สำนักงาน OFFICE เศรษฐกิจอุตสาหกรรม OF INDUSTRIAL ECONOMICS
ปีที่ 2 ฉบับที่ 10 เดือนมกราคม 2556
แนวโนมอุตสาหกรรมรายสาขา ป 2556
Contents
03
09
12
Econ Focus
03
Econ Review
07
Sharing
09
Life
12
Movement
15
á¹Ç⹌ÁÍصÊÒË¡ÃÃÁÃÒÂÊÒ¢Ò »‚ 2556
สรุปส¶ำนกำร³์กำร¼ลิตภำคอุตสำหกรรม เ´ือน¾Äศจิกำยน 2555 ควำมร่วมมือระหว่ำงภำครัฐและเอกชนญี่ปุ่น.. บทเรียนส�ำหรับอุตสำหกรรมเครื่องจักรกลเกษตรไทย เขำคŒอ ทะเลหมอกท่องเที่ยวเ¾ชรบูร³์
·ีèปรÖกÉา
Editor’s Note สวัส´ีคะ่ คุ³¼ูอŒ ำ่ นทุกท่ำน ส�ำหรับ©บับนีé Econ Focus ท่ ำ นจะไ´Œ ท รำบ แนวโนŒ ม ภำคอุ ต สำหกรรมป‚ 2556 ส่วนส¶ำนกำร³์กำร¼ลิตภำคอุตสำหกรรมประจ�ำเ´ือน ¾Äศจิกำยน 2555 จะเปšนอย่ำงไร¾ลิกเขŒำไป´ูไ´Œเลยค่ะ และเรำมำ´ูควำมร่วมมือระหว่ำงภำครัฐและเอกชนญี่ปุ่น กับบทเรียนส�ำหรับอุตสำหกรรมเครื่องจักรกลเกษตรไทย ¾ลำ´ไม่ไ´Œกับคอลัมน์ Life ที่จะ¾ำคุ³¼ูŒอ่ำนไปเที่ยวชม สวิตเ«อร์แลน´์เมืองไทย ทีเ่ ขำคŒอกันค่ะ และ©บับนีเé รำยังเป ´ รับควำมคิ´เหçนของท่ำนทุกช่องทำง ¾บกันãหม่©บับหนŒำ สวัส´ีค่ะ
³ัฐ¾ล ³ั¯ฐสมบูร³์ ¼ูŒอ�ำนวยกำรส�ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม หทัย อู่ไทย รอง¼ูŒอ�ำนวยกำรส�ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม ¾ิชยั ตังé ชนะชัยอนันต์ รอง¼ูอŒ ำ� นวยกำรส�ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม
บรร³า¸ิการบริหาร วำรี จันทร์เนตร
กองบรร³า¸ิการ ศุ ภิ ´ ำ เสมมี สุ ข , ศุ ภ ชั ย วั ² นวิ ก ย์ ก รรม์ , ชำลี ขั น ศิ ริ , สมำนลักษ³์ ตั³±ิกุล, ขัตติยำ วิสำรัตน์, ศัก´ิìชัย สินโสมนัส, กุลชลี โหม´¾ลำย, บุญอนันต์ เศวตสิท¸ิì, วรำงค³ำ ¾งศำปำน
OIE SHARE
ยิน´ีรับ¿˜งควำมคิ´เหçน ค�ำชีéแนะ และข่ำวประชำสัม¾ัน¸์ต่ำงæ ติ´ต่อไ´Œที่กองบรร³ำ¸ิกำร OIE SHARE กลุ่มประชำสัม¾ัน¸์และบริกำรหŒองสมุ´ ส�ำนักบริหำรกลำง ส�ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม ¶นน¾ระรำมที่ 6 แขวงทุ่ง¾ญำไท เขตรำชเทวี กรุงเท¾Ï 10400 อีเมล์ : OIESHARE@oie.go.th
¢ŒÍ¤ÇÒÁ·Õè»ÃÒ¡¯ã¹ OIE SHARE ໚¹·ÑȹТͧ¼ÙŒà¢Õ¹
แนวโน้มอุตสาหกรรมรายสาขา ปี 2556 • ส�ำนักนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 • ส�ำนักนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 2 • ส�ำนักวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
“ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) คาดการณ์ การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม ปี 2555 โดย GDP อุตสาหกรรมจะขยายตัว ร้อยละ 5.5 – 5.6 และ MPI ขยายตัวร้อยละ 2.5 – 3.0 และในปี 2556 GDP อุตสาหกรรมจะขยายตัว ร้อยละ 4.0 – 5.0 และ MPI ขยายตัวร้อยละ 3.5 – 4.5” ภาพรวมอุตสาหกรรม ในปี 2555 – 2556 มีปัจจัยบวก คือ การบริโภค และการลงทุนของภาคเอกชน มีแนวโน้มทีจ่ ะขยายตัว จากนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจต่างๆของภาครัฐ การเติบโตประเทศ เศรษฐกิจใหม่ ภูมิภาคเอเชีย และอาเซียน แรงกดดันด้านราคาน�้ำมัน และอัตราเงินเฟ้อทีย่ งั อยูใ่ นเกณฑ์ตำ �่ นโยบายรถคันแรก การปรับลด อัตราดอกเบีย้ นโยบาย ส่วนปัจจัยเสีย่ งทีม่ ผี ลต่อภาพรวมอุตสาหกรรม
คื อ การชะลอตั ว ของเศรษฐกิ จ ประเทศคู ่ ค ้ า การฟื ้ น ตั ว ของ บางอุตสาหกรรมอาจจะล่าช้าไปจนถึงสิ้นปี 2555 ต่อเนื่องปี 2556 การแข็งค่าของเงินบาทหลังธนาคารกลางสหรัฐประกาศใช้มาตรการ ผ่อนคลายทางการเงินเพิ่มเติม (QE3) และต้นทุนการผลิตที่จะสูงขึ้น จากการปรับค่าแรง 300 บาท
03
