามาแลวอยางนอย 5 ป และมีมูลคาการสงออกไปยัง สหรัฐอเมริกาเกินเพดาน ในป 2554 คือ 225 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึง่ มีผลบังคับใช เมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2555 2. การนําเขา ในป 2555 การนําเขาผลิตภัณฑยางขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะยางรถยนตและยางสังเคราะห ซึ่งยางสังเคราะห เปนวัตถุดิบสําคัญในการผลิตยางรถยนต สําหรับอุตสาหกรรมยางรถยนต คาดวาการแขงขันในป 2556 จะมีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากมียางรถยนตนําเขาจากประเทศจีนเพิ่มสูงขึ้น โดยใชการตัดราคาในการแขงขัน และมีแนวโนมจะเพิ่มขึ้นอีก เพื่อตอบ สนองความตองการของผูใชรถประเภท Eco Car ที่เพิ่มสูงขึ้นมาก อีกทั้งกรอบขอตกลง FTA ก็มีสวนใหการนําเขายางพาราและ ผลิตภัณฑเพิ่มขึ้นดวย สําหรับตลาดนําเขาที่สําคัญ ไดแก ประเทศญี่ปุน จีน สหรัฐอเมริกา ไตหวัน และเยอรมนี (ตารางที่ 4 มูลคา การนําเขาของสินคายางและผลิตภัณฑยาง) 3. ตลาดสําคัญ/สวนแบงตลาด/คูค า /คูแ ขง ประเทศไทยสงออกยางแปรรูปขัน้ ตนมากเปนอันดับ 1 ของโลก โดยมีสดั สวนถึง รอยละ 35.64 ของการสงออกยาง ธรรมชาติทง้ั หมดในตลาดโลก ตลาดสงออกหลักทีส่ าํ คัญของผลิตภัณฑยางแปรรูปขัน้ ตน คือ ประเทศ จีน มาเลเซีย ญีป่ นุ สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต และ อินเดีย โดยมูลคาการสงออกยางแปรรูปขัน้ ตนไปยังจีนคิดเปนสัดสวนรอยละ 40 ของมูลคาการสงออกยางแปรรูปขัน้ ตน ทัง้ หมด ในสวนการสงออกผลิตภัณฑยางทีส่ าํ คัญ ตลาดสงออกหลักของผลิตภัณฑยางยานพาหนะ คือ ประเทศ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และมาเลเซีย สําหรับตลาดสงออกหลักผลิตภัณฑถงุ มือยาง คือ สหรัฐอเมริกา ญีป่ นุ และ เยอรมนี (ตารางที่ 3 มูลคาการสง ออกสินคายางและผลิตภัณฑยาง) ตารางที่ 3 มูลคาการสงออกของสินคายางและผลิตภัณฑยาง ผลิตภัณฑ ยางพารา ยางแผน ยางแทง นํายางขน ยางพาราอื่น ๆ รวม YOY (%) ผลิตภัณฑยาง ยางยานพาหนะ ถุงมือยาง ยางรัดของ หลอดและทอ สายพานลําเลียงและสง กําลัง ผลิตภัณฑยางที่ใชทาง เภสัชกรรม ยางวัลแคไนซ ผลิตภัณฑยางอื่นๆ รวม YOY (%)

2554

หนวย : ลานเหรียญสหรัฐฯ

2552

2553

2555

1,364.58 41.75 1,195.01 1,706.67 4,308.01 -36.33

2,499.75 65.15 1,881.94 3,449.19 7,896.03 83.29

4,460.00 110.20 2,541.46 6,064.68 13,176.34 66.87

2,280.54 3.54 1,990.90 4,470.82 8,745.80 -33.62

จีน ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา จีน สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย จีน จีน ญี่ปุน เกาหลีใต สหรัฐอเมริกา

1,888.09 653.04 55.42 103.85

2,683.12 959.95 72.89 159.02

3,789.98 1,139.27 114.73 187.91

3,484.68 1,174.43 113.75 232.25

66.78

95.55

121.49

128.33

สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา เยอรมนี ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส อิตาลี สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน อินโดนีเซีย สิงคโปร ญี่ปุน เวียดนาม

261.34 244.2 1,214.83 4,487.58 23.37

114.76 336.18 2,012.49 6,433.96 -0.48

154.57 396.79 2,484.06 8,388.80 43.37

142.51 384.81 2,750.85 8,411.61 0.27

ที่มา : ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความรวมมือของกรมศุลกากร

ตลาดสงออกที่สําคัญ

สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร บราซิล เวียดนาม จีน ฮองกง จีน มาเลเซีย ญี่ปุน


ตารางที่ 4 มูลคาการนําเขาของสินคายางและผลิตภัณฑยาง ผลิตภัณฑ ยาง รวมเศษยาง ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห ยางอื่นๆ รวม YOY (%) ผลิตภัณฑยาง ทอหรือขอตอและสายพานลําเลียง ยางรถยนต กระเบื้องปูพื้นปดผนัง ผลิตภัณฑยางวัลแคไนซ ผลิตภัณฑยางอื่นๆ รวม YOY (%)

หนวย :ลานเหรียญสหรัฐฯ

2552

2553

2554

2555

ตลาดนําเขาที่สําคัญ

5.16 483.44 4.03 492.63 -27.96

18.52 810.80 5.52 834.84 69.47

16.58 1,175.20 7.98 1,199.76 43.71

8.35 1,350.75 8.30 1,367.40 13.97

ญี่ปุน จีน เยอรมนี จีน ญี่ปุน เกาหลีใต ญี่ปุน สิงคโปร จีน

128.24 214.22 6.43 257.69 19.16 625.74 -18.17

187.85 302.87 9.56 367.90 31.08 899.29 43.71

226.34 369.07 27.36 395.99 34.97 1,053.73 17.18

325.14 490.83 11.23 112.10 381.94 1,321.24 23.51

มาเลเซีย อินโดนีเซีย ญี่ปุน เกาหลีใต จีน ญี่ปุน ญี่ปุน จีน สหรัฐอเมริกา จีน อินเดีย

ที่มา : ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยความรวมมือของกรมศุลกากร

ตารางที่ 5 มูลคาการสงออกยางลอของโลก ประเทศ จีน ญี่ปุน เยอรมนี สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เกาหลีใต ไทย (6) อินโดนีเซีย (13) อื่นๆ รวม

หนวย : ลานเหรียญสหรัฐฯ

2550

2551

2552

2554

7,103.66

8,062.12

7,686.01

10,390.02

14,768.85

5,975.32

6,742.69

5,507.32

6,920.84

8,248.96

4,651.66

5,003.58

4,627.71

5,536.02

6,925.78

3,495.87

4,096.50

3,784.52

4,370.35

5,436.60

3,806.78

4,272.77

3,154.40

3,562.03

4,168.18

2,659.32

2,820.90

2,564.29

3,293.95

4,152.37

1,622.52

1,964.02

1,767.85

2,553.62

3,579.88

895.63

1,053.96

1,091.35

1,422.43

1,849.72

25,436.22

27,606.44

22,927.79

27,470.99

35,791.59

55,646.98

61,622.98

53,111.24

65,520.23

84,921.92

ตารางที่ 6 มูลคาการสงออกของถุงมือยางของโลก ประเทศ มาเลเซีย ไทย จีน อินโดนีเซีย อื่นๆ รวม

2553

2550 1,711.00 626.09 270.50 214.52 792.21 3,614.32

2551 2,106.13 657.68 338.99 218.47 919.30 4,240.57

หนวย : ลานเหรียญสหรัฐฯ 2552 2,031.39 650.31 337.57 184.68 881.69 4,085.65

2553 2,774.88 959.75 428.72 222.91 1,036.94 5,423.19

2554 3,235.63 1,127.74 508.87 260.77 1,287.72 6,420.74

37


4. ราคาสินคา ราคายางเริ่มปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตชวงตนป 2553 จนถึงเดือนกุมภาพันธ 2554 ราคายางเพิ่มขึ้นสูงสุดจนถึงประมาณ 180 บาทตอกิโลกรัม หลังจากนั้นราคายางไดเริ่มปรับตัวลดลง เนื่องจากราคายางที่อยูใน ระดับสูง ทําใหจีนซึ่งมียางพาราสํารองอยูมาก ไดชะลอการสั่งซื้อ รวมทั้งภัยธรรมชาติแผนดินไหวและสึนามิ และวิกฤตนิวเคลียร ที่ญี่ปุน ทําใหญี่ปุนชะลอการสั่งซื้อยางออกไป อยางไรก็ตาม ผลกระทบตางๆ เกิดขึ้นในชวงระยะสั้น เนื่องจากภาคการผลิตยาน ยนตมีการฟนตัวไดอยางรวดเร็ว และยางพาราที่สํารองไวของจีนเริ่มหมดลง ทําใหจีนกลับมาสั่งซื้อยางพารา ทําใหราคายางพารา กระเตื้องขึ้นและทรงตัวอยูในระดับสูง จนถึงเดือนตุลาคม ป 2554 ราคายางไดเริ่มปรับตัวลงอีกครั้ง เนื่องจากเศรษฐกิจของ สหภาพยุโรปชะลอตัว ประกอบกับการเกิดปญหาภายในของประเทศจีนซึ่งเปนผูสั่งซื้อรายใหญ มีการสํารองยางพาราไวมากกวา 2 แสนตัน ทําใหจีนชะลอการสั่งซื้อออกไป รวมทั้งปญหานําทวมภายในประเทศ สงผลกระทบตอระบบอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง กับยางพารา นอกจากนี้ในชวงปลายปมีผลผลิตยางพาราออกสูตลาดมาก ซึ่งปจจัยตางๆ เหลานี้ลวนสงผลทําใหราคายางพารา ลดลงทั้งสิ้น (รูปที่ 1 ราคายางแผนดิบ ชั้น 3 ณ ตลาดกลางยางพาราสงขลา และรูปที่ 2 ราคายางแผนรมควัน ชั้น 3 F.O.B กรุงเทพฯ ) ในชวงป 2555 ราคายางมีความผันผวน และปรับตัวลดลงอยางตอเนื่อง จนถึงป 2556 ซึ่งปจจัยสําคัญทีส่ ง ผลในดานลบตอราคายาง คือ ราคาซือ้ ขายในตลาดลวงหนาและราคานาํ มันทีล่ ดลง รวมทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจ ในสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาที่ยังคงสงผลกระทบไปทั่วโลก อยางไรก็ตาม ราคายางมีแนวโนมคาดวาจะปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากเศรษฐกิจโลกมีการปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้น และอุปทานยางธรรมชาติกําลังจะลดลง ในชวงยางผลัดใบ

รูปที่ 2 ราคายางแผนดิบ ชั้น 3 ณ ตลาดกลางยางพาราสงขลา

ดังนี้

รูปที่ 3 ราคายางแผนรมควัน ชั้น 3 F.O.B กรุงเทพฯ

5. แนวโนมอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑยาง มีแนวโนมขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่สําคัญโดยมีรายละเอียด

1) ผลิตภัณฑยางลอ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางลอ คาดวาจะขยายตัวไดดี ซึ่งไทยสงออกยางลอเปนอันดับ 7 ของโลก เมื่อเปรียบ เทียบกับจีนที่มีการนําเขายางธรรมชาติจากไทย ถึงรอยละ 40 จากการสงออกยางธรรมชาติทั้งหมดของไทย แตจีนมีมูลคาการ สงออกยางลอมากเปนอันดับ 1 ของโลกโดยมีสวนแบงทางการตลาดสูงถึง รอยละ 17 ในขณะที่ไทยจะมีความไดเปรียบในดานที่ เปนแหลงผลิตวัตถุดิบอันดับ 1 ของโลก แตผลิตภัณฑยางลอของไทยมีสวนแบงในตลาดโลกเพียงแครอยละ 4 เทานั้น เนื่องจาก สวนใหญผูประกอบการอุตสาหกรรมยางลอในประเทศจะเปนกลุมผูผลิตขนาดกลางและขนาดยอม จะมีขอจํากัดดานเงินลงทุน เทคโนโลยี และการวิจัยพัฒนา ผูประกอบการจะอาศัยประสบการณจากการทํางานเปนหลัก ทําใหการพัฒนาไมขยายตัวเร็ว เทาที่ควร แตอุตสาหกรรมยางลอในประเทศก็ยังมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง ตามการขยายตัวของอุตสาหกรรมรถยนตทั้งใน ประเทศและตางประเทศ


ในปจจุบันไทยเปนประเทศที่สงออกยางลอมากเปนอันดับ 1 ในอาเซียน มีคูแขงที่สําคัญที่นาจับตามอง คือ อินโดนีเซีย เนื่องจากเปนประเทศผูสงออกยางลอเปนอันดับที่ 13 ของโลก และเปนประเทศผูสงออกยางลอเปนอันดับ ที่ 2 ของอาเซียน ซึ่งถึงแมวาอินโดนีเซียจะมีมูลคาการสงออกยางลอนอยกวาไทยอยูกวา 1 เทาตัว แตอินโดนีเซียก็มีปจจัย สนับสนุนที่สําคัญ คือ อินโดนีเซียมีแหลงวัตถุดิบยางพาราเนื่องจากเปนประเทศผูผลิตยางพาราไดเปนอันดับ 2 ของโลก มีตลาด ภายในประเทศที่ใหญกวาไทย เนื่องจากมีประชากรถึง240 ลานคน มีแรงงานเพียงพอและอัตราคาแรงที่ตํากวาไทย นอกจากนี้ อุตสาหกรรมรถยนตในประเทศเริ่มมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง รวมถึงความนาดึงดูดในการลงทุนของบริษัทขามชาติ จากความ อุดมสมบูรณของวัตถุดิบ ซึ่งปจจัยตางเหลานี้เปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหอินโดนีเซียกาวขึ้นมาเปนคูแขงที่สําคัญในไมชา 2) ถุงมือยาง อุตสาหกรรมถุงมือยาง คาดวาจะขยายตัวไดดี เนื่องจากกระแสวิตกกังวลเรื่องสุขภาพอนามัย และเปนสินคา จําเปนทั้งทางการแพทย ภาคอุตสาหกรรมและภาคครัวเรือน ไทยมีฐานะเปนผูผลิตและสงออกถุงมือยางอันดับ 2 ของโลก รอง จากมาเลเซีย และยังมีศักยภาพที่จะเติบโตขึ้นอีกในอนาคต เนื่องจากไทยมีความพรอมดานวัตถุดิบ อยางไรก็ตาม เทคโนโลยี และประสิทธิภาพการผลิตของอุตสาหกรรมถุงมือยางไทยยังคงเปนรองมาเลเซียอยูมาก มาเลเซีย ถือเปนคูแขงที่สําคัญของไทยในอุตสาหกรรมถุงมือยาง โดยเปนประเทศที่มีการสงออกมากเปนอันดับ หนึ่ง มีสวนแบงตลาดสูงถึงรอยละ 60 ของการสงออกในตลาดโลก แมไทยจะเปนประเทศผูผลิตยางพารามากเปนอันดับ 1 ของ โลก แตในการสงออกผลิตภัณฑจากยางพาราหลายประเภท ไทยยังเปนรองมาเลเซีย ถึงแมในชวงไมกี่ปที่ผานมามาเลเซียประสบปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบนํายางพารา จึงมีการปรับราคาสงออกถุงมือยางตามตนทุนที่เพิ่มขึ้น แตก็ยังรักษาสวนแบงตลาดไวได เนื่องจากผูผลิตถุงมือยางในมาเลเซียได ใหความสําคัญกับการลงทุนเพื่อวิจัยและพัฒนาถุงมือยางมาโดยตลอด เฉพาะอยางยิ่ง การสงออกถุงมือยางเพื่อใชในทางการแพทยของมาเลเซียนั้น ตองผานการตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานที่เขมงวดของ มาเลเซีย และตองมีโปรตีนจากยางพาราในระดับที่ตํา เพื่อปองกันอาการแพถุงมือยางของผูใ ช ทําใหถงุ มือยางของมาเลเซียไดรบั การยอมรับจากตลาดอยางกวางขวาง แมวา ราคาจะมีแนวโนมสูงขึน้ ก็ตาม นอกจากมาเลเซียแลว ในปจจุบัน มีประเทศผูสงออกรายใหมเขามาแขงขันเพื่อแยงชิงสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้น สง ผลใหการแขงขันในตลาดโลกมีแนวโนมรุนแรงขึ้นเปนลําดับ ซึ่งจีนและอินโดนีเซีย ถือเปนคูแขงในการสงออกถุงมือยางของไทยที่ นาจับตามอง โดยจีนมีความไดเปรียบในดานแรงงานมีอัตราคาแรงตํา มีตลาดที่ใหญ ทําใหขนาดกําลังการผลิตอยูใ นระดับสูง ทําใหเกิดการประหยัดตอขนาด (Economies of Scale) มีอตุ สาหกรรม สนับสนุนพรอม โดยเฉพาะเครือ่ งจักร แตคณ ุ ภาพของสินคายังสูป ระเทศอืน่ ไมได สวนอินโดนีเซียมีความไดเปรียบดานวัตถุดิบ รวมทั้งคาจางแรงงานซึ่งยังอยูในระดับตํา นอกจากนี้ ยังมีแนวโนมที่ผูผลิตถุงมือยางจากมาเลเซียจะยายฐานการผลิตไปสู อินโดนีเซียเพิ่มมากขึ้น อยางไรก็ตาม ปจจุบันการขยายกําลังการผลิต หรือการลงทุนสรางโรงงานถุงมือยางในอินโดนีเซียยัง ประสบปญหาในเรื่องการขาดแคลนสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐานตางๆ ทําใหการผลิตถุงมือยางในอินโดนีเซียจึงเพิ่มขึ้นไมมากเทาที่ควร

กัน คือ

6. แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางในประเทศไทย แนวทางในการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางควรจะดําเนินการพัฒนา โดยแบงออกเปน 2 แนวทางไปพรอม

1) การสงเสริมใหมีการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ ซึ่งเปนการพัฒนาจากดานปลายนํา โดยการชักชวนบริษัทขามชาติใหเขามาลงทุนในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางในประเทศ ซึ่งจะทําใหเกิดการถายโอนเทคโนโลยี และเปนการเพิ่มปริมาณการใชยางธรรมชาติไดอยางรวดเร็ว ซึ่งในการดึงดูดใหมีการลงทุนจากตางประเทศ ปจจัยหนึ่งที่สําคัญ คือ สภาพแวดลอมในการลงทุน ทั้งในดานปจจัยพื้นฐาน สาธารณูปโภค รวมทั้งกฎระเบียบ นโยบาย และมาตรการตางๆ ตอง เอื้อตอการดําเนินธุรกิจ

39


2) การพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางในประเทศ โดยการพัฒนาผูประกอบการในประเทศดานเทคโนโลยี การผลิต พัฒนาบุคลากรทางดานงานวิจัย การสงเสริมการวิจัยและพัฒนา และยกระดับมาตรฐานการผลิตและผลิตภัณฑ ให สามารถแขงขันไดในระดับสากล 2. หนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง 1) หนวยงานภาครัฐ

หนวยงาน สถาบันวิจยั ยาง กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริมสหกรณ

สํานักงานกองทุน สงเคราะหการทําสวน ยาง (รัฐวิสาหกิจในสังกัด กระทรวงเกษตรและ สหกรณ) องคการสวนยาง (รัฐวิสาหกิจในสังกัด กระทรวงเกษตรและ สหกรณ) สํานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

หนาที่รับผิดชอบ รับผิดชอบในงานวิชาการดานยางพารา ทัง้ การวิจยั และพัฒนาดานการผลิต ดานเศรษฐกิจ และการตลาด ดานอุตสาหกรรมแปรรูปยางและผลิตภัณฑยาง การถายทอดเทคโนโลยีท่ี เปนผลการวิจยั ใหสาํ นักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง และกรมสงเสริมการเกษตร นําไปเผยแพรสเู กษตรกร มีหอ งปฏิบตั กิ ารวิเคราะหและทดสอบผลิตภัณฑยาง สงเสริมการปลูกยางพารา การถายทอดเทคโนโลยียางพาราครบวงจร และสงเสริมดานการเพิม่ รายไดในสวนยางแกเกษตรชาวสวนยาง ทัง้ สวนยางพารานอกการสงเคราะหและสวนยางทีพ่ น การสงเคราะห รวมทัง้ กํากับดูแลสถาบันเกษตรกรชาวสวนยางและกลุม วิสาหกิจชุมชนยางพารา สงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยางรวมกลุมและจัดตั้งเปนสหกรณ/กลุมเกษตรกร ศึกษา วิเคราะห วิจัยเพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการดําเนินธุรกิจยางพาราของ สหกรณ/กลุมเกษตรกร สงเสริมแนะนําการบริหารจัดการ การดําเนินธุรกิจ และการ เชื่อมโยงเครือขายธุรกิจยางพาราของสหกรณ/กลุมเกษตรกร ใหการศึกษา อบรม เผย แพรหลักการ อุดมการณ และวิธีการสหกรณ รวมทั้งกํากับ แนะนําใหสหกรณ/ กลุม เกษตรกรปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับ และกฎหมาย ดําเนินการใหการสงเคราะหการทําสวนยาง และการสงเคราะหปลูกแทนสวนยางเกา ดวยไมยืนตนชนิดอื่นที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการชวยเหลือเกษตรกรใหรวม ตัวจัดตั้งสหกรณกองทุนสวนยาง จัดประมูลยางระดับทองถิ่น ทําธุรกิจเกี่ยวกับการผลิต การแปรรูป และการจําหนายยางพารา มีสวนยางที่อยูใน ความดูแลขององคการสวนยางประมาณ 400,000 ไร มีโรงงานแปรรูปยางดิบชนิด ตางๆ เชน ยางแผนรมควัน ยางแทง นํายางขน ยางเครป ฯลฯ ใชผลผลิตจากสวนยางของ องคการสวนยางเอง และซือ้ วัตถุดบิ จากเกษตรกรมาแปรรูป จําหนายยางแปรรูปชนิดตางๆ ที่ ผลิตได รวมทั้งสรางเครือขายถายทอดเทคโนโลยีดานยางครบวงจร จัดทํามาตรฐานผลิตภัณฑยางชนิดตางๆ และใหการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ

กรมวิทยาศาสตรบริการ

ใหบริการวิเคราะหคณ ุ ภาพ/ มาตรฐาน ผลิตภัณฑ ใหบริการดานการวิเคราะหทดสอบ วิจยั และพัฒนาเพือ่ เสริมสรางสมรรถนะดานการทดสอบ

สํานักงานคณะกรรมการ สงเสริมการลงทุน (BOI)

เปนหนวยงานที่ใหการสงเสริมการลงทุนโดยใหสิทธิพิเศษทางภาษีเงินได และภาษีนําเขา เครื่องจักรและวัตถุดิบจากตางประเทศแกผูประกอบการทั้งชาวไทยและชาวตางชาติที่ได รับการสงเสริม เปนหนวยงานที่ศึกษาวิจัยดานการแปรรูปยาง วัสดุที่ใชรวมกับยางและผลิตภัณฑยาง และดําเนินการดานหองปฏิบัติการทดสอบยางลอ เปนหนวยงานที่สงเสริมและสนับสนุนทุนวิจัยดานยางผานโครงการวิจัยแหงชาติ

ศูนยเทคโนโลยีโลหะและ วัสดุแหงชาติ สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.)


2) หนวยงานภาคเอกชน

หนวยงาน สมาคมยางพาราไทย

สมาคมนํายางขนไทย สมาคมผูผลิตถุงมือยาง ไทย กลุม อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑยาง สภา อุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย

หนาที่รับผิดชอบ เปนสมาคมของกลุม บริษทั ผูค า และสงออกยางแปรรูปชนิดตางๆ ทําหนาที่เปนศูนยกลาง ที่ทางราชการสามารถติดตอและประสานความรวมมือ รวมทั้งเปนกลไกที่จะชวยผลักดัน ใหเกิดกิจกรรมสรางสรรค ทั้งในดานการพัฒนาวิชาชีพและยกระดับมาตรฐานการดําเนิน การของบริษัทสมาชิกใหอยูในระดับที่มีคุณภาพโดยทัดเทียมกัน เปนสมาคมของบริษัทผูคาและสงออกนํายางขนโดยเฉพาะ มีความเกี่ยวของในการแปรรูป วัตถุดิบนํายางขน การสงออกนํายางขน และการรักษาเสถียรภาพราคา ใหการสนับสนุน งานวิจัยที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมนํายางขนเปนหลัก สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต การพัฒนาบุคลากร โดยประสานงานกับสถาบัน การศึกษาและหนวยงานวิจัยที่เกี่ยวของ การสนับสนุนการสงออกและเปนตัวแทนผู ประกอบการในการเสนอปญหาและแนวทางแกไขปญหากับภาครัฐ มีสว นรวมกับองคกรทีก่ าํ หนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมในระดับประเทศและระดับ สากล ความตองการใชแรงงานในโรงงาน การพัฒนาบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านในโรงงาน และ การนําเขาและสงออกผลิตภัณฑยางชนิดตางๆ

41


3) หนวยงานระหวางประเทศ หนวยงาน สมาคมประเทศผูผลิต ยางธรรมชาติ (ANRPC: Association of Natural Rubber Producing Counties) สภาวิจยั และพัฒนา ยางระหวางประเทศ (IRRDB: International Rubber Research and Development Board) องคการศึกษาเรื่องยาง ระหวางประเทศ (IRSG: International Rubber Study Group) สมาคมยางระหวาง ประเทศ (IRA: International Rubber Association) สภาความรวมมือดาน ยางพาราระหวาง ประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย (ITRC: International Tripartite Rubber Council) บริษัทรวมทุนยางพารา ระหวางประเทศ จํากัด (IRCO: International Rubber Consortium Limited)

หนาที่รับผิดชอบ ทําหนาที่ประสานงานดานนโยบาย และดําเนินงานการผลิตยางและคายางของประเทศ สมาชิก สนับสนุนสงเสริมงานทางวิชาการและดําเนินการ เพื่อสรางและยกระดับราคา ยางธรรมชาติตามความเปนธรรม และมีเสถียรภาพ ปจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย อินเดีย มาเลเซีย ปาปวนิวกินี สิงคโปร ศรีลังกา ไทย เวียดนาม จีน และกัมพูชา มีสํานักงานอยู ณ กรุงกัวลาลัมเปอร มาเลเซีย เปนสภาทีต่ ง้ั ขึน้ โดยความรวมมือของสถาบันวิจยั และพัฒนายางจากทุกทวีป มีหนาทีค่ วบคุม และวางแผนนโยบายการวิจยั และพัฒนายางระหวางสถาบันทีเ่ ปนสมาชิก ประกอบดวย สมาชิก 16 ประเทศ คือ กัมพูชา บราซิล แคเมอรูน จีน โคดดิววั ร ฝรัง่ เศส กาบอง อินโดนีเซีย อินเดีย เม็กซิโก มาเลเซีย ไนจิเรีย ฟลปิ ปนส ศรีลงั กา ไทย และเวียดนาม ทําหนาที่เปนองคกรกลางของกลุมประเทศผูผลิตยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห ผูใชยาง และผูคายาง ใชเปนศูนยกลางพบปะ ปรึกษา และแกปญหาทางการผลิต การใช การคา ยาง รวบรวมวิเคราะห และจัดพิมพสถิติยาง สรุปขาวสารการยาง ประเมินการศึกษาและ รวมศึกษาความตองการยาง เพื่อกําหนดนโยบายการผลิต และดําเนินการศึกษาวิจัยทาง เศษฐศาสตร/สถิติ ในเรื่องการผลิต การใชยางในสวนที่จะเปนประโยชนแกอุตสาหกรรม มีหนาที่กําหนดกฎเกณฑทางดานการคายาง สัญญาซื้อขายยาง โดยสมาคมยางพาราไทย ไดเขาเปนสมาชิกของ IRA กระทรวงเกษตรและสหกรณโดยสถาบันวิจัยยาง รวมดําเนิน งานที่เกี่ยวกับพระราชบัญญัติควบคุมยางเพื่อควบคุมดานการคาและสงออกยาง เปนองคกรทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ ชวยเหลือดานราคายาง เนือ่ งจากในป พ.ศ. 2540 ราคายางลดลง อยางตอเนือ่ ง ทําใหราคายางตกจนถึงระดับไมคมุ ทุน และไดมนี โยบายในเรือ่ งของราคายาง และการคายาง รวมถึงงานวิชาการดวย

เปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2545 ที่มอบหมายให กระทรวงเกษตรและสหกรณประสานงานกับรัฐบาลของประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย จัดตั้งบริษัทรวมทุนยางพารา 3 ประเทศ เพื่อใหบริษัทดังกลาวทําหนาที่ผลักดันราคา ยางพาราใหสูงขึ้นไปสูระดับที่เกษตรกรสวนยางมีกําไรคุมการลงทุน และรักษาระดับราคา ยางพาราใหมีเสถียรภาพอยางยั่งยืน


4) คณะกรรมการที่เกี่ยวของกับยางพารา

หนวยงาน คณะกรรมการ ควบคุมยาง

หนาที่รับผิดชอบ ทําหนาที่ใหคําแนะนําหรือความเห็นแกรัฐมนตรีผูรับผิดชอบหรืออนุญาตในการควบคุม กํากับดูแลยางตามพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 ประกอบดวย คณะกรรมการ รวม 21 คน มีรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณที่รัฐมนตรีมอบหมายเปนประธานกรรมการ และอธิบดีกรม วิชาการเกษตรเปนกรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการนโยบาย ยางธรรมชาติ

เปนคณะกรรมการทีท่ าํ หนาทีเ่ ปนกลไกระดับชาติในการกํากับดูแลสินคายางพารา ซึง่ คณะ รัฐมนตรีไดมมี ติจดั ตัง้ เมือ่ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2552 ประกอบดวย คณะกรรมการรวม 12 คน มีนายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีทน่ี ายกรัฐมนตรีมอบหมายเปนประธาน กรรมการ และเลขาธิการสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเปนกรรมการและเลขานุการ

3. ชื่อ - ที่อยูผูประกอบการรายใหญ 1) ผูประกอบการผลิตภัณฑยางลอ บริษัท บริษัทสยามมิชลิน จํากัด

บริษัทไทยบริดจสโตน จํากัด บริษัทกูดเยียร (ประเทศไทย) จํากัด บริษัทดีสโตนอินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัทยางโอตานิ จํากัด หางหุนสวนจํากัดป.สยามอุตสาหกรรม ยาง

ที่อยู 57 หมู 6 ถนนหนองปลากระดี่ ต.หนองปลาหมอ อ.หนองแค จ.สระบุรี 18140

โทรศัพท 0 3637 3276 - 86

14/3 ถ.พหลโยธิน กม.33 ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 50/9 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 4 หมู 7 ถนนสายบางเลน-เกาะแรด ต.บางปลา อ.บางเลน จ.นครปฐม 55 หมู 7 ถนนเพชรเกษม ต.คลองใหม อ.สามพราน จ.นครปฐม 9 หมู 3 ถนนเศรษฐกิจ 1 ต.ออมนอย อ.กระทุมแบน จ.สมุทรสาคร 74130

0 2516 8721-5 0 2909 8080 0 3423 4801 0 3423 4838-40 0 3422 2739 0 3422 2741-6 0 2810 9381

43


2) ผูป ระกอบการผลิตภัณฑถงุ มือยาง บริษัท บริษัท แอนเซลล (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัททอปโกลฟ เมดิคอล (ไทยแลนด) จํากัด บริษัทซันไทยอุตสาหกรรมถุงมือยาง จํากัด (มหาชน) บริษัทดอกเตอร บู จํากัด บริษัท วัฒนชัยรับเบอรเมท จํากัด

ที่อยู 110 หมู 4 นิคมอุตสาหกรรม ลาดกระบัง ฉลองกรุง แขวงลําปลา ทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 188 หมู 5 ถ.กาญจนวนิช ต.สํานักขาม อ.สะเดา จ.สงขลา 90320 9 หมู 4 ต.กะเฉด อ.เมือง จ.ระยอง 21100 662/1-4 หมู 3 ถนนบางคลา-อูตะเภา ต.เขาคันทรง อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20110 67/1 หมู 4 ถนนบายพาส, ต.หนอง ไมแดง อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000

3) ผูป ระกอบการอุตสาหกรรมถุงยางอนามัย บริษัท ที่อยู บริษัทไทยไฮยีนโปรดัคท จํากัด 60/50 หมู 19 นวนคร 13 เขตอุตสาหกรรม 2 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 บริษัทไทยนิปปอนรับเบอรอินดัสทรี 49-49/1 หมู 5 ซอยนิคมอุตสาหกรรม จํากัด นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง แหลมฉบัง ต.ทุงสุขลา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20230 บริษัทชัวรเท็กซ จํากัด

บริษัทเฟรส แคร ฟารมา จํากัด

31/1 หมู 4 ถ.ตะกั่วปา-สุราษฎรธานี ต.เขาหัวควาย อ.พุนพิน จ.สุราษฎรธานี 84130

189/1 หมู 9 ต.ทุงสุขลา อ.ศรีราชา จ. ชลบุรี 20230 บริษัทรอยัลอินดัสทรี (ไทยแลนด) จํากัด 126 หมู 6 ถนนเศรษฐกิจ 1 (มหาชน) ต.ออมนอย อ.กระทุมแบน จ.สมุทรสาคร 74130 4) ผูป ระกอบการอุตสาหกรรมยางวิศวกรรม บริษัท บริษัทแสงไทยผลิตยาง จํากัด

โทรศัพท 0 2326 0660-9

0 7441 2910-2 0 3863 4072-3 0 3863 4481-6 0 3829 0246-7 0 3828 7160

โทรศัพท 0 2529 0729-32

0 3849 0258-9 0 3849 3559 0 3840 0182 0 7724 0941-6

0 3804 9521-2 0 2420 0456 0 2420 0923-4 0 2420 1305-6

ที่อยู โทรศัพท 252 หมู 1 ถ.ปูเจาสมิงพราย ต.สําโรง 0 2384 1693-8 ใต อ.พระประแดง 0 2394 1205-6 จ.สมุทรปราการ 10130 0 2394 1821-2


อุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเทา

45


อุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเทา อุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้าเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมแฟชั่นที่มีความสําคัญต่อระบบเศรษฐกิจไทย เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่ต่อยอดมาจากอุตสาหกรรมปศุสัตว์และอุตสาหกรรมฟอกหนัง สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ หนังสัตว์ได้เป็นอย่างดี โดยการนําหนังสัตว์มาผลิตเป็นสินค้าประเภทต่างๆ ได้แก่รองเท้า กระเป๋า เข็มขัด ถุงมือ เครื่องใช้ สํานักงาน รวมถึงของเล่นสัตว์เลี้ยง ซึ่งจะอาศัยความสร้างสรรค์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งสําคัญในการสร้างมูลค่า เพิ่มให้กับหนังสัตว์ นอกจากนี้อุตสาหกรรมดังกล่าวยังใช้แรงงานคนเป็นหลัก ทําให้เกิดการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม จํานวนมาก ประกอบกับทักษะและฝีมือแรงงาน รวมถึงความชํานาญในการผลิตเครื่องหนังและรองเท้า ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ เครื่องหนังและรองเท้าของไทยเป็นที่ยอมรับของต่างชาติ ก่อให้เกิดรายได้จากการส่งออกเครื่องหนังและรองเท้าเป็นจํานวน มาก โดยในปี พ.ศ. 2555 มีมูลค่าส่งออกถึง 1,689.4 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งถือได้ว่าเป็นประเทศอันดับต้น ๆ ในภูมิภาคอาเซียน ที่มีการส่งออกสูงสุด ดังนั้น อุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้าจึงเป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย

ในการฟอกหนังมี ดังนี้

โครงสร้างการผลิต อุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเทา มี โครงสรางการผลิตแบงเปน 3 อุตสาหกรรมหลัก ไดแก 1) อุตสาหกรรมฟอกหนัง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ฟ อ ก ห นั ง เ ป็ น อุ ต สาหกรรมตั้ ง ต้ น ของการผลิ ต วั ต ถุ ดิ บ หนั ง ฟอก ประเภทต่าง ๆ สําหรับการผลิตผลิตภัณฑ์ใน อุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้า โดยนําหนังสัตว์ มาผ่ า นกระบวนการฟอกย้ อ มเพื่ อ ให้ ไ ด้ ห นั ง สั ต ว์ ที่ มีความสวยงามเหมาะสําหรับการนําไปแปรรูปเป็น สินค้าอื่น ๆ ต่อไป ซึ่งขั้นตอนการผลิตเริ่มจากการ ฟอกหนัง ตกแต่งสําเร็จ ออกแบบ ตกแต่ง และผลิต หนังที่มีสี ลวดลาย และผิวสัมผัสตามความต้องการ ของลูกค้า เพื่อให้ได้แผ่นหนังที่มีความสวยงามและ นําไปผลิตเป็นเครื่องหนังและรองเท้า โดยวัตถุดิบที่ใช้

� หนังโค หนังกระบือ เป็นหนังสัตว์แท้ที่ใช้ทําเครื่องหนังและรองเท้ามากที่สุด บาง ส่วนเป็นหนังสัตว์ที่ได้จากแกะ หมู และสัตว์ที่หายาก โดยประเทศไทยมีการนําเข้าหนังดิบจํานวนมาก เนื่องจากเกษตรกรผู้เลี้ยงขาดองค์ความรู้และความสามารถในการเลี้ยงสัตว์ที่ถูกต้อง ทําให้หนังที่ได้ไม่มี คุณภาพ มีรอยขีดข่วน ส่งผลให้ต้องนําเข้าหนังดิบจากสหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย มาเป็นวัตถุดิบในการ ผลิต


� หนัง Exotic เป็นหนังที่ได้จากสัตว์หายาก แต่ละชนิดจะมีลวดลายและความ สวยงามแตกต่างกัน เช่น หนังจระเข้ หนังงู หนังนกกระจอกเทศ หนังปลากระเบน เป็นต้น ซึ่งประเทศไทย เป็นประเทศที่มีภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสมสามารถเพาะพันธุ์สัตว์หายากเหล่านี้ได้ และมี ศักยภาพในการผลิตหนัง Exotic ที่มีคุณภาพและราคาไม่แพง โดยในปัจจุบันมีหลายประเทศที่นิยมหนัง Exotic โดยเฉพาะประเทศจีนมีความเชื่อว่าหากใช้ผลิตภัณฑ์จากหนังสัตว์เหล่านี้จะนําโชคลาภ และความ ร่ํารวยมาสู่เจ้าของ 2) อุตสาหกรรมเครื่องหนัง อุตสาหกรรมเครื่องหนัง เป็นอุตสาหกรรมที่ผลิตสินค้าสําเร็จรูปประเภทต่าง ๆ จากวัตถุดิบหนังสัตว์ ได้แก่ หนังแท้ และหนังเทียมที่ผลิตจากสารสังเคราะห์ต่าง ๆ เพื่อนํามาผลิตเป็นเครื่องใช้ส่วนตัว เครื่องใช้ในการเดินทาง และเครื่อง ใช้ในสํานักงาน โดยสามารถแบ่งผลิตภัณฑ์หลักได้ 4 ประเภท คือ � กระเป๋า มีหลายประเภท ตั้งแต่กระเป๋าใส่เศษสตางค์ กระเป๋าใส่หนังสือเดินทาง กระเป๋าใส่บัตรเครดิต กระเป๋าถือ กระเป๋าเดินทาง ซึ่งผลิตจากหนังแท้ หนังเทียม และประกอบด้วยวัสดุอื่น ๆ � เข็มขัด ผลิตจากหนังแท้หรือหนังเทียม รวมทั้งส่วนประกอบอื่น ๆ � ถุงมือ ผลิตจากหนังแท้ สําหรับเล่นกีฬาและกิจกรรมอื่น ๆ � เครื่องหนังประเภทอื่น ๆ เช่น สมุดบันทึก พวงกุญแจ ของเล่นสัตว์เลี้ยง เป็นต้น แผนภาพแสดงโครงสร้างอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้า อุตอุสาหกรรมเครื � องหนั ตสาหกรรมรองเท าง และเครื ่องหนัาง และรองเท้ สาหกรรมรองเท และ อุอุตตสาหกรรมเครื � องหนังาและ เครื่องหนังเปนอุตสาหกรรม ปลายน้ ําทีน่ มอุี คตวามสํ า คั ญ ต อ รองเท้ าเป็ สาหกรรม ระบบเศรษฐกิจของประเทศ ปลายนํ �าที�มนีความสํ าคัญต่อ ่ เนื ่องจากเป อุตสาหกรรมที ส ร า ง มู ล ค า เ พิ่ ม ใ ห กั บ ระบบเศรษฐกิ จของประเทศ หนั งสัตว และมี มูลคา ในการ สงออกเปนจํานวนมาก

เนื�องจากเป็ นอุตสาหกรรมที�

สร้ างมูลค่าเพิ�มให้ กบั หนังสัตว์ และมีมลู ค่าในการส่งออกไม่ตํ�า กว่า 45,000 ล้ านบาท

หนังฟอก

อุอุตตส สาหกรรมกลางนํ า ห ก ร ร ม ก ล�าของอุ า งน้ํตาสาหกรรม ขอ ง

อุต�สาหกรรมรองเท เครื องหนังและรองเท้าาและเครื มีวตั ถุดิบ่ อเป็งนหนัง

หนั ง มี วั ตถุ ดิ บ เป น ห นั ง สั ตว า งๆ น สัประเภทต ตว์ประเภทต่ างๆโดยนํ โดยนําามาผ มาผ่าานกระบวน กระบวนการฟอกเพื่ อ นํ า หนั ง ที่ การฟอกเพื ตสินค้ า ฟอกไปผลิต�อสินํนาหนั คาตงฟอกไปผลิ อไป

ต่อไป

รองเทาและชิ้นสวน

อุ ต สา หก รร มที่ มี วั ต ถุ ดิ บเป น หนั ง แท แ ล ะหนั ง เที ยม และ มี วัสดุอื่นๆ ประกอบ เชน ยาง ผ า กาว เปนตน

เครื่องหนัง อุ ต สา หกร รมที่ ใช ห นั ง ใ นกา ร ผลิตเครื่อ งใช ส ว นตั ว เครื่ อ งใช ใน กา ร เดิ น ทา ง เครื่ อ งใช ใ น สํ า นั ก งาน ขอ งเล น สั ต ว เลี้ ย ง และอื่นๆ

หนังโค กระบือ แกะ หนัง Exotic

รองเทาหนัง รองเทากีฬา รองเทาแตะ รองเทาอื่นๆ ชิ้นสวนรองเทา กระเปา เข็มขัด ถุงมือ เครือ่ งหนังประเภทอื่น

ที่มา : โครงการจัดทํายุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ในอุตสาหกรรมแฟชั่น ปี พ.ศ. 2554

3) อุตสาหกรรมรองเท้าและชิ้นส่วน อุตสาหกรรมรองเท้าและชิ้นส่วน เป็นอุตสาหกรรมปลายน้ําที่ผลิตรองเท้าจากหนังทุกประเภททั้งหนังแท้ และหนังเทียม ประกอบด้วย � รองเท้าหนัง คือ รองเท้าที่ผลิตจากหนังสัตว์แท้ส่วนด้านบนของรองเท้า ในขณะที่ ด้านล่างและส่วนประกอบ จะผลิตจากวัสดุอื่น ๆ เช่น ยาง พลาสติก เป็นต้น มีลักษณะหุ้มส้น เหมาะสําหรับ ใส่ทํางานทั้งผู้ชายและผู้หญิง