ส�ำหรับแนวโน้มอุตสาหกรรมรายสาขาในปี 2556 มีรายละเอียด ดังนี้ อุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง อุตสาหกรรมยานยนต์ ปี 2556 คาดว่าจะผลิตรถยนต์ 2,500,000 คัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.16 เมือ่ เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น และตลาดส่งออกยังคง ขยายตัวได้ดแี ละท�ำสถิตสิ งู สุดเป็นประวัตกิ ารณ์ โดยทีว่ กิ ฤตเศรษฐกิจใน ยุโรปไม่ได้ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ นอกจากนี้การเปิดตัว รถยนต์รุ่นใหม่ โดยเฉพาะรถยนต์อีโคคาร์ ที่จะท�ำให้อุตสาหกรรม ยานยนต์มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น และการผลิต เพื่อส่งมอบรถยนต์จาก นโยบายรถคันแรก ที่จะมีการผลิตและส่งมอบในปี 2556 ประมาณ ร้อยละ 40 ของปริมาณการขอใช้สิทธิ์ทั้งหมด อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ มี อั ต ราการเติ บ โตจากการขยายตั ว จากภาคอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ทั้งโครงการขนาดใหญ่ ทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน ที่กระจายตัวตาม ภูมภิ าค และการส่งออกวัสดุกอ่ สร้าง อาทิ ปูนซีเมนต์ ได้รบั แรงสนับสนุน จากการขยายตัวของภาคก่อสร้างในแต่ละประเทศของกลุ่มอาเซียน
อุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ์ยาง การขยายตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ ส่งผลให้อตุ สาหกรรมยาง มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง รวมถึงกรอบข้อตกลง FTA มีส่วนผลักดัน ให้การส่งออกยางพาราและผลิตภัณฑ์ยางให้ขยายตัวเพิ่มขึ้น
อุตสาหกรรมเซรามิก มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากธุรกิจก่อสร้าง ในจังหวัด ทีเ่ ป็นแหล่งท่องเทีย่ วและหัวเมืองหลักในแต่ละภูมภิ าค มีอตั ราการเติบโต เพิม่ ขึน้ และผูบ้ ริโภคหันมาใช้เซรามิก ในการปูพนื้ บ้านมากขึน้ และตลาด ส่งออกยังมีการขยายตัว อาทิ ญี่ปุ่น อาเซียนและจีน เนื่องจากไม่ได้รับ ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลกมากนัก
04
อุตสาหกรรมยา ผู้บริโภคปรับพฤติกรรมในการหาซื้อยาใช้เองมากขึ้น ท�ำให้เกิด การขยายตัวของร้านขายยาเพิ่มขึ้น ผู้ประกอบการไทยและนักลงทุน ต่างชาติ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น ให้ความสนใจที่ จะร่วมทุนไทย เพื่อใช้เป็นฐานการผลิตและการตลาดยาในภูมิภาค อาเซียน รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
อุตสาหกรรมที่คาดการณ์ว่าจะมีอัตราการเติบโตคงที่ อุตสาหกรรมอาหาร เป็นสินค้าจ�ำเป็นและมีคุณภาพสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ แต่มีปัจจัยเสี่ยงจากต้นทุนการผลิตที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะ ปัจจัยภายในประเทศ เช่น การปรับขึน้ ค่าจ้างขัน้ ต�ำ ่ 300 บาท เนือ่ งจาก เป็นอุตสาหกรรมทีใ่ ช้แรงงานมากทีส่ ดุ ประกอบกับราคาวัตถุดบิ อาหาร สัตว์ที่เพิ่มสูงขึ้นจากภัยแล้งในสหรัฐอเมริกา และภูมิภาคอื่นๆ
อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า ความต้ อ งการใช้ เ หล็ ก ปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น จากการขยายตั ว ของ อุตสาหกรรมยานยนต์หรืออุตสาหกรรมก่อสร้าง ตลาดในอาเซียน ยั ง มี ค วามต้ อ งการใช้ เ หล็ ก เป็ น จ� ำ นวนมากจากโครงการก่ อ สร้ า ง โครงสร้างพื้นฐานและการขยายการลงทุนภายในประเทศ ส่วนปัจจัย เสีย่ งคือ ตลาดเหล็กในประเทศต้องเผชิญกับการแข่งขันจากเหล็กน�ำเข้า ที่มีราคาถูก
อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ Semiconductor Industry Association (SIA) ของสหรัฐอเมริกา คาดการณ์ว่าตลาดอิเล็กทรอนิกส์ของโลกในปี 2556 จะมีการขยายตัว ร้อยละ 4.5 ปัจจัยเสีย่ ง ได้แก่ วิกฤติหนีย้ โุ รปส่งผลกระทบต่อการส่งออก อิเล็กทรอนิกส์และเครือ่ งใช้ไฟฟ้าของไทย และต้นทุนการด�ำเนินธุรกิจที่ ปรับตัวสูงขึน้ กระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน อาทิ กลุม่ ทีโ่ รงงาน โดนน�ำ้ ท่วมจะมีตน้ ทุนในด้านของการฟืน้ ฟูโรงงานและค่าเบีย้ ประกันภัย ที่เพิ่มขึ้นรวมถึงการปรับขึ้นค่าจ้างแรงงานขั้นต�่ำ
05