47


� รองเท้ากีฬา คือ รองเท้าที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ในการเล่นกีฬา มีการออกแบบรองรับน้ํา หนักและรองรับการกระแทกโดยเฉพาะ ปัจจุบันมีการผลิตรองเท้าสําหรับการเล่นกีฬาแต่ละประเภท เช่น รองเท้าสําหรับกีฬาฟุตบอล (Soccer Shoes or Studs) รองเท้าสําหรับการวิ่ง (running shoes) รองเท้า สําหรับกีฬา บาสเกตบอล รองเท้าสําหรับการออกกําลังกายประเภทแอโรบิก เป็นต้น ผลิตจากหนังแท้ หรือ หนังสังเคราะห์ ประกอบด้วยยาง พลาสติก และวัสดุอื่น ๆ � รองเท้าแตะ คือ รองเท้าเปลือยเท้า ไม่หุ้มส้น ทําจากหนังแท้ หรือหนังเทียม ส่วน ใหญ่เป็นสารสังเคราะห์ที่เลียนแบบหนังสัตว์แท้ เช่น PVC (Polyvinyl Chloride) PU (polyurethane) หรือ อาจจะผลิตจากยาง พลาสติก หรือวัสดุอื่น ๆ � รองเท้าอื่น ๆ คือ รองเท้าที่ผลิตขึ้นจากวัสดุอื่นที่ไม่ใช่หนังแท้ อาจจะเป็นหนัง เทียม หรือสิ่งทอ เช่น รองเท้าหุ้มข้อที่ใช้ในการป้องกันนิรภัยสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม รองเท้าผ้าใบ เป็นต้น � ชิ้นส่วนที่ใช้ในการประกอบรองเท้า มีวัสดุต่าง ๆ ที่จําเป็นในการผลิตรองเท้า เช่น เศษหนังที่ใช้ทําพื้นรองเท้า สิ่งทอ ยาง กาว เชือก และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ เป็นต้น ซึ่งประเทศไทยสามารถ ผลิตส่วนประกอบรองเท้าได้เป็นบางส่วน และบางส่วนต้องนําเข้าจากต่างประเทศ จํานวนโรงงานและแรงงาน ณ สิ้นปี พ.ศ. 2555 มีสถานประกอบการในอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้าที่จดทะเบียน กับกรมโรงงานอุตสาหกรรม (ข้อมูลล่าสุด มกราคม พ.ศ. 2556) มีจํานวน 960 โรงงาน เกิดการจ้างงาน 106,492 คน แบ่งตามประเภทอุตสาหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมฟอกหนัง มีจํานวนโรงงาน 188 โรง มีการ จ้างแรงงาน 7,945 คน อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง มีจํานวนโรงงาน 290 โรง มีการจ้างแรงงาน 27,807 คน และอุตสาหกรรมรองเท้า มีจํานวนโรงงาน 482 โรง และมีการจ้างแรงงาน 70,740 คน ทั้งนี้ มีสถานประกอบการจํานวนมากที่ไม่ได้จดทะเบียนไว้กับกรมโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจากประมาณการมี จํานวนสถานประกอบการในอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังทั้งสิ้นประมาณ 5,000 แห่ง และเกิดการ จ้างงานประมาณ 500,000 คน แผนภาพแสดงการจําแนกโรงงานอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้าของไทย

ที่มา : ศูนย์สารสนเทศโรงงานอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม


กระบวนการผลิต หนังฟอก กระบวนการผลิตหนังฟอกสําเร็จ (Finished Leather) ในอุตสาหกรรมฟอกหนัง สามารถแบ่งเป็น ขั้นตอน ใหญ่ ๆ คือ การเตรียมหนังก่อนฟอก การฟอก และการตกแต่ง ดังนี้

ที่มา : โครงการจัดทําแผนแม่บทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขารองเท้าและเครื่องหนัง) พ.ศ. 2545

เครื่องหนัง กระบวนการผลิตเครื่องหนังแต่ละประเภท มีขั้นตอนรายละเอียดในการผลิตที่แตกต่างกันตามชนิดของ ผลิตภัณฑ์ สามารถแบ่งขั้นตอนการผลิตร่วมกันได้ 3 ขั้นตอนหลัก คือ การเตรียมงาน การประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ และการ ตรวจสอบ ดังนี้

ที่มา : 1) สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 2) ศูนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3) โครงการจัดทําแผนแม่บทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขารองเท้าและเครื่องหนัง) พ.ศ. 2545

49


หลัก ๆ ดังนี้

3) กระบวนการผลิตรองเท้า กระบวนการผลิตรองเท้าของโรงงานขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก มีขั้นตอนการผลิต 5 ขั้นตอน

ที่มา : โครงการศึกษาการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต สาขารองเท้าแฟชั่น ปี พ.ศ. 2547

ศักยภาพในการผลิต/ขีดความสามารถในการแข่งขัน อุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้าของไทย มีศักยภาพในแต่ละส่วนต่างกัน โดยในส่วนอุตสาหกรรมฟอก หนัง มีชื่อเสียงเรื่องคุณภาพที่สามารถย้อมได้ดี มีลวดลายที่สวยงาม แต่ขาดแคลนวัตถุดิบจึงต้องนําเข้าจากต่างประเทศ นอกจากนี้การฟอกหนังจากสัตว์ที่หายาก (หนัง Exotic) เช่น หนังจระเข้ หนังปลากระเบน หนังปลาสลิด เป็นต้น โดยเฉพาะ หนังจระเข้ ประเทศไทยสามารถฟอกย้อมและมีคุณภาพดีเทียบเท่ากับหนังที่ฟอกย้อมในต่างประเทศ ประกอบกับมีความ เชื่อในการใช้หนังสัตว์หายากว่าหากใช้แล้วจะมีโชคลาภ จึงนับเป็นโอกาสสําคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ ในส่วนผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง ประเทศไทยมีความหลากหลายทั้งคุณภาพและประเภทของสินค้า มีความ พร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานทําให้สามารถผลิตสินค้าได้อย่างครบวงจร ตั้งแต่การฟอกหนัง ขึ้นรูปทรงเครื่องหนังเป็น ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น กระเป๋าเดินทาง กระเป๋าถือ กระเป๋าประเภทอื่น ๆ รองเท้า เข็มขัด เครื่องใช้สํานักงาน พวงกุญแจ จนถึง ของเล่นสัตว์เลี้ยงซึ่งเป็นการนําเศษหนังที่เหลือจากส่วนอื่น ๆ มาผลิต นอกจากนี้ในส่วนของการผลิตมีการใช้แรงงานเป็น ส่วนใหญ่ เนื่องจากสินค้าที่ผลิตเป็นสินค้าแฟชั่นมีความถี่ในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบผลิตภัณฑ์อยู่เสมอ หากใช้เครื่องจักร อาจจะเป็นการลงทุนที่สิ้นเปลือง ประกอบกับแรงงานมีความเชี่ยวชาญ มีประสบการณ์และมีทักษะในการผลิต ซึ่งได้รับการ ถ่ายทอดความรู้จากบริษัทต่างประเทศที่จ้างผลิต รวมทั้งแรงงานไทยมีความประณีต เก็บงานได้ละเอียดเหมาะกับสินค้า ตลาดระดับบน


จากภาพรวมศักยภาพข้างต้นแสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีศักยภาพในหลายด้านที่สามารถพัฒนาขีด ความสามารถได้ โดยเฉพาะแรงงานฝีมือที่มีความประณีตและมีประสบการณ์สูง แต่ขาดการพัฒนาด้านการออกแบบ ดัง นั้น ประเทศไทยจึงควรที่จะพัฒนาด้านการออกแบบสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และสร้างตราสินค้าให้เป็นที่ยอมรับทั่วโลกเพื่อเพิ่ม มูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์เครื่องหนังและรองเท้าของไทย ซึ่งศักยภาพของอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้าไทยสรุปได้ ดังนี้ � ศักยภาพในการเป็นฐานการผลิตรองเท้าหนัง ที่สําคัญในภูมิภาคให้กับบริษัทรองเท้าชั้น นําของโลก โดยเฉพาะรองเท้าหนังระดับกลางถึงระดับบน สําหรับตลาดผู้บริโภคในยุโรป และเอเชียโดยเฉพาะ จีน � ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์เอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าสําหรับการส่งออก สินค้าเครื่องหนังและรองเท้าไปยังประเทศต่าง ๆ ตลอดจนสามารถรองรับการกระจายสินค้าในการเปิด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 � แรงงานมีฝีมือและมีความประณีตในการผลิตเครื่องหนัง (hand-made) เนื่องจากแรงงาน ส่วนใหญ่มีประสบการณ์รับจ้างผลิตเป็นระยะเวลานาน และได้เรียนรู้เทคนิค (Know how) จากต่างประเทศ � เทคโนโลยีการฟอกหนังที่สามารถฟอกหนังได้ตามมาตรฐานที่ต่างประเทศกําหนด การ รวมกลุ่มเขตโรงฟอกหนังบริเวณจังหวัดสมุทรปราการ มีการแลกเปลี่ยนความรู้ก่อให้เกิดการพัฒนาร่วมกัน มี การพัฒนาและยกระดับมาตรฐาน ทําให้โรงงานฟอกหนังของไทยได้รับมาตรฐานตามต่างประเทศเป็นจุดแข็ง ของอุตสาหกรรมฟอกหนังในประเทศไทยที่ทําให้ต่างชาติยอมรับ � การรวมกลุ่มในพื้นที่เดียวกันในจังหวัดสมุทรปราการ เพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดการระบบ กําจัดน้ําเสียจากโรงงานฟอกหนังร่วมกัน ทําให้มีภาพลักษณ์ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ และมีมาตรฐานสิ่งแวดล้อมด้านน้ําทิ้งของอุตสาหกรรมสูง � กยภาพในการผลิตเครื่องหนังจากปลากระเบน หนังจระเข้ ซึ่งเป็นหนังสัตว์หายาก (Exotic Skin) โดยผู้บริโภคมีความต้องการหนังดังกล่าวเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับประเทศไทยมีภูมิอากาศและภูมิประเทศ ที่เหมาะสมในการเลี้ยงและมีความประณีตในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ ทําให้ผลิตภัณฑ์เครื่องหนังจากหนัง จระเข้และปลากระเบนมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายในต่างประเทศ

51


การนําเข้า-การส่งออก 1) การนําเขา ประเทศไทยมีการนําเข้าสินค้าวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้า และสินค้าสําเร็จรูปหลัก ๆ 3 ประเภท ได้แก่ หนังดิบและหนังฟอก กระเป๋า และรองเท้า โดยสินค้าประเภทหนังดิบและหนังฟอกมีสัดส่วนการนําเข้า สูงสุดในปี พ.ศ. 2555 มีมูลค่า 648.2 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 55.7 ของมูลค่าการนําเข้าเครื่องหนังและ รองเท้าทั้งหมด รองลงมาคือ กระเป๋า มีมูลค่าการนําเข้า 297.4 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 25.6 และรองเท้า มี มูลค่าการนําเข้า 217.2 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18.7 โดยนําเข้าผลิตภัณฑ์จากตลาดต่าง ๆ ดังนี้ � ตลาดนําเข้าหนังดิบและหนังฟอก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา มีมูลค่า 81.2 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 12.5 ของการนําเข้าหนังดิบและหนังฟอก รอง ลงมาคือ เนเธอร์แลนด์ มีมูลค่า 73.4 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 11.3 และ ออสเตรเลีย มีมูลค่า 51.5 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 7.9 � ตลาดนําเข้ากระเป๋า ได้แก่ จีน มีมูลค่า 152.6 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 51.3 ของการนําเข้ากระเป๋า รองลงมาคือ อิตาลี มีมูลค่า 57.1 ล้าน เหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 19.2 และฝรั่งเศส มีมูลค่า 49.8 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 16.7 � ตลาดนําเข้ารองเท้า ได้แก่ จีน มีมูลค่า 115.0 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 53.0 ของการนําเข้ารองเท้า รองลงมาคือ เวียดนาม มีมูลค่า 26.6 ล้าน เหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 12.3 และอิตาลี มีมูลค่า 18.9 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 8.7

ตารางแสดงมูลคาและสัดสวนการนําเขาเครื่องหนังและรองเทาที่สําคัญของไทย ป พ.ศ. 2555


2) การสงออก ประเทศไทยมีการสงออกรองเทาและเครื่องหนัง ในผลิตภัณฑหลัก ๆ 3 ประเภท โดยในป พ.ศ. 2555 มีมูลคา การสงออกรวม 1,684.9 ลานเหรียญสหรัฐ แบงเปน รองเทาและชิ้นสวน มีมลู คา 738.4 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวนรอยละ 43.8 รองลงมาคือ หนังและผลิตภัณฑหนังฟอก มีมูลคา 653.3 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวนรอยละ 38.8 และเครื่องใชสําหรับ เดินทาง มีมูลคา 293.2 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวนรอยละ 17.4 โดยสงออกผลิตภัณฑในแตละตลาด ดังนี้ � ตลาดสงออกหนังและผลิตภัณฑหนังฟอกและหนังอัด ไดแก ฮองกง มีมูลคา 111.3 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวนรอยละ 17.0 ของการสงออกหนังและ ผลิตภัณฑหนังฟอกและหนังอัด รองลงมาคือ จีน มีมูลคา 102.8 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวน รอยละ 15.7 และเวียดนาม มีมูลคา 94.8 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวนรอยละ 14.5 � ตลาดสงออกเครื่องใชสําหรับเดินทาง ไดแก สหรัฐอเมริกา มีมูลคา 70.7 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวนรอยละ 24.1 ของการสงออกเครื่องใชสําหรับเดินทาง รอง ลงมาคือ ญี่ปุน มีมูลคา 32.4 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวนรอยละ 11.1 และสวิตเซอรแลนด มี มูลคา 31.1 ลานเหรียญสหรัฐคิดเปนสัดสวนรอยละ 10.6 � ตลาดสงออกรองเทาและชิ้นสวน ไดแก สหรัฐอเมริกา มีมูลคา 102.9 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวนรอยละ 13.9 ของการสงออกรองเทาและชิ้นสวน รองลง มาคือ สหรัฐอาหรับเอมิเรสต มีมูลคา 62.0 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวนรอยละ 8.4 และสห ราชอาณาจักร มีมูลคา 54.5 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวนรอยละ 7.4 ตารางแสดงมูลคาและสัดสวนการสงออกเครื่องหนังและรองเทาที่สําคัญของไทย ป พ.ศ. 2555

ที่มา : ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร

การกระจุกตัว/การกระจายตัวของอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเทา อุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเทา สวนใหญรอยละ 78 กระจุกตัวในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล รองลงมา รอยละ 8 กระจายตัวในภาคกลาง รอยละ 5 กระจายตัวในภาคตะวันออก รอยละ 4 กระจายตัวในภาคเหนือและภาคตะวันออก เฉียงเหนือ และไมมีโรงงานเครื่องหนังและรองเทาในภาคใต

53


หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเครื่องหนังและรองเท้า 1) สมาคมอุตสาหกรรมฟอกหนัง 226 กม 30 หมู่ 1 ซ. ฟอกหนัง สุขุมวิท ต. ท้ายบ้าน อ. เมือง จ. สมุทรปราการ 10280 โทร 0 2703 9010 0 2703 8886 โทรสาร 0 2703 8431 E-mail : president@thaitanning.org ttia@thaitanning.org 2) สมาคมรองเท้าไทย 196/14 ถ.ประดิพัทธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร 0 2278 1525 โทรสาร 0 2278 1527 E-mail : thaifoot@hotmail.com 3) สมาคมส่งเสริมอุตสาหกรรมรองเท้าไทย อาคาร 6 เลขที่ 20 ถนนราชดําเนิน เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10230 โทร 08 6627 9998 08 8230 8835 08 8018 7797 โทรสาร 0 2224 4715 E-mail : info.atfip@gmail.com


4) สมาคมเครื่องหนังไทย 184/72 ชั้น 16 อาคารฟอรั่มทาวเวอร์ ถ.รัชดาภิเษก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 โทร 0 2645 3505-6 โทรสาร 0 2645 3509 E-mail : admin@thaileathergoods.net 5) กลุ่มอุตสาหกรรมรองเท้า สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ชั้น 4 โซน C ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ 60 ถ.รัชดาภิเษกตัดใหม่ คลองเตย กรุงเทพฯ 10100 โทร 0 2345 1171 โทรสาร 0 2345 1281-3 E-mail : jariyak@off.fti.or.th 6) กลุ่มหนังและผลิตภัณฑ์หนัง สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ชั้น 4 โซน C ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ 60 ถ.รัชดาภิเษกตัดใหม่ คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร 0 2345 1171 โทรสาร 0 2345 1281-3 E-mail : jariyak@off.fti.or.th

55


อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม


อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม อุตสาหกรรมสิง่ ทอและเครือ่ งนุง หม เปนอุตสาหกรรมทีม่ คี วามสําคัญตอเศรษฐกิจของประเทศไทย มีโครงสรางการ ผลิตทีม่ กี ารเชือ่ มโยงอยางครบวงจร ตัง้ แตอตุ สาหกรรมตนนําถึงปลายนํา อุตสาหกรรมตนนํา คือ อุตสาหกรรมการผลิตเสนใย อุตสาหกรรมกลางนํา คือ ปนดาย ทอผา ถักผา การฟอก ยอม พิมพ และแตงสําเร็จ และอุตสาหกรรมปลายนํา คือ อุตสาหกรรม เครื่องนุงหม โดยอุตสาหกรรมดังกลาวจะตองมีการเชื่อมโยงตอเนื่องกันและเปนการสงตอวัตถุดิบจากหนวยหนึ่งไปยังอีกหนวย หนึ่ง นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑผาไมถักไมทอ หรือนอนวูฟเวน (nonwoven) ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของอุตสาหกรรมกลางนํา เปนการผลิตผาผืนโดยตรงจากเสนใยไมผานขั้นตอนการทําเปนเสนดาย และอุตสาหกรรมตอเนื่องอื่น ๆ เชน ซิป กระดุม สียอม เปนตน โครงสรางการผลิต อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหมมีจํานวนโรงงาน 4,265 โรง กวารอยละ 95 เปนโรงงานขนาดกลางและขนาด ยอม ซึ่งหากแบงตามเงินลงทุน จะมีสัดสวนของโรงงานขนาดใหญ (เงินลงทุนเกิน 200 ลานบาท) รอยละ 4 ขนาดกลาง (เงิน ลงทุน 10 ลานบาท ถึง 199 ลานบาท) รอยละ 35 และโรงงานขนาดเล็ก (เงินลงทุนนอยกวา 10 ลานบาท) รอยละ 60 โดย จํานวนโรงงานดังกลาวกอใหเกิดการจางแรงงานในภาคการผลิตจํานวน 1,022,880 คน แบงเปนอุตสาหกรรมสิ่งทอ 227,000 คน และอุตสาหกรรมเครื่องนุงหม 795,880 คน สําหรับการ เชื่อมโยงของแตละอุตสาหกรรม มีรายละเอียด ดังนี้

1. อุตสาหกรรมเส้นใย การผลิ ต เส น ใยเป น จุ ด เริ่ ม ต น ของการผลิ ต วัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม จําแนกการ ผลิตได 2 ประเภท คือ การผลิตเสนใยธรรมชาติ และการผลิต เสนใยสังเคราะห (เสนใยประดิษฐ) โดยสวนใหญอุตสาหกรรม การผลิตเสนใยในไทยจะเปนการผลิตเสนใยสังเคราะห ปจจุบันมี จํานวน 15 โรงงาน เปนโรงงานขนาดใหญ มีกําลังการผลิตสูง มีการจางแรงงานในอุตสาหกรรม 13,300 คน ใชเทคโนโลยีและ เงินลงทุนคอนขางมาก ดังนั้น การลงทุนสวนใหญจึงเปนบริษัทขามชาติหรือเปนการรวมทุนระหวางผูประกอบการไทยและชาว ตางชาติ การผลิตเสนใยสังเคราะห วัตถุดิบที่ใช คือ โพลีเมอร ที่ไดจากการสังเคราะหสารเคมีในอุตสาหกรรมปโตรเคมี ซึ่งจะนําเขาเปนสวนใหญ โดยความตองการเสนใยสังเคราะหมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง จําเปนตองอาศัยการวิจัย และพัฒนาเสนใยอยางจริงจัง เพื่อผลิตเสนใยใหไดคุณสมบัติตามที่ลูกคาตองการและสอดคลองกับประโยชนที่จะนําไปใช ใน ประเทศไทยมีการผลิตเพียง 4 ชนิด คือ เรยอน อะคริลิก ไนลอน และ โพลิเอสเทอร การผลิตเสนใยธรรมชาติ สวนใหญจะเปนผูประกอบการรายยอยหรือการวิจัยและพัฒนาสินคาตนแบบ มากกวาการผลิตเพื่อภาคอุตสาหกรรม ซึ่งการผลิตเสนใยธรรมชาติจะเปนการผลิตโดยอาศัยวัตถุดิบตามธรรมชาติที่มีอยูใน ประเทศและพัฒนาเปนสินคาตนแบบหรือเปนการขายในทองถิ่น เพื่อตลาดเฉพาะกลุม เชน การผลิตเสนใยไหม การผลิตเสนใย กลวย การผลิตเสนใยสับปะรด เปนตน

57


2. อุตสาหกรรมปั่นด้าย การผลิตเสนดายแบงตามวัตถุดิบที่ใชได 2 แบบคือ การผลิตเสนดายธรรมชาติ และการผลิตเสนดายสังเคราะห โดยในกระบวนการผลิต หากเสนใยที่นํามาใชเปนเสนใยสั้น (Staple fiber) จะไดเสนดายชนิดเสนดายปน (Spun yarn) และ หากใชเสนใยยาว (Filament) จะไดเสนดายเปนเสนดายใยยาว (Filament yarn) สําหรับเบอรดายที่ยิ่งสูงเสนดายยิ่งละเอียด ซึ่งจะเปนตัวบงบอกหรือกําหนดราคาและคุณภาพของเสนดาย นอกจากนี้ในขั้นตอนการผลิตยังมีการตกแตงผิวเสนดายใยยาวให มีคุณสมบัติเฉพาะเหมาะแกการ ใชงาน เรียกวา เสนดายเท็กซเจอร (Textured yard) ที่มีความนุมนวลในการสัมผัสและดูดซึมนําไดดี ปจจุบันมีโรงงาน อุตสาหกรรมปนดายจํานวน 155 โรงงาน มีการจางแรงงาน 57,200 คน มีการลงทุนสูงและใชเทคโนโลยีระดับปานกลาง 3. อุตสาหกรรมทอผาและถักผา การทอผาและถักผาเปนการนําเอาเสนดายมาทําการถักหรือทอใหเปนผาผืน แบงการผลิตไดเปน 2 ประเภท คือ การผลิตผาผืนดวยการทอ และการผลิตผาผืนดวยการถัก โดยรูปแบบของอุตสาหกรรมการผลิตผาผืนตองพึ่งพาทั้ง เทคโนโลยีและแรงงานควบคูไปดวยกัน ผูประกอบการไทยสวนใหญยังใชเทคโนโลยีและเครื่องจักรในการผลิตที่ไมทันสมัยมาก นัก ทําใหขนาดของโรงงานทอผาและถักผามีตั้งแตขนาดเล็กจนถึงโรงงานขนาดใหญ ซึ่งปจจุบันอุตสาหกรรมทอผามีจํานวน โรงงาน 601 โรง มีการจางแรงงาน 52,160 คน และอุตสาหกรรมถักผามีจํานวนโรงงาน 697 โรง มีการจางแรงงาน 62,400 คน คิดเปนรอยละ 11.2 ของจํานวนแรงงานทั้งหมดในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม 4. อุตสาหกรรมฟอก ยอม พิมพ และตกแตงสําเร็จ การฟอก ยอม พิมพ และตกแตงสําเร็จ เปนขั้นตอนการผลิตที่สามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับผาผืน โดยการนํา ผาผืนมาปรับแตงใหไดคุณสมบัติตามที่ผูบริโภคตองการ ซึ่งขั้นตอนการผลิตเริ่มจากการเตรียม (Pretreatment) การยอมสี (Dyeing) การพิมพลายลงบนผาผืน (Printing) และการตกแตงสําเร็จ เพื่อสรางคุณสมบัติเพิ่มเติมใหผาผืน เพื่อความสวยงาม เชน การขัดมัน การตะกุยขน เปนตน หรือเพื่อประโยชนการใชงาน เชน การปองกันแบคทีเรีย กันยุง กันนํา เปนตน โดยการ ประกอบธุรกิจในอุตสาหกรรมนี้ตองอาศัยทั้งความสามารถในการผลิตและการออกแบบสรางสรรคเพื่อใหเกิดสีสันและลายผา ที่สอดคลองกับความตองการของลูกคาและแนวโนมของแฟชั่น ซึ่งจะเปนวัตถุดิบสําคัญสําหรับอุตสาหกรรมเครื่องนุงหมตอไป ปจจุบันอุตสาหกรรมฟอก ยอม พิมพ และตกแตงสําเร็จ มีจํานวนโรงงาน 388 โรง มีการจางแรงงาน 41,940 คน คิดเปนรอยละ 4.3 ของจํานวนแรงงานทั้งหมดในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม เทคโนโลยีที่ใชในการผลิตแบงเปน 2 ประเภท คือ การผลิตแบบตอเนื่อง (Continuous Process) และการ ผลิตแบบไมตอเนื่อง (Batch Process) ในสวนของเทคโนโลยีการผลิตแบบตอเนื่องมีเฉพาะในโรงงานขนาดใหญที่มีการผลิตครบ วงจร คือ ตั้งแตการปนดายจนถึงการผลิตเสื้อผาสําเร็จรูป ซึ่งมีเพียง รอยละ 10 ของจํานวนโรงงานทั้งหมด เกิดจากการลงทุนของชาวตางชาติหรือการรวมทุนกับตางชาติ โดยเทคโนโลยีดังกลาว เหมาะสําหรับการผลิตในปริมาณมาก พึ่งพาแรงงานนอย ตนทุนการผลิตตํา ไดผาที่มีคุณภาพสมําเสมอ ปจจุบันผูประกอบกําลัง ประสบปญหาเรื่องคาใชจายที่เพิ่มสูงขึ้น จากการปรับปรุงระบบบําบัดนําเสียใหมีประสิทธิภาพ และตรงตามมาตรฐานระบบ ISO 14000 เพื่อรักษาสิ่งแวดลอม สําหรับเทคโนโลยีการผลิตแบบไมตอเนื่อง มีใชในโรงงานขนาดกลางและเล็ก ซึ่งบางโรงงาน อาจมีขั้นตอนการผลิตที่ครบวงจร หรือมีเฉพาะบางขั้นตอน โดยเทคโนโลยีนต้ี อ งพึง่ พาบุคลากรทีม่ คี วามรู ความชํานาญ และ ประสบการณดา นเคมีสง่ิ ทอ (Labor Intensive) เนือ่ งจากการใชสแี ละสารเคมีจะขึน้ อยูก บั เสนใยทีใ่ ชในการผลิตผาชนิดนัน้ ๆ ซึ่ง ตองอาศัยประสบการณจากการปฏิบัติจริง นอกจากนี้ปญหาจากเครื่องจักรที่มีอายุการใชงานนาน และตนทุนบุคลากรที่สูงขึ้น สงผลใหประสิทธิภาพในการผลิตของโรงงานขนาดเล็กมีตํา ทําใหไมสามารถพัฒนาระบบการผลิตไดมากนัก


5) อุตสาหกรรมเครื่องนุงหม การผลิตเครื่องนุงหมเปนอุตสาหกรรมขั้นปลายนําที่เนนการใชแรงงาน (Labor Intensive) ใชเงินลงทุนนอย และ ใชเทคโนโลยีการผลิตที่ไมซับซอน สามารถสรางมูลคาเพิ่มใหแกผลิตภัณฑไดคอนขางสูง แตการผลิตขึ้นอยูกับการออกแบบ คุณภาพวัตถุดิบ และคุณภาพแรงงาน โดยที่ผานมาประเทศไทยอาศัยความไดเปรียบดานคาจางแรงงาน ทําการผลิตตามคําสั่ง ซื้อจากตางประเทศและสงออกภายใตชื่อของสินคาตางประเทศ แตจากนโยบายของรัฐบาลสงผลใหคาแรงงานสูงขึ้นทําใหเกิด การยายฐานการผลิตไปยังประเทศเพื่อนบานเพื่ออาศัยความไดเปรียบดานแรงงานที่ถูกกวา ดังนั้น ไทยจําเปนอยางยิ่งที่จะตอง เรงพัฒนาดานการออกแบบผลิตภัณฑเพื่อสรางตราสินคา (brand name) ของไทยเอง และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตใหมีความ รวดเร็ว และแมนยํามากขึ้น เชน การใช CAD (Computer Aided Design) และ CAM (Computer Aided Manufacturing) เพื่อชวยในการเตรียมงานและลดการสูญเสียของปริมาณวัตถุดิบที่ใช ปจจุบันอุตสาหกรรมเครื่องนุงหมประกอบดวยผูประกอบ การทั้งขนาดเล็กจนถึงผูประกอบการขนาดใหญที่พยายามสรางตราสินคาเปนของตัวเอง มีโรงงานจํานวน 2,409 โรง และมีการ จางแรงงาน 795,880 คน คิดเปนรอยละ 77.7 ของแรงงานทั้งหมดในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม นอกจากนี้ยังมีการผลิตสินคาสิ่งทออื่น ๆ เชน เคหะสิ่งทอ (Home Textile) ที่เนนประโยชนเพื่อการใชสอยและ ตกแตงภายในบานเรือน ที่พักอาศัย ประกอบดวยสินคาหลากหลายประเภท เชนพรมปูพื้นและตกแตงผนัง ผาหม ผามาน ผาที่ใช ในหองนอน หองนํา และหองครัว อาทิ ผาปูที่นอน หมอน ผาคลุมเตียง ผามาน ผาปูโตะ เปนตน แผนภาพโครงสรางการผลิตของอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม

59


กระบวนการผลิต 1) อุตสาหกรรมต้นน้ํา • อุตสาหกรรมเสนใย กระบวนการผลิตเสนใยเรยอน (สังเคราะห) นําเขาฝาย 87.0%

เยื่อไม เศษใยฝาย ปโตรเคมี นําเขาเกือบทั้งหมด

ลางฟอกใหสะอาด

แอมโมเนีย ออกไซดทองแดง โซเดียมไฮดรอกไซด อกไซด

กระบวนการทําใหเปนของเหลว กรอง

การนําน้ํายาเคมีกลับมาใชใหม

หมักและขจัดอากาศ กระบวนการปนเสนใย

น้ําเสีย

การกําจัดทองแดง เสนใย

2) อุตสาหกรรมกลางนํา • อุตสาหกรรมปนดาย

กระบวนการปนดาย การเปด ผสม และทําความสะอาดเสนใย

การทําแผนมวนสไลเวอร

การสางใย

การทําแผนมวนรีด

การรีดปุย การปนดายแบบ O.E

การหวี การทําโรฟวิง*

การรีดปุย

การทําโรฟวิง

การปนดายแบบวงแหวน

การปนดายแบบวงแหวน

การกรอดาย

การกรอดาย

ดายหวี *

ดายสาง*

ดาย O.E.*

หมายเหตุ : การทําโรฟวิง* คือ การลดขนาดสไลเวอรลง เสนใยขนานกันมากขึ้น ดายหวี* คือ การปนเสนดายความละเอียดสูง โดยกําจัดเสนใยสั้นออกไป ทําใหเสนดายที่ไดมีความแข็งแรง เรียบ คุณภาพดี ราคาแพงดายสาง เปนการสางเสนใยโดยขจัดสิ่งสกปรกเจือปน แลวผานเครื่องสางโดยจัดเรียงเสนใยใหยืดออกมากที่สุด เรียงตัวเหยียดตามความยาวเครื่องสาง ดาย O.E.* คือ การปนดายโดยลดขั้นตอนการทําโรฟวิง ตีเกลียวไมใชระบบวงแหวน ทําใหเสนใยเปดตัว แลวรวมตัวพรอมเกิดเกลียวขึ้น โดยอาศัยแรงหนีศูนยกลาง ของระบบหมุนเหวี่ยงอยางรวดเร็ว ที่มา : อุตสาหกรรมสิ่งทอไทย โดย รศ.ดร.วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา


61


 อุตสาหกรรมทอผ้า กระบวนการเตรียมด้ายสําหรับทอผ้า การกําหนดโครงสร้างผ้า การออกแบบลาย การผลิตเส้นด้าย

เส้นด้ายพุ่ง

เส้นด้ายยืน

การกรอด้าย

การกรอด้าย การสืบด้าย การลงแป้ง

การทอผ้า

 อุตสาหกรรมฟอก ย้อม พิมพ์ และตกแต่งสําเร็จ ประกอบด้วยกระบวนการย้อมเส้นด้าย ย้อมผ้าถัก และผ้าทอ การพิมพ์ผ้า และการตกแต่งสําเร็จ

กระบวนการย้อมเส้นด้าย กระบวนการที่ 1

กระบวนการที่ 2

เส้นด้ายดิบจากลูกค้ า

เส้นด้ายดิบจากลูกค้ า

กรอด้ายเข้าแกนหลอด

เผาขน

ลอกแป้ง กําจัดสิ่งสกปรก ฟอกขาว

สาวเป็นไจ ชุบมัน

บรรจุ

บรรจุ

ย้อม

ย้อมแบบ hank

กรอด้าย

กรอด้าย

อบแห้ง

ย้อม

อบแห้ง

ที่มา : อุตสาหกรรมสิ่งทอไทย โดย รศ.ดร.วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา


กระบวนการย้อมผ้าถัก กระบวนการที่ 1

ผ้าดิบจากลูกค้า

กระบวนการที่ 2*

ผ้าดิบจากลูกค้า

ลอกแป้ง กําจัดสิ่งสกปรก ฟอกขาว

ชุบมัน

ย้อม

อบแห้ง

อบแห้ง

(ตกแต่งสําเร็จ)

(ตกแต่งสําเร็จ)

บรรจุ

ย้อม

บรรจุ

หมายเหตุ : 1. กระบวนการที่ 2 จะใช้กับผ้าฝ้าย 100 % 2. กระบวนการตกแต่งสําเร็จขึ้นกับความต้องการของลูกค้า ซึ่งจะตกแต่งนุ่ม ปรับแต่งผิวสัมผัส เป็นต้น

กระบวนการย้อมผ้าทอ

กระบวนการที่ 1

กระบวนการที่ 2

กระบวนการที่ 3

ผ้าดิบจากลูกค้า

เส้นด้ายดิบจากลูกค้า

เส้นด้ายดิบจากลูกค้า

ลอกแป้ง กําจัดสิ่งสกปรก ฟอกขาว

ชุบมัน

ลอกแป้ง กําจัดสิ่งสกปรก ฟอกขาว

ย้อม

ลอกแป้ง กําจัดสิ่งสกปรก ฟอกขาว

เซทด้วยความร้อน

อบแห้ง

ย้อม

ย้อม

(ตกแต่งสําเร็จ)

อบแห้ง

อบแห้ง

บรรจุ

(ตกแต่งสําเร็จ)

(ตกแต่งสําเร็จ)

บรรจุ

บรรจุ

หมายเหตุ : 1. กระบวนการที่ 1,2 และ 3 อาจเพิ่มการเผาขนก่อนการลอกแป้งขจัดสิ่งสกปรก และฟอกขาว 2. กระบวนการที่ 1,2 จะใช้กับผ้าฝ้าย 100 % 3. กระบวนการที่ 3 จะใช้กับผ้าโพลีเอสแทอร์ 100 % หรือผ้าใยผสมโพลีเอสเทอร์และฝ้าย (T/C) 4. กระบวนการตกแต่งสําเร็จขึ้นกับความต้องการของลูกค้า ซึ่งจะตกแต่งนุ่ม กันยับ กันไฟ กันหด เป็นต้น ที่มา : อุตสาหกรรมสิ่งทอไทย โดย รศ.ดร.วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา

63


กระบวนการพิมพ์ผ้า ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 2

ออกแบบลาย (ลอกลาย)

ผ้าที่ผ่านการฟอก หรือ เมอร์เซอไรส์จากลูกค้า

เขียนฟิลม์ แยกฟิลม์

พิมพ์ อบและผนึกสี

ทําสกรีน

(ซักล้าง) (ทําให้แห้ง) (ตกแต่งสําเร็จ) บรรจุ

กระบวนการแต่งสําเร็จ ตกแต่งเพื่อความสวยงาม

เส้นใย เส้ นด้าย ผ้าผืน การขัดมัน การลงแป้งและการเคลือบ การตะกุยขน

ตกแต่งเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะด้าน ได้แก่ 1. การตกแต่งให้คงรูป 2. การตกแต่งต้านการยับ 3. การซักและใส่ 4. การอัดถาวร 5. การตกแต่งสะท้อนน้ํา 6. การตกแต่งต้านการหน่วงไฟ 7. การตกแต่งกันไฟฟ้าสถิตย์ 8. การตกแต่งไม่จับฝุ่น 9. การตกแต่งดูดซับความชื้น 10. การตกแต่งให้ทนเปื้อน 11. การตกแต่งต้านแบคทีเรีย 12. การตกแต่งผ้าให้มีกลิ่นหอม

ที่มา : อุตสาหกรรมสิ่งทอไทย โดย รศ.ดร.วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา


3) อุตสาหกรรมปลายน้ํา  อุตสาหกรรมเครื่องนุง่ ห่ม กระบวนการผลิตเสื้อผ้าสําเร็จรูป (ในโรงงานอุตสาหกรรม)

รับคําสั่งซื้อจากลูกค้า ตรวจผ้า/ทดสอบผ้า สร้างแบบตัด (แพทเทริ์น) ปูผ้า

ส่งมอบสินค้า

ตัดผ้า

ตรวจสอบคุณภาพงาน

ตกแต่งชิ้นงาน

การเย็บ

ศักยภาพในการผลิต/ขีดความสามารถในการแข่งขัน อุตสาหกรรมสิง่ ทอและเครื่องนุ่งห่มของไทยเป็นอุตสาหกรรมที่มีมายาวนาน และมีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง จนทําให้ศักยภาพของผู้ประกอบการไทยสามารถพัฒนาสูก่ ารเป็นผู้ส่งออก และได้รับความไว้ วางใจจากต่างประเทศ รวมทัง้ มีบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมจํานวนมากที่สามารถสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ ไทย โดยปัจจัยสําคัญที่จะส่งเสริมให้อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มของไทยสามารถเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง จําเป็นต้องอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการพัฒนาขีดความสามารถอย่างต่อเนื่องด้วยเช่นกัน เพื่อให้ คงความได้เปรียบและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันในสถานการณ์เศรษฐกิจและการค้าในปัจจุบัน ซึ่งศักยภาพ ของอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มไทยสรุปได้ ดังนี้  นักออกแบบไทยมีศักยภาพเป็นที่ยอมรับในระดับสากล และมีการส่งเสริมพัฒนานักออกแบบ รุ่นใหม่อย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านของหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาและหลักสูตรการอบรมระยะ สั้น รวมทั้งการสร้างความเชื่อมโยงกับสถาบันการออกแบบจากต่างประเทศ  ผู้ประกอบการเคหะสิ่งทอของไทยมีศักยภาพในการขยายตลาดและพัฒนาสู่ระดับสากล เนื่องจากกระบวนการผลิตมีความยืดหยุ่น สามารถเข้าถึงลูกค้า และมีการใช้วัตถุดิบและสีย้อมจากธรรมชาติ

65


อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มของไทยมีการผลิตครบวงจร ตั้งแต่อุตสาหกรรมต้นน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา ทําให้ลดต้นทุนในการขนย้าย ลดระยะเวลาในการผลิต และสามารถวิจัยและพัฒนา สินค้าได้ตั้งแต่วัตถุดิบ เพื่อให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า  แรงงานในอุตสาหกรรมสิง ่ ทอและเครื่องนุ่งห่มไทยมีประสิทธิภาพในการผลิตค่อนข้างสูง และมีคุณภาพการผลิตที่ประณีตเมื่อเปรียบเทียบกับแรงงานในภูมิภาคอาเซียน  ชื่อเสียงและความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการไทยในสายตาชาวต่างชาติ มีประสบการณ์ ด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอมายาวนานกว่า 50 ปี  มีการสร้างความร่วมมือกันระหว่างกลุ่มผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม รวมทั้งระหว่าง ภาครัฐและเอกชน ทําให้สามารถช่วยกันพัฒนาอุตสาหกรรมได้อย่างครบวงจร เช่น การตั้งสมาคมอุตสาหกรรม เส้นใยสังเคราะห์ สมาคมอุตสาหกรรมทอผ้าไทย สมาคมอุตสาหกรรมสิง่ ทอไทย 

การนําเข้า–การส่งออก 1) การนําเข้า ประเทศไทยมีการนําเข้าสินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มจากต่างประเทศหลายชนิด ได้แก่ ผ้าผืน เส้นใย เส้นด้าย เครื่องนุ่งห่ม และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ เพื่อจําหน่ายในประเทศ และผลิตเป็นสินค้า สําเร็จรูปเพื่อใช้ในประเทศและส่งออก โดยส่วนใหญ่จะนําเข้าผ้าผืนเป็นสินค้าหลัก มีมูลค่าการนําเข้า 1,837.6 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ 37.3 ของการนําเข้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มทั้งหมดในปี พ.ศ. 2555 รองลงมาคือ เส้นใย มีมูลค่าการนําเข้า 1,106 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ 22.4 และเส้นด้าย มีมูลค่า 1,045.6 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ 21.2 ตามลําดับ นอกจากนี้ในส่วนเครือ่ งนุ่งห่มและผลิตภัณฑ์สิ่ง ทออื่น ๆ มีมูลค่าการนําเข้า 943.3 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ 19.1 ตารางแสดงมูลค่าและสัดส่วนการนําเข้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2555 สินค้า

มูลค่า/สัดส่วนการนําเข้า อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 ล้านเหรียญสหรัฐ / % ล้านเหรียญสหรัฐ / % ล้านเหรียญสหรัฐ / % ล้านเหรียญสหรัฐ / %

ผ้าผืน

1,837.6

37.3

จีน

869.9 47.3

ไต้หวัน

227.8 12.4

ญี่ปุ่น

150.3 8.2

เส้นด้าย

1,106.5

22.4

จีน

316.4 14.7

ญี่ปุ่น

240.8 11.2

สหรัฐอเมริกา

229.8 10.7

เส้นใย

1,045.6

21.2

สหรัฐอเมริกา

202.7 19.4

ออสเตรเลีย

197.1 18.9

บราซิล

170.1 16.3

เครื่องนุ่งห่ม

544.1

11.0

จีน

307.9 56.6

ญี่ปุ่น

24.1 4.4

ฮ่องกง

20.0 3.7

สิ่งทออื่นๆ

399.2

8.1

จีน

177.6 44.5

ญี่ปุ่น

41.2 10.3

สิงคโปร์

31.1 7.8

รวม

4,933.0

100.0

ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง


2) การสงออก

การสงออกสินคาสิ่งทอและเครื่องนุงหมของไทยในภาพรวมเพิ่มขึ้น โดยในป พ.ศ. 2555 มีมูลคาการสงออก 7,222.6 ลานเหรียญสหรัฐ สินคาหลัก คือ เครื่องนุงหม มีมูลคารวม 2,949.7 ลานเหรียญ สหรัฐ หรือคิดเปนรอยละ 41 ของ การสงออกสิ่งทอและเครื่องนุงหม รองลงมา คือ ผาผืน มีมูลคาการสงออก 2,299.6 ลานเหรียญสหรัฐ หรือคิดเปนรอยละ 31.8 และเสนดาย มีมูลคาการสงออก 834.3 ลานเหรียญสหรัฐ หรือคิดเปนรอยละ 11.6 ของการสงออกสิ่งทอและเครื่องนุงหม นอกจากนี้มีการสงออกสินคาสิ่งทอและเครื่องนุงหมอื่น ๆ เชน เสนใย ผลิตภัณฑสิ่งทออื่น ๆ และเคหะสิ่งทอ เปนตน ปจจุบัน อุตสาหกรรมดังกลาว กําลังเผชิญกับการแขงขันที่รุนแรงขึ้นเปนลําดับ โดยเฉพาะจากคูแขงขันที่มีความไดเปรียบดานตนทุน คาแรงงานที่ตํากวา สําหรับประเทศคูแขงที่สําคัญของไทย ไดแก จีน มีการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหมอยางรวดเร็ว ภายหลังจากที่จีนเปดรับการลงทุนจาก ตางประเทศตั้งแตป พ.ศ. 2522 เปนตนมา ประกอบกับรัฐบาลจีนสนับสนุนใหอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม ปรับเปลี่ยน เครื่องจักรใหทันสมัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพดานการผลิต นอกจากนี้จีนยังได เปรียบดานคาจางแรงงานที่ตําและตลาดภายใน ประเทศมีขนาดใหญ รวมทั้งสามารถผลิตวัตถุดิบไดหลายชนิด ตั้งแตระดับตนนํา โดยเฉพาะฝาย ไหม และขนสัตว อินโดนีเซีย มีความไดเปรียบในการผลิตอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม เนื่องจากมีแรงงานจํานวนมาก และมีคาจางแรงงานถูก มีตนทุนพลังงานตํา รวมทั้งรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการตั้งกองทุนเงินกู แบบผอนปรนแกกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ทําใหประเทศอินโดนีเซียเปนประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตสิ่งทอที่นา จับตามองอีกประเทศหนึ่ง เวียดนาม เปนประเทศผูผลิตสิ่งทอที่มีศักยภาพการขยายตัวสูง แมวาในปจจุบันเวียดนามยังมีสวนแบงใน ตลาดสิ่งทอและเครื่องนุงหมโลกไมมากนัก แตจากการที่เวียดนามมีแรงงานจํานวนมากและมีคาจางแรงงานถูก เปนปจจัย สําคัญที่เกื้อหนุนตอการผลิตอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม นอกจากนี้รัฐบาลเวียดนามยังมีนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรม อยางจริงจัง ดวยการสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศ ทําใหนักลงทุนตางชาติยายฐานการผลิตเขาไปยังประเทศเวียดนาม จํานวนมาก ตารางแสดงมูลคาและสัดสวนการสงออกสิ่งทอและเครื่องนุงหมของประเทศไทย ป พ.ศ. 2555