อุตสำหกรรมไม้และเครื่องเรือน กลุ่มสินค้าประเภทวัสดุก่อสร้างขยายตัวดี แต่ขาดแคลนวัตถุดิบภายใน ประเทศ จนไม่สามารถรองรับความต้องการในด้านปริมาณและคุณภาพได้ จึงต้อง เร่งหาแหล่งวัตถุดิบใหม่จากลาว พม่า อินโดนีเซีย และผลกระทบจากวิกฤติ เศรษฐกิ จ ในยุ โรปและเศรษฐกิ จ สหรั ฐ ที่ ช ะลอตั ว ยั ง ท� า ให้ ต ลาดส่ ง ออกของ อุตสาหกรรมไม้และเครื่องเรือนของไทยลดลง อุตสำหกรรมเยื่อกระดำษ กระดำษ และสิ่งพิมพ์ ปัญหาหนี้ของสหภาพยุโรป ไม่ได้ส่งผลกระทบกับอุตสาหกรรมเยื่อและ กระดาษ เนื่องจากตลาดหลักอยู่ในแถบประเทศเอเชียเป็นหลัก และ AEC จะเป็น โอกาสของการขยายตลาดที่ดี เพราะไทยมีศักยภาพของอุตสาหกรรมที่ดีกว่า แต่ที่ต้องจับตาอย่างใกล้ชิด เนื่องจากยอดการใช้กระดาษในกลุ่มนี้มีการเติบโตที่ ลดลง อันเป็นผลพวงจากสื่อโซเชียลเน็ตเวิร์กเข้ามาแทนที่ถึงร้อยละ 50-60 อุตสำหกรรมอัญมณี และเครื่องประดับ ตลาดที่น่าจับตามอง คือ ญี่ปุ่น กลุ่มตะวันออกกลางอย่างสหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์ อิสราเอล และกลุ่มประเทศอาเซียนอย่าง สิงคโปร์ มาเลเซีย คาดว่า จะเป็นตลาดแห่งความหวังทีเ่ ข้ามาช่วยทดแทนการส่งออกตลาดหลักทีก่ า� ลังซบเซา แต่ภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา ของสหภาพยุโรปและสหรัฐฯ จะส่งผลให้ก�าลังซื้อ ภายในประเทศลดต�า่ ลง โดยเฉพาะการจับจ่ายใช้สอย ในกลุม่ สินค้าฟุม่ เฟือยอย่าง อัญมณีและเครื่องประดับ
อุตสำหกรรมที่น่ำจับตำมองอย่ำงใกล้ชิด อุตสำหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ตลาดรองทีไ่ ทยมีขอ้ ตกลงเขตการค้าเสรีอย่าง อาเซียน ญีป่ นุ่ จีน ออสเตรเลีย พบว่า ตลาดกลุ่มนี้ยังคงให้ภาพตลาดที่มีทิศทางการเติบโตที่เป็นบวก แต่อย่างไร ก็ตามอุตสาหกรรมดังกล่าวก�าลังก้าวเข้าสู่ปัญหาเชิงโครงสร้างในการผลิตได้แก่ การขาดแคลนแรงงาน และต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ในขณะที่ประเทศกัมพูชา ลาว พม่า บังกลาเทศ ศรีลังกา มีความความแข็งแกร่งด้านการผลิตเพิ่มขึ้น จากข้อได้ เปรียบเรื่องต้นทุนการผลิต ค่าจ้างแรงงาน/จ�านวนแรงงาน การได้สิทธิพิเศษ ทางการค้าไม่ว่าจะเป็น GSP และสิทธิพิเศษส�าหรับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (Least Developed Countries: LDCs) อุตสำหกรรมรองเท้ำและเครื่องหนัง สินค้าเครื่องหนังที่ผลิตโดยฝีมือคนไทย เป็นสินค้าที่ได้รับการยอมรับ อย่างกว้างขวาง ในด้านคุณภาพ และฝีมอื การตัดเย็บทีป่ ระณีต แต่กลุม่ ผูป้ ระกอบการ SMEs ร้อยละ 20-30 ไม่สามารถปรับตัวกับการแข่งขันทีส่ งู ขึน้ ประกอบกับต้นทุน ที่เพิ่มโดยเฉพาะจากปัจจัยการขึ้นค่าแรงขั้นต�่า 300 บาท/วัน และการขาดแคลน วัตถุดิบหนังโคและกระบือ เนื่องจากการเลี้ยงโค กระบือของไทยลดน้อยลง ท�าให้ ต้องมีการน�าเข้าจากจีน และประเทศเพือ่ นบ้าน ซึง่ ไม่เพียงพออีกทัง้ คุณภาพวัตถุดบิ ยังไม่ดีพออีกด้วย
06
สรุปสถานการณ์ การผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือนพฤศจิกายน 2555 ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ส�ำนักวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ก
ารผลิตภาคอุตสาหกรรมในเดือนพฤศจิกายน 2555 ขยายตัวร้อยละ 83.30 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน ของปีก่อน การขยายตัวในระดับสูงนี้เนื่องจากฐานที่ต�่ำ ในปีกอ่ นซึง่ เกิดเหตุการณ์อทุ กภัย ท�ำให้การผลิตในหลาย อุตสาหกรรมส�ำคัญได้รับความเสียหาย อีกทั้งปัญหา ขาดแคลนชิน้ ส่วน และวัตถุดบิ ในการผลิต ส�ำหรับอัตรา การใช้ก�ำลังการผลิตในเดือนพฤศจิกายน 2555 อยู่ที่ ร้อยละ 68.56