สินคา

มูลคา/สัดสวนการสง ออก ลานเหรียญสหรัฐ / %

เครื่องนุงหม

2,949.7

40.8

ผาผืน

1,465.3

20.3

เสนดาย

834.3

11.6

เสนใย

774.8

10.7

เคหะสิ่งทอ

293.0

4.1

สิ่งทออื่นๆ

905.4

12.5

รวม

7,222.6

100.0

อันดับ 1

อันดับ 2

อันดับ 3

ลานเหรียญสหรัฐ / % 1,016.9 สหรัฐอเมริกา 34.5 183.5 เวียดนาม 12.5 112.2 จีน 13.5 178.6 อินโดนีเซีย 23.1 61.3 สหรัฐอเมริกา 20.9 110.2 ญี่ปุน 12.2

ลานเหรียญสหรัฐ / % 368.5 ญี่ปุน 12.5 107.2 บังกลาเทศ 7.3 105.0 บราซิล 12.6 112.9 เวียดนาม 14.6 50.7 ญี่ปุน 17.3 80.3 จีน 8.9

ลานเหรียญสหรัฐ / % 136.6 เยอรมนี 4.6 103.7 พมา 7.1 88.7 ญี่ปุน 10.6 63.8 ตุรกี 8.2 35.8 ออสเตรเลีย 12.2 56.0 อินเดีย 6.2

ที่มา : กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ โดยความรวมมือของกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง

67


การกระจุกตัว/การกระจายตัวของอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม สวนใหญรอยละ 64 กระจุกตัวในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล รองลงมา รอยละ 14 กระจายตัวในภาคกลาง รอยละ 8 กระจายตัวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจายตัวนอยที่สุดในภาคใตเพียงรอย ละ 1 หรือมีประมาณ 40 โรงงาน


หนวยงานที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม 1) สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ซอยตรีมิตร ถ.พระรามที่ 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร 0 2713 5492-9 โทรสาร 0 2712 4592-3 เว็บไซต : www.thaitextile.org 2) สมาคมอุตสาหกรรมผลิตภัณฑใยสังเคราะห 128/123 อาคารพญาไทพลาซา หองหมายเลข J ชั้น 11 ถนนพญาไท แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร 0 2216 5739-40 โทรสาร 0 2216 5755 เว็บไซต : www.thaitextile.org/tsma 3) สมาคมอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย 454-460 ถ. สุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร 0 2258 2023, 0 2258 2044 โทรสาร 0 2260 1525 เว็บไซต : www.thaitextile.org 4) สมาคมอุตสาหกรรมทอผาไทย 54/87-88 หมู 5 ถ. พระราม 2 แขวงจอมทอง เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทร. 0 2427 6668-9 โทรสาร 0 2427 6669 เว็บไซต : www.thaiweaving.org 5) สมาคมอุตสาหกรรมฟอกยอมพิมพและตกแตงสิ่งทอไทย 128/123 อาคารพญาไทพลาซา หองหมายเลข J ชั้น 11 ถ.พญาไท แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2129 3965–6 โทรสาร 0 2229 3431-2 เว็บไซต : www.atdptextile.org 6) สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องนุงหมไทย 127/36 ปญจธานีทาวเวอร ชั้น 31 ถ. นนทรี แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0 2681 2222 โทรสาร 0 2681 0231-2 เว็บไซต : www.thaigarment.org 7) สมาคมไหมไทย อาคารสํานักพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ ซอยตรีมิตร กลวยนําไท ถ. พระราม 4 เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0 2712 4328 โทรสาร 0 2391 2896 เว็บไซต : www.thaitextile.org/tsa 8) สมาคมพอคาผาไทย 562 อาคารเอสพรีม ชั้น 4 ถนนสุรวงศ เขตสัมพันธวงศ กรุงเทพฯ 10100 โทร. 0 2622 6711-3 โทรสาร 0 2622 6714-4 เว็บไซต : info@thaitextilemerchant.org 9) ประธานศูนยบริการสงออกโบเบ 13-15 ตลาดโบเบ แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 0 2223 6791 โทรสาร 0 2221 4996 10) ประธานกลุมสิ่งทอ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ชั้น 4 โซน C ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ 60 ถ.รัชดาภิเษกตัดใหม คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0 2229 4255 โทรสาร 0 2229 4941-2 11) ประธานกลุมเครื่องนุงหม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ชั้น 4 โซน C ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ 60 ถ.รัชดาภิเษกตัดใหม คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0 2229 4255 โทรสาร 0 2229 4941-2 ---------------------

69


อุตสาหกรรมอาหาร


อุตสาหกรรมอาหาร 1. ภาพรวมของอุตสาหกรรม นิยาม อุตสาหกรรมอาหาร (Food industry) หมายถึง อุตสาหกรรมที่นําผลผลิตจากภาคเกษตร ไดแก ผลผลิตจากพืช ปศุสัตว และ ประมง มาใชเปนวัตถุดิบหลักในการผลิต โดยอาศัยเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร และการถนอมอาหาร ตลอดจนครื่องจักร อุปกรณที่ใชแปรรูปอาหาร (food processing equipment) บรรจุภัณฑอาหาร (packaging) เพื่อผลิตผลิตภัณฑอาหารปริมาณ มาก มีคุณภาพสมําเสมอ สะดวกตอการบริโภค หรือการนําไปใชในขั้นตอไป และเปนการยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตจาก พืช ปศุสัตว และประมง ผลิตภัณฑอาหาร อาจผานกระบวนการแปรรูปขั้นตน หรือขั้นกลางเปนสินคากึ่งสําเร็จรูป หรือขั้นปลาย ที่เปนผลิตภัณฑสําเร็จรูป โครงสรางการผลิต โครงสรางการผลิตอุตสาหกรรมอาหาร โดยทั่วไปจะเปนวงจรการผลิตตลอดกระบวนการที่เรียกวาสายโซอาหาร (Value Food Chain) นับตั้งแตพันธุพืช/สัตวมาสูการเพาะปลูก/เพาะเลี้ยง/ผลิตในพื้นที่ภาคการเกษตรจนกลายมาเปนวัตถุดิบเพื่อ ปอนสูโรงงาน ผานกระบวนการผลิตจนเปนสินคาอาหารกึ่งสําเร็จรูป/สําเร็จรูปปอนสูตลาดผานชองทางการคาตางๆ จนถึงผู บริโภค โดยตลอดสายโซอาหารในปจจุบันใหความสําคัญกับความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) ที่มีการกําหนดและตรวจ สอบคุณภาพ มาตรฐานของทั้งวัตถุดิบจนถึงสินคาอาหารขั้นสุดทายถึงผูบริโภคตลอดสายโซที่สามารถตรวจสอบยอนกลับได (Traceability) ในทุกขั้นตอน การแบงโครงสรางอุตสาหกรรมอาหารออกเปนตนนํา กลางนํา และปลายนํา สามารถสรุปได ดังนี้ อุตสาหกรรมอาหาร ตนนํา กลางนํา ปลายนํา

ประเภท/ตัวอยางผลิตภัณฑ/สินคา ผลผลิตทางการเกษตรเบื้องตน การประมง และการเลี้ยงสัตว เชน ขาว พืชสวน พืชไร สัตวนํา /ทะเล/แชเย็นแชแข็ง เนื้อสัตวสด/แชเย็นแชแข็ง ผักผลไมสด/ แชเย็นแชแข็ง มันสําปะหลังเสน อุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร อาหารทะเลแปรรูป เนื้อสัตวแปรรูป ผักผลไมแปรรูป นํามันพืช นําตาล แปงมันสําปะหลัง อาหารสําเร็จรูป ธุรกิจบริการอาหาร (Food Service) เชน รานอาหาร โรงแรม หางสรรพสินคา ประเภทตางๆ และการขนสง

โครงสรางของอุตสาหกรรมอาหาร หากแบงตามประเภทโรงงานตามบัญชีทายกฎกระทรวงที่ออกตาม พ.ร.บ. โรงงาอุตสาหกรรม พ.ศ. 2535 และแบงตามการจัดกลุมของสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย โดยไดแบงกลุมอุตสาหกรรมอาหาร ออกเปน 12 สาขายอย ดังนี้

71


1) เนื้อสัตวและผลิตภัณฑ ประกอบดวยสินคา คือ ผลิตภัณฑ จากเนื้อหมู เนื้อวัว กระบือ ไก เปด หาน นกทุกประเภท แพะ แกะ จระเข กบ เตา ตะพาบ ไขรังนก และอื่นๆ โดยสินคาสําคัญกลุมนี้ ไดแก ไกแชเย็นแชแข็ง สินคาสําเร็จรูปจากเนื้อไกและเนื้อหมู เชน ไสกรอกแฮม เบคอน ลูกชิ้น หมูหยอง แหนม และหมูแผน เปนตน 2) ผลิตภัณฑประมง ประกอบดวยสินคา คือ ผลิตภัณฑจากสัตวนํ้าจืดและนํ้าเค็ม เชน ปลา กุง หอย ปู ปลาหมึก กั้ง ปลิงทะเล แมงกะพรุน ฯลฯ รวมปลาปนสําหรับมนุษย โดยสินคาที่สําคัญในกลุมนี้ ไดแก อาหารทะเลแชเยือกแข็ง ปลากระปอง อาหารทะเลอบแหง และอาหารทะเลกระปอง เปนตน 3) ผักผลไมสดและแปรรูป ประกอบดวยสินคา คือ ผัก และผลไมตางๆ ทั้งในรูปผลสด แหง แชอิ่ม แปรรูปอื่นๆ และ นํ้าผัก นําผลไม รวมถึงสาหราย หัวหอม กระเทียม พริกไทยสด ถั่ววอลนัต มะมวงหิมพานต โดยสินคาที่สําคัญในกลุมนี้ ไดแก สับปะรดกระปอง นําสับปะรด ผักผลไมแชเย็น ผักผลไมแชเยือกแข็ง ผักผลไมกระปอง ผักผลไมอบแหงแชอิ่ม และนํ้าผลไมอื่น 4) แปงและผลิตภัณฑจากแปง ประกอบดวยแปง (flour) หรือสตารซ (starch) ที่ไดจากเมล็ดธัญพืชและพืชหัว โดย สินคาสําคัญในกลุมนี้ ไดแก แปงขาวเจา แปงขาวเหนียว แปงมันสําปะหลัง เสนหมี่ และบะหมี่กึ่งสําเร็จรูป (instant noodle) 5) เครื่องเทศ เครื่องปรุงรส ประกอบดวยสินคา คือ กระเทียมผล พริกไทยปนเม็ด กระวาน กานพลู อบเชย ลูกและดอก จันทรเทศ เมล็ดผักชี ขิง ขมิ้น เครื่องเทศผสมอื่นๆ เครื่องปรุงรสเชน นํ้าปลา นํ้าสมสายชู ซอสพริก ซอสมะเขือเทศ ซีอิ๊ว เตาเจี้ยว กะป เครื่องแกงสําเร็จรูป ผงปรุงรส 6) นมและผลิตภัณฑนม ประกอบดวยสินคา คือ นมสด นมพาสเจอไรซ (pasteurized milk) นมเปรี้ยว นมอัดเม็ด นมผง นมขนหวาน โยเกิรต ครีม เนย ไอศกรีม เนยแข็ง และผลิตภัณฑที่มีนมเปนสวนประกอบหลัก ไมวาจะเปนนมโคหรือสัตวอื่นๆ 7) นํ้าตาลและขนมหวาน ประกอบดวยสินคา คือ นํ้าตาลดิบ นํ้าตาลทราย ไซรัป นํ้าตาลกอนและอื่นๆ รวมถึงนํ้าผึ้ง กา กนํ้าตาล ลูกอม หมากฝรั่ง 8) เครื่องดื่ม ประกอบดวยสินคาสําคัญ คือ เครื่องดื่มไมมีแอลกอฮอล เชน นํ้าหวาน นํ้ารสผลไมที่วัตถุดิบมาจากนํ้าผสม วัตถุแตงกลิ่นรส นํ้าเก็กฮวย นํ้าดื่ม นํ้าแร นํ้าแข็ง นํ้าอัดลม เครื่องดื่มเกลือแร เครื่องดื่มผง นมถั่วเหลือง โซดา และเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล (alcoholic beverage) ทุกประเภท 9) ชา กาแฟ โกโก ประกอบดวยสินคา คือ เมล็ดกาแฟดิบ กาแฟคั่ว บด กาแฟสําเร็จรูป กาแฟกระปอง ใบชาแหง ชา สําเร็จรูป เครื่องดื่มชากระปอง เมล็ดโกโก โกโกผง เครื่องดื่มโกโก และผลิตภัณฑที่คลายกัน รวมถึงช็อกโกแลต 10) นํ้ามันและไขมัน ประกอบดวยสินคา คือ เมล็ดพืชนํ้ามันตางๆ เชน ปาลม ถั่วลิสง ถั่วเหลือง งา เมล็ดทานตะวัน ไข มันจากสัตวและพืชทั้งในลักษณะดิบและผานกระบวนการ เปนตน


11) อาหารสัตว ประกอบดวยสินคา คือ มันสําปะหลังอัดเม็ด เศษมัน กากที่เหลือจากการผลิตนํ้ามันจากพืช เชน กาก ถั่วเหลือง กากจากนํ้ามันรําขาว ปลาปน เศษกระดูกและนํ้าคั้นจากสัตวและผลิตภัณฑประมง อาหารสัตวเลี้ยง เชน ปลากระปอง อาหารสุนัขและแมว อาหารสัตวอื่นๆ ที่จัดทํา เพื่อจําหนายปลีก รวมถึง ฟาง แกลบ หญา และพืชอาหารสัตวอื่นๆ 12) ผลิตภัณฑเสริมอาหารและอื่นๆ ประกอบดวยสินคา คือ ผลิตภัณฑที่มีลักษณะการบริโภคไมเหมือนอาหารปกติ มีรูป แบบเปนนํ้า เม็ด แคปซูล มีจุดประสงคเฉพาะเพื่อการบริโภค รวมถึงอาหารอื่นๆ ที่ไมสามารถจัดเขาในกลุม 11 กลุมแรกได เชน อาหารที่ผสมเขาเปนเนื้อเดียวกัน อาหารทางการแพทย อาหารสําเร็จรูปที่มีสวนผสมของวัตถุดิบหลายชนิด กระบวนการผลิต อุตสาหกรรมอาหารมีหลากหลายประเภท หากแบงตามประเภทของเทคโนโลยีการแปรรูป จะแบงเปน การทําแหง การ หมัก การแชเย็นแชแข็ง การฆาเชื้อโดยวิธีตางๆ เชน พาสเจอรไรซ สเตอริไลส เอ็กทรูชั่น และกระบวนการพิเศษอื่นๆ เชน การ สกัดนํามัน และการขึ้นรูปฯ รายละเอียดผลิตภัณฑแสดงไดตามตาราง กระบวนการผลิต ซึ่งมีขั้นตอนแตกตางกันออกไปตาม ลักษณะของผลิตภัณฑ โดยสรุปจะมี 3 ขั้นตอน คือ 1. การจัดเตรียมวัตถุดิบและสวนผสม เชน การปอก ลาง ทําความสะอาด ชั่ง ตวง คัดขนาด ตัดแตง เปนตน 2. การผลิต ขึ้นกับประเภทผลิตภัณฑและเทคโนโลยีการแปรรูปที่หลากหลาย โดยผานกระบวนการ ที่ใชความรอน ความเย็น การใชวัสดุปรุงแตงสี กลิ่น รส และกระบวนการฆาเชื้อโดยใชสาร/วิธีการตางๆ ปองกัน/กําจัดเชื้อโรค เพื่อเปนการถนอมอาหารใหมีอายุยืนยาวขึ้น 3. การบรรจุและการเก็บรักษา ชนิดและประเภทบรรจุภัณฑของการเก็บรักษาที่หลากหลายตามประเภท ผลิตภัณฑ เชน กระปอง เพาซ ขวด ถุง ซอง กลอง หีบหอ หรือประเภทวัตถุดิบบรรจุภัณฑ เชน พลาสติก กระดาษ แกว เหล็ก เคลือบดีบุก อลูมีเนียม และฟลม เปนตน ผลิตภัณฑอาหารจําแนกตามเทคโนโลยีการแปรรูป เทคโนโลยีการแปรรูป ตัวอยางผลิตภัณฑ การทําแหงแบบดั้งเดิม หมูแหง สัตวนําแหง ผักและผลไมแหง (หนอไม พริก พริกไทย สมุนไพร ใบหอม หัวหอม กระเทียม เห็ด สับปะรด ลําไย ลิ้นจี่ กลวย) การหมัก กะป นําปลา ปลาเค็ม ปลารา ปลาสม ปลาเจา แหนมหมู หมู หมัก ซอสถั่วเหลือง เตาเจี้ยว ผักและผลไมดอง นมเปรี้ยว เอ็กทรูชัน (Extrusion) เสนกวยเตี๋ยว วุนเสน ขนมขบเคี้ยว ฯลฯ การแชเย็นและแชแข็ง สัตวนําแชเย็นแชแข็ง ไกแชเย็นแชแข็ง อาหารพรอมรับประทานแชแข็ง ผักและผลไมแชแข็ง พาสเจอรไรสเซชัน นมสด นมเปรี้ยว (pasteurization) นําผลไม สเตอริไลสเซชัน สัตวนําบรรจุกระปอง/เพาซ (sterilization) ผักและผลไมกระปอง/เพาซ อาหารกระปองพรอมรับประทาน เชน ขาว ซุป นมกระปอง นมยูเอชที กระบวนการพิเศษ นํามันพืชและผลิตภัณฑ เชน การสกัดนํามัน การขึ้นรูปฯ เนื้อสัตวแปรรูป เชน ไสกรอกแฮม เบคอน เครื่องดื่ม บะหมี่สําเร็จรูป

73


ศักยภาพในการผลิตและขีดความสามารถในการแข่งขัน ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและส่งออกอาหารอันดับต้นๆ ของโลก ในปี 2555 ไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกอาหารลําดับที่ 12 (อันดับ 2 ของเอเชีย รองจากประเทศจีน) มีส่วนแบ่งตลาดโลกในมูลค่าการส่งออกประมาณร้อยละ 2.6 อุตสาหกรรมอาหารมี ศักยภาพสูงในการผลิตเพื่อบริโภคในประเทศและเพื่อการส่งออก เนื่องจาก ประเทศไทยมีพื้นฐานด้านการผลิตทางการเกษตรที่มั่นคงและมั่งคั่ง จากความได้เปรียบในเรื่องภูมิ ประเทศและภูมิอากาศที่สามารถเพาะปลูกเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ที่หมุนเวียนได้ตลอดทั้งปี ทําให้มีผลผลิตที่สามารถนํามา ใช้เป็นวัตถุดิบในการแปรรูปได้อย่างหลากหลายและต่อเนื่อง มีการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย มีการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดมากยิ่งขึ้น ประกอบกับผู้ประกอบการแต่ละประเภทอุตสาหกรรมยังมีความชํานาญในการผลิตและการใช้เทคโนโลยีที่ ดีกว่า และพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยในอาหารได้ตามความต้องการของตลาดมากกว่าประเทศคู่แข่งอื่นๆ อีกหลาย ประเทศในภูมิภาคเดียวกัน ส่วนหนึ่งมาจากการลงทุนจากต่างประเทศที่เข้ามาลงทุน และผู้ประกอบการไทยประยุกต์ใช้ตาม ความเหมาะสม สามารถผลิตสินค้าสําเร็จรูป/กึ่งสําเร็จรูปได้ตามความต้องการของผู้ซื้อได้รวดเร็วและสามารถนําวัตถุดิบ จากต่างประเทศมาแปรรูปให้เกิดมูลค่าเพิ่ม และมีคุณภาพจนเป็นที่ยอมรับของประเทศผู้นําเข้า ผู้ประกอบการยังมีความพร้อมในด้านการจัดการกระบวนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ มีบุคลากรที่ มีความรู้และประสบการณ์ และยังได้รับการยอมรับจากลูกค้าในต่างประเทศในเรื่องของการส่งมอบสินค้า และความรับผิด ชอบต่อสินค้า รวมถึงการใช้แรงงานต่างชาติจากประเทศเพื่อนบ้านได้จํานวนมาก แต่อาจพบปัญหาการบริหารจัดการบ้าง ในบางช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนถ่ายมาตรการขึ้นทะเบียนประจําปี สินค้าอาหารที่ประเทศไทยผลิตและส่งออกได้เป็น 3 อันดับแรกของโลกที่สําคัญ ในสินค้า 7 ชนิด คือ ข้าว เป็นผู้ส่งออกลําดับ 3 รองจากเวียดนามและอินเดีย เพิ่งเสียแชมป์เมื่อปี 2555 กุ้ง เป็นผู้ส่งออกลําดับ 1 ทูน่ากระป๋อง/แปรรูป เป็นผู้ส่งออกลําดับ 1 สับปะรด เป็นผู้ส่งออกลําดับ 1 น้ําตาลทราย เป็นผู้ส่งออกลําดับ 2 รองจากบราซิล มันสําปะหลัง เป็นผู้ส่งออกลําดับ 1 ไก่และผลิตภัณฑ์ เป็นผู้ส่งออกลําดับ 3 รองจากบราซิลและสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ไทยยังเป็นผู้ผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารลําดับต้นๆ ในอีกหลายสินค้า เช่น ปาล์มน้ํามัน (อันดับ 3 รองจากมาเลเซียและอินโดนีเซีย) ข้าวโพดหวาน อาหารสําเร็จรูปประเภทกระป๋อง เช่น อาหารสําเร็จรูปประเภทแกงใส่เนื้อ สัตว์ต่างๆ ปลาต่างๆ ถั่วต่างๆ ผักและผลไม้ อาหารทะเล และข้าวโพดฝักอ่อน เป็นต้น การนําเข้า-ส่งออก การนําเข้าของอุตสาหกรรมอาหารโดยรวมเฉลี่ย 3 ปี (ปี 2553-2555) มีมูลค่ารวม 9,940.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มีอัตราการ เติบโตร้อยละ 22.6 ต่อปี แบ่งเป็นการนําเข้าสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสําเร็จรูปสัดส่วนร้อยละ 62.5 ของการนําเข้าสินค้าอาหาร รวม สินค้าวัตถุดิบที่ไทยนําเข้าหลักๆ คือ ปลาทูน่าสดแช่เย็นแช่แข็ง มีมูลค่านําเข้าเฉลี่ยปีละ 1,408.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เติบโตร้อยละ 20.4 ต่อปี เพื่อผลิตเป็นปลาทูน่ากระป๋องและแปรรูปส่งออกจําหน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ และ เมล็ดพืชน้ํามัน โดยเฉพาะเมล็ดถั่วเหลือง นําเข้าเฉลี่ยปีละ 1,142.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เติบโตร้อยละ 25.0 ต่อปี เพื่อผลิต น้ํามันถั่วเหลืองและกากถั่วเหลืองเพื่อเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์ นอกจากนี้มีการนําเข้ากากพืชน้ํามัน (ถั่วเหลือง) เพื่อนํามาผลิตอาหารสัตว์โดยตรงปีละ 1,288.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เติบโตร้อยละ 13.6 ต่อปี ส่วนการนําเข้าสินค้าอุปโภค บริโภคที่มีสัดส่วนร้อยละ 37.5 ของการนําเข้าสินค้าอาหารรวม มีการนําเข้าสินค้าหลักๆ คือ นมและผลิตภัณฑ์นม เพื่อนํามา ผลิตเป็นสินค้าสําเร็จรูปหรือนํามาจําหน่ายในประเทศปีละ 565 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เติบโตร้อยละ 12.4 ต่อปี


มูลค่านําเข้าอุตสาหกรรมอาหาร (หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ) 2553

2554

2555

เฉลี่ย 3 ป

สินคาวัตถุดิบและกึ่งสําเร็จรูป 5,050.4 6,230.2 7,369.3 6,216.6 - ปลาทูนาสด แชเย็น แชแข็ง 1,146.4 1,417.5 1,660.7 1,408.2 - เมล็ดพืชนํามัน 879.3 1,182.7 1,366.4 1,142.8 - กากพืชนํามัน 1,163.8 1,211.0 1,491.2 1,288.7 สินคาอุปโภคบริโภค 2,847.1 3,839.6 4,484.5 3,723.7 - นมและผลิตภัณฑนม 485.1 604.0 605.8 565.0 รวม 7,897.6 10,069.7 11,853.8 9,940.4 ที่มา : กระทรวงพาณิชย และการจัดกลุมของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

20.8 20.4 25.0 13.6 25.8 12.4 22.6

สัดสวน (%) 62.5 14.2 11.5 13.0 37.5 5.7

การส่งออกของอุตสาหกรรมอาหารโดยรวมเฉลี่ย 3 ปี (ปี 2553-2555) ไม่รวมน้ําตาล มีมูลค่ารวม 39,594.1 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ มีอัตราการเติบโตร้อยละ 7.7 ต่อปี หากรวมการส่งออกน้ําตาลมูลค่าการส่งออกอุตสาหกรรมอาหารรวมเฉลี่ย 3 ปี 42,877.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มีอัตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 9.6 ต่อปี ตลาดส่งออกของไทยในปี 2555 ลําดับแรก คือ อาเซียน มีสัดส่วนร้อยละ 22.4 ของมูลค่าการส่งออกอาหาร มีแนวโน้มเติบโตมากกว่าตลาดอื่น รองลงมา ได้แก่ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป อาฟริกา และจีน มีสัดส่วนร้อยละ 15.3 11.5 10.9 9.7 และ 8.8 ตามลําดับ โดยสินค้ากลุ่มต่างๆ มีการส่งออก เฉลี่ยตลอด 3 ปี ดังนี้ 1. กลุ่มปศุสัตว์ มีมูลค่าส่งออก 2,158.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เติบโตร้อยละ 23.0 ต่อปี มีสัดส่วนต่อการ ส่งออกอาหารรวมร้อยละ 7.9 สินค้าในกลุ่มที่สําคัญ คือ สินค้าไก่ ทั้งไก่สดแช่เย็นแช่แข็งและไก่แปรรูป ตลาดส่งออกหลัก คือ ญี่ปุ่น ร้อยละ 45-50 สหภาพยุโรป ร้อยละ 35-40 และอาเซียน ร้อยละ 5-10 อื่นๆ เช่น ฮ่องกง เกาหลีใต้ สหรัฐอาหรับเอมิ เรต ประมาณร้อยละ 5 อย่างไรก็ตามการส่งออกยังประสบมาตรการด้านสุขอนามัยจากประเทศผู้นําเข้าทุกประเทศ และการ กําหนดโควต้านําเข้าจากสหภาพยุโรป ประเทศคู่แข่งในสินค้าไก่ คือ สหรัฐอเมริกา บราซิล และจีน 2. กลุ่มประมง มีมูลค่าส่งออก 7,675.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เติบโตร้อยละ 7.3 ต่อปี มีสัดส่วนต่อการ ส่งออกอาหารรวมร้อยละ 27.7 สินค้าสําคัญในกลุ่มแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ผลิตภัณฑ์แช่เย็นแช่แข็ง เช่น กุ้ง ปลา และ ปลาหมึกสดแช่เย็นแช่แข็ง ผลิตภัณฑ์บรรจุกระป๋อง เช่น ปลาทูน่า ปลาซาร์ดีนบรรจุกระป๋อง ผลิตภัณฑ์แปรรูป เช่น ซูริมิ ปลาทูน่า กุ้ง และอาหารทะเลแปรรูป ตลาดส่งออกหลัก คือ สหรัฐอเมริกา ร้อยละ 30 สหภาพยุโรป ร้อยละ 15 ญี่ปุ่น ร้อยละ 15 อาเซียน ร้อยละ 2 อื่นๆ เช่น จีน เกาหลีใต้ รัสเซีย อิยิปต์ และอื่นๆ ร้อยละ 38 ประเทศคู่แข่ง ได้แก่ เวียดนาม จีน อินเดีย เอกวาดอร์ และอินโดนีเซีย ในสินค้ากุ้ง ส่วนปลาทูน่ากระป๋องและอาหารทะเลแปรรูป คือ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และจีน 3. กลุ่มผักผลไม้ มีมูลค่าส่งออก 2,929.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เติบโตร้อยละ 12.8 ต่อปี มีสัดส่วนต่อการ ส่งออกอาหารรวมร้อยละ 10.9 สินค้าที่สําคัญในกลุ่ม คือ สับปะรดกระป๋องและผลิตภัณฑ์สับปะรด เช่น น้ํา อบแห้ง ผลิตภัณฑ์กระป๋องจากผักและผลไม้ เช่น ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดฝักอ่อน หน่อไม้ กระเจี๊ยบเขียว หน่อไม้ฝรั่ง และ ถั่วลันเตา เป็นต้น ผักผลไม้สดแช่เย็นแช่แข็ง เช่น ทุเรียน มะม่วง มังคุด เป็นต้น ตลาดส่งออกหลัก ผลไม้กระป๋อง คือ สหรัฐอเมริกา ร้อย ละ 30-35 สหภาพยุโรป ร้อยละ 25-30 อาเซียน ร้อยละ 7 ญี่ปุ่น ร้อยละ 6 และอื่นๆ เช่น รัสเซีย จีน ประเทศคู่แข่งในสินค้า สําคัญ สับปะรดกระป๋อง คือฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และคอสตาริกา 4. กลุ่มข้าวและธัญพืช มีมูลค่าส่งออก 9,218.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เติบโตร้อยละ 3.2 ต่อปี มีสัดส่วนต่อ การส่งออกอาหารรวมร้อยละ 31.5 สินค้าที่สําคัญในกลุ่ม คือ ข้าว แป้งจากข้าวต่างๆ และแป้งมันสําปะหลัง ตลาดส่งออก หลัก สําหรับข้าว จะเป็นประเทศในอาฟริกา ฟิลิปปินส์ แป้งมันสําปะหลัง คือ จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน ประเทศคู่แข่งสําหรับสินค้า ข้าว คือ เวียดนาม และอินเดีย

75


5. กลุ่มน้ําตาลทราย มีมูลค่าการส่งออก 3,283.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เติบโตร้อยละ 37.1 ต่อปี มีสัดส่วน ต่อการส่งออกอาหารรวมร้อยละ 9.7 โดยการส่งออกน้ําตาลของไทย เป็นการส่งออกในรูปน้ําตาลทรายดิบกว่าร้อยละ 65 ของการส่งออกน้ําตาลรวม ตลาดส่งออกหลัก จะเป็นประเทศในทวีปเอเชีย คือ อาเซียน ร้อยละ 45 รองลงมา คือ ญี่ปุ่น จีน เกาหลีใต้ อิรัก และไต้หวัน เป็นต้น ประเทศคู่แข่ง คือ บราซิล ออสเตรเลีย 6. กลุ่มอาหารอื่นๆ ได้แก่ สิ่งปรุงรสอาหาร ผลิตภัณฑ์นม ซุปและอาหารปรุงแต่ง ไขมันและน้ํามันพืช และ เนื้อสัตว์ปรุง เป็นต้น มีมูลค่าส่งออก 1,833.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เติบโตร้อยละ 17.3 และมีสัดส่วนต่อการส่งออกอาหารรวม ร้อยละ 15.9 มูลคาสงออกอุตสาหกรรมอาหารที่สําคัญ (หนวย : ลานเหรียญสหรัฐฯ)

1,697.0 6,984.0 2,883.9 1,941.1 2,476.1 542.9 1,416.4 8,510.9 5,301.3 2,161.9

2,221.6 8,039.1 3,051.9 2,313.4 3,241.9 950.7 1,704.7 10,390.6 6,431.2 2,617.0

2,555.9 8,002.7 2,805.4 3,086.3 3,069.8 1,177.3 1,539.5 8,755.1 4,603.3 2,809.3

2,158.2 7,675.3 2,913.7 2,447.0 2,929.3 890.3 1,553.5 9,218.9 5,445.3 2,529.4

Growth เฉลี่ย (%) 23.0 7.3 -1.1 26.3 12.8 49.5 5.3 3.2 -3.6 14.2

2,215.5 1,489.7 37,620.8

3,633.2 2,008.0 46,603.3

4,001.5 2,002.3 44,408.5

3,283.4 1,833.3 42,877.6

37.1 17.3 9.6

9.7 15.9 100.0

ไมรวมนําตาล 35,405.3 42,970.1 40,407.0 39,594.1 7.7 ที่มา : กระทรวงพาณิชย และการจัดกลุมของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

92.3

ปศุสัตว ประมง - แชเย็นแชแข็ง - กระปอง ผักผลไม - ผลไมสด - ผลไมแปรรูป ขาวธัญพืช - ขาว - ผลิตภัณฑมัน สําปะหลัง นําตาลทราย อื่นๆ อาหารทั้งหมด

2553

2554

2555

เฉลี่ย 3 ป

สัดสวน (%) 7.9 27.7 6.8 5.7 10.9 2.1 3.6 31.5 12.7 5.9

2. หนวยงานที่เกี่ยวของ อุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทยมีความหลากหลายในผลิตภัณฑมาก จึงทําใหมีองคกร/สมาคมที่เกี่ยวของเปนจํานวน มาก สามารถสรุปองคกรที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม ไดดังนี้ - หนวยงานภาคเอกชน สวนใหญผูประกอบการจะรวมตัวในรูปแบบกลุมสมาคมตางๆ โดยแยกตามประเภทวัตถุดิบ ดังนี้ 1. กลุมพืช เชน สมาคมอุตสาหกรรมแปงมันสําปะหลัง สมาคมปาลมนํามันและนํามันปาลม สมาคม โรงสกัดนํามันปาลม สมาคมโรงกลั่นนํามันปาลม สมาคมผูผลิตนํามันถั่วเหลืองและรําขาว สมาคมผูผลิตอาหารสัตว ไทย สมาคมโรงงานนําตาลไทย สมาคมสงเสริมผูใชวัตถุดิบอาหารสัตว สมาคมอุตสาหกรรมสับปะรดไทย สมาคม ผูสงออกกาแฟ สมาคมโรงสีขาว เปนตน 2. กลุมปศุสัตว เชน สมาคมผูผลิตไกเพื่อการสงออกไทย สมาคมผูผลิตผูคาและสงออกไขไก สมาคมผูเลี้ยง สุกรแหงชาติ สมาคมผูผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการสงออก สมาคมผูเลี้ยงไกพันธุ สมาคมผูเลี้ยงเปดเพื่อการคาและสงออก เปนตน


3. กลุมประมง เชน สมาคมอาหารแชเยือกแข็งไทย สมาคมกุงไทย สมาคมการประมงนอกนานนําไทย สมาคมผูผลิตปลาปนไทย สมาคมผูเลี้ยงกุงทะเลไทย สมาคมผูเพาะเลี้ยงปลาไทย เปนตน 4. ภาพรวมหรือสินคาหลายประเภท เชน สมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป กลุมอุตสาหกรรมอาหาร สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สภาหอการคาแหงประเทศไทย - หนวยงานภาครัฐ มีหนวยงานที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหารจํานวนมากกระจายไปตามกระทรวงตางๆ ที่สําคัญ และมีบทบาทตออุตสาหกรรมอาหาร ประกอบดวย 1. กระทรวงเกษตรและสหกรณ เชน กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กรมปศุสัตว กรมประมง สํานักงาน มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ และองคการตลาดเพื่อเกษตรกร เปนตน 2. กระทรวงพาณิชย เชน กรมการคาภายใน กรมการคาตางประเทศ กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ และกรม เจรจาการคาระหวางประเทศ องคการคลังสินคา เปนตน 3. กระทรวงสาธารณสุข เชน กรมอนามัย กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เปนตน 4. กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เชน สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กรมวิทยาศาสตร บริการ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ และสํานักงานมาตรวิทยา เปนตน 5. กระทรวงอุตสาหกรรม เชน กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมสงเสริมอุตสาหกรรม สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม สถาบันอาหาร เปนตน นอกจากนี้ยังมีสถาบันการศึกษาอีกจํานวนมากที่มีความเกี่ยวของทั้งในดานการพัฒนาบุคลากร การวิจัยและพัฒนา ตางๆ รวมถึงหนวยงานที่เปนแหลงใหทุนการวิจัยและพัฒนาในอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร เชน สภาวิจัยแหงชาติ สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย เปนตน 3. จํานวนผูประกอบการและการจางงานในอุตสาหกรรม จากขอมูลการจดทะเบียน การเปดและเลิกกิจการ จากกรมโรงงานอุตสาหกรรมในป 2555 มีโรงงานอุตสาหกรรม อาหารที่เปดดําเนินการทั้งสิ้น 8,311 โรงงาน ไมรวมโรงสีขาวและโรงงานเมล็ดพืชเบื้องตน เชน ไซโล และโกดัง สําหรับโรงงาน อุตสาหกรรมอาหารประเภทตางๆ ที่มีจํานวนโรงงานมากที่สุด 5 อันดับแรก ไดแก นําแข็ง (1,659 โรง) โรงขนมปงและอาหาร ประเภทเสน (1,286 โรง) ปศุสัตว (1,112 โรง) โรงงานอาหารสัตว (730 โรง) และโรงงานผลิตภัณฑประมง (691 โรง) โรงงาน อุตสาหกรรมอาหารมีการใชเงินลงทุนประมาณ 484,500 ลานบาท สําหรับโรงงานอุตสาหกรรมอาหารที่ใชเงินทุนสูงสุด คือ โรงงานผลิตภัณฑปศุสัตว (113,844 ลานบาท) รองลงมา คือ โรงงานนําตาลและสารใหความหวาน (77,904 ลานบาท) และ โรงงานผลิตภัณฑประมง (39,042 ลานบาท) ในขณะที่การจางงานในอุตสาหกรรมอาหารเฉพาะที่จดทะเบียนและแจงกับกรม โรงงานอุตสาหกรรม มีแรงงานรวม 507,372 คน โดยมีการจางงานในโรงงานผลิตภัณฑประมงสูงสุดที่ 137,817 คน รองลงมา คือ โรงงานผลิตภัณฑปศุสัตว 109,174 คน และโรงงานแปรรูปผักผลไม 68,755 คน ทั้งนี้ในความเปนจริง คาดวาจะมีแรงงาน ในอุตสาหกรรมอาหารมากกวา 1 ลานคน จากขอมูลกระทรวงแรงงาน ที่มีการรวบรวมแรงงานอื่นๆ โดยเฉพาะแรงงานตางชาติ เชน พมา ลาว และกัมพูชา ที่เปนแรงงานจดทะเบียนถูกตองและไมถูกตองตามกฎหมาย นอกจากนี้ยังมีแรงงานรายวันที่เปนการ จางงานตามฤดูกาลอีกจํานวนหนึ่ง สําหรับโครงสรางโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร หากแบงโรงงานอุตสาหกรรมอาหารตามขนาด โรงงาน เงินลงทุนและการจางงานที่กําหนดไวที่โรงงานขนาดเล็กและกลางจะมีเงินลงทุนตํากวา 200 ลานบาทและจางงานไมเกิน 200 คน โรงงานอุตสาหกรรมอาหารจะเปนโรงงานขนาดเล็กและกลางประมาณรอยละ 90 ขณะที่เปนโรงงานขนาดใหญเพียง รอยละ 10

77


จํานวนผูประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร ป 2555 ประเภท จํานวนโรงงาน เงินลงทุน (ลานบาท) คนงานรวม ปศุสัตว 1,112 113,844 109,174 นมและผลิตภัณฑ 205 30,816 10,124 ประมง 691 39,042 137,817 นํามันพืช 421 33,548 15,608 ผักผลไม 669 38,232 68,755 โรงงานแปง 412 32,601 20,443 ขนมปง อาหารประเภทเสน 1,286 26,593 49,183 นําตาลและสารใหความหวาน 133 77,904 25,992 ชา กาแฟ และขนม 510 8,490 12,049 เครื่องปรุงรส 483 21,879 15,121 นําแข็ง 1,659 22,093 18,142 อาหารสัตว 730 39,379 24,964 รวมทั้งสิ้น* 8,311 484,420 507,372 ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม หมายเหตุ *ไมรวมโรงสีขาวและโรงงานเมล็ดพืชเบื้องตน เชน ไซโล และโกดังเก็บ เปนตน


4. ชื่อ-ที่อยู่ของผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารที่เป็นที่รู้จัก อาจแบ่งเป็นกลุ่มๆ ได้ดังนี้ ชื่อบริษัท กลุ่มปศุสัตว์ บริษัท สหฟาร์ม จํากัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จํากัด (มหาชน) บริษัท จีเอฟพีที จํากัด (มหาชน) บริษัท คาร์กลิ ล์มีทส์ (ไทย แลนด์) จํากัด บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จํากัด กลุ่มประมง บริษัท ทรอปิคอลแคนนิ่ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) บริษัท ธารสมุทรฟู้ด จํากัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหาร กว้างไพศาล จํากัด (มหาชน) บริษัท ห้องเย็นเอเชี่ยน ซีฟู้ด จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จํากัด (มหาชน) กลุ่มผักผลไม้ บริษัท ทิปโก้ ฟู้ดส์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) บริษัท มาลีบางกอก จํากัด

ที่อยู่/เบอร์โทรศัพท์ 128 ถนนนวมินทร์ รามอินทรา คันนายาว กรุงเทพฯ 10230 โทร. 0 2510 0051-62 313 อาคารซี.พี.ทาวเวอร์ ถนนสีลม บางรัก กรุงเทพฯ 10500 118 หมู่ 4 ถนนพระราม 2 บางมด จอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทร. 0 2473 8000 130-132 อาคารสินทรทาวเวอร์ 3 ชั้น 18 ถนนวิทยุ ลุมพินี ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. 0 2263 2929 487/1 ถนนศรีอยุธยา ราชาทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2247 7000 1/1 หมู่ 2 ตําบลทุ่งใหญ่ หาดใหญ่ สงขลา 90110 โทร. 074 273 600

30 จรัญสนิทวงศ์ 51 ถนนจรัญสนิทวงศ์ บางบําหรุ บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร. 0 2434 4116 43 อาคารธนสาร ถนนเชียงใหม่ คลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทร. 0 2863 3288 55/2 หมู่ 2 ถนนพระราม 2 ตําบลบางกระเจ้า อําเภอเมือง สมุทรสาคร 74000 โทร. 034 822 204-7 72/1 หมู่ 7 ถนนเศรษฐกิจ 1 ตําบลท่าทราย อําเภอเมือง สมุทรสาคร 74000 โทร. 034 816 500 118/1 ถนนพระราม 6 สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2273 6000 470 หมู่ 1 ซอยบางปู 69 ถนนสุขุมวิท บางปูใหม่ กรุงเทพฯ 10280

79


ชื่อบริษัท

ที่อยู่/เบอร์โทรศัพท์

โทร. 0 2323 1111 บริษัท สยาม ฟู๊ด โปรดักส์ 195 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0 2287 7000 จํากัด (มหาชน) บริษัท อาหารสากล จํากัด 947/157 หมู่ 2 ถนนบางนา-ตราด บางนา กรุงเทพฯ 10260 (มหาชน) โทร. 0 2398 8555 น้ําตาล กลุ่มวังขนาย 889 อาคารไทยซีซที าวเวอร์ชั้น 28 สาธรใต้ ยานนาวา สาธร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0 2210 0853-72 กลุ่มมิตรผล 2 อาคารเพลินจิตรเซ็นเตอร์ ชั้น 3 ถ.สุขุมวิท คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0 2656 8488 กลุ่มน้ําตาลไทยรุ่งเรือง 794 อาคารไทยร่วมทุน ถ.กรุงเกษม แขวงวัดโสมมนัส เชตป้อมปราบฯ กรุงเทพฯ (ลิน) 10100 โทร. 0 2282 2022 กลุ่มธัญพืชและแป้ง บริษัท จ.เจริญมาร์เก็ตติ้ง จํากัด บริษัท สงวนวงษ์ อุตสาหกรรม จํากัด บริษัท ซี.พี.อินเตอร์เทรด จํากัด บริษัท ปทุมไรซมิล แอนด์ แกรนารี จํากัด (มหาชน) บริษัท โรงเส้นหมี่ชอเฮง จํากัด บริษัท ยูไนเต็ดฟลาวมิลล์ จํากัด นมและผลิตภัณฑ์ บริษัท ซีพี-เมจิ จํากัด บริษัท ดัชมิลล์ จํากัด