การผลิตอุตสาหกรรมส�ำคัญในเดือนพฤศจิกายน 2555 ขยายตัวในระดับสูงต่อเนือ่ ง จากฐานตัวเลขทีต่ ำ�่ ในปีกอ่ น และอุตสาหกรรมส�ำคัญ ส่วนใหญ่สามารถกลับมาผลิตได้ตามปกติหลังจากฟื้นฟูโรงงานที่ได้รับความเสียหาย โดยอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ดัชนีผลผลิตขยายตัวร้อยละ 99.76 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ขยายตัว ร้อยละ 75.52 และอุตสาหกรรมการผลิต Hard Disk Drive ดัชนีผลผลิตกลับมาขยายตัวร้อยละ 254.84 เมือ่ เทียบกับเดือนเดียวกันของปีกอ่ น อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ในเดือนพฤศจิกายน 2555 ขยายตัวจากการผลิตรถยนต์ทุกชนิด โดยดัชนีผลผลิตขยายตัวร้อยละ 795.84 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากฐานที่ต�่ำ และปัญหาขาดแคลนชิ้นส่วนประกอบ ในปีก่อน ประกอบกับยังคงมี ค�ำสัง่ ซือ้ จากภายในประเทศอย่างต่อเนือ่ งซึง่ เป็นผลมาจากนโยบายรถคันแรก ส�ำหรับการผลิตเหล็กในเดือนพฤศจิกายน 2555 ดัชนีผลผลิต ขยายตัวร้อยละ 25.01 เมือ่ เทียบกับเดือนเดียวกันของปีกอ่ น เนือ่ งจากความต้องการเหล็กในกลุม่ ผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้ในการก่อสร้างเพิม่ ขึน้ และ อุตสาหกรรมยานยนต์ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมต่อเนื่องยังคงขยายตัวในระดับสูง
07
ส�าหรับกำรผลิตเสื้อผ้ำส�ำเร็จรูปดัชนีผลผลิตกลับมำหดตัวลงร้อยละ 2.05 เนื่องจากความต้องการสินค้าทั้งในประเทศและ ต่างประเทศลดลงจากปัญหาเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าหลักอย่างญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป ประกอบกับผู้ประกอบการบางรายไม่สามารถ ปรับตัวรับกับต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นจากค่าแรงขั้นต�่าได้จึงย้ายฐานการผลิต การจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรมในเดือนพฤศจิกายน 2555 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ นมีระดับเพิม่ ขึน้ ซึง่ เป็นไปตามการผลิต ในอุตสาหกรรมส�าคัญกลับเข้าสู่ภาวะปกติ โดยดัชนีการส่งสินค้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 102.11 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ส่วนสินค้าคงคลังมี ระดับเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดยดัชนีสินค้าส�าเร็จรูปคงคลังเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.67 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส�าหรับอัตราการใช้ก�าลังการ ผลิตในเดือนพฤศจิกายน 2555 อยู่ที่ร้อยละ 68.56
08
คÇามร‹Çมม×อรÐหÇ‹า§ภาครÑ°áลÐàอกªนÞÕèปุ†น.. º·àรÕ Â นสí า หรÑ º อุ ต สาหกรรมàคร× อ è §¨Ñ ก รกลàกÉตรä·Â • ส�ำนักนโยบำยอุตสำหกรรมรำยสำขำ 1 • ส�ำนักนโยบำยอุตสำหกรรมรำยสำขำ 2
ประเทศญี่ปุนเปนดินแดนที่มีประวัติศำสตร์และวัฒนธรรมที่ยำวนำน รวมถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยเฉพำะเทคโนโลยีกำรเกษตร ซึ่งส่งผลให้เกษตรกรชำวญี่ปุนสำมำรถเพำะปลูกพืชผลเกษตรที่ได้ผลผลิต ต่อไร่สูง ดังนั้น ส�ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรมร่วมกับสถำบันเหล็กและเหล็กกล้ำแห่งประเทศไทยจึงได้ เดินทำงไปประเทศญี่ปุน ภำยใต้กิจกรรมโครงกำรศูนย์วิเครำะห์ข้อมูลเชิงลึกอุตสำหกรรมเครื่องจักรกล ปี 2555 เพื่อส�ำรวจข้อมูลเชิงลึกด้ำนนโยบำย/ยุทธศำสตร์ มำตรกำรของภำครัฐ และมุมมองกำรพัฒนำ อุตสำหกรรมเครือ่ งจักรกลเกษตรของภำคเอกชน โดยจะน�ำกลยุทธ์หรือแนวทำงทีญ ่ ปี่ นุ ใช้มำปรับปรุงให้เกิด ประสิทธิภำพแก่ภำคกำรเกษตรของไทยในอนำคต เนื่องจากประเทศญี่ปุ่นมีพื้นที่ส�าหรับท�าการเกษตรน้อย และไม่ค่อยมีพื้นที่ราบ ที่เหมาะแก่การเพาะปลูก อย่างจังหวัดฮิโรชิม่า (Hiroshima) จึงมีหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ทีค่ อยดูแลและสนับสนุนเกษตรกรให้เพิม่ ขีดความสามารถในการผลิตพืชผล ทางการเกษตรให้มีผลผลิตต่อไร่เพิ่มสูงขึ้น อาทิ Ministry of Economy, Trade and Industry (METI) ซึ่งเป็นหน่วยงานคล้ายกับกระทรวงพาณิชย์ของไทย มีกลไกในการ ส่งเสริมและสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมเกษตรของแต่ละจังหวัด โดยพิจารณาความ ต้องการของผูซ้ อื้ เป็นตัวตัง้ แล้วน�าไปบอกกับเกษตรกรให้ผลิตสินค้าตรงกับความต้องการ ดังกล่าว ซึง่ เกษตรกรแต่ละรายจะมีขนาดการลงทุนไม่ใหญ่มากนัก และมีการรวมกลุม่ กัน เพือ่ พัฒนาสินค้า โดยภาครัฐจะเข้ามาช่วยเหลือและสนับสนุนการสร้างรูปแบบทางธุรกิจ (Business Model) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและก�าหนดแนวทางแก้ไขปัญหาให้เกิด
09
ประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ ยังมีสถาบันวิจัยที่กลุ่ม SMEs เข้ามา ท�ากิจกรรมร่วมกัน ยกตัวอย่างเช่น สถาบันวิจัยแห่งหนึ่งที่เมืองคูเระ (Kure) ซึ่งเชี่ยวชาญด้านเครื่องจักรกลประเภทต่าง ๆ แต่กลุ่ม SMEs ยังขาดแคลนเงินลงทุนส�าหรับเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ ดังนัน้ รัฐบาลจึงสนับสนุนเงินลงทุนร้อยละ 50 และเอกชนร่วมลงทุน อีกร้อยละ 50 ทั้งนี้ แม้ว่าเมืองคูเระจะเป็นเมืองอุตสาหกรรมคล้าย กับนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดในจังหวัดระยอง แต่กลับไม่มีปัญหา การต่อต้านคัดค้านจากชาวบ้านในประเด็นผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม เนือ่ งจากโรงงานอุตสาหกรรมในเมืองคูเระอนุญาตให้ประชาชนทัว่ ไป เข้ า เยี่ ย มชมโรงงานได้ ซึ่ ง ถื อ เป็ น การตรวจสอบกิ จ การไปในตั ว ประกอบกับทางโรงงานจัดกิจกรรมเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม (Corporate social responsibility: CSR) อย่างต่อเนื่อง ท�าให้ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียงรู้สึก ส�าหรับหน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรม ปลอดภัยแม้ว่าจะมีโรงงานอุตสาหกรรมมาตั้งอยู่ใกล้ ๆ เครือ่ งจักรกลของญีป่ นุ่ ได้แก่ SMRJ (The Organization for Small & Medium Enterprises and Regional Innovation, JAPAN) เป็น องค์กรอิสระภายใต้ METI โดยเกิดจากการรวมตัวกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการเงิน และสถาบันวิจัยต่าง ๆ มีวัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ SMEs ในท้องถิน่ สามารถสร้างธุรกิจและอยูร่ อดได้ ทัง้ นี ้ SMRJ ได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัย และหน่วยงานรัฐบาล ทั้งในระดับจังหวัด และระดับอ�าเภอ จัดตั้งศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ (Incubation Centre) เพื่อเปิดโอกาสให้ SMEs อาจารย์/นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่ สนใจ เข้ามาท�าวิจัยร่วมกัน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด ซึ่ง ปัจจุบันมีผู้ประกอบการจ�านวน 15 บริษัท เช่าพื้นที่ของศูนย์ฯ เพื่อ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตน โดยจังหวัดจะช่วยเหลือค่าใช้จ่าย เป็นเวลา 3 ปี ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม (Industrial Promotion Centre: IPC) เป็นอีกหน่วยงานที่มีบทบาทในการส่งเสริมและ สนับสนุนผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งมีหน้าที่คล้ายกับ SMRJ แต่แตกต่างกันที่ IPC เป็นการสนับสนุนระดับจังหวัด ขณะที่ SMRJ จะสนับสนุนระดับประเทศ อย่างไรก็ตาม หน่วยงานทั้งสองมี หลักการคล้ายกันคือ องค์กรจะเป็นผูเ้ สนอข้อจูงใจต่างๆ (incentives) เพื่อดึงดูดให้ผู้ประกอบการเข้ามาลงทุน ทั้งนี้ ผู้ประกอบการจะเป็น ผู้ตัดสินใจในการเลือกลงทุนในอุตสาหกรรมใดเอง
10