399 หมู่ 1 ตําบลธาตุฌ อําเภอเชียงคาน เลย 42110 โทร. 042 854 298-9 120 หมู่ 4 ถ.ราชสีมา-โชคชัย ต.หนองบัวศาลา อ.เมือง นครราชสีมา 30000 โทร. 044 212 185-6 313 ถนนสีลม บางรัก กรุงเทพฯ 10600 โทร. 0 2646 7000 88 หมู่ 2 ถนนติวานนท์ อําเภอเมือง ปทุมธานี 12000 โทร. 0 2501 2021 19 หมู่ 1 ถนนเพชรเกษม ตําบลยายชา อําเภอสามพราน นครปฐม 73110 โทร. 034 225 240 177 ชั้น 9 ถนนราชวงศ์ จักรวรรดิ สัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ 10100 โทร. 0 2394 0331-5

1 หมู่ อาคารซีพีทาวเวอร์2 ชั้น30 ถนนรัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2664 5291 226 ถนนสิรินธร บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร.0 2881 0000


ชื่อบริษัท บริษัท เนสท์เล่ (ไทย) จํากัด บริษัท เอฟแอนด์เอ็น แด รีส์ (ประเทศไทย) จํากัด

ที่อยู่/เบอร์โทรศัพท์ 999/9 ถนนพระราม 1 ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10310 โทร. 0 2657 8000 1 ถนนสาธรใต้ ทุ่งมหาเมฆ สาธร กรุงเทพฯ โทร. 0 2673 7900

น้ํามันพืช บริษัท น้ํามันพืชไทย จํากัด 149 ถนนรัชดาภิเษก (ท่าพระ-ตากสิน) บุคคโล ธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 (มหาชน) บริษัท โอลีน จํากัด 33/21-23 ซอยสุขุมวิท 11 ถนนสุขุมวิท คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0 26512264 เครื่องดื่มกาแฟ บริษัท เขาช่อง 44 หมู่ 15 ถนนกิ่งแก้ว ตําบลราชาเทวะ บางพลี สมุทรปราการ 10540 อุตสาหกรรม 1979 จํากัด โทร. 0 2326 8700 บริษัท ควอลิตี้ คอฟฟี่ โปร 999/9 ถนนพระราม 1 ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ดักท์ส จํากัด อาหารสัตว์ บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ 65 หมู่ 2 ตําบลห้วยท่าช้าง อําเภอเขาย้อย เพชรบุรี 76140 จํากัด (มหาชน) โทร. 032 446 565-9 บริษัท กรุงเทพผลิตภัณฑ์ 97 ถนนเย็นจิต ทุ่งวัดดอน สาทร กรุงเทพฯ 10120 อาหาร จํากัด โทร. 0 2312 8333 บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ 9/6-18 ซอยพัฒนาการ 1 ถนนสาธุประดิษฐ์ บางโพงพาง ยานนาวา กรุงเทพฯ จํากัด (มหาชน) 10120 โทร. 0 2473 8187 บริษัท ซี.พี.ค้าปลีก และ 127 หมู่ 4 ถนนปทุมธานี- บางเลน-ลาดหลุมแก้ว ปทุมธานี 12140 การตลาด จํากัด โทร. 0 2599 1016-9 5. การกระจุก กระจายตัวของอุตสาหกรรมอาหาร โรงงานอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปส่วนใหญ่จะตั้งกระจายอยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ตามรูปแบบของวัตถุดิบที่ใช้ จึงกล่าวได้ว่าโรงงานอุตสาหกรรมอาหารของไทยเป็นการผลิตแบบอิงพื้นที่ (ruralbased) และการพัฒนาของชุมชนบริเวณรอบโรงงาน จะทําให้เกิดเมืองใหม่ เช่น จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีโรงงาน แปรรูปประมง จนเกิดเป็นแหล่งเฉพาะ สําหรับตัวอย่างการกระจุก-กระจายตัวของอุตสาหกรรม อาจแบ่งได้ดังนี้ 1. โรงงานที่เน้นความสดของวัตถุดิบอย่างโรงงานอาหารทะเล ประเภทปลาจะกระจายอยู่ภาคใต้ และ

81


บริเวณชายฝงรอบอาวไทยและภาคตะวันออก เชน จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สวนโรงงานแปรรูปกุง จะกระจายตัวตามจังหวัดตางๆ ที่มีการเพาะเลี้ยงกุงและจังหวัดใกลเคียงกรุงเทพฯ เพื่อความสะดวกในการสงออก โดยเฉพาะ จังหวัดในภาคกลางและภาคใต 2. โรงงานผักผลไม อยางโรงงานสับปะรดอยูบริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี ชลบุรี สวนผลไมอื่นๆ จะกระจายตัวตามภูมิภาคที่มีสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศที่เหมาะสม เชน ภาคเหนือเหมาะสําหรับลําไย ลิ้นจี่ และถั่วลันเตา โรงงานผัก สําหรับโรงงานแปรรูปผักจะอยูใกลแหลงปลูกผัก เชน นครปฐม ราชบุรี เชียงใหม 3. โรงงานอุตสาหกรรมมันสําปะหลัง จะกระจายอยูใกลจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ตอนลาง เชน นครราชสีมา ชัยภูมิ กําแพงเพชร 4. โรงงานอุตสาหกรรมนําตาล จะกระจายตัวตามแหลงปลูกออย ไดแก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน ขอนแกน ชัยภูมิ ภาคตะวันตก เชน กาญจนบุรี ราชบุรี และภาคตะวันออก เชน ชลบุรี เปนตน 5. โรงงานปศุสัตวจะกระจายตัวตามหัวเมืองสําคัญใกลกับตลาด เพื่อสะดวกตอขนสงและการกระจาย สินคา เชน เชียงใหม สงขลา นครราชสีมา และจะเปนผูผลิตกลุมเดียวกับผูผลิตอาหารสัตว นอกจากนี้ยังเกิดเปนการพัฒนาแบบ ครบวงจร ตั้งแตแหลงเพาะพันธุ เพาะเลี้ยง แปรรูป เชน อุตสาหกรรมแปรรูปเนื้อไกในแถบรอยตอจังหวัดภาคกลางตอเนื่องภาค ตะวันออกเฉียงเหนือในจังหวัดลพบุรี สระบุรี นครราชสีมา ของสหฟารม และเครือเจริญโภคภัณฑ เปนตน


อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ

83


อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ เปนหนึ่งในอุตสาหกรรมแฟชั่นที่ภาครัฐใหการสงเสริม และพัฒนาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแขงขันในตลาดโลก และจะยกระดับประเทศไทยใหเปนศูนยกลางแหง แฟชั่นโลกในอนาคต โดยอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญตอเศรษฐกิจของ ประเทศมีมูลคาการสงออกรวมอยูในอันดับตน ๆ ของภาคอุตสาหกรรมไทยทั้งหมด สามารถนํารายไดเขาประเทศ ปละไมต่ํากวา 350,000 ลานบาท กอใหเกิดมูลคาเพิ่ม และการจางงานในภาคอุตสาหกรรมไมต่ํากวา 1 ลานคน ปจ จุ บั น ประเทศไทยถือได ว  า เป น ประเทศที่ ส ามารถสรางรายได จ ากการส งออกอัญ มณีและ เครื่องประดับที่สําคัญของโลก เนื่องจากมีการพัฒนามาอยางตอเนื่อง ประกอบกับมีปจจัยที่เอื้ออํานวยตาง ๆ ได แก ทักษะฝมือในการเจียระไนพลอยของแรงงานไทยสงผลใหไทยเปนศูนยกลางการเจียระไนพลอยในภูมิภาค รวมถึงมีทักษะฝมือในการขึ้นรูปเครื่องประดับซึ่งเปนที่ยอมรับ ทําใหอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของ ไทยมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว จนกลายมาเปนอุตสาหกรรมสงออกที่สําคัญในขณะนี้ โครงสรางการผลิต อุ ต สาหกรรมอั ญ มณี แ ละเครื่ อ งประดั บ ของไทย แบ ง ตามลั ก ษณะการผลิ ต ประกอบด ว ย อุตสาหกรรมหลัก 2 ประเภท คือ อุตสาหกรรมอัญมณี และอุตสาหกรรมเครื่องประดับ โดยในแตละอุตสาหกรรม มีรายละเอียด ดังนี้ 1) อุตสาหกรรมอัญมณี เปนอุตสาหกรรมที่นํารัตนชาติจากธรรมชาติมาเจียระไน เพื่อเพิ่มมูลคา และความสวยงาม สามารถแยกประเภทได ดังนี้ • อุตสาหกรรมเจียระไนพลอย เกิดจากการที่ประเทศไทยเปนศูนยกลางการคาพลอย มีแหลงวัตถุดิบที่มีมูลคาสูงซึ่งเปนแหลงพลอยที่สําคัญ มีชางเจียระไนพลอยที่มีฝมือเปนที่ยอมรับ และมีเทคนิคการ หุงพลอยที่ทําใหพลอยมีสีสันสวยงามมากขึ้น สวนใหญเปนอุตสาหกรรมขนาดเล็กในครัวเรือน ซึ่งมีอยูทั่วไปใน แหลงวัตถุดิบ • อุตสาหกรรมเจียระไนเพชร เกิดจากการยายฐานการผลิตจากประเทศที่มีชื่อเสียงในดาน การเจียระไนเพชร เชน เบลเยียม อิสราเอล และอังกฤษ อุตสาหกรรมนี้ตองอาศัยเงินลงทุนสูง เนื่องจากตองใช เครื่องมือที่มีเทคโนโลยี โดยประเทศไทยเปนแหลงเจียระไนเพชรขนาดเล็ก (เสนผานศูนยกลาง 1.5 ม.ม. ถึง 1 กะรัต) ที่สําคัญรองจาก เบลเยียม อิสราเอล อินเดีย และสหรัฐอเมริกา 2) อุตสาหกรรมเครื่องประดับ ในอดีตเปนอุตสาหกรรมในครัวเรือน ปจจุบันเปนอุตสาหกรรมเพื่อ การสงออก ซึ่งการผลิตในอุตสาหกรรมนี้จะตองมีความรูอยางดีในดานศิลปะและความชํานาญในกระบวนการผลิต ตั้งแตการออกแบบ การทําแมแบบ การหลอมโลหะ การผสมโลหะ การหลอ การขึ้นรูปตัวเรือนรูปพรรณ การ ฝงอัญมณี ไปจนถึงการตกแตงขั้นสุดทาย สามารถแบงออกเปน 2 กลุมใหญ ๆ คือ • อุตสาหกรรมเครื่องประดับแท คือ การนําอัญมณีมีคามาเขาตัวเรือนโลหะมีคา กอนที่จะ นําออกจําหนาย โดยเครื่องประดับแทอาจทําจากโลหะมีคาลวน ๆ ก็ได เชน สรอยทอง สรอยแพลทินัม หรือ เครื่องประดับเงิน ซึ่งไมมีอัญมณีเขามาเปนสวนประกอบ โดยอุตสาหกรรมนี้แบงผูผลิตเปน 2 กลุม คือ ตลาด ภายในและตลาดสงออก ซึ่งการผลิตเพื่อสงออก จําเปนตองใชเทคโนโลยีในการผลิตมากกวาการผลิตสําหรับตลาด ภายในประเทศ ทั้งในดานรูปแบบ คุณภาพ และราคาสินคา


-2• อุตสาหกรรมเครื่องประดับเทียม คือ การนําอัญมณีที่ทําขึ้นดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร เชน เพชรสังเคราะห ทับทิมสังเคราะห แซบไฟรสังเคราะห มรกตสังเคราะห นิลสังเคราะห เปนตน มาเขาตัวเรือน โดยอุตสาหกรรมนี้ไดพัฒนารูปแบบและเทคนิคการผลิตจนสามารถผลิตสินคาไดใกลเคียงกับเครื่องประดับแท กระบวนการผลิต อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ มีกระบวนการผลิตและการเพิ่มมูลคาของสินคาที่ แตกตางกัน ตั้งแตมูลคาเพิ่มนอยจนถึงมูลคาเพิ่มมาก ประกอบดวยกระบวนการที่สําคัญ 3 สวน โดยแตละสวน มีรายละเอียด ดังนี้ แผนภาพกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ออกแบบผลิตภัณฑ์

เหมือง

เหมือง

วัตถุดบิ

วัตถุดบิ แปรรูป/ขึน้ รูป

อัญมณี เพชร พลอย ไข่มกุ

เพชร

พลอย

คัดแยก

คัดแยก

เจียระไน

เผาพลอย

โลหะมีคา่ ทอง เงิน แพลทินมั

ขัดเงา

การผลิตเครื่องประดับ ผลิตด้ วย มือ

ผลิตด้ วย เครื่ องจักร

สินค้ าตลาดบน

เจียระไน

สินค้ าตลาดกลาง

ขัดเงา

สินค้ าตลาดล่าง

โลหะมีค่า ขึ ้นรูป ขัดเงา

สินค้ าตลาด Micro -Trend

การตรวจสอบ และการบรรจุ มูลคาเพิ่มนอย มูลคาเพิ่มปานกลาง มูลคาเพิ่มมาก ที่มา : ปรับปรุงจากรายงานการศึกษาโครงการจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจเชิงสรางสรรคในอุตสาหกรรมแฟชั่น, 2554

85


-31) วัตถุดิบ เริ่มจากการจัดการวัตถุดิบแบงออกเปน 2 กลุมหลัก คือ วัตถุดิบที่เปนอัญมณี ไดแก เพชร พลอย ไขมุก เปนตน และวัตถุดิบในการผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ ไดแก โลหะมีคา ซึ่งหมายถึง ทอง เงิน และแพลทินมั เปนสําคัญ ประเทศไทยมีแหลงวัตถุดิบทั้ง 2 กลุม เพื่อปอนภาคอุตสาหกรรม โดยในกลุมวัตถุดิบอัญมณี ไทยเปนแหลงพลอยสีที่สําคัญหนึ่งใน 5 แหลงของโลก (แอฟริกาใต อเมริกาใต พมา และศรีลังกา ) ซึ่งพลอยสีที่ขุด ไดในไทยสวนใหญเปนทับทิม และไพลิน รองลงมา คือ หยก โกเมน เพทาย บุษราคัม และเขียวสอง จากเหมืองแร ในจังหวัดจันทบุรี กาญจนบุรี ตราด และแพร และมีแหลงคนพบเพชร ในจังหวัดภูเก็ต และพังงา เปนตน ในสวน ของโลหะมีคา ไดแก ทองคํา เงิน และแพลทินัม มีแหลงขุดพบในพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี นราธิวาส และลพบุรี และ แหลงคนพบเงินในจังหวัด กาญจนบุรี ทั้งนี้ จากการขยายตัวอยางรวดเร็วของอุตสาหกรรมสงผลใหแหลงวัตถุดิบ ภายในประเทศลดลงและไมเพียงพอตอการนํามาผลิตในเชิงพาณิชย ปจจุบันจึงเนนการนําเขาจากตางประเทศเปน หลัก โดยพลอยสีนําเขาจากพมา อินเดีย ศรีลังกา มาดากัสการ และแอฟริกาใต ในขณะที่เพชรนําเขาจากอิสราเอล เบลเยียม และอินเดีย 2) วัตถุดิบแปรรูป/ขึ้นรูป การแปรรูปหรือการขึ้นรูป เปนกระบวนการเพิ่มมูลคาใหกับวัตถุดิบ คอนขางมาก โดยกระบวนการนี้เปนการนําวัตถุดิบจากขั้นตอนแรกมาทําการแปรรูปหรือขึ้นรูป ซึ่งจะเนนการ เจียระไนใหสวยงามเหมาะแกการนําไปประดับ การแปรรูปหรือการขึ้นรูป สามารถแบงตามวัตถุดิบได 3 กลุม คือ • การขึ้นรูปเพชร เริ่มตนจากการคัดแยกเพชร หลังจากนั้นนําไปเจียระไน และนําไปขัดเงา เพื่อใหเกิดความเงางาม • การขึ้นรูปพลอย มีความคลายคลึงกับเพชร แตแตกตางกันที่การคัดแยกกอนพลอย เพื่อนําไปเผา (หุงพลอย) ซึ่งเปนกระบวนการที่ชวยใหพลอยใสสะอาดขึ้น เพิ่มหรือลดสีใหสวยงามขึ้น • การขึ้นรูปโลหะมีคา โดยนําเอาโลหะมีคาตาง ๆ ไดแก ทองคํา เงิน แพลทินัม มาขึ้นรูป ตามที่ตองการ และนําไปขัดเงา เพื่อพรอมที่จะนําไปผลิตเปนเครื่องประดับหรือจัดจําหนายตอไป 3) การผลิตเครื่องประดับ หลังจากที่ไดอัญมณีและโลหะมีคาที่แปรรูปหรือขึ้นรูปแลว จะนําไปสู กระบวนการผลิตเครื่องประดับ ซึ่งสามารถแบงได 2 ประเภท คือ • การผลิตเครื่องประดับดวยมือ เหมาะสําหรับผลิตเครื่องประดับที่มีราคาสูง เนนความ ละเอียดของงานที่มีการออกแบบตัวเรือนเปนพิเศษ และมีการผลิตในปริมาณนอย ตอบสนองผูบริโภคสินคาใน ตลาดระดับบนสามารถสรางมูลคาเพิ่มไดคอนขางสูง • การผลิตเครื่องประดับดวยเครื่องจักร เหมาะสําหรับการผลิตในปริมาณมาก รูปแบบ ไมซับซอน มีตนทุนที่ต่ํา ตอบสนองผูบริโภคสินคาในตลาดระดับลาง ซึ่งมีมูลคาเพิ่มนอย รวมถึงสินคาตลาดธุรกิจ เทรนดจิ๋ว (Micro-trend) ซึ่งเปนกลุมลูกคาใหม ๆ มีความตองการที่ซับซอนและเฉพาะเจาะจงมากขึ้น แมจะเปน กลุมลูกคาขนาดเล็กแตมีแนวโนมในการเติบโตและสรางโอกาสทางธุรกิจสูง สามารถสรางมูลคาเพิ่มไดมาก จากกระบวนการผลิ ต หลั ก ในอุ ต สาหกรรมอั ญ มณี แ ละเครื่ อ งประดั บ ดั ง กล า วแล ว ยั ง มี กระบวนการผลิตที่มีความสําคัญเพื่อสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาในแตละขั้นตอนและในระดับที่แตกตางกัน โดย กระบวนการที่สามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาไดคอนขางมาก ประกอบดวย 1) การออกแบบ


-4อุ ตสาหกรรมอั ญ มณี และเครื่องประดับ ใชวัตถุดิ บ ที่มีมูล คาสูง ทํ าใหการผลิตอั ญ มณีและ เครื่องประดับตองใหความสําคัญกับการออกแบบ และการผลิตคอนขางมาก เพื่อแปรรูปอัญมณีและโลหะมีคาให กลายเปนเครื่องประดับที่มีมูลคาเพิ่มสูงได โดยในขั้นตอนการแปรรูปและขึ้นรูปจะมีขั้นตอนที่คอนขางซับซอนและ ขึ้นอยูกับลักษณะของวัตถุดิบที่ใชและอาศัยความชํานาญของชางฝมือในการแปรรูปวัตถุดิบใหมีรูปทรงที่สวยงาม ดังนั้น การออกแบบเครื่องประดับใหเหมาะสมกับวัตถุดิบจึงเปนสิ่งสําคัญมาก และจําเปนตองอาศัยความพิถีพิถัน เพื่อแสดงใหเห็นความสวยงามของอัญมณีไดอยางชัดเจน สําหรับในบางกลุมที่ใชโลหะมีคาเปนหลักในการผลิต การออกแบบจะชวยสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาไดเชนกัน 2) การสรางมูลคาเพิ่มในการผลิตเครื่องประดับสําหรับตลาดบนและตลาด Micro-Trend การผลิตเครื่องประดับสําหรับตลาดระดับบนสวนใหญจะอาศัยแรงงานในการผลิตดวยมือเปน หลักเพราะจะมีการออกแบบตัวเรือนที่มีรูปแบบพิเศษ ซึ่งตองอาศัยความชํานาญและความประณีตในการผลิตและ ประกอบตั ว เรื อนโดยช า งฝ มือ เป น หลั ก แตกตา งกับ การผลิต สิน คา ในตลาดระดับ กลางและลางที่จ ะมี การใช เครื่องจักรเขามาชวยในการผลิตคอนขางมาก ดังนั้น ตลาดระดับบนจะสามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาที่มี มูลคาสูงอยูแลว สําหรับสิ นค าตลาด Micro-Trend เปน ตลาดกลุมใหมที่มีความตองการสินคาในรูปแบบที่ คอนขางเฉพาะ ทําใหสินคามีเอกลักษณเฉพาะตัว เปนตลาดที่มีแนวโนมในการเติบโตทางธุรกิจและสามารถสราง มูลคาเพิ่มไดคอนขางสูง เนื่องจากเปนการผลิตตามความตองการของกลุมเปาหมายโดยเฉพาะ 3) การสรางตราสินคาและชองทางการจัดจําหนาย อัญมณีและเครื่องประดับเปนสินคาที่มีราคาสูง ทําใหความนาเชื่อถือของตราสินคาและผูจัด จําหนายเปนสวนสําคัญในการตัดสินใจซื้อสินคาของผูบริโภค การสรางตราสินคาจึงเปนขั้นตอนที่มีความสําคัญตอ การแขงขันในตลาดปจจุบันคอนขางมาก และเปนสวนที่สามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาไดนอกเหนือจากการ ออกแบบสินคาและผลิตสินคาใหไดตามมาตรฐานและเปนที่ยอมรับของผูบริโภค โดยผูบริโภคจะใหความเชื่อถือกับ ตราสินคาเพราะตราสินคาจะเปนสวนที่แสดงถึงคุณภาพของสินคา และรูปลักษณที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย การกระตุน การเลือกซื้ อสินค า และการสรางความภักดีตอตราสินคา ดังนั้น ผูบ ริโภคจํานวนมากจึงเลือกที่จ ะ บริโภคสินคาจากตราสินคา เพราะผูบริโภคในยุคใหมเริ่มเขาใจและเล็งเห็นถึงคุณคาของตราสินคามากขึ้น ศักยภาพในการผลิต/ขีดความสามารถในการแขงขัน อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของไทย มีจุดเดนในดานเทคนิคการผลิตที่มีคุณภาพ และมีเอกลักษณ โดยเฉพาะเทคนิคในการเผาหรือหุงพลอย เทคนิคในการเจียระไนเพชรแบบ Bangkok Cut ไดสรางชื่อเสียงและเอกลักษณใหกับสินคาไทย ประกอบกับแรงงานมีทักษะฝมือและความประณีตสูง ทั้งการ เผาพลอย ขึ้นตัวเรือนและเจียระไน สงผลใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการผลิตและการคาพลอยสีที่สําคัญของ โลก นอกจากนี้ภาคเอกชนไดมีการรวมกลุมเครือขาย (Cluster) ตั้งแตอุตสาหกรรมตนน้ําถึงอุตสาหกรรม ปลายน้ําอยางครบวงจร ซึ่งจะทําใหเกิดการถายทอดองคความรูและเทคโนโลยีการผลิตระหวางกันไดอยางมี ประสิทธิภาพเปนการสรางความเขมแข็งใหกับผูประกอบการและเพิ่มศักยภาพการแขงขันในตลาดโลก สําหรับ ศักยภาพในแตละดานสรุปได ดังนี้ 1) ประเทศไทยมีเทคนิคการพัฒนาและเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑเฉพาะดาน ไดแก • เทคนิคการเผาหรือหุงพลอย เพื่อปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มมูลคาของพลอยใหสูงขึ้น