สุดท้ายคือ สมาคมผูผ้ ลิตเครือ่ งจักรกลการเกษตร ญี่ปุ่น (Japan Farm Machinery Manufacturers’ Association: JFMMA) มีสมาชิกทั้งสิ้น 70 ราย ซึ่ง สมาคมฯ เน้นการพัฒนาภาคเกษตรกรรมไปสูอ่ ตุ สาหกรรม เกษตร โดยการน� า เครื่ อ งจั ก รกลการเกษตรเข้ า มาใช้ เพื่อทดแทนแรงงานเกษตรที่มีจ�านวนลดน้อยลง และเพื่อ ให้สามารถจัดการฟาร์มได้อย่างเป็นระบบ ทัง้ ด้านการผลิต และการเก็บเกี่ยว นอกจากนี้ สมาคมฯ ยังตระหนักถึงการ บริการหลังการขาย และการวิจัยและพัฒนา ซึ่งถือเป็น สิ่งส�าคัญที่สุด เนื่องจากแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกัน ทั้ ง เรื่ อ งสภาพดิ น และสภาพภู มิ อ ากาศ ดั ง นั้ น การน� า เครือ่ งจักรกลการเกษตรไปใช้ตอ้ งมีการวิจยั ก่อนในเบือ้ งต้น เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้งานสูงสุด ทั้งนี้ ประเทศ ญีป่ นุ่ มีนโยบายการส่งเสริมการใช้เครือ่ งจักรกลการเกษตร โดยเฉพาะเครื่องจักรที่มีขนาดกลางและเล็ก แต่เนื่องจาก ราคาเครื่องจักรในประเทศญี่ปุ่นค่อนข้างสูง จึงจ�าเป็นต้อง ขยายการผลิตไปยังต่างประเทศ เพื่อลดต้นทุนการผลิต โดยสมาคมฯ จะเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงนโยบายของภาครัฐกับกลุ่มเกษตรกร รวมถึงการออกนโยบายร่วมกัน เช่น การปล่อยกาซคาร์บอนไดออกไซด์ การปล่อยของเสีย และความปลอดภัยจากการท�างาน เป็นต้น จากการส�ารวจข้อมูลเชิงลึกและการ สัมภาษณ์หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชน ในประเทศญี่ปุ่น พบว่า บริษัท เอกชนทั้ ง ในระดั บ ท้ อ งถิ่ น และระดั บ ประเทศต่างมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี กับภาครัฐ โดยรัฐบาลจะเป็นผู้สร้างแรง กระตุ้นให้กับภาคเอกชนเพื่อมาลงทุนใน สิ่งที่ผู้บริโภคต้องการ โดยเป็นการลงทุน ร่วมกันในการพัฒนาสินค้าใดสินค้าหนึง่ ให้ เป็น Product Champion และส่งออกไป ขายยังต่างประเทศ นอกจากนี้ โรงงาน อุตสาหกรรมยังมีการจัดท�า CSR ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ท�าให้ได้รบั การยอมรับจาก ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง โดย ให้ประชาชนสามารถเข้ามาตรวจ/เยีย่ มชม โรงงานอุตสาหกรรมได้ตลอดเวลา ถือว่า เป็นการสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน ว่ามีความปลอดภัยกับการที่จะอาศัยอยู่ร่วมกันกับโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งประเทศไทยควรมีการพัฒนาความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการ กับภาครัฐและสถาบันการศึกษา ในการช่วยกันวิจัยและพัฒนาสินค้าให้สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ และสร้างความน่าเชื่อถือให้กับ ประชาชนในเรื่องของการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต ภำพประกอบ ตัวอย่างเครื่องจักรกลการเกษตร เช่น เครื่องปักต้นหอมแบบเดิน เครื่องหยอดเมล็ดข้าว เครื่องปักด�าข้าว เป็นต้น ภาพประกอบ: บริษัท มิโนรุ จ�ากัด (Minoru Industrial Co.,Ltd) http://www.agri-style.com/
11
à¢าคŒอ ·Ðàลหมอก ·‹อ§à·ÕÂè ÇྪรºÙรณ์ • กอ§ºรรณา¸ิการ
ส
วัสดีค่ะ ท่ำนผู้อ่ำนทุกท่ำน ส�ำหรับ OIE SHARE ฉบับนี้ อุทยานแห่งชาติเขาค้อ ตั้งอยู่ในเขตอ�าเภอเขาค้อ จังหวัด ขอแนะน�ำสถำนที่ท่องเที่ยวให้ท่ำนผู้อ่ำนได้ลองไปสัมผัส เพชรบูรณ์ เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีน่ า่ สนใจอีกแห่งหนึง่ เพราะมีอากาศ กับอำกำศทีห่ นำวเย็น รวมถึงธรรมชำติทสี่ วยงำม ของชำวอ�ำเภอ ทีห่ นาวเย็นตลอดทัง้ ปี แม้แต่ในฤดูรอ้ น สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วประกอบไป ด้วย จุดชมวิวทะเลหมอก วัดพระธาตุผาแก้ว ฐานอิทธิ (พิพิธภัณฑ์ เขำค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์กันค่ะ อาวุธ) อนุสรณ์สถานผู้เสียสละเขาค้อ อนุสาวรีย์จีนฮ่ง พระต�าหนัก เขาค้อ สถานที่ท่องเที่ยวที่กล่าวมานี้ นักท่องเที่ยวหลายท่านได้ให้ ความสนใจ อยากที่จะมาชมทะเลหมอกในยามเช้า พร้อมกับสถานที่ ท่องเทีย่ วทีส่ า� คัญ จุดท่องเทีย่ วทีอ่ ยากจะแนะน�าให้ไปชมกันมากทีส่ ดุ คือ ทะเลหมอกบนเขาค้อ บริเวณเหนืออ่างเก็บน�้ารัตนัย ซึ่งอยู่ด้าน ล่างของถนนเส้นทางหลักสาย 2196 บริเวณใกล้ๆ กับทีว่ า่ การอ�าเภอ เขาค้อ สามารถชมทะเลหมอกได้เป็นระยะทางค่อนข้างยาวไกล ในช่วงเช้าก่อนพระอาทิตย์ขึ้นถึงเวลาประมาณ 8 โมงเช้า จุดที่นิยม ไปชมกันมากที่สุด คือบริเวณศาลาชมวิวเขาค้อ และบริเวณใกล้เคียง เช่น สถานที่ราชการ ที่อยู่ติดๆ กัน นอกจากนี้ ยังมีรีสอร์ทอีก หลายแห่ง ที่สามารถพักแรมในบ้านพัก หรือกางเต็นท์นอน เพื่อชม ทะเลหมอกยามเช้าที่หน้าบ้านกันได้เลย ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณ จุดชมทะเลหมอกริมถนนสาย 2196 บางรีสอร์ทอาจต้องเข้าซอย หรืออยู่ต�่าลงไปอีกนิดหนึ่ง แต่ก็สามารถชมทะเลหมอกได้เช่นกัน และบางวันที่มีหมอกหนาแน่น รีสอร์ทที่อยู่ต�่าก็จะถูกหมอกคลุม กลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของทะเลหมอกเป็ น บ้ า นในสายหมอก ได้บรรยากาศไปอีกแบบค่ะ
12
จุดกางเต็นท์สามารถกางเต็นท์ได้เกือบทุกแห่ง ซึง่ อาจจะเสียค่า บริการรายหัว ประมาณ 100-250 บาท ตามอัตราของแต่ละรีสอร์ท เป็นค่าที่พักรวมกับอาหารเช้า และบริการเสริมอื่นๆของรีสอร์ท เช่น การใช้ห้องน�้ำและเครื่องท�ำน�้ำอุ่น แต่หากต้องการกางเต็นท์ในพื้นที่ ราชการบริ เวณนี้ ก็ ส ามารถกางเต็ น ท์ ไ ด้ ที่ บ ริ เวณศาลาชมวิ ว และ ที่ท�ำการไปรษณีย์เขาค้อ รวมถึงสถานที่ราชการอื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียง ซึ่งส่วนใหญ่จะเปิดบริการให้นักท่องเที่ยวเข้ามากางเต็นท์พักแรมใน ช่วงเทศกาล หรือหากไม่ต้องการกางเต็นท์พักแรมเบียดเสียดกัน ก็สามารถหาที่พักออกไปไกลสักนิดในบริเวณอื่น แล้วค่อยมาชม ทะเลหมอกยามเช้ากันก็ได้ นอกจากทะเลหมอกบนเขาค้ อ แล้ ว หรื อ ที่ เ รี ย กกั น ว่ า สวิตเซอร์แลนด์เมืองไทยนั้น ยังมีจุดท่องเที่ยวอีกมากมายหลายจุด ด้วยกัน อยากจะให้นกั ท่องเทีย่ วได้ไปเยีย่ มชมวิวทิวทัศน์อนั สวยงามที่ ธรรมชาติได้สร้างสรรค์ขนึ้ ดัง่ สวรรค์บนดิน บนยอดเขาค้อกันสักครัง้ ค่ะ รั บ รองว่ า ถ้ า ใครได้ ไ ปชมทะเลหมอกยามเช้ า แล้ ว คงจะพู ด เป็ น เสียงเดียวกันว่า สวยงามสุดลูกหูลูกตาจริงๆ พร้อมกับถ่ายรูปเก็บไว้ เป็นที่ระลึกและคงอยากกลับมาสัมผัสกับอากาศที่หนาวเย็นกันอีก
13
ส�าหรับการเดินทางและสถานที่พักบนเขาค้อ จากตัวเมืองเพชรบูณ์ ใช้ทางหลวงหมายเลข 21 (สระบุร-ี หล่มสัก) ถึงสามแยกนางัว่ ระยะทางประมาณ 13 กม. เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 12 (พิษณุโลก-หล่มสัก) ถึง กม.ที่ 100 (บ้านแคมปสน) เลี้ยวซ้ายเข้าเขาค้อตามทางหลวงหมายเลข 2196 อีกประมาณ 33 กม. พาหนะที่ใช้ขึ้นเขาค้อ ไม่ควรใช้รถบัสขนาดใหญ่ เพราะมี ทางโค้งมาก ถนนค่อนข้างเล็กและลาดชัน ควรใช้รถปิกอัพหรือรถตู้สถาพดี นักท่องเที่ยวสามารถเช่ารถสองแถวได้ที่ปากทางขึ้นเขาค้อ บริเวณแคมปสน กม.ที ่ 100 ในราคาวันละประมาณ 600 บาท รถจะมีตงั้ แต่เวลา 08.00-17.00 น. หรือทีบ่ ริเวณตลาดเทศบาล ในตัวเมืองเพชรบูรณ์ ราคาวันละประมาณ 800 บาท บนเขาค้อมีทพี่ กั ส�าหรับนักท่องเทีย่ ว ได้แก่ บ้านพักทหารม้า กม.ที ่ 28 ทางหลวง สาย 2196 กองทหารม้าที่ 28, เรือนพักผู้ติดตามบริเวณต�าหนักเขาค้อ ติดต่อ กองพลทหารม้าที ่ 1 โทร. (056)721934-6 ต่อ 3120, (056) 722011 นอกจากนี้ ยังมีรีสอร์ทต่างๆ ตั้งอยู่บริเวณเส้นทางขึ้นเขาค้ออีกหลายแห่ง และนีก่ ค็ อื ความสวยงามของธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ ในบ้านเรา ทีท่ กุ คนสามารถ เดินทางมาเที่ยวชมทะเลหมอกหรือสวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย นักท่องเที่ยวท่าน ใดที่เดินทางมาเขาค้ออย่าลืมเตรียม ผ้าห่มเสื้อกันหนาว และผ้าพันคออุ่นๆ นะคะ เพราะอากาศที่นี่จะหนาวและเย็นมากทีเดียว ท่านใดที่มาแล้วต้องได้รับ ความสุขกลับไปอย่างเต็มที่แน่นอนค่ะ ลองหาวันว่างมาเที่ยวกันนะคะ ที่มา : http://www.khaoko.com
14
MOVEMENT
พิธีถวำยสัตย์ปฏิญำณฯ ปี 55 ผู้บริหาร น�าโดย นายหทัย อู่ไทย รศอ. และนายพิชัย ตั้งชนะชัยอนันต์ รศอ. พร้อมด้วยข้าราชการ ลูกจ้าง และ เจ้าหน้าที่ส�านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน ประจ�าปี 2555 เมื่อวันจันทร์ที่ 3 ธันวาคม 2555 ณ ห้องโถงชั้น 1 สศอ.