87


-5โดยชวยลบตําหนิในเนื้อพลอยและทําใหพลอยมีสีสันสวยงามและหลากหลายมากขึ้น • เทคนิคการเจียระไนเพชรแบบ Bangkok Cut ซึ่งมีคุณภาพเปนอันดับ 3 ของโลก ทําใหสินคามีความประณีตสวยงามและเปนเอกลักษณเฉพาะของไทย สงผลใหไทยเปนแหลงเจียระไนเพชร ขนาดเล็กที่สําคัญ 1 ใน 3 ของโลก 2) แรงงานไทยมีทักษะและมีความประณีตสูง ในการขึ้นตัวเรือนและเจียระไน โดยเฉพาะการ ขึ้นรูปเครื่องประดับดวยมือ จึงเปนที่ยอมรับทั่วโลก ปจจุบันอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของไทย มี แรงงานทักษะสูงอยูประมาณ 6.5 แสนคน (ตนน้ํา 3.5 แสนคน และกลางน้ํา 3.0 แสนคน) 3) ประเทศไทยเปนที่ยอมรับในการเปนศูนยกลางดานการผลิตและการคาพลอยสี ทําให สามารถเขาถึงวัตถุดิบพลอยสีที่หลากหลาย มีคุณภาพดี และราคาถูกจากตางประเทศไดงาย โดยในแตละปมี พลอยไหลเวียนภายในประเทศเปนมูลคาไมต่ํากวา 600 ลานเหรียญสหรัฐ 4) มีการรวมกลุมเครือขายตั้งแตอุตสาหกรรมตนน้ําถึงอุตสาหกรรมปลายน้ําอยางครบวงจร โดยผูประกอบการมีการรวมกลุม (Cluster) เชน สมาคมผูผลิตอัญมณีและเครื่องประดับจันทบุรี รวมถึงการ รวมกลุมกับหนวยงานภาครัฐ

5) สถาบันวิจัยอัญมณีและเครื่องประดับแหงประเทศไทย เปน 1 ใน 7 lab ของโลกใน คณะกรรมการ Laboratory Manual Harmonisation Committee : LMHC ที่ทําหนาที่กําหนดกติกาสากล เรื่องพลอยสี 6) ประเทศไทยเปนผูสงออกเครื่องประดับเงิน ติดลําดับ 1 ใน 3 ของโลก การนําเขา-การสงออก 1) การนําเขา การนําเขาอัญมณีและเครื่องประดับในภาพรวม สวนใหญเปนการนําเขาวัตถุดิบ ไดแก อัญมณี ชนิดตาง ๆ ทั้งชนิดที่เจียระไนแลวและยังไมไดเจียระไน และทองคํา ซึ่งจะนํามาผลิตเปนเครื่องประดับเพื่อการ สงออกและบริโภคภายในประเทศ โดยมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยระหวางป 2551-2555 อยูที่ประมาณรอยละ 9 ตอป สําหรับสินคานําเขาที่สําคัญ ไดแก ทองคํา มีมูลคาการนําเขา ในป 2555 คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 78 ของมูลคาการนําเขาทั้งหมด แหลงนําเขาสําคัญ ไดแก สวิตเซอรแลนด ญี่ปุน และฮองกง คิดเปนสัดสวนประมาณ รอยละ 34 22 และ 13 ตามลําดับ รองลงมา ไดแก อัญมณีแท มีมูลคาการนําเขาคิดเปนสัดสวนประมาณ รอยละ 10 ของมูลคาการนําเขาทั้งหมด แหลงนําเขาสําคัญ ไดแก อินเดีย เบลเยียม อิสราเอล ฮองกง และศรีลังกา ตารางแสดงมูลคาการนําเขาอัญมณีและเครื่องประดับ ป 2551-2555 หนวย : ลานเหรียญสหรัฐ

รายการ อัญมณี

2551 1,987.24

อัญมณีแท 1,911.40 อัญมณีสังเคราะห 75.84

เครื่องประดับ

678.78

2552 1,073.81

2553 1,134.79

2554 2,277.80

2555 1,466.07

1,022.65 51.16

1,064.61 70.18

2,190.87 86.93

1,369.81 96.26

534.75

592.81

793.82

798.30


-6เครื่องประดับแท 655.13 เครื่องประดับเทียม 23.65

512.96 21.79

555.06 37.75

751.38 42.44

752.95 45.35

4,403.44

8,742.60

17,639.70

11,566.32

6,068.35 776.87

3,785.19 618.25

7,848.87 893.73

16,464.83 1,174.87

10,742.26 824.06

9,511.24

6,012.00

10,470.20

20,711.32

13,830.69

โลหะมีคาและอื่น ๆ 6,845.22 ทองคํา โลหะอื่น ๆ

รวมทั้งสิ้น

ที่มา : ศูนยสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงพาณิชย

2) การสงออก การสงออก อัญมณีและเครื่องประดับในภาพรวม ระหวางป 2551-2555 มีมูลคาเฉลี่ยไมต่ํา กวาปละ 10,000 ลานเหรียญสหรัฐ มีอัตราการเติบโตเฉลี่ยรอยละ 12 ตอป สําหรับสินคาสงออกที่สําคัญ ไดแก ทองคํา มีมูลคาการสงออกในป 2555 คิดเปนสัดสวนรอยละ 50 ของมูลคาการสงออกทั้งหมด ตลาดสงออกที่ สําคัญ ไดแก สวิตเซอรแลนด ฮองกง และออสเตรเลีย คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 63 20 และ 11 ตามลําดับ รองลงมา ไดแก เครื่องประดับแท คิดเปนสัดสวนรอยละ 29 ของมูลคาการสงออกทั้งหมด ตลาดสงออกสําคัญ ไดแก สหรัฐอเมริกา ฮองกง และเยอรมนี คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 27 16 และ 10 ตามลําดับ และอัญมณี แท คิดเปนสัดสวน รอยละ 16 ของมูลคา การสงออกทั้งหมด ตลาดสงออกสําคัญ ไดแก ฮองกง เบลเยี่ยม และอิส ราเอล คิดเป น สัดสวนประมาณรอยละ 39 17 และ 10 ตามลําดับ

ตารางแสดงมูลคาการสงออกอัญมณีและเครื่องประดับ หนวย : ลานเหรียญสหรัฐ

รายการ อัญมณี อัญมณีแท อัญมณีสังเคราะห

เครื่องประดับ เครื่องประดับแท เครื่องประดับเทียม

โลหะมีคาและอื่น ๆ ทองคํา โลหะอื่น ๆ

รวมทั้งสิ้น

2551 1,711.42

2552 1,284.43

2553 1,666.87

2554 2,193.91

2555 2,235.04

1,640.61 70.81

1,224.46 59.97

1,584.67 82.20

2,077.50 116.41

2,115.82 119.22

3,046.43

2,705.55

3,410.46

4,046.78

4,142.22

2,848.66 197.77

2,492.52 213.03

3,122.20 288.26

3,692.76 354.02

3,767.20 375.02

3,512.46

5,772.36

6,574.59

6,060.45

6,770.28

3,383.70 128.76

5,667.84 104.52

6,493.85 80.74

5,897.31 163.14

6,637.62 132.66

8,270.31

9,762.34

11,651.92

12,301.14

13,147.54

ที่มา : ศูนยสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงพาณิชย

การจางงาน จํานวนแรงงานในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับแบงตามขั้นตอนการผลิต ดังนี้

89


-7-

ขั้นตอนการผลิต การปรับปรุงคุณภาพพลอย การเจียระไน (การตั้งน้ํา การโกลนพลอย แตงพลอย ฯลฯ) การออกแบบ การขึ้นรูป (การหลอโลหะ การขัดและชุบ) การเขาตัวเรือน และฝงพลอย การขัดผิวงานขั้นสุดทาย การตรวจสอบคุณภาพ และการบรรจุหีบหอ การตลาด รวม

จํานวนแรงงาน (คน) 6,000 720,000 5,000 150,000 250,000 40,000 1,171,000

ที่มา : สมาคมผูคาอัญมณีไทยและเครื่องประดับ

การกระจุกตัว/การกระจายตัวของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ จากสถิติกรมโรงงานอุ ตสาหกรรม ป 2554 มีโ รงงานอุตสาหกรรมอัญ มณีและเครื่องประดับ จํานวน 713 โรง สวนใหญกระจุกตัวอยูในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล จํานวน 547 โรงงาน คิดเปนรอยละ 76.72 ของโรงงานทั้งหมด รองลงมากระจายตัวในภาคเหนือ จํานวน 66 โรงงาน คิดเปนรอยละ 9.26 ภาคกลาง จํานวน 43 โรงงาน คิ ดเป น ร อ ยละ 6.03 ภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนือ จํา นวน 21 โรงงาน คิ ด เป น ร อยละ 2.95 ภาค ตะวันออกจํานวน 18 โรงงาน คิดเปนรอยละ 2.52 ภาคตะวันตก จํานวน 10 โรงงาน คิดเปนรอยละ 1.40 และ ภาคใต จํ านวน 8 โรงงาน คิ ดเป น ร อยละ 1.12 สําหรับ การกระจุกตัว และการกระจายตัว ในแตล ะภูมิภ าคมี รายละเอียด ดังนี้ 1) กรุงเทพฯ และปริมณฑล มีโรงงานทั้งสิ้น 547 โรง ประกอบดวย - กรุงเทพมหานคร มีโรงงาน จํานวน 457 โรง - นนทบุรี มีโรงงาน จํานวน 12 โรง - นครปฐม มีโรงงาน จํานวน 29 โรง - ปทุมธานี มีโรงงาน จํานวน 9 โรง - สมุทรปราการ มีโรงงาน จํานวน 40 โรง 2) ภาคกลาง มีโรงงานทั้งสิ้น 43 โรง ประกอบดวย - พระนครศรีอยุธยา มีโรงงานจํานวน 22 โรง - นครสวรรค มีโรงงาน จํานวน 1 โรง - พิษณุโลก มีโรงงาน จํานวน 1 โรง - เพชรบูรณ มีโรงงาน จํานวน 2 โรง - สมุทรสาคร มีโรงงาน จํานวน 13 โรง - สุพรรณบุรี มีโรงงาน จํานวน 2 โรง - สุโขทัย มีโรงงาน จํานวน 1 โรง - สระบุรี มีโรงงาน จํานวน 1 โรง


-83) ภาคเหนือ มีโรงงานทั้งสิ้น 66 โรง ประกอบดวย - เชียงราย มีโรงงาน จํานวน 19 โรง - เชียงใหม มีโรงงาน จํานวน 21 โรง - นาน มีโรงงาน จํานวน 5 โรง - แพร มีโรงงาน จํานวน 2 โรง - ลําพูน มีโรงงาน จํานวน 19 โรง 4) ภาคตะวันออก มีโรงงานทั้งสิ้น 18 โรง ประกอบดวย - จันทบุรี มีโรงงาน จํานวน 8 โรง - ชลบุรี มีโรงงาน จํานวน 8 โรง - ปราจีนบุรี มีโรงงาน จํานวน 2 โรง 5) ภาคตะวันตก มีโรงงาน จํานวน 10 โรง ประกอบดวย - กาญจนบุรี มีโรงงาน จํานวน 1 โรง - ตาก มีโรงงาน จํานวน 7 โรง - ราชบุรี มีโรงงาน จํานวน 2 โรง 6) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีโรงงานทั้งสิ้น 21 โรง ประกอบดวย - นครราชสีมา มีโรงงาน จํานวน 8 โรง - ขอนแกน มีโรงงาน จํานวน 1 โรง - ชัยภูมิ มีโรงงาน จํานวน 2 โรง - นครพนม มีโรงงาน จํานวน 1 โรง - ศรีสะเกษ มีโรงงาน จํานวน 2 โรง - อุบุลราชธานี มีโรงงาน จํานวน 5 โรง - อุดตรดิตถ มีโรงงาน จํานวน 1 โรง - อุดรธานี มีโรงงาน จํานวน 1 โรง 7) ภาคใต มีโรงงานทั้งสิ้น 8 โรง ประกอบดวย - นครศรีธรรมราช มีโรงงาน จํานวน 1 โรง - ภูเก็ต มีโรงงาน จํานวน 7 โรง หนวยงานที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ 1) สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแหงชาติ (องคการมหาชน) 140, 140/1-3, 140/5 อาคารไอทีเอฟ ทาวเวอร ชั้น 1-4 และชั้น 6 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท 02-634-4999 โทรสาร 02-634-4970 2) กลุมอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

91


-9ชั้น 4 โซน C ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ 60 ถ.รัชดาภิเษกตัดใหม คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 0 2345 1000 โทรสาร 0 2345 1296-99 3) สมาคมผูคาอัญมณีไทยและเครื่องประดับ อาคารจิวเวลรี่เทรดเซนเตอร ชั้น 52 ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท 0-2630-1390-7 ตอ 132 โทรสาร 0-2630-3259 4) สมาคมเพชร พลอย เงิน ทอง 42/1 ถ.เจริญกรุง ซ.2 แขวงวังบูรพา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 0-2221-4465 โทรสาร 0-2222-2727 5) สมาคมคาทองคํา 889 อาคาร ไทย ซี ซี ทาวเวอร ชั้น 20 หอง 207 ถ.สาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2675-8000 โทรสาร 0-2675-8488 6) สมาคมผูประกอบการเจียระไนเพชร 116 ถ.สีลม–บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท 0 2238 2718-21 ตอ 302 โทรสาร 0 2266 4830 7) สมาคมผูคาอัญมณีและเครื่องประดับจังหวัดจันทบุรี 35/202 ถ.ไตรรัตน อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท 0 3930 3118-9 โทรสาร 0 3930 3100 8) สมาคมผูคาเครื่องประดับเทียม 137/29 ซอยลาดพราว 41 แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2541 9291 9) สมาคมผูผลิตอัญมณีและเครื่องประดับไทย 620/74-75 ซอยสมาคมตระกูลเฮง ถนนสาธุประดิษฐ แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0 2682 1111 โทรสาร 0 2682 1112 10) สมาคมผูผลิตอัญมณีและเครื่องประดับจันทบุรี เ ล ข ที่ 68 ถ น น ศ รี จั น ท ร ตํ า บ ล วั ด ใ ห ม อ . เ มื อ ง โทรศัพท และโทรสาร 0 3932 3188

จั ง ห วั ด จั น ท บุ รี 22000

11) นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี บริษัท ไอ.จี.เอส. จํากัด (มหาชน) 47/31 หมู4 ถนนสุขาภิบาล 2 เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท 0 2727 0022 โทรสาร 0 2727 0030


-9ชั้น 4 โซน C ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ 60 ถ.รัชดาภิเษกตัดใหม คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 0 2345 1000 โทรสาร 0 2345 1296-99 3) สมาคมผูคาอัญมณีไทยและเครื่องประดับ อาคารจิวเวลรี่เทรดเซนเตอร ชั้น 52 ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท 0-2630-1390-7 ตอ 132 โทรสาร 0-2630-3259 4) สมาคมเพชร พลอย เงิน ทอง 42/1 ถ.เจริญกรุง ซ.2 แขวงวังบูรพา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 0-2221-4465 โทรสาร 0-2222-2727 5) สมาคมคาทองคํา 889 อาคาร ไทย ซี ซี ทาวเวอร ชั้น 20 หอง 207 ถ.สาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2675-8000 โทรสาร 0-2675-8488 6) สมาคมผูประกอบการเจียระไนเพชร 116 ถ.สีลม–บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท 0 2238 2718-21 ตอ 302 โทรสาร 0 2266 4830 7) สมาคมผูคาอัญมณีและเครื่องประดับจังหวัดจันทบุรี 35/202 ถ.ไตรรัตน อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทรศัพท 0 3930 3118-9 โทรสาร 0 3930 3100 8) สมาคมผูคาเครื่องประดับเทียม 137/29 ซอยลาดพราว 41 แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2541 9291 9) สมาคมผูผลิตอัญมณีและเครื่องประดับไทย 620/74-75 ซอยสมาคมตระกูลเฮง ถนนสาธุประดิษฐ แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0 2682 1111 โทรสาร 0 2682 1112 10) สมาคมผูผลิตอัญมณีและเครื่องประดับจันทบุรี เ ล ข ที่ 68 ถ น น ศ รี จั น ท ร ตํ า บ ล วั ด ใ ห ม อ . เ มื อ ง โทรศัพท และโทรสาร 0 3932 3188

จั ง ห วั ด จั น ท บุ รี 22000

11) นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี บริษัท ไอ.จี.เอส. จํากัด (มหาชน) 47/31 หมู4 ถนนสุขาภิบาล 2 เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท 0 2727 0022 โทรสาร 0 2727 0030

93


- 10 12) สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี 11/1 ถนนแสงชูโต ตําบลบานเหนือ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 โทรศัพท 0 3451 1305 โทรสาร 0 3451 4995 13) สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดจันทบุรี 200 ถนนทาหลวง ตําบลวัดใหม อ.เมือง จังหวัดจันทบุรี โทรศัพท 0 3931 2135 โทรสาร 0 3932 2125 14) กลุมคลัสเตอรพลอยไพลิน นิลเมืองกาญจน จ.กาญจนบุรี สํานักงาน 11/1 ถ.แสงชูโต ตําบลบานเหนือ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 โทรศัพท 0 3451 2596 โทรสาร 0 3451 1523


95

ประกอบกิจการ ที่อยู ผลิตเครื่องประดับดวยเงิน 28 บางนา-ตราด 28 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 ทองและเจียระไนพลอย ผลิตเครื่องประดับอัญเงิน 144/39-42 ซอยสวนผัก 29 ถนนสวนผัก แขวงตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 ผลิตเครื่องประดับ 50/15 ซอยเฉลิมสุข รัชดาภิเษก แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ผลิตเครื่องประดับกาย 89/172 หมู 3 ซอย 62 วิภาวดี-รังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โกลด ส แตนดาร ด แบ็ ง ค็ อ ค ผ ลิ ต เ ค รื่ อ ง ป ร ะ ดั บ 56/392 หมู 10 ซอยเพชรเกษม 65 ถนนเพชรเกษม แขวงบางแค เขตบาง (บริษัท จํากัด) ทองรูปพรรณตาง ๆ แค กรุงเทพฯ 10160 บริษัท จอร จ เจนเซน (ประเทผลิตเครื่องประดับอัญเงิน 138 หมู 1 ตําบลตนเปา อ.สันกําแพง เชียงใหม 50130 ไทย) จํากัด บริ ษั ท เบนสั น จิ ว เวลรี่ ผลิตเครื่องประดับอัญเงิน 18 หมู 8 ซอยเทศบาล 2 ถนนเพชรเกษม ตําบลออมใหญ อ.สามพราน จ. จํากัด นครปฐม 73160 บริ ษั ท บิ ว ตี้ เ จมส แ ฟคตอรี่ ผลิตเครื่องประดับอัญมณี 99/9 ซอยพูนทรัพยสิน (รามคําแหง 24) ถนนรามคําแหง แขวงหัวหมาก จํากัด เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 บริษัท แพนดอรา ผลิตเครื่องประดับอัญเงิน 88 ซอย 31 สุขาภิบาล 2 แขวงดอกไม เขตประเวศ กทม 10250 โพรดักชั่น จํากัด ทอง

ชื่อโรงงาน บริ ษั ท แพรนด า จิ ว เวลรี่ จํากัด (มหาชน) บริษัท วี ไซแอมซิลเวอรเจมส จํากัด บริษัท โกลดมาสเตอร จํากัด (มหาชน) บริษัท ซาเรี่ยน จํากัด

ชื่อ–ที่อยูของผูประกอบการขนาดใหญ

11

0 2939 1031-2 0 2521 8989 0 2809 2135 0 5396 0216 0 2813 4522 0 2318 0774

0 2939 1020-9 0 2521 9224 0 2521 9222-3 0 2809 2131-4 0 5396 0214-5 0 2813 5577 0 2718 5361-5

0 2727 0250-2 0 2727 0253 0 2728 7291

0 2434 2166

โทรสาร 0 2398 2143 0 2398 2145 0 2433 1989

โทรศัพท 0 2361 3311


ชื่อโรงงาน บริษัท อาโล จํากัด

ประกอบกิจการ ผลิตเครื่องประดับอัญมณี ที่อยู 79/1 เดโช แขวงสุริยวงศ เขตบางรัก กทม 10500

12 โทรศัพท 0 2237 5056

โทรสาร 0 2236 9463



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.