อุตสำหกรรมรวมใจภักดิ์ ปลูกต้นไม้ฟนผืนดิน กระทรวงอุตสาหกรรมจัดโครงการ “อุตสาหกรรมรวมใจภักดิ์ ปลูกต้นไม้ฟื้นผืนดิน” เนื่องใน โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร โดยมี ฯพณฯ สุวัจน์ ลิปตพัลลภ อดีตรองนายก รัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีเปิดงาน และมีผู้บริหาร เจ้าหน้าที่สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมเข้าร่วมกิจกรรม รวมทั้ง ดร.ณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ์ ผู้อ�านวยการส�านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม พร้อมด้วยข้าราชการและเจ้าหน้าที่จากส�านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) โดยมีเป้าหมาย ปลูกต้นไม้จ�านวนทั้งสิ้น 5 ล้านต้น ในพื้นที่สถานประกอบการและพื้นที่เสื่อมโทรมให้แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2555 เมื่อวันอังคาร ที่ 4 ธันวาคม 2555 ณ อาคาร 9 อิมแพค เมืองทองธานี
ฝำวิกฤต เศรษฐกิจปี 2556 กำรเมืองข้น เศรษฐกิจเข้ม ส�านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ร่วมกับบริษัท แอล พี ลายค�า จ�ากัด จัดงานสัมมนา “ฝ่าวิกฤต เศรษฐกิจปี 2556 การเมืองข้น เศรษฐกิจเข้ม” เพือ่ น�าเสนอผลการส�ารวจข้อมูลอุตสาหกรรมปี 2554 ให้แก่ผทู้ เี่ กีย่ วข้อง ทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชนให้ทราบถึงผลิตภาพและผลประกอบการอุตสาหกรรม โดยมี ดร.ณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ์ ผู้อ�านวยการส�านักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรมเป็นประธานเปิดงาน ในวันจันทร์ที่ 24 ธันวาคม 2555 ณ โรงแรมแกรนด์เมอร์เคียว ฟอร์จูน
สศอ.จัดงำนแถลงข่ำว “ดัชนีอุตสำหกรรม เดือนพฤศจิกำยน 2555” โดยมี ดร.ณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ์ ผู้อ�านวยการส�านักงานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม เป็นผูแ้ ถลงข่าว ร่วมกับผูบ้ ริหาร สศอ. โดยมีสอื่ มวลชนแขนงต่างๆ ให้ความสนใจเข้าร่วมงานเป็นจ�านวนมาก เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ 27 ธันวาคม 2555 ณ ห้องประชุม 202 สศอ.
Industrial Intelligence Unit (IIU)
ระบบเครือขายขอมูลเพื่อการชี้นําและเตือนภัยของภาคอุตสาหกรรม ซึ่งประกอบไปดวย 9 ระบบขอมูล หรือ 9 IIU ไดแก
อุตสำหกรรมไทยในภำพรวม
อุตสำหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
อุตสำหกรรมเหล็กและเหล็กกล้ำ
อุตสำหกรรมไฟฟ้ำและอิเล็กทรอนิกส์
http://iiu.oie.go.th
http://iiu.oie.go.th/food/default.aspx
http://iiu.oie.go.th/Textile/default.aspx
http://iiu.oie.go.th/iron/default.aspx
http://iiu.oie.go.th/electronics/default.aspx
อุตสำหกรรมอำหำร
อุตสำหกรรมพลำสติก
http://iiu.oie.go.th/ptit/default.aspx
ฐำนข้อมูลด้ำนกำรรับรองมำตรฐำนไอเอสโอ
http://iiu.oie.go.th/ISO/default.aspx
ฐำนข้อมูลด้ำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรมในภูมิภำคอำเซียน
http://iiu.oie.go.th/IUasean/default.aspx
อุตสำหกรรมยำนยนต์
http://iiu.oie.go.th/Automotive/default.aspx
สำนักงาน OFFICE OF INDUSTRIAL ECONOMICS เศรษฐกิจสํอุาตนั สาหกรรม กงาน OFFICE
เศรษฐกิจอุตสาหกรรม OF INDUSTRIAL ECONOMICS ถนนพระรำมที่ 6 แขวงทุ่งพญำไท เขตรำชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2202 4274, 0 2202 4284 โทรสำร 0 2644 7023 www.oie.go.th, www.facebook.com/oieprnews, http://twitter.com/oie_